The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบัติงานเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ของกรมที่ดิน (ปี 2560)

สำนักงานเลขานุการกรม

Keywords: ด้านทั่วไป

คู่มือ

การปฏิบตั งิ านเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของกรมทด�ี นิ

จัดทาโดย
ฝ่ ายเร่ืองราวร้องทุกข์ สานักงานเลขานุการกรม

คานา

ดวยปรากฏวา ในปจจุบนั หนว ยงานราชการตา งๆ ไดม กี ารเปดชอ งทางการรอ งเรยี นรอ งทกุ ขหลายชองทาง
ทําใหปริมาณการรองเรียนรองทุกขมีจํานวนมากข้ึนแตการพิจารณาเร่ืองรองเรียนรองทุกขเปนที่ยุติกลับลาชา
ซงึ่ การบรหิ ารจดั การเรอื่ งรองเรียนรองทุกขเปนกระบวนการทีเ่ กยี่ วของกับภาพลักษณของกรมทดี่ นิ ในการ
แกปญหาความเดอื ดรอนหรือความเขาใจผดิ พลาดคลาดเคลือ่ นใหแกประชาชน อีกทัง้ เปนการตอบสนอง
นโยบายของรัฐบาลในดานจริยธรรม และการปองกันการทจุ รติ ประพฤติมิชอบทีเ่ ปนวาระแหงชาติ

โดยกรมทีด่ ินจะเปนผูประสานหนวยงานหรือจงั หวดั ทีเ่ กีย่ วของตรวจสอบขอเทจ็ จรงิ และแกไขปญหาเรอื่ ง
รองเรยี นรองทุกขเพอื่ ใหประชาชนทไี่ ดรบั ความเดือดรอนไดรับความเปนธรรม และพงึ พอใจ ดงั นัน้ เพอื่ ใหการ
ดําเนนิ การเกีย่ วกบั เรือ่ งรองเรียนรองทุกขของกรมทดี่ นิ เปนไปในแนวทางเดียวกันและเปนการอํานวย
ความสะดวกใหแกเจาหนาทผี่ ูปฏบิ ัติงานสํานกั งานเลขานกุ ารกรมจงึ ไดรวบรวมเอกสารทเี่ กีย่ วของจัดทําเปน
คูมอื การปฏบิ ตั ิงานเกยี่ วกบั เรอื่ งรองเรยี นรองทุกข เพอื่ เปนประโยชนในการปฏิบัติงานของผูทเี่ กยี่ วของ
และเปนไปตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย

ฝา่ ยเรอื่ งราวรอ้ งทุกข์
สานักงานเลขานกุ ารกรม
พฤศจิกายน ๒๕๖๐

ส่วนที่ ๑ สารบัญ หน้า
สว่ นที่ ๒ ๑–๔
บทท่ัวไป ๕–๘

- ความหมาย ๙ – ๑๘
๑๙ – ๒๓
- ข้นั ตอนการดาเนินการเร่ืองราวร้องทุกข์ กรมทีด่ นิ ๒๔ – ๔๔
๔๕ – ๔๖
ระเบยี บ คาส่งั หนังสือส่ังการ แนวทางปฏิบตั ิเก่ยี วกับเรอื่ งราวรอ้ งทุกข์
๔๗
- ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการจดั การเร่อื งราวรอ้ งทกุ ข์ พ.ศ. ๒๕๕๒
๔๘
- ร ะเ บี ยบ ส านักนา ย กรั ฐมนต รี ว่า ด้ วย การ รั บฟังควา มคิ ด เห็ นของปร ะ ชา ชน ๔๙ – ๕๐
พ.ศ. ๒๕๔๘
๕๑
- กฎ ก.พ.ค วา่ ดว้ ยการรอ้ งทกุ ข์ และการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยเรือ่ งร้องทกุ ข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๕๒ – ๕๓
๕๔ – ๕๕
- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๐๕.๓/ว ๔๓๑๓ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๐
เรื่อง ซกั ซอ้ มแนวทางปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับเร่อื งราวร้องทกุ ขแ์ ละกล่าวโทษข้าราชการ ๕๖ – ๕๘
๕๙
- หนังสือสานักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๑๐๑/๖๐๐๑ ลงวันที่ ๒๒
พฤศจิกายน ๒๕๕๐ เร่ือง ซักซ้อมแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องราวร้องทุกข์ ๖๐ – ๖๑
และกล่าวโทษข้าราชการ

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๐๕.๓/ว ๑๘๖๒ ลงวันท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
เร่อื ง แนวทางปฏิบตั เิ กย่ี วกบั การรายงานผลการดาเนนิ การตรวจสอบข้อเทจ็ จริง

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๑๙/ว ๓๘๙ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๐
เรอ่ื ง แนวทางการดาเนนิ การแก้ไขปญั หาการร้องทุกข์/รอ้ งเรียน

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๐๕.๓/ว ๒๘๘๐ ลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙
เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับการพจิ ารณาฎกี าขอพระราชทานพระมหากรุณา

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๐๕.๓/ว ๖๘๗ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
เร่ือง แนวทางปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั การพจิ ารณาฎีกาขอพระราชทานพระมหากรณุ า

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๐๕.๓/ว ๓ ลงวันท่ี ๔ มกราคม ๒๕๔๙
เรื่อง แนวทางการดาเนินการเรื่องราวร้องทุกข์กล่าวโทษและแจ้งเบาะแสการกระทาผิด
กฎหมาย

- หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๔.๓๓/ว ๖๘๑๒ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
เรือ่ ง การดาเนนิ การเรอ่ื งราวร้องทุกขก์ ล่าวโทษและแจง้ เบาะแสการกระทาที่ผดิ กฎหมาย

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๒๐๕.๓/ว ๒๑๙๓ ลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘
เร่ือง แนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกบั การพจิ ารณาฎีกาขอพระราชทานพระมหากรณุ า

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๐๕.๓/ว ๓๓๗๖ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๗
เร่ือง หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการ
และการสอบสวนเร่ืองรอ้ งเรียนกล่าวโทษขา้ ราชการวา่ กระทาผดิ วินัย

หนา้

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๐๕.๓/ว ๓๒๓๖ ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๔๗ ๖๒ – ๖๔
เร่อื ง การขอพระราชทานความเป็นธรรมและการขอพระราชทานพระบรมราชานเุ คราะห์

- หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๕๐๔/ว ๑๘๘ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๗ ๖๕
เรื่อง ขอให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒
โดยเคร่งครัด

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๐๕.๓/ว ๑๖๘๗ ลงวันท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ๖๖
เรื่อง การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
ให้แก่ประชาชน

- หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๕๐๓/ว ๙๘ ลงวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๔๗ ๖๗
เร่ือง การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
ใหแ้ ก่ประชาชน

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๒๐๘.๓/ว ๑๔๐ ลงวันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๔ ๖๘
เร่อื ง แนวทางปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั เรื่องราวรอ้ งทุกข์และกล่าวโทษข้าราชการ

- หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๒๐๕/ว ๓๑ ลงวันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ ๖๙ – ๗๑
เรอ่ื ง มาตรการให้ความคุ้มครองขา้ ราชการผใู้ หข้ อ้ มูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท ๐๒๐๘.๓/ว ๒๐๗ ลงวันท่ี ๒๕ ๗๒ – ๗๓
มกราคม ๒๕๔๒ เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับเร่ืองร้องเรียน
กล่าวโทษข้าราชการ และการสอบสวนเร่ืองราวร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการ
วา่ กระทาผดิ วินยั

- หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๒๐๖/๑๗๐๘๕ ลงวันท่ี ๒๕ ๗๔ – ๗๖
ธันวาคม ๒๕๔๑ เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องเรียน
ก ล่ า ว โ ท ษ ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ ก า ร ส อ บ ส ว น เ ร่ื อ ง ร า ว ร้ อ ง เ รี ย น ก ล่ า ว โ ท ษ ข้ า ร า ช ก า ร
ว่ากระทาผิดวนิ ัย

- หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๒๐๖/ว ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๕ ๗๗ – ๗๙
ธันวาคม ๒๕๔๑ เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน
ก ล่ า ว โ ท ษ ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ ก า ร ส อ บ ส ว น เ ร่ื อ ง ร า ว ร้ อ ง เ รี ย น ก ล่ า ว โ ท ษ ข้ า ร า ช ก า ร
วา่ กระทาผดิ วนิ ยั

- หนังสือสานักงาน ก.พ ที่ นร ๐๗๐๙.๒/๕๘๐ ลงวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ ๘๐ – ๘๑
เรื่อง การรอ้ งเรยี นกล่าวโทษข้าราชการและการสอบสวน

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ปกปิด ท่ี มท ๐๒๐๘.๓/ว ๑๐๒ ลงวันท่ี ๑๗ ๘๒
กนั ยายน ๒๕๔๑ เรอ่ื ง แนวทางปฏิบตั ิเก่ียวกับเรือ่ งราวร้องทกุ ขแ์ ละกล่าวโทษขา้ ราชการ

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ท่ี มท ๐๒๐๘.๓/๙๑๒๕ ลงวันที่ ๑ ๘๓
กรกฎาคม ๒๕๔๑ เรอื่ ง การร้องเรียนกลา่ วโทษขา้ ราชการและการสอบสวน

หน้า

- หนังสือสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ท่ี นร ๐๖๐๑/๒๕๖๕ ลงวันท่ี ๑๖ ๘๔
ธนั วาคม ๒๕๔๐ เรอ่ื ง การรอ้ งเรยี นกลา่ วโทษข้าราชการและการสอบสวน ๘๕

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ลับ ด่วนมาก ที่ มท ๐๒๐๘.๓/ว ๑๒๒ ลงวันท่ี ๑๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๐ เรื่อง แนวทางปฏิบัติเก่ียวกับเรื่องราวร้องทุกข์และกล่าวโทษ
ข้าราชการ

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ลับ ที่ มท ๐๒๐๘.๓/ว ๐๘๓ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๘๖
เร่อื ง แนวทางปฏิบัติเก่ียวกับเรอื่ งร้องเรยี น

- หนังสือสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ท่ี มท ๐๒๐๔/ว ๒๙๕๐ ลงวันท่ี ๒๓ ๘๗ – ๘๘
พฤศจกิ ายน ๒๕๒๕ เรือ่ ง การดาเนนิ การเกย่ี วกับเรอ่ื งรอ้ งทุกข์

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท ๐๓๐๙/ว ๖๑๔ ลงวันท่ี ๒๐ ๘๙ – ๙๐
พฤษภาคม ๒๕๒๔ เรื่อง การแก้ไขปัญหาร้องเรยี นและเดนิ ขบวน

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท ๐๓๐๗/ว ๕๖๘ ลงวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๑๓ ๙๑ – ๙๓
เรอ่ื ง การปรบั ปรงุ งานเกยี่ วกบั การพิจารณาเรือ่ งราวร้องทกุ ข์

- หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๕๐๑.๓/ว ๙๕๘๑ ลงวันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๓ ๙๔ – ๙๕
เรอ่ื ง การดาเนินการเกีย่ วกับเร่ืองรอ้ งเรยี นจากประชาชนจนไดข้ ้อยุติ

- หนังสือกรมท่ีดิน ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๕๐๑.๒/ว ๓๓๔๑๑ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ๙๖ – ๙๗
เร่ือง แนวทางปฏิบัตริ าชการเก่ยี วกบั การลงนามในหนังสอื ราชการ

- หนังสือสานักงานเลขานุการกรม ท่ี มท ๐๕๐๑.๓/๕๘๙ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๗ ๙๘
เรอ่ื ง แนวทางปฏิบตั ิเกยี่ วกับเรอ่ื งรอ้ งเรยี น

- หนังสอื สานักงานเลขานกุ ารกรม ท่ี มท ๐๕๐๑.๓/ว๐๑ ลงวนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๗ ๙๙
เรือ่ ง แนวทางปฏิบตั ิเกย่ี วกับเร่ืองร้องเรยี น

- ห นังสือสา นักงา นเ ลขานุการ กร ม ท่ี มท ๐๗ ๐๑ . ๒ / ๒๙ ๑๑ ลงวันที่ ๑ ๐ ๑๐๐ – ๑๐๑
เมษายน ๒๕๔๕ เร่ือง การกาหนดรูปแบบ ระบบ ขั้นตอน และวิธีการควบคุม
การปฏบิ ัติงาน

- หนังสือสานักงานเลขานุการกรม ที่ มท ๐๖๐๑/๔๕๑ ลงวันท่ี ๑๑ มิถุนายน ๒๕๓๙ ๑๐๒
เรอ่ื ง การรายงานผลการพิจารณาเกย่ี วกบั เรอื่ งร้องทกุ ข์

- หนังสือสานักงานเลขานุการกรม ที่ มท ๐๖๐๑/๒๗๙ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๓๖ ๑๐๓ – ๑๐๔
เรอื่ ง การประชมุ ปรึกษาหารือเพ่อื กาหนดหลักเกณฑก์ ารพิจารณาเรื่องรอ้ งเรยี น–ร้องทกุ ข์

- หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๖๐๑/ว ๐๔๘๙๕ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ ๑๐๕ – ๑๐๖
เรอ่ื ง แนวทางการปฏิบตั ิราชการ

- หนงั สือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๕๐๑.๒(๒)/ว. ๗๒๘ ลงวันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๕๕ ๑๐๗-๑๐๘
เรอ่ื ง ชนดิ และแบบหนังสอื ราชการ
๑๐๙
- หนังสอื สาํ นักงานเลขานุการกรม ท่ี มท ๐๕๐๑.๓/๕๗๐ ลงวนั ท่ี ๘ กนั ยายน ๒๕๕๗ ๑๑๐
- หนังสอื สาํ นักงานปลดั สํานกั นายกรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๑๐๕.๐๖/ว ๖๗๒๑ ลงวนั ท่ี ๑๗ ๑๑๑-๑๑๕
กรกฎาคม ๒๕๖๐
- แนวทางการปฏิบตั ิงานเรือ่ งรอ งเรียน/รอ งทกุ ข

ส่วนท่ี ๑
บทท่วั ไป

๑. ความหมาย

การดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียน มีความสาคัญสาหรับส่วนราชการ
หน่วยงานต่าง ๆ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพราะในการบริหารราชการ หรือการให้บริการ
ของสว่ นราชการ นั้น ผลงานจะเป็นส่ิงท่ีพึงพอใจของประชาชนหรือผู้รับบริการหรือไม่ข้ึนอยู่กับ
การปฏบิ ัติหน้าทข่ี องเจ้าหน้าทขี่ องส่วนราชการ หน่วยงานต่าง ๆ ซ่งึ การแสดงออกโดยผ่านกระบวนการ
ร้องทุกข์ ร้องเรียน สามารถเป็นเครื่องชวี้ ดั ได้อย่างหนง่ึ กรมทด่ี ินเปน็ สว่ นราชการที่รบั ผิดชอบงาน
โดยมีบทบาท และหน้าท่ีความรับผิดชอบตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ ดังน้ี ๑) ดาเนินการตามประมวลกฎหมายที่ดิน กฎหมาย
ว่าด้วยอาคารชุด กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน กฎหมายว่าด้วยช่างรังวัดเอกชน กฎหมาย
ว่าด้วยการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง
๒) ดาเนินการด้านกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน กฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กฎหมาย
วา่ ดว้ ยการจดั สรรที่ดิน กฎหมายว่าด้วยช่างรงั วัดเอกชน กฎหมายว่าด้วยการเชา่ อสงั หารมิ ทรพั ย์
เพื่อพาณชิ ยกรรมและอตุ สาหกรรม และกฎหมายอ่ืนทเ่ี ก่ียวข้อง ๓) จัดทาและประสานแผนงาน
ของกรมให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง รวมทั้งกากับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผล
การปฏิบัติงานตามแผนงานของหน่วยงานในสังกัดและดาเนินการเกี่ยวกับงานสถิติและ
ประมวลผล ๔) พัฒนาระบบ รูปแบบและวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานท่ีดิน ๕) ปฏิบัติการ
อน่ื ใดตามทีก่ ฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกรม หรือตามท่ีกระทรวงหรือคณะรัฐมนตรี
มอบหมาย ซึ่งมีผลกระทบต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน การปฏิบัติหน้าท่ีอาจเป็นที่พึงพอใจ
หรือไม่เป็นที่พึงพอใจของประชาชนก็ได้ ดังนั้น การดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน
จงึ เป็นงานทส่ี าคญั อย่างหน่งึ ของกรมที่ดนิ

(๑) ความหมายและการดาเนนิ การเรอื่ งราวรอ้ งทุกข์ ร้องเรยี น
เพื่อให้การพิจารณาความหมายของเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน ชัดเจนยิ่งข้ึนจึง

แบ่งแยกพจิ ารณา ความหมายของคาวา่ “เรอื่ งราวรอ้ งทุกข์ ร้องเรียน” ไว้ ๒ ประการ คอื
- เรอื่ งราวรอ้ งทุกข์ ร้องเรยี นของขา้ ราชการ หมายถึงเรื่องราวที่ข้าราชการเป็น

ผูถ้ ูกรอ้ งเรียน เนอ่ื งจากการปฏบิ ตั หิ น้าทห่ี รือปฏิบตั ิตน
- เร่ืองราวร้องทุกข์ ร้องเรียนของประชาชน หมายถึง เร่ืองราวท่ีผู้ร้องเรียน

ประสงค์ให้ได้รับการปลดเปล้ืองความทุกข์ท่ีตนได้รับ หรือเป็นเร่ืองที่ผู้ร้องเรียนหรือผู้อื่น หรือ
สาธารณชนไดร้ บั ความเสียหาย และยงั รวมถงึ ข้อขัดแยง้ ระหวา่ งประชาชนกับประชาชนอีกด้วย

“บัตรสนเท่ห์” หมายถึง จดหมายฟ้องหรือกล่าวโทษผู้อ่ืน โดยมิได้ลงช่ือ
หรอื ไมล่ งช่อื จรงิ ของผูเ้ ขยี น



(๒) การดาเนินการเก่ียวกับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียน ได้นาบทบัญญัติในหมวด ๓
กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ในพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๒๒ ว่าด้วยเรื่อง
สทิ ธิรอ้ งทกุ ข์ต่อคณะกรรมการวินจิ ฉยั รอ้ งทุกข์มาปรบั ใชโ้ ดยอนุโลม ซึง่ มสี าระสาคญั คือ

(๒.๑) ลกั ษณะของเรอื่ งราวร้องทุกข์

(๒.๑.๑) มาตรา ๑๙ เร่ืองราวร้องทกุ ข์ทร่ี บั ได้ เร่อื งราวรอ้ งทกุ ข์ท่จี ะรับ
ไวพ้ จิ ารณาจะต้องมีลักษณะ ดังนี้

(๒.๑.๑.๑) เป็นเรื่องที่มีผู้ร้องทุกข์ได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหาย
หรอื อาจจะเดอื ดรอ้ น หรอื เสียหายโดยมอิ าจหลกี เลี่ยงได้ และ

(๒.๑.๑.๒) ความเดือดร้อน หรือความเสียหายท่ีว่านั้น เนื่องมาจาก
เจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าท่ี ตามท่ีกฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
ลา่ ชา้ เกนิ สมควร กระทาการนอกเหนอื อานาจหน้าที่ หรือขัดหรือไม่ถูกต้องตามกฎหมายกระทาการ
ไมถ่ กู ต้องตามขนั้ ตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญทีก่ าหนดไวส้ าหรับการน้ัน กระทาการไม่สุจริต
หรอื โดยไม่มเี หตุผลอันสมควร

(๒.๑.๒) มาตรา ๒๐ เร่ืองราวร้องทุกข์ที่ไม่อาจรับไว้พิจารณา มีลักษณะ
ดังน้ี

- เรอื่ งรอ้ งทุกข์ทมี่ ลี ักษณะเปน็ ไปทางนโยบายโดยตรง ซึ่งรัฐบาล
ต้องรบั ผดิ ชอบต่อสภา

- เรือ่ งท่ีคณะรฐั มนตรี หรอื นายกรฐั มนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
มีมตเิ ด็ดขาดแล้ว

- เร่ืองท่ีมีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาล หรือที่ศาลพิพากษา
หรือมคี าสงั่ เดด็ ขาดแลว้

- เรื่องทย่ี ังมิได้ดาเนนิ การเพ่ือแกไ้ ขความเดือดร้อน หรือเสียหาย
ครบขนั้ ตอนตามทกี่ ฎหมายกาหนดไว้

- เรือ่ งที่คณะกรรมการวินิจฉยั รอ้ งทุกข์ ได้วินิจฉยั เสร็จเด็ดขาดแล้ว
เว้นแต่เป็นกรณที ม่ี ีการพบพยานหลักฐานใหม่

- เรอื่ งทผี่ ้รู อ้ งทุกข์ ละทง้ิ การรอ้ งทกุ ข์
- เรอื่ งที่ขาดอายุความการร้องทกุ ข์
อย่างไรก็ตาม หลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นเพียงหลักการกว้าง ๆ ท่ีนาไปปรับใช้
โดยอนุโลมเทา่ น้นั ทั้งนีเ้ พราะไดพ้ จิ ารณาเห็นว่าภารกจิ ของกระทรวงมหาดไทยมีอย่างกว้างขวาง
ดังน้ัน คาร้องทุกข์ ร้องเรียนต่าง ๆ ท่ีส่งไปยังกระทรวงมหาดไทย จึงได้รับการพิจารณาในทุกเร่ือง
ทั้งนี้ เพ่ืออานวยความยุติธรรมแก่ประชาชนให้มากที่สุด และให้คาร้องทุกข์ ร้องเรียนได้รับการแก้ไข
โดยเรว็



(๒.๑.๓) มาตรา ๒๑ ส่วนประกอบของคาร้องทุกข์
คาร้องทกุ ข์ประกอบด้วย
- ชือ่ และท่ีอยขู่ องผู้รอ้ งทกุ ข์
- เรอ่ื งอนั เปน็ เหตใุ หร้ อ้ งทุกข์ พร้อมทั้งข้อเท็จจริง หรือพฤติการณ์

ตามสมควรเก่ียวกับเรอื่ งทรี่ ้องทุกข์
- ใชถ้ อ้ ยคาสุภาพ
- ลายมือชื่อผู้ร้องทุกข์ ดาเนินการย่ืนร้องทุกข์แทนผู้อื่น

จะต้องแนบใบมอบฉันทะให้ผ้รู อ้ งทุกข์ด้วย
(๒.๒) การยืน่ เรอ่ื งราวร้องทุกข์ รอ้ งเรยี น
(๒.๒.๑) มาตรา ๒๒ การย่ืนเร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์ หากผใู้ ดประสงคจ์ ะยืน่

เร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์ ใหย้ ื่นเรอื่ งราวร้องทุกข์ได้ ดังนี้
- ย่นื เร่ืองราวร้องทุกข์ รอ้ งเรียนดว้ ยตนเอง หรือมอบหมายให้

ผู้อื่นยื่นแทน ซ่ึงผู้นั้นจะต้องอยู่ในฐานะท่ีจะทราบข้อเท็จจริงอันเป็นสาเหตุแห่งการร้องทุกข์
ร้องเรียน

- ส่งเรอ่ื งราวรอ้ งทุกข์ ร้องเรียนทางไปรษณยี ์
(๒.๒.๒) มาตรา ๒๓ การยื่นเรอ่ื งราวร้องทุกข์ต้องกระทาภายใน ๙๐ วนั

นับแต่วันท่ีรู้ หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการร้องทุกข์ หรือนับแต่วันที่ผู้ร้องทุกข์ได้มีหนังสือร้องขอ
ต่อเจ้าหน้าท่ีของรัฐเพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติตามท่ีกฎหมายกาหนด และไม่ได้รับหนังสือ
ชีแ้ จงจากเจา้ หน้าทขี่ องรฐั โดยมีเหตผุ ลอันสมควรแลว้ แตก่ รณี

(๓) สว่ นราชการทรี่ ับเรอื่ งราวรอ้ งทกุ ข์ รอ้ งเรยี น ประกอบดว้ ย
ในกรุงเทพมหานคร
- สานักราชเลขาธกิ าร
- สานักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี
- สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี
- สานกั เลขาธิการรัฐสภา
- สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา
- กระทรวง ทบวง กรม
- สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย
- สานักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย
- ศูนยด์ ารงธรรม กระทรวงมหาดไทย



- ศนู ย์ปฏบิ ัตกิ ารกระทรวงมหาดไทย
- หนว่ ยงานราชการตา่ ง ๆ
- การมาร้องเรยี นดว้ ยตนเอง

ฯลฯ
จังหวัดอ่ืน ๆ

- ผวู้ ่าราชการจังหวดั นายอาเภอ / ปลดั อาเภอผเู้ ปน็ หวั หนา้ ประจากิ่งอาเภอ
- หวั หนา้ สว่ นราชการ
- กานนั ผูใ้ หญ่บ้าน
- องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

ฯลฯ



ข้นั ตอนการดาเนนิ การเร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์ กรมทดี่ ิน

กรมที่ดนิ รบั เรอ่ื งร้องเรยี น / ร้องทกุ ข์จาก
๑. บคุ คลท่ัวไปหรอื นิตบิ คุ คล
๒. หนว่ ยงานราชการต่าง ๆ

ขัน้ ตอนการดาเนนิ การ

กรณรี บั เร่อื งจากบคุ คลทวั่ ไปหรือนิติบุคคล
๑. เจา้ หนา้ ทเ่ี สนอความเห็นต่ออธบิ ดเี พ่อื สงั่ การดงั นี้

- กรณมี ขี อ้ มลู ชดั เจนวา่ เปน็ เรอื่ ง/ประเด็นใด เก่ียวขอ้ งกบั สานัก/กองใด ให้สง่ สานัก/กอง
เจา้ ของเรื่อง ภายใน ๓ วนั ทาการ
- กรณีมขี อ้ มูลไม่ชัดเจน ให้สง่ จงั หวัดตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ ภายใน ๓ วนั ทาการ
๒. สานกั งานเลขานกุ ารกรมแจง้ ผรู้ อ้ งทราบไวช้ ้นั หนึง่ กอ่ น โดยทาเปน็ หนงั สอื ประทับตราแทนการลงชื่อ
และใหส้ านกั /กองเจา้ ของเรอื่ ง จงั หวดั แจง้ ผลการพิจารณาใหผ้ ้รู ้องทราบ โดยขอใหแ้ จง้ เปน็ ระยะ
อย่างน้อยทุก ๓๐ วนั หรอื ตามความเหมาะสมเป็นกรณี ๆ ไป
๓. สานกั /กองเจา้ ของเร่อื งพิจารณาเสนออธิบดสี ัง่ การหรอื ขอใหจ้ งั หวัดสอบสวนข้อเท็จจรงิ
เพิ่มเติมหรอื ดาเนนิ การอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ภายใน ๗ วัน
๔. กรณใี ห้จังหวดั ตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ เพม่ิ เตมิ และพิจารณาดาเนนิ การตามอานาจหนา้ ทใ่ี หเ้ ปน็
ท่ยี ตุ ิภายในกาหนด ๓๐ วนั นับแตว่ นั ทไ่ี ด้รับหนงั สอื เสรจ็ แล้วแจง้ ผลให้ผ้รู ้องทราบ และรายงานผล
ให้กรมท่ีดนิ ทราบดว้ ย
๕. หลงั จากจงั หวดั สอบสวนดาเนนิ การเสรจ็ และรายงานผลการพจิ ารณาใหก้ รมที่ดนิ (สานักงาน
เลขานกุ ารกรม, สานกั /กอง) ทราบแลว้ เจา้ ของเรอ่ื งต้องพจิ ารณาเสนออธบิ ดี ภายใน ๓๐ วนั
ทงั้ นย้ี กเว้น สานกั จดั การทดี่ ินของรฐั สานกั มาตรฐานการทะเบียนทดี่ นิ สานักมาตรฐาน
การออกหนงั สอื สาคัญ ทมี่ ลี กั ษณะงานมปี ญั หายงุ่ ยากซบั ซอ้ น ใหใ้ ช้เวลาพจิ ารณาเสนออธบิ ดี
ภายใน ๔๕ วนั และแจง้ ผลให้ผู้รอ้ งทราบ (กรณสี านกั /กอง รับเรื่องจากสานักงานเลขานุการกรม
ครั้งแรก ให้สาเนาแจง้ สานกั งานเลขานุการกรมเพือ่ จาหนา่ ยบัญชดี ว้ ย)
๖. ถา้ ข้อเท็จจรงิ ท่ีจงั หวดั ยังไม่ยตุ แิ ละเป็นอานาจหนา้ ทขี่ องหนว่ ยงานอื่นในกรมทด่ี นิ
- สง่ สานัก/กอง ทีม่ ีอานาจหนา้ ทพ่ี จิ ารณาดาเนนิ การตอ่ ไป
- ส่งผตู้ รวจราชการกรมทด่ี ินเพอื่ ตรวจสอบและสดบั ตรับฟงั ตามบัญชาของอธบิ ดี
๗. การพิจารณาขอ้ หารอื หรอื เรือ่ งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับปัญหาต่าง ๆ ใหใ้ ช้ระยะเวลาภายใน ๓๐ วัน
เป็นเกณฑ์ในการพิจารณา เว้นแตเ่ รื่องใดมีปญั หายงุ่ ยากซบั ซอ้ นใหใ้ ชร้ ะยะเวลามากกว่านั้นได้
๘. การกาหนดชนั้ ความเร็วของหนงั สอื ราชการใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ

/ กรณี...



กรณรี ับเรือ่ งจากหน่วยงานราชการตา่ ง ๆ
๑. เจ้าหนา้ ท่ีเสนอความเห็นต่ออธบิ ดเี พ่ือสัง่ การดงั น้ี

- กรณีมีข้อมลู ชัดเจนว่าเกยี่ วขอ้ งกับสานกั /กองใด ให้ส่งสานัก/กองเจ้าของเรอ่ื ง ภายใน ๓ วนั
ทาการ
- กรณมี ขี อ้ มูลไม่ชดั เจนให้สง่ จังหวดั ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง ภายใน ๓ วนั ทาการ
๒. การแจง้ หน่วยงานให้ทราบไวช้ นั้ หน่ึงก่อน
๒.๑ กรณสี ง่ สานัก/กองเจ้าของเรือ่ ง

- สานกั งานเลขานกุ ารกรมแจง้ ใหผ้ รู้ อ้ งทราบไวช้ ัน้ หนงึ่ กอ่ น หากหนว่ ยงานทีส่ ง่ เรื่อง
ให้กรมทด่ี ินดาเนนิ การระบใุ หแ้ จง้ ผูร้ อ้ งทราบ (ทาเปน็ หนงั สือประทบั ตราแทนการลงชอื่ ) โดยไมต่ อ้ ง
แจง้ ใหห้ นว่ ยงานนนั้ ๆ ทราบ

- สานกั /กองเจา้ ของเร่อื ง แจง้ ผลการพจิ ารณาใหห้ น่วยงานนน้ั ๆ ทราบ และแจง้ ผลใหผ้ รู้ ้อง
ทราบด้วย หากหนว่ ยงานนน้ั ๆ ระบุให้แจ้งโดยขอใหแ้ จง้ เปน็ ระยะอยา่ งน้อยทุก ๓๐ วนั
หรอื ตามความเหมาะสมเปน็ กรณไี ป

๒.๒ กรณสี ่งจงั หวัดดาเนนิ การ
- สานักงานเลขานกุ ารกรมแจ้งหนว่ ยงานที่สง่ เร่ืองใหก้ รมทดี่ ินดาเนนิ การและแจง้ ให้

ผูร้ ้องทราบไว้ชนั้ หน่ึงกอ่ น (ทาเปน็ หนงั สอื ประทบั ตราแทนการลงชื่อ) ตามทหี่ นว่ ยงานน้ัน ๆ
ระบุใหแ้ จ้ง (กรณีรอ้ งเรียนผา่ นกระทรวงมหาดไทย ไม่ตอ้ งแจ้งใหก้ ระทรวงมหาดไทยทราบ
จนกวา่ จะดาเนนิ การเรอื่ งยตุ ิแล้ว ตามบันทึกสานักงานเลขานกุ ารกรม ที่ มท ๐๖๐๑/๔๕๑
ลงวนั ที่ ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ แตต่ ้องแจ้งใหผ้ รู้ ้องทราบไว้ชน้ั หน่ึงก่อน)

- จงั หวดั แจ้งผลการพิจารณาให้ผู้รอ้ งทราบ หากหนว่ ยงานนนั้ ๆ ระบใุ ห้แจ้ง และรายงานผล
การดาเนนิ การให้กรมทด่ี ินทราบ เพ่อื กรมทดี่ นิ จะไดแ้ จ้งให้หน่วยงานน้ัน ๆ ทราบต่อไป
๓. สานกั / กองเจ้าของเรื่องพจิ ารณาเสนออธบิ ดีสงั่ การใหจ้ ังหวดั สอบสวนข้อเทจ็ จรงิ เพม่ิ เตมิ
หรอื ดาเนินการอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ภายใน ๗ วนั
๔. กรณีใหจ้ งั หวดั ตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ เพมิ่ เตมิ และพิจารณาดาเนนิ การตามอานาจหนา้ ทใ่ี หเ้ ปน็ ท่ียตุ ิ
ภายในกาหนด ๓๐ วัน นบั แตว่ นั ทไี่ ด้รบั หนงั สอื และรายงานผลใหก้ รมทดี่ นิ ทราบ เพ่อื จะไดแ้ จ้ง
ใหห้ น่วยงานราชการตา่ ง ๆ ทราบ (กรณีรอ้ งผา่ นกระทรวงมหาดไทย หรอื หนว่ ยงานราชการต่าง ๆ
ทีร่ ะบวุ ่าใหแ้ จง้ ผรู้ อ้ งทราบโดยตรงตอ้ งแจง้ ผลใหผ้ รู้ ้องทราบด้วย)
๕. หลังจากจังหวัดสอบสวนดาเนินการเสร็จและรายงานผลการพิจารณาให้กรมที่ดิน (สล.,
สานัก/กอง) ทราบแลว้ เจา้ ของเรอ่ื งต้องพจิ ารณาเสนออธบิ ดี ภายใน ๓๐ วนั ทง้ั นีย้ กเวน้
สานกั จดั การทด่ี นิ ของรฐั สานักมาตรฐานการทะเบยี นทดี่ นิ สานกั มาตรฐานการออกหนังสอื สาคัญ
ทล่ี ักษณะงานมปี ญั หายงุ่ ยากซบั ซอ้ น ให้ใชเ้ วลาพจิ ารณาเสนออธิบดี ภายใน ๔๕ วนั และแจ้งให้
หนว่ ยงานราชการตา่ ง ๆ พร้อมทั้งแจง้ ผรู้ อ้ งทราบ

(กรณสี านกั /กอง รบั เรอ่ื งจากสานกั งานเลขานกุ ารกรมครัง้ แรก ใหส้ าเนาแจง้ สานักงาน
เลขานกุ ารกรมเพอ่ื จาหนา่ ยบัญชดี ว้ ย)

/ ๖.ถา้ ข้อเท็จจริง…



๖. ถา้ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีจงั หวดั ยังไม่ยุตแิ ละเปน็ อานาจหน้าทข่ี องหนว่ ยงานอ่ืนในกรมทด่ี นิ
- ส่งสานกั /กอง ท่ีมหี นา้ ทีพ่ ิจารณาดาเนนิ การตอ่ ไป
- สง่ ผตู้ รวจราชการกรมที่ดินเพ่อื ตรวจสอบและสดบั ตรับฟงั ตามบญั ชาของอธบิ ดี

๗. การพิจารณาข้อหารอื หรอื เรอ่ื งทีเ่ กีย่ วข้องกับปญั หาต่าง ๆ ใหใ้ ชร้ ะยะเวลา ภายใน ๓๐ วนั
เปน็ เกณฑ์ในการพิจารณา เวน้ แตเ่ รื่องใดมปี ัญหายุ่งยากซบั ซ้อน ให้ใชร้ ะยะเวลามากกว่านน้ั ได้
๘. การกาหนดชน้ั ความเรว็ ของหนงั สอื ราชการใหถ้ ือปฏบิ ัตติ ามระเบียบวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ



แผงผงั การทางานของกระบวนการพิจารณาเรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ข์

แจง้ ผลการดาเนินการ

(2) หน่วยงานที่รบั และสง่ (3) สานกั งานเลขานุการกรม (5) จงั หวดั ตรวจสอบขอ้ เท็จจริง (30 วนั ) (6) รายงานผลการ
หนว่ ยงานภายนอกกรมที่ดนิ ฝ่ายเรื่องราวรอ้ งทุกข์ ดาเนนิ การ - ดาเนนิ การเป็นทย่ี ตุ ิ ภายใน 30 วนั ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ
- สานกั ราชเลขาธกิ าร - เตือนขอทราบผลจากจังหวดั ครง้ั ท่ี 1 มาทฝ่ี ่ายเร่อื งราว
- สานกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี (3 วัน) ( 30 วนั ) , ครงั้ ท่ี 2 ( 15 วนั ) รอ้ งทกุ ข์ (30 วัน)
- สานกั นายกรัฐมนตรี - เตือนครบ 2 คร้ัง ไมไ่ ด้รับทราบผล
(1) ผรู้ ้องเรียน (4) อธิบดีกรมทดี่ นิ สง่ สานักผตู้ รวจราชการกรมทด่ี นิ
รอ้ งทุกข์ ฯลฯ ส่ังการ (7 วนั ) เรง่ รดั ตดิ ตาม
กรมทด่ี ิน
- www.dol.go.th วิเคราะหส์ รปุ ผลรายงาน
- จดหมาย การตรวจสอบ
- มาด้วยตนเอง ขอ้ เท็จจริง
- ศูนย์ดารงธรรม
- กระจกชาวดนิ สานัก / กอง
พจิ ารณาส่งจงั หวดั ( 7 วนั )

สานักผูต้ รวจราชการกรมทดี่ ินตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงตดิ ตาม และสรปุ ความเห็น
เสนออธิบดีกรมที่ดิน

แจ้งผรู้ ้องทราบ รายงานผล (7) อธิบดกี รมทด่ี ิน
ชน้ั หนึง่ ก่อน การตรวจสอบ พจิ ารณาส่งั การ
ข้อเท็จจริง
แจง้ ผลการดาเนนิ การใหผ้ ้รู อ้ งทราบ เสนออธิบดีกรมท่ีดิน / ยุติเรอ่ื ง



..

.. ()
.. ” “

“”

“”
“”

Ī

“” ”


“”

“ ”
. ..
()
()

()
..

()

Ģġ

()
()
()
()
()

()
()
()
()

()
()
()

ĢĢ

()
()
()
()

Ģģ

()
()

()
()

()
()
()
()

()
()
()
()

ĢĤ

()
() ()

Ģĥ

()
()
()
()

()
()
()

ĢĦ

() ()

Ģħ

ĢĨ

()
()
()
()

()
()

..

Ģĩ

..

.. ()
.. ” “

..
“”

“”
“”
“”

ĢĪ

()
()
()
()
()
()
()

()

ģġ

()
()
()

()

()
()

()
()
()
()
()
()

ģĢ

()

()
()
()
()
()

ģģ

..

ģĤ

...

..

() ... ...
.. ..

... “ ...

.. ...

“” ...

“ ”


...

“” ..

ģĥ

“ ” ... ...
...

“ ”
“ ”

... ”

... ... ...
... ... ...

...

...

ģĦ

..
...

()

()
()
()
()

()
()
()
()
()

ģħ

...
()
()
()

()

ģĨ

( ) ()
() ()
()
()

ģĩ

()
()
()
()
()
()
()

()
()

...
...

ģĪ

... ()
()
() Ĥġ
()

()

()
.. ...

...

ĤĢ

...

... ...
...

... ... ..

Ĥģ

.. ..

...
...

... ..
..
ĤĤ
..

() ...
() ...
...
()
() ..

...

...

... ...

...

...
...

Ĥĥ

... ... ...

...
...

...
...

...

...
...

...
...

...

()

()

() () ( )
() ( )

() ( )

ĤĦ

...

()
()

() () ()
...
() ...
() Ĥħ
()
()
()
() ( )

()

...

()

ĤĨ

() ()

()
()
()
()
()
()

Ĥĩ

()

()
...

...
...
...

ĤĪ

...
...
...

()
()
()
( ) ()( ) ( )

ĥġ

...

...
...
...
...
...
...
...
...

...

ĥĢ

.. ..
..

..

ĥģ

:- ...
.. ...

... ...

ĥĤ


Click to View FlipBook Version