The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ชุดประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปี 2560)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน (KM ปี 2560)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

หนังสือ
เรื่อง หลักกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกับการจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ ิกรรม

ชดุ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

ก อ ง ฝึ ก อ บ ร ม ไ ด้ ดํ า เ นิ น ก า ร แ ก้ ไ ข ต า ม บั น ทึ ก สํ า นั ก ม า ต ร ฐ า น
การทะเบียนท่ีดิน ท่ี มท 0515.3/115 ลงวันท่ี 15 มกราคม 2562
ปรากฏตามใบแทรกทีแ่ นบมาพรอ้ มนี้

ข้อมูล ณ วนั ท่ี 16 มกราคม 2562

ใบแทรก

หนงั สอื “หลักกฎหมายท่เี กยี่ วข้องกบั การจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ ิกรรม

ชุดประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

**********
1. แก้ไขหน้า 18 ขดี ข้อ 7 ออก
2. แกไ้ ขหน้า 21 ข้อ 12 เป็น “หา้ มโอน (ผ้เู ยาวร์ บั ให้มีข้อกําหนด
ห้ามโอน (ม. 1700 ป.พ.พ.) หรือ (ผู้เยาว์รับมรดกตามพนิ ัยกรรมทมี่ ี
ข้อกําหนดห้ามโอน)”
3. แก้ไขหนา้ 31 ขอ้ 17 ห้ามโอน หัวข้อผูเ้ ยาวร์ บั มรดกตาม
พนิ ยั กรรมท่มี ีข้อกําหนดหา้ มโอน รายละเอยี ดด้านล่างนี้

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ กิ รรมของผู้เยาว์

17. หา้ มโอน

- ผู้เยาว์รบั มรดกตาม ทาํ ได้โดยไดร้ บั ความยินยอมจากผ้แู ทน

พนิ ยั กรรมท่มี ขี ้อกําหนด โดยชอบธรรม และต้องขออนุญาตศาลก่อน

หา้ มโอน (ม. 1611 (2) ป.พ.พ.)

4. แก้ไขหน้า 38 ขีดข้อ 7 ออก และเรียงลาํ ดับเลขใหม่
5. แกไ้ ขหน้า 39 ข้อ 13 เป็น “12. หา้ มโอน (คนไรค้ วามสามารถ
รบั ให้มขี ้อกําหนดห้ามโอนไปยงั บุคคลอื่น (ม. 1700 ป.พ.พ.) กรณีสามี
ภรรยาเป็นผูอ้ นบุ าล)”
6. แก้ไขหน้า 41 ขอ้ 8 เป็น “แบ่งทรัพย์สินระหว่างคูส่ มรส”
และขีด “(กรณีบุคคลอ่ืนนอกจากคู่สมรสเปน็ ผู้อนุบาล)” ออก
7. แกไ้ ขหนา้ 43 ขอ้ 14 เป็น “หา้ มโอน (คนไร้ความสามารถรบั ให้
มขี ้อกําหนดหา้ มโอนไปยงั บุคคลอื่น (ม. 1700 ป.พ.พ.) (กรณบี ุคคลอนื่
นอกจากค่สู มรสเปน็ ผอู้ นุบาล) หรือรบั มรดกตามพนิ ยั กรรมทม่ี ีข้อกาํ หนด
หา้ มโอน)

8. แก้ไขหน้า 48 ข้อ 8 ลงช่ือคู่สมรส/แบ่งทรัพย์สินระหวา่ งคสู่ มรส
หัวขอ้ แบง่ ทรัพย์สนิ ระหวา่ งคู่สมรส รายละเอยี ดด้านล่างน้ี

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ ิกรรมของคนไรค้ วามสามารถ
8. ลงชอื่ คูส่ มรส/แบง่
ทรพั ยส์ นิ ระหว่างคสู่ มรส

- แบง่ ทรัพย์สนิ ระหวา่ ง ทาํ ไดโ้ ดยต้องขออนุญาตศาลกอ่ นและให้
คสู่ มรส ผอู้ นบุ าลทําแทน (ม. 1574 (12) และ

ม. 1598/18 ป.พ.พ.)

9. แกไ้ ขหน้า 53 หัวข้อคนไร้ความสามารถรับมรดกตามพินัยกรรม
ท่มี ขี ้อกาํ หนดหา้ มโอน รายละเอยี ดด้านล่างน้ี

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค้ วามสามารถ

- คนไร้ความสามารถ ทําได้โดยต้องขออนุญาตศาลก่อน
รับมรดกตามพนิ ัยกรรม (ม. 1611 (2)) และใหผ้ ู้อนุบาลทาํ แทน
ทมี่ ีข้อกาํ หนดห้ามโอน (ม. 1598/15 หรือ ม. 1598/18 ป.พ.พ.)

10. แกไ้ ขหน้า 57 หัวข้อความสามารถในการทํานติ กิ รรม โดยขีด
ขอ้ 3 ทงั้ หมดออก “3. ห้ามโอน (คนเสมือนไร้ความสามารถรบั มรดกตาม
พนิ ยั กรรมท่ีมีข้อกําหนดหา้ มโอน)”

11. แกไ้ ขหน้า 59 ข้อ 13 เป็น “หา้ มโอน (คนเสมอื นไร้
ความสามารถรับให้มีข้อกําหนดห้ามโอนไปยังบคุ คลอืน่ ต้องไดร้ บั ความ
ยินยอมจากผู้พิทักษ์ และกรณรี ับมรดกตามพนิ ัยกรรมท่ีมีขอ้ กําหนดห้ามโอน
ต้องไดร้ บั ความยินยอมจากผ้พู ิทกั ษแ์ ละตอ้ งขออนญุ าตศาลก่อน)”

12. แก้ไขหน้า 67 ข้อ 16 ห้ามโอน รายละเอยี ดด้านล่างนี้

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ กิ รรมของคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ

- คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ ทาํ ไดโ้ ดยต้องไดร้ ับความยนิ ยอมจากผ้พู ทิ ักษแ์ ละ
รบั มรดกตามพนิ ยั กรรมทม่ี ี ตอ้ งขออนุญาตศาลกอ่ น (ม. 1611 (2) ป.พ.พ.)
ขอ้ กําหนดหา้ มโอน

คาํ นาํ

หนังสือ เรื่อง “หลักกฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรม ชุดประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย” เลมนีเ้ ปน
องคความรูท่ีไดจากการแสวงหาความรูจากขอกฎหมาย ระเบียบ คําส่ัง
ประสบการณ/ปญหาทีพ่ บจากการปฏิบัติงาน ซึง่ เปนการดําเนินการ
จัดการความรูตามแผนการจัดการความรู (KM Action Plan) ของกรมท่ีดิน
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

ความรูที่ไดนํามารวบรวมไวในหนังสือเลมนี้ เปนองคความรู
ชัดแจง (Explicit Knowledge) และเปนองคความรูท ีฝ่ งลึกในตัวคน
(Tacit Knowledge) ทีใ่ ชในการปฏิบัติงานเกีย่ วกับหลักกฎหมาย
ทีเ่ กีย่ วของกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ชุดประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย อันนับเปนความรูท ี่ทรงคุณคาและเปนประโยชนที่ควร
ถายโอนความรูใหแกขาราชการกรมที่ดินรุนตอไปไดศึกษาหาความรู
เพื่อใชในการปฏิบตั ิงานและตอยอดความรเู ผยแพรภายในองคกร ซึ่งจะชวย
ใหคนในองคกรสามารถเขาถึงความรูแ ละพัฒนาตนเองใหเปนผูร ู รวมท้ัง
ใชป ฏบิ ตั ิงานและอา งองิ ไดสะดวกรวดเร็ว

กรมที่ดินหวังเปนอยางยิง่ วา องคความรูท ีท่ รงคุณคาในหนังสือ
เลมนี้จะเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานของขาราชการกรมที่ดินและ
ผสู นใจศึกษาหาความรู สามารถนาํ ไปสกู ารปฏบิ ัตงิ านไดอยางมีประสิทธิภาพ
และขยายผลตอ ยอดความรูตอ ไปไดอ ีก

สาํ นักมาตรฐานการทะเบียนทด่ี นิ
กองฝกอบรม
กรมทด่ี นิ กระทรวงมหาดไทย
กรกฎาคม ๒๕๖๐



สารบัญ

เร่ือง หนา

• ความหมายและลกั ษณะของนิตกิ รรม ๑
• องคประกอบของนิติกรรม ๒
• การสอบสวนสทิ ธแิ ละความสามารถของคสู ัญญา ๓
• ความแตกตา งระหวา งโมฆะกรรมกบั โมฆยี กรรม ๖
• บคุ คลตามกฎหมาย ๗
• บคุ คลซงึ่ กฎหมายคุม ครองในการใชส ิทธทิ ํานิติกรรม ๗
• การทํานิติกรรมของผเู ยาว ๘
• ประเภทผแู ทนโดยชอบธรรมของผเู ยาว ๑๒
• การสอบสวนสิทธิและความสามารถของผูเยาว ๑๒
• แผนภมู ิการทาํ นิติกรรมของผเู ยาว ๑๔
• สรุปการทํานิติกรรมของผเู ยาว ๑๕
• การทํานิติกรรมของผเู ยาวแตละประเภทจดทะเบียน ๒๒
• การทาํ นิติกรรมของคนไรความสามารถ ๓๒
• อํานาจในการทํานติ ิกรรมของผูอนบุ าลเกีย่ วกับทรพั ยส ิน ๓๓

ของผูไ รความสามารถ ๓๖
• แผนภมู ิการทํานิติกรรมของคนไรความสามารถ ๓๗
• สรปุ การทาํ นติ ิกรรมของคนไรความสามารถ ๔๔
• การทํานติ กิ รรมของคนไรความสามารถแตล ะประเภทจดทะเบยี น

เรื่อง หนา

• ความสามารถในการทาํ นติ กิ รรมของคนเสมอื นไรค วามสามารถ ๕๔

• แผนภมู กิ ารทํานติ ิกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ ๕๖
• สรุปการทาํ นิติกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ ๕๗
• การทํานิติกรรมของคนเสมือนไรความสามารถแตละ ๖๐
ประเภทจดทะเบียน

• การทาํ นิติกรรมของนิติบุคคล ๖๘
• ประเภทของนิตบิ ุคคล ๖๘
• สทิ ธแิ ละหนาท่ขี องนติ บิ ุคคล ๗๑

• การจดั การนติ บิ ุคคล ๗๑
• การสอบสวนสิทธแิ ละความสามารถของนิติบุคคล ๗๓
• ประเภท/ผแู ทน และการดําเนินการของนิตบิ คุ คลแตล ะประเภท ๗๕

• ความหมาย และประเภทของวดั ๘๑
• ท่ดี ินของวัด ๘๑

• การทํานิติกรรมเกย่ี วกบั ที่ดนิ ของวดั ๘๒
• ผแู ทนของวดั ๘๓
• การทํานิติกรรมเก่ยี วกับทดี่ ินของวัดแตล ะประเภทจดทะเบยี น ๘๕



หลักกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ งกับการจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ ิกรรม
ชดุ ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย


● ความหมายและลักษณะของนติ กิ รรม

“นิติกรรม” หมายความวา การใด ๆ อันทําลงโดยชอบ
ดวยกฎหมายและดวยใจสมัครมุง โดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธขึน้ ระหวาง
บุคคล เพือ่ จะกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรอื ระงบั ซงึ่ สิทธิ

ลักษณะของนติ กิ รรมประกอบดวย ดงั น้ี
๑. เปนการกระทําการ ตองมีการกระทําของบุคคลที่เกิดจาก
ความคิด การตัดสินใจ และการกระทําเพื่อแสดงใหเห็นความตองการ
ตามทไ่ี ดตดั สินใจตามข้ันตอนหรือกระบวนการในการกอเจตนานัน่ เอง ซึง่
การกระทํานั้นจะถือเปนการกระทําได บุคคลนัน้ จะตองกระทําไดโดยรูส ึก
ในสิ่งทต่ี นกระทาํ
๒. เปนการกระทําท่ชี อบดวยกฎหมาย หมายถงึ มีกฎหมาย
รับรองการกระทําดังกลาว นิติกรรมนั้นตองไมขัดตอกฎหมาย ความสงบ
เรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
๓. ตองทาํ โดยสมัครใจ หมายความวา บุคคลน้ันไดกระทํานิติกรรม
ไปโดยการตัดสินใจของตนเอง คือตัดสินใจทีจ่ ะทําเองมิไดกระทําไปเพราะถูก
หลอกลวงหรือเรียกเปนภาษากฎหมายวาถูกกลฉอฉล มิไดกระทําไปเพราะ
การถูกบังคับอนั เปน เรื่องของการขมขู หรือมิไดกระทาํ ไปเพราะความเขาใจผิด


2

แตไดกระทําดวยการตัดสินใจของตนเองโดยไมมีปจจัยอืน่ มาทําใหความ
ประสงคท่แี ทจ ริงนัน้ เปลย่ี นแปลง

๔. ตองการกอใหเกิดผลในทางกฎหมาย จะตองอยูทีเ่ จตนา
หรือความตองการของผูท ํานิติกรรมวาตองการมุงใหเกิดผลทางกฎหมาย
หรือไม มเี ปาหมายหรอื วัตถุประสงคใ นทางกฎหมายหรอื ไม

๕. เปนผลผูกพันระหวางบุคคล การทํานิติกรรมทําจากบุคคล
ความผกู พนั ทางกฎหมายหรอื นติ สิ มั พันธทเี่ กดิ ขนึ้ จึงเกิดระหวา งบุคคลเทา นนั้

๖. ผลน้นั ก็คือความเคล่อื นไหวในสิทธิ ซึง่ อาจจะเปน การ
๖.๑ การกอ ใหเ กิดสิทธิท่ยี งั ไมม ี
๖.๒ การเปล่ยี นแปลงสิทธทิ เี่ คยมแี ลวเปน อยางอืน่
๖.๓ โอนสิทธิทีเ่ คยมีใหกับบุคคลอืน่ เชน การโอนสิทธิ

เรยี กรอง โอนสิทธิการรับจํานอง โอนสิทธิการเชา เปนตน
๖.๔ สงวนสิทธทิ เ่ี คยมีใหเกดิ ความม่ันคง เชน การคา้ํ ประกัน

การจาํ นอง เปน ตน
๖.๕ ระงับสิทธิทเ่ี คยมีหรือเคยกอข้ึนไว การบอกเลิกสัญญา

การบอกลางโมฆียะกรรม

● องคประกอบของนิตกิ รรม

องคประกอบของนิติกรรม มี ๒ อยาง ดงั น้ี
๒.๑ องคประกอบทีเ่ ปนสาระสําคัญ ถาขาดองคประกอบ
อยา งใดอยา งหน่ึงดงั ตอ ไปน้ีแลว นิตกิ รรมก็จะไมเกดิ ไดแก

๓3

๒.๑.๑ บุคคล บุคคลกระทํานิติกรรมไดตองมีความรู
สํานึกในส่ิงท่ีตนกระทํา ตองเปนผูรูคิดรอบคอบ มีความสามารถดูแล
ผลประโยชนข องตนเองได

๒.๑.๒ วัตถุประสงค การทํานิติกรรมนั้นตองเปนการ
กระทําท่ี “มุง” ตอผลอะไรสักอยาง โดยการกระทํานัน้ ตองมีเปาหมาย
หรอื วัตถปุ ระสงคเสมอ

๒.๑.๓ แบบ เปน วธิ ีการในการทํานติ ิกรรม
๒.๑.๔ เจตนา คือ มีการกระทําท่ีเกิดจากความตองการ
โดยสมัครใจของผทู ํานติ ิกรรมเอง
๒.๒ องคประกอบเสริม เปนองคประกอบที่ผูท ํานิติกรรม
อาจกําหนดเพิ่มเติมเขามาในนิติกรรม ซึ่งเมือ่ กําหนดเขามาแลวก็จะ
กลายเปน เนือ้ หาสวนหน่งึ ของนิตกิ รรม ไดแ ก
๒.๒.๑ เงือ่ นไข คือ การนําเอาเหตุการณในอนาคตที่
ไมแ นน อนมากําหนดเกย่ี วกบั ความเปน ผลหรือสิน้ ผลของนติ ิกรรม

๒.๒.๒ เงื่อนเวลา คือ การนําเอา “เวลา” อันเปน
เหตุการณในอนาคตที่แนนอนมากําหนดเกี่ยวกับความเปนผลหรือสิน้ ผล
ของนิตกิ รรม

• การสอบสวนสทิ ธิและความสามารถของคสู ญั ญา
ในการทาํ นิตกิ รรมเกยี่ วกับอสงั หาริมทรัพยตามประมวลกฎหมาย

แพงและพาณิชย ซึ่งจะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงาน
เจา หนา ท่ีน้นั กอ นทจี่ ะมกี ารจดทะเบียนสทิ ธิและนิติกรรม พนักงานเจาหนาท่ี

4๔

จะตองสอบสวนสิทธิและความสามารถของบุคคลที่มายื่นคําขอ ตลอดจน
ความสมบูรณของนิติกรรมเปนลําดับแรก เพ่ือใหทราบถึงสิทธิ ความสามารถ
ในการใชสิทธิของคูสัญญาหรือผูย่ืนคําขอ วามีสิทธิและความสามารถตามท่ี
จะมาขอใหเ จาหนา ที่ดําเนนิ การใหต ามความประสงคห รือไม

“สิทธิ” คือ ประโยชนสวนไดเสียที่กฎหมายรับรองและ
คมุ ครอง อนั เปนการผูกพนั บุคคลผูมีหนาท่ีใหกระทําการหรืองดเวนกระทําการ
อยางใดอยางหนึ่ง เพื่อประโยชนผูทรงสิทธิ “สิทธิ” เปน “ประโยชน”
เพราะเจาของสิทธยิ อ มสามารถใชสทิ ธิใหเปนประโยชนแกตนในทางตาง ๆ ได
กลา วคือสามารถครอบครองใชสอย จําหนาย จายโอน หรือจะทําอะไร ๆ
ตามใจชอบได ถาหากการกระทํานั้นไมฝาฝนกฎหมายและไมละเมิดสิทธิ
ของบคุ คลอน่ื

“ความสามารถของบุคคล” บุคคลมีสิทธิแลวใชวาจะทํา
อะไรตามใจชอบไดทุกอยางโดยไมมีขอกําหนด แตบุคคลนั้นจะตองมี
ความสามารถดว ย ซ่งึ มี ๒ ประเภท ดงั นี้

๑. ความสามารถในการถือสิทธิ หมายถึง ความสามารถของ
บคุ คลท่ีจะเปนเจา ของสิทธิได ไมวาจะเปนตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย หรือประมวลกฎหมายที่ดิน เชน บุคคลตางดาวไมอาจไดมาซ่ึง
กรรมสิทธิ์ในท่ีดินในประเทศไทยได นอกจากจะมีกฎหมายพิเศษยกเวนไว
หรือมาตรา ๑๙ แหง พระราชบญั ญตั อิ าคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ แกไขเพิม่ เติม
โดยพระราชบญั ญัตอิ าคารชดุ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ ปจจุบันคนตางดาว
สามารถถือกรรมสทิ ธใ์ิ นหองชดุ ได โดยปฏิบตั ิตามหลักเกณฑท ่กี ฎหมายกําหนดไว

๕5

๒. ความสามารถในการใชสิทธิ หมายถึง ความสามารถใน
การทีบ่ ุคคลจะใชสทิ ธทิ ่ีมอี ยใู หเกดิ ประโยชนแ กต นเอง แตใ นเรือ่ งการใชสิทธิน้ี
กฎหมายกาํ หนดขอจาํ กดั ไวม ากมาย เพราะวาการใชสิทธิของแตละบุคคล
อาจกระทบกระเทือนถงึ สิทธิของบุคคลอนื่ ได

“ความสมบูรณของนิติกรรม” นิติกรรม หมายถึง การกระทํา
ของบุคคลทชี่ อบดวยกฎหมายและดว ยใจสมัครมุงโดยตรงตอ การผกู นติ ิสมั พนั ธ
ขึน้ ระหวางบุคคล เพือ่ กอใหเกิดความเคลือ่ นไหวแหงสิทธิ นิติกรรมจะมีผล
สมบูรณตองกระทําใหถูกหลักเกณฑตามกฎหมายกําหนดไว คือ วัตถุประสงค
ของนิติกรรมไมตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย ไมเปนการพนวิสัย ไมเปน
การขดั ตอความสงบเรียบรอ ยและศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน หากกระทํา
การฝาฝนวัตถุประสงคดังกลาว นิติกรรมนัน้ เปนโมฆะ คือเสียเปลาไมมี
ผลบงั คบั ตามกฎหมาย ความสมบูรณของนิตกิ รรมท่ที ําข้นึ มี ๓ กรณี คอื

๑. กรณีท่ีนิติกรรมกระทําข้ึนถูกตองตามหลักเกณฑทีก่ ฎหมาย
กําหนดทกุ ประการ ยอมสมบูรณม ีผลใชบ ังคบั

๒. กรณีนติ ิกรรมทก่ี ระทําขึ้นมีขอ ทอี่ าจเส่ือมเสียบางประการ
กฎหมายจึงเขาคุม ครองปกปองสิทธิของฝายที่เสียเปรียบ โดยกําหนดให
นิตกิ รรมนั้นมีผลสมบูรณตลอดไปหรือสิ้นผลไป สุดแทแตฝายทีเ่ สียเปรียบ
นนั้ จะเลอื ก เรยี กวานิติกรรมทเี่ ปน โมฆยี ะ

๓. กรณีนติ กิ รรมทก่ี ระทําข้ึนไมถ ูกตองตามหลักเกณฑท่ีกฎหมาย
บัญญัติในเรือ่ งที่เปนสาระสําคัญ จึงตกเปนโมฆะ ซึง่ เหตุแหงโมฆะกรรม
อันเกิดจากวตั ถปุ ระสงคของนติ ิกรรม แบง เปน ๓ กรณี

6๖

๓.๑ นิติกรรมมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดย
กฎหมาย

๓.๒ นิติกรรมมวี ตั ถุประสงคเปน การพนวสิ ัย คอื ทาํ ในสง่ิ ท่ี
เปนไปไมไ ด

๓.๓ นิติกรรมมีวัตถุประสงคเปนการขัดตอความสงบ
เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

• ความแตกตา งระหวา งโมฆะกรรมกบั โมฆยี ะกรรม

โมฆะกรรม โมฆยี ะกรรม

๑. เปน การกระทาํ ทเ่ี สยี เปลามา ๑. เปน นติ ิกรรมท่มี ผี ลใชไ ดจนกวา
แตตน ไมมีผลอยา งใดในกฎหมาย จะถกู บอกลา ง

๒. เสียเปลาทันทโี ดยไมต องบอกลา ง ๒. เสยี เปลาเมือ่ มีการบอกลา ง
๓. ผูม ีสว นไดเสียโดยท่วั ไปมีสทิ ธิ ใหตกเปนโมฆะ

กลา วอา งความเสยี เปลา ได เชน ๓. ผมู สี ิทธบิ อกลา งไดต อ งเปน
เจา หนี้ บคุ คลทก่ี ฎหมายกําหนดไว
๔. ไมอ าจใหส ัตยาบนั ได เพราะเปน โดยเฉพาะ ผูมสี ว นไดเ สียท่วั ไป
การกระทําทีเ่ สยี เปลา มาแตต น ไมม สี ทิ ธบิ อกลาง
๕. การกลา วอา งถงึ ความเสยี เปลา
ไมมีกําหนดอายุความหรือ ๔. อาจใหส ัตยาบนั ได
กาํ หนดเวลา ๕. มกี าํ หนดเวลาบอกลา ง ถา ไม

บอกลา งภายในกาํ หนด เปน อนั
หมดสทิ ธิ


7

• บคุ คลตามกฎหมาย
“บุคคล” หมายถึง สิ่งซึ่งสามารถมีสิทธิและหนาที่ไดตาม

กฎหมาย แบง เปน ๒ ประเภท
๑. บุคคลธรรมดา หมายถงึ คนซงึ่ มสี ทิ ธิและหนา ทีต่ ามกฎหมาย

แตจะมีสิทธแิ ละหนาท่ตี ามกฎหมายไดก ็ตอ เมือ่ มีสภาพบุคคลแลว
๒. นิติบุคคล หมายถึง กลุม บุคคลหรือองคกรซึง่ กฎหมาย

บัญญัติใหเปนบุคคลอีกประเภทหนึ่งทีไ่ มใชบุคคลธรรมดาและมีสิทธิและ
หนา ท่ีตามกฎหมาย

• บคุ คลซ่งึ กฎหมายคมุ ครองในการใชส ิทธทิ าํ นติ กิ รรม
บุคคลบางประเภทถูกขอจํากัดโดยธรรมชาติหรือกฎหมาย

กาํ หนดความสามารถในการใชสทิ ธิทาํ นติ กิ รรมไว ทําใหเ กิดผลตอนิติกรรม
ทที่ ําไป ดงั น้นั เจาพนักงานท่ีดินจึงตองสอบสวนใหไดวาบุคคลที่มาขอจด
ทะเบยี นนัน้ เปน บคุ คลซ่งึ กฎหมายถอื วา เปนผูห ยอนความสามารถในการใช
สิทธิทํานิติกรรมหรือไม ผูห ยอนความสามารถทีก่ ฎหมายกําหนดไวในการ
ควบคมุ การทํานิติกรรมเพื่อประโยชนของบุคคลนน้ั มี ๓ ประเภท คอื

๑. ผูเ ยาว
๒. คนไรความสามารถ
๓. คนเสมือนไรความสามารถ

ผูเยาว คือ บุคคลซึ่งมีอายุไมถึงยีส่ ิบปบริบูรณ โดยจะพน
จากภาวะผูเ ยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยีส่ ิบปบริบูรณ หรือเมื่อทํา
การสมรสอายุสิบเจ็ดปบริบูรณแลว เวนแตในกรณีทีม่ ีเหตุอันสมควรศาลอาจ
อนญุ าตใหทาํ การสมรสกอนนน้ั ได (ม. ๑๙, ๒๐ และ ๑๔๔๘ ป.พ.พ.)

8๘

• การทํานิตกิ รรมของผเู ยาว
ก. ผูเยาวจะทํานิติกรรมใด ๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแ ทน

โดยชอบธรรมกอน ถาผูเยาวไดทําลงโดยไมไดรับความยินยอม นิติกรรมน้ัน
เปน โมฆียะ (ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

เวนแต นิติกรรมที่ผูเ ยาวสามารถทําไดโดยลําพังโดยไมจําเปน
ตองไดร ับความยนิ ยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม มนี ิติกรรม ๓ ประเภท ดงั น้ี

๑. นติ ิกรรมทเี่ ปนคณุ ประโยชนแกผูเยาวฝ า ยเดยี ว คือ
๑.๑ นิติกรรมซ่ึงไดมาซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง เชน การรับให

ที่ดินท่มี ีผใู หโดยเสนหาหรอื รับทรัพยส นิ ตามพนิ ยั กรรมอนั ไมม ภี าระตดิ พนั ใด
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

๑.๒ นิติกรรมซึง่ ทําใหผูเยาวหลุดพนจากหนาทีอ่ ันใด
อนั หน่งึ (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

๒. นิติกรรมทีผ่ ูเ ยาวตองทําเองเฉพาะตัว (ม. ๒๓ ป.พ.พ.)
ตลอดจนผูเ ยาวท าํ พินัยกรรมไดเ มื่ออายุ ๑๕ ปบริบูรณ (ม. ๒๕ ป.พ.พ.)

๓. นิติกรรมทีจ่ ําเปนในการดํารงชีพของผูเ ยาวตามสมควร
และสมแกฐ านานุรปู (ม. ๒๔ ป.พ.พ.)

ข. นิติกรรมที่ผูเยาวทําได โดยตองขออนุญาตศาลกอน
(ตาม ม. ๑๕๗๔ แหง ป.พ.พ.) มีดังน้ี

๑. นิติกรรมเกีย่ วทรัพยสินของผูเ ยาวบางประการทีผ่ ูใ ช
อํานาจปกครองหรือผูปกครองไมอาจทําไดโดยลําพัง ตองไดรับอนุญาต
จากศาลกอ น ดังน้ี

๙9

๑.๑ ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ใหเชาซือ้ จํานอง
ปลดจํานอง หรือโอนสิทธิจํานองซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพย
ที่อาจจาํ นองได

๑.๒ กระทาํ ใหส ุดสิ้นลงทั้งหมดหรอื บางสว นซงึ่ ทรัพยสิทธิ
ของผเู ยาวอนั เกีย่ วกบั อสังหารมิ ทรัพย

๑.๓ กอตั้งภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพืน้ ดิน
สิทธิเก็บกิน ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอืน่ ใดใน
อสงั หารมิ ทรพั ย

๑.๔ จําหนายไปทัง้ หมดหรือบางสวนซึง่ สิทธิเรียกรองท่ี
จะใหไดมาซึ่งทรัพยสิทธิในอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยที่อาจ
จํานองได หรือสิทธิเรียกรองที่จะใหทรัพยสินเชนวานัน้ ของผูเยาวปลอด
จากทรพั ยสิทธิทมี่ ีอยเู หนือทรพั ยสินนั้น

๑.๕ ใหเ ชา อสังหารมิ ทรพั ยเกินสามป
๑.๖ กอขอผูกพันใด ๆ ที่มุงใหเกิดผลตามขอ ๑.๑
๑.๒ หรือ ๑.๓
๑.๗ ใหกยู ืมเงิน
๑.๘ ใหโดยเสนหา เวนแตจะเอาเงินไดของผูเยาวให
แทนผูเ ยาวเ พอื่ การกุศลสาธารณะ เพ่ือการสังคม หรือตามหนาท่ีธรรมจรรยา
ท้งั น้ีพอสมควรแกฐานานรุ ูปของผูเยาว
๑.๙ รับการใหโดยเสนหาท่ีมีเง่ือนไขหรือคาภาระติดพัน
หรอื ไมรับการใหโ ดยเสนห า

10 ๑๐

๑.๑๐ ประกันโดยประการใด ๆ อันอาจมีผลใหผูเยาว
ตองถูกบังคับชําระหนี้หรือทํานิติกรรมอื่นที่มีผลใหผูเ ยาวตองรับเปนผูรับ
ชําระหนข้ี องบคุ คลอืน่ หรอื แทนบุคคลอื่น

๑.๑๑ นําทรัพยสินไปแสวงผลประโยชนนอกจากใน
กรณที ่ีบัญญตั ิไวในมาตรา ๑๕๙๘/๔ (๑) (๒) หรือ (๓)

๑.๑๒ ประนีประนอมยอมความ
๑.๑๓ มอบขอ พิพาทใหอ นุญาโตตุลาการวนิ ิจฉยั
หากฝาฝนกระทําไปโดยไมไดรับอนุญาตจากศาล
กฎหมายไมไดบัญญัติไววาใหเปนโมฆะ ผลจะเปนประการใดแลวแตเหตุ
ทจี่ ะอาง เชน อางวากระทําฝาฝนขอหามตามกฎหมาย หรือแตกตางกับ
บทบัญญัติของกฎหมายอันเกีย่ วกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชนยอมตกเปนโมฆะ แตถาอางวาผูแ ทนโดยชอบธรรมกระทํา
โดยไมมอี าํ นาจ นติ กิ รรมน้นั ยอมไมส มบรูณหรือไมมผี ลใชบังคับ เปน ตน
๒. ถาในกิจการใดประโยชนของผูใ ชอํานาจปกครองหรือ
ผปู กครองรวมทั้งคสู มรสหรือบุตร รวมถึงประโยชนในกิจการตามมาตรา ๑๕๗๖
ดว ยขดั กบั ประโยชนของผูเ ยาว ผูใ ชอํานาจปกครองหรือผูป กครองตองไดรับ
อนญุ าตจากศาลกอนจึงจะทํากิจการนั้นได มิฉะนั้นเปนโมฆะ (ฝาฝนมีผล
เปน โมฆะ) (ม. ๑๕๗๕ ๑๕๗๖ และ ๑๕๙๘/๓ ป.พ.พ.)
๓. กรณีทีผ่ ูใ ชอํานาจปกครองและผูป กครองไมอาจทําได
โดยลําพังแลว ก็ไมอาจใหความยินยอมใหผูเยาวเปนผูท ําเองไดดวย หาก

๑๑11

ฝา ฝน กระทาํ นิตกิ รรมไปยอมมีผลไมสมบรณู หรือตกเปนโมฆะใชไมได นิติกรรม
ดงั กลาวขา งตน จะกระทําไดก ็แตโ ดยไดร บั อนญุ าตจากศาลเทา น้ัน

ค. กรณีผแู ทนโดยชอบธรรมไมมอี าํ นาจจดั การทรัพยสินของผูเยาว
(นอกจาก ม. ๑๕๗๔, ๑๕๗๕, ๑๕๗๖ ป.พ.พ.) มีดังนี้

๑. กรณีทีผ่ ูโ อนทรัพยสินใหผูเ ยาวโดยพินัยกรรมหรือโดย
การใหโดยเสนหาซึง่ มีเงือ่ นไขวาใหบุคคลอืน่ นอกจากผูใ ชอํานาจปกครอง
หรือผูป กครองเปนผูจัดการทรัพยสินที่โอนใหจนกวาผูเยาวจะบรรลุนิติภาวะ
กรณีเชนนีผ้ ูแ ทนโดยชอบธรรมไมมีอํานาจจัดการเกี่ยวกับทรัพยสิน
(ม. ๑๕๗๗ ป.พ.พ.)

๒. กรณีท่ีผูใชอํานาจปกครองสละมรดกและผูเยาวซึง่ เปน
ผูสืบสนั ดานน้นั สืบมรดกไดต ามสทิ ธขิ องตน ผใู ชอํานาจปกครองซ่ึงสละมรดกน้ัน
ไมม สี ทิ ธิในสว นทรัพยสนิ อนั ผูเ ยาวซึง่ เปน ผูส บื สันดานของตนไดรับมรดกมา
ในอันทีจ่ ะจดั การและใชทรัพยส นิ ทผ่ี ูเยาวไ ดรับมรดกมา (ม. ๑๖๑๖ ป.พ.พ.)

๓. ผูใ ชอํานาจปกครองและผูป กครองตองจัดการทรัพยสิน
ของผูเ ยาวดวยความระมัดระวังเชนวิญูชนจะพึงกระทํา จะจัดการตาม
อําเภอใจใหเ สยี หายมไิ ด (ม. ๑๕๗๑ ป.พ.พ.)

๔. ผูใชอํานาจปกครองและผูปกครองจะทําหน้ีท่ีบุตรจะตอง
ทําเองโดยมิไดรับความยินยอมของบุตรไมได (เปนหนี้ทีต่ องอาศัยความรู
ความสามารถพเิ ศษของผูเยาว เชน สัญญารับจางรองเพลง แสดงภาพยนตร
เปนตน) (ม. ๑๕๗๒ ป.พ.พ.)

๑๒
12

• ประเภทผแู ทนโดยชอบธรรมของผูเยาว มี ๒ ประเภท คอื
๑. ผูใ ชอํานาจปกครอง ไดแก บิดามารดาเปนผูใชอํานาจ

ปกครองรวมกัน ยกเวนบางกรณีทีอ่ ํานาจปกครองอยูก ับบิดาหรือมารดา
เพียงฝายเดียว บิดาหรือมารดาฝายนัน้ ยอมเปนผูแทนโดยชอบธรรมของ
บุตรผูเยาว

๒. ผูปกครอง แตง ต้ังโดยคาํ สั่งศาล มขี นึ้ ไดใน ๒ กรณี
๒.๑ ผเู ยาวไ มม บี ดิ ามารดา (หมายถงึ ตายหรอื ไมป รากฏ)
๒.๒ บดิ ามารดาถูกถอนอํานาจปกครองตามทีบ่ ัญญัติไว

ในบรรพ ๕ แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย

• การสอบสวนสทิ ธิและความสามารถของผูเยาว
- ผูเยาว เปนผูย ังไมบรรลุนิติภาวะอยูในความดูแลของผูใช

อํานาจปกครองหรือผูปกครอง นิติกรรมทีผ่ ูเ ยาวไมสามารถทําไดดวย
ตนเองตองใหผูแ ทนโดยชอบธรรมทํานิติกรรมแทน เวนแตนิติกรรม ตาม
มาตรา ๑๕๗๔ แหง ป.พ.พ. ผูใ ชอํานาจปกครองจะทําไมไดตองขออนุญาต
จากศาลกอ น

- การย่ืนคําขอแสดงตัวเปนผูใชอํานาจปกครองเพ่ือทําการแทน
ผูเยาว โดยทําคําขอแสดงตัวเปนผูใชอํานาจปกครองผูเ ยาว (ท.ด. ๙) ตองให
บิดามารดายืน่ คําขอรวมกัน เวนแตอํานาจปกครองอยูกับบิดาหรือมารดา
ในกรณีดงั น้ี

๑. บดิ าหรือมารดาตาย
๒. ไมแ นนอนวาบิดาหรือมารดามชี ีวติ อยูหรอื ตาย

๑๓
13

๓. บิดาหรือมารดาถูกศาลสัง่ ใหเปนคนไรความสามารถ
หรือเสมือนไรความสามารถ

๔. บดิ าหรอื มารดาตอ งเขา รกั ษาตวั ในโรงพยาบาลเพราะจติ ฟน เฟอ น
๕. ศาลสงั่ ใหอ าํ นาจปกครองอยูก บั บดิ าหรอื มารดา
อํานาจปกครองอยูก ับมารดาในกรณีทีบ่ ุตรเกิดจากหญิงทีไ่ มได
มกี ารสมรสกับชายและยงั ไมไ ดเปนบตุ รที่ชอบดว ยกฎหมาย
- กรณผี ูเ ยาวอายุตั้งแต ๗ ปขึ้นไป ผูเ ยาวจะตองมาใหถอยคํา
วาตนอยูใ นความปกครองและยินยอมใหผูใชอํานาจปกครองทํานิติกรรม
แทนตน (คาํ สั่งกรมท่ดี ิน ท่ี ๑๐/๒๔๗๕ ลว. ๒๐ มกราคม ๒๔๗๕)
- กรณผี เู ยาวรับใหท ่ดี นิ ถา ผูเยาวอายตุ ง้ั แต ๗ ปขน้ึ ไป สามารถ
ทาํ เองได แตถาผูเยาวอายุไมถึง ๗ ป ผใู ชอาํ นาจปกครองทําแทน

๑๔

14 แผนภมู ิการทาํ นติ ิกรรมของผเู ยาว

ผูเยาว ลกั ษณะ ไมบรรลนุ ิติภาวะ อายไุ มค รบ
ตาม ม. ๑๙
การสมรสไมเปนไป
ตาม ม. ๑๔๔๘

ทํานติ ิกรรมโดยลาํ พัง
ไมไ ด
เปนเรื่อง ๆ
(ม.๒๑)
ตองไดรบั อนญุ าตจาก
หลกั ผูแ ทนโดยแทนชอบธรรม

ฝา ฝน โมฆยี ะ กวาง ๆ
(ม. ๒๖ - ๒๗)

เพ่อื ใหไดสิทธิ

เรื่องเฉพาะตัว
ผล สมแกฐานานรุ ปู

และจําเปน ในการ
ดํารงชพี

ขอ นติ กิ รรมตาม พนิ ัยกรรม
ยกเวน ม. ๒๒ -๒๕

๑๕
15

• สรปุ การทาํ นิติกรรมของผเู ยาว

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

ผเู ยาว - ผูเยาวจะทาํ นติ ิกรรมใด ๆ ๑. ถาไดรับคํา
ผูเ ยาว คือ บุคคล ตอ งไดร ับความยินยอมของ ยินยอมจากผูแ ทน
ซึง่ มีอายุไมถึงยีส่ ิบป ผูแทนโดยชอบธรรมกอน โดยชอบธรรม
บริบูรณ เวนแต - ประเภทนติ กิ รรม มีดงั นี้ พนักงานเจาหนาท่ี
จดทะเบยี นได
ทําการสมรสเม่ืออายุ ๑. ขาย (ผเู ยาวซ ้ือ) ๒. กรณีไมมีคํา
สิบเจด็ ปบริบรู ณแลว ๒. ขายฝาก (กรณีผูเยาว ยินยอมจากผูแ ทน
รับซื้อฝากจํานวนเงินท่ีรับ โดยชอบธรรม
ซือ้ ฝากตองไมเกินกึง่ หนึง่ พนักงานเจาหนาท่ี
ของราคาตลาดทรัพยน้นั ) จะจดทะเบียนได
๓ . ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ร ว ม ตอ เมอ่ื คูกรณียืนยัน
(ผเู ยาวขอถอื กรรมสทิ ธิ์รวม ใหจดทะเบยี น
โดยมคี าตอบแทน (ซอื้ ))
๔. เวนคืน (กรณีมีการ
รงั วัดแบงเวนคืน)

16 ๑๖

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

๕. จํานอง (กรณีผูเยาว
รั บ จํ า น อ ง ลํ า ดั บ แ ร ก
จํานวนเงินที่รับจํานอง
ตองไมเกินกึง่ ของราคา
ตลาดของทรพั ยน ั้น)

๖. เชา (ผเู ยาวเ ชา )
๗. ภาระจาํ ยอม/สิทธิ
เกบ็ กนิ /สทิ ธเิ หนือพื้นดิน/
สิทธิอาศัย/ภาระติดพันใน
อสังหาริมทรัพย/บุริมสิทธิ
(กรณีผูเ ยาวเ ปนผูไ ดร บั สิทธิ)
๘. สอบเขต แบงแยก
ในนามเดิม และรวมโฉนด
(กรณีไมมีการคดั คา นรังวดั )

๑๗ 17

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

- นติ ิกรรมทผ่ี เู ยาวสามารถ ๑. กรณีผูเยาวอายุ
ทําไดโ ดยลําพังโดยไม ๗ ปข้ึนไป พนักงาน
จําเปน ตองไดรับความ เจาหนาที่สามารถ
ยินยอมจากผูแทนโดยชอบ จดทะเบียนได
ธรรม มีดังน้ี ๒. กรณีผูเ ยาวอายุ
ต่ํากวา๗ป พนกั งาน
๑. ให (กรณีผูเ ยาวรับ เจา หนา ทจ่ี ดทะเบียน
ใหโดยไมมีเงื่อนไขหรือ ใหไดต อเมื่อผูแทน
คาภาระติดพัน/มีภาระ โดยชอบธรรมมา
ผกู พันอย)ู ทํานิติกรรมแทน
ผเู ยาว
๒. กรรมสทิ ธิ์รวม
(ผูเยาวขอถือกรรมสิทธิ์
รวมโดยไมมีคาตอบแทน
และไมมีเงื่อนไขหรือคา
ภาระตดิ พัน)

๓. มรดก (ผูเยาวรับ
มรดก)

๔. โอนชาํ ระคา หุน
๕. โอนตามคําส่งั ศาล

18 ๑๘

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

๖. จํานอง (ผูเยาวไถถอน
จากจํานอง)

- นิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสิน ๑.พนกั งานเจา หนา ท่ี

ของผูเยาวบางประการที่ จะจดทะเบียนได

ผูใชอํานาจปกครองหรือ ตอ เม่ือมีคาํ พิพากษา

ผูปกครองไมอาจทําไดโดย ศาลในเรื่องนั้นมา

ลําพัง ตองไดรับอนุญาต ประกอบการจด

จากศาลกอ น (นิติกรรมที่มี ทะเบียน

ผลเปนการจาํ หนาย จา ย ๒ . ก ร ณี ไ ม มี คํ า

โอน การกอตั้งสิทธิและ พิพากษาศาลใน

นิติกรรมทีท่ ําใหผูเ ยาวเสีย เรือ่ งนั้น พนักงาน

สิทธิ) มดี งั นี้ เจาหนาท่ีไมสามารถ

๑. ขาย (ผูเยาวขาย) จดทะเบียนได

๑๙ 19

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

๒. ขายฝาก (ผูเยาว
ขายฝาก หรือเปนผูรับซื้อ
ฝากกรณีจํานวนเงินที่รับ
ซือ้ ฝากเกินกึ่งราคาตลาด
ของทรพั ยน ้ัน)

๓. ให (ผูเ ยาวให หรือ
กรณีรับใหโดยมีเงื่อนไข
หรือคาภาระติดพัน เชน
รบั ใหโ ดยมีเง่ือนไขหามขาย,
รับใหแลวจดทะเบียนสิทธิ
เกบ็ กิน เปน ตน)

๔. กรรมสิทธิร์ วม
(ผเู ยาวใ หถือกรรมสทิ ธร์ิ วม
หรือกรณีผูเ ยาวขอถือ
กรรมสทิ ธร์ิ วมไมม คี า ตอบแทน
แตมีเงื่อนไขหรือคาภาระ
ติดพัน เชน กรรมสทิ ธร์ิ วม
(รับให) โดยมีขอกําหนด

20 ๒๐

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

หามขาย, กรรมสิทธิร์ วม
(รับให) แลวจดทะเบียน
สิทธิเกบ็ กิน เปน ตน

๕. มรดก (ผูเยาวสละ
มรดก)

๖. แลกเปลี่ยน
๗. โอนเปนทสี่ าธารณ-
ประโยชน/แบงหักเปนที่
สาธารณประโยชน
๘. จํานอง (ผูเยาว
จํานอง หรือกรณีผูเยาว
รับจํานองมิใชการจํานอง
ลาํ ดับแรกและจํานวนเงิน
ทีร่ ับจํานองเกินกึง่ ราคา
ตลาดของทรพั ยนนั้ )
๙. เชา (ผูเยาวใหเชา
เกินกวา ๓ ป)
๑๐. บรรยายสวน

๒๑ 21

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม
๑๑. ภาระจาํ ยอม/สิทธิ
เก็บกิน/สิทธิเหนือพื้นดิน/
สิทธอิ าศยั /ภาระติดพันใน
อสงั หาริมทรัพย/บุริมสิทธิ
(กรณีผูเยาวเปนผูใหสิทธิ
กบั บคุ คลอ่ืน หรือผูเยาว
จด๑ท๒ะเ.บหียานมยโกอเนลกิ (สผิทูเยธา)ิ ว
รบั ใหมีขอกําหนดหา มโอน
(ม. ๑๗๐๐ ป.พ.พ.) หรอื
(ผูเยาวรบั มรดกตาม
พินัยกรรมทีม่ ขี อ กาํ หนด
หามโอน)
๑๓. สอบเขต แบงแยก
ในนามเดิม และรวมโฉนด
(กรณีมีการคดั คา นรงั วดั )
๑๔. แบง กรรมสิทธริ์ วม,
แบง ให, แบง ขาย

22 • การทํานติ กิ รรมของผเู ยาวแตล ะประเภทจดทะเบยี น

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของผูเ ยาว

๑. ขาย ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผเู ยาวขาย ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวซ้ือ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรมกอน และใหผูใช
อาํ นาจปกครองทาํ แทน (ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๒. ขายฝาก ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผเู ยาวขายฝาก ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวรบั ซื้อฝาก ผูเยาวรับซื้อฝากจํานวนเงินทร่ี บั ซ้ือฝาก
ตอ ง ไ มเ กิน กึ่ง ร า ค า ต ล า ด ข อ ง
อสงั หารมิ ทรัพยนั้นทําได (ม. ๑๕๙๘/๔
(๒) ป.พ.พ.) โดยตองไดรับความยินยอม
จากผแู ทนโดยชอบธรรม แตหากไมเปน
ตามกรณีดังกลาวขางตนตองขออนุญาต
ศาลกอน และตองใหผูใชอํานาจปกครอง
ทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔(๑๑)และม. ๒๑ป.พ.พ.)

๒๓23

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิตกิ รรมของผเู ยาว

๓. ให ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผูเยาวใ ห ตองใหผูใ ชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๘) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผูเ ยาวรับใหโดยไมมี ผูเ ยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
เงื่อนไขหรือคา ภาระติดพนั ไดร บั ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรม

(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

- ผูเ ย า วรับ ใ หโ ด ย มี ผูเ ยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
ภาระผกู พนั อยู เชน จํานอง ไดร บั ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรม
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)
ภาระจาํ ยอม เปนตน

- ผู เ ย า ว รั บ ใ ห โ ด ย มี ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
เงื่อนไขหรือคาภาระติดพัน ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
เชน รับใหโดยมีเงื่อนไข (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

หามขาย, รับใหแลวจด

ทะเบยี นสิทธิเกบ็ กนิ เปน ตน

24 ๒๔

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ ิกรรมของผูเยาว

๔. กรรมสิทธ์ริ วม ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
-ผเู ยาวใหถือกรรมสิทธร์ิ วม ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑), (๘) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

-ผเู ยาวขอถือกรรมสิทธ์ิรวม ผูเ ยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
โดยไมม คี า ตอบแทน และไมมี ไดร บั ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรม
เง่อื นไขหรอื คา ภาระติดพัน (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

- ผูเ ยาวขอถือกรรมสิทธิร์ วม ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ไมม คี าตอบแทน แตมีเง่ือนไข ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
หรือคาภาระติดพัน เชน (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
ขอถือกรรมสิทธิ์รวม (รับให)
โดยมีขอกําหนดหามขาย,
ขอถือกรรมสิทธิ์รวม (รับให)
แลวจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน
เปน ตน

๒๕25

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ กิ รรมของผูเ ยาว

- ผเู ยาวข อถอื กรรมสทิ ธ์ิ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
รวมโดยมคี าตอบแทน (ซื้อ) ผูแ ทนโดยชอบธรรมกอน และตองให

ผใู ชอาํ นาจปกครองทําแทน (ม. ๒๑ป.พ.พ.)

๕. มรดก ผเู ยาวทาํ ไดโดยลําพัง ไมจําเปนตองไดรับ
- ผเู ยาวรับมรดก ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวสละมรดก ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรม และขออนุญาต
ศาลกอ น (ม. ๑๖๑๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวทําพินยั กรรม ผูเ ยาวทําไดเมือ่ มีอายุ ๑๕ ปบริบูรณ
(ม. ๒๕ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวเปนผจู ัดการมรดก ผูเยาวเปนผูจัดการมรดกไมได (ม. ๑๗๑๘
(๑) ป.พ.พ.) แตหากศาลมีคําสัง่ ตัง้ ผูเ ยาว
เปนผูจ ัดการมรดก กอนดําเนินการให
สอบถามศาลโดยระบุใหชัดเจนวา คําสั่ง
ศาลดังกลาวมีคําสงั่ ตัง้ ผูเยาวเ ปนผูจ ดั การ
มรดกโดยใหผ แู ทนโดยชอบธรรมหรอื ผใู ช

26 ๒๖

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิติกรรมของผเู ยาว

อํานาจปกครองดําเนินการแทนผูเยาว
หรือศาลมีคําสั่งตัง้ ผูแ ทนโดยชอบธรรม
หรอื ผูใ ชอํานาจปกครองของผูเยาวเปน
ผูจ ัดการมรดก หากศาลแจงยืนยันมา
ประการใดก็ใหด ําเนินการตอไป

๖. แลกเปลี่ยน ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ตองใหผ ูใชอ าํ นาจปกครองทาํ แทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๗. โอนชาํ ระคา หุน ทําไดเนือ่ งจากมีฐานะเสมือนบุคคลที่
บรรลุนิติภาวะแลว (ม. ๒๗ วรรคสอง
ป.พ.พ.)

๘. โอนตามกฎหมาย เฉพาะกรณีมีกฎหมายกําหนดใหทรัพย
ของผูเยาวตกเปนของผูรบั โอน

๙. ลงชอื่ คูสมรส/ ผูเ ยาวทําได เม่ือผูเยาวทําการสมรส

แบง ทรพั ยส ินระหวางคสู มรส โดยถูกตองตามกฎหมาย ซึ่งถือวา

บรรลุ นติ ภิ าวะโดยการสมรส (ม. ๒๐

ป.พ.พ.)

๒๗27

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ ิกรรมของผเู ยาว

๑๐. โอนตามคําส่งั ศาล ทําไดโดยพิจารณาจากคําสัง่ ศาล และ
ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๑. โอนเปน ที่สาธารณ- ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
ประโยชน/แบง หักเปน ท่ี และตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
สาธารณประโยชน (ม. ๑๕๗๔ (๘) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๒. เวนคืน ในกรณีนพี้ นกั งานเจาหนาทีผ่ ูจ ัดทําสัญญา
- กรณีมีพระราชกฤษฎีกา ซื้อขายมใิ ชพ นกั งานเจาหนาที่กรมที่ดิน
พนักงานเจาหนาทีก่ รมที่ดิน มีหนาที่
กําหนดเขตทีด่ ินที่จะเวนคืน ดําเนินการแกไขหลักฐานทางทะเบียน
ในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเทานั้น
แลว ผูเ ยาวต กลงขายที่ดิน (ม. ๑๑ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐) หากมี
การรังวัดแบงเวนคืนทําไดโดยตองไดรับ
ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น
และตองใหผใู ชอ าํ นาจปกครองทาํ แทน

28 ๒๘

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิติกรรมของผูเยาว
- กรณมี ีพระราชบญั ญตั ิ เนื่องจากกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย
ที่ถูกเวนคืนตกเปนของผูเวนคืนแลว
เวนคืนที่ดินของผเู ยาว ตาม ม. ๑๖ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐ หากมี
๑๓. จาํ นอง การรังวัดแบงเวนคืนทําไดโดยตองไดรับ
- ผเู ยาวจํานอง ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น
- ผูเยาวรับจํานอง และตอ งใหผ ใู ชอาํ นาจปกครองทําแทน
(ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
ผูเยาวร บั จาํ นองลาํ ดับแรกจํานวนเงินท่ี
รับจํานองตองไมเกินกึง่ ราคาตลาดของ
อสังหารมิ ทรพั ยน้นั ทําได (ม. ๑๕๙๘/๔ (๒)
ป.พ.พ.) โดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแทนโดยชอบธรรม แตหากไมเปนตาม
กรณดี ังกลาวขา งตนตอ งขออนุญาตศาลกอน
และตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๒๙29

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ กิ รรมของผูเยาว

-ผูเยาวไถถ อนจากจาํ นอง ผูเ ยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
ไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

๑๔. เชา ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผูเ ยาวใหเชาเกินกวา ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๕) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
๓ ป

- ผเู ยาวเ ชา ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรมกอน และตองให
ผูใชอาํ นาจปกครองทาํ แทน (ม. ๒๑ป.พ.พ.)

๑๕. บรรยายสวน ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑๒) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

30 ๓๐

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของผูเยาว

๑๖. ภาระจํายอม/สิทธิเก็บกิน/

สทิ ธิเหนือพื้นดนิ /สิทธิอาศยั /

ภาระตดิ พนั ในอสงั หารมิ ทรพั ย/

บรุ มิ สิทธิ

- ผเู ยาวเ ปน ผใู หสทิ ธิ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ

กับบคุ คลอ่นื ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน

(ม. ๑๕๗๔ (๓) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวเ ปนผไู ดร ับสิทธิ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรมกอน และตองให
ผใู ชอ ํานาจปกครองทาํ แทน (ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผูเยาวจ ดทะเบียน ทาํ ไดโดยตองขออนุญาตศาลกอ นและ
ยกเลิกสิทธิ ตองใหผูใ ชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๒) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๓๑31

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของผูเ ยาว

๑๗. หา มโอน
- ผูเ ยาวรับใหมีขอ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน และ

กําหนดหามโอน (ม. ๑๗๐๐ ตองใหผูใ ชอํานาจปกครองทําแทน
ป.พ.พ.) (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.

และหนงั สอื ท่ี มท ๐๗๑๒/ว ๑๑๖๗๖
ลว. ๓๑ พ.ค. ๒๕๓๔)

- ผูเยาวรับมรดกตาม ทาํ ไดโดยไดรบั ความยินยอมจาก
พินัยกรรมทม่ี ีขอกําหนด ผูแทนโดยชอบธรรม และตองขอ
หา มโอน อนญุ าตศาลกอน (ม. ๑๖๑๑ (๒)
ป.พ.พ.)

๑๘. สอบเขต แบงแยก ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ในนามเดิม และรวมโฉนด ผูแ ทนโดยชอบธรรม (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)
แตหากรังวัดแลวมีการคัดคาน ตองขอ
อนญุ าตศาลกอน และตองใหผูใ ชอํานาจ
ปกครองทําแทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๒) และ
ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๙. แบง กรรมสิทธ์ริ วม ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน และ
แบง ให แบง ขาย ตองใหผูใ ชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๒ (๑), (๘), (๑๒) และ ม. ๒๑
ป.พ.พ.)

32 ๓๒

• การทํานติ ิกรรมของคนไรความสามารถ
- คนไรความสามารถ ไดแก บุคคลวิกลจริตทีศ่ าลไดมีคําสัง่

ใหเปนคนไรความสามารถและตองอยูในความอนุบาลของผูอนุบาล (บุคคล
วิกลจริตมิไดหมายเฉพาะถึงบุคคลผูม ีจิตผิดปกติเทานั้น แตหมายรวมถึง
บคุ คลทีม่ ีกิริยาอาการผิดปกติเพราะสตวิ ปิ ลาส คือขาดความรําลึก ขาดความรูสึก
และขาดความรูสึกรับผิดชอบดวย เพราะบุคคลดังกลาวไมสามารถประครอง
กจิ การของตนหรือประกอบกิจสว นตัวไดทีเดียว)

- คนไรค วามสามารถไมสามารถทํานิติกรรมไดโดยลําพัง หรือแมจะ
ไดร ับความยนิ ยอมจากผูอนุบาลใหท าํ นิติกรรม ก็ไมสามารถทํานิติกรรมได
หากฝาฝนกระทําไปยอมตกเปนโมฆียะ การทํานิติกรรมตองใหผูอนุบาล
เปน ผทู ําแทน

- ผอู นุบาลท่ศี าลจะมคี าํ สั่งแตงตั้งมี ๔ ประเภท คอื
๑. ผูใชอํานาจปกครอง ในกรณีที่คนไรความสามารถยัง
เปนผูเยาวอ ยู
๒. บดิ ามารดา ในกรณที ่ีคนไรค วามสามารถไดบ รรลนุ ิตภิ าวะแลว
แตไมมคี สู มรส
๓. สามีหรือภริยา ในกรณีที่คนไรความสามารถไดทําการ
สมรสโดยมสี ามีหรือภรยิ าโดยชอบดว ยกฎหมายอยู
๔. บคุ คลอน่ื นอกจาก ๓ กรณแี รก

๓๓ 33

• อํานาจในการทํานิตกิ รรมของผูอนบุ าลเกย่ี วกบั ทรัพยสนิ ของ
ผไู รความสามารถ
๑. กรณศี าลตง้ั บดิ ามารดาเปนผูอนุบาล (บุตรยังไมบรรลุนิติภาวะ)

ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๘ วรรคหนึ่ง ป.พ.พ.
๒. กรณศี าลตง้ั บดิ ามารดาเปน ผอู นบุ าล (บุตรบรรลุนิติภาวะแลว)

ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๘ วรรคหนงึ่ ประกอบ ม. ๑๕๙๘/๓ ป.พ.พ.
๓. กรณีศาลตัง้ บุคคลอืน่ (ไมใชบิดามารดาหรือคูส มรส) เปน

ผอู นบุ าล ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๘ วรรคสอง ประกอบ ม. ๑๕๙๘/๓ ป.พ.พ.
กรณี ๑. - ๓. กฎหมายใหนําบทบัญญัติวาดวยสิทธิและหนาที่

ของผูใชอ ํานาจปกครองหรอื ผปู กครองแลว แตกรณี มาใชบังคับโดยอนุโลม
จึงนํา ม. ๑๕๗๔ ป.พ.พ. มาใชบังคับ ดังนั้น นิติกรรมตอไปนีผ้ ูอนุบาล
ตองไดร ับอนญุ าตจากศาลกอนเชน เดียวกับผเู ยาว ไดแก

๑) ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ใหเชาซื้อ จํานอง ปลด
จาํ นอง หรอื โอนสิทธิจํานองซึ่งอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยทีอ่ าจ
จํานองได

๒) กระทําใหสุดส้ินลงท้ังหมดหรือบางสวนซ่ึงทรัพยสิทธิของ
ผเู ยาวอ นั เกยี่ วกับอสงั หารมิ ทรพั ย

๓) กอตั้งภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพืน้ ดิน ภาระ
ตดิ พันในอสังหาริมทรพั ย หรือทรพั ยสทิ ธิอ่นื ใดในอสงั หาริมทรพั ย

๔) จาํ หนายไปทัง้ หมดหรือบางสว นซ่งึ สิทธิเรยี กรอง ท่ีจะให
ไดมาซ่ึงทรัพยสิทธิในอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยที่อาจจํานองได

๓๔
34

หรือสิทธิเรียกรองที่จะใหทรัพยสิทธิเชนวานัน้ ของผูเยาวปลอดจาก
ทรพั ยสทิ ธทิ ีม่ ีอยเู หนือทรัพยส ินน้นั

๕) ใหเชาอสงั หาริมทรพั ยเกินสามป
๖) กอ ขอ ผกู พนั ใด ๆ ทีม่ งุ ใหเกดิ ผลตาม ๑) ๒) หรือ ๓)
๗) ใหกูย มื เงิน
๘) ใหโ ดยเสนหา เวน แตจะเอาเงนิ ไดข องผเู ยาวใหแ ทนผูเยาว
เพ่ือการกุศลสาธารณะ เพ่ือการสังคม หรือตามหนาท่ีธรรมจรรยา ทั้งนี้
พอสมควรแกฐ านานรุ ูปของผเู ยาว
๙) รับการใหโดยเสนหาทีม่ ีเงื่อนไขหรือคาภาระติดพัน
หรอื ไมรบั การใหโดยเสนห า
๑๐) ประกันโดยประการใด ๆ อันอาจมีผลใหผูเยาว ตอง
ถูกบังคับชําระหนี้ หรือทํานิติกรรมอืน่ ทีม่ ีผลใหผูเยาวตองรับเปนผูร ับ
ชําระหนข้ี องบุคคลอ่นื หรอื แทนบคุ คลอื่น
๑๑) นําทรัพยสินไปแสวงหาผลประโยชนนอกจากในกรณีที่
บญั ญตั ิไวใ นมาตรา ๑๕๙๘/๔ (๑) (๒) หรือ (๓)
๑๒) ประนีประนอมยอมความ
๑๓) มอบขอพิพาทใหอนุญาโตตลุ าการวินจิ ฉยั

๔. กรณีศาลตง้ั สามหี รอื ภรรยาเปนผูอนบุ าล ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๕
ป.พ.พ.

๓๕35

กฎหมายใหน าํ บทบัญญัตวิ า ดวยสทิ ธิและหนาทข่ี องผูใชอํานาจ
ปกครองมาใชบังคับโดยอนุโลม และ ม. ๑๕๙๘/๑๖ ป.พ.พ. ใหคูสมรสท่ีเปน
ผูอ นุบาลมีอํานาจจัดการ สินสวนตัวของคูส มรสอีกฝายหนึ่ง และอํานาจ
จัดการสินสมรสแตผูเ ดียวแตการจัดการสินสวนตัวของผูไรความสามารถ
และสินสมรสตอไปนี้ คูสมรสนัน้ จะจัดการไมได เวนแตจะไดรับอนุญาต
จากศาลกอ น รวม ๘ ประการ ตาม ม. ๑๔๗๖ ป.พ.พ. คอื

๔.๑ ขาย แลกเปลีย่ น ขายฝาก ใหเชาซือ้ จํานอง
ปลดจํานอง หรือโอนสิทธิจํานอง ซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพย
ทอ่ี าจจาํ นองได

๔.๒ กอตั้งหรือกระทําใหสุดสิ้นลงทั้งหมดหรือบางสวน
ซ่งึ ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพืน้ ดิน สิทธิเก็บกิน หรือภาระติดพัน
ในอสงั หารมิ ทรพั ย

๔.๓ ใหเ ชา อสังหาริมทรพั ยเกนิ สามป
๔.๔ ใหกูยมื เงนิ
๔.๕ ใหโดยเสนหา เวนแตการใหที่พอควรแกฐานานุรูป
ของครอบครวั เพอ่ื การกศุ ล เพื่อการสงั คม หรอื ตามหนาที่ธรรมจรรยา
๔.๖ ประนีประนอมยอมความ
๔.๗ มอบขอ พพิ าทใหอ นุญาโตตุลาการวินิจฉัย
๔.๘ นําทรัพยสินไปเปนประกันหรือหลักประกันตอ
เจา พนักงานหรอื ศาล

๓๖
36

แผนภมู กิ ารทาํ นติ กิ รรมของคนไรค วามสามารถ

บคุ คลตาม ม.๒๘ รอ งขอ คสู มรส
บุพการี

ผสู ืบสนั ดาน

หลกั เกณฑ ศาลสง่ั ผูป กครอง
ผซู ่ึงปกครองดูแล
บุคคลนั้นอยู

คนไร ผพู ทิ กั ษ
ความสามารถ พนกั งานอัยการ
โฆษณาคาํ สง่ั ในราชกจิ จานเุ บกษา

ทํานิติกรรม
เองไมไ ด

กรณีผเู ยาว - ผูแทนโดยชอบธรรม

ผอู นุบาล มคี สู มรส สามี
ทําแทน

กรณผี บู รรลุ ภริยา
นติ ิภาวะแลว
ผล ไมมีคสู มรส บดิ ามารดา

ฝาฝน - โมฆียะ

๓๗
37

• สรปุ การทํานติ ิกรรมของคนไรความสามารถ

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

คนไรความสามารถ - คนไรความสามารถไม ๑.พนกั งานเจา หนา ท่ี
คนไรความสามารถ สามารถทํานิติกรรมได จะจดทะเบียนได
ไดแก บุคคลวิกลจริต โดยลําพัง หรือแมจะ ตอเมือ่ มีคําสั่งศาล
ที่ศาลไดมีคําสั่งให ไดรับความยินยอมจาก แตงตั้งผูอ นุบาล
เปน คนไรค วามสามารถ ผอู นุบาลใหทํานิติกรรม และผูอ นุบาลตอง
และตองอยูในความ ก็ไมสามารถทํานิติกรรมได มาดาํ เนินการแทน
อนุบาลของผูอ นุบาล การทํานิติกรรมตองให คนไรค วามสามารถ
(บุคคลวิกลจริตมิได ผูอ นุบาลเปนผูทําแทน ๒. กรณไี มม ีคําสัง่
ห ม า ย เ ฉ พ า ะ ถึ ง มีดงั น้ี ศาลและผูอนุบาล
บุคคลผูม ีจิตผิดปกติ มาดําเนินการแทน
เทา นน้ั แตห มายรวม ๑. ขาย (คนไรค วาม คนไรความสามารถ
ถึ งบุ ค ค ล ที ่มี กิ ริ ย า สามารถซอื้ ) พนักงานเจาหนาท่ี
อาการผิดปกติเพราะ ๒. ขายฝาก (คนไรความ ไมส ามารถจดทะเบยี น
สติวิปลาส คือขาด สามารถรบั ซื้อฝาก) ใหไ ด (หากมีการจด
ความราํ ลกึ ขาดความ ทะเบยี นไปนติ ิกรรม
รสู กึ และขาดความ ๓. ให (คนไรค วาม นั้นจะเปนโมฆียะ
รูสกึ รับผดิ ชอบดวย สามารถรับใหโ ดยไมม ี ตาม ม. ๒๙ ป.พ.พ.)
เพราะบุคคลดงั กลา ว เงือ่ นไขหรือคาภาระติดพัน
หรอื กรณรี ับใหท ่ีมีภาระ

38 ๓๘

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิตกิ รรม

ไมสามารถประครอง ผูกพันอยู เชน จํานอง
กิจการของตนหรือ ภาระจํายอม สทิ ธเิ ก็บกิน)
ประกอบกิจสวนตัว
ไดท เี ดยี ว) ๔. กรรมสิทธิ์รวม
(คนไรความสามารถขอ
ถอื กรรมสทิ ธิ์รวมโดยไม
มีคาตอบแทน และไมมี
เงื่อนไข หรือคาภาระติดพัน
หรือขอถือกรรมสิทธิ์
รวมโดยมีคาตอบแทน
(ซื้อ))

๕. มรดก (คนไรค วาม
สามารถรับมรดก)

๖. ลงช่อื คูสมรส
๗. โอนตามคาํ ส่ังศาล
๘. เวนคนื (กรณมี ี

การรังวดั แบงเวนคนื )

๓๙39

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม
๙. จํานอง (คนไรค วาม
สามารถไถถ อนจากจาํ นอง)
๑๐. เชา (คนไรค วาม
สา๑ม๑าร.ถภเชาาร)ะจํายอม/
สทิ ธเิ กบ็ กิน/สิทธเิ หนือ
พ้ืนดนิ /สทิ ธอิ าศัย/ภาระ
ตดิ พนั ใอสงั หารมิ ทรัพย/
บุริมสทิ ธิ (กรณีคนไร
ความสามารถเปน ผไู ดร บั
สิท๑ธ๒)ิ . หามโอน (คนไร
ความสามารถรับใหมีขอ
กาํ หนดหามโอนไปยัง
บุคคลอืน่ (ม. ๑๗๐๐
ป.พ.พ.) กรณีสามี
ภรรยาเปนผูอนบุ าล)
๑๓. สอบเขต แบง แยก
และรวมโฉนด (กรณีไมม ี
การคัดคานหรอื การรังวดั
แบง กรรมสทิ ธร์ิ วม)

40 ๔๐

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

- นิ ติ กรรมเก่ี ยว กั บ ๑. พนกั งานเจา หนา ท่ี

ทรั พย สิ นข อ ง ค น ไ ร จะจดทะเบียนได

ค ว า ม ส า ม า ร ถ บ า ง ตอเมื่อมีคําสัง่ ศาล

ประก ารทีผ่ ูอนุบา ล แตงต้ังผูอนุบาล

ไมอาจทําไดโดยลําพัง พรอมทัง้ มีคําพิพากษา

ตองไดรับอนุญาตจาก ศาลในเร่ืองนั้นมา

ศาลกอ น มีดังน้ี ประกอบการจด

๑. ขาย (คนไรค วาม ทะเบียนและผูอนุบาล

สามารถขาย) ตอ งมาดาํ เนนิ การแทน

๒. ขายฝาก (คนไรค วาม คนไรความสามารถ

สามารถขายฝาก) ๒. กรณีไมมีคําสั่ง

๓. ให (คนไรค วาม ศาลแตงตั้งผูอนุบาล

สามารถให หรือรับให และคําพิพากษา

โดยมเี ง่ือนไขหรอื คาภาระ ศาลในเร่ืองนั้นมา

ติดพนั เชน รับใหโดย พนักงานเจาหนาที่

มีเง่ือนไขหามขาย, รับให ไ ม ส า ม า ร ถ จ ด

แลวจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน ทะเบียนได

เปนตน )

๔๑41

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม
๔. กรรมสิทธิ์รวม
(คนไรความสามารถให
ถือกรรมสิทธิ์รวม หรือ
ขอถือกรรมสิทธิร์ วมไม
มีคาตอบแทนแตมีเงือ่ นไข
หรอื คา ภาระติดพัน เชน
ขอถอื กรรมสิทธ์ิรวม(รับให)
โดยมีเงื่อนไขหามขาย,
ข อ ถ ือ ก ร ร ม ส ิท ธิ ์ร ว ม
(รับให) แลวจดทะเบียน
สทิ ธิเก็บกนิ เปนตน )
๕. มรดก (คนไรค วาม
สามารถสละมรดก)
๖. แลกเปลีย่ น
๗. โอนชาํ ระคาหนุ
๘. แบงทรัพยสิน
ระหวางคูสมรส


Click to View FlipBook Version