The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ชุดประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปี 2560)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน (KM ปี 2560)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

42 ๔๒

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

๙. โอนเปน ทส่ี าธารณ-
ประโยชน/แบงหักเปน
ที่สาธารณประโยชน

๑๐.จาํ นอง (คนไรค วาม
สามารถจาํ นอง)

๑๑. เชา (คนไรค วาม
สามารถใหเชา )

๑๒. บรรยายสวน
๑๓. ภาระจํายอม/
สิทธิเก็บกิน/สิทธิเหนือ
พ้ืนดนิ /สทิ ธอิ าศยั /ภาระ
ติดพนั ในอสังหาริมทรัพย/
บรุ มิ สทิ ธิ (กรณคี นไร
ความสามารถเปนผูให
สิทธิบุคคลอื่น หรือจด
ทะเบียนยกเลิกสิทธิ)

๔๓43

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

๑๔. หามโอน (คนไร
ความสามารถรับใหมี
ขอ กําหนดหามโอนไป
ยังบุคคลอ่ืน (ม. ๑๗๐๐
ป.พ.พ.) (กรณีบคุ คลอ่นื
นอกจากคูส มรสเปน ผู
อนุบาล) หรอื รับมรดก
ตามพนิ ยั กรรมทมี่ ี
ขอ กาํ หนดหามโอน)

๑๕. สอบเขต แบงแยก
ในนามเดมิ และรวมโฉนด
(กรณมี ีการคดั คา นรังวัด)

๑๖. แบง กรรมสิทธริ์ วม
แบง ให แบง ขาย

๔๔
44

• การทาํ นติ กิ รรมของคนไรค วามสามารถแตล ะประเภทจดทะเบียน

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

๑. ขาย ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
- คนไรความสามารถขาย (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอ นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถซื้อ ทําไดโดยตองใหผูอ นุบาลทําแทน
(ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๒. ขายฝาก ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล ก อ น
- คนไรความสามารถ (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
ขายฝาก หรอื ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถ - กรณีผูอ นุบาลเปนคูส มรส ทําไดโดย
รับซอ้ื ฝาก ใหผ อู นุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
- กรณีผูอนุบาลเปนบุคคลอืน่ รับซ้ือฝาก
จาํ นวนเงินทร่ี บั ซอ้ื ฝากตองไมเ กินก่ึงราคา

๔๕45

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

ตลาดของอสังหาริมทรัพยน้ัน (ม. ๑๕๙๘/๔
(๒) ป.พ.พ.) ทาํ ไดตอ งใหผูอนบุ าลทําแทน
แตหากไมเปนตามกรณีดังกลาวขางตน
ตองขออนุญาตศาลกอน และตองให
ผูอ นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๑) และ
มาตรา ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๓. ให ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
- คนไรความสามารถให (ม. ๑๔๗๖ (๕) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๘) ป.พ.พ.)
และใหผูอ นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรอื ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองใหผูอ นุบาลทําแทน
รับใหโดยไมมีเงือ่ นไขหรือ (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
คา ภาระติดพนั

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
รบั ให กรณที ม่ี ภี าระผูกพันอยู (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
เชน จํานอง ภาระจํายอม
สิทธิเกบ็ กนิ เปนตน

46 ๔๖

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

- คนไรความสามารถ - กรณีสามีภรรยาเปนผูอนุบาลทําไดโดย
รั บ ใ ห โ ด ย มี เ งื่ อ น ไ ข ห รื อ ใหผูอนุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
คาภาระติดพัน เชน รับให - กรณีบุคคลอื่นเปนผูอ นุบาลทําไดโดย
โดยมเี งอ่ื นไขหา มขาย, รับให ตอ งขออนญุ าตศาลกอ น และใหผูอนุบาล
แลวจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน ทําแทน (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๑๕๙๘/๑๘
เปนตน ป.พ.พ.)

๔. กรรมสทิ ธิร์ วม ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
- คนไรความสามารถ (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
ใหถ อื กรรมสทิ ธริ์ วม หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองใหผูอ นุบาลทําแทน
ขอถือกรรมสิทธ์ิรวมโดยไมมี (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
ค าตอบแทน และไม มี - กรณีสามีภรรยาเปนผูอนบุ าลทําไดโ ดยให
เงอื่ นไขหรอื คาภาระติดพัน ผูอ นุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
- กรณีบุคคลอื่นเปนผูอนุบาล ทําไดโดยตอง
- คนไรความสามารถ ขออนญุ าตศาลกอ น และใหผ อู นบุ าลทาํ แทน
ขอถือกรรมสิทธิ์รวม ไมมี (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
คาตอบแทน แตมีเงื่อนไข
หรือคาภาระติดพัน เชน
ขอถอื กรรมสทิ ธ์ริ วม (รบั ให)

๔๗47

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

โดยมีขอกําหนดหามขาย,
ขอถือกรรมสิทธิร์ วม (รับให)
แลวจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน
เปน ตน

- คนไรค วามสามารถ ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ ห ผู อ น ุบ า ล ทํ า แ ท น
ขอถือกรรมสิทธริ์ วมโดย (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
มคี า ตอบแทน (ซื้อ)

๕. มรดก ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ ห ผู อ นุ บ า ล ทํ า แ ท น
- คนไรค วามสามารถ (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

รับมรดก

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน และ
สละมรดก ใหผอู นุบาลทาํ แทน (ม. ๑๖๑๑ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถ คนไรความสามารถทําพินัยกรรมไมได
ทาํ พนิ ยั กรรม เน่ืองจากเปนบุคคลท่ีไมสามารถประกอบ
กจิ การสวนตัวได (ม. ๑๗๐๔ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถ คนไรความสามารถเปนผูจ ัดการมรดก
เปนผูจ ดั การมรดก ไมได เน่ืองจากขาดความสามารถในการ
เปน ผูจ ัดการมรดก (ม. ๑๗๑๘ ป.พ.พ.)

48 ๔๘

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

๖. แลกเปล่ียน ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
(ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอ นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๗. โอนชาํ ระคา หุน ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
(ม. ๑๔๗๖(๑) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๑๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๘. ลงช่ือคูส มรส/ ทํา ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ หผูอ น ุบ า ล ทํ า แ ท น
แบง ทรัพยส ินระหวา งคสู มรส (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ป.พ.พ.)

- ลงชือ่ คสู มรส

- แบง ทรพั ยส นิ ระหวา ง ทําไดโ ดยตอ งขออนญุ าตศาลกอ นและให
คูสมรส ผูอ นุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๒) และ
ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๔๙49

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

๙. โอนตามคาํ ส่ังศาล กรณีเปนผูซือ้ จากการขายทอดตลาด
ทําไดโดยตองใหผูอ นุบาลทําแทน
(ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๐. โอนเปนทีส่ าธารณ- ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล ก อ น
ประโยชน/แบงหักเปนท่ี (ม. ๑๔๗๖ (๕) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๘) ป.พ.พ.)
สาธารณประโยชน และใหผูอ นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๑. เวนคืน ในกรณนี ี้พนักงานเจาหนาทีผ่ ูจ ดั ทําสัญญา
- กรณีมีพระราชกฤษฎีกา ซ้ือขายมใิ ชพ นกั งานเจาหนาที่กรมท่ีดิน
พนักงานเจาหนาที่กรมที่ดินมีหนาที่
กําหนดเขตท่ีดินท่ีจะเวนคืน ดําเนินการแกไขหลักฐานทางทะเบียน
แลว คนไรค วามสามารถตกลง ในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเทานั้น
ขายทีด่ ิน (ม. ๑๑ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสังหาริมทรพั ย พ.ศ. ๒๕๓๐) หากมี
การรังวัดแบงเวนคืนทําไดโดยตองไดรับ
ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น
และตอ งใหผ ูใชอ าํ นาจปกครองทาํ แทน
(ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘
ป.พ.พ.)

50 ๕๐

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

- กรณมี ีพระราชบัญญตั ิ เนื่องจากกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย
เวนคนื ท่ีดนิ ของคนไรค วาม ท่ีถูกเวนคืนตกเปนของผูเ วนคืนแลว
สามารถ ตาม ม. ๑๖ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐ หากมี
การรังวัดแบงเวนคืนทําไดโดยตองไดรับ
ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น
และตองใหผ ใู ชอํานาจปกครองทาํ แทน
(ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๒. จาํ นอง ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
- คนไรค วามสามารถ (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
จาํ นอง หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ - กรณีผูอนุบาลเปนคูสมรสทําไดโดย
รับจาํ นอง ใหผ อู นบุ าลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ป.พ.พ.)
- กรณบี คุ คลอื่นเปน ผอู นบุ าล สามารถรบั
จํานองลําดับแรกจํานวนเงินท่ีรับจํานองตอง
ไมเกนิ กง่ึ ราคาตลาดของอสังหาริมทรัพยนั้น

๕๑51

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

(ม.๑๕๙๘/๔ (๒) ป.พ.พ.) ทําไดโดยให
ผอู นบุ าลทําแทน แตหากไมเปนตามกรณี
ดังกลาวขางตนตองขออนุญาตศาลกอน
และใหผ อู นุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๑)
และ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
ไถถ อนจาํ นอง (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๓. เชา ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
- คนไรความสามารถ (ม. ๑๔๗๖ (๓) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๕) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
ใหเชา เกินกวา ๓ ป หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถเชา ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
(ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๔. บรรยายสวน ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล ก อ น
(ม. ๑๔๗๖ (๖) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑๒) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

52 ๕๒

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

๑๕. ภาระจํายอม/สิทธิเก็บกิน/
สทิ ธเิ หนือพืน้ ดิน/สิทธิอาศยั /
ภาระติดพนั ในอสงั หารมิ ทรัพย/
บรุ มิ สิทธิ
- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน
เปนผูใหส ทิ ธิบุคคลอ่ืน (ม. ๑๔๗๖ (๒) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๒) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
เปน ผูไดร ับสทิ ธิ (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน
จดทะเบียนยกเลิกสทิ ธิ (ม. ๑๔๗๖ (๒) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๒) ป.พ.พ.)

และใหผูอ นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๖. หา มโอน
- คนไรความสามารถ - กรณีสามีภรรยาเปนผูอนุบาลทําไดโดย

รับใหมีขอกําหนดหามโอนไป ใหผ อู นุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
ยงั บุคคลอนื่ (ม. ๑๗๐๐ ป.พ.พ.) - กรณีบุคคลอื่นเปนผูอ นุบาลทําไดโดย

ตอ งขออนญุ าตศาลกอ น และใหผูอนุบาล
ทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๙) ป.พ.พ.)

๕๓53

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

- คนไรความสามารถ ทาํ ไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน
รบั มรดกตามพนิ ยั กรรมที่มี (ม. ๑๖๑๑ (๒)) และใหผูอนุบาล
ขอกําหนดหา มโอน ทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรือ
ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๗. สอบเขต แบงแยก ทําไดโ ดยใหผ อู นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕
ในนามเดิม และรวมโฉนด หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.) แตหาก

รังวัดแลวมีการคัดคาน ตองขออนุญาต

ศาลกอ น (ม. ๑๔๗๖ (๖) หรือ ม. ๑๕๗๔

(๑๒) ป.พ.พ.)

๑๙. แบงกรรมสิทธิ์รวม ตอ งขออนญุ าตศาลกอ น (ม. ๑๔๗๖ (๑),
แบง ให แบง ขาย
(๕), (๖) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑), (๘), (๑๒)

ป.พ.พ.) และใหผูอนุบาลทําแทน

(ม. ๑๕๙๘/๑๖ หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘

ป.พ.พ.)

๕๔
54

• ความสามารถในการทํานิติกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ
คนเสมือนไรความสามารถ คือ บุคคลที่ศาลสัง่ ใหเปนคน

เสมือนไรความสามารถและใหอยูใ นความดูแลของผูพิทักษ เนื่องจาก
บุคคลนั้นมีกายพิการหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบหรือประพฤติสุรุยสุราย
เสเพลเปนอาจิณหรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทํานองเดียวกันนัน้
จนไมสามารถจะจัดการงานโดยตนเองได หรือจัดกจิ การไปในทางท่ีอาจจะ
เส่อื มเสียแกท รัพยส นิ ของตนเอง หรือครอบครัว

คนเสมอื นไรความสามารถ สามารถทํานิติกรรมไดดวยตนเอง
ทัง้ สิน้ เวนแตบางกรณีตอไปนี้จะตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน
มิฉะนัน้ เปนโมฆียะ (ตาม ม. ๓๔ ป.พ.พ.) คอื

๑. นําทรัพยสนิ ไปลงทนุ
๒. รบั คนื ทรพั ยส นิ ทีไ่ ปลงทุน ตนเงนิ หรือทนุ อยางอ่นื
๓. กูยมื หรอื ใหก ยู มื เงนิ ยืมหรือใหสังหารมิ ทรัพยอ นั มคี า
๔. รับประกันโดยประการใด ๆ อันมีผลใหตนเองถูกบังคับ
ชาํ ระหนี้
๕. เชาหรือใหเชาสังหาริมทรัพยมีกําหนดระยะเวลาเกินกวา
กําหนดหกเดือน หรืออสงั หาริมทรัพยม ีกําหนดระยะเวลาเกนิ กวาสามป
๖. ใหโดยเสนหา เวนแตการใหทีพ่ อสมควรแกฐานานุรูป
เพอ่ื การกุศล การสังคม หรือตามหนาที่ธรรมจรรยา
๗. รบั การใหโ ดยเสนห าทีม่ เี งื่อนไขหรอื คา ภาระติดพนั หรอื ไมรับ
การใหโดยเสนหา

๕๕55

๘. ทําการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อจะไดมาหรือปลอยไปซ่ึงสิทธิ
ในอสงั หารมิ ทรพั ยห รอื ในสังหารมิ ทรพั ยอ นั มีคา

๙. กอสรางหรือดัดแปลงโรงเรือนหรือสิง่ ปลูกสรางอยางอื่น
หรือซอ มแซมอยางใหญ

๑๐. เสนอคดีตอศาลหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ เวนแต
การรองขอตอศาลกรณีผูพ ิทักษไมยอมใหกระทําการตามขอ ๑. - ๑๑.
โดยปราศจากเหตุอันควร (ตาม ม. ๓๕ ป.พ.พ.) หรือการรองขอถอน
ผูพิทกั ษ

๑๑. ประนีประนอมยอมความหรือมอบขอพิพาทให
อนญุ าโตตุลาการวนิ ิจฉยั

ในบางกรณีนอกจากกิจการขางตนซ่ึงคนเสมือนไรความสามารถ
จัดการไดเอง แตอาจจัดการไปในทางที่เสือ่ มเสียแกทรัพยสินของตนเอง
หรือครอบครัว ศาลอาจสั่งใหคนเสมือนไรความสามารถตองไดรับความ
ยินยอมจากผพู ิทกั ษกอนจงึ จะทาํ การนนั้ ไดก็ได

ผูพิทักษไมมีอํานาจทํากิจการแทนคนเสมือนไรความสามารถ
(มีแตอํานาจใหความยินยอมในกิจการตาม ๑. - ๑๑. เทาน้ัน) เวนแตกรณี
คนเสมอื นไรความสามารถไมสามารถทําการอยางใดอยางหน่ึงไดดวยตนเอง
เพราะเหตุมีกายพิการหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ ศาลจะส่ังใหผูพิทักษ
เปนผูมีอาํ นาจกระทาํ การน้นั แทนคนเสมือนไรความสามารถก็ได โดยกฎหมาย
กําหนดใหนําบทบญั ญตั ิเก่ยี วกบั ผูอ นุบาลมาใชบ ังคบั กรณีนี้โดยอนุโลม

56 ๕๖

แผนภูมิการทํานิติกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ

กาย

บกพรอง ใจ

ลกั ษณะ จัดการงานเอง ความประพฤติ
ไมไดเ ต็มที่
จดั แลว เสยี หาย คสู มรส
บุพการี

คนเสมือนไร บคุ คลตาม ม. ๒๘ รอ ง ผูสืบสนั ดาน
ความสามารถ ศาลสง่ั ผปู กครอง
โฆษณาคาํ สั่งใน ผซู ่ึงปกครองดูแลบคุ คลนั้นอยู
ราชกิจจานเุ บกษา
พนักงานอยั การ

หลกั เกณฑ หลกั - ทํานิติกรรมไดเอง

ผล ตองไดรบั ความยินยอมจาก
ผูพิทักษกอ น
ขอ ยกเวน

ผูพทิ ักษทําแทน - ม. ๓๔ ว. ๒

นติ กิ รรมตาม ม. ๓๔ ว. ๑ นติ ิกรรมอ่ืนตาม ม. ๓๔ ว.๒

๕๗ 57

• สรปุ การทํานิติกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

คนเสมือนไร - คนเสมือนไรความสามารถ - พนักงานเจา หนาท่ี
ความสามารถ สามารถทํานิติกรรมได จดทะเบยี นไดโดย
ค น เ ส มื อ น ไ ร . . . . . ดวยตนเองท้ังสน้ิ เวนแต ไมต อ งมคี าํ ยนิ ยอม
ความสามารถ คือ บางกรณีจะตอ งไดรับความ จากผพู ทิ ักษ
บุคคลทีศ่ าลสั่งให ยินยอมจากผูพิทักษกอน
เ ป น ค น เ ส มื อ น ไ ร นิติกรรมที่สามารถทําได
ความสามารถ ดว ยตนเอง มีดงั นี้
และใหอยูใ นความ
ดู แ ล ข อ ง ผู พิ ทั ก ษ ๑. มรดก (คนเสมือนไร
เนื่องจากบุคคลนั้น ความสามารถรับมรดก)
มี ก า ย พิ ก า ร ห รื อ ๒. เวนคืน (กรณีมี พ.ร.บ.
จิ ต ฟ น เ ฟ อ น ไ ม เวนคืนที่ดินของคนเสมือน
สมประกอบ หรือ ไรค วามสามารถ)
ประพฤติสุรุยสุราย
เ ส เ พ ล เ ป น อ า จิ ณ
หรือติดสุรายาเมา
ห รื อ มี เ ห ตุ อื ่น ใ ด
ทาํ นองเดยี วกนั น้ัน

58 ๕๘

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

จนไมส ามารถจะจดั ๔. โอนตามคําสั่งศาล ๑.พนกั งานเจา หนา ท่ี
การงานโดยตนเองได ๕. สอบเขต แบงแยก จดทะเบียนใหได
หรอื จดั กจิ การไปในทาง ในนามเดิม และรวมโฉนด เมือ่ มีคํายินยอม
ท่ีอาจจะเส่ือมเสียแก (กรณไี มม ีการคดั คา นรงั วัด) จากผูพทิ กั ษก อ น
ทรพั ยส นิ ของตนเอง - นิติกรรมทีค่ นเสมือนไร ๒. กรณีไมมีคํา
หรือครอบครัว ค ว า ม ส า ม า ร ถ จ ะ ต อ ง ยินยอมจากผูพิทักษ
ไดรับความยินยอมจาก พนักงานเจาหนาท่ี
ผูพทิ ักษกอ น มดี ังน้ี จะจดทะเบียนได
๑. ขาย ตอ เมื่อคูกรณียืนยัน
๒. ขายฝาก ใหจ ดทะเบยี น
๓. ให
๔. กรรมสทิ ธ์ิรวม
๕. แลกเปลย่ี น
๖. โอนชาํ ระคา หนุ
๗. ลงชื่อคูสมรส/แบง
ทรพั ยสนิ ระหวา งคูสมรส
๘. โอนเปน ทส่ี าธารณ-
ประโยชน/แบงหักเปนที่
สาธารณประโยชน

๕๙ 59

ประเภทของบคุ คล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม
๙. จาํ นอง
๑๐. เชา (เกนิ กวา ๓ ป)
๑๑. บรรยายสวน
๑๒. ภาระจาํ ยอม/
สิทธิเก็บกิน/สิทธิเหนือ
พื้นดนิ /สิทธิอาศัย/ภาระ
ติดพนั ในอสังหาริมทรัพย/
บรุ มิ สทิ ธิ
๑๓. หา มโอน (คนเสมอื น
ไรความสามารถรับใหมี
ขอกําหนดหามโอนไปยัง
บคุ คลอนื่ ตองไดร บั ความ
ยินยอมจากผูพ ิทักษ และ
กรณรี ับมรดกตาม
พินยั กรรมที่มีขอกําหนด
หา มโอนตองไดร ับความ
ยนิ ยอมจากผูพ ิทักษแ ละ
ต๑อ๔งข.อสออนบญุเขาตตศแาบลง กแอยนก)
ในนามเดมิ และรวมโฉนด
(กรณมี กี ารคดั คา นการรงั วดั )
๑๕. แบง กรรมสิทธ์ิรวม
แบง ให แบง ขาย
๑๖. สละมรดก (ตอ งไดร บั
ความยนิ ยอมจากผูพิทกั ษ
และขออนญุ าตศาลกอ นดว ย)

๖๐
60

• การทํานิตกิ รรมของคนเสมือนไรค วามสามารถแตละประเภทจดทะเบียน

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิติกรรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ
๑. ขาย
- คนเสมอื นไร ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผพู ทิ ักษกอน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
ความสามารถขาย

- คนเสมอื นไร ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ความสามารถซ้ือ ผพู ิทักษก อ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

๒. ขายฝาก ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไร ผพู ทิ กั ษกอ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

ความสามารถขายฝาก

- คนเสมือนไร ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ความสามารถรับซอื้ ฝาก ผูพิทกั ษก อ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

๓. ให ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไร ผพู ิทกั ษก อน (ม. ๓๔ (๖) ป.พ.พ.)

ความสามารถให

๖๑61

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิตกิ รรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ

- คนเสมือนไรความสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
รับใหโดยไมมีเง่ือนไขหรือ ผพู ิทักษก อ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
คา ภาระตดิ พนั
ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไรความสามารถ ผูพทิ ักษก อ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
รบั ให กรณีทมี่ ภี าระผกู พนั อยู
เชน จาํ นอง ภาระจํายอม
สทิ ธเิ ก็บกิน เปนตน

- คนเสมือนไรความสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
รับใหโดยมีเงือ่ นไขหรือคา ผพู ิทักษกอน (ม. ๓๔ (๗) ป.พ.พ.)
ภาระตดิ พัน เชน รับใหโดย
มีเงื่อนไขหามขาย, รับให
แลวจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน
เปน ตน

๔. กรรมสิทธ์ริ วม ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไรความสามารถ ผูพทิ ักษกอ น (ม. ๓๔ (๖) ป.พ.พ.)

ใหถ อื กรรมสทิ ธิร์ วม

62 ๖๒

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ ิกรรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ

- คนเสมือนไรความสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ขอถอื กรรมสิทธ์ิรวมโดยไมมี ผูพิทกั ษก อน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
คาตอบแทน เงื่อนไขหรือ
คา ภาระตดิ พัน

- คนเสมอื นไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ขอถือกรรมสิทธิร์ วมโดยไมมี ผพู ทิ กั ษกอ น (ม. ๓๔ (๗) ป.พ.พ.)
คาตอบแทน แตมีเงื่อนไข
หรือคาภาระติดพัน เชน
ขอถือกรรมสิทธิ์รวม (รับให)
โดยมีเง่ือนไขหามขาย, ขอถือ
กรรมสิทธิ์รวม (รับให) แลว
จดทะเบียนสทิ ธเิ กบ็ กนิ เปนตน

- คนเสมอื นไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ขอถือกรรมสทิ ธร์ิ วม โดยมี ผพู ิทกั ษกอน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
คา ตอบแทน (ซื้อ)

๖๓63

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ ิกรรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ

๕. มรดก

- คนเสมือนไรความสามารถ ทําไดดวยตนเอง โดยไมตองไดรับ

รับมรดก ความยินยอมจากผูพิทักษ

- คนเสมือนไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก

สละมรดก ผูพ ิทักษและตองขออนุญาตศาลกอน

(ม. ๑๖๑๑ ป.พ.พ.)

- คนเสมือนไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ทาํ พนิ ัยกรรม
ผพู ิทักษกอ น (ฎีกา ๑๗๗/๒๕๒๘)

- คนเสมือนไรค วามสามารถ คนเสมือนไรความสามารถเปนผูจ ัดการ
เปนผจู ัดการมรดก
มรดกไมไ ด (ม. ๑๗๑๘ ป.พ.พ.)

๖. แลกเปล่ียน ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผพู ิทกั ษกอ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

๗. โอนชาํ ระคาหนุ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผพู ิทักษก อน (ม. ๓๔ (๑) ป.พ.พ.)

64 ๖๔

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ

๘. ลงชือ่ คสู มรส/ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก

แบง ทรพั ยสนิ ระหวา งคูสมรส ผูพ ทิ กั ษกอ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

๙. โอนตามคําส่ังศาล ทําไดดวยตนเอง โดยไมตองไดรับ
ความยินยอมจากผพู ทิ ักษก อ น

๑๐. โอนเปนทีส่ าธารณ- ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ประโยชน/แบงหักเปนท่ี ผพู ทิ กั ษก อน (ม. ๓๔ (๖) ป.พ.พ.)
สาธารณประโยชน

๑๑. เวนคนื ในกรณีนี้พนักงานเจาหนาทีผ่ ูจัดทํา
- กรณีมีพระราชกฤษฎีกา สัญญาซื้อขายมิใชพนักงานเจาหนาที่
กรมทีด่ ิน พนักงานเจาหนาทีก่ รมทีด่ ิน
กําหนดเขตทด่ี ินทจ่ี ะเวนคืน มีหนาที่ดําเนินการแกไขหลักฐานทาง
ทะเบียนในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
แลว คนเสมอื นไรค วามสามารถ เทานัน้ โดยสามารถทําไดดวยตนเอง
ตกลงซอ้ื ขายท่ีดิน ไมต อ งไดรับความยินยอมจากผพู ทิ ักษ

๖๕65

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ กิ รรมของ
คนเสมือนไรความสามารถ

- กรณมี พี ระราชบัญญัติ เนื่องจากกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย
เวนคืนทีด่ ินของคนเสมือน ที่ถูกเวนคืนตกเปนของผูเวนคืนแลว
ไรความสามารถ ตาม ม. ๑๖ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสงั หารมิ ทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยสามารถ
ทําไดดว ยตนเองไมตองไดรับคํายินยอม
จากผพู ิทักษ

๑๒. จาํ นอง ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไร ผพู ทิ กั ษกอน (ม. ๓๔ (๔) ป.พ.พ.)

ความสามารถจํานอง

- คนเสมือนไร สัญญาจํานองตองมีสัญญาประธาน คือ
ความสามารถรบั จาํ นอง สัญญากยู มื เงินทีผ่ เู สมอื นไรค วามสามารถ
๑๓. เชา เปนผูใ หกูย ืมเงิน ทําไดโดยตองไดรับความ
ยินยอมจากผูพิทักษกอน (ม. ๓๔ (๓)
- คนเสมอื นไรค วาม ป.พ.พ.)
สามารถใหเ ชา เกนิ กวา ๓ ป ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผพู ทิ กั ษกอ น (ม. ๓๔ (๕) ป.พ.พ.)

66 ๖๖

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิติกรรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ

- คนเสมอื นไรความ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
สามารถเชา เกนิ กวา ๓ ป ผพู ิทกั ษกอ น (ม. ๓๔ (๕) ป.พ.พ.)

๑๔. บรรยายสวน ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูพิทักษกอน (ม. ๓๔ (๑๑) ป.พ.พ.)

๑๕. ภาระจาํ ยอม/สทิ ธิเกบ็ กิน/ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
สิทธเิ หนอื พืน้ ดิน/สิทธิอาศยั / ผูพ ิทักษก อน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
ภาระติดพนั ในอสังหาริมทรพั ย/
บุริมสิทธิ

- คนไรความสามารถ

เปน ผูใหส ทิ ธกิ ับบคุ คลอ่นื

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก

เปนผูไดร ับสทิ ธิ ผพู ิทกั ษก อ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
จดทะเบียนยกเลิกสิทธิ ผพู ทิ ักษกอ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

๖๗67

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ กิ รรมของ
คนเสมอื นไรค วามสามารถ

๑๖. หา มโอน ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมอื นไรค วาม ผูพ ทิ กั ษก อ น (ม. ๓๔ (๗) ป.พ.พ.)

สามารถรบั ใหม ขี อ กําหนด ทาํ ไดโ ดยตอ งไดร บั ความยนิ ยอมจาก
หามโอนไปยงั บคุ คลอนื่ ผพู ทิ กั ษ และตอ งขออนญุ าตศาลกอ น
(ม. ๑๖๑๑ (๒) ป.พ.พ.)
- คนเสมือนไรค วาม
ส า ม า ร ถ ร ับ ม ร ด ก ต า ม
พินัยกรรมที่มีขอกําหนด
หา มโอน

๑๗. สอบเขต แบงแยก ทําไดดวยตนเอง โดยไมตองไดรับ
ในนามเดมิ และรวมโฉนด ความยนิ ยอมจากผพู ิทกั ษ
(กรณีไมมีการคัดคาน
การรังวดั )

๑๘. แบงกรรมสิทธิร์ วม ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
แบงให แบงขาย (กรณี ผูพ ิทักษกอน (ม. ๓๔ (๘) หรือ (๑๑)
มีการคัดคานการรังวัด) ป.พ.พ.)
แบงกรรมสิทธ์ิรวม แบงให
แบง ขาย

๖๘
68

• การทาํ นติ กิ รรมของนิตบิ ุคคล
นติ บิ คุ คล คอื บคุ คลตามกฎหมายที่กฎหมายสมมตขิ น้ึ และรบั รอง

ใหมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวนแตสิทธิและหนาที่
บางอยางซ่ึงบุคคลธรรมดามีอยูนั้น นิติบุคคลจะมีไมได เชน สิทธิในดาน
ครอบครัว สทิ ธใิ นทางการเมอื ง เปน ตน

• ประเภทของนิติบุคคล
นิติบุคคลแบงตามอํานาจของกฎหมายที่กอตั้งขึ้นไดเปน ๒

ประเภท คือ นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และนิติบุคคล
ตามกฎหมายอ่นื ๆ

๑. นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดแก
๑.๑ หา งหุน สวนที่จดทะเบียน ซ่ึงแบงออกเปน ๒ ประเภท

ไดแ ก หา งหุนสวนสามัญ และหา งหนุ สวนจาํ กัด
- หางหุนสวนสามัญ คือ สัญญาซ่ึงบุคคลตั้งแตสองคน

ขึน้ ไปตกลงเขากันเพื่อกระทํากิจการรวมกัน ดวยประสงคจะแบงปนกําไร
จะพึงไดแตกิจการนัน้ และเมื่อนําไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนแลว จะมี
ฐานะเปนนิติบุคคล นับเปนบุคคลหนึง่ ตางหากจากผูเปนหุน สวน ผูเ ปน
หุน สวนทกุ คนจะเปน หุนสว นประเภทไมจ าํ กดั ความรบั ผดิ ทงั้ หมด

- หางหุน สวนจํากัด คือ ตองจดทะเบียนตอนายทะเบียน
โดยมีผูถ ือหุน สวนสองประเภท คือ หุน สวนจํากัดความรับผิด และหุนสวน
ไมจ าํ กัดความรับผิด

๖๙69

๑.๒ บริษทั จํากัด คอื บริษทั ทีต่ ง้ั ขนึ้ ดว ยการแบงทุนเปน
หุนมมี ูลคาเทา ๆ กนั โดยมีผูถือหุน ๓ คนขึ้นไป และผูถ ือหุน ทุกคนตาง
รับผิดจาํ กดั เพยี งไมเกนิ จํานวนเงนิ ท่ตี นยงั สง ใชไ มค รบมูลคา ของหุนที่ตนถือ
และบรษิ ัทจาํ กดั นก้ี ฎหมายบังคบั ใหจดทะเบียนซึ่งเมื่อจดทะเบียนแลวก็จะ
มีสภาพเปน นติ บิ คุ คล

๑.๓ สมาคม คือ การที่บุคคลหลายคนตกลงเขากัน
เพ่อื ทําการอันใดอนั หนึง่ อันมีลักษณะตอ เน่ืองรวมกัน และมใิ ชเปนการหา
กําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน จึงแตกตางกับบริษัทจํากัดหรือหางหุน สวนซึง่
มงุ หากําไร สมาคมทไ่ี ดจดทะเบียนแลว เปนนิติบุคคล

๑.๔ มูลนธิ ิ คอื ทรัพยสินอันจัดสรรไวโดยเฉพาะสําหรับ
วัตถุประสงคเพือ่ การกุศลสาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร
วรรณคดี การศึกษา หรือเพือ่ สาธารณประโยชนอยางอืน่ โดยมิไดมุง หา
ผลประโยชนมาแบงปนกันและตองจดทะเบียนตามกฎหมาย โดยตอง
ประกาศการจัดต้ังมูลนิธิในราชกิจจานุเบกษา มูลนิธิท่ีไดจดทะเบียนแลว
เปนนิติบุคคล การจัดการทรัพยสินของมูลนิธิ ตองมิใชเปนการหาผลประโยชน
เพือ่ บุคคลใดนอกจากเพอื่ ดําเนินการตามวตั ถุประสงคข องมลู นิธินั้นเอง

๗๐
70

๒. นติ ิบคุ คลตามกฎหมายอื่น ๆ
นติ ิบุคคลนน้ั จะตองมกี ฎหมายกําหนดไวเปนเรอ่ื ง ๆ ไป เชน
๒.๑ สหกรณ เปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติสหกรณ

พ.ศ. ๒๔๗๑ ซ่ึงหมายความวา คณะบุคคลซึ่งรวมกันดําเนินกิจการ เพ่ือ
ประโยชนทางเศรษฐกิจและสังคม โดยชวยตนเองและชวยเหลือซึง่ กันและกัน
และเม่ือจดทะเบยี นตอ นายทะเบียนจงึ มีฐานะเปนนิติบุคคล

๒.๒ นติ ิบคุ คลหมูบ า นจัดสรร เปน นิติบุคคลตามพระราชบญั ญตั ิ
การจัดสรรท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ เปนกรณีผูซ ือ้ ทีด่ ินจัดสรรไมนอยกวากึง่ หนึ่ง
ของแปลงยอ ยตามแผนผังโครงการรวมตัวกันจัดตัง้ นิติบคุ คลหมบู า นจัดสรร
และนาํ ไปจดทะเบียนตอ พนักงานเจา หนาท่ี เมื่อจดทะเบียนแลวจึงมีฐานะ
เปนนติ ิบคุ คล

๒.๓ นิติบุคคลอาคารชุด เปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติ
อาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนกรณีไดจดทะเบียนอาคารชุดแลว และจะขาย
หองชุดตองจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดกอน เพือ่ เปนผูด ูแลอาคารชุดนัน้
เมอ่ื จดทะเบยี นแลวจงึ มีฐานะเปนนิตบิ คุ คล

๒.๔ วัด เปนนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ
พ.ศ. ๒๕๐๕ แกไขเพิ่มเตมิ โดย พ.ร.บ. คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕)
วัด คือ สถานทีท่ างพระพุทธศาสนาโดยปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร
เจดีย และมพี ระภิกษสุ งฆอยอู าศยั เปน ตน

๗๑71

• สิทธแิ ละหนา ท่ีของนิตบิ ุคคล
๑. มีสิทธิและหนาที่ภายในขอบแหงอํานาจหนาที่หรือ

วัตถุประสงค ซึ่งยอมเปนไปตามที่ไดกําหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับ
หรือตราสารจัดตั้งของนิติบุคคลนัน้ จะทําการใดนอกขอบเขตวัตถุประสงค
ที่กําหนดไวไ มได (ม. ๖๖ ป.พ.พ.)

๒. มีสิทธิและหนาทีเ่ หมือนกับบุคคลธรรมดา เวนเสียแต
สิทธิและหนาทีซ่ ึง่ วาโดยสภาพจะพึงมีพึงเปนไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดา
เชน ไมอาจท่ีจะทําการสมรส ไมมีหนาทีร่ ับราชการทหาร ไมมีสิทธิทาง
การเมอื ง เปนตน (ม. ๖๗ ป.พ.พ.)

• การจัดการนติ ิบคุ คล
- เนื่องจากนิติบุคคลเปนสิ่งไมมีชีวิตจิตใจจึงไมสามารถท่ีจะ

แสดงเจตนาหรือทําการโดยตนเองได ดังน้ัน นิติบุคคลตองมีผูแทนและมี
อํานาจทําการแทนนิติบุคคล ตามมาตรา ๗๐ วรรคสอง แหงประมวล
กฎหมายแพง และพาณชิ ย

- ผูแทนนิติบุคคล คือ ผูมีอํานาจหนาทีจ่ ัดการแทนนิติบุคคล
อาจจะมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได เชน รัฐมนตรีเปนผูแทนกระทรวง
อธิบดีเปนผูแ ทนกรม เจาอาวาสเปนผูแทนวัดวาอาราม กรรมการเปน
ผูแทนบริษัท เปนตน ซึ่งเมือ่ ผูแทนไดจัดการอยางใดใหแกนิติบุคคลภายใน
ขอบวัตถุประสงค และตามบทบญั ญัติของกฎหมายแลว การนั้นยอมผูกพัน
นติ บิ คุ คล อํานาจของผูแ ทนนิติบุคคลโดยปกติแลวยอมมีกําหนดไวในกฎหมาย
หรอื ในขอ บังคับหรือตราสารจัดตง้ั นติ ิบุคคลนน้ั และถามผี ูจ ัดการหลายคน

72 ๗๒

และมิไดมีขอกําหนดไวเปนประการอืน่ การทําความตกลงตาง ๆ ในทาง
อํานวยกิจการใหเปนไปตามเสียงขางมาก (ม. ๗๑ ป.พ.พ.) ถาผูแทนของ
นิตบิ ุคคล หรอื ผูมีอาํ นาจทําการแทนนิติบุคคลไดทําการตามหนาที่และทําให
เกิดความเสียหายอยางหนึง่ อยางใดแกบุคคลอืน่ นิติบุคคลนั้นจําตองเสีย
คาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น แตมีสิทธิไลเบี้ยเอาแกตัวผูเ ปน
ตนเหตทุ ่ีทําใหเ กิดความเสยี หายในภายหลังได แตถาความเสียหายนั้นเกิด
จากการกระทาํ ซ่ึงมิไดอ ยูภายในขอบวัตถุประสงคของนิติบุคคล หรืออํานาจ
หนาท่ีของนติ บิ ุคคล บุคคลทัง้ หลายเหลานัน้ ทีไ่ ดเห็นชอบใหทําการนัน้ กับ
ผจู ัดการทไ่ี ดเ ปนผูลงมือทาํ การจะตอ งรวมกันรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
(ม. ๗๖ ป.พ.พ.)

- ผแู ทนนติ ิบคุ คลตางจากตัวแทน ผแู ทนนติ บิ คุ คลยอมมีอํานาจ
ดําเนินการทุกอยางแทนนิติบุคคลภายในขอบแหงวัตถุประสงคในฐานะที่
เปน ตวั การเสียเอง สามารถทําการทัง้ หลายไดโดยไมถูกจํากัดเหมือนตัวแทน
คือมีอํานาจจําหนายจายโอนอสังหาริมทรัพย นําคดีขึน้ ฟองรองตอศาลได
เพราะเปนการกระทาํ ของตัวการเอง ตางจากตัวแทนซึ่งจะตองไดรับมอบ
อํานาจจากตัวการ คือ ตองมีผูแ ทนนิติบุคคลขึ้นกอน นอกจากผูร ับมอบ
อาํ นาจทว่ั ไปจะทําการท้ังหลายแทนตัวการได แตนิติกรรมสําคัญบางประเภท
กท็ ําแทนตวั การไมได เวนแตจะไดมอบอํานาจไวเปนการเฉพาะ ท้ังน้ี ผูแทน
นติ บิ คุ คลมอี าํ นาจแตง ตั้งตัวแทน หรอื มอบอาํ นาจใหผ ูอ น่ื ทําการแทนตนได

๗๓
73

การกระทําของตัวแทนยอมผูกพันนิติบุคคลซึ่งมีฐานะเปนตัวการเหมือน
นิติบุคคลทําการดวยตนเอง และผูแ ทนนิติบุคคลเปนไดทั้งบุคคลธรรมดา
และนิติบคุ คล

- ขอหามทําการแทนกรณีประโยชนไดเสียขัดกับนิติบุคคล
หลกั สาํ คัญในการจัดการนิตบิ ุคคล คอื หากประโยชนไดเสียของนิติบุคคล
ขัดกับประโยชนไดเสียของผูแ ทนนิติบุคคล ผูแ ทนของนิติบุคคลนัน้ จะเปน
ผแู ทนในการน้ันไมได (ม. ๗๔ ป.พ.พ.) โดยพิจารณาจากสภาพแหงประโยชน
ในกิจการนั้น ๆ หรือจากมาตรฐานความรูส ึกนึกคิดและประสบการณของ
วิญูชน และกฎหมายมุง คุม ครองประโยชนของนิติบุคคลโดยตรง เชน กรณี
ทาํ นติ กิ รรมกับตนเอง โดยขายทรัพยของนิติบุคคลใหผูแทนเอง ผลประโยชน
ของผูข ายและผูซื้อขัดกันอยูในตัว ผูแทนของนิติบุคคลจะกระทําไมได
หากการกระทําดงั กลาวสง ผลใหนิตบิ คุ คลขาดผูแทน หรือมีผูแทนไมเพยี งพอ
ที่จะทําการในนามของนิติบุคคลไดใหปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบังคับ หรือ
ตราสารจดั ตั้งนิติบคุ คลในการหาบุคคลเขาทําหนาที่เปนผูแทนกอน แตถา
ไมไดกําหนดไวก็ใหผูมีสวนไดสวนเสียหรือพนักงานอัยการรองขอใหศาล
แตงตงั้ ผแู ทนเฉพาะการขึน้ เพ่ือทําการแทนนติ ิบคุ คล (ม. ๗๕ ป.พ.พ.)

• การสอบสวนสิทธิและความสามารถของนิติบุคคล
พนักงานเจาหนา ที่ตอ งสอบสวนและตรวจสอบ ดังนี้
๑. ผูแทนของนิติบุคคลยังมีอํานาจอยูหรือไม ตรวจสอบจาก

หนังสอื รับรองตาง ๆ ของนิติบคุ คลที่นํามาแสดง โดยใหผ มู อี าํ นาจทําการ

74 ๗๔

แทนนิติบุคคลรับรองสาระสําคัญตาง ๆ ในหนังสือรับรอง (ท่ี มท ๐๗๑๐/
ว ๓๖๘๒๓ ลว. ๒๒ ต.ค. ๒๕๔๒) ถามีการมอบอํานาจใหตัวแทนมา
ดําเนินการใหตัวแทนที่ไดรับมอบอํานาจเปนผูใ หคํารับรองความเปนปจจุบัน
ของหนงั สอื รบั รองของนติ ิบคุ คล (มท ๐๗๑๐/ว ๔๓๕๐๐ ลว. ๓ ธ.ค. ๒๕๔๒)

๒. ผูแทนของนิติบุคคลทํานอกวัตถุประสงคของนิติบุคคลหรือไม
โดยใหต รวจดูจากวตั ถปุ ระสงคข องนิติบคุ คล

๓. นิติกรรมทีผ่ ูแทนของนิติบุคคลทํามีประโยชนไดเสียของ
นิติบุคคลขัดกับประโยชนไดเสียของผูแทนนิติบุคคล ผูแ ทนของนิติบุคคล
นั้นจะเปนผูแทนไมได (ม. ๗๔ ป.พ.พ.) มีคําอธิบายตามหนังสือ ที่ มท
๐๖๑๐/ว ๐๘๔๒๙ ลว. ๒๖ มี.ค. ๒๕๓๖

๔. กรณีเลิกนิติบุคคลผูชําระบัญชีของหางหุน สวนหรือบริษัท
ไดมีการจดทะเบียนเสร็จสิน้ การชําระบัญชีแลว ตอมาพบวายังมีทีด่ ินของ
นิติบุคคลหลงเหลอื อยู จะตอ งไปรอ งตอศาลส่งั ใหผ ชู าํ ระบัญชีกลบั มามีอํานาจ
การชําระบญั ชีของนติ ิบุคคลอกี คร้ัง

ขอ สังเกต “คณะบุคคล” ไมใชนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย และ “หางหุน สวนสามัญทีย่ ังไมไดจดทะเบียน” ยังไมมีสภาพ
นติ ิบคุ คลตามกฎหมาย หาก “คณะบคุ คล” หรือ “หางหุนสวนสามัญทีย่ ัง
ไมไ ดจ ดทะเบยี น” มาทํานิตกิ รรมใหใสช อ่ื ในนามบุคคลธรรมดารว มกนั

๗๕
75

• ประเภท/ผูแทน และการดาํ เนินการของนิติบคุ คลแตละประเภท

ประเภทของ ผูแทนนติ บิ คุ คล กรณีผแู ทน
นติ ิบคุ คล ไมส ามารถทําได
๑. หางหนุ สวนสามญั - มีหุนสว นผจู ดั การเปน
นติ ิบคุ คล ผแู ทน - ผูเปนหุน สวนจะ
- ถาไมไดตกลงกันไว เขาทําสัญญาอะไร
ผูเ ปนหุนสวนทุกคน ซ่งึ ผูเปนหนุ สวนอนื่
ยอ มจดั การหางหุนสวนได ทักทวงไมได
(ม. ๑๐๓๓ และ ๑๐๖๔ (ม. ๑๐๓๓ ป.พ.พ.)
(๕) ป.พ.พ.) - หุน สวนผูจ ัดการ
- ถาไดตกลงกันไววามี จะทําการอะไรซึ่ง
หุนสวนผจู ดั การหลายคน หุน สว นผจู ดั การอ่นื
หุนสวนผจู ดั การแตละคน ทกั ทว งไมไ ด
จะจัดการหางหุน สวน (ม.๑๐๓๕ ป.พ.พ.)
นั้นก็ได (ม. ๑๐๓๕ - ถาประโยชนได
ป.พ.พ.) เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
ขัดกับประโยชนได
เสียของผูแทนของ
นิติบุคคล ผูแ ทน
ของนิติบุคคลนั้นจะ
เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
(ม. ๗๔ ป.พ.พ.)

๗๖
76

ประเภทของ ผแู ทนนิติบุคคล กรณีผแู ทน
นติ ิบุคคล ไมสามารถทาํ ได

๒. หา งหุนสวนจํากัด - มหี ุนสว นผจู ดั การเปน - ถาประโยชนได
ผแู ทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
ขัดกับประโยชนได
- หุนสวนไมจํากัดความ เสียของผูแทนของ
รับผิด ตองจัดการหาง นิติบุคคล ผูแทน
หุน สวนภายใตวัตถุ ของนิติบุคคลนั้นจะ
ประสงคของหางหุนสวน เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
(ม. ๑๐๗๘ (๒), (๖), (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)
๑๐๘๗ ป.พ.พ.)

๓. บริษัทจํากดั - มีกรรมการผูจัดการ - ถาประโยชนได
เปน ผูแทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
ขัดกับประโยชนได
- กรรมการคนหนึง่ หรือ เสียของผูแทนของ
หลายคนจัดการตาม นิติบุคคล ผูแทน
ขอบังคับของบริษัทและ ของนิติบุคคลนั้นจะ
ทีป่ ระชุมใหญผูถือหุน เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
(ม. ๑๑๑๑ (๖), ๑๑๔๔ (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)
ป.พ.พ.)

๗๗77

ประเภทของ ผแู ทนนติ ิบคุ คล กรณีผแู ทน
นติ ิบุคคล ไมส ามารถทําได
๔. สมาคม
- มคี ณะกรรมการของ - ถาประโยชนได
๕. มลู นิธิ สมาคมเปนผูแทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
ขัดกับประโยชนได
- คณะกรรมการของ เสียของผูแทนของ
สมาคมเปนผูด ําเนิน นิติบุคคล ผูแทน
กิจการของสมาคมตาม ของนิติบุคคลนั้นจะ
กฎหมายและขอบังคับ เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
ภายใตการควบคุมดูแล (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)
ของท่ีประชุม
(ม. ๘๖, ๘๗ ป.พ.พ.)

- มีคณะกรรมการของ - ถาประโยชนได
มูลนิธเิ ปน ผแู ทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
ขัดกับประโยชนได
- คณะกรรมการของ เสียของผูแทนของ
มลู นิธิประกอบดวย นิติบุคคล ผูแทน
บุคคลอยางนอยสามคน ของนิติบุคคลนั้นจะ
เปน ผดู ําเนนิ กจิ การของ เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
มลู นิธิตามกฎหมายและ (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)
ขอ บงั คบั ของมูลนิธิ

78 ๗๘

ประเภท ผแู ทนนิติบุคคล กรณผี แู ทน
ของนติ บิ คุ คล ไมส ามารถทาํ ได
๖. สหกรณ
- คณะกรรมการของ
มูลนิธิเปนผูแ ทนของ
มูลนิธใิ นกจิ การที่เกี่ยวกับ
บุคคลภายนอก
(ม. ๑๑๘, ๑๑๑ ป.พ.พ.)

- มีคณะกรรมการของ - ถาประโยชนได
สหกรณเ ปน ผแู ทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
- ใ หค ณะ ก รร มก า ร ขัดกับประโยชนได
ดํา เ นิน ก าร ส หก ร ณ เสียของผูแทนของ
เ ป น ผู ดํ า เ นิ น กิ จ ก า ร นิติบุคคล ผูแทน
และเปนผูแทนสหกรณ ของนิติบุคคลนั้นจะ
ในกิจการอันเกีย่ วกับ เปนผูแ ทนไมได
บคุ คลภายนอก (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)
- คณะกรรมการ
ดําเนินการสหกรณจะ
มอบหมายใหกรรมการ
คนหนึง่ หรือหลายคน
เปนผูจัดการทําการแทน
ก็ได (ม. ๕๑ พ.ร.บ.
สหกรณ)

๗๙79

ประเภท ผแู ทนนติ ิบุคคล กรณผี แู ทน
ของนิตบิ ุคคล ไมสามารถทาํ ได

๗. นติ บิ ุคคลหมบู าน - คณะกรรมการหมูบาน - ถาประโยชนได
จัดสรร จัดสรรเปนผูแทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
- คณะกรรมการหมูบาน ขัดกับประโยชนได
จัดสรรเปนผูแทนของ เสียของผูแทนของ
นิติบุคคลหมูบานจัดสรร นิติบุคคล ผูแทน
ใ น กิจ ก า ร ที ่เ กี ่ย ว กับ ของนิติบุคคลนั้นจะ
บคุ คลภายนอก (ม. ๔๖ เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
พ.ร.บ.จดั สรร) (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)

๘. นติ บิ คุ คลอาคารชุด - มีผูจัดการนิติบุคคล - ถาประโยชนได
อาคารชดุ เปนผูแทน เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
- ผูจัดการนิติบุคคล ขัดกับประโยชนได
อาคารชุดปฏิบัติใหเปน เสียของผูแทนของ
ไ ป ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค นิติบุคคล ผูแทน
ข อ ง ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ของนิติบุคคลนั้นจะ
อาคารชุด ตามขอบังคับ เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด
หรอื ตามมติของที่ประชุม (ม. ๗๔ ป.พ.พ.)
ใหญเจาของรวมหรือ
คณะกรรมการ ทั้งน้ี
โดยไมขัดตอกฎหมาย
(ม. ๓๖ พ.ร.บ. อาคารชดุ )

80 ๘๐

ประเภท/ลกั ษณะ ผแู ทนนติ บิ ุคคล กรณีผูแทน
ของนิตบิ คุ คล ไมส ามารถทําได

๙. วดั - มีเจาอาวาสเปนผูแทน - ถาประโยชนได
ของวัด และมีอํานาจ
ดําเนินการในกิจการ เ สี ย ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล
ท่ัวไปตาง ๆ เก่ียวกับ ขัดกับประโยชนได
ทีด่ ินของวัด ตาม ม. ๓๑ เสียของผูแทนของ
พ.ร.บ. คณะสงฆ (ฉบับ นิติบุคคล ผูแทน
ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ของนิติบุคคลนั้นจะ
เ ป น ผู แ ท น ไ ม ไ ด

(ม. ๗๔ ป.พ.พ.)

(รายละเอียดการทํา
นิติกรรมเกี่ยวกับท่ีดิน
ของวัดแตละประเภท
การจดทะเบยี น ตาม
ตารางดา นทา ยน)้ี

๘๑81

วดั

วดั หมายถงึ สถานทท่ี างพระพทุ ธศาสนาโดยปกตมิ พี ระอุโบสถ
พระวิหาร เจดยี  และมพี ระภกิ ษุสงฆอ ยอู าศยั

• ประเภทของวดั
ตามมาตรา ๓๑ พระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๐๕

แกไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ วัด
แบง ออกเปน ๒ ประเภท

๑. วัดทไี่ ดร ับพระราชทานวิสงุ คามสมี า หมายถึงวัดที่มีประกาศ
ตั้งวัดโดยชอบดว ยกฎหมายแลว และตอ มาไดร บั พระราชทานวสิ ุงคามสีมา

๒. สํานักสงฆ วัดทีต่ ัง้ โดยชอบดวยกฎหมาย แตยังไมได
พระราชทานวสิ งุ คามสมี า (มสี ภาพทุกส่งิ ทกุ อยา งเหมอื นวัด แตไมม ีโบสถ)

วัดที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาและสํานักสงฆ ตางก็เปน
นิตบิ คุ คล

• ทีด่ นิ ของวดั
มาตรา ๓๓ พระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๐๕ ไดแบงวัด

และทซ่ี ึง่ ขึ้นตอวัดแบงเปน ๓ ประเภท ดงั น้ี
๑. ท่ีวดั คือ ท่ซี ่ึงต้งั วดั ตลอดจนเขตของวดั นน้ั
๒. ทีธ่ รณสี งฆ คอื ทซ่ี งึ่ เปน สมบตั ิของวัด
๓. ทีก่ ัลปนา คือ ทีซ่ ึ่งมีผูอุทิศแตผลประโยชนใหวัดหรือ

พระศาสนา

๘๒
82

• การทาํ นิตกิ รรมเกีย่ วกับที่ดินของวดั
คาํ วา “นิติกรรม” ตามในมติคณะสงั ฆมนตรี คร้งั ที่ ๑/๒๔๙๖

เมื่อวนั จนั ทรท ี่ ๕ มกราคม ๒๔๙๖ หมายถึง การขอรังวัดรับโฉนดทีด่ ิน
การขอสอบเขต การขอแบง แยกและการขอรับรองเขตทีด่ ิน มิใช “นิติกรรม”
ตามความหมายในมาตรา ๑๔๙ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
กิจการอันใดทีเ่ กีย่ วของกับทีด่ ินซึง่ เรียกชื่อตางออกไปบางแตมีลักษณะ
ใกลเ คยี งทํานองเดยี วกบั กจิ การ ๔ ประการดังกลา วขางตนใชไดโดยอนุโลม

การทํานิติกรรมอันเกีย่ วกับทีด่ ินของวัด ๔ ประการ คือ
การขอรงั วดั รบั โฉนดทด่ี นิ การขอสอบเขต การขอแบง แยก และการขอ
รับรองเขตที่ดนิ ของวดั มหี ลักเกณฑด งั นี้

๑. วัดมีพระสงฆท่ีต้ังอยูในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเทศบาล
หรือสุขาภิบาล ใหเจาอาวาสมอบฉันทะใหสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ
หรือตัวแทนของสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติเปนผูดําเนินการแทนวัด
แตข อ ตกลงใด ๆ ในการทํานิตกิ รรมน้ตี องไดร ับความเห็นชอบจากเจา อาวาส

๒. วัดที่อยูนอกเขตดังกลาวในขอ ๑) ใหเจาอาวาสพิจารณา
คัดเลือกทายก ทายิกาแหงวัดนัน้ ทีน่ าเชือ่ ถือจํานวน ๒ หรือ ๓ ทาน
ใหเปนผูดําเนินการแทนเจาอาวาสในการทํานิติกรรมเกี่ยวกับทีด่ ินของวัด
แตขอ ตกลงใด ๆ ในการทาํ นติ ิกรรมนี้ตอ งไดร บั ความเห็นชอบจากเจาอาวาสกอน
(ตามมติคณะสังฆมนตรี ท่ี ๑/๒๔๙๖ และ ท่ี ๑๖/๒๕๒๘ ลงวันที่ ๒๐
มิถนุ ายน ๒๕๒๘)

๘๓83

๓. การทํานิติกรรมเกีย่ วกับทีด่ ินอันเปนศาสนสมบัติของวัด
กรณีวัดไดมอบการจัดประโยชนศาสนสมบัติของวัดให

สาํ นกั งานพระพุทธศาสนาแหงชาติดําเนินการทํานิติกรรมใด ๆ เก่ียวกับศาสนสมบัติ
ของวัดตองใหผูอํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเปนผูท ําการ
แทนวัด แตถาวัดมิไดมอบใหสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติดําเนินการ
เจาอาวาสในฐานะผูแ ทนวัดหรือมอบอํานาจใหไวยาวัจกร หรือผูใดไป
ดาํ เนนิ การแทนได ตามมาตรา ๓๑ แหง พระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๐๕
แกไ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และ
การทีจ่ ะทราบวา วัดที่ขอจดทะเบียนมอบการจัดประโยชนศาสนสมบัติ
ของวัดใหสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติหรือไม ใหตรวจสอบจากสัญญา
ที่คูกรณีนํามาจดทะเบียน หากวัดไดมอบการจัดประโยชนใหแกทางราชการ
สัญญาจะระบุวา วัด.....โดยสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ผูร ับมอบ
อํานาจสําหรับวัดทีอ่ ยูใ นกรุงเทพมหานคร สวนวัดทีอ่ ยูใ นสวนภูมิภาคจะ
ระบุวา วัด.....โดยผูอ ํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด และถา
วัดมิไดมอบอํานาจการจัดประโยชนจะระบุวา วัด.....โดยเจาอาวาส (หนังสือ
กรมทดี่ นิ ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๒๔๒๖๑ ลงวนั ท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑)

● ผแู ทนของวดั

๑. เจาอาวาสเปนผูแ ทนวัดตามกฎหมาย ยอมมีอํานาจทีจ่ ะ
ดําเนินการในกิจการทัว่ ไปตาง ๆ เกีย่ วกับทีด่ ินของวัด ตามมาตรา ๓๑
พระราชบญั ญัติคณะสงฆ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕

84 ๘๔

๒. ท่ดี นิ ของวัดซงึ่ อยูใ นความปกครองดูแลของกรมพระคลัง
ขา งทแี่ ละตองใหผูแ ทนกรมพระคลังขา งทีเ่ ปนผแู ทนวัด (หนงั สือกรมที่ดิน
ที่ ๔๒๗๘/๒๔๙๖ ลงวันท่ี ๒๔ สงิ หาคม ๒๔๙๖) ซึง่ มี ๖ วัด คอื

๒.๑ วดั บวรนิเวศวหิ าร
๒.๒ วดั เบญจมบพติ ร
๒.๓ วดั เทพศริ นิ ทราวาส
๒.๔ วัดราชบพติ ร
๒.๕ วัดราชประดษิ ฐ
๒.๖ วดั นิเวศธรรมประวตั ิ

๘๕
85

• การทาํ นิตกิ รรมเกย่ี วกับท่ดี ินของวดั แตล ะประเภทจดทะเบยี น

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ ิกรรมของวดั

๑. ขาย ทําไดโดยออกเปนพระราชบัญญัติกอน
- วดั ขาย และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
(ม. ๓๔ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วัดโอนใหส ว นราชการ ทําไดโดยตองไดรับความเห็นชอบ
รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงาน จากมหาเถรสมาคม และวัดไดรับเงิน
อื่นของรัฐ โดยไดรับเงิน คา ผาตกิ รรมแลว โดยออกเปนพระราชกฤษฎีกา
คา ผาตกิ รรม (เงนิ คา ทดแทน) และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ

(ม. ๓๔ วรรคสอง พ.ร.บ. คณะสงฆ

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วัดซอ้ื ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม.๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

86 ๘๖

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นิตกิ รรมของวดั

๒. ขายฝาก ทําไดโดยออกเปนพระราชบัญญัติกอน
- วัดขายฝาก และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๔ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วดั รับซือ้ ฝาก ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๓. ให ทําไดโดยออกเปนพระราชบัญญัติกอน
- วัดให และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๔ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วัดรับใหโดยไมมีเง่ือนไข ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
หรอื คา ภาระติดพนั และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๘๗87

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นิตกิ รรมของวดั

- วัดรับใหโดยมีภาระ ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
ผูกพันอยู เชน จํานอง และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
ภาระจํายอม เปน ตน (ม.๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วัดรับใหโดยมีเงื่อนไข ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
หรือคาภาระติดพัน (เชน และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
รับใหโดยมีเงือ่ นไขหาม (ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
ขาย, รับใหแลวจดทะเบียน พ.ศ. ๒๕๓๕)
สทิ ธิเก็บกิน เปนตน)

๔. กรรมสทิ ธร์ิ วม ทําไดโดยออกเปนพระราชบัญญัติกอน
- วดั ใหถือกรรมสิทธร์ิ วม และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
(ม. ๓๔ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

-วัดขอถอื กรรมสิทธ์ิรวม ทําไดโ ดยตองขออนุญาตรฐั มนตรกี อ น
โดยไมม คี า ตอบแทน และไมมี และใหเจา อาวาสเปนผดู ําเนินการ
เง่ือนไขหรือคา ภาระตดิ พัน (ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

88 ๘๘

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิติกรรมของวดั

- วัดขอถือกรรมสิทธิ์รวม ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
ไมม ีคา ตอบแทน แตมีเง่ือนไข และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
หรือคาภาระติดพนั (เชน (ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
ขอกรรมสิทธิ์รวม (รับให) พ.ศ. ๒๕๓๕)
โดยมีขอกําหนดหามขาย,
ขอถือกรรมสทิ ธร์ิ วม (รับให)
แลวจดทะเบียนสทิ ธิเกบ็ กิน
เปนตน )

- วดั ขอถอื กรรมสทิ ธ์ริ วม ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
โดยมคี าตอบแทน (ซอ้ื ) และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๕. มรดก ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
- วัดรับมรดก และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๘๙89

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิตกิ รรมของวดั

- วดั สละมรดก ทําไดโดยออกเปนพระราชบัญญัติกอน
และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๔ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๗. โอนตามกฎหมาย เฉพาะกรณีมีกฎหมายกําหนดใหทรัพย
ของวดั ตกเปนของผรู ับโอน

๘. โอนตามคาํ สั่งศาล ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
และใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๙. โอนเปนทีส่ าธารณ- ทาํ ไดโดยใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
ประโยชน/แบงหักเปนท่ี เปนกรณีท่ีกรรมสิทธิ์ตกไปโดยผลของ
สาธารณประโยชน กฎหมาย ไมขัด ม. ๓๔ พ.ร.บ.คณะสงฆ
(เปนการอุทิศใหโดยสภาพ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕)

เปน ทางสาธารณประโยชนแ ลว )

90 ๙๐

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของวดั

๑๐. เวนคืน วดั ตกลงซือ้ ขายจะตองออกเปน พ.ร.บ.
- กรณีมีพระราชกฤษฎีกา ตาม ม. ๓๔ แตถา สว นราชการ รัฐวิสาหกิจ
หรือหนว ยงานอนื่ ของรฐั จายคาผาติกรรมแลว
กําหนดเขตท่ีดินท่ีจะเวนคืน เม่ือมหาเถรสมาคมเห็นชอบ ใหกระทํา
แ ล ว วั ด ต ก ล ง ข า ย ที่ ดิ น โดยพระราชกฤษฎีกา และใหเจาอาวาส
(ตาม ม. ๑๐ พ.ร.บ. วาดวย เปนผูดําเนินการ (ม. ๓๑, ๓๔ วรรคสอง
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕)
พ.ศ. ๒๕๓๐)

- กรณีมีพระราชบัญญัติ ทําไดตาม ม. ๑๗ พ.ร.บ. วาดวยการ
เวนคืนทด่ี ินของวดั (ตามม.๑๕ เวนคืนอสังหาริมทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐
พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน ใหถือวาพ.ร.บ.เวนคืน เปน พ.ร.บ.โอน
อสังหารมิ ทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐) กรรมสิทธท์ิ ่วี ดั หรือธรณสี งฆแ ลว

๑๑. ไดม าโดยการครอบครอง ทําไดโดยตองขออนุญาตรัฐมนตรีกอน
ตามประมวลกฎหมาย และใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
แพงและพาณิชย มาตรา (ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
๑๓๖๗ และ ๑๓๘๒ พ.ศ. ๒๕๓๕)

๙๑91

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิติกรรมของวดั

๑๒. จาํ นอง ทําไดโดยใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
- วดั จาํ นอง (ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วดั รับจํานอง ทําไดโดยใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

- วัดไถถ อนจาํ นอง ทําไดโดยใหเจาอาวาสเปนผูด ําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)

๑๓. เชา ทําไดเมือ่ ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน
- วดั ใหเ ชาเกนิ ๓ ป พระพุทธศาสนาแหงชาติ และเจาอาวาส
- วดั เชา เปนผูด ําเนนิ การ (กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒
(พ.ศ. ๒๕๑๑) ออกตามความใน พ.ร.บ.
คณะสงฆ พ.ศ. ๒๕๐๕)
ทําไดโดยใหเจาอาวาสเปนผูดําเนินการ
(ม. ๓๑ พ.ร.บ.คณะสงฆ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕)


Click to View FlipBook Version