The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2554 (ส่วนที่ 1) (ปี 2554)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินเทากับจํานวนที่ถูกบังคับแตไมเกินจํานวนที่นํา
สิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน

การจายเงินใหแกสถาบันการเงินตามวรรคหนึ่ง ใหกระทรวงการคลังจายจาก
งบประมาณที่ตั้งไวสําหรับการเบิกจายบําเหน็จตกทอด

มาตรา ๕๗/๔ ในกรณีที่กระทรวงการคลังไดจายเงินแกสถาบันการเงินไปแลวตาม
มาตรา ๕๗/๓ ใหกระทรวงการคลังหักจํานวนเงินนั้นออกจากสิทธิในบําเหน็จตกทอดเทากับ
จํานวนที่จายใหแกสถาบันการเงิน

ในกรณีที่กระทรวงการคลังไมอาจหักจํานวนเงินที่จายใหแกสถาบันการเงินจากสิทธิ
ในบําเหน็จตกทอดตามวรรคหนึ่งได ใหกระทรวงการคลังเรียกเงินคืนจากผูรับบํานาญปกติ หรือ
ผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพหรือจากกองมรดกของผูนั้น แลวแตกรณี เปนจํานวน
เทากับจํานวนที่กระทรวงการคลังไดจายใหแกสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่
กระทรวงการคลังกําหนด

มาตรา ๕๗/๕ ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพผูใด
ไดนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินแลว หากภายหลังผูนั้นกลับ
เขารับราชการใหมโดยใชสิทธินับเวลาราชการสําหรับคํานวณบําเหน็จบํานาญตอนกอนออกจาก
ราชการตอเนื่องกับการรับราชการในตอนหลังตามมาตรา ๓๘ และเมื่อออกราชการในครั้งหลังได
เลือกรับบําเหน็จ ใหจายบําเหน็จแกผูนั้นตามสิทธิที่จะไดรับ แตตองไมเกินจํานวนที่เหลือจากสิทธิ
ในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินโดยใหกระทรวงการคลังกันเงิน
บําเหน็จเทากับจํานวนดังกลาวไวและเมื่อสัญญากูเงินสิ้นสุดลงโดยไมมีการบังคับเอากับสิทธิใน
บําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน ใหกระทรวงการคลังคืนเงินบําเหน็จ
ที่กันไว

ในกรณีที่ผูรับบําเหน็จถึงแกความตายหรือสัญญากูเงินสิ้นสุดลง ถามีการบังคับเอา
กับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน ใหกระทรวงการคลังจาย
เงินใหแกสถาบันการเงิน โดยกระทรวงการคลังมีสิทธิหักจากเงินบําเหน็จที่กันไวตามวรรคหนึ่ง
กอน ถามีเงินเหลือใหจายคืนแกผูรับบําเหน็จหรือทายาท แลวแตกรณี”

มาตรา ๔ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๖๕/๑ แหงพระราชบัญญัติกองทุน
บําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙

“มาตรา ๖๕/๑ ภายใตบังคับมาตรา ๖๕ ในกรณีที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับ
บํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพไดนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกัน
การกูเงินหากสัญญากูเงินสิ้นสุดลงโดยไมมีการบังคับเอากับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปน
หลักทรัพยในการประกันการกูเงิน ทายาทมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดเต็มตามจํานวนที่มีสิทธิ
หากผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพถึงแกความตายหรือสัญญา

๔๔๘

กูเงินสิ้นสุดลงโดยมีการบังคับเอากับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกัน
การกูเงิน ทายาทมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดเทากับจํานวนที่เหลือหลังจากที่กระทรวงการคลัง
ไดหักจํานวนเงินที่จายใหแกสถาบันการเงินออกจากสิทธิในบําเหน็จตกทอดตามมาตรา ๕๗/๔
วรรคหนึ่ง”

มาตรา ๕ ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพซึ่งยังคง
มีสิทธิไดรับบํานาญอยูกอนวันที่พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙
ซง่ึ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ชบ งั คบั ใหม สี ทิ ธนิ าํ สทิ ธใิ นบาํ เหนจ็ ตกทอดไปเปน หลกั ทรพั ย
ในการประกันการกูเงินไดตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ดวย

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวากระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

อภสิ ิทธิ์ เวชชาชวี ะ
นายกรัฐมนตรี

๔๔๙

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติกองทุน
บําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดบัญญัติใหผูรับบํานาญมีสิทธินําบําเหน็จดํารงชีพ
มาใชไดกอนเพื่อบรรเทาความเดือดรอนและเพื่อใหผูรับบํานาญสามารถดํารงชีพอยูได โดยเหมาะ
สมกับสภาวะเศรษฐกิจแตการดําเนินการดังกลาวสามารถชวยเหลือผูรับบํานาญไดเพียงบางสวน
และปรากฏวายังมีผูรับบํานาญอีกจํานวนมากที่ไดรับบํานาญรายเดือนในอัตราตํ่า ทําใหไดรับ
บําเหน็จดํารงชีพในอัตราที่ไมเพียงพอตอการครองชีพ ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของผูรับ
บํานาญและจะเปนการสงเสริมการลงทุนอันเปนการกระตุนเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมอีก
ทางหนึ่ง สมควรกําหนดใหผูรับบํานาญสามารถนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยใน
การประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

๔๕๐

ดว นท่ีสดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๖๒
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๔

เรื่อง การเบิกคายากลูโคซามีนซัลเฟต

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อา งถงึ หนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๒๗ ลงวนั ท่ี ๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕๓

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. แนวทางการกํากับการใชยากลูโคซามีนซัลเฟตของราชวิทยาลัยแพทย
ออรโธปดิกสแหงประเทศไทย

๒. หนังสือรับรองการใชยากลโู คซามีนซัลเฟต

ตามที่กระทรวงการคลังไดกําหนดใหกลุมยาบรรเทาอาการขอเสื่อมที่ออกฤทธิ์
ชา (กลโู คซามีนคอนดรอยตินซัลเฟต และไดอะเซอเรน) ทุกรปู แบบ และกลุมยาฉีดเขาขอบรรเทา
อาการขอเสื่อม (ไฮยาลูโรแนนและอนุพันธ) เปนรายการยาที่หามเบิกจายจากระบบสวัสดิการ
รักษาพยาบาลขาราชการ ตามหนังสือที่อางถึงปรากฏวา ราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหง
ประเทศไทยและสมาคมรูมาติสซั่มแหงประเทศไทย ไดขอใหกระทรวงการคลังพิจารณาทบทวน
เนื่องจากมีผูปวยบางกลุมจําเปนตองใชยากลุมดังกลาว

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว ขอเรียนดังนี้
๑. คณะกรรมการบรหิ ารระบบสวสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาลขา ราชการไดม กี ารแตง ตง้ั
คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อพิจารณาหาขอสรุปเกี่ยวกับประสิทธิผลและความคุมคาของกลุม
ยาบรรเทาอาการขอเสื่อม ซึ่งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจฯ ไดพิจารณาแลวมีขอสรุป ดังนี้

๑.๑ ยากลโู คซามีนซัลเฟต มิใชยาที่ใชปองกันโรคขอเขาเสื่อม แตเปนยาที่
ใชเพื่อบรรเทา อาการปวด ซึ่งอาจมีประโยชนตอผูปวยโรคขอเขาเสื่อมบางกลุม โดยตองมีการ
กําหนดเงื่อนไขการใช และวิธีการบริหารจัดการ รวมทั้งระบบการควบคุมกํากับใหการใชยาเปน
ไปตามเงื่อนไขขอบงชี้และตรงกับกลุมเปนหมายเพื่อใหเกิดความคุมคาในการใชยา โดยใหกรม
บัญชีกลางและหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมกันศึกษาความคุมคาทางเศรษฐศาสตรสาธารณสุข
และวางแนวทางการบริหารจัดการ การควบคุมกํากับการใชยา ที่สามารถปฏิบัติไดจริง เพื่อให
เปนมาตรฐานที่ทุกฝายยอมรับ และเกิดประโยชนสูงสุดตอการใชงบประมาณของแผนดิน โดย
ใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน ๑ เดือน และนําขอสรุปเสนอใหคณะกรรมการบริหารระบบ
สวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการพิจารณา

๔๕๑

๑.๒ คณะอนุกรรมการบางทาน เห็นวา ในระหวางรอผลการศึกษาตาม
ขอ ๑.๑ กระทรวงการคลังควรทบทวนคําสั่งหามเบิกจายคายากลูโคซามีนซัลเฟต โดยการผอน
คลายใหเบิกจายไดตามเงื่อนไขขอบงชี้ที่ราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทยกําหนด
เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของผูปวยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการที่ตองใชยาดังกลาว

๒. กระทรวงการคลังเห็นสมควรผอนคลายใหผูมีสิทธิสามารถเบิกจายคายา
กลูโคซามีนซัลเฟตในระหวางที่รอผลการศึกษาตามขอ ๑.๑ โดยถือปฏิบัติ ดังนี้

๒.๑ คายาที่เบิกไดนั้น ตองเปนการสั่งใชยาตามแนวทางกํากับการใชยา
กลูโคซามีนซัลเฟตของราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทยที่สงมาดวย ๑

๒.๒ หามสถานพยาบาลเบิกคายาดังกลาวในระบบเบิกจายตรงกับ
กรมบัญชีกลาง และใหสถานพยาบาลออกใบเสร็จรับเงินคายาดังกลาว เพื่อผูมีสิทธินําไปยื่นขอ
เบิกจากสวนราชการตนสังกัด

๒.๓ ใหแพทยผูทําการรักษาที่สามารถสั่งใชยาตามแนวทางกํากับการใชยา
ขางตนเปนผูออกหนังสือรับรองการใชยากลูโคซามีนซัลเฟตซึ่งเปนยานอกบัญชียาหลักแหงชาติ
แทนคณะกรรมการแพทยของสถานพยาบาล ตามแบบที่สงมาดวย ๒ เพื่อใหผูมีสิทธินําไปใชเปน
หลักฐานประกอบการเบิกจายจากสวนราชการตนสังกัด

๒.๔ กรณีที่กรมบัญชีกลางตรวจสอบพบวาสถานพยาบาลมีการสั่งจายยา
ไมเปนไปตามแนวทางขางตน จะดําเนินการเรียกคืนเงินคายาดังกลาวจากสถานพยาบาล

๓. การเบิกจายคายา ใหสวนราชการตรวจสอบคําขอเบิกเงินคารักษาพยาบาล
และหลักฐานประกอบการเบิกจายใหถูกตอง ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่กระทรวงการคลัง
กําหนด และใหสวนราชการผูเบิกจัดทํารายงานการเบิกจายเงินคายากลูโคซามีนซัลเฟตประจํา
เดือนสงใหกรมบัญชีกลางพรอมสําเนาใบเสร็จรับเงินและสําเนาหนังสือรับรองการใชยา ภายใน
วันที่ ๑๕ ของเดือนถัดไป
ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชสําหรับการรักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) สุภา ปย ะจิตติ

(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน

กรมบัญชีกลาง สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๐๐๐ ตอ ๔๔๔๑

๔๕๒

แนวทางกาํ กับการใชย ากลโู คซามนี ซลั เฟต

๑. ใชยากลุมนี้เฉพาะในผูปวยที่เปนโรคขอเขาเสื่อมจากความชราเทานั้น ไมรวม
ภาวะหรือโรคขอเขาเสื่อมจากการบาดเจ็บ โรคอื่นๆ รวมทั้งโรคติดเชื้อและความพิการแตกําเนิด
โดยมีความมุงหมายบรรเทาอาการปวดและการลดการใชยาตานการอักเสบทุกชนิดลงใหได
ระหวางการใชยากลุมนี้

๒. ผูปวยตองมีพยาธิสภาพขอเขาเสื่อมในระยะปานกลาง กระดูกออนของขอถกู
ทําลายบางสวน แตยังไมหมดโดยพิจารณาจาการตรวจรางกายและภาพถายรังสีขอเขาตาม แนว
เวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทย

๓. ผูปวยตองผานการรักษาอยางอนุรักษนิยมอยางเต็มที่ตามแนวเวชปฏิบัติของ
ราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทยแลวเปนเวลาอยางนอย ๓ เดือน แตอาการปวด
ไมทุเลา หรือเกิดภาวะแทรกซอนจากการใชยาตานการอักเสบ หรือมีขอหามการใชยาตานการ
อักเสบ โดยเฉพาะผูปวยมีการทํางานของไตหรือตับบกพรอง

๔. การรักษาอยางอนุรักษนิยมที่กลาวถึงในขอ ๓ ไดแก การใหความรูแกผูปวย
เกี่ยวกับธรรมชาติของโรคขอเสื่อมจากความชรา การลดความเสี่ยงที่อาจทําใหผูปวยเกิดอาการ
หรือพยาธิสภาพมากขึ้น การบริหารรางกาย การควบคุมนํ้าหนัก และการใชเครื่องรัดดัดพยุงรวม
ทั้งอาจใชเครื่องชวยเดิน

๕. ผูปวยตองมีอายุตั้งแต ๕๖ ปขึ้นไป
๖. การใชยากลุมนี้ตองไมใชรวมกับยาในกลุมยาบรรเทาอาการขอเสื่อมที่ออกฤทธิ์
ชา (Symptomatic slow acting drugs for osteoarthritis : SYSADOA) ชนิดอื่น
๗. ระหวางการใหยากลุมนี้ผูปวยตองไมใชยาตานการอักเสบขนานใดอยางตอ
เนื่อง อาจใชยาตานการอักเสบหรือยาควบคุมอาการปวดไดเปนครั้งคราว และใหยาตานการ
อักเสบชวงละไมเกิน ๒ สัปดาห หากตองใชยาตานการอักเสบตอเนื่อง ใหถือวายากลูโคซามีน
ซัลเฟต ไมไดผลในผูปวยนั้น และตองระงับการใชยาขนานนั้น
๘. ใหใชยากลุมนี้ ติดตอกันไดโดยมีขอจํากัดคือเมื่อผูปวยไดรับยาแลวตองมีการ
ประเมินอาการภายใน ๓ เดือนหากอาการของผูปวยไมทุเลาหรือกลับตองการยาตานการอักเสบ
และ/หรือยาควบคุมอาการปวดดังเดิมโดยตลอด ใหถือวายานั้นไมไดผลตองระงับการใชยา หาก
ผูปวยมีอาการดีขึ้นอาจใหยาขนานนั้นตอไดและหยุดการใชยานั้นในเดือนที่ ๖ และเฝาดอู าการ
ของผูปวยตอ เปนการประเมินประสิทธิผลตอเนื่องของยา เปนเวลาตอเนื่องอยางนอย ๓ เดือน
หากผูปวยกลับมีอาการมากขึ้นเหมือนกับกอนการใชยากลุมนี้ จึงอาจพิจารณากลับใชยากลุมนี้
ไดอีกหลังระยะเวลา ๓ เดือนที่หยุดการใชยาไปแลวและตองประเมินผลการใชใหมเหมือนเมื่อ
เริ่มตนใชยากลุมนี้

๔๕๓

๙. แพทยผูสามารถสั่งการรักษาใหยากลุมนี้ไดตองเปนแพทยเฉพาะทางสาขา
อายุรแพทยโรคขอ สาขาเวชศาสตรฟนฟูหรือสาขาออรโธปดิกสเทานั้น ไมรวมแพทยผูใชทุน
แพทยประจําบานหรือแพทยฝกหัดที่ทํางานอยูในภาควิชา กลุมงานหรือกองของสาขาวิชาทั้งสาม
นี้

๑๐. แพทยผูรักษาตองบันทึกอาการ อาการแสดง การดําเนินโรคและภาวะ
แทรกซอนที่พบไดของผูปวยอยางชัดเจนทุกครั้งที่ผูปวยมารับการรักษา

๑๑. การสั่งการใชยาแตละครั้งตองไมเกินชวงละ ๖ สัปดาห

๔๕๔

ใบรบั รองการใชย ากลูโคซามนี ซลั เฟต
โปรดใสรายละเอียดการรักษาพยาบาลใหค รบทกุ ขอ

ขาพเจา............................................................................................เลขที่เวชกรรม.............................................
แพทยเฉพาะทางสาขา ■ อายุรแพทยโรคขอ ■ เวชศาสตรฟนฟู ■ ออรโธปดิกส
ชื่อสถานพยาบาล............................................................................จังหวัด.........................................................
ขอรับรองวา (ชื่อ–สกุล ผูปวย)...........................................................................................อายุ........................ป
เลขประจําตัวประชาชน.......................................................................................................................................
■ ๑. ผปู ว ยไดผ า นการรกั ษาอยา งอนุรกั ษนิยมอยางเต็มทแ่ี ตไมไดผล แพทยเ ห็นควรใหใ ชย า

กลโู คซามนี ซลั เฟต
■ ๒. การสัง่ ใชยาเปนไปตามแนวทางกํากบั การใชย ากลโู คซามีนซลั เฟตของราชวทิ ยาลัยแพทย

ออรโ ธปด กิ สแหงประเทศไทยตามหนังสอื กระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว๖๒
ลงวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔
■ ๓. การสั่งจายยาใหผูป วย
■ ๓.๑ ผูปวยไดรบั ยาคร้งั แรกนบั ตงั้ แตวันทีก่ ระทรวงการคลังอนุญาตใหเ บกิ จาย
ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห/เดือน)..........................ตั้งแตวันที่..........................ถึงวันที่..........................
■ ๓.๒ ผูป วยเคยไดรบั ยาแลว มกี ารประเมนิ อาการพบวาดีขึ้น จงึ ใหยาตอ โดยการสั่งจา ย
ยานั้น เม่ือรวมกับการสัง่ จายยาครงั้ กอนแลวไมเกิน ๖ เดือน โดยมรี ายละเอยี ดการส่งั ยาดงั นี้
ครั้งที่ ๑ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
ครั้งที่ ๒ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
ครั้งที่ ๓ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
ครั้งที่ ๔ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
■ ๓.๓ ผูปว ยไดห ยุดการใชย า ไมนอ ยกวา ๓ เดือน แตกลบั มามีอาการเจ็บปวดเหมือน
เดิม แพทยประเมนิ การรักษาแลวเห็นควรใหยาครั้งใหม โดยมีรายละเอยี ดการสง่ั ยา ดังน้ี
ครั้งที่ ๑ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
ครั้งที่ ๒ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
ครั้งที่ ๓ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................
ครั้งที่ ๔ ปริมาณยาตอครั้ง (สัปดาห /เดือน).......................ตั้งแตวันที่....................ถึงวันที่...................

(ลงชื่อ) .......................................................................
(.....................................................................)

ตําแหนง .......................................................................
วันที่..........เดือน....................พ.ศ. ................

๔๕๕

ดว นท่ีสดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๒๓๙
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔

เรือ่ ง แจงรายชื่อสถาบันการเงินที่เขารวมโครงการกูเงินกับสถาบันการเงินโดยนําสิทธิใน
บําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ตารางอัตราดอกเบี้ยโครงการกูเงินกับสถาบันการเงินโดยนําสิทธิในบําเหน็จ
ตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน

ดวยกรมบัญชีกลางและสถาบันการเงินไดทําบันทึกขอตกลงรวมกันเพื่อดําเนิน
โครงการกูเงินกับสถาบันการเงินโดยนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน
เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เพื่อใหผูรับบํานาญสามารถนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปน
หลักทรัพยประกันการกูเงินกับสถาบันการเงินได

กรมบัญชีกลาง ขอเรียนวา ในวันดังกลาวมีสถาบันการเงินซึ่งไดทําบันทึกขอ
ตกลงกับกรมบัญชีกลางเพื่อใหผูรับบํานาญขอกูเงินตามโครงการกูเงินกับสถาบันการเงินโดยนํา
สิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน ดังนี้

๑. ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)
๒. ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน)
๓. ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)
๔. ธนาคารนครหลวงไทย จํากัด (มหาชน)
๕. ธนาคารแลนด แอนด เฮาส เพื่อรายยอย จํากัด (มหาชน)
๖. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย
๗. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
๘. ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)
๙. ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)
๑๐. ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายยอย จํากัด (มหาชน)
๑๑. ธนาคารออมสิน
๑๒. ธนาคารอาคารสงเคราะห
๑๓. ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย

๔๕๖

ซึ่งธนาคารทั้ง ๑๓ แหง ตกลงจะใหกูโดยมีระยะเวลากูไมตํ่ากวา ๑๐ ป หรือเปนไปตามที่ธนาคาร
กับผูรับบํานาญตกลงกัน สําหรับอัตราดอกเบี้ยโครงการดังกลาว รายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่สง
มาดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงผูรับบํานาญในสังกัดและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ
ทราบตอไปดวย

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) สทุ ธิรัตน รตั นโชติ

(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)
ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔

๔๕๗

อตั ราดอกเบีย้ โครงการกเู งินกบั สถาบนั การเงนิ โดยนาํ สิทธิในบาํ เหนจ็ ตกทอด
ไปเปน หลกั ทรพั ยประกนั การกูเงนิ

ธนาคารกรุงเทพ จาํ กดั (มหาชน) โทร. ๑๓๓๓
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MLR – ๐.๓๗๕% ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๖.๘๗๕ % ตอป

ธนาคารกรงุ ไทย จาํ กัด (มหาชน) โทร. ๑๕๕๑
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MLR – ๐.๓๗๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๖.๘๗๕ % ตอป

ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) โทร. ๐-๒๘๘๘-๘๘๘๘
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MRR – ๑.๑๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MRR = ๗.๖๕ % ตอป

ธนาคารนครหลวงไทย จํากดั (มหาชน) โทร. ๑๗๗๐
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MLR – ๐.๗๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๗.๒๕ % ตอป

ธนาคารแลนด แอนด เฮาส เพื่อรายยอ ย จาํ กดั (มหาชน) โทร. ๐-๒๓๕๙-๐๐๐๐
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MLR – ๐.๕๐ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๗.๐๐ % ตอป

ธนาคารพฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย โทร. ๑๓๕๗

ระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย

ปที่ ๑ เดือนที่ ๑ – ๖ อัตราคงที่ เทากับ MLR – ๒.๐๐ % ตอป

เดือนที่ ๗ – ๑๒ MLR – ๑.๕๐ % ตอป

ปที่ ๒ เปนตนไป MLR – ๑.๐๐ % ตอป

หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๗.๐๐% ตอป

ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก ารเกษตร โทร. ๐-๒๕๕๕-๐๕๕๕
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน ๖.๕ % ตอป

ธนาคารทหารไทย จาํ กัด (มหาชน) โทร. ๑๕๕๘
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MLR – ๐.๗๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๗.๒๕ % ตอป

๔๕๘

ธนาคารไทยพาณชิ ย จํากดั (มหาชน) โทร. ๐-๒๗๗๗-๗๗๗๗
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MRR – ๑.๑๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MRR = ๗.๖๕ % ตอป

ธนาคารไทยเครดติ เพ่อื รายยอ ย จาํ กดั (มหาชน) โทร. ๐-๒๖๙๗-๕๔๕๔
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MRR – ๒.๔๕% ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MRR = ๘.๙๕ % ตอป

ธนาคารออมสนิ โทร. ๑๑๑๕
อัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน MLR – ๐.๓๗๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน MLR = ๖.๘๗๕ % ตอป

ธนาคารอาคารสงเคราะห โทร. ๐-๒๖๔๕-๙๐๐๐ ๖.๕๐ % ตอป
อัตราดอกเบี้ย ณ วันลงนามบันทึกขอตกลงฉบับนี้
อัตราดอกเบี้ยหลังจากวันลงนามบันทึกขอตกลงฉบับนี้ MRR – ๐.๒๕ % ตอป ตลอดอายุสัญญากูเงิน
กรณีขอกูเพื่อที่อยูอาศัย MRR ตลอดอายุสัญญากูเงิน
กรณีขอกูซื้ออุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก
ที่เกี่ยวเนื่องเพื่อประโยชนในการอยูอาศัย
หมายเหตุ : ปจจุบัน MRR = ๖.๘๗๕ % ตอป

ธนาคารอสิ ลามแหง ประเทศไทย โทร. ๑๓๐๒
อัตรากําไรตามประกาศของธนาคาร แตไมเกิน SPRR – ๑.๑๒๕ % ตอป ตลอดสัญญา
หมายเหตุ : ปจจุบัน SPRR = ๗.๖๒๕ % ตอป

หมายเหตุ อัตราดอกเบี้ยขางตน เปนอัตราดอกเบี้ย ณ วันลงนามบันทึกขอตกลง โดยผูรับบํานาญสามารถ
ติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ธนาคารทั้ง ๑๓ แหง ที่เขารวมโครงการ

๔๕๙

ดวนที่สุด (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๗๒
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒ สิงหาคม ๒๕๕๔

เรือ่ ง แบบและวิธีการในการแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดของลูกจางประจํา

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. วิธีการในการแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดของลูกจางประจํา
๒. หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด ของลกู จางประจํา (แบบ๑)
๓. หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด ของลกู จางประจํา (แบบ ๒)
๔. ใบมอบฉันทะเพื่อยื่นหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดของ
ลูกจางประจํา

ดวยระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยบําเหน็จลูกจาง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๔
ขอ ๑๕/๔ กําหนดใหลูกจางประจําที่รับบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือน เมื่อเสีย
ชีวิตบุตร คูสมรส หรือบิดามารดาจะมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอด ๑๕ เทาของบําเหน็จราย
เดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนแลวแตกรณีไดและในกรณีที่ผูรับบําเหน็จรายเดือนไมมีบุตร
คูสมรส หรือบิดามารดา หรือมีแตไดถึงแกความตายไปกอน ใหจายบําเหน็จตกทอดใหแกบุคคล
ซึ่งลูกจางประจําที่ถึงแกความตายไดแสดงเจตนาไวตอสวนราชการเจาสังกัดตามแบบและวิธีการ
ที่กระทรวงการคลังกําหนด

กระทรวงการคลังจึงไดกําหนดแบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จ
ตกทอดของลูกจางประจําและแบบใบมอบฉันทะเพื่อยื่นหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จ
ตกทอดของลูกจางประจํา พรอมทั้งวิธีการในการแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดของ
ลูกจางประจําขึ้น เพื่อใหการแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดของลูกจางประจําเปนไป
ตามที่ระเบียบกระทรวงการคลังกําหนด รายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) สภุ า ปยะจติ ติ

(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน
กรมบัญชีกลาง
สํานักกฎหมาย กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทร. ๐-๒๒๗๓-๙๖๐๗ โทรสาร. ๐-๒๖๑๘-๔๘๓๐
๔๖๐

(แบบ ๑)

หนังสอื แสดงเจตนาระบตุ ัวผรู ับบาํ เหนจ็ ตกทอด

ของลูกจา งประจาํ

เขียนที่...............................................................
วันที่.............เดือน...................................พ.ศ. ............(๑)

ขาพเจา..................................................................................(๒) เดิมเปนลูกจางประจําตําแหนง..........
.................................................สังกัดกอง / สํานักงาน............................................กรม.............................................
กระทรวง....................................................จังหวัด.................................................ปจจุบันไดรับบําเหน็จรายเดือน /
บําเหน็จพิเศษรายเดือนเดือนละ.....................................................(๓) บาท ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...........................
ถนน...........................ตําบล / แขวง....................................อําเภอ / เขต.............................จังหวัด............................
รหัสไปรษณีย..................โทร. ...............ในกรณีขาพเจาถึงแกความตาย หากขาพเจาไมมีทายาทผูมีสิทธิจะไดรับ
บําเหน็จตกทอด (บุตร สามีหรือภริยา และบิดามารดาที่ชอบดวยกฎหมาย) ตามขอ ๑๕ / ๔ วรรคสาม
แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยบําเหน็จลูกจาง พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวง
การคลังวาดวยบําเหน็จลกู จาง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๔ ขาพเจาขอแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดโดย
หนังสือฉบับนี้วา ขาพเจาประสงคใหจายเงินบําเหน็จตกทอดแกบุคคล รวม..............(๔) คน ดังมีรายชื่อตอไปนี้

๑. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๒. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๓. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๔. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๕. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๖. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๗. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๘. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน

๔๖๑

๙. ....................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๑๐. .................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๑๑. .................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๑๒. .................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๑๓. .................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๑๔. .................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน
๑๕. .................................................................................................(๕) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๖) สวน

หนังสือแสดงเจตนานี้ไดทําขึ้น ๒ ฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน เก็บไวที่ผูแสดงเจตนา ๑ ฉบับ
อีกฉบับหนึ่งสงไปเก็บไวที่ที่สวนราชการเจาสังกัดผูเบิกบําเหน็จรายเดือน/บําเหน็จพิเศษรายเดือน

ลงชื่อ ................................................. ผูแสดงเจตนา
( ................................................. )

ลงชื่อ ................................................. พยาน
( ................................................. )

ลงชื่อ ................................................. พยาน
( ................................................. )

____________________________________________________________________________________________________
สําหรับเจาหนาที่เทานั้น

หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดฉบับนี้ไดยื่นเมื่อวันที่.........เดือน..................พ.ศ. ..........
[ ] โดย....................................................................(๗) ผูรับบําเหน็จรายเดือน/บําเหน็จพิเศษรายเดือน
[ ] โดย....................................................................(๗) ผูรับมอบฉันทะ ตามหนังสือมอบฉันทะ
ฉบับลงวันที่..............................................................................
ไดนําหนังสือแสดงเจตนาเก็บไวเปนหลักฐานแลว

ลงชื่อ.................................................(๘) เจาหนาที่
( ................................................. )

ตําแหนง .................................................
วันที่...........เดือน................................พ.ศ. ..............

๔๖๒

หมายเหตุ
๑. การขดู ลบ ขีดฆา หรือการแกไขเปลี่ยนแปลงอยางอื่นในหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับ
บําเหน็จตกทอดใหผูแสดงเจตนาลงลายมือชื่อกํากับไว
๒. ใหใสเครื่องหมาย / ในชอง [ ] ที่ใช

คําอธิบายการกรอกแบบหนงั สือแสดงเจตนาระบุตัวผรู ับบําเหนจ็ ตกทอด
(๑) ใหระบุวัน เดือน ป ที่แสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด
(๒) ใหระบุคํานําหนา ชื่อ และนามสกุล ของผูแสดงเจตนา
(๓) ใหระบุเงินบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือน ที่ไดรับอยูขณะที่แสดงเจตนา
(๔) ใหระบุจํานวนผูมีสิทธิรับบําเหน็จตกทอด
(๕) ใหระบุคํานําหนา ชื่อ และนามสกุล ของผูที่ถกู ระบุตัวใหเปนผูรับบําเหน็จตกทอด
(๖) กรณีระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดไวมากกวาหนึ่งคน ใหกําหนดสวนที่จะมีสิทธิไดรับใหชัดเจน

ดวย เชน นาย ก. ใหไดรับ ๑ สวน นางสาว ข. ใหไดรับ ๑ สวน และเด็กหญิง ค. ใหไดรับ ๒ สวน เปนตน
(๗) ใหระบุคํานําหนา ชื่อ และนามสกุล ของผูแสดงเจตนา หรือผูรับมอบฉันทะ
(๘) หัวหนาสวนราชการหรือเจาหนาที่ซึ่งเปนขาราชการในสังกัดที่หัวหนาสวนราชการมอบหมาย

๔๖๓

วิธีการในการแสดงเจตนาระบตุ วั ผูรบั บําเหนจ็ ตกทอดของลกู จา งประจาํ
_______________________

อาศัยอํานาจตามขอ ๑๕/๔ แหงระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยบําเหน็จลกู จาง
(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๔ กระทรวงการคลังจึงกําหนดแบบและวิธีการในการแสดงเจตนาระบุตัว
ผูรับบําเหน็จตกทอดของลกู จางประจําไวดังตอไปนี้

ขอ ๑ ใหลูกจางประจําที่รับบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนจัดทํา
หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด ของลูกจางประจํา (แบบ ๑) จํานวนสองฉบับ
มีขอความตรงกัน ยื่นตอสวนราชการเจาสังกัดหรือสวนราชการเจาสังกัดผูเบิกบําเหน็จรายเดือน
หรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนแลวแตกรณี หากไมสามารถไปยื่นดวยตนเองไดใหทําหนังสือมอบ
ฉันทะตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด ใหผูรับมอบฉันทะไปยื่นแทนได

หนังสือแสดงเจตนาดังกลาวตองระบุคํานําหนาชื่อ ชื่อ และนามสกุลของผูรับ
บําเหน็จตกทอดใหชัดเจนในกรณีที่แสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดเกินหนึ่งคน ให
กําหนดสวนที่ผูรับบําเหน็จตกทอดแตละคนจะมีสิทธิไดรับใหชัดเจนดวย หากไมไดกําหนดสวนไว
ใหถือวาผูรับบําเหน็จตกทอดทุกคนที่ระบุไวนั้นมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดในสวนที่เทากัน

ขอ ๒ ใหหัวหนาสวนราชการเปนผูรับผิดชอบในการตรวจสอบความถูกตองครบ
ถวนของขอมลู ในหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด แลวลงลายมือชื่อในหนังสือ
แสดงเจตนาทั้งสองฉบับ ณ วันที่มีการยื่นหนังสือแสดงเจตนานั้น ทั้งนี้ อาจมอบหมายให
ขาราชการในสังกัดรับผิดชอบเพื่อดําเนินการดังกลาวแทนก็ได

ขอ ๓ หนังสือแสดงเจตนาที่ไดดําเนินการตามขอ ๒ แลว ใหลูกจางประจําผูแสดง
เจตนาเกบ็ รกั ษาไวห นง่ึ ฉบบั สว นอกี หนง่ึ ฉบบั ใหเ กบ็ รกั ษาไวใ นแฟม ขอ มลู การรบั บาํ เหนจ็ รายเดอื น
หรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนของผูนั้น เพื่อเปนหลักฐานประกอบการพิจารณาสั่งจายบําเหน็จ
ตกทอดตอไป หากมีการโอนบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนไปเบิกจายที่ใด ใหสวน
ราชการเจาสังกัดผูเบิกบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนสงหนังสือแสดงเจตนาพรอม
แฟมขอมูลใหสวนราชการเจาสังกัดผูเบิกบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนแหงใหม
เก็บไวเปนหลักฐาน

ขอ ๔ กรณีลูกจางประจําที่รับบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือน
ประสงคจะเปลี่ยนแปลงหรือแกไขหนังสือแสดงเจตนาที่ไดทําไวแลว ใหทําหนังสือแสดงเจตนา
ระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด ของลูกจางประจํา(แบบ๒) จํานวนสองฉบับมีขอความตรงกัน ยื่นตอ
สวนราชการเจาสังกัดหรือสวนราชการผูเบิกบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนแลวแต
กรณี และใหดําเนินการตามขอ ๑ ขอ ๒ และขอ ๓ ตอไป

ขอ ๕ ในกรณีที่ผูรับการแสดงเจตนารายใดถึงแกความตายกอนผูแสดงเจตนา
ใหนําสวนของผูรับการแสดงเจตนานั้นไปแบงใหแกผูรับการแสดงเจตนาที่ยังมีชีวิตอยู ตามสวนที่
กําหนดไวในหนังสือแสดงเจตนา

๔๖๔

ขอ ๖ การแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดตามขอ ๑ และขอ ๔ ใหมีผลนับ
แตวันที่ไดยื่นหนังสือแสดงเจตนา

ขอ ๗ กรณีลูกจางประจําที่รับบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือน
ไดถึงแกความตายกอนที่กระทรวงการคลังจะกําหนดวิธีปฏิบัติในการแสดงเจตนาระบุตัวผูรับ
บําเหน็จตกทอดของลูกจางประจํา และไดทําพินัยกรรม หรือหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งมีการ
ระบุใหผูหนึ่งผูใดเปนผูมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอด หรือมีสิทธิไดรับเงินอื่นใดจากทางราชการ ให
ถือวาพินัยกรรมหรือหนังสือดังกลาวเปนหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดตาม
หนังสือกระทรวงการคลังฉบับนี้

ขอ ๘ กรณีลูกจางประจําที่รับบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือนได
ถึงแกความตายโดยไมไดทําพินัยกรรม หรือหนังสืออยางใดอยางหนึ่งตามขอ ๗ แตมีหลักฐาน
ซึ่งแสดงไดวา ลูกจางประจําประสงคจะใหบุคคลใดเปนผูมีสิทธิไดรับเงินหรือประโยชนอื่นๆ
เมื่อตนถึงแกความตาย ใหสวนราชการเจาสังกัดผูเบิกบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษราย
เดือนสอบสวนขอเท็จจริงพรอมทั้งแสดงหลักฐานเพื่อสนับสนุน แลวขอทําความตกลงกับกรม
บัญชีกลาง

_______________________________

๔๖๕

(แบบ ๒)

หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผรู บั บําเหน็จตกทอด
ของลกู จางประจํา

เขียนที่...............................................................
วันที่.............เดือน...................................พ.ศ. ............(๑)

ขาพเจา..................................................................................(๒) เดิมเปนลูกจางประจําตําแหนง..........
.................................................สังกัดกอง / สํานักงาน............................................กรม.............................................
กระทรวง....................................................จังหวัด.................................................ปจจุบันไดรับบําเหน็จรายเดือน /
บําเหน็จพิเศษรายเดือนเดือนละ.....................................................(๓) บาท ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...........................
ถนน...........................ตําบล / แขวง....................................อําเภอ / เขต.............................จังหวัด............................
รหัสไปรษณีย..................โทร. ...............

ขาพเจาขอยกเลิกหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดฉบับวันที่...................................(๔)
และขอแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด ตามหนังสือแสดงเจตนาฉบับนี้

ในกรณีขาพเจาถึงแกความตาย หากขาพเจาไมมีทายาทผูมีสิทธิจะไดรับบําเหน็จตกทอด (บุตร สามี
หรือภริยา และบิดามารดาที่ชอบดวยกฎหมาย) ตามขอ ๑๕ / ๔ วรรคสาม แหงระเบียบกระทรวงการคลังวา
ดวยบําเหน็จลกู จาง พ.ศ. ๒๕๑๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยบําเหน็จลูกจาง (ฉบับ
ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๔ ขาพเจาขอแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดโดยหนังสือฉบับนี้วา ขาพเจาประสงคให
จายเงินบําเหน็จตกทอดแกบุคคล รวม...................(๕) คน ดังมีรายชื่อตอไปนี้

๑. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๒. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๓. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๔. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๕. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๖. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน

๔๖๖

๗. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๘. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๙. ....................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๑๐. .................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๑๑. .................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๑๒. .................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๑๓. .................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๑๔. .................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน
๑๕. .................................................................................................(๖) ที่อยูที่ติดตอไดเลขที่...................................
ถนน..............................................ตําบล/แขวง..............................................อําเภอ/เขต...........................................
จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย.........................โทร. ...........................ใหไดรับ......................(๗) สวน

หนังสือแสดงเจตนานี้ไดทําขึ้น ๒ ฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน เก็บไวที่ผูแสดงเจตนา ๑ ฉบับ
อีกฉบับหนึ่งสงไปเก็บไวที่ที่สวนราชการเจาสังกัดผูเบิกบําเหน็จรายเดือน/บําเหน็จพิเศษรายเดือน

ลงชื่อ ................................................. ผูแสดงเจตนา
( ................................................. )

ลงชื่อ ................................................. พยาน
( ................................................. )

ลงชื่อ ................................................. พยาน
( ................................................. )

๔๖๗

____________________________________________________________________________________________________
สําหรับเจาหนาที่เทานั้น

หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดฉบับนี้ไดยื่นเมื่อวันที่.........เดือน..................พ.ศ. ..........
[ ] โดย....................................................................(๗) ผูรับบําเหน็จรายเดือน/บําเหน็จพิเศษรายเดือน
[ ] โดย....................................................................(๗) ผูรับมอบฉันทะ ตามหนังสือมอบฉันทะ
ฉบับลงวันที่..............................................................................
ไดนําหนังสือแสดงเจตนาเก็บไวเปนหลักฐานแลว

ลงชื่อ.................................................(๙) เจาหนาที่
( ................................................. )

ตําแหนง .................................................
วันที่...........เดือน................................พ.ศ. ..............

หมายเหตุ
๑. การขูดลบ ขีดฆา หรือการแกไขเปลี่ยนแปลงอยางอื่นในหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับ
บําเหน็จตกทอดใหผูแสดงเจตนาลงลายมือชื่อกํากับไว
๒. ใหใสเครื่องหมาย / ในชอง [ ] ที่ใช

คาํ อธบิ ายการกรอกแบบหนงั สือแสดงเจตนาระบุตวั ผูรบั บาํ เหน็จตกทอด
(๑) ใหระบุวัน เดือน ป ที่แสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด
(๒) ใหระบุคํานําหนา ชื่อ และนามสกุล ของผูแสดงเจตนา
(๓) ใหระบุเงินบําเหน็จรายเดือนหรือบําเหน็จพิเศษรายเดือน ที่ไดรับอยูขณะที่แสดงเจตนา
(๔) ใหระบุวัน เดือน ป ที่ระบุในหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดฉบับเดิม
(๕) ใหระบุจํานวนผูมีสิทธิรับบําเหน็จตกทอด
(๖) ใหระบุคํานําหนา ชื่อ และนามสกุล ของผูที่ถกู ระบุตัวใหเปนผูรับบําเหน็จตกทอด
(๗) กรณีระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดไวมากกวาหนึ่งคน ใหกําหนดสวนที่จะมีสิทธิไดรับใหชัดเจน

ดวย เชน นาย ก. ใหไดรับ ๑ สวน นางสาว ข. ใหไดรับ ๑ สวน และเด็กหญิง ค. ใหไดรับ ๒ สวน เปนตน
(๘) ใหระบุคํานําหนา ชื่อ และนามสกุล ของผูแสดงเจตนา หรือผูรับมอบฉันทะ
(๙) หัวหนาสวนราชการหรือเจาหนาที่ซึ่งเปนขาราชการในสังกัดที่หัวหนาสวนราชการมอบหมาย

๔๖๘

ใบมอบฉนั ทะ
เพ่ือย่ืนหนังสอื แสดงเจตนาระบุตวั ผูรับบาํ เหน็จตกทอดของลกู จา งประจาํ

เขียนที่................................................
วันที่.............เดือน..........................พ.ศ. ...............

ขาพเจา..................................................................(๒) เดิมเปนลูกจางประจําตําแหนง
................................................สังกัดกอง/สํานักงาน....................................กรม................................
กระทรวง.................................................จังหวัด......................................อยูบานเลขที่.......................
ถนน........................................ตําบล/แขวง......................................อําเภอ/เขต..................................
จังหวัด........................................................รหัสไปรษณีย............................โทร. ................................
ขอมอบฉันทะให...................................................อยูบานเลขที่.......................ถนน............................
ตําบล/แขวง....................................อําเภอ/เขต.....................................จังหวัด...................................
รหัสไปรษณีย.......................โทร. ......................เปนผูดําเนินการยื่นหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับ
บําเหน็จตกทอด ฉบับลงวันที่..........................................ที่แนบมาพรอมนี้แทนขาพเจา

(ลงชื่อ) ......................................................ผูมอบฉันทะ
( ......................................................)

(ลงชื่อ) ......................................................ผูรับมอบฉันทะ
( ......................................................)

(ลงชื่อ) ......................................................พยาน
( ......................................................)

(ลงชื่อ) ......................................................พยาน
( ......................................................)

หมายเหตุ
๑. ใหแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูมอบฉันทะและผูรับมอบฉันทะพรอมกับ
รับรองสําเนาถกู ตองดวย
๒. ใหเก็บหนังสือฉบับนี้รวมไวกับหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดที่ยื่นไว
ตอสวนราชการ

๔๖๙

ดว นทส่ี ดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๒๖๒
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๘ สิงหาคม ๒๕๕๔

เร่ือง กฎกระทรวงการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดของผูรับบํานาญตามกฎหมายวาดวย
กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย กฎกระทรวงการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดของผูรับบํานาญตามกฎหมายวาดวย
กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔

ดวยกฎกระทรวงการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดของผูรับบํานาญตามกฎหมาย
วาดวยกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔
ซึ่งกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะ
เหตุทุพพลภาพตามพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ สามารถ
นําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงการคลังไดลงนามในกฎกระทรวงดังกลาวแลวเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ (ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เลมที่ ๑๒๘ ตอนที่ ๖๒ ก วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๔)
รายละเอียดปรากฏตามกฎกระทรวงการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดของผูรับบํานาญตามกฎหมาย
วาดวยกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่สงมา
พรอมนี้

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหผูเกี่ยวของทราบตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สทุ ธิรัตน รัตนโชติ
(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทรศัพท ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔ โทรสาร ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๗

๔๗๐

(สาํ เนา)

กฎกระทรวง
การนําสทิ ธใิ นบําเหนจ็ ตกทอดของผูรบั บาํ นาญตามกฎหมาย
วาดว ยกองทนุ บําเหนจ็ บาํ นาญขาราชการไปเปน หลกั ทรัพยป ระกันการกูเ งิน

พ.ศ. ๒๕๕๔
________________

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ และมาตรา ๕๗/๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๓ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังออกกฎกระทรวงไว ดังตอไป
นี้

ขอ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“ผูรับบํานาญ” หมายความวา ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุ
ทุพพลภาพตาม พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙
“หนังสือรับรอง” หมายความวา หนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปน
หลักทรัพยประกันการกูเงิน
“สถาบนั การเงนิ ” หมายความวา ธนาคารพาณชิ ยท อ่ี ยใู นกาํ กบั ของกระทรวงการคลงั
ธนาคารพาณิชยของเอกชน หรือสถาบันการเงินอื่น ซึ่งไดทําบันทึกขอตกลงกับกรมบัญชีกลาง
เพื่อใหผูรับบํานาญขอกูเงินตามกฎกระทรวงนี้
ขอ ๒ ใหกรมบัญชีกลางจัดทําบันทึกขอตกลงรวมกันระหวางกรมบัญชีกลางกับ
สถาบันการเงิน เพื่อใหผูรับบํานาญนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน
ขอ ๓ ผูรับบํานาญซึ่งประสงคจะขอกูเงินใหยื่นคํารองขอรับหนังสือรับรองตอ
สวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญ เพื่อใหสวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญตรวจสอบสิทธิใน
บําเหน็จตกทอด
ใหผ รู บั บาํ นาญขอรบั แบบคาํ รอ งขอรบั หนงั สอื รบั รองตามวรรคหนง่ึ ไดท ก่ี รมบญั ชกี ลาง
สํานักงานคลังเขต สํานักงานคลังจังหวัด หรือสถานที่อื่นตามที่อธิบดีกรมบัญชีกลางกําหนด
คํารองขอรับหนังสือรับรองตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกรมบัญชีกลาง
กําหนด
ขอ ๔ ใหสวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญตรวจสอบและรับรองความถูกตอง
และความครบถวนของขอมูลในคํารองขอรับหนังสือรับรอง และสงไปยังกรมบัญชีกลางหรือ
สํานักงานคลังจังหวัดแลวแตกรณี

๔๗๑

ขอ ๕ เมื่อกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดไดรับคํารองขอรับหนังสือ
รับรอง ตามขอ ๔ แลว ใหออกหนังสือรับรองแกผูรับบํานาญ

หนังสือรับรองตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกรมบัญชีกลางกําหนด
ขอ ๖ ผูรับบํานาญสามารถนําหนังสือรับรองตามขอ ๕ ไปใชเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกูเงินกับสถาบันการเงินได
ในการขอกูเงินตามวรรคหนึ่ง ผูรับบํานาญตองแจงใหบุคคลผูมีสิทธิจะไดรับบําเหน็จ
ตกทอดไดทราบถึงการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินดวย
ขอ ๗ เมื่อสถาบันการเงินและผูรับบํานาญไดทําสัญญากูเงิน และสถาบันการเงิน
ไดจ า ยเงนิ ใหแ กผ รู บั บาํ นาญรายใดแลว ใหส ถาบนั การเงนิ แจง ขอ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ งไปยงั กรมบญั ชกี ลาง
เพื่อดําเนินการหักเงินบํานาญรายเดือนตามสัญญากูเงินตอไป
วิธีการแจงขอมูลและการหักเงินบํานาญตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่อธิบดี
กรมบัญชีกลาง กําหนด
ขอ ๘ ผูรับบํานาญตองยินยอมใหสวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญหักเงิน
บํานาญรายเดือนเพื่อชําระคืนเงินกูใหแกสถาบันการเงินตามสัญญากูเงิน
ขอ ๙ ในกรณที ผ่ี รู บั บาํ นาญไมส ามารถปฏบิ ตั ติ ามสญั ญากเู งนิ ได ใหก รมบญั ชกี ลาง
และสถาบันการเงินดําเนินการ ดังนี้
(๑) กรณีที่ผูรับบํานาญผิดสัญญากูเงิน ใหสถาบันการเงินตรวจสอบจํานวนเงินที่
ผูรับบํานาญตองชําระคืน และแจงกรมบัญชีกลางเพื่อที่จะชําระคืนเงินกูในสวนที่เหลือตาม
สัญญากูเงิน แตตองไมเกินจํานวนที่นําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกัน
การกูเงินตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
(๒) กรณีที่ผูรับบํานาญถึงแกความตาย ใหกรมบัญชีกลางแจงสถาบันการเงินเพื่อ
ใหสถาบันการเงินตรวจสอบจํานวนเงินที่ผูรับบํานาญตองชําระคืน และใหกรมบัญชีกลางชําระ
คืนเงินกูในสวนที่เหลือตามสัญญากูเงิน แตตองไมเกินจํานวนที่นําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปน
หลักทรัพยในการประกันการกูเงินตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
วิธีการชําระคืนเงินกูตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่อธิบดีกรมบัญชีกลางกําหนด
ขอ ๑๐ใหอธิบดีกรมบัญชีกลางมีอํานาจกําหนดวิธีปฏิบัติในสวนที่เกี่ยวของเพื่อ
ปฏิบัติการใหเปนไปตามกฎกระทรวงนี้

ใหไว ณ วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
กรณ จาตกิ วณชิ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

๔๗๒

หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๗ / ๒ วรรคหนึ่ง
แหงพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๓ บัญญัติใหผูรับ
บํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพอาจนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปน
หลักทรัพยในการประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่
กําหนดในกฎกระทรวง จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

๔๗๓

(สําเนา)

ที่ กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๒๘๕ กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๔

เร่อื ง ลําดับการหักเงินบํานาญชําระหนี้รายเดือน
เรียน อธิบดีกรมที่ดิน
อา งถงึ หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๙๔ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔

ตามหนังสือที่อางถึง กรมบัญชีกลางไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
การใหผูรับบํานาญและผูรับบํานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปน
หลักทรัพยประกันการกูเงินกับสถาบันการเงินในระบบบําเหน็จคํ้าประกันใหสวนราชการถือปฏิบัติ
ตั้งแตวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป ความละเอียดแจงแลว นั้น

กรมบัญชีกลาง ขอเรียนวา กรณีที่ผูรับบํานาญนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไป
เปนหลักทรัพยประกันการกูเงินกับสถาบันการเงินแลว ตามหลักเกณฑขางตน ขอ ๘ กําหนดให
สวนราชการผูเบิกและสวนราชการเจาสังกัดสวนกลางรับผิดชอบดําเนินการหักเงินบํานาญเพื่อ
ชําระคืนเงินกูแกสถาบันการเงิน (หนี้บําเหน็จคํ้าประกัน) หลังจากหักหนี้ภาษีอากรและหนี้สหกรณ
ดังนั้น เพื่อใหการหักเงินบํานาญชําระหนี้เปนไปตามหลักเกณฑขางตน จึงขอใหสวนราชการ
ผูเบิกและสวนราชการเจาสังกัดสวนกลางดําเนินการหักเงินบํานาญชําระหนี้บําเหน็จคํ้าประกัน
หลังจากหักหนี้ภาษีอากรและหนี้สหกรณเทานั้น หากนําหนี้อื่นมาหักดวยเปนการไมปฏิบัติตาม
หลักเกณฑที่กําหนดขางตน มีผลใหเงินบํานาญไมพอหักและสถาบันการเงินพิจารณาเปนผิดนัด
ชําระหนี้และเรียกบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงินได

จึงเรียนมาเพื่อโปรดแจงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติตอไปดวย
ทั้งนี้ สามารถ Download หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติการหักหนี้ดังกลาว ไดทาง Website ของ
กรมบัญชีกลาง

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) ณพงศ ศริ ขิ ันตยกุล
(นายณพงศ ศิริขันตยกุล)
รองอธิบดี ปฏิบัติราชการแทน
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักบริหารการรับ – จายเงินภาครัฐ
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๐๘ โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๘๐

๔๗๔

(สาํ เนา)

ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๓๐๓ กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๖ กันยายน ๒๕๕๔

เรอ่ื ง ซอมความเขาใจการขอใชสิทธิรับเงินคารักษาพยาบาล ประเภทผูปวยใน สถานพยาบาล
ของทางราชการ

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

ดวยปรากฏวามีสวนราชการเปนจํานวนมากขอหารือและขอทําความตกลงเพื่อ
ขออนุมัติใหผูมีสิทธิสามารถนําใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาล ประเภทผูปวยใน สถานพยาบาล
ของทางราชการยื่นเบิก ณ สวนราชการตนสังกัดได ภายหลังจากไดปรับเปลี่ยนแนวปฏิบัติการ
เบิกคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยใน ตามหลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจาย
เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งมีความเขาใจคลาดเคลื่อนกรณีสถาน
พยาบาลเรียกเก็บเงินคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยในเนื่องจากไมมีหลักฐานแสดงสิทธิเพื่อขอ
เบิกเงินกับกรมบัญชีกลาง และผูมีสิทธิเขาใจวาสามารถยื่นหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงิน
คารักษาพยาบาลเพื่อขอรับเงินคืนจากสถานพยาบาลไดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่สถาน
พยาบาลไดรับเงิน

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา หลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธี
การเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดยกเลิกแนวทางปฏิบัติกรณี
ผูมีสิทธิสามารถยื่นหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินคารักษาพยาบาลใหกับสถานพยาบาลในภาย
หลังเพื่อขอรับเงินมัดจําที่ไดชําระไวคืนจากสถานพยาบาลเนื่องจากเขารับการรักษาพยาบาลโดย
ไมมีหลักฐานแสดงสิทธิและหลักเกณฑกระทรวงการคลังฯ ขอ ๒๐ ไดกําหนดวิธีปฏิบัติการขอใช
สิทธิรับเงินคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยในขึ้นใหม ไวสองกรณี คือ การใชหนังสือรับรองการมี
สิทธิรับเงินคารักษาพยาบาลยื่นตอสถานพยาบาล หรือกรณีที่ฐานขอมูลบุคลากรภาครัฐของ
ผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวสมบูรณ สถานพยาบาลสามารถขอเลขอนุมัติผานระบบเครือ
ขายแทนหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินคารักษาพยาบาล กรณีใดกรณีหนึ่งก็ได ซึ่งการขอเลข
อนุมัตินั้นผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวไมจําเปนตองลงทะเบียนในระบบเบิกจายตรงเอาไวกอน
แตอยางใด สําหรับกรณีที่ฐานขอมูลบุคลากรภาครัฐไมสมบูรณ การใชสิทธิขอรับเงินคารักษา
พยาบาลประเภทผูปวยในผูมีสิทธิจะตองยื่นหนังสือรับรองการมีสิทธิรับเงินคารักษาพยาบาลให
กับสถาน พยาบาลกอนที่สถานพยาบาลจะอนุญาตใหผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวกลับบานได
เพื่อใชเปนหลักฐานประกอบการเบิกเงินคารักษาพยาบาลโดยไมตองชําระเงิน

๔๗๕

จึงเรียนมาเพื่อโปรดแจงผูมีสิทธิและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบเพื่อถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) อไุ ร รมโพธิหยก

(นางอุไร รมโพธิหยก)
ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบบัญชี
รักษาราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๔๗๖

(สําเนา)

ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๘๑ กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๓ กันยายน ๒๕๕๔

เร่ือง ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
ที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและ
เปนรายครั้งสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อา งถึง ๑. หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๒๑ ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๓
๒. หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๓๙ ลงวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย สําเนาประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและ
คณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุม
เปนรายเดือนและเปนรายครั้งสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการ
และผูชวยเลขานุการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔

ตามที่กระทรวงการคลังไดประกาศกําหนดรายชื่อคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิได

รับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและเปนรายครั้งตามหนังสือที่อาง

ถึง ๑ และ ๒ นั้น

กระทรวงการคลงั พจิ ารณาแลว เหน็ สมควรประกาศกาํ หนดรายชอ่ื คณะอนกุ รรมการ

ที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือนเพิ่มเติม และยกเลิกรายชื่อคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิได

รับเบี้ยประชุมเปนรายเดือนปรากฏตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะ

กรรมการและคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปน

รายเดือนและเปนรายครั้งสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ (ฉบับ

ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหหนวยงานในสังกัดทราบและถือปฏิบัติ

ตอไป
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สภุ า ปย ะจติ ติ
(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)
รองปลัดกระทรวงการคลัง

หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน
กรมบัญชีกลาง สํานักกฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานคาใชจายในการบริหาร โทร ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๐-๒

๔๗๗

(สาํ เนา)

ประกาศกระทรวงการคลงั
เรือ่ ง กําหนดรายช่อื คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการท่ีมีสทิ ธิไดรับเบ้ียประชุม

เปน รายเดือน และอตั ราเบี้ยประชมุ เปน รายเดอื นและเปน รายครง้ั
สาํ หรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผชู ว ยเลขานุการ

(ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔
_______________________

ตามทก่ี ระทรวงการคลงั ไดป ระกาศกาํ หนดรายชอ่ื คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการ
ที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและเปนรายครั้ง
สําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ ตามประกาศกระทรวงการคลัง
ฉบับลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ และวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นั้น

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗ และมาตรา ๑๕ แหงพระราชกฤษฎีกาเบี้ย
ประชุมกรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังพิจารณาแลว
เห็นชอบใหประกาศกําหนด ดังนี้

๑. กําหนดรายชื่อคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และ
อัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนเพิ่มเติม ตามบัญชีหมายเลข ๒ แนบทายประกาศนี้

๒. ยกเลิกรายชื่อคณะอนุกรรมการในคณะกรรมการตํารวจ ลําดับที่ ๕ “คณะ
อนุกรรมการ ก.ต.ร. เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล” ตามบัญชีหมายเลข ๒ แนบทาย
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิได
รับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและเปนรายครั้งสําหรับกรรมการ
อนุกรรมการ เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกาศ ณ วันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔

(ลงชื่อ) ธรี ะชัย ภวู นาถนรานบุ าล
(นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล)
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

๔๗๘

บญั ชีหมายเลข ๒
รายช่อื คณะอนกุ รรมการทีม่ ีสิทธไิ ดรับเบี้ยประชมุ เปน รายเดอื นและอตั ราเบี้ยประชุม

อัตราไมเ กิน : (บาท : คน : เดือน)

ลาํ ดับที่ รายชอื่ คณะอนุกรรมการ ประธาน อนุกรรมการ

คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการขา ราชการตาํ รวจ ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐
จาํ นวน ๒ คณะ
๑. คณะอนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
๒. คณะอนุกรรมการ ก.ตร. เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(ตั้งแตวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔)

๔๗๙

ดวนที่สดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๗ / ว ๓๒๖
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๖ กันยายน ๒๕๕๔

เรื่อง หลักเกณฑการขยายเวลาการเบิกจายเงินฝากเพื่อบูรณะทรัพยสิน

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อางถงึ หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๒๗ / ว ๓๐๗ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๒

สงิ่ ที่สง มาดวย แบบแจงรายการการขยายระยะเวลาการเบิกจายนอกงบประมาณ ประเภท
เงินฝากเพื่อบูรณะทรัพยสิน

ตามหนังสือที่อางถึง กรมบัญชีกลางไดอนุมัติเปนหลักการใหสวนราชการเก็บ
เงินฝากเพื่อบรู ณะทรัพยสินที่จะสิ้นสุดระยะเวลาการใชจายในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไว
ดําเนินการใชจายไดในกรณีตางๆ ความละเอียดแจงแลว นั้น

กรมบัญชีกลางโดยไดรับมอบอํานาจจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง
พิจารณาแลว เห็นวาเพื่อเปนการลดภาระของสวนราชการในการขอขยายเวลาการเบิกจายเงิน
ดังกลาว จึงขออนุมัติในหลักการใหสวนราชการเก็บเงินฝากเพื่อบรู ณะทรัพยสินที่จะสิ้นสุดระยะ
เวลาการใชจายเงิน ในปงบประมาณที่เปนเลขคูไวดําเนินการใชจายไดในกรณีดังนี้

๑. กรณีที่มีการกอหนี้ผกู พันรายการใดไวแลว ใหสวนราชการสามารถเก็บไว
เบิกจายไดภายใน ๓ เดือน นับจากวันสิ้นสุดสัญญา หากมีเงินเหลือจายใหนําสงคลังเปน
รายไดแผนดินทันที และรายงานเปนหนังสือใหกรมบัญชีกลางทราบ

๒. เงินสมทบคานํ้า และคาไฟฟา ที่ไดรับจากการใหหนวยงานภาครัฐใชสถานที่
ที่สวนราชการไดใชไปในปงบประมาณที่เปนเลขคูที่ผานมา แตยังไมไดรับแจงใหชําระหนี้ หรือ
ไดรับแจงแลวแตยังไมไดชําระหนี้ ใหสวนราชการเก็บไวเปนคาใชจายดังกลาวได จนถึงวันที่ ๓๑
ธันวาคม ของปงบประมาณที่เปนเลขคูนั้นเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดังกลาว ใหนําเงินคงเหลือสงคลัง
เปนรายไดแผนดินทันที และรายงานเปนหนังสือใหกรมบัญชีกลางทราบ

๓. เงินที่สวนราชการไดรับไวเปนคาทดแทนที่ไดรับตามกฎหมายวาดวยการ
เวนคืนอสังหาริมทรัพยเงินที่ไดรับจากการริบหลักประกันสัญญา กรณีที่คูสัญญาปฏิบัติผิดสัญญา
หรือไมปฏิบัติตามสัญญา หรือเงินที่ไดรับชดใชความเสียหายหรือสิ้นเปลืองแหงทรัพยสินที่เกิด
จากการกระทําละเมิดที่ไดรับไวระหวางวันที่ ๑ กรกฎาคม – ๓๐ กันยายน ของทุกปงบประมาณ

๔๘๐

ที่เปนเลขคู และยังไมไดกอหนี้ผกู ผัน ใหสวนราชการเก็บเงินดังกลาวไวใชจายไดจนถึงสิ้น
ปงบประมาณถัดไปที่เปนเลขคู เชน รับเงินในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๔ สวนราชการสามารถเก็บ
ไวใชจายไดจนถึงสิ้นปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖

๔. ใหสวนราชการหรือหนวยงานในสวนภูมิภาคแจงรายการกอหนี้ผกู พัน หรือได
รับการแจงหนี้แลวแตยังไมไดชําระหนี้ ตามขอ ๑ และ ๒ ใหกรมบัญชีกลาง สํานักงานคลังจังหวัด
แลวแตกรณี ทราบรายการการขยายระยะเวลาการเบิกจาย ตามสิ่งที่สงมาดวย

๕. ใหสวนราชการนําเงินคงเหลือที่ไมเขาหลักเกณฑตามขอ ๑ – ๓ สงคลังเปน
รายไดแผนดินใหแลวเสร็จภายในวันที่ ๓๐ วัน นับจากวันสิ้นงวด ของทุกปงบประมาณที่เปน
เลขคู พรอมทั้งรวบรวมการนําสงคลังเปนรายไดแผนดินในภาพรวม และรายงานเปนหนังสือให
กรมบัญชีกลางทราบ

ทั้งนี้ สวนราชการสามารถคัดแบบฟอรมแจงรายละเอียดการขยายเวลาการเบิก
จายเงินและรายงานการนําเงินสงคลังเปนรายไดแผนดิน ไดจากเว็บไซตกรมบัญชีกลาง www.
cgd.go.th ในหัวขอหลักเกณฑการขยายเวลาการเบิกจายเงินฝากเพื่อบรู ณะทรัพยสิน

๖. การขยายระยะเวลาการใชจายเงินรายรับเพื่อบูรณะทรัพยสินนอกเหนือจากที่
กําหนดตามหลักเกณฑขางตน ใหขอทําความตกลงกับกรมบัญชีกลางเปนกรณีๆ ไป

สําหรับกรณีที่สวนราชการไดรับอนุญาตใหเก็บเงินไวใชจายเพื่อบูรณะทรัพยสิน
นอกเหนือจากหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๓ / ว ๕๐๓ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๘
ใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑดังกลาวขางตนดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหหนวยงานในสังกัดถือปฏิบัติตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) รังสรรค ศรีวรศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกํากับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ
กลุมงานยุทธศาสตรและสารสนเทศเงินนอกงบประมาณ
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๙๓๓
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๔๓๕
www.cgd.go.th

๔๘๑

แบบแจงรายการการขยายระยะเวลาการเบิกจายเงนิ นอกงบประมาณ
ประเภทเงินฝากเพือ่ บูรณะทรัพยสนิ

ชื่อสวนราชการ..........................................................................................
รหัสหนวยงาน (เลข ๔ หลักในระบบ GFMIS)
รหัสเจาของบัญชีเงินฝาก (รหัสศูนยตนทุน ๑๐ หลัก)
รหัสบัญชีเงินฝาก (เลขรหัส ๕ หลัก)

______________________________________

ลําดับ รายการ จํานวนเงิน เลขที่สัญญา / วันที่ วันเริ่มตน วันสิ้นสุด

รวม

ชื่อ....................................................................
(...................................................................)

ตําแหนง....................................................................
(ผูเบิกเงินหรือผูที่ไดรับมอบหมาย)

กรมบัญชีกลาง
สํานักกํากับและพัฒนาระบบเงินนอกงบประมาณ
กลุมงานยุทธศาสตรและสารสนเทศเงินนอกงบประมาณ
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๙๓๓
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๔๓๕

๔๘๒

ดว นทส่ี ดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๓๕๕
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๓๐ กันยายน ๒๕๕๔

เรอ่ื ง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลการบําบัดทดแทนไตดวยวิธีปลกู ถายไตจาก
ผูบริจาคไตที่มีชีวิต

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาล
การบําบัดทดแทนไตดวยวิธีปลูกถายไตจากผูบริจาคไตที่มีชีวิต

ดวยกระทรวงการคลังไดกําหนดในการปลูกถายไตของผูบริจาคที่มีชีวิตใหกับ
ผูบริจาคไตที่เปนผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเพื่อบําบัดรักษาโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดทายถือ
เปนคารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓
สามารถนําคาใชจายที่สถานพยาบาลของทางราชการเรียกเก็บมาเบิกจากทางราชการได ปรากฏ
ตามสิ่งที่สงมาดวย

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว อาศัยอํานาจตามความในขอ ๑๙ และขอ ๒๗
ของหลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นควรกําหนดแนวทางปฏิบัติการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาลเพื่อใหสอดคลอง
กับประกาศกระทรวงดังกลาวโดยใหผูมีสิทธิและสถานพยาบาลของทางราชการถือปฏิบัติ ดังนี้

ผมู ีสิทธิ
๑. ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวที่จะเขารับการปลูกถายไตจะตองมีฐานขอมูล
บุคลากรภาครัฐสมบูรณ และการเบิกจายใหใชสิทธิในระบบเบิกจายตรงเทานั้น
๒. ผูรับบริจาคไต และผูบริจาคไตที่มีชีวิตตองมีคุณสมบัติตามขอบังคับของ
แพทยสภาโดยสามารถสืบคนไดที่ www.tmc.or.th
สถานพยาบาลของทางราชการ
๑. สถานพยาบาลที่จะใหบริการทดแทนไตดวยวิธีปลูกถายไต ตองมีคุณสมบัติ
ตามเกณฑของสมาคมปลกู ถายอวัยวะแหงประเทศไทย และตองจัดใหมีแพทยผูเชี่ยวชาญโรคไต
หรืออายุรแพทยที่ผานการฝกอบรมตามหลักสูตรที่สมาคมโรคไตแหงประเทศไทยกําหนดเปนผูให
บริการทางการแพทย

๔๘๓

๒. ใหลงทะเบียนผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวที่เปนผูรับบริจาคไตและ
ผูบริจาคไตที่มีชีวิตในระบบเบิกจายตรงกลุมโรคเฉพาะ โดยการสงเบิกเงินคารักษาพยาบาลให
เปนไปตามประกาศกระทรวงการคลัง (สิ่งที่สงมาดวย) ตามโปรแกรมที่สํานักงานกลางสารสนเทศ
บริการสุขภาพ (สกส.) กําหนด

ทั้งนี้ ใหถือปฏิบัติตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ เปนตนไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดแจงใหผูมีสิทธิ และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไปดวยจักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) รงั สรรค ศรวี รศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๔๘๔

(สําเนา)

ประกาศกระทรวงการคลงั
เรอื่ ง หลักเกณฑแ ละอตั ราคารักษาพยาบาลการบําบดั ทดแทนไตดว ยวิธีปลกู ถายไต

จากผูบ ริจาคไตที่มีชีวิต
_______________

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง (๑) และวรรคสองแหง
พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ กรมบัญชีกลางโดยไดรับ
มอบหมายจากกระทรวงการคลัง เห็นสมควรกําหนดประเภทคารักษาพยาบาลอื่นที่จําเปนแกการ
รักษาพยาบาลตลอดจนหลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลการบําบัดทดแทนไตดวยวิธีปลูก
ถายไตจากผูบริจาคไตที่มีชีวิต ดังนี้

ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องหลักเกณฑและอัตราคา
รักษาพยาบาลการบําบัดทดแทนไตดวยวิธีปลูกถายไตจากผูบริจาคไตที่มีชีวิต”

ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ เปนตนไป
ขอ ๓ ให “คาเตรียมผูบริจาคไตที่มีชีวิต” และ “คาผาตัดนําไตออกจากผูบริจาค
ไตที่มีชีวิต” ถือเปนคารักษาพยาบาลตามตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษา
พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓
ขอ ๔ การเบิกจายคาปลกู ถายไตจากผูบริจาคไตที่มีชีวิต จะตองเปนกรณีที่ผูมีสิทธิ
หรือบุคคลในครอบครัวเปนผูรับบริจาคไตเพื่อบําบัดรักษาโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดทายเทานั้น
และคุณสมบัติของผูบริจาคไตที่มีชีวิตจะตองเปนไปตามขอบังคับของแพทยสภา
ขอ ๕ คาเตรียมผูบริจาคไตที่มีชีวิต ใหถือปฏิบัติตามขั้นตอนและเบิกตามรายการ
คาตรวจวินิจฉัยกอนการปลูกถายไตสําหรับผูบริจาคไตที่แนบทายประกาศนี้
ขอ ๖ การเบิกคาผาตัดนําไตออกจากผูบริจาคไตที่มีชีวิต และคาปลูกถายไตใหผูรับ
บริจาคใหถือปฏิบัติตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาล
ประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของทางราชการ ตามเกณฑกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs)
โดยอนุโลม เวนแต

๖.๑ การเบิกคาวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทยในกรณีที่การผาตัดนําไตออก
จากผูบริจาคเปนการผาตัดโดยการใชกลอง (Laparoscopic donor nephectomy) ใหเบิกเหมารวมใน
อัตราเทาที่จายจริงไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท และใหรัหัส ๖๒๐๖ โดยไมใหเบิกตามรายการ “วัสดุ
สิ้นเปลืองในการผาตัดดวยกลอง” (รหัส ๕๖๐๑) อีก

๔๘๕

๖.๒ ในกรณีผูรับบริจาคไตมีภาวะสลัดไต (rejection) จําเปนตองใชยา
Intravenous immunoglobulin (IVIG) หรือ AntiCD-๒๐ antibody (Rituximab) หรือ Antithymocyte
globulin (ATG-Fresenius, Thymoglobulin) ใหสามารถเบิกจายคายาเพิ่มไดตามอัตราที่สถาน
พยาบาลเรียกเก็บ ทั้งนี้ การใชยาตองเปนไปตามขอบงชี้ที่แนบทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔
รงั สรรค ศรวี รศาสตร
(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

๔๘๖

รายการคาตรวจวนิ จิ ฉยั กอ นการปลกู ถายไตสาํ หรับผูบริจาคไต

การคัดกรองผูบริจาคไตที่มีชีวิตแบงเปน ๓ ขั้นตอน โดยผูบริจาคไตจะตองผานการ
ประเมินขั้นตอนที่ ๑ กอน จึงจะสามารถเขารับการประเมินขั้นตอนที่ ๒ ได สําหรับการประเมินขั้น
ตอนที่ ๓ ใชเฉพาะกรณีที่ผูบริจาคมีขอบงชี้ที่ตองตรวจพิเศษเทานั้น

ข้นั ตอนที่ ๑ : คัดกรองเบื้องตน ประกอบดวยชุดรายการตรวจดังนี้

ลาํ ดับ รายการ ราคา
CBC, Blood chemistries, Renal function and Urine ckeck up ๙๐
๔๐
๑. CBC ๕๐
๒. Glucose ๕๐
๓. BUN (Blood Urea Nitrogen) ๓๕๐
๔. Creatinine ๘๐
๕. Liver function test ๒๐๐
๖. Electrolyte ๕๐
๗. Lipid profile (Cholesterol, HDL- chol, LDL-chol, TG) ๒๐๐
๘. Urine Analysis ๙๐
๙. Routine aerobic culture and sensitivity (urine culture) ๙๐
๑๐. Urine Protein (๒๔ hours) ๖๐
๑๑. Urine Creatinine (๒๔ hours) ๓๐
๑๒. Stool examination ๑๔๐
๑๓. Occult blood ๕๐
Serology ๑๘๐
๑. HIV-Ab (screening) – GPA, ELISA, MEIA, ECLIA ๑๓๐
๒. VDRL (RPR) ๒๓๐
๓. HBs – Ab (Hepatitis B surface Ab ) – ELISA, MEIA, ECLIA ๓๐๐
๔. HBs – Ag (Hepatitis B surface antigen ) – ELISA, MEIA, ECLIA ๑๗๐
๕. HBc – Ab - ELISA, MEIA, ECLIA ๓๐๐
๖. HCV – Ab (Hepatitis C Antibody) – ELISA, MEIA, ECLIA
Imaging
๑. ภาพถายเอก็ ซเรยท ่ัวไป
Cardiology examination
๑. EKG

๔๘๗

ข้นั ตอนที่ ๒ ประเมินความเปนไปไดในการบริจาคไต ประกอบดวยชุดรายการตรวจดังนี้

ลําดับ รายการ ราคา
CBC, Blood Chemistries, Renal function and Urine check up ๖๐
๗๐
PT (Prothrombin Time) ๘๐
PTT (Partial Thromboplastin Time) ๕๐
TT (Thrombin Time) ๗๐
Calcium ๕๕
Magnesium ๕๕
Phosphorus ๓๐๐
Uric acid ๓๐๐
Serology ๓๐๐
Cytomegalovirus (CMV), IgG (ELISA) ๓๐๐
Cytomegalovirus (CMV), IgM (ELISA) ๓๐๐
HVS – ๑ and – ๒ IgG (ELISA) ๓๐๐
HVS – ๑ and – ๒ IgM (ELISA) ๘๕๐
EBV – IgG (Anti – Epstein Barr Virus) ๑๒,๐๐๐
EBV – IgM (Anti – Epstein Barr Virus) ๓,๗๐๐
Imaging ๒๐๐
US Whole abdomen ๑๐๐
MRA Renal artery / CTA renal artery (๘.๔.๕๐, ๔๔๖๑๑) ๒,๐๐๐
Furosemide renogram ๕,๐๐๐
Psycholgical evaluation ๔,๕๐๐
บริการตรวจทางจิตวทิ ยาทัง้ หมด ๑,๒๐๐
Blood group & HLA ๑๐๐
Blood group (ABO) – Tube method ๑๐๐
Kidney / Bone marrow transplantation – Lymphocyte cross ๓๐๐
match T, B cell
Kidney transplantation – HLA-A, B DNA typing
Kidney transplantation – HLA-DRB, DQB DNA typing
Special test
Mammography*
การตรวจเซลลว ิทยา – Gynecological specimen (PAPsmear)*
การตรวจภายใน
PSA (Prostate–specific antigen)*

๔๘๘

ข้นั ตอนที่ ๓ การตรวจวินิจฉัยเพิ่มตามความจําเปนที่ตองตรวจตามขอบงชี้ โดยอัตราการเบิก
ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง อัตราคาบริการสาธารณสุขเพื่อใช
สําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ

■ IVP (Ionic contrast)
■ Echo – Transthoracic + color + Doppler
■ Exercise stress test
■ Glucose tolerance test
■ Gastroscopy
■ Colonoscopy
■ Digital subtraction angiography
■ การตรวจอื่นๆ ตามขอบงชี้ทางการแพทย ระบุ...................................................

๔๘๙

ขอบง ชส้ี าํ หรับการใชย ากรณผี รู บั บริจาคมีภาวะสลัดไต

๑. Intravenous immunoglobulin (IVIG)
ขอ บง ชใ้ี นการรกั ษา
ใชในกรณีผูปวยหลังปลูกถายไตที่มีภาวะสลัดไต (rejection) ประเภท antibody

mediated rejection (AMR) รวมกับการรักษาดวยวิธี plasmapheresis หรือ double filtration plasma-
pheresis ขนาดยาในการรักษา: ๑ – ๒ กรัม / กิโลกรัม

๒. Rituximab (Anti CD–๒๐ antibody : Mapthera®)
ขอ บง ชีใ้ นการรักษา
๒.๑ ใชในกรณีผูปวยหลังปลกู ถายไตที่มีสภาวะสลัดไต (rejection) ประเภท

antibody mediated rejection (AMR) ที่มีพยาธิสภาพรุนแรง เชน vascular rejection, thrombotic
microangiopathy รวมกับการรักษาดวย intravenous immunoglobulin และ plasmapheresis หรือ
double filtration plasmapheresis

๒.๒ ใชในกรณีผูปวยหลังปลกู ถายไตที่มีภาวะสลัดไต (rejection) ประเภท
antibody mediated rejection (AMR) ที่ไมตอบสนองตอการรักษาดวย intravenous immunoglobulin
และ plasmapheresis หรือ double filtration plasmapheresis ขนาดยาในการรักษา : ๓๗๕ mg / m๒

๓. Antithymocyte globulin (ATG-Fresenius® , Thymoglobulin®)
ขอบงช้ีในการรักษา
๓.๑ ใชในกรณีผูปวยหลังปลกู ถายไตที่มีภาวะสลัดไต (rejection) ประเภท

antibody mediated rejection (AMR) รวมกับการรักษาดวยวิธี plasmapheresis หรือ double
filtration plasmapheresis

๓.๒ ใชในกรณีผูปวยหลังปลกู ถายไตที่มีภาวะสลัดไต (rejection) ประเภท acute
cellular rejection (ACR) ที่มีพยาธิสภาพรุนแรง เชน vascular rejection รวมดวย หรือที่ไมตอบสนอง
ตอการรักษาดวยยา methylprednisolone ขนาดยาในการรักษา : ๑.๕ – ๒ mg / kg / day x ๔ – ๑๐
วัน (thymoglobulin®) และ ๓ – ๕ mg / kg / day x ๔ – ๑๐ วัน (ATG- Fresenius®)

หมายเหตุ : ในผูปวยที่มีภาวะ antibody mediated rejection (AMR) ที่มีอาการรุนแรง อาจจําเปน
ตองไดรับการรักษาดวยยา IVIG และ / หรือ Rituximab มากกวา ๑ ครั้ง

๔๙๐

ดวนมาก (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๐๗.๒ / ว ๘๕
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๓๐ กันยายน ๒๕๕๔

เรื่อง การใชบัตรเครดิตราชการ

เรยี น ปลัดกระทรวงมหาดไทย

อางถงึ หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนมาก ที่ กค ๐๔๐๗.๒/ ว.๑๐๙ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย หลักเกณฑและขั้นตอนการใชบัตรเครดิตขาราชการและเอกสารแนบ

ตามที่กระทรวงการคลังไดปรับปรุงหลักเกณฑและขั้นตอนการใชบัตรเครดิต
ราชการเพิ่มเติมและแจงเวียนใหสวนราชการตางๆ ทราบและถือปฏิบัติตามหนังสือที่อางถึง นั้น

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว ขอเรียนดังนี้
๑. ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดดําเนิน
การโครงการติดตามผลการใชบัตรเครดิตราชการของสวนราชการ และไดนําผลจากการดําเนิน
โครงการมาแกไขปรับปรุงหลักเกณฑการใชบัตรเครดิตราชการอีกครั้งหนึ่ง โดยมีการปรับปรุง
และเพิ่มเติมเนื้อหาใหมีความชัดเจนและเขาใจไดงายขึ้น ลดการจัดทําเอกสารบางประเภท และ
การจัดลําดับขั้นตอนและหลักเกณฑโดยแยกเปนแตละกลุมที่เกี่ยวของ เพื่อใหการใชบัตรเครดิต
ราชการมีความสะดวก คลองตัวมากยิ่งขึ้น รายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย
๒. ใหยกเลิกหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนมาก ที่ กค ๐๔๐๗.๒ / ว.๑๐๙
ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ และใหทุกสวนราชการถือปฏิบัติตามหลักเกณฑและขั้นตอนการใช
บัตรเครดิตราชการที่สงมาพรอมนี้ สําหรับการเบิกจายคาใชจายตามรายการคาใชจายที่กําหนด
ในตามหลักเกณฑฯ และใหรายงานผลการใชบัตรเครดิตทุก ๖ เดือนใหกระทรวงการคลังทราบ
โดยรอบ ๖ เดือนแรก (ตุลาคม – มีนาคม) ใหจัดสงภายในเดือนเมษายน และรอบ ๖ เดือนหลัง
(เมษายน – กันยายน) ใหจัดสงภายในเดือนตุลาคมของปงบประมาณถัดไปตามแบบรายงานที่
กําหนดไวในหลักเกณฑฯ ทั้งนี้ใหเริ่มรายงานผลการใชบัตรเครดิตราชการตั้งแตปงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๕ เปนตนไป
อนึ่ง รายละเอียดสิ่งที่สงมาดวยสวนราชการสามารถดาวนโหลดไดที่เว็บไซด
ของกรมบัญชีกลางwww.cgd.go.th
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงใหหนวยงานในสังกัดทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สุภา ปยะจิตติ
(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)
รองปลัดกระทรวงการคลัง

หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน
กรมบัญชีกลาง สํานักการเงินการคลัง กลุมงานพัฒนาระบบการคลัง
โทร ๐-๒๑๒๗-๗๕๕๑ โทรสาร ๐-๒๑๒๗-๗๑๘๙

๔๙๑

ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๓๖๔ (สําเนา) กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๖ ตุลาคม ๒๕๕๔

เรอ่ื ง การใชหลักฐานในการขอเบิกเงินคารักษาพยาบาลในระบบเบิกจายตรงที่ถูกเรียกเงินคืน

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ใบสรุปยอดคืนเงินคารักษาพยาบาลผูปวยใน / ผูปวยนอก

ดวยปรากฏวามีผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวที่หมดสิทธิไดรับเงินสวัสดิการ
เกย่ี วการรกั ษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎกี าเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓
แตนายทะเบียนบุคลากรภาครัฐของหนวยงานไมไดแกไขฐานขอมลู ใหเปนปจจุบัน จึงทําใหผูนั้น
และบคุ คลในครอบครวั ยงั คงใชส ทิ ธเิ บกิ คา รกั ษาพยาบาลในระบบเบกิ จา ยตรงจากกรมบญั ชกี ลาง
เชน ขาราชการที่โอนยายไปสังกัดราชการสวนทองถิ่น สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริม
การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) รวมถึงกรณีไมมีสิทธิจากทางราชการแลวแตไดรับสิทธิการ
รักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่นในฐานะบุคคลในครอบครัว เชน รัฐวิสาหกิจ เปนตน เมื่อ
กรมบัญชีกลางตรวจสอบพบจะดําเนินการเรียกเงินคืนจากผูนั้นโดยดําเนินการผานสวนราชการ
ตนสังกัด (เดิมกอนออกจากราชการ) แตปรากฏวาเมื่อนําเงินมาคืนแลว จะไดรับใบเสร็จรับเงิน
จากสวนราชการเปนหลักฐานในการคืนเงินคารักษาพยาบาล แตไมมีใบเสร็จรับเงินคารักษา
พยาบาลที่ออกโดยสถานพยาบาลที่จะใชเปนหลักฐานในการนําไปยื่นเบิกจากหนวยงานแหงใหม

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา เพื่อเปนการแกไขปญหากรณีผูถกู
เรียกเงินคืนดังกลาวขางตนขาดหลักฐานใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาลไปวางเบิกกับหนวยงาน
แหงใหม กรมบัญชีกลางโดยอาศัยอํานาจตามหลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจาย
เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ ๒๖ จึงเห็นสมควรกําหนดให “ใบสรุป
ยอดคนื เงนิ คา รกั ษาพยาบาลผปู ว ยใน/ผปู ว ยนอก” ทม่ี ตี ราประทบั ของกรมบญั ชกี ลางเปน หลกั ฐาน
ที่ผูถูกเรียกเงินคารักษาพยาบาลคืนใชยื่นประกอบการขอเบิกเงินคารักษาพยาบาลกับหนวยงาน
แหงใหม โดยเมื่อสวนราชการตนสังกัดไดรับเงินคืนแลวใหมอบใบสรุปยอดคืนเงินคารักษา
พยาบาลผูปวยใน / ผูปวยนอก และใบเสร็จรับเงินของสวนราชการที่รับเงินคืน เปนหลักฐานในการ
ขอเบิกเงินคารักษาพยาบาลจากหนวยงานแหงใหมตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) รงั สรรค ศรวี รศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)

อธิบดีกรมบัญชีกลาง
สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๗๘

๔๙๒

สถานพยาบาล.........................................uhcode...................................vendor code...................................
ใบสรุปยอดคืนเงินคา รกั ษาพยาบาลผูปว ยใน / ผูปวยนอก

ลําดับ วันที่ Hcode Hn Invno เลขที่บัตร ชื่อ วันที่รับเขา วันที่หมดสิทธิ์/ รหัส จํานวนเงิน งวด งวดเบิก ศูนยตนทุน PostDate ประเภท
รับบริการ หรือหนังสือ ทะเบียนผูปวย วันที่จําหนาย หนวยงาน ที่เรียกคืน Statement สิทธิ
นอก/วันที่รับเขา

๔๙๓

รวมจํานวนเงินที่ตองคืนทั้งสิ้น

หมายเหตุ
ประเภทสิทธิ ๑ เปนขาราชการ
ประเภทสิทธิ ๒ เปนผูรับบํานาญ

ดวนท่ีสดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๓๙๖
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

เรอ่ื ง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชน
กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวไดรับความเดือดรอนจากเหตุอุทกภัย

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาล
ประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชน กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลใน
ครอบครัวไดรับความเดือดรอนจากเหตุอุทกภัย

๒. แบบแสดงเจตนาเขารับการฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม

ดวยปจจุบันหลายพื้นที่ในประเทศไทยประสบภัยพิบัติอุทกภัย สถานพยาบาล
ของทางราชการหลายแหงไมสามารถใหบริการทางการแพทยไดเนื่องจากภัยพิบัติดังกลาว ทําให
ผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวซึ่งเจ็บปวยและอยูในพื้นที่ภัยพิบัติไดรับความเดือดรอนเปนอยาง
มาก กระทรวงการคลังจึงเห็นสมควรกําหนดมาตรการใหความชวยเหลือคารักษาพยาบาลสําหรับ
กลุมบุคคลดังกลาว ปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย ๑

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว อาศัยอํานาจตามความในขอ ๕ ขอ ๑๒ ขอ ๑๓
ชอ ๑๔ ขอ ๑๖ ขอ ๑๘ ขอ ๑๙ ขอ ๒๒ ขอ ๒๓ ขอ ๒๗ และ ขอ ๒๙ ของหลักเกณฑกระทรวง
การคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นควร
กําหนดแนวทางปฏิบัติการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาลเพื่อใหสอดคลองกับประกาศกระทรวง
การคลังดังกลาว และการใชสิทธิในระบบเบิกจายตรงกรณีอื่นๆ โดยใหผูมีสิทธิ สวนราชการ
ตนสังกัด และสถานพยาบาลของทางราชการ สถานพยาบาลของเอกชน ถือปฏิบัติ ดังนี้

ผูมสี ทิ ธิ
๑. กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษาพยาบาลประเภท
ผูปวยนอกและผูปวยในสถานพยาบาลของทางราชการ การใชสิทธิใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ
กระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓
ตามปกติ
๒. กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการรักษาพยาบาลประเภท
ผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชน การใชสิทธิใหแจงตอสถานพยาบาลของเอกชนวาเปนผูใช

๔๙๔

สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ (กรมบัญชีกลาง) โดยยื่นบัตรประจําตัวประชาชน หรือ
เอกสารทางราชการอื่นที่ระบุเลขประจําตัวประชาชน ๑๓ หลัก เพื่อสถานพยาบาลของเอกชนใช
เปนหลักฐานในการสงขอมลู ใหกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.)

๓. กรณผี มู สี ทิ ธหิ รอื บคุ คลในครอบครวั เขา รบั การรกั ษาพยาบาลประเภทผปู ว ยนอก
สถานพยาบาลของเอกชน ใหเก็บใบเสร็จรับเงินไวหรือยื่นตอสวนราชการและรอแนวทาง
ปฏิบัติการเบิกจายจากกรมบัญชีกลางอีกครั้งหนื่ง

สถานพยาบาลของทางราชการ
การลงทะเบียนผูมีสิทธิในระบบเบิกจายตรงประเภทผูปวยนอก ใหสถาน
พยาบาลขอเลขอนุมัติโดยระบุเปนการสมัครขอใชสิทธิฉุกเฉินกรณีอุทกภัย ซึ่งผูมีสิทธิและบุคคล
ในครอบครัวสามารถใชสิทธิเบิกเงินคารักษาพยาบาลไดทันที การสงขอมูลเพื่อขอเบิกเงินคารักษา
พยาบาลใหถือปฏิบัติเชนเดิม อยางไรก็ตามกรณีสงขอมูลประเภทผูปวยในไมทันตามกําหนด
ระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกําหนดในชวงนํ้าทวม สถานพยาบาลจะไมถูกจัดสรรนํ้าหนักสัมพันธ
ลดลง เมื่อเหตุการณบรรเทากรมบัญชีกลางจะแจงกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดการสงขอมลู ใหทราบ
อีกครั้งหนึ่ง
สวนราชการตน สังกัด
กรณีผูมีสิทธิยื่นใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยนอกสถาน
พยาบาลของเอกชน ใหรับหลักฐานดังกลาวไวกอน และรอแนวทางปฏิบัติการเบิกจายจาก
กรมบัญชีกลางอีกครั้งหนึ่ง
สถานพยาบาลของเอกชน
๑. สถานพยาบาลของเอกชนที่ใหบริการผูใชสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาล
ขาราชการ (กรมบัญชีกลาง) การสงขอมลู คาใชจายการรักษาพยาบาลผูปวยในใหถือปฏิบัติตาม
แนวทางของ สปสช.สําหรับผูปวยนอกใหเรียกเก็บเงินและออกใบเสร็จรับเงินใหกับผูปวย
๒. การขอเบิกเงินคารักษาพยาบาลผูปวยใน เมื่อกรมบัญชีกลางไดรับการแจง
ขอมลู จาก สปสช. แลว กรมบัญชีกลางโดยสํานักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.)
จะดําเนินการจัดทําขอมลู Statement โดยใหสถานพยาบาลทําคําขอเบิกผานระบบเบิกจายตรง
(เนื่องจากสถานพยาบาลเปนคูสัญญากับกรมบัญชีกลางในระบบเบิกจายตรงสําหรับผูปวยไตวาย
เรื้อรังหรือผูปวยในที่ตองมีการนัดผาตัดลวงหนาอยูแลว) สําหรับสถานพยาบาลที่ไมไดเปน
คูสัญญากับกรมบัญชีกลาง จะดําเนินการประสานเพื่อขอรายละเอียดจัดทําขอมลู หลักผูขายใน
ระบบเบิกจายตรงตอไป
๓. สถานพยาบาลของเอกชนที่เขารวมโครงการไตวายเรื้อรังกับกรมบัญชีกลาง
ในกรณีที่ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว ไปเขารับการฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม โดยมิไดมี
หนังสือสงตัวจากสถานพยาบาลของทางราชการ ใหดําเนินการประสานกับสํานักงานกลาง

๔๙๕

สารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) โทร. ๐ ๒๒๙๘ ๐๔๑๔ – ๕ เพื่อขอเลขอนุมัติกรณีฉุกเฉิน
โดยผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวสามารถเขารับการฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียมไดทันทีโดย
ไมตองชําระเงินตามสิทธิ (จํานวน ๒,๐๐๐ บาท) โดยใหผูปวยยื่นแบบแสดงเจตนา ตามสิ่งที่สงมา
ดวย ๒

กรมบญั ชีกลาง
การจายเงินเปนคารักษาพยาบาลใหกับสถานพยาบาลของเอกชนกรมบัญชีกลาง
จะดําเนินการจายเงินใหสถานพยาบาลในระบบเบิกจายตรง ผานบัญชีธนาคารพาณิชยที่
สถานพยาบาลแจงไวตอกรมบัญชีกลาง
จึงเรียนมาเพื่อโปรดแจงใหผูมีสิทธิ และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไปดวยจักขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) รังสรรค ศรวี รศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๕๔๑

๔๙๖

(สําเนา)

ประกาศกระทรวงการคลัง
เร่ือง หลักเกณฑและอตั ราคารักษาพยาบาลประเภทผูป ว ยในสถานพยาบาลของเอกชน

กรณผี ูมสี ทิ ธหิ รอื บุคคลในครอบครัวไดรับความเดอื ดรอ นจากเหตอุ ทุ กภัย
____________________

อาศัยอํานาจตามมาตรา ๔ มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง (๒) และวรรคสอง แหงพระราช
กฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ กรมบัญชีกลางโดยไดรับมอบ
หมายจากกระทรวงการคลังเห็นสมควรกําหนดหลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลประเภท
ผูปวยใน สถานพยาบาลของเอกชนกรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวไดรับความเดือดรอนจาก
เหตุอุทกภัย ดังนี้

ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตรา
คารักษาพยาบาลประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชน กรณีผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัว
ไดรับความเดือดรอนจากเหตุอุทกภัย”

ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแต ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ จนกวากระทรวงการ
คลังจะประกาศยกเลิก

ขอ ๓ การจายเงินเปนคารักษาพยาบาลตามหลักเกณฑนี้ จะตองเปนกรณีที่
ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเจ็บปวยและอยูในพื้นที่ประสบอุทกภัยหรือไดรับความเดือดรอน
จากอุทกภัยและตองเปนการเขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนตามรายชื่อ
ประกาศนี้เทานั้น

ขอ ๔ การเขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกขน ประเภทผูปวยใน
เฉพาะกรณีผูปวยมีเหตุอันสมควร หรือไดรับการสงตัวจากหนวยงานของรัฐหรือเอกชนอื่น โดย
การจายเงินเปนคารักษาพยาบาลใหใชอัตราฐาน ๙,๐๐๐ บาท คํานวณดวยคานํ้าหนักสัมพันธ
ที่ปรับคาตามวันนอนของแตละกลุมโรคตามการจัดกลุมวินิจฉัยโรครวมและนํ้าหนักสัมพันธ (Thai
DRGs) ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ขอ ๕ กรณีใหบริการสงตัวผูปวยดวยรถพยาบาลของสถานพยาบาล ใหไดรับคา
ใชจายในอัตราเที่ยวละ ๕๐๐ บาท บวกอัตราเพิ่มตามระยะทางไป – กลับ ๔ บาท ตอกิโลเมตร

ประกาศ ณ วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔

รงั สรรค ศรวี รศาสตร
(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)

อธิบดีกรมบัญชีกลาง
ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

๔๙๗


Click to View FlipBook Version