The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Risk management 2563 Laemchabang city municipality

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by awww_www, 2021-03-26 00:20:06

Risk management 2563 Laemchabang city municipality

Risk management 2563 Laemchabang city municipality

๔๑

8. การสืบสวน (Incident investigation) ในกรณีที่มีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดข้ึน
เช่น การทุจริต อุบัติเหตุ ฯลฯ นั้น องค์กรต่างๆ ก็มักจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ เพ่ือสืบสวนและจัดทำ
รายงานเก่ียวกับข้อเท็จจริงท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงข้อเท็จจริงจากรายงานดังกล่าวสามารถนำมาใช้เพ่ือเป็นแนวทางในการ
คน้ หาความเส่ียงไดเ้ ชน่ กนั

ปัจจยั เสี่ยงภายในองค์กร
- ปัจจัยเส่ียงภายนอก คือ ความเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมได้โดยองค์กร
เช่น การเมอื ง สภาวะเศรษฐกิจสงั คม กฎหมาย ภัยธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม ฯลฯ เป็นตน้
- ปัจจัยเส่ียงภายใน คือ ความเส่ียงที่สามารถควบคุมได้โดยองค์กร เช่น
วัฒนธรรมองค์กร นโยบายการบริหารจัดการ กระบวนการปฏิบัติงาน ความรู้ความสามารถและทักษะของ
บุคลากร การบริหารทรพั ย์สนิ ฯลฯ เป็นต้น

2. การประเมนิ ความเสีย่ ง (Risk Assessment)
การประเมินความเส่ียงเพ่ือให้สามารถกำหนดระดับความเสี่ยงท่ีมีนัยสำคัญและจัดลำดับ

ความสำคัญของความเส่ียง โดยเป็นกระบวนการท่ีจะดำเนินการหลังจากค้นหาความเส่ียงขององค์กรแล้วโดย
การนำความเส่ียงและปัจจัยเส่ียงหรือสาเหตุของความเสี่ยงมาดำเนินการวิเคราะห์โอกาส ผลกระทบที่จะ
เกดิ ขึ้น และประเมินระดับความเสีย่ ง โดยอาศยั เกณฑม์ าตรฐานท่ไี ด้กำหนดไว้ ตลอดจนพิจารณาการควบคุมท่ี
มอี ยู่ และยังมีประโยชน์ในการบริหารจดั การความเส่ียงที่มีอยอู่ ย่างมากมายภายใตท้ รัพยากรขององค์กรท่ีจำกัด
ไม่ว่าจะเป็น เงนิ ทุน เวลา วัสดุ อปุ กรณ์ และบุคลากรขององค์กร ทำให้ไม่สามารถท่จี ะจัดการกับทุกความเสยี่ ง
ได้ การประเมินความเส่ียงจะช่วยทำให้องค์กรตัดสินใจ จัดการกับความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสมและประเมินได้
ว่าควรจะจัดการกับความเส่ียงนั้นๆ อย่างไร ความเสี่ยงใดควรต้องรีบดำเนินการบริหารจัดการก่อนหลัง หรือ
ความเส่ียงใดทสี่ ามารถทจ่ี ะยอมรับใหเ้ กิดขึน้ ได้

การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นการกำหนดเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมินความเส่ียง ได้แก่
ระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) ระดับความรุนแรงของผลกระทบ (Impact) และระดับของ
ความเสี่ยง (Degree of Risk) โดยแต่ละองค์กรจะต้องกำหนดเกณฑ์ข้ึนให้เหมาะสมกับประเภทและ
สภาพแวดล้อมขององค์กรโดยอาจจะกำหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นระดับคะแนน 5 คะแนน หรือ 3 คะแนน ซึ่ง
สามารถกำหนดเกณฑ์ได้ท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทั้งน้ีข้นึ อยู่กับข้อมูลสภาพแวดล้อมและดุลยพินิจการ
ตัดสินใจของฝ่ายบริหารขององค์กร โดยเกณฑ์ในเชิงปริมาณจะเหมาะกับองค์กรที่มีข้อมูลสถิติ ตัวเลข หรือ
จำนวนเงินมาใช้ในการวิเคราะห์อย่างพอเพียง สำหรับองค์กรที่มีไม่มีข้อมูลสถิติ ตวั เลข หรือจำนวนเงินหรือไม่
สามารถระบุเปน็ ตัวเลขหรอื จำนวนเงนิ ทชี่ ดั เจนไดก้ ็ให้กำหนดเกณฑ์ในเชงิ คุณภาพ

2.1 การวิเคราะห์โอกาสท่ีจะเกิด (Likelihood) พิจารณาจากสถิติการเกิดเหตุการณ์ใน
อดีต ปัจจุบัน หรือการคาดการณ์ล่วงหน้าของโอกาสที่จะเกิดในอนาคต โดยอาจกำหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็น
ระดับคะแนน 5 คะแนน ประกอบด้วย 5 4 3 2 และ 1 คะแนน แสดงถึงโอกาสที่จะเกิดหรือความถี่ในการ
เกิด สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย และน้อยมาก ตามลำดับ และกำหนดคำอธิบายในแต่ละระดับโอกาสท่ีจะเกิด
จากนั้นทำการวิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดหรอื ความถ่ีในการเกิดว่าแต่ละความเส่ียงและปัจจัยเสี่ยงมโี อกาสเกดิ ข้ึน
ในระดับใด ดงั ตัวอยา่ งดงั นี้

2.2 การวิเคราะห์ผลกระทบ (Impact) เป็นการพิจารณาระดับความรุนแรงหรือมูลค่า
ความเสียหายจากความเส่ียงท่ีคาดว่าจะได้รับหากเกิดเหตุการณ์ความเส่ียง ซ่ึงการกำหนดระดับของ
ผลกระทบนั้น จะต้องพิจารณาถึงความรุนแรงของความเสียหายหากความเสี่ยงนั้นเกิดข้ึน โดยอาจแบ่ง
ผลกระทบออกเป็นผลกระทบที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน หรือด้านการเงิน/ทรัพย์สิน การดำเนินงาน

แผนบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี

๔๒

ชื่อเสียง/ภาพลักษณ์บุคลากร ฯลฯ โดยอาจกำหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นระดับคะแนน 5 คะแนน
ประกอบด้วย 5 4 3 2 และ 1 คะแนน แสดงถึงระดับความรุนแรงระดับ สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย และ
น้อยมาก ตามลำดบั และกำหนดคำอธิบายในแต่ละระดับความรนุ แรงของผลกระทบ จากนั้นทำการวิเคราะห์
ผลกระทบหากเกิดเหตุการณค์ วามเสี่ยงขึ้นวา่ มีผลกระทบอย่ใู นระดบั ใด ตัวอย่างเช่น

2.3 การประเมินระดับความเสี่ยง(Degree of risk) หมายถึง สถานะของความเสี่ยงท่ี
ได้จากการวิเคราะห์โอกาสหรือความถี่ท่ีจะเกิดและผลกระทบหรือความรุนแรงหากเกิดเหตุการณ์ความเส่ียง
ข้ึน หลังจากองค์กรวิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดและผลกระทบของความเส่ียงแล้ว องค์กรต้องนำผลการวิเคราะห์
มาประเมินระดับความเส่ียงว่าแต่ละความเสี่ยงมีระดับความเส่ียงอยู่ระดับใดในตารางการประเมินระดับความ
เส่ียง ซ่ึงระดับความเสี่ยงอาจแบ่งออกเป็น 5 ระดบั ได้แก่ สูงมาก สูง ปานกลาง น้อยและน้อยมาก แทนระดับ
ความเส่ยี งข้างต้นดว้ ยเกณฑ์สีประกอบด้วย สีแดง สเี หลือง สีนำ้ เงิน สีเขยี วและสีขาว ตามลำดับ โดยนำผลจาก
การวิเคราะห์โอกาสหรือความถ่ีท่ีจะเกิดข้ึนและผลจากการวิเคราะห์ผลกระทบมาประเมินระดับความเส่ียงดัง
ตัวอยา่ งดงั น้ี

การประเมนิ ระดบั ความเสี่ยง

55 10 15 20 25
สูงมาก

44 8 12 16 20
สูง

ผลกระทบ 3 3 6 9 12 15

22 4 ปานกลาง 6 8 10
5
1 ตำ่ 23 4 5
1 4
23
1
โอกาสเกดิ

เปน็ ตารางที่ใชใ้ นการประเมินและจัดระดับความเสี่ยงของแต่ละความเสี่ยงเพ่ือประเมนิ ว่า
ความเสี่ยงใดอยู่ในระดับท่ีควรคำนึงถึงและต้องรับดำเนินการจัดการกับความเสี่ยงเป็นอันดับแรกก่อน โดย
ตารางการประเมินระดับความเส่ียงข้างต้นแบ่งระดับความเสี่ยงออกเป็น 5 ระดับ จำแนกระดับความเสี่ยงโดย
ใชส้ ีเปน็ ตัวกำหนด ดังน้ี

20 – 25 สแี ดง หมายถึง ระดับความเสยี่ ง สูงมาก
10 – 16 สีสม้ หมายถึง ระดับความเสี่ยง สูง
5 – 9 สีฟา้ หมายถึง ระดับความเส่ยี ง ปานกลาง
3 – 4 สีเขียว หมายถึง ระดับความเสีย่ ง นอ้ ย
1 – 2 สีเหลือง หมายถงึ ระดับความเสีย่ ง นอ้ ยมาก

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี

๔๓

วิธีการประเมินระดับความเส่ียงโดยใช้ตารางการประเมินระดับความเสี่ยงข้างต้น
ให้นำคะแนนของโอกาสท่ีจะเกิดและคะแนนของผลกระทบที่วิเคราะห์ได้ของแต่ละความเส่ียงมากำหนดลงใน
ตารางการประเมินระดับความเสี่ยงโดยถ้าคะแนนของโอกาสและผลกระทบมาบรรจบกันท่ีสใี ดก็แสดงว่าความ
เสีย่ งนัน้ อยูใ่ นระดับความเสยี่ งตามความหมายของระดับความเสี่ยงท่ใี ห้ไวข้ ้างตน้

3. การจัดการความเสยี่ ง (Risk Response)
เม่ือองค์กรได้ค้นหา วิเคราะห์และจัดลำดับความเส่ียงแล้ว ข้ันตอนต่อไป คือ การกำหนด

วิธีการบริหารจัดการความเสี่ยง เพ่ือจัดการความเส่ียงขององค์กรให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ (Risk
Tolerance หรือ Risk Appetite) หรือระดับท่ีเหมาะสม (Optimal) ซ่ึงเป็นระดับที่องค์กรสามารถจะ
ดำเนินการตอ่ ไปไดแ้ ละบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทก่ี ำหนดไว้

การกำหนดวิธีจัดการความเสี่ยงต้องคำนึงถึงต้นทุนท่ีจะเกิดข้ึน เปรียบเทียบกับ
ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากวิธีการนั้น ๆ (cost-benefit analysis) รวมทั้งต้องพิจารณาเลือกวิธีการจัดการ
ความเสย่ี งทมี่ ีความสอดคล้องกับโครงสร้างหรอื เหมาะสมกับวฒั นธรรมขององค์กรด้วย

หลักการจดั การความเสีย่ ง มี 4 แนวทางคอื
3.1 การหลีกเลี่ยงความเส่ียง คือ การดำเนินการเพ่ือหลีกเล่ียงเหตุการณ์ท่ีก่อให้เกิด
ความเส่ียง องค์กรอาจจะเผชิญกับความเส่ียงที่ผู้บริหารพิจารณาแล้วพบว่า ไม่มีแนวทางในการจัดการ กับ
ความเส่ียงนั้น กล่าวคือ ไม่มีวิธีการลดโอกาสหรือผลกระทบ หรือไม่สามารถหาผู้อื่นมาร่วมจัดการ ความเส่ียง
ได้ แตค่ วามเสี่ยงดังกล่าวยงั อยู่ในระดับท่ีไม่สามารถยอมรับได้ ผู้บรหิ ารควรเลือกหลกี เลย่ี ง ความเส่ียงด้วยการ
หยุดดำเนนิ งานหรือกิจกรรมน้นั ๆ หรือเปล่ียนวัตถุประสงค์ของงานหรือกิจกรรมนั้นไป เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิด
เหตุการณ์ท่ีจะก่อให้เกิดความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม การหลีกเลี่ยงความเส่ียง ต้องคำนึงถึงต้นทุนค่าเสียโอกาสท่ี
จะเกดิ ขน้ึ จากการหยดุ ดำเนนิ การงานหรือกิจกรรมน้ันดว้ ย
3.2 การร่วมจัดการความเส่ียง คือ การหาผู้อื่นมาร่วมจัดการความเส่ียง หรือโอน
(Transfer) ความเสี่ยงขององค์กรไปให้ผู้อื่นร่วมรับผิดชอบด้วย องค์กรอาจจะเผชิญกับความเส่ียงที่ไม่มีความ
เช่ียวชาญในการจัดการความเสี่ยงด้วยตนเอง หรือต้นทุนในการจัดการความเส่ียงด้วยตนเองสูงกว่า
ผลประโยชน์ท่ีจะได้รับ ผู้บริหารควรโอนความเสี่ยงไปให้ผู้อื่นร่วมรับผิดชอบ เช่น การทำประกันภัย เพ่ือให้
บริษัทประกันภัยร่วมรับผิดชอบในผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้น หรือการจ้างให้บุคคลภายนอกดำเนินกิจกรรมหรือ
งานบางอย่างแทน (Outsource)
3.3 การลดความเส่ียง คือ การดำเนินการเพื่อลดโอกาสที่จะเกิด หรือลดผลกระทบของ
ความเสี่ยง องค์กรอาจจะเผชิญกับความเส่ียงบางตัว ที่องค์กรมีความสามารถหรือความเช่ียวชาญในการลด
ความเสี่ยงด้วยตนเอง กล่าวคือ มีแนวทางในการป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เกิดข้ึน หรือมีวิธีลดผลกระทบของ
เหตุการณ์ได้ โดยต้นทุนในการดำเนินการอย่ใู นระดับท่ีเหมาะสม ผู้บริหารจึงเลือกดำเนินการลดความเส่ียงเอง
เช่น การทำสัญญาล่วงหน้ากับ Supplier เพ่ือลดโอกาสท่ีต้นทุนสินค้าเพิ่มข้ึน, การมีแหล่งสำรองพลงั งาน เพื่อ
ลดผลกระทบต่อสายการผลิต กรณีไฟฟ้ากระแสหลักขดั ขอ้ ง
3.4 การยอมรับความเส่ียง คือ การไม่ดำเนินการใด ๆ กับความเส่ียง เน่ืองจากความ
เสี่ยงน้ันอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ คือ มีโอกาสท่ีเกิดไม่บ่อย หรือมีผลกระทบไม่สูง องค์กรอาจจะ เผชิญ
กบั ความเส่ยี งบางตวั ท่ีมีโอกาสท่ีจะเกดิ ไมบ่ ่อย หรอื หากเกดิ ข้ึนแล้วไมส่ ่งผลกระทบต่อองคก์ รมากนกั ผู้บริหาร
จึงยอมรับความเสี่ยงดังกล่าว คือไม่ดำเนินการใด ๆ อย่างไรก็ตามองค์กรต้องติดตามประเมินผลว่า ความเส่ียง
ดังกล่าวยังอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ หรือว่ามีโอกาสที่จะเกิดเพ่ิมข้ึนหรือมีระดับผลกระทบเพิ่มข้ึนเกินระดับท่ี

แผนบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

๔๔

ยอมรบั ได้หรอื ไม่ เพราะถา้ ความเส่ยี งเพิ่มข้นึ เกนิ ระดับท่ียอมรับได้ ผูบ้ ริหารตอ้ งพิจารณาหาวธิ ีตอบสนองความ
เส่ียงด้วยวิธีอนื่ ตอ่ ไป

การพิจารณาว่าจะเลือกตอบสนองความเสี่ยงด้วยวิธีใด สิ่งท่ีควรคำนึงมากที่สุด คือ
ต้นทุนท่ีจะใช้ในการดำเนินการและผลประโยชน์ท่ีจะได้รับ เมื่อเลือกวิธีการตอบสนองความเส่ียงได้แล้ว ควร
จัดทำแผนบริหารความเส่ียงโดยละเอียด โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของแผน เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ของ
องค์กร ระดับความเสย่ี งทีย่ อมรับได้ ระยะเวลาดำเนินการ ผรู้ ับผดิ ชอบ และผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั

4. การตดิ ตามประเมินผล (Monitoring)
การติดตามประเมินผล (Monitoring) หมายถึง กระบวนการติดตามและประเมินผล

การบริหารความเส่ียงเพื่อใหเ้ กิดความม่ันใจอย่างสมเหตสุ มผลวา่ การบริหารความเสีย่ งขององคก์ รทีก่ ำหนดไว้มี
ความเพียงพอ เหมาะสม มีการนำไปปฏิบัติจริง และการตอบสนองความเส่ียงหรือการจัดการความเส่ียงมี
ประสทิ ธผิ ล โดยการตดิ ตามประเมนิ ผลแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี

4.1 การติดตามประเมินผลอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เกิดความมั่นใจอยา่ งสมเหตสุ มผลวา่ การ
ตอบสนองความเสยี่ งหรือการจัดการความเสี่ยงมีความเพียงพอ เหมาะสม และมปี ระสทิ ธิผลสามารถลดความเสีย่ ง
ลงสู่ระดับท่ียอมรับได้ ตลอดจนได้รับการออกแบบให้เป็นส่วนเดียวกับการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ตามปกติของ
องค์กร และมีการปฏบิ ัติตามจริงอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ดังนน้ั องคก์ รต้องมกี ารติดตามประเมินผลการบริหาร
ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ครอบคลุมทุกกจิ กรรมการดำเนินงานขององคก์ ร เพื่อให้เกิดการตอบสนอง
ความเส่ียงหรอื การจัดการความเสย่ี งได้อย่างรวดเร็ว ทนั การณ์

4.2 การติดตามประเมินผลเป็นรายคร้ัง คือ การติดตามประเมินผลคร้ังคราวตาม
ระยะเวลาท่ีกำหนดไว้เพ่ือให้ทราบถึงความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของการบริหารความเส่ียง ณ
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งตามท่ีกำหนดไว้ ขอบเขตและความถ่ีในการประเมินขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและ
สถานการณท์ ี่เกดิ ขึ้นและเปล่ยี นแปลงไป ซ่ึงการตดิ ตามประเมินผลเป็นรายครง้ั สามารถดำเนินการได้ ดังนี้

4.2.1 การติดตามประเมินผลด้วยตนเอง เป็นกระบวนการติดตามประเมินผลเพ่ือ
การปรบั ปรุงการบริหารความเส่ียงด้วยการกำหนดให้ผ้ปู ฏิบัติงานเป็นเจ้าของความเสี่ยง(Risk Owner) หรือผู้มี
ความชำนาญในงาน กระบวนการ หรือกิจกรรมน้ันเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล โดยกำหนดให้
กลมุ่ ผู้ปฏบิ ัติงานหรือผมู้ คี วามเชย่ี วชาญน้ัน ๆ ร่วมกันตดิ ตามประเมินผลการบรหิ ารความเส่ียง และค้นหาความ
เส่ียง ประเมินความเส่ียงของงาน กระบวนการ หรือกิจกรรม ในความรับผิดชอบ เพ่ือพิจารณาหาแนวทางใน
การตอบสนองความเสีย่ งใหม้ ีความเหมาะสม และประสทิ ธผิ ลมากข้ึน

4.2.2 การตดิ ตามประเมินผลอยา่ งเป็นอิสระ เปน็ กระบวนการติดตามประเมินผลโดยผู้
ท่ีไม่มีส่วนได้เสียหรือเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดำเนินงานตามงาน กระบวนการ และกิจกรรมนั้น ๆ เพื่อให้เกิด
ความมั่นใจว่าการติดตามประเมินผลจะเป็นไปตามความเป็นจริง ถูกต้อง ครบถ้วน และไม่มีอคติ การ ติดตาม
ประเมินผลอย่างอิสระอาจกระทำโดยผู้ตรวจสอบจากภายในและภายนอก และ/หรือท่ีปรึกษาภายนอก ตลอดจน
คณะกรรมการหรือคณะทำงานที่ตั้งข้ึนมาอย่างเป็นอิสระเพื่อให้การติดตามประเมินผลเป็นไปอย่างเที่ยงธรรม มาก
ข้ึน การติดตามประเมินผลการบริหารความเส่ียงอย่างเป็นอิสระควรจะเป็นกระบวนการท่ีส่งเสริมและสนับสนุน
การติดตามประเมินผลด้วยตนเอง

การติดตามผลเพ่ือให้ม่ันใจอย่างสมเหตุสมผลว่าองค์กรมีการบริหารความเสี่ยงเป็นไป
อยา่ งเป็นระบบ เหมาะสม และมีการนำไปปฏิบัตจิ รงิ

การประเมินผลเพ่ือให้ม่ันใจอย่างสมเหตุสมผลว่าองค์กรมีการบริหารความเส่ียงเป็นไป
อย่าง เพียงพอ และมีประสิทธิผล การตอบสนองความเส่ียง(Risk Response) ด้วยมาตรการหรือกลไกการ
ควบคุมความเสย่ี ง (Control Activity) ทด่ี ำเนนิ การสามารถลดและควบคมุ ความเสย่ี งท่เี กิดข้นึ ได้จริงและอยใู่ น

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563

เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี

๔๕

ระดับที่ยอมรับได้ หรือต้องปรับปรุงหรือหามาตรการหรอื ตัวควบคุมอื่นเพิ่มเติม เพ่ือให้ความเสี่ยงท่ียงั เหลืออยู่
หลังมีการจัดการความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และให้องค์กรมีการบริหารความเส่ียงอย่างต่อเนื่อง
สม่ำเสมอจนกลายเปน็ วัฒนธรรมในการดาเนนิ งานขององคก์ ร

โดยการติดตามประเมินผลการจัดการความเสี่ยงตามแผนการบริหารความเสี่ยง โดย
วิเคราะห์และประเมินผลการจัดการความเส่ียงตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว้ในแผนการบริหารความเสี่ยงว่า
ดำเนินการแล้วเสร็จตามกำหนด มีความเพียงพอ มีประสิทธิผลหรือไม่ หากองค์กรพบว่าได้ดำเนินการจัดการ
ความเส่ยี งแล้วยังมีความเสย่ี งท่ีไม่อาจยอมรับได้เหลอื อยู่ ควรพิจารณาต่อไปว่า เป็นความเสยี่ งท่ีอยู่ในระดับใด
และจะมีวิธีการจัดการความเส่ียงนั้นอย่างไร จากน้ันจึงเสนอต่อผู้บริหารเพื่อทราบและพิจารณาสั่งการ รวมถึง
การจัดสรรงบประมาณสนับสนุน ท้ังนี้ การบริหารความเสี่ยงจะเกิดผลสำเร็จได้ต้องได้รับการสนับสนุนอย่าง
จริงจงั จากผู้บรหิ ารทุกระดับ

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี

บทท่ี 5
แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง

แผนบริหารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี



๔๗

1. ขน้ั ตอนการจดั ทำแผนบรหิ ารจดั การความเสี่ยง
1. การประเมินโอกาสและผลกระทบและระดับความเสี่ยง
1) คณะกรรมการกำหนดหลักเกณฑการพิจารณาคัดเลือกโครงการ/กิจกรรม เพ่ือนำมา

ดำเนินการประเมินผลโอกาสและผลกระทบ ดงั นี้
- เป็นโครงการ/กิจกรรมท่ีได้รับงบประมาณสูงสุดภายใตประเด็นยุทธศาสตร์ตาม

แผนพัฒนาทองถน่ิ (พ.ศ. 2561-2665) แผนดำเนินงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563
- เป็นโครงการ/กิจกรรมในภารกิจหลักท่ีเทศบาลดำเนินการ เพ่ือใหสามารถบรรลุ

เป้าหมายภายใตประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่กำหนดไวในแผนพัฒนาเทศบาล
2) ใหสวนราชการ (คณะทำงานแต่ละหน่วยงาน) พิจารณาคัดเลือก โครงการ/กิจกรรมที่

สำคัญ และมีผลกระทบสูงตอการบรรลุความสำเร็จเป้าหมายยุทธศาสตร์และเป็นโครงการที่ได้รับจัดสรร
งบประมาณที่สูง เพ่ือใหคณะกรรมการการบริหารจัดการความเส่ียง นำมาวิเคราะห์จัดทำแผนบริหารความ
เสยี่ งของเทศบาล ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังน้ี

- ความเสี่ยงด้านกลยุทธ (Strategic Risk : S) - ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน
(Operational Risk : O) - ความเสย่ี งดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology Risk: T) - ความ
เสี่ยงด้านธรรมาภิบาล (Good Governance Risk: G) ซึ่งที่ได้ดำเนินการประเมินโอกาส และผลกระทบของ
ความเสี่ยง จัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ เพื่อประกอบการจัดทำแผนบริหารความเส่ียง ประจำป
งบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึง่ ประกอบไปด้วย

- โครงการ/กิจกรรมตามยุทธศาสตรท์ ค่ี ัดเลอื กเพือ่ ประเมินความเสี่ยง
- การกำหนดขั้นตอนและวตั ถปุ ระสงคข์ ้นั ตอน
- การระบเุ หตกุ ารณค์ วามเสีย่ ง
- แบบ Rm-1 การวิเคราะห์ความเส่ียงและการประเมินความเสี่ยง
- แบบ Rm-2 การประเมินผลการควบคมุ และการจัดการความเสีย่ งโครงการ
- แบบ Rm-3 แผนการบรหิ ารความเสย่ี งโครงการ

แผนบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี

๔๘

2. โครงการ/กจิ กรรมตามยุทธศาสตร์ท่คี ดั เลอื กเพอื่ ประเมินความเสย่ี ง

ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม
1. การพฒั นาดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานและสาธารณูปโภค
- โครงการกอ่ สร้างถนน ค.ส.ล. และวางท่อ
ระบายน้ำถนนหนองคลา้ เช่ือมถนนหนองคล้าเก่า
ซอย 8 (ชุมชนบ้านหนองคล้าเกา่ )
- โครงการรักการอา่ น
- โครงการ การให้บริการศาลาประชาคมแหลม
ฉบัง, หนองคลา้ , ท่งุ กราด และ ศาลาประชาคม
บ้านนาเก่า

2. การพัฒนาดา้ นการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มและการจัดการ - โครงการพัฒนาระบบบรหิ าร
ชายฝ่งั แบบบรู ณาการ - โครงการก่อสรา้ งอาคารเก็บรวบรวมของเสยี ติด
เชื้อ

3. การพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจ - โครงการปรับปรุงภมู ิทศั น์

4. การพัฒนาดา้ นสงั คม - โครงการอาหารเสรมิ (นม) สำหรบั สถานศึกษา
เทศบาลนครแหลมฉบงั

5. การพัฒนาด้านสาธารณสุข - การพัฒนาดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐานของงาน
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
- โครงการอบรมอาสาสมัครชุมชนเพอ่ื ป้องกัน
และควบคุมโรคพิษสนุ ขั บ้า

6. การพฒั นาด้านการเมอื งการบรหิ าร - โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพการ
บริหารงานการคลงั /กจิ กรรมดา้ นการจัดเก็บ
รายได้
- โครงการอบรมเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่
ประชาชนและการป้องกนั ปราบปรามการทุจริต

แผนบริหารจัดการความเสยี่ ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบุรี

๔๙

3. การกำหนดขน้ั ตอนและวตั ถุประสงคข์ ั้นตอน

กำหนดขน้ั ตอนและวัตถุประสงคข์ ้นั ตอน

ยทุ ธศาสตร์ ข้ันตอน (กลยุทธ์) วัตถปุ ระสงค์ขั้นตอน (เป้าหมาย)

(1) (2) (3)

1. ก ารพั ฒ น าด้ าน โค รงส ร้าง 1.1 ก่อสร้างและปรับปรุงระบบ 1.1 การก่อสร้างและปรับปรุง

พน้ื ฐานและสาธารณูปโภค คมนาคม ระบบไฟฟ้าและปะปา ระบบคมนาคม ระบบไฟฟ้า และ

เพ่อื ให้ประชาชนไดร้ ับความสะดวก ป ระ ป าท่ี ได้ ม าต รฐ าน ท ำให้

และมคี วามปลอดภัย ประชาชนมีความสะดวกสบายใน

การสัญจร และการดำรงชีวิตมาก

ขึน้

2. การพัฒ นาด้านการจัดการ 2.1 การบริหารจัดการและพัฒนา 2.1 การบริหารจัดการคุณภาพ

ส่ิงแวดล้อมและการจัดการชายฝ่ัง ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากร

แบบบรู ณาการ ส่ิงแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมและ ธรรมชาติให้อยู่ในระดับมาตรฐาน

บูรณาการในทุกระดับ ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพที่

ดี ไมเ่ จบ็ ป่วย

3. การพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการ 3.1 การส่งเสริมและการสนับสนุน

สร้างอาชีพและเพ่ิมรายได้ให้แก่ ให้ประชาชนมีรายได้ที่เพ่ิมขึ้น

ประชาชน ส่งผลให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ท่ี

ดขี ึน้

4. การพัฒนาดา้ นสังคม 4.1 ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา 4.1 คุณภาพของเด็กเยาวชน และ

บคุ ลากรและกระบวนการเรยี นการ ประชาชนในเขตเทศบาลดีขึ้น และ

สอนทกุ รูปแบบ เท่าเทยี มกัน

4.2 ส่งเสริมสนับสนุน ศาสนา

วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา และ

นันทนาการ

4.3 ให้ความช่วยเหลือด้านสังคม

สั ง เค ร า ะ ห์ แ ล ะ จั ด ก า ร ด้ า น

สวัสดิการให้สอดคล้องกับความ

ตอ้ งการของผดู้ ้อยโอกาส

4 .4 ส่งเส ริม ก ารส ร้างชุม ช น

เข้มแข็ง ครอบครัวอบอุ่น เพื่อ

ป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ

5. การพฒั นาด้านสาธารณสุข 5.1 พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร 5.1 การให้บริการด้านสาธารณสุข

สาธารณสขุ ให้มคี ุณภาพท่ัวถึง และ ท่ีทัดเทียมได้มาตรฐานและท่ัวถึง

เปน็ ธรรม ทำให้ประชาชนเข้าถึงการบริการ

ไดม้ ากย่ิงขน้ึ

แผนบริหารจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ปงี บประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบัง อำเภอศรีราชา จงั หวัดชลบรุ ี

๕๐

กำหนดข้ันตอนและวตั ถุประสงค์ข้นั ตอน

ยุทธศาสตร์ ข้นั ตอน (กลยุทธ์) วตั ถปุ ระสงคข์ ั้นตอน (เป้าหมาย)

(1) (2) (3)

6. การพัฒนาด้านการเมืองการ 6.1 สนับสนุนให้กลุ่มต่าง ๆ ใน 6.1 การบริหารจัดการที่มีปริสิทธิ

บรหิ าร ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ภ าพ ท ำให้ ต อ บ ส น อ งค ว า ม

ดำเนินกจิ กรรมของเทศบาล ต้องการของประชาชนมีส่วนร่วม

6.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการเพ่ิม รับผดิ ชอบกบั หน่วยงาน

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ

พนักงาน

6.3 สร้างและพัฒนาเครือข่ายการ

ดูแลและป้องกันอุบัติภัย ความ

ปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สิน

6.4 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล

ข่าวสารและการปฏบิ ัติงานของทาง

ราชการ

6.5 เพ่ิ ม ป ระสิท ธิภ าพ ใน การ

จัดเกบ็ รายได้ของเทศบาลฯ

6.6 ส่ งเส ริม ค วาม รู้ ระเบี ย บ

กฎหมาย แกป่ ระชาชน

แผนบรหิ ารจดั การความเสย่ี ง (Risk Management) ปีงบประมาณ 2563
เทศบาลนครแหลมฉบงั อำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบุรี

4. การระบเุ หตุการณค์ วามเส่ียง

ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ ความเ

(1) (2) (3)

1. การพัฒนาด้านโครงสรา้ งพนื้ ฐาน 1.1 ก่อสร้างและปรับปรุง 1. โครงการก่อสร้าง

และสาธารณูปโภค ระบ บ คม น าค ม ระบ บ วางท่อระบายน้ำถน

ไฟฟ้าและปะปาเพ่ือให้ ถนนหนองคล้าเก่า ซ

ป ระ ช าช น ได้ รับ ค ว าม หนองคล้าเกา่ )

ส ะ ด ว ก แ ล ะ มี ค ว า ม

ปลอดภัย

๕๑

เส่ยี ง ปัจจัยเส่ยี ง ประเภทความเส่ยี ง

) (4) (5)

งถนน ค.ส.ล. และ ปัจจยั ภายใน ดา้ นธรรมาภิบาล /

นนหนองคล้าเชื่อม - งบ ป ร ะ ม าณ ใน ก า ร ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห รื อ ก า ร

ซอย 8 (ชมุ ชนบ้าน ฝึ ก อ บ รม เจ้ าห น้ าท่ี มี ปฏบิ ตั งิ าน

จ ำกั ด ไม่ เพี ย งพ อ ต่ อ

จำนวนเจ้าหน้าท่ี ทำให้มี

ความห่างในการฝึกอบรม

ไมต่ อ่ เน่อื ง

ปจั จัยภายนอก

- ส ถ า น ท่ี ห รื อ ห น่ ว ย

ฝึ ก อ บ ร ม มั ก อ ยู่ ไ ก ล ไ ม่

ส ะ ด ว ก ต่ อ ก า ร เดิ น ท า ง

การจัดหลักสูตรอบรมไม่

ต่ อ เน่ื อ ง สั ม พั น ธ์ กั น กั บ

ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง

เจา้ หนา้ ทแี่ ต่ละส่วน

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ความเ
(1) (2) (3)

2. โครงการรกั การอา่

๕๒

เสย่ี ง ปัจจยั เสี่ยง ประเภทความเสย่ี ง

) (4) (5)

าน ปัจจยั ภายใน ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห รื อ ก า ร

- ผู้เรียนยังไม่รักการอ่าน ปฏบิ ตั ิงาน

ไม่รักการแสวงหาความรู้

ด้วยตนเอง ไม่บันทึกใน

บันทึกรักษ์ภาษา สรุป

Mind mapping ไ ม่ ไ ด้

ส่งผลต่อการพัฒนาการ

คิ ด แ ล ะ ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ

ทางการเรียนของนกั เรียน

- ครูส่วนมากยังไม่เห็น

ความสำคัญของการสร้าง

ความตระหนักในการอ่าน

ให้แก่นักเรียน และยังไม่

ส่งเสริมกิจกรรมรักการ

อ่านเทา่ ท่คี วร

ปัจจยั ภายนอก

- ผู้ ป ก ค ร อ งให้ ค ว า ม

ร่วมมือในการส่งเสริมการ

อา่ นของนักเรียนน้อย

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ความเ
(1) (2) (3)
3. โครงการ การ
ประชาคมแหลมฉบ
กราด และ ศาลาประ

2. ก ารพั ฒ น าด้ าน การจัด การ 2.1 การบริหารจัดการ 1. โครงการพฒั นาระ

สิ่งแวดล้อมและการจัดการชายฝั่ง และพฒั นาทรัพยากร

แบบบรู ณาการ ธรรมชาติและคุณ ภ าพ

ส่ิงแวดล้อมโดยการมีส่วน

ร่วมและบูรณาการในทุก

ระดบั

๕๓

เส่ยี ง ปัจจัยเสย่ี ง ประเภทความเสี่ยง

) (4) (5)

รให้บ ริการศาลา ปจั จยั ภายใน ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห รื อ

บัง, หนองคล้า, ทุ่ง - อุปกรณ์ในการปฏิบัติ การปฏบิ ัติงาน

ะชาคมบา้ นนาเก่า หน้าที่ของเจ้าหน้าที่มีไม่

เพียงพอในบางครั้ง

ปัจจยั ภายนอก

- ท รัพ ย์ สิ น เกิ ด ค ว าม

เสี ย ห า ย เนื่ อ ง จ า ก มี

ผู้ใช้บริการจำนวนมาก

- เกิดขยะมูลฝอยจำนวน

มาก การท้ิงขยะไม่เป็นท่ี

เป็นทาง

ะบบบริหาร ปัจจัยภายใน ดา้ นกลยุทธ์

- มีการโอนย้ายของครู

วิชาเอกเฉพาะท่ีมีความ

ขาดแคน เชน่

ภาษาอังกฤษ และ

คณติ ศาสตร์

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ความเ
(1) (2) (3)

2 . โค รงก ารก่ อ ส
รวบรวมของเสียตดิ เช

๕๔

เสี่ยง ปจั จยั เสย่ี ง ประเภทความเส่ยี ง
) (4) (5)

ปัจจัยภายนอก
- มีการโอนย้ายครูท่ีเป็น
วิชาเอกเฉพ าะ แต่ ยัง
ไม่ ได้ รั บ ก า ร ท ด แ ท น ใ น
อัตราตำแหนง่ ทว่ี า่ ง

ส ร้างอ าค ารเก็ บ ปัจจัยภายใน
ช้อื - ระบบการเก็บรวบรวม

มู ล ฝ อ ย ติ ด เ ช้ื อ ยั ง ข า ด
อาคารท่ีควบคุมอุณหภูมิ
ท ำ ใ ห้ ยั ง ไม่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม
เ ท ศ บั ญ ญั ติ
เทศบาลนครแหลมฉบัง
เร่ืองการจัดการมูลฝอย
ติดเชอื้ พ.ศ.๒๕๕๘
และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี
๒)พ.ศ. ๒๕๖๒

ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ ความเ
(1) (2) (3)

3. การพฒั นาดา้ นเศรษฐกิจ 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุน 1. โครงการปรบั ปรงุ
4. การพฒั นาดา้ นสงั คม ก า ร ส ร้ า ง อ า ชี พ แ ล ะ เพิ่ ม
รายได้ให้แกป่ ระชาชน
4.1 ส่งเสริมสนับสนุน 1. โครงการอาหารเ
การศึกษาบุคลากรและ สถานศึกษาเทศบาลน
กระบวนการเรียนการสอน
ทกุ รูปแบบ
4.2 ส่งเสริมสนับสนุน
ศ า ส น า วั ฒ น ธ ร ร ม
ป ร ะ เพ ณี กี ฬ า แ ล ะ
นนั ทนาการ

๕๕

เสี่ยง ปจั จยั เสย่ี ง ประเภทความเสย่ี ง

) (4) (5)

ปัจจัยภายนอก ด้านกลยทุ ธ์

- การขยายตัวของสถาน

ป ร ะ ก อ บ ก า ร ห รื อ

ส ถ า น พ ย า บ า ล เพ่ิ ม

จำนวนข้ึน

งภมู ทิ ัศน์ - ความเส่ียงที่มีอยู่ความ ด้านกลยทุ ธ์

ป ล อ ด ภั ย ข อ ง นั ก เรี ย น

ดา้ นอุบตั ิเหตุ

เสริม(นม) สำหรับ ปัจจัยภายใน ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห รื อ ก า ร

นครแหลมฉบัง - สถานท่ีเก็บรักษานมไม่ ปฏบิ ตั ิงาน

เหมาะสม

ปจั จัยภายนอก

- ประสิทธิภาพการขนส่ง

ของผู้รับจา้ ง

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ความเ
(1) (2) (3)

5. การพฒั นาดา้ นสาธารณสขุ 4.3 ให้ความช่วยเหลือ
ด้านสังคมสังเคราะห์และ
จัดการด้านสวัสดิการให้
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม
ตอ้ งการของผดู้ ้อยโอกาส
4 .4 ส่งเสริมการสร้าง
ชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัว
อบอุ่น เพื่อป้องกันและ
แกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ
5.1 พัฒนาระบบบริหาร 1. การพัฒนาด้านโ
สาธารณสุขให้มีคุณภาพ ของงานป้องกันและ
ทั่วถงึ และเป็นธรรม ภัย

๕๖

เสย่ี ง ปัจจยั เสีย่ ง ประเภทความเสยี่ ง

) (4) (5)

โครงสร้างพื้นฐาน ปจั จยั ภายใน ด้ า น ธ ร ร ม า ภิ บ า ล / ด้ า น

ะบรรเทาสาธารณ - งบ ป ร ะ ม าณ ใน ก า ร กระบวนการ หรอื การปฏบิ ัตงิ าน

ฝึ ก อ บ รม เจ้ าห น้ าท่ี มี

จ ำกั ด ไม่ เพี ย งพ อ ต่ อ

จำนวนเจ้าหน้าที่ ทำให้มี

ความห่างในการฝึกอบรม

ไมต่ ่อเนอ่ื ง

ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ความเ
(1) (2) (3)

2. โครงการอบรมอ
เพ่ือป้องกนั และควบค

๕๗

เสย่ี ง ปจั จยั เสย่ี ง ประเภทความเสย่ี ง
) (4) (5)

ปจั จยั ภายนอก
- ส ถ า น ที่ ห รื อ ห น่ ว ย
ฝึ ก อ บ ร ม มั ก อ ยู่ ไ ก ล ไ ม่
ส ะ ด ว ก ต่ อ ก า ร เดิ น ท า ง
การจัดหลักสูตรอบรมไม่
ต่ อ เนื่ อ ง สั ม พั น ธ์ กั น กั บ
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง
เจ้าหน้าทแี่ ตล่ ะสว่ น

อาสาสมัครชุมชน ปจั จัยภายใน
คุมโรคพิษสนุ ขั บา้ - กำหนดการอบรมตาม

โครงการนี้ขึ้น ในเดือน
พฤษภาคม ทำให้การลง
ฉีดวัคซีนของอาสาสมัคร
ชุมชนเกิดความล่าช้าไป
1-2 เดอื น

ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ความเ
(1) (2) (3)

6. การพฒั นาดา้ นการเมืองการบรหิ าร 6.1 สนับสนุนให้กลุ่มต่าง 1 . โค ร ง ก า ร ฝึ ก อ
ๆ ในชุมชนเข้ามามีส่วน ประสิทธิภาพการบร
ร่วมในการดำเนินกิจกรรม กจิ กรรมดา้ นการจัดเ
ของเทศบาล
6.2 ส่งเสริมและสนับสนุน
การเพิ่มประสิทธิภาพใน
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง
พนักงาน
6 .3 ส ร้างแ ล ะ พั ฒ น า
เค รื อ ข่ า ย ก า ร ดู แ ล แ ล ะ
ป้ อ งกัน อุบั ติ ภั ย ค วาม
ป ล อ ด ภั ย ใน ชี วิ ต แ ล ะ
ทรัพย์สิน

๕๘

เส่ยี ง ปัจจัยเสยี่ ง ประเภทความเส่ยี ง

) (4) (5)

ปัจจัยภายนอก ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห รื อ ก า ร

- อาสาสมัครฯ ในพื้นที่ ปฏบิ ัตงิ าน

กลุ่มเสี่ยงไม่สามารถนำ

สุ นั ข / แ ม ว จ ร จั ด ม า ฉี ด

วัคซีนได้ ทำให้เกิดความ

เสี่ยงในการติดเชท่อโรค

พษิ สุนัขบ้าเพ่มิ ขน้ึ

อ บ ร ม เพื่ อ เพิ่ ม ปัจจยั ภายใน

ริหารงานการคลัง/ - เจ้าหน้าที่ไม่สามารถ

เก็บรายได้ บังคับเด็ดขาด สำหรับผู้มี

หน้าท่ีเสียภาษีท่ีไม่มายื่น

แบบ

ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ ความเ
(1) (2) (3)

6 . 4 เ ผ ย แ พ ร่
ป ร ะ ช าสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล
ข่าวสารและการปฏิบัติงาน
ของทางราชการ
6.5 เพิ่มประสิทธิภาพใน
ก ารจั ด เก็ บ รายได้ ขอ ง
เทศบาลฯ
6 .6 ส่ ง เส ริ ม ค ว า ม รู้
ระเบียบ กฎ หมาย แก่
ประชาชน

2. โครงการอบรมเผ
กฎหมายแก่ประชาช
ปราบปรามการทุจรติ

๕๙

เสี่ยง ปจั จัยเสี่ยง ประเภทความเสีย่ ง

) (4) (5)

ปจั จยั ภายนอก ด้ า น ธ ร ร ม า ภิ บ า ล / ด้ า น

- การเพิ่มข้ึนของผู้เสีย กระบวนการ หรอื การปฏบิ ัติงาน

ภาษี

- การจัดเก็บรายได้ยังไม่

ทวั่ ถึง

- ผู้ เสี ย ภ า ษี ไม่ ช ำ ร ะ

ภายในกำหนด

- จดหมายส่งไม่ถึงผู้ชำระ

ภาษี

ผยแพร่ความรู้ทาง ปจั จยั ภายใน ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร /ด้ า น ก า ร

ชนและการป้องกัน เจ้ าห น้ าท่ี ด ำเนิ น ก าร ปฏิบัตงิ าน

ต เบิกจ่ายงบประมาณล่าช้า

แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น ไ ป ต า ม

ระยะเวลาที่กำหนด

ปจั จัยภายนอก

ผู้เข้าร่วมอบรมมีจำนวน

น้ อ ย ไ ม่ เป็ น ไ ป ต า ม

เ ป้ า ห ม า ย ห รื อ

วตั ถุประสงคท์ ่ีกำหนด

๖๐



5. การวิเคราะห์ความเสีย่ งและการประเมินความเส่ยี ง (แบบ Rm-1)

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาด้านโคร

กระบวนการปฏิบัติงาน เป้าหมาย/ตวั ชีว้ ัด ปัจจยั เสีย่ ง สาเห
โครงการ/ขนั้ ตอนหลกั (2) (3)

(1)

1 . โค รงก ารก่ อ ส ร้างถ น น ประชาชนได้รับความ 1.1 สภ าพ อากาศ 1.1.1 สภา

ค.ส.ล.และ วางท่อระบายน้ำ สะดวกในการสัญจร/ไม่ ในช่วงระยะเวลาของ ไปในชว่ งระ

ถนนหนองคล้าเชื่อมถนนหนอง เกิดปัญหา น้ำท่วมขัง/ การดำเนินโครงการ 1.1.2 ขาด
ปฏบิ ตั งิ าน
คล้าเก่า ซอย 8 (ชุมชนบ้าน บรรเทาความเดือนร้อน

หนองคลา้ เกา่ ) ของประชาชนจำนวน

เส้นทางในการสัญจรของ

ป ร ะ ช า ช น มี ม า ต ร ฐ า น

เพิม่ ขน้ึ

1.2 ข้อมูลบางอย่าง 1.2.3 จ ำ
เป็ น ค ว า ม ลั บ ไม่ ผู้รับจ้าง ซ
สามารถเปิดเผยได้ รับจ้างได้เ

เสนอราคา
ภาครฐั ด้วย

๖๐

รงสรา้ งพนื้ ฐานและสาธารณูปโภค

ประเภทของ การประเมินความเสี่ยง
ความเสี่ยง
หตขุ องความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับเส่ยี ง จัดลำดับ
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสีย่ ง

(9)

าพอากาศท่ีเปล่ียนแปลง S1 4 3 12 สูง

ะยะเวลาดำเนินโครงการ

ดแคลนบุคลากรในการ S1 3 4 12 สูง

ำน ว น แ ล ะ ข้ อ มู ล ข อ ง G1 3 4 12 สูง
ซึ่งไม่สามารถกำหนดผู้
เน่ืองจากมีการประกาศ
าทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง
ยอิเล็กทรอนิกส์

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาด้านโคร

กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน เป้าหมาย/ตวั ช้ีวดั ปัจจัยเสี่ยง สาเห
โครงการ/ข้ันตอนหลัก (2) (3)

(1) นักเรียนมีนิสัยรักการ 2.1 ข า ด ค รู ห รื อ 2.1.1 ผู้เร
อา่ น รอ้ ยละ 66 ขน้ึ ไป บุคลากรท่ีทำหน้าที่ หรือแสวงห
2. โครงการรักการอ่าน
บรรณารักษ์ เพื่อจัด
กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เส ริ ม
ก า ร อ่ า น อ ย่ า ง
ตอ่ เนอื่ ง

2.2 ผู้เรียนยังไม่รัก 2.2.1 ผู้เร
การอ่าน ไม่รักการ หรือแสวงห
แสวงหาความรู้ ด้วย
ตนเอง ไม่บันทึกใน
บั น ทึ ก รัก ษ์ ภ าษ า
สรุปMind mapping
ไม่ ได้ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร
พัฒนา การคิด และ
ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร
เรยี นของนักเรียน

๖๑

รงสรา้ งพ้ืนฐานและสาธารณปู โภค

ประเภทของ การประเมนิ ความเสี่ยง
ความเสย่ี ง
หตขุ องความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดับเส่ียง จดั ลำดับ
(4) (5) (6) (7) (8) ความเส่ยี ง

(9)

รียนมีนิสัยไม่รักการอ่าน O1 3 3 9 ปานกลาง

หาความรู้ดว้ ยตนเอง

รียนมีนิสัยไม่รักการอ่าน O2 3 3 9 ปานกลาง
หาความรูด้ ว้ ยตนเอง

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาดา้ นโคร

กระบวนการปฏบิ ัติงาน เปา้ หมาย/ตวั ช้วี ัด ปัจจยั เส่ยี ง สาเห
โครงการ/ขั้นตอนหลกั (2) (3)

(1)

2.3 ครูส่วนมากยัง 2.3.1 ครูไ
ไม่เห็นความสำคัญ สร้างความ
ของการสร้างความ
ตระหนักในการอ่าน
ให้แก่นักเรียน และ
ยังไม่สง่ เสริมกจิ กรรม
รกั การอา่ นเทา่ ทคี่ วร

2.4 ครไู ม่เห็น 2.4.1 ร ะ
ความสำคญั ในการ เหมาะสมต
สร้างความตระหนัก
ในการอ่านอำนวย
ความสะดวกในการ
สบื คน้ เพ่ือการ
เรียนรขู้ องนักเรียน

๖๒

รงสรา้ งพ้นื ฐานและสาธารณปู โภค

ประเภทของ การประเมินความเสี่ยง
ความเสี่ยง
หตุของความเส่ียง โอกาส ผลกระทบ ระดับเส่ียง จดั ลำดับ
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสย่ี ง

(9)

ไม่เห็นความสำคัญในการ O3 3 3 9 ปานกลาง

มตระหนกั ในการอา่ น

ะ บ บ เท ค โ น โ ล ยี ไ ม่ T1 33 9 ปานกลาง
ต่อการสืบค้น

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาดา้ นโคร

กระบวนการปฏบิ ัติงาน เป้าหมาย/ตัวชวี้ ัด ปจั จยั เสยี่ ง สาเห
โครงการ/ข้ันตอนหลกั (2) (3)

(1)

2.5 มกี ารพฒั นา 2.5.1 กา

การอ่านอย่างเป็น ผู้เรียนยังไม

ระบบอย่างต่อเนื่อง

แ ต่ ยั ง ไม่ บ ร ร ลุ ต า ม

วัตถุประสงค์

3. โครงการ การให้บริการ จำนวนการใช้บริการ 3.1 อุปกรณ์ในการ 3.1.1 อุป

ศาลาประชาคมแหลมฉบัง, ศาลาประชาคมท้ังหมด ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี บางอย่างต

หนองคลา้ , ทุ่งกราด และ ศาลา 20 ครั้งต่อปีงบประมาณ ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ท่ี 3.1.2 อุป

ประชาคมบ้านนาเก่า / จ ำ น ว น ป ร ะ ช า ช น มี ไ ม่ เพี ย ง พ อ ใ น เองเพมิ่ เตมิ

ที่มาใช้บริการ จำนวน บางครั้ง

1,000 คน ขึ้นไปตอ่ ปี 3.2 วัสดุอุปกรณ์ 3.2.1 เจ้า
งบประมาณ
บางอย่างขาดการ เคร่ืองจัก

บำรงุ รกั ษาซอ่ มแซม ซ่อมแซม

3.3 อุปกรณ์ที่ใช้ไม่ 3.3.1 ศาล

เห ม าะ ส ม ใน ก าร ขนาดใหญ

ปฏบิ ัตงิ าน ความสะ

สถานที่

๖๓

รงสร้างพืน้ ฐานและสาธารณูปโภค

ประเภทของ การประเมนิ ความเส่ียง
ความเสี่ยง
หตุของความเส่ียง โอกาส ผลกระทบ ระดบั เส่ยี ง จดั ลำดับ
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสยี่ ง

(9)

รพัฒ นาการอ่านของ G1 33 9 ปานกลาง

ม่บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์

ปกรณ์ในการปฏิบัติหน้าท่ี S1 41 4 นอ้ ย

ตอ้ งรอตามรอบแผน ผด.

ปกรณ์บางอย่างต้องซ้ือ



าหน้าท่ีขาดเคร่ืองมือ / O1 21 2 น้อยมาก
กร ใน การบำรุงรักษ า

ลาประชาคม เป็นอาคาร O2 23 6 ปานกลาง

ญ่ จึงทำให้อุปกรณ์ที่ใช้ทำ

อ าด ไม่ เห ม าะส ม กั บ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพฒั นาด้านโคร

กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน เปา้ หมาย/ตัวชี้วัด ปจั จยั เส่ียง สาเห
โครงการ/ข้ันตอนหลกั (2) (3)

(1)

3.4 ป้ า ย ร ะ บุ 3.4.1 กา
ข้อความจุดแยกขยะ, มากพอ ไม
ข อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ
ผู้ใช้บริการ ในการ
ช่วยกันรักษาความ
สะอาดมีน้อยเกินไป

๖๔

รงสรา้ งพน้ื ฐานและสาธารณปู โภค

ประเภทของ การประเมนิ ความเสี่ยง
ความเส่ยี ง
หตุของความเส่ียง โอกาส ผลกระทบ ระดับเสยี่ ง จัดลำดับ
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสย่ี ง

(9)

ารติดป้ายเตือน ยังมีไม่ T1 23 6 ปานกลาง

มค่ รอบคลุมทกุ พนื้ ที่

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การพัฒนาด้านการจดั การส่ิงแ

กระบวนการปฏิบตั ิงาน เปา้ หมาย/ตวั ชี้วดั ปัจจัยเสย่ี ง สาเห
โครงการ/ข้ันตอนหลกั (2) (3)

(1)

1. โค ร งก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ครู 98% ตระหนักถึง 1.1 ก า ร พั ฒ น า 1.1.1 ขาด

บรหิ าร ค ว าม ส ำคั ญ ข อ งก า ร ระบ บบริหารและ เน่ืองจากย

ประเมินตนเองและการ การจดั การ ทดแทนตำ

ประเมินผลภายในของ 1.2 ครบู างทา่ นสอน 1.2.1 ยังไ
ส ถ า น ศึ ก ษ า ต า ม ไม่ตรงกับวิชาเอก ครูแทนอตั ร

ม าต ร ฐ า น ที่ โรงเรีย น เนื่องจากขาดครูเอก

กำหนด เฉพาะ

1.3 ร ะ บ บ ข้ อ มู ล 1.3.1 การ

ส ารส น เท ศ ยั งไม่ ด้านข้อมูล

สามารถเชื่อมโยงไป จากสว่ นกล

ยั ง ห น่ ว ย ง า น

ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ไ ด้

โดยตรง

๖๕

แวดลอ้ มและการจดั การชายฝ่งั แบบบรู ณาการ

ประเภทของ การประเมนิ ความเส่ียง

หตุของความเส่ียง ความเส่ียง โอกาส ผลกระทบ ระดบั เสี่ยง จัดลำดบั
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสีย่ ง

(9)

ดครูผู้สอนวิชาเอกเฉพาะ S1 3 3 9 ปานกลาง
ยังไม่ได้รับการจัดสรรเพ่ือ O1 3
ำแหนง่ ทโ่ี อนยา้ ย 3 9 ปานกลาง

ไม่ได้รับการจัดสรรอัตรา
ราทโ่ี อนย้าย

รเข้าถึงและการตัดสินใจ T1 33 9 ปานกลาง
ลต้องรอข้อมูลข่าวสาร
ลาง

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การพัฒนาด้านการจดั การสิง่ แ

กระบวนการปฏบิ ัติงาน เปา้ หมาย/ตวั ช้วี ัด ปัจจัยเสีย่ ง สาเห
โครงการ/ขัน้ ตอนหลัก (2) (3)

(1)

1.4 มี ก ารบ ริห าร 1.4.1 ขาด

จัดการเป็นระบบใน การบริหาร

ด้าน บุ คลากร แต่

ป ระสิท ธิผลยังไม่

ตอบสนองต่อความ

ตอ้ งการเท่าท่ีควร

2. โครงการก่อสร้างอาคารเก็บ มีอาคารสำห รับ เก็ บ 2.1 ไม่ได้รับอนุมัติ 2.1.1 ขา

รวบรวมของเสยี ติดเช้อื รวบรวมของเสียติดเชื้อท่ี งบ ป ระม าณ ก าร ผู้บริหารไ

ถู ก ต้ อ ง มี ม า ต ร ฐ า น ก่อสรา้ งอาคารฯ และถูกต้อ

จำนวน 1 หลงั สนับสนุนเพ

๖๖

แวดลอ้ มและการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการ

ประเภทของ การประเมินความเสี่ยง

หตุของความเส่ียง ความเส่ยี ง โอกาส ผลกระทบ ระดับเสี่ยง จัดลำดบั
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสี่ยง

(9)

ดครูวิชาเอกเฉพาะทำให้ G1 3 3 9 ปานกลาง
รจัดการไม่สมบูรณเ์ ท่า

าดงบประมาณ เพราะ S5 5 5 25 สูงมาก

ม่ทราบข้อมูลที่แท้จริง

อง จึงไม่จัด งบประมาณ

พ่มิ เติม

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพ

กระบวนการปฏิบตั ิงาน เป้าหมาย/ตัวชี้วัด ปจั จัยเสี่ยง สาเห
โครงการ/ข้นั ตอนหลกั (2) (3)

(1) คณะครูและนักเรียนได้ 1.1 ยุทธศาสตร์การ 1.1.1 กา
แหล่งเรียนรู้ทันสมัยและ บริหารงานวิชาการ ชำรดุ
1. โครงการปรับปรุงภมู ทิ ศั น์ หลากหลายตรงตามความ เชงิ รุก
ตอ้ งการ

1.2 โรงเรียนได้เปิด 1 .2 .1 ร
ทำการเรียนการสอน สถานศกึ ษา
มาระยะเวลานาน
ทำให้ อาคารเรียน
ห้ อ งน้ ำ -ห้ อ งส้ ว ม
สวนหย่อมต่างๆ เกิด
การชำรดุ ทรดุ โทรม

1.3 ประสานความ 1.3.1 การ
ร่ ว ม มื อ กั บ ก อ ง จากต้นสงั ก
ก ารศึ ก ษ าใน ก าร
จัดท ำแผนการท ำ
โครงการปรับปรุงภูมิ
ทศั น์

๖๗

พฒั นาด้านเศรษฐกจิ

ประเภทของ การประเมินความเสี่ยง
ความเส่ียง
หตุของความเสี่ยง โอกาส ผลกระทบ ระดบั เส่ยี ง จดั ลำดับ
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสีย่ ง

(9)

ารลดอุบัติเหตุจากการ S 1 33 9 ปานกลาง

ร ะ ย ะ เว ล า ก า ร เปิ ด O 1 33 9 ปานกลาง


รเข้าถึงและการตัดสินใจ T 1 33 9 ปานกลาง
กดั

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพ

กระบวนการปฏิบตั ิงาน เป้าหมาย/ตวั ชวี้ ดั ปจั จัยเสยี่ ง สาเห
โครงการ/ข้ันตอนหลกั (2) (3)

(1)

1.4 ป ร ะ ชุ ม 1.1.4 การ
ป รึ ก ษ า ห า รื อ
ผู้บริหารสถานศึกษา
คณ ะกรรมการ
สถานศึกษา คณะครู
เพื่อจัดทำโครงการ
เสนอเข้าแผนพัฒนา
ท้องถ่ิน เพื่อขอรับ
งบประมาณ

๖๘

พัฒนาด้านเศรษฐกิจ ประเภทของ การประเมินความเส่ียง
ความเสี่ยง
หตุของความเส่ียง โอกาส ผลกระทบ ระดับเสยี่ ง จัดลำดบั
(4) (5) (6) (7) (8) ความเสย่ี ง

รพจิ ารณาจากตน้ สงั กดั G1 (9)

33 9 ปานกลาง

ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 กา

กระบวนการปฏิบตั ิงาน เปา้ หมาย/ตัวชี้วดั ปจั จัยเส่ียง สาเห
โครงการ/ขัน้ ตอนหลกั (2) (3)

(1)

1. โครงการอาหารเสริม(นม) ร้ อ ย ล ะ 1 0 0 ข อ ง 1.1 การจัดการด้าน 1.1.1. ขา

สำหรับสถานศึกษาเทศบาล นักเรียนได้รับสารอาหาร การเกบ็ รกั ษานม ปรับปรุงส

นครแหลมฉบงั ค ร บ ถ้ ว น ถู ก ห ลั ก นม

โภ ช น าก ารมี สุ ข ภ า พ 1 .2 มาตรฐานใน 1.2.1 ขนส
ร่างกายและจติ ใจที่ดี การขนส่งนมของผู้

รับจ้าง

1.3 ระบบ 1.3.1 ขา

สารสนเทศยังไม่ เตอื นไปยัง

เชื่อมโยงไปทุกฝ่าย/

งานทีเ่ กย่ี วข้อง

1.4 ความโปร่งใสใน 1.4.1 ระย
ข้ันตอนการจัดซื้อจัด มีไมเ่ พยี งพ
จา้ ง

๖๙


Click to View FlipBook Version