The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2554 (ส่วนที่ 1) (ปี 2554)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ตารางสรปุ การคํานวณคา รักษาพยาบาล

รายการ โรงพยาบาล บริษัท สิทธิตาม เบิกไดตาม
เรียกเก็บ ประกันภัยจาย สวนขาด พระราชกฤษฎีกา กฎหมาย

(๑) (๒) (๓) = (๑) – (๒) (๔) (๕)*

คารักษาพยาบาล ๘,๗๐๐ ๕,๐๐๐ ๓,๗๐๐ ๗,๒๐๐ ๓,๗๐๐
(รวม)

*(๕) จะเบิกไดตาม (๔) หาก (๔) < (๓) แตหาก (๔) > (๓) ใหเบิกได = (๓) ในแตละรายการ

ตวั อยา งท่ี ๒

๑. นาย ข เขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนประเภทผูปวยใน

กรณีฉุกเฉินจําเปนเรงดวนซึ่งหากไมไดรับการรักษาพยาบาลในทันทีทันใดจะเสียชีวิต โดยไดชําระ

คารักษาพยาบาลเปนจํานวน ๑๙,๙๐๐ บาท ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

๑.๑ คายาในบัญชียาหลักแหงชาติ ๕,๐๐๐ บาท

๑.๒ คาบริการผูปวยใน ๑,๒๐๐ บาท

๑.๓ คาตรวจหลอดเลือด ๕,๐๐๐ บาท

๑.๔ คาตรวจ Ultrasound ๔,๕๐๐ บาท

๑.๕ คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค

๑.๕.๑ คาถุงเก็บสิ่งขับถายจากลําไสชนิดใชระยะยาว ๑ ถุง

ราคา ๒๐๐ บาท

๑.๕.๒ คาแปนปดรอบลําไส ๑ อัน ราคา ๖๐๐ บาท

๑.๕.๓ คาลวดยึดกะโหลกแบบไตตาเนียม (Titanium wire) ๑ เสน

ราคา ๔๐๐ บาท

รวมเปนเงิน ๑,๒๐๐ บาท

๑.๖ คาหองและคาอาหาร (๒ วันๆ ละ ๑.๕๐๐ บาท) ๓,๐๐๐ บาท

๒. นาย ข นําใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาลไปเบิกกับบริษัทประกันภัยและไดรับ

เงินชดเชยคารักษาพยาบาลจํานวน ๑๐,๙๐๐ บาท ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

๒.๑ คาหองและคาอาหาร (๒ วันๆละ ๑,๐๐๐ บาท) ๒,๐๐๐ บาท

๒.๒ คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค

๒.๒.๑ คาถุงเก็บสิ่งขับถายจากลําไสชนิดใชระยะยาว ๑ ถุง

เบิกได ๑๐๐ บาท

๒.๒.๒ คาแปนปดรอบลําไส ๑ อัน เบิกได ๕๐๐ บาท

๒.๒.๓ คาลวดยึดกะโหลกแบบไตตาเนียม (Titanium wire) ๑ เสน

เบิกได ๓๐๐ บาท

รวมเปนเงิน ๙๐๐ บาท

๓๙๘

๒.๒ คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ๘,๐๐๐ บาท

นาย ข ไดนําสําเนาใบเสร็จรับเงินที่ไดรับรองจากบริษัทประกันภัยวาไดรับการ

ชดเชยคารักษาพยาบาลไปแลว จํานวนเงิน ๑๐,๙๐๐ บาท เปนหลักฐานประกอบการยื่นเบิกกับ

สวนราชการตนสังกัด

๓. เมื่อพิจารณาตามพระราชกฤษฎีกาฯ นาย ข มีสิทธิเบิกเงินคารักษาพยาบาลได

ดังนี้

๓.๑ คาหองและคาอาหาร (๒ วันๆ ละ ๕๐๐ บาท) ๑,๐๐๐ บาท

(ตามสิทธิ คือ วันละ ๖๐๐ บาท แตเนื่องจากบริษัทประกันภัยจายคาหอง

และคาอาหารใหแลววันละ ๑,๐๐๐ บาท จึงเบิกจากตนสังกัดไดอีกเพียงวันละ ๕๐๐ บาท ซึ่งรวม

แลวไมเกินคาหองที่จายจริงวันละ ๑,๕๐๐ บาท)

๓.๒ คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค ๒๕๐ บาท

๓.๒.๑ คาถุงเก็บสิ่งขับถายจากลําไสชนิดใชระยะยาว ๑ ถุง

เบิกได ๕๐ บาท

๓.๒.๒ คาแปนปดรอบลําไส ๑ อัน เบิกได ๑๐๐ บาท

๓.๒.๓ คาลวดยึดกะโหลกแบบไตตาเนียม (Titanium wire) ๑ เสน

เบิกได ๑๐๐ บาท

(ขอ ๓.๒.๑ ตามสิทธิสามารถเบิกได อันละ ๕๐ บาท จึงเบิกไดเต็มสิทธิ

ตามพระราชกฤษฎีกาฯ แตขอ ๓.๒.๒ และขอ ๓.๒.๓ ตามสิทธิสามารถเบิกได ชุดละ ๑๔๐ บาท

และ ๒๐๐ บาท แตเนื่องจากบริษัทประกันภัยจายแลว ๕๐๐ บาท และ ๓๐๐ บาท จึงเบิกได

อีกเพียงรายการละ ๑๐๐ บาท ซึ่งรวมแลวไมเกินที่จายจริงคือ ๖๐๐ บาท และ ๔๐๐ บาท ตาม

ลําดับ)

๓.๓ คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ๔,๐๐๐ บาท

(ใหเบิกไดครึ่งหนึ่งของจํานวนที่ไดจายไปจริงแตจะตองไมเกิน ๔,๐๐๐

บาท ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลประเภทผูปวย

ในสถานพยาบาลของเอกชน กรณีประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัย หรือมีเหตุจําเปนเรงดวนซึ่งใชบังคับ

ตั้งแต ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เปนตนไป)

รวมเบิกได (ขอ ๓.๑ ขอ ๓.๒ และขอ ๓.๓) ๕,๒๕๐ บาท

๔. สวนราชการสามารถเบิกจายคารักษาพยาบาลใหนาย ข ไดคือ ๕,๒๕๐ บาท

เนื่องจากคารักษาพยาบาลที่นาย ข ไดรับ (๕,๒๕๐ บาท) เมื่อรวมกับเงินที่ไดรับจากบริษัท

ประกันภัยแลว (๑๐,๙๐๐ บาท) ไมเกินกวาความเสียหายจริง (๑๙,๙๐๐ บาท)

๓๙๙

ตารางสรุปการคํานวณคา รักษาพยาบาล

รายการ โรงพยาบาล บริษัท สิทธิตาม เบิกไดตาม
คาหองและคาอาหาร เรียกเก็บ ประกันภัยจาย สวนขาด พระราชกฤษฎีกา กฎหมาย
(๒ วัน)
(๑) (๒) (๓) = (๑) – (๒) (๔) (๕)*

๓,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๐๐๐

คาถุงเก็บสิ่งขับถาย ๒๐๐ ๑๐๐ ๕๐ ๕๐
จากลําไสชนิดใช ๑๐๐
ระยะยาว

คาแปนปดรอบลําไส ๖๐๐ ๕๐๐ ๑๐๐ ๑๔๐ ๑๐๐

คาลวดยึดกะโหลก
แบบไตตาเนียม ๔๐๐ ๓๐๐ ๑๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐
(Titanium wire)

คารักษาพยาบาล ๑๕,๗๐๐ ๘,๐๐๐ ๗,๗๐๐ ๔,๐๐๐ ๔,๐๐๐
ประเภทอื่นๆ

รวม ๑๙,๙๐๐ ๑๐,๙๐๐ ๙,๐๐๐ ๕,๕๙๐ ๕,๒๕๐

*(๕) จะเบิกไดตาม (๔) หาก (๔) < (๓) แตหาก (๔) > (๓) ใหเบิกได = (๓) ในแตละรายการ

ตัวอยา งที่ ๓

๑. นาย ค เขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของเอกชนประเภทผูปวยใน

กรณีฉุกเฉินจําเปนเรงดวนซึ่งหากไมไดรับการรักษาพยาบาลในทันทีทันใดจะเสียชีวิต โดยไดชําระ

คารักษาพยาบาลเปนจํานวน ๒๒,๗๐๐ บาท ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

๑.๑ คายาในบัญชียาหลักแหงชาติ ๕,๐๐๐ บาท

๑.๒ คาบริการผูปวยใน ๑,๒๐๐ บาท

๑.๓ คาตรวจหลอดเลือด ๕,๐๐๐ บาท

๑.๔ คาตรวจ Ultrasound ๔,๕๐๐ บาท

๑.๕ คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค

๑.๕.๑ คาชุดถุงใหอาหารทางสายยาง ๑ ชุด ราคา ๔๐๐ บาท

๑.๕.๒ คาตัวกรองไตเทียม แบบธรรมดา ๑ ชุด ราคา ๑,๘๐๐ บาท

๑.๕.๓ คาสายสวนปสสาวะ ชนิดใชกับกระเพาะปสสาวะ ผานทางหนา

ทอง ๑ อัน ราคา ๑,๘๐๐ บาท

รวมเปนเงิน ๔,๐๐๐ บาท

๔๐๐

๑.๖ คาหองและคาอาหาร (๒ วันๆ ละ ๑,๕๐๐ บาท) ๓,๐๐๐ บาท

๒. นาย ค นําใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาลไปเบิกกับบริษัทประกันภัยและไดรับ

เงินชดเชยคารักษาพยาบาลจํานวน ๒๐,๐๐๐ บาท ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

๒.๑ คาหองและคาอาหาร (๒ วันๆ ละ ๑,๐๐๐ บาท) ๒,๐๐๐ บาท

๒.๒ คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค

๒.๒.๑ คาชุดถุงใหอาหารทางสายยาง ๑ ชุด เบิกได ๒๐๐ บาท

๒.๒.๒ คาตัวกรองไตเทียม แบบธรรมดา ๑ ชุด เบิกได ๑,๔๐๐ บาท

๒.๒.๓ คาสายสวนปสสาวะ ชนิดใชกับกระเพาะปสสาวะ

ผานทางหนาทอง ๑ อัน เบิกได ๑,๔๐๐ บาท

รวมเปนเงิน ๓,๐๐๐ บาท

๒.๓ คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ๑๕,๐๐๐ บาท

นาย ค ไดนําสําเนาใบเสร็จรับเงินที่ไดรับรองจากบริษัทประกันภัยวาไดรับ

การชดเชยคารักษาพยาบาลไปแลวจํานวนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท เปนหลักฐานประกอบการยื่นเบิก

กับสวนราชการตนสังกัด

๓. เมื่อพิจารณาตามพระราชกฤษฎีกาฯ นาย ค มีสิทธิเบิกเงินคารักษาพยาบาลได

ดังนี้

๓.๑ คาหองและคาอาหาร (๒ วันๆ ละ ๕๐๐ บาท) ๑,๐๐๐ บาท

(ตามสิทธิ คือ วันละ ๖๐๐ บาท แตเนื่องจากบริษัทประกันภัยจายคาหองและ

คาอาหารใหแลววันละ ๑,๐๐๐ บาท จึงเบิกจากตนสังกัดไดอีกเพียงวันละ ๕๐๐ บาท ซึ่งรวมแลว

ไมเกินคาหองที่จายจริงวันละ ๑,๕๐๐ บาท)

๓.๒ คาอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค ๑,๐๐๐ บาท

๓.๒.๑ คาชุดถุงใหอาหารทางสายยาง (รหัส ๕๑๐๕) ๑ ชุด

เบิกได ๒๐๐ บาท

(ตามสิทธิ คือ ๒๐๐ บาท แตเนื่องจากบริษัทประกันภัยจายแลว

๒๐๐ บาท จึงเบิกจากตนสังกัดไดอีกเพียง ๒๐๐ บาท ซึ่งรวมแลวไมเกินคาเสียหายที่แทจริง คือ

๔๐๐ บาท)

๓.๒.๒ คาตัวกรองไตเทียม แบบธรรมดา (รหัส ๖๑๐๑) ๑ ชุด

เบิกได ๔๐๐ บาท

(ตามสิทธิ คือ ๙๐๐ บาท แตเนื่องจากบริษัทประกันภัยจายแลว

๑,๔๐๐ บาท จึงเบิกจากตนสังกัดไดอีกเพียง ๔๐๐ บาท ซึ่งรวมแลวไมเกินคาเสียหายที่แทจริง

คือ ๑,๘๐๐ บาท)

๓.๒.๓ คาสายสวนปสสาวะ ชนิดใชกับกระเพาะปสสาวะ

ผานทางหนาทอง (รหัส ๖๐๐๓) ๑ เสน เบิกได ๔๐๐ บาท

๔๐๑

(ตามสิทธิ คือ ๙๐๐ บาท แตเนื่องจากบริษัทประกันภัยจายแลว

๑,๔๐๐ บาท จึงเบิกจากตนสังกัดไดอีกเพียง ๔๐๐ บาท ซึ่งรวมแลวไมเกินคาเสียหายที่แทจริง

คือ ๑,๘๐๐ บาท)

๓.๓ คารักษาพยาบาลประเภทอื่นๆ ๗๐๐ บาท

(ใหเบิกไดครึ่งหนึ่งของจํานวนที่ไดจายไปจริงแตจะตองไมเกิน ๔,๐๐๐ บาท

และตองไมเกินไปกวาความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑ

และอัตราคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชนกรณีประสบอุบัติเหตุ

อุบัติภัย หรือมีเหตุจําเปนเรงดวน ซึ่งใชบังคับตั้งแต ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เปนตนไป ดังนั้น

เมื่อสวนขาดจากบริษัทประกันภัยเหลือนอยกวา ๔,๐๐๐ บาท ใหเบิกไดเพียงจํานวนที่ขาดอยู)

รวมเบิกได (ขอ ๓.๑ ขอ ๓.๒ และขอ ๓.๓) ๒,๗๐๐ บาท

๔. สวนราชการสามารถเบิกจายคารักษาพยาบาลใหนาย ค ไดคือ ๒,๗๐๐ บาท

เนื่องจากคารักษาพยาบาลที่นาย ค ไดรับ (๒,๗๐๐ บาท) เมื่อรวมกับเงินที่ไดรับจากบริษัทประกัน

ภัยแลว (๒๐,๐๐๐ บาท) ไมเกินกวาความเสียหายจริง (๒๒,๗๐๐ บาท)

ตารางสรุปการคาํ นวณคารกั ษาพยาบาล

รายการ โรงพยาบาล บริษัท สิทธิตาม เบิกไดตาม
คาหองคาอาหาร เรียกเก็บ ประกันภัยจาย สวนขาด พระราชกฤษฎีกา กฎหมาย
(๒ วัน)
(๑) (๒) (๓) = (๑) – (๒) (๔) (๕)*

๓,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๐๐๐

คาชุดถุงใหอาหาร ๔๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
ทางสายยาง

คาตัวกรองไตเทียม ๑.๘๐๐ ๑,๔๐๐ ๔๐๐ ๙๐๐ ๔๐๐

คาสายสวนปสสาวะ ๑,๘๐๐ ๑,๔๐๐ ๔๐๐ ๙๐๐ ๔๐๐

คารักษาพยาบาล ๑๕,๗๐๐ ๑๕,๐๐๐ ๗๐๐ ๔,๐๐๐ ๗๐๐
ประเภทอื่นๆ ๒๒,๗๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๒,๗๐๐ ๗,๒๐๐ ๒,๗๐๐

รวม

*(๕) จะเบิกไดตาม (๔) หาก (๔) < (๓) แตหาก (๔) > (๓) ใหเบิกได = (๓) ในแตละรายการ

๔๐๒

ดวนท่สี ุด (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๐.๙ / ว ๗๔
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๔

เรื่อง การสงเรื่องขอรับเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ บําเหน็จลกู จาง และเงินชวยเหลือ
ตามโครงการเกษียณอายุกอนกําหนด

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อา งถึง ๑. ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการขอรับและการจายบําเหน็จบํานาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๕๒๗ และที่แกไขเพิ่มเติม

๒. หนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๐.๙ / ว ๕๓ ลงวนั ท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๒

ตามระเบียบกระทรวงการคลังที่อางถึง ๑ ขอ ๖ กําหนดใหขาราชการที่พน
จากราชการเพราะเกษียณอายุ ใหยื่นคําขอรับบําเหน็จบํานาญตอสวนราชการเจาสังกัดลวง
หนาไดเปนเวลา ๘ เดือนกอนวันครบเกษียณอายุ ตามหลักเกณฑที่กรมบัญชีกลางกําหนด และ
ขอ ๑๖ ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบกรอกขอความในแบบคําขอรับบําเหน็จบํานาญใหครบถวน
และรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับการขอรับบําเหน็จบํานาญ แลวเสนอหัวหนาสวนราชการ หรือ
ผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี ลงนามในแบบคําขอแลวสงไปยังสํานักบริหารการเบิกจายเงิน
กรมบัญชีกลาง หรือสํานักงานคลังเขตในกรณีหนวยงานที่ตั้งอยูในสวนภูมิภาคภายในสามสิบ
วันนับแตวันรับเรื่อง พรอมทั้งสงขอมูลที่บันทึกและแบบคําขอรับเงินดังกลาวผานระบบบําเหน็จ
บํานาญ ตามหนังสือที่อางถึง ๒ นั้น

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา เนื่องจากสวนราชการสวนใหญสงเรื่อง
การขอรับเงินเบี้ยหวัดบําเหน็จ บํานาญ บําเหน็จลูกจาง ของผูที่เกษียณอายุ หรือเงินชวยเหลือ
ตามโครงการเกษียณอายุกอนกําหนด ในชวงสิ้นปงบประมาณ เนื่องจากรอคําสั่งเลื่อนขั้นเงิน
เดือน หรือเลื่อนเงินเดือน หรือเลื่อนคาจาง ณ วันที่ ๑ เมษายน หรือวันที่ ๓๐ กันยายน ของปที่
พนจากราชการเพราะเกษียณอายุ หรือปที่ออกจากราชการตามโครงการเกษียณอายุกอนกําหนด
สงผลใหผูรับบําเหน็จบํานาญและบําเหน็จลูกจาง ไดรับความเดือดรอน เนื่องจากไมไดรับเงินตอ
เนื่องภายหลังจากที่เกษียณอายุ หรือออกจากราชการฯ รวมทั้งเกิดผลเสียตอสิทธิประโยชนตางๆ
เชน การไมสามารถใชสิทธิเบิกเงินคารักษาพยาบาลตอเนื่องได เปนตน ดังนั้น เพื่อใหผูรับบําเหน็จ
บํานาญ ไดรับเงินภายในเดือนตุลาคมของปที่พนจากราชการเพราะเกษียณอายุ หรือปที่ออกจาก
ราชการตามโครงการเกษียณอายุกอนกําหนด จึงขอใหสวนราชการดําเนินการ ดังนี้

๔๐๓

๑. การสงเรื่องขอรับเงิน
๑.๑ บําเหน็จบํานาญปกติและบําเหน็จลกู จาง
ใหสวนราชการบันทึกขอมูลและสงแบบคําขอรับเงินดังกลาว ผานระบบ

บําเหน็จบํานาญพรอมหลักฐานที่เกี่ยวของ ตามหนังสือที่อางถึง ๒ ใหกรมบัญชีกลาง (สํานัก
บริหารการรับ-จายเงินภาครัฐ หรือสํานักงานคลังเขต) ลวงหนาไดตั้งแตเดือนกุมภาพันธ แตอยาง
ชาไมเกินเดือนกรกฎาคมของปที่พนจากราชการเพราะเกษียณอายุ

๑.๒ เบี้ยหวัด บําเหน็จบํานาญ และเงินชวยเหลือผูซึ่งออกจากราชการตาม
มาตรการปรับปรุงอัตรากําลังของสวนราชการ (โครงการเกษียณอายุกอนกําหนด)

ใหสวนราชการบันทึกขอมูล และสงแบบคําขอรับเงินดังกลาวผานระบบ
บําเหน็จบํานาญพรอมหลักฐานที่เกี่ยวของ ตามหนังสือที่อางถึง ๒ ใหกรมบัญชีกลาง (สํานัก
บริหารการรับ – จายเงินภาครัฐ หรือสํานักงานคลังเขต) ลวงหนาไดตั้งแตเดือนกรกฎาคมของปที่
ออกจากราชการตามโครงการเกษียณอายุกอนกําหนด เปนตนไป

๒. กรณีไมสามารถสงสําเนาคําสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือเลื่อนเงินเดือน หรือ
เลื่อนคาจางเพื่อประโยชนในการคํานวณบําเหน็จบํานาญ ตามที่ระบุในหนังสือที่อางถึง ๒ ใหสวน
ราชการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับเงินเดือนเดือนสุดทาย หรือเงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดทาย ตาม
อัตราเงินเดือนลาสุดที่สวนราชการบันทึกในสมุดประวัติหรือแฟมประวัติ หรือคาจางเดือนสุดทาย
ตามบัตรลกู จางประจํารายชื่อ แลวแตกรณี เพื่อใหกรมบัญชีกลาง (สํานักบริหารการรับ – จายเงิน
ภาครัฐ หรือสํานักงานคลังเขต) สั่งจายตามอัตราเงินเดือน หรืออัตราคาจางดังกลาวไปพลางกอน

เมื่อสวนราชการออกคําสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือเลื่อนเงินเดือน หรือเลื่อน
คาจาง ณ วันที่ ๑ เมษายน หรือวันที่ ๓๐ กันยายน ของปที่พนจากราชการเพราะเกษียณอายุ
หรือปที่ออกจากราชการตามโครงการเกษียณอายุกอนกําหนด เสร็จเรียบรอยแลว ใหบันทึกขอมลู
และยื่นเรื่องขอรับเงินเพิ่ม โดยแนบสําเนาคําสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน หรือเลื่อนเงินเดือน หรือเลื่อน
คาจางดังกลาว พรอมแบบคําขอรับเงิน (แบบ ๕๓๑๖) เพื่อกรมบัญชีกลาง (สํานักบริหารการรับ–
จายเงินภาครัฐ หรือสํานักงานคลังเขต) จะไดสั่งจายเพิ่มใหกับผูมีสิทธิรายนั้นตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบถือปฏิบัติตอไปดวย

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) อไุ ร รมโพธิหยก
(นางอุไร รมโพธิหยก)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบบัญชี
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักบริหารการรับ – จายเงินภาครัฐ สวนบริหารการจายเงิน ๔
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๒๐๕ ๔๒๑๐ ๖๔๐๑
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๒๐๒

๔๐๔

ดวนทสี่ ุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๖
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔

เรื่อง การเบิกคารักษาพยาบาลตาม “โครงการทัวรสุขภาพ”
เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน
อางถงึ หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๑๗ / ว ๓๒๙ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๙

ตามหนังสือที่อางถึง กรมบัญชีกลางไดกําหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกคา
รักษาพยาบาลตามโครงการทัวรสุขภาพ ใหแยกคาใชจายตามโครงการทัวรสุขภาพออกเปน
รายการคาตรวจสุขภาพประจําปและใหเบิกจายตามรายการและอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด
ความละเอียดแจงแลว นั้น

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว ขอเรียนดังนี้
๑. จากการตรวจสอบการเบิกจายคารักษาพยาบาลที่ผานมา ยังพบวา มีสถาน
พยาบาลบางแหงจัดโปรแกรมสงเสริมสุขภาพหรือโครงการทัวรสุขภาพ ประกอบดวย การตรวจ
สุขภาพ อบสมุนไพร ประคบสมุนไพร และกิจกรรมอื่นๆ เชน การเจริญสมาธิ กิจกรรมผอนคลาย
กิจกรรมนันทนาการ นวดตัว นวดเทา ปฏิบัติโยคะ ออกกําลังกาย ทัวรทองเที่ยวเชิงอนุรักษ
ธรรมชาติ เปนตน ซึ่งกิจกรรมบางรายการไมเกี่ยวของกับการรักษาพยาบาล ตามเจตนารมณ
ของการเบิกคารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
พ.ศ. ๒๕๕๓ ดังกลาว ดังนั้น จึงหามนําคาใชจายที่เกิดขึ้นจากโปรแกรมสงเสริมสุขภาพหรือ
โครงการทัวรสุขภาพทั้งหมดมาเบิกจากทางราชการ
๒. สําหรับการรักษาพยาบาลดวยวิธีทางการแพทยแผนไทยและการแพทยทาง
เลือก เชน การนวด การประคบ การอบสมุนไพร เพื่อการบําบัดรักษาโรค หรือการตรวจสุขภาพ
ประจําป ที่ไมไดอยูในโปรแกรมสงเสริมสุขภาพหรือโครงการทัวรสุขภาพ ยังคงใหเบิกไดตามหลัก
เกณฑ เงื่อนไข และอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สุภา ปย ะจติ ติ

(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)

รองปลัดกระทรวงการคลัง

หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน

กรมบัญชีกลาง สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ

กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ โทร ๐-๒๑๒๗-๗๓๙๘
๔๐๕

(สําเนา)

ที่ กค ๐๔๒๐.๕ / ว ๑๐๓ กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔

เรอ่ื ง แนวปฏิบัติเพื่อปองกันธนาคารปฏิเสธการโอนเงินตามรายการขอเบิก
เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อางถึง หนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๗ / ว ๓๗๔ ลงวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

สิง่ ที่สงมาดว ย แนวทางการบันทึกขอมูลหลักผูขาย และรายการขอเบิกที่มีผลตอการ
ประมวลผลสั่งจายเงิน

ตามที่รัฐบาลไดนําระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
(GFMIS) มาดําเนินการในการบริหารการเบิกจายเงินงบประมาณของหนวยงานภาครัฐ โดยกรม
บัญชีกลาง ดําเนินการประมวลผลสั่งจายเงินคงคลังตามรายการขอเบิกของหนวยงานภาครัฐ
เพื่อนําเงินเขาบัญชีผูมีสิทธิรับเงิน แตปรากฎวา รายการขอเบิกบางรายการไมสามารถประมวล
ผลสั่งจายเงินคงคลังได หรือบางรายการถกู ธนาคารปฏิเสธการโอนเงิน สาเหตุดังกลาวเกิดจาก
การบันทึกขอมลู หลักผูขาย และรายการขอเบิกคลาดเคลื่อน ซึ่งกรมบัญชีกลางไดดําเนินการ
ลดปริมาณรายการขอเบิกที่ธนาคารปฏิเสธการโอนเงิน ตั้งแตเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๒ แตยังคง
ปรากฎรายการขอเบิกที่ธนาคารปฏิเสธการโอนเงินดวยสาเหตุบัญชีปด ประกอบกับธนาคาร
พาณิชยบางแหง ดําเนินการขยายสาขา จึงทําใหลกู คาของธนาคารบางรายปดบัญชีเพื่อเปดบัญชี
ที่สาขาใหม หรือเปลี่ยนบัญชีธนาคาร และลกู คาของธนาคารซึ่งเปนผูขายในระบบ GFMIS บาง
รายไมดําเนินการแจงสวนราชการเพื่อขอลบบัญชีเดิม และขอเพิ่มบัญชีใหม จึงเกิดรายการขอเบิก
ถูกธนาคารปฏิเสธการโอนเงินดวยสาเหตุบัญชีปด นั้น

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา เพื่อปองกันไมใหเกิดกรณีธนาคาร
ปฏิเสธการโอนเงินจึงขอใหดําเนินการตรวจสอบหนาบัญชีธนาคาร และหนาการเคลื่อนไหวบัญชี
ตองไมขาดการเคลื่อนไหวกับธนาคารเกิน ๖ เดือน และบัญชีธนาคารดังกลาวตองเปนบัญชี
กระแสรายวัน/บัญชีออมทรัพยเทานั้น หามเปนบัญชีเงินฝากประจํา / เงินฝากเผื่อเรียกพิเศษ
โดยเด็ดขาด หรือตรวจสอบ Statement ธนาคารของผูขาย ตองถูกตองตรงกับขอมลู บัญชีธนาคาร
ในขอมูลหลักผูขาย หากไมตรงกับขอมูลบัญชีธนาคารในขอมูลหลักผูขาย ใหดําเนินการสงแบบ
ขอเปลี่ยนแปลงขอมูลหลักผูขาย เพื่อขอเพิ่มบัญชีธนาคารใหม และขอลบบัญชีธนาคารเดิม

๔๐๖

ในสวนของขอมูลบัญชีธนาคารของผูขายทันที กอนบันทึกรายการขอเบิก พรอมนี้ไดแนบแนวทาง
การบันทึกขอมูลหลักผูขาย และรายการขอเบิกที่มีผลตอการประมวลผลสั่งจายเงินตามสิ่งที่สงมา
ดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงเจาหนาที่ผูเกี่ยวของถือปฏิบัติอยางเครงครัด
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) อไุ ร รมโพธหิ ยก
(นางอุไร รมโพธิหยก)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบบัญชี
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักบริหารการรับ – จายเงินภาครัฐ
กลุมงานบริหารการจายเงิน
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๒๐
โทรสาร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๒๒

๔๐๗

สิ่งที่สงมาดวย ๑

แนวทางการบันทึกขอมลู หลักผูขาย และรายการขอเบิก ที่มีผลตอการประมวลผลสั่งจายเงิน
แนบหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๒๐.๕ / ว ๑๐๓ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔

แนวทางการบันทกึ ขอ มูลหลกั ผขู าย
๑. การบันทึกขอมูลหลักผูขายกลุม ๒๐๐๐ ที่เปนชื่อรานคา ในสวนของชื่อ ที่อยู

การติดตอสื่อสาร ตองระบุเปน “ชื่อรานคา (ตามหนังสือจดทะเบียนการคา) โดย ชื่อเจาของ (ที่
ระบุไวในหนังสือจดทะเบียนการคา)” เชน รานกิจเจริญ โดย นายสมชาย สุขใจ เปนตน และใน
สวนของรายการชําระเงิน ชื่อผูถือบัญชี ตองระบุตามหนาบัญชีธนาคารของผูขาย หากหนาบัญชี
ธนาคารไมระบุชื่อรานคา ชื่อผูถือบัญชี ตองเปนชื่อเจาของราน ตามที่ระบุไวในหนังสือจดทะเบียน
การคา

๒. การบันทึกขอมลู หลักผูขายรหัสผูขาย ๑๐๐๐๐๒๕๘๘๙ ธนาคารกรุงไทย จํากัด
(มหาชน) ในสวนของรายการชําระเงิน ชื่อผูถือบัญชีตองเปนไปตามรปู แบบดังนี้ “KTB PUBLIC
CO LTD ชื่อสาขา BRANCH”

๓. การบันทึกขอมูลหลักผูขาย ในสวนของภาษีหัก ณ ที่จาย ตองเปนไปตามหนังสือ
ที่อางถึง โดยมีขอยกเวน กรณีผูขาย ๑xxxxxxxxx กลุมบัญชี ๑๐๐๐ เลขภาษีขึ้นตนดวย ๒ ตอง
บันทึกภาษี เปนบุคคลธรรมดา With.type ๑๑ รหัสภาษี A๒

แนวทางการบนั ทึกรายการขอเบกิ
๑. รายการขอเบิกที่มิใชรายการประจําเดือน การบันทึกวันที่ผานรายการตองเปน

วันที่ปจจุบันในเดือนที่บันทึกรายการขอเบิก หากเกิดกรณีการบันทึกวันที่ผานรายการคลาด
เคลื่อน ใหยกเลิกเอกสารและบันทึกรายการใหมใหถกู ตอง แตถามีความจําเปนเรงดวน ตองการ
ใหประมวลผลสั่งจายเงิน วันที่ผานรายการที่บันทึกคลาดเคลื่อนตองไมเกิน ๑ เดือน ตัวอยาง
เชน รายการขอเบิกบันทึกรายการในเดือนกุมภาพันธ แตบันทึกวันที่ผานรายการเปนวันที่ในเดือน
มกราคม เปนตน

๒. รายการขอเบิกรายการประจําเดือน การบันทึกวันที่ผานรายการตองเปนไปตาม
หนังสือเวียนการกําหนดวันที่และวิธีการปฏิบัติงาน สําหรับงบบุคลากรและเงินอื่นที่กําหนดจาย
สิ้นเดือน (ประเภท KO) หรือหากพนระยะเวลาตามหนังสือเวียนดังกลาว ตองระบุเปนวันที่ปจจุบัน
ในเดือนที่บันทึกรายการขอเบิกเทานั้น

๓. รายการขอเบิก ตองมีจํานวนเงินคงเหลือสุทธิ (จํานวนเงินขอเบิก หัก จํานวนเงิน
ภาษีเงินได หัก จํานวนเงินคาปรับ) ดังนี้

๔๐๘

๓.๑ รายการขอเบิกกรณีจายตรงผูขาย ตองมีจํานวนเงินคงเหลือสุทธิไมนอย
กวา ๑๓ บาท

๓.๒ รายการขอเบิกกรณีจายผานสวนราชการ เพื่อนําเงินไปจายตอบุคคล
ภายนอก หรือจายตอบุคลากรภายในสวนราชการ ตองมีจํานวนเงินคงเหลือสุทธิไมนอยกวา
๑ บาท แตเนื่องจากรัฐบาลตองรับภาระคาธรรมเนียมการโอนเงิน ดังนั้น เพื่อใหเกิดประโยชน
คุมคา จึงขอใหรวบรวมรายการขอเบิกเงินที่อยูภายใตรหัสงบประมาณ รหัสแหลงของเงินเดียวกัน
ใน ๑ รายการขอเบิก

๔. การบันทึกราชการขอเบิก กรณีจายผานสวนราชการ หากตรวจสอบพบวา บันทึก
รายการคลาดเคลื่อน เชน วิธีการชําระเงิน หรือเลือกบัญชีธนาคารไมถกู ตอง ใหแกไขดวยวิธีการ
ยกเลิกเอกสารโดยทันทีจากนั้นใหบันทึกรายการขอเบิกใหมใหครบถวนและถกู ตอง ทั้งนี้ เนื่องจาก
การบันทึกรายการขอเบิกกรณีจายผานสวนราชการระบบจะสรางเอกสารอัตโนมัติและบันทึก
ขอมลู บัญชีใหกับสวนราชการและกรมบัญชีกลางไปพรอมกัน ดังนั้น หากมีการแกไขรายการขอ
เบิกในฝงของสวนราชการ ระบบจะไมสามารถแกไขรายการในฝงของกรมบัญชีกลางได

๕. รายการขอเบิก กรณีโอนสิทธิรับเงินใหธนาคารพาณิชยที่มีเลขที่บัญชีขึ้นตนดวย
๐๐๑xxxxxxx และจํานวนเงินขอรับสุทธิคงเหลือไมเกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขอใหแจง
กรมบัญชีกลาง / สํานักงานคลังจังหวัดเพื่อดําเนินการตอไป เนื่องจากรายการดังกลาวไมสามารถ
โอนเงินดวยระบบ Bulk Payment ตองโอนเงินดวยระบบบาทเนต

๔๐๙

ดวนทีส่ ุด (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๘
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๙ มีนาคม ๒๕๕๔

เร่ือง อัตราคาบริการสาธารณสุขเพื่อใชสําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลสิทธิสวัสดิการ
รักษาพยาบาลขาราชการ หมวด ๕ คาเวชภัณฑที่มิใชยา

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

อา งถงึ ๑. หนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๑๗ / ว ๑๗๗ ลงวนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙
๒. หนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๕๐๒ ลงวนั ท่ี ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๓

สง่ิ ที่สง มาดว ย อัตราคาบริการสาธารณสุขเพื่อใชสําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลสิทธิ
สวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ หมวด ๕ คาเวชภัณฑที่มิใชยา
จํานวน ๒ แผน

ตามหนังสือที่อางถึง ๑ กรมบัญชีกลางไดกําหนดหลักเกณฑการเบิก
คาเวชภัณฑที่มิใชยาตามหมวด ๕ ของอัตราคาบริการสาธารณสุขเพื่อใชสําหรับการเบิกจาย
คารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ และหนังสือที่อางถึง ๒ ไดยกเลิกหลักเกณฑ
การเบิกจายคาอวัยวะเทียมและอุปกรณในการบําบัดรักษาโรค หมวด ๙ อื่นๆ “รายการวัสดุ
เกี่ยวกับผิวหนัง วัสดุ / อุปกรณที่ใชดูดหรือระบายเลือด / หนอง / นํ้าเหลือง” และหมวดวัสดุ
สิ้นเปลืองที่เปนวัสดุทางการแพทย และกําหนดหลักเกณฑการเบิกคาวัสดุสิ้นเปลืองที่เปนวัสดุทาง
การแพทยใหมโดยนํามารวมไวในหมวด ๕ คาเวชภัณฑที่มิใชยา ทั้งนี้ เพื่อใหมีความเหมาะสม
และสอดคลองกับแนวทางการรักษาพยาบาลยิ่งขึ้น นั้น

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว ขอเรียนวา เนื่องจากมีสถานพยาบาลหลายแหง
ยังมีความไมเขาใจในหลักเกณฑการเบิกคาวัสดุสิ้นเปลืองที่เปนวัสดุทางการแพทย จึงเห็นสมควร
ปรับปรุงแกไขหลักเกณฑดังกลาวใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยยกเลิกอัตราคาบริการสาธารณสุข
เพื่อใชสําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ หมวด ๕
คาเวชภัณฑที่มิใชยา ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๑๗ / ว ๑๗๗ ลงวันที่ ๒๔
พฤศจิกายน ๒๕๔๙ และหนังสือกรมบัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๕๐๒ ลงวันที่ ๒๗
ธันวาคม ๒๕๕๓ และกําหนดอัตราคาบริการสาธารณสุข หมวด ๕ คาเวชภัณฑที่มิใชยา เพื่อ

๔๑๐

ใชสําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการใหม รายละเอียด
ปรากฎตามสิ่งที่สงมาดวย ทั้งนี้ ใหมีผลใชบังคับสําหรับการรักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นตั้งแตวันที่ ๑
พฤษภาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) รงั สรรค ศรีวรศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร ๐-๒๑๒๗ -๗๓๙๖
www.cgd.go.th

๔๑๑

บัญชีแนบทา ย
อัตราคาบรกิ ารสาธารณสขุ เพ่อื ใชส าํ หรับการเบกิ จายคา รกั ษาพยาบาลสิทธสิ วสั ดกิ าร

รักษาพยาบาลขา ราชการ
หมวด ๕ คา เวชภัณฑท่มี ิใชย า
ตามหนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๘ ลงวนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๔

รายการคาวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทยที่สามารถเบิกจายได ในกรณีที่สถาน
พยาบาลสั่งจายใหผูปวยนอกเพื่อนํากลับไปใชที่บาน

รหสั ลาํ ดบั ประเภท ราคา
ท่ี หนวย ไมเ กนิ

๑ ทอ / สาย / ถงุ ใหอาหาร (บาท)

๐๒๐๗๐๐ ๑.๑ สายใหอาหารผานรูจมูกสูกระเพาะอาหาร (Nasogastric tube) ระยะสัน้ เสนละ ๑๕

ขอบงชี้ สําหรับผูปวยที่กินอาหารทางปากไมได หรือที่ตองไดรับการระบาย ถุงละ ๑๐

กาซหรือของเหลว ออกจากกระเพาะอาหาร เสนละ ๒๐๐
เสนละ ๓๐
๒ วสั ดุ / อุปกรณใชเ ก็บของเสียจากลําไส ถุงละ ๗
ถุงละ ๑๕
๐๒๔๘๔๐ ๒.๑ ถงุ เก็บส่ิงขับถา ยจากลําไส (Colostomy bag) ถุงละ ๒๙๐
ถุงละ ๘๐
ขอบงช้ี ใชเก็บสิ่งขับถายในผูปวยที่มีลําไสเปดที่หนาทอง

๓ สายระบายปส สาวะ

๐๒๓๐๐๐ ๓.๑ สายสวนปสสาวะสาํ หรบั เด็ก

๐๒๓๐๒๐ ๓.๒ สายสวนปส สาวะ ชนิดใชร ะยะยาว ชนิด ๒ หาง

๔ ถงุ เก็บปสสาวะ

๐๒๓๘๐๑ ๔.๑ ถุงเกบ็ น้าํ ปส สาวะแบบติดกาวสาํ หรบั เด็ก

๐๒๓๘๐๓ ๔.๒ ถุงเกบ็ นา้ํ ปสสาวะซง่ึ ตอ จากสายสวนระยะยาว ชนดิ ใบใหญ

๐๒๔๘๑๐ ๔.๓ ถุงเก็บนํ้าปส สาวะจากรูเปด หนา ทอง (Urotomy bag) ชนิดใชระยะยาว

๐๒๔๘๒๐ ๔.๔ ถงุ เกบ็ นาํ้ ปส สาวะจากรเู ปดหนา ทอ ง (Urotomy bag) ชนิดใชครง้ั เดยี ว

๔๑๒

อัตราคาบรกิ ารสาธารณสุขเพือ่ ใชส ําหรับการเบกิ จายคา รักษาพยาบาลสิทธสิ วสั ดิการ
รกั ษาพยาบาลขาราชการ
หมวด ๕
คาเวชภณั ฑทีม่ ิใชย า

ตามหนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๑๘ ลงวนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๔
__________________

คา เวชภัณฑท่ีมใิ ชย า หมายถึง คาวัสดุทางการแพทยที่ใชเพื่อการบําบัดรักษา
ผูปวย แตไมรวมถึงวัสดุทางการแพทยที่จัดอยูในรายการคาอวัยวะเทียมและอุปกรณในการบําบัด
รักษาโรคในหมวดที่ ๒

หลักเกณฑก ารเบกิ คาเวชภัณฑทีม่ ใิ ชยา ใหถ อื ปฏบิ ัตดิ ังน้ี
๑. กรณีผูปวยนอก คาวัสดุทางการแพทยที่ใชในโรงพยาบาลเพื่อการบําบัดรักษา
ผูปวยนอกใหเบิกตามอัตราที่สถานพยาบาลเรียกเก็บ เวนแต รายการและอัตราที่กรมบัญชีกลาง
กําหนด

คาวัสดุทางการแพทยที่สถานพยาบาลสั่งจายใหผูปวยนอกนํากลับไปใชที่บานให
เบิกไดเฉพาะรายการที่กรมบัญชีกลางกําหนดตามบัญชีแนบทาย

๒. กรณผี ูป ว ยใน คาวัสดุทางการแพทยที่ใชเพื่อการบําบัดรักษาผูปวยในขณะที่อยู
โรงพยาบาลหรือสั่งจายใหผูปวยเมื่อจําหนายออกจากสถานพยาบาลสําหรับนํากลับไปใชที่บาน
ใหเบิกเหมารวมอยูในคารักษาพยาบาลผูปวยในตามเกณฑการจัดสรรกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRG)

๓. คาวัสดุทางการแพทยที่ไดมีการคิดราคารวมอยูในคาใชจายหมวดอื่นแลวหามนํา
มาเบิกในหมวดนี้อีก อาทิเชน คาวัสดุสิ้นเปลืองที่เปนอุปกรณพื้นฐานที่ใชในการทําหัตถการผาตัด
จนครบกระบวนการผาตัด ซึ่งไดมีการคิดรวมอยูในราคาคาผาตัดแลว เชน ใบมีด คาไหมเย็บแผล
ที่ใชในการผาตัด ไซริงค เข็มฉีดยา สายใหออกซิเจน พลาสเตอร สําลี วัสดุที่ใชในการปดแผล
ถุงมือ เปนตน

หลักเกณฑในการกาํ หนดราคาคา เวชภัณฑ ใหกําหนดเชนเดียวกับการกําหนด
ราคายา

๔๑๓

ดว นท่ีสดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๒๔
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๔ เมษายน ๒๕๕๔

เรอื่ ง พระราชกฤษฎีกาเงินชวยคาครองชีพผูรับเบี้ยหวัดบํานาญ (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๔

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย พระราชกฤษฎกี าเงนิ ชว ยคา ครองชพี ผรู บั เบย้ี หวดั บาํ นาญ (ฉบบั ท่ี ๑๔) พ.ศ.๒๕๕๔

ดวยพระราชกฤษฎีกาเงินชวยคาครองชีพผูรับเบี้ยหวัดบํานาญ (ฉบับที่ ๑๔)
พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งกําหนดใหผูไดรับหรือมีสิทธิไดรับเบี้ยหวัดตามขอบังคับกระทรวงกลาโหม ผูไดรับ
หรือมีสิทธิไดรับบํานาญปกติ บํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ บํานาญพิเศษ หรือบํานาญ
ตกทอดในฐานะทายาทหรือผูอุปการะหรือผูอยูในอุปการะตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการอยูแลว ใหไดรับ ช.ค.บ. เพิ่มขึ้นอีกในอัตราเดือนละรอยละหาของจํานวนเบี้ยหวัดหรือ
บํานาญ และ ช.ค.บ. ที่ไดรับหรือมีสิทธิไดรับ โดยมีผลใชบังคับแลวตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔
เปนตนไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๒ ก วันที่ ๓๑ มีนาคม
๒๕๕๔) รายละเอียดปรากฎตามพระราชกฤษฎีกาเงินชวยคาครองชีพผูรับเบี้ยหวัดบํานาญ
(ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่สงมาดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สทุ ธริ ัตน รัตนโชติ
(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)
รองอธิบดี รักษาการในตําแหนง

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทรศัพท ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๖๔ โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๖๗

๔๑๔

(สาํ เนา)

พระราชกฤษฎีกา
เงินชวยคา ครองชพี ผูรับเบย้ี หวดั บาํ นาญ (ฉบบั ที่ ๑๔)

พ.ศ. ๒๕๕๔
__________________

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

เปน ปท ่ี ๖๖ ในรชั กาลปจจบุ นั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาวาดวยเงินชวยคาครองชีพผูรับ
เบี้ยหวัดบํานาญ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
และมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจายเงินบางประเภทตาม
งบประมาณรายจาย พ.ศ. ๒๕๑๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว
ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา “พระราชกฤษฎีกาเงินชวยคาครองชีพผูรับ
เบี้ยหวัดบํานาญ (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๔”

มาตรา ๒ พระรากฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔
เปนตนไป

มาตรา ๓ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๔ ทวาทศ แหงพระราชกฤษฎีกาเงิน
ชวยคาครองชีพผูรับเบี้ยหวัดบํานาญ พ.ศ. ๒๕๒๑

“มาตรา ๔ ทวาทศ ผูไดรับหรือมีสิทธิไดรับเบี้ยหวัดตามขอบังคับกระทรวงกลาโหม
ผูไดรับหรือมีสิทธิไดรับบํานาญปกติ บํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ บํานาญพิเศษ หรือ
บํานาญตกทอดในฐานะทายาทหรือผูอุปการะตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการอยู
แลวในวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ ใหไดรับ ช.ค.บ. ในอัตราดังตอไปนี้ ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ ๑
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เปนตนไป

(๑) ผูที่ไดรับหรือมีสิทธิไดรับเบี้ยหวัดหรือบํานาญและ ช.ค.บ. อยูแลว ใหไดรับ
ช.ค.บ. เพิ่มขึ้นอีกในอัตราเดือนละรอยละหาของจํานวนเบี้ยหวัดหรือบํานาญและ ช.ค.บ. ที่ไดรับ
หรือมีสิทธิไดรับ

๔๑๕

(๒) ผูที่ไดรับหรือมีสิทธิไดรับเฉพาะเบี้ยหวัดหรือบํานาญ ใหไดรับ ช.ค.บ. ในอัตรา
เดือนละรอยละหาของจํานวนเบี้ยหวัดหรือบํานาญที่ไดรับหรือมีสิทธิไดรับ

การคํานวณ ช.ค.บ. ถามีเศษของบาทใหปดทิ้ง”
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

________________________________________________________________________________________
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจ
และคาครองชีพในปจจุบันเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับมีการปรับปรุงอัตราเงินเดือนขาราชการประเภท
ตางๆ สมควรเพิ่มเงินชวยคาครองชีพผูรับเบี้ยหวัดบํานาญใหแกผูรับเบี้ยหวัดบํานาญเพื่อให
สอดคลองกัน จึงจําเปนตองตราพระราชกฤษฎีกานี้

๔๑๖

(สาํ เนา)

ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๓๓ กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๑ เมษายน ๒๕๕๔

เร่ือง หลักเกณฑการเบิกจายคารักษาพยาบาลดวยวิธีการทางการแพทยแผนไทยและ
การแพทยทางเลือก

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อางถึง ๑. หนงั สอื กรมบญั ชกี ลาง ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๒ ลงวนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๒
๒. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๔๕ ลงวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๒
ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๕๗ ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๒ และดวนที่สุด
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๘๘ ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย อัตราคาบริการสาธารณสุขเพื่อใชสําหรับการเบิกจายคารักษาพยาบาลสิทธิ
สวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ หมวด ๑๕ คาบริการฝงเข็มและคาบริการ
การใหการบําบัดของผูประกอบโรคศิลปะอื่น

ตามหนังสือที่อางถึง กระทรวงการคลังไดกําหนดหลักเกณฑการเบิกจาย
คารักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดแก คายาสมุนไพร
คาบริการฝงเข็ม คานวด และคาอบไอนํ้าสมุนไพร เพื่อถือปฏิบัติในการเบิกจายเงินสวัสดิการ
รักษาพยาบาลจากทางราชการ นั้น

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว เห็นวา ปจจุบันรัฐไดมีการสงเสริมใหการแพทย
แผนไทย เปนทางเลือกหนึ่งของการรักษาพยาบาลในระบบสาธารณสุขของประเทศ จึงเห็นสมควร
ปรับปรุงหลักเกณฑการเบิกจายคารักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและการแพทยทาง
เลือกใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้นโดยยกเลิกอัตราคาบริการสาธารณสุข หมวด ๑๕ รายการคา
บริการฝงเข็มและคาบริการการใหการบําบัดของผูประกอบโรคศิลปะอื่น ตามหนังสือกรม
บัญชีกลาง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ และหลักเกณฑ
การเบิกจายคายาสมุนไพร ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๔๕ ลงวันที่ ๑๑
มิถุนายน ๒๕๕๒ และกําหนดหลักเกณฑการเบิกคารักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและ
การแพทยทางเลือก เพื่อใหสวนราชการ สถานพยาบาลของทางราชการและผูมีสิทธิถือปฏิบัติ
ดังนี้

๔๑๗

๑. คายาแผนไทย ใหเบิกไดเฉพาะคายาที่ใชในการบําบัดรักษาโรค
โดยตรงเทานั้น สวนยาแผนไทยที่ใชเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ และ/หรือเพื่อการนวดบรรเทา
อาการ เชน นํ้ามันไพล เจลพริก เปนตน และผลิตภัณฑสมุนไพรประเภทเครื่องสําอาง หรือมี
ลักษณะเปนอาหาร หามเบิกจายจากทางราชการโดยการเบิกคายาแผนไทยที่ใชบําบัดรักษาโรค
โดยตรงตองเปนไปตามรายการยาและเงื่อนไขการใชยาดังตอไปนี้

๑.๑ ยาแผนไทยประเภทท่ี ๑ รายการยาที่อยูในบัญชียาหลักแหงชาติ ให
เปนไปตามเงื่อนไขการใชยาที่กําหนดในบัญชียาหลักแหงชาติ

๑.๒ ยาแผนไทยประเภทที่ ๒ รายการที่เปนยาสามัญประจําบานแผน
โบราณตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (สวนที่ไมไดอยูในบัญชียาหลักแหงชาติ) ใหเปนไป
ตามการสั่งใชยาของแพทยแผนปจจุบันที่มีใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือแพทยแผนไทยผูมีใบ
ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนไทย (ประเภทเวชกรรมแผนไทย) หรือสาขาการแพทยแผน
ไทยประยุกต

๑.๓ ยาแผนไทยประเภทที่ ๓ รายการยาที่อยูในเภสัชตํารับโรงพยาบาล
(ยาสมุนไพรที่สถานพยาบาลแตละแหงผลิตเอง ในสวนที่ไมไดอยูในบัญชียาหลักแหงชาติ) ใหเปน
ไปตามการสั่งใชยาของแพทยแผนปจจุบันที่มีใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือแพทยแผนไทยผูมี
ใบประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนไทย (ประเภทเวชกรรมแผนไทย) หรือสาขาการแพทย
แผนไทยประยุกต

๑.๔ ยาแผนไทยประเภทที่ ๔ รายการยาที่ปรุงสําหรับผูปวยเฉพาะรายให
เปนไปตามการสั่งใชยาของแพทยแผนไทยผูประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนไทย (ประเภท
เวชกรรมแผนไทย) หรือสาขาการแพทยแผนไทยประยุกต

๒. คาบริการฝงเข็มและคาบริการการใหการบําบัดของผูประกอบโรค
ศิลปะอ่ืน ใหเปนไปตามอัตราคาบริการสาธารณสุขที่สงมาดวย

๓. การใหบริการรักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและการแพทยทาง
เลือกใหสถานพยาบาลดําเนินการ ดังนี้

๓.๑ ใหแพทยบันทึกขอมูลการรักษาพยาบาลตามแนวเวชปฏิบัติทางการ
แพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกไวในเวชระเบียนเพื่อประโยชนในการตรวจสอบ

๓.๒ ใหระบุประเภทของยาแผนไทยไวในใบเสร็จรับเงินอยางชัดเจนวาเปน
คายาแผนไทยประเภทที่เทาไร เชน “คายาแผนไทยที่เบิกไดประเภทที่ ๑” เปนตน ทั้งนี้ เพื่อเปน
หลักฐานในการเบิกจายและการตรวจสอบ

๓.๓ หามแพทยหรือคณะกรรมการแพทยของสถานพยาบาลออกหนังสือ
รับรองการใชยาแผนไทยนอกเหนือจากยาแผนไทยทั้ง ๔ ประเภทดังกลาวขางตน เพื่อใหผูมีสิทธิ
นําไปใชเปนหลักฐานประกอบการเบิกจากสวนราชการตนสังกัด

๔๑๘

๔. การเบิกจายคารักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและการแพทยทาง
เลือก ใหสวนราชการตรวจสอบคําขอเบิกเงินคารักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและการ
แพทยทางเลือกใหถูกตองตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกําหนดอยางเครงครัด
ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชสําหรับการรักษาพยาบาลดวยวิธีการแพทยแผนไทยและการแพทยทาง
เลือกที่เกิดขึ้นตั้งแตวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป สําหรับการเบิกคารักษาพยาบาลที่เกิด
ขึ้นกอนวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กําหนดตามหนังสือที่อางถึง ๑
และ ๒

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) สุภา ปย ะจิตติ

(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)
รองปลัดกระทรวงการคลัง
หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน

กรมบัญชีกลาง
สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๓๙๖-๘

๔๑๙

อัตราคา บริการสาธารณสุขเพอ่ื ใชสําหรับการเบิกจา ยคารักษาพยาบาลสทิ ธิสวัสดกิ าร
รกั ษาพยาบาลขา ราชการ
หมวด ๑๕

คา บริการฝงเขม็ และคา บริการการใหการบาํ บดั ของผปู ระกอบโรคศิลปะอน่ื
ตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๓๓ ลงวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๔

หลักเกณฑการเบิกคาบริการฝงเข็มและคาบริการบําบัดรักษาโรคดวยวิธีการ
แพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลือก

๑. คาบริการฝงเขม็ ใหเบิกไดเฉพาะกรณีการฝงเข็มเพื่อการรักษาผูปวยโดยแพทย
แผนปจจุบันที่มีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมและไดรับการอบรมดานฝงเข็มเพิ่มเติม
และการเบิกนั้น ตองมีใบรับรองซึ่งออกโดยแพทยขางตนวาผูปวยจําเปนตองฝงเข็มเปนหลักฐาน
ประกอบการเบิกจาย

๒. คาบริการการบาํ บดั รักษาโรคดวยวธิ กี ารแพทยแ ผนไทย ใหเบิกไดดังนี้
๒.๑ คานวดเพอ่ื การบําบัดรกั ษาโรคโดยตรงเทานั้น อาทิ โรคที่เกิดความผิด

ปกติของกลามเนื้อ เสนเอ็น กระดูก ขอตอ เลือดลม สวนการนวดเพื่อลดอาการปวดเมื่อย อาทิ
การนวดเทาในขณะฟอกเลือดผูปวยโรคไตวายเรื้อรัง การนวดเพื่อผอนคลายกลามเนื้อ หามเบิก
จายจากทางราชการ

๒.๒ คา นวดเพอ่ื การฟน ฟสู มรรถภาพ ผูปวยโรคอัมพฤกษ โรคอัมพาต โรค
สันนิบาต

๒.๓ คาอบไอน้ําสมุนไพร คาอบไอนํ้าสมุนไพรเพื่อการบําบัดรักษาโรคและ /
หรือฟนฟโู รคหอบ หืด หรือภมู ิแพ

๒.๔ คาประคบสมนุ ไพร เพื่อการบําบัดรักษาโรคโดยตรงเทานั้น อาทิ โรค
ที่เกิดความผิดปกติของกลามเนื้อ เสนเอ็น กระดูก ขอตอ เลือดลม โรคอัมพฤกษ โรคอัมพาต
โรคสันนิบาต

๓. รายการ เงื่อนไข และอัตราคา บรกิ ารฝงเขม็ และคาบริการบาํ บัดโรคดวย
วิธกี ารแพทยแ ผนไทย ที่ใหเบิก

๔๒๐

ลําดบั รหสั รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ

๑๕.๑ ๕๘๐๐๑ คาฝงเข็ม ไมเกินวันละ ๑๐๐ ราคาเหมาจายรวมคาเข็ม
๑ ครั้ง และคาบริการทางการ
แพทย
๑๕.๒ ๕๘๐๐๒ คานวดพรอมประคบสมุนไพร ไมเกินวันละ
๒๕๐ ราคาเหมาจายรวมคานวด
เพอ่ื การบาํ บดั รกั ษาโรค อาทิ โรค ๑ ครั้ง และ คาประคบ ลูกประคบ
และคาบริการทางการ
ทเ่ี กดิ ความผดิ ปกตขิ องกลา มเนอ้ื ตองไมเกิน ๓ แพทย

เสนเอ็น กระดูก ขอตอ เลือดลม ครั้ง/สัปดาห ๒๕๐ ราคาเหมาจายรวมคานวด
คาประคบ ลูกประคบ
๑๕.๓ ๕๘๐๐๓ คานวดพรอมประคบสมุนไพร ไมเกินวันละ และคาบริการทางการ
แพทย
เพื่อการฟนฟสู มรรถภาพ อาทิ ๑ ครั้ง และ
๑๐๐ ราคาเหมาจายรวมคานวด
โรคอัมพฤกษ โรคอัมพาต ตองไมเกิน ๕ สมุนไพรที่ใชในการอบ
และคาบริการทางการ
โรคสันนิบาต ครั้ง/สัปดาห แพทย

๑๕.๔ ๕๘๐๐๔ คาอบไอนํ้าสมุนไพรเพื่อการ ไมเกินวันละ ๒๐๐ ราคาเหมาจายรวมคา
บริการทางการแพทย
บําบัดรักษาโรคและ/หรือฟนฟู ๑ ครั้ง และ
๒๐๐ ราคาเหมาจายรวมคา
โรคหอบหืด หรือภูมิแพ ตองไมเกิน ๓ บริการทางการแพทย

ครั้ง/สัปดาห ๑๐๐ ราคาเหมาจายรวม
คาประคบ ลูกประคบ
๑๕.๕ ๕๘๐๐๕ คานวดเพื่อการบําบัดรักษาโรค ไมเกินวันละ และคาบริการทางการ
แพทย
อาทิ โรคที่เกิดความผิดปกติของ ๑ ครั้ง และ

กลามเนื้อเสนเอ็น กระดกู ขอตอ ตองไมเกิน ๓

เลือดลม ครั้ง/สัปดาห

๑๕.๖ ๕๘๐๐๖ คานวดเพื่อการฟนฟสู มรรถภาพ ไมเกินวันละ

อาทิ โรคอัมพฤกษ โรคอัมพาต ๑ ครั้ง และ

โรคสันนิบาต ตองไมเกิน ๕

ครั้ง/สัปดาห

๑๕.๗ ๕๘๐๐๗ คาประคบสมุนไพรเพื่อการ ไมเกินวันละ

บําบัดรักษาโรค อาทิ โรคที่เกิด ๑ ครั้ง และ

ความผิดปกติของกลามเนื้อ เสน ตองไมเกิน ๓

เอ็น กระดกู ขอตอ เลือดลม ครั้ง/สัปดาห

โรคอัมพฤกษ โรคอัมพาต

โรคสันนิบาต (ไมมีการนวด)

๔. การเบิกคารักษาพยาบาลขางตน ตองเปนไปตามขอบงชี้ทางการแพทย และ
ตองมีใบรับรองที่แสดงถึงความจําเปนในการรักษาหรือฟนฟูสมรรถภาพ ซึ่งออกโดย
แพทยแ ผนปจ จบุ นั ทม่ี ใี บอนญุ าตเปน ผปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรม หรอื แพทยผ มู ใี บประกอบ
โรคศลิ ปะ สาขาการแพทยแผนไทยประเภทการนวดไทย หรอื ประเภทเวชกรรมไทย หรือ
สาขาการแพทยแผนไทยประยุกต เปนหลกั ฐานประกอบการเบกิ จาย โดยใบรบั รองนนั้

ตอ งระบรุ ะยะเวลาในการเรมิ่ ตน และสิ้นสุดการรักษาในแตล ะคร้งั อยางชดั เจน

๔๒๑

ดวนทสี่ ดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๓๙
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๗ เมษายน ๒๕๕๔

เรอ่ื ง ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่มี
สิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและเปนรายครั้ง
สําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

อา งถึง หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๒๑ ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ
๒๕๕๓

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย สําเนาประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและ
คณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุม
เปนรายเดือนและเปนรายครั้งสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและ
ผูชวยเลขานุการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔

ตามที่กระทรวงการคลังไดประกาศกําหนดรายชื่อคณะกรรมการและ
คณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและ
เปนรายครั้ง ตามหนังสือที่อางถึง นั้น

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว เห็นสมควรปรับปรุงรายชื่อคณะอนุกรรมการที่
มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือนในบัญชีหมายเลข ๒ แนบทายประกาศ กระทรวงการคลังฯ
ที่ปรากฏตามหนังสือที่อางถึง โดยใหยกเลิกบัญชีหมายเลข ๒ ดังกลาว และใหใชบัญชีหมายเลข
๒ แนบทายประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
ที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและเปนรายครั้งสําหรับ
กรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรากฏตามสิ่งที่
สงมาดวยพรอมนี้

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหหนวยงานในสังกัดถือปฏิบัติตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สุภา ปยะจิตติ

(นางสาวสุภา ปยะจิตติ)

รองปลัดกระทรวงการคลัง

หัวหนากลุมภารกิจดานรายจายและหนี้สิน

กรมบัญชีกลาง สํานักกฎหมาย กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานคาใชจายในการบริหาร

โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๐๐๐ ตอ ๔๔๓๘ ๔๒๒

(สําเนา)
ประกาศกระทรวงการคลัง
เร่ือง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดร ับเบี้ยประชุม
เปน รายเดอื นและอัตราเบย้ี ประชมุ เปนรายเดือนและเปน รายคร้ังสําหรับกรรมการ
อนกุ รรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานกุ าร
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
______________________
ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดรายชื่อคณะกรรมการและคณะ
อนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือนและเปน
รายครั้งสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ พ.ศ. ๒๕๕๓ นั้น
อาศัยอํานาจตามความใน มาตรา ๗ และมาตรา ๑๕ แหงพระราชกฤษฎีกาเบี้ย
ประชุมกรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเติม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังพิจารณาแลว
เห็นชอบใหประกาศกําหนดดังตอไปนี้
ใหยกเลิกบัญชีหมายเลข ๒ รายชื่อคณะอนุกรรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปน
รายเดือนและอัตราเบี้ยประชุม ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องกําหนดรายชื่อคณะกรรมการ
และคณะอนุกรรมการที่มีสิทธิไดรับเบี้ยประชุมเปนรายเดือน และอัตราเบี้ยประชุมเปนรายเดือน
และเปนรายครั้งสําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและผูชวยเลขานุการ พ.ศ. ๒๕๕๓ และ
ใหใชบัญชีหมายเลข ๒ แนบทายประกาศนี้แทน
ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔

(ลงชื่อ) กรณ จาติกวณิช
(นายกรณ จาติกวณิช)

รัฐมนตรีวาการกกระทรวงการคลัง

๔๒๓

บัญชหี มายเลข ๒

รายช่ือคณะอนุกรรมการทีม่ ีสิทธไิ ดรับเบ้ียประชมุ เปน รายเดือนและอตั ราเบี้ยประชมุ

อตั ราไมเ กิน (บาท : คน : เดอื น)

ลําดับ รายช่อื คณะอนกุ รรมการ ประธาน อนกุ รรมการ
ท่ี

คณะอนกุ รรมการในคณะกรรมการ ก.พ.ร. จํานวน ๒๐ คณะ ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐

๑. อ.ก.พ.ร.เกี่ยวกับการทบทวนและปรับปรุงโครงสรางสวนราชการดานเศรษฐกิจ

๒. อ.ก.พ.ร.เกี่ยวกับการทบทวนและปรับปรุงโครงสรางสวนราชการดานสังคม

๓. อ.ก.พ.ร.เกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาระบบการบริหารราชการในสวนภูมิภาค

และทองถิ่น

๔. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

๕. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการปรับปรุงระบบบุคคลและคาตอบแทน

๖. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการสงเสริมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนวัฒนธรรมและคานิยม

ของระบบราชการ

๗. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการตีความและวินิจฉัยปญหากฎหมายในการบริหารราชการ

แผนดิน

๘. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส

๙. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการเงินและงบประมาณ

๑๐. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

๑๑. อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการพัฒนาและสงเสริมการบริหารราชการแบบมีสวนรวม

๑๒. อ.ก.พ.ร.เฉพาะกิจเกี่ยวกับการวิเคราะหและติดตามประเมินผลโครงการตามแผน

ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย

๑๓. อ.ก.พ.ร.เฉพาะกิจเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาองคการมหาชนและองคกร

รูปแบบอื่นในกํากับของราชการฝายบริหารที่มีใชสวนราชการ

๑๔. อ.ก.พ.ร. เฉพาะกิจเกี่ยวกับการยกระดับคุณภาพมาตรฐานและลดขั้นตอนระยะ

เวลาการปฏิบัติราชการเพื่ออํานวยความสะดวกและตอบสนองความตองการของ

ประชาชน

๑๕. อ.ก.พ.ร.เฉพาะกิจเกี่ยวกับโครงการพัฒนานักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุนใหม

๑๖. อ.ก.พ.ร. เฉพาะกิจเกี่ยวกับการกําหนดหลักการจัดและพัฒนาโครงสรางระบบ

ราชการ

๑๗. อ.ก.พ.ร. เฉพาะกิจเกี่ยวกับการเตรียมการใหเปนไปตามบทบัญญัติของ

รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๙ และ

มาตรา ๒๘๐

๑๘. อ.ก.พ.ร. เฉพาะกิจเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาการสงมอบบริการประชาชน

ของอําเภอและทองถิ่น

๑๙. อ.ก.พ.ร.เฉพาะกิจเกี่ยวกับการเตรียมความพรอมในการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติ

ระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ และรัฐธรรมนญู

แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ไปสูการปฏิบัติ

๒๐. อ.ก.พ.ร. เฉพาะกิจเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงานของขาราชการเพื่อประหยัดพลังงาน

ของสวนราชการและลดคาครองชีพของขาราชการ

๔๒๔

ลําดับ รายชอ่ื คณะอนุกรรมการ ประธาน อนกุ รรมการ
ท่ี

คณะอนกุ รรมการในคณะกรรมการ ก.พ. จาํ นวน ๑๓ คณะ ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐
๑. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับวินัยและการออกจากราชการ
๒. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการอุทธรณและการรองทุกข
๓. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบขาราชการ
๔. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการสรางระบบและมาตรฐานการสรรหาทรัพยากรบุคคล
๕. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการสรางและพัฒนาคุณภาพกําลังคนภาครัฐ
๖. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทน
๗. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการสรางประสิทธิภาพดานการบริหารทรัพยากรบุคคล
๘. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
๙. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการสงเสริมจริยธรรมเพื่อราชการใสสะอาด
๑๐. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการรักษาระบบมาตรฐานหลักสูตรการฝกอบรม

นักบริหารระดับสงู
๑๑. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการเตรียมกําลังคนภาครัฐ
๑๒. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการประเมินบุคคลเพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนง

ประเภทวิชาการ
๑๓. อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการรับรองมาตรฐานนักกฎหมายภาครัฐ

คณะอนกุ รรมการขาราชการฝา ยรฐั สภา จาํ นวน ๔ คณะ ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐
๑. อ.ก.ร. กฎหมายและระเบียบ
๒. อ.ก.ร. สรรหาพัฒนาและสงเสริมสมรรถภาพขาราชการ
๓. อ.ก.ร. ระบบงานและอัตรากําลัง
๔. อ.ก.ร. ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานราชการของรัฐสภา

คณะอนกุ รรมการในคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหง ชาติ (ก.ต.ช.) ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐
จาํ นวน ๓ คณะ
๑. คณะอนุกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติดานกฎหมาย
๒. คณะอนุกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติดานการกํากับ ดแู ลและ
ติดตามผลการดําเนินการตามนโยบาย
๓. คณะอนุกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติดานการตรวจสอบและติดตาม
การบริหารงานตํารวจ

คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการขาราชการตาํ รวจ จาํ นวน ๖ คณะ ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐
๑. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ร. เกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัย
๒. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ร. เกี่ยวกับการอุทธรณ
๓. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ร.เกี่ยวกับการรองทุกข
๔. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ร. เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ
๕. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ร. เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
๖. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ร. เกี่ยวกับการสงเสริมจริยธรรมและการพัฒนาคุณธรรม

๔๒๕

ลาํ ดบั รายช่ือคณะอนกุ รรมการ ประธาน อนกุ รรมการ
ที่

คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการ ก.พ.อ.จํานวน ๗ คณะ ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐

๑. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา

๒. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับตําแหนงทางวิชาการของขาราชการพลเรือน

ในสถาบันอุดมศึกษา

๓. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับคุณวุฒิ

๔. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบ

๕. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับอุทธรณ รองทุกขและจรรยาบรรณ

๖. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนางานวิจัย

๗. คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในระบบอุดมศึกษา

คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการขา ราชการครูและบคุ ลากร ๕,๐๐๐ ๔,๐๐๐

ทางการศกึ ษา จาํ นวน ๙ คณะ

๑. อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบขาราชการครแู ละบุคลากร

ทางการศึกษา

๒. อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับวินัยและการออกจากราชการ

๓. อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับการอุทธรณและการรองทุกข

๔. อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับตําแหนงขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

๕. อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับวิทยฐานะขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

๖ อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนานโยบายและระบบบริหารงานบุคคล

๗ อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต

๘ อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับการกํากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหาร

งานบุคคล

๙ อ.ก.ค.ศ. วิสามัญเกี่ยวกับการเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ

ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓)

คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการแขงขันทางการคา ๓,๗๕๐ ๓,๐๐๐
คณะอนุกรรมการเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องธุรกิจคาสงคาปลีก

๔๒๖

ดวนทีส่ ดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๕๗
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔

เร่ือง หลักเกณฑการคํานวณเงินบําเหน็จและวันรับบําเหน็จ เพื่อพิจารณาจํานวนเงินที่จะตอง
คืนเพื่อนับเวลาราชการตอเนื่อง

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

อางถงึ หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนมาก ที่ กค ๐๕๒๖.๒ / ว ๒๔๔๔๙ ลงวันที่
๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๐

ตามหนังสือที่อางถึงไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการคืนเงินบําเหน็จ
พรอมดอกเบี้ยเพื่อนับเวลาราชการตอเนื่อง โดยสิทธิในการนับเวลาราชการตอเนื่อง จะมีผลตอ
เมื่อสวนราชการตนสังกัดที่กลับเขารับราชการใหมไดรับเงินบําเหน็จพรอมดอกเบี้ยครบถวนแลว
เทานั้น กรณีที่ยังไมทราบวันรับเงินบําเหน็จที่แทจริงใหสวนราชการหรือหนวยงานที่เบิกจาย
บําเหน็จตรวจสอบวันรับเงินบําเหน็จจากหลักฐานการรับเงิน (ฎีกาขอเบิกเงิน) จากกรมบัญชีกลาง
หรือสํานักงานคลังจังหวัดหรือสํานักงานคลังจังหวัด ณ อําเภอ แลวแตกรณี และใหนับตอจาก
วันรับฎีกาจากคลังไปอีกสิบหาวันทําการ โดยใหถือวันถัดจากวันครบสิบหาวันทําการเปนวันรับ
บําเหน็จเพื่อคํานวณดอกเบี้ย นั้น

จากขอ กาํ หนดดงั กลา วไดเ กดิ ปญ หาในทางปฏบิ ตั กิ รณี ผรู บั บาํ เหนจ็ ไมม หี ลกั ฐาน
การรับเงินบําเหน็จและเมื่อตรวจสอบไปยังสวนราชการเดิมที่ผูรับบําเหน็จเคยรับราชการหรือ
กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดแลวแตไมพบหลักฐานการรับเงิน จึงทําใหการคืน
บําเหน็จไมสามารถคํานวณเงินบําเหน็จพรอมดอกเบี้ยเพื่อนับเวลาราชการตอเนื่องได ดังนั้น เพื่อ
ใหการปฏิบัติราชการในเรื่องดังกลาวเปนไปในทิศทางเดียวกันและเพ่ือผูรับบําเหน็จซึ่งกลับเขา
รับราชการ จะไดดําเนินการคืนเงินบําเหน็จพรอมดอกเบี้ยเพื่อนับเวลาราชการตอเนื่อง จึงขอให
สวนราชการตางๆ ดําเนินการ ดังนี้

๑. จํานวนเงินบําเหน็จที่ไดรับ
พระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ มาตรา ๓๒ (๑)

และพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๖๒ บัญญัติโดย
สรุปวา การคํานวณบําเหน็จใหตั้งเงินเดือนเดือนสุดทายคูณดวยจํานวนเวลาราชการ การคํานวณ

๔๒๗

บําเหน็จในกรณีดังกลาว จึงพิจารณาโดยอาศัยเงินเดือนเดือนสุดทายที่บุคคลนั้นไดรับกอนออก
ราชการ คณู ดวยจํานวนเวลาที่รับราชการในครั้งนั้น โดยเงินเดือนเดือนสุดทายใหพิจารณาจาก
แฟมประวัติการเขารับราชการ (ก.พ. ๗ ) ของบุคคลนั้น

๒. การพิจารณาวันที่ไดรับบําเหน็จเพื่อเริ่มคํานวณดอกเบี้ย
พระราชบญั ญตั บิ าํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ

มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่งบัญญัติวา “เมื่อกระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการเจาสังกัดซึ่งมี
ฐานะไมตํ่ากวากรม หรือจังหวัด แลวแตกรณีไดรับเรื่องราวขอรับบําเหน็จหรือบํานาญแลวใหรีบ
ตรวจสอบ และนําสงถึงกระทรวงการคลังภายในสามสิบวันนับแตวันรับ และใหกระทรวงการคลัง
รีบพิจารณาสั่งภายในยี่สิบเอ็ดวันนับแตวันรับ ทั้งนี้ เวนแตความลาชาเปนเพราะความผิดของ
ผูขอหรือสวนราชการเจาสังกัด แลวแตกรณี” ดังนั้น เมื่อบุคคลใดออกจากราชการ จึงอนุมานได
วาบุคคลนั้นไดยื่นเรื่องขอรับบําเหน็จในวันดังกลาว เมื่อสวนราชการไดรับเรื่องขอรับบําเหน็จแลว
ตองนําสงกระทรวงการคลังภายในสามสิบวัน และกระทรวงการคลังตองพิจารณาสั่งจายภายใน
ยี่สิบเอ็ดวันการเริ่มตนคิดดอกเบี้ย จึงตองเริ่มนับตอจากวันที่บุคคลนั้นลาออกจากราชการไปอีก
หาสิบเอ็ดวัน โดยใหถือวันถัดจากวันครบหาสิบเอ็ดวัน เปนวันรับบําเหน็จเพื่อใชในการคํานวณ
ดอกเบี้ย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบ และถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) อไุ ร รมโพธิหยก
(นางอุไร รมโพธิหยก)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบบัญชี
รักษาราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย
กลุมกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทรศัพท ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔

๔๒๘

ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๕๘ (สําเนา) กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔

เรอื่ ง กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไป
เปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการนําสิทธิในบําเหน็จ
ตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔

ดวยกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการนําสิทธิใน
บําเหน็จตกทอดไปเปนหลักเกณฑประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขในการที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพตามพระราช
บัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ สามารถนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปน
หลักทรัพยประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังไดลงนามใน
กฎกระทรวงดังกลาวแลวเมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับ
กฤษฎีกา เลมที่ ๑๒๘ ตอนที่ ๓๐ ก วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๔) รายละเอียดปรากฏตาม
กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปน
หลักทรัพยประกันการกูเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่สงมาพรอมนี้ และโดยที่โครงการกูเงินดังกลาวจะ
สามารถดําเนินการไดจะตองมีการลงนามในบันทึกขอตกลงระหวางกรมบัญชีกลางกับสถาบัน
การเงิน ซึ่งปจจุบันอยูระหวางกรมบัญชีกลางจัดทําบันทึกขอตกลงกับสถาบันการเงินเพื่อใหผูรับ
บํานาญสามารถใชสิทธิได หากโครงการดังกลาวสามารถดําเนินการไดจะประชาสัมพันธใหทราบ
ในโอกาสตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหผูเกี่ยวของทราบตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) สุทธริ ัตน รัตนโชติ

(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)
ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทรศัพท ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔ โทรสาร ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๗

๔๒๙

(สาํ เนา)

กฎกระทรวง
กาํ หนดหลักเกณฑ วธิ กี าร และเง่อื นไข
ในการนาํ สทิ ธใิ นบาํ เหนจ็ ตกทอดไปเปนหลกั ทรพั ยประกนั การกเู งนิ

พ.ศ. ๒๕๕๔
________________

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๔๙๔ และมาตรา ๔๗ / ๒ แหงพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๓ รัฐมนตรี
วาการกระทรวงการคลังออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“ผูรับบํานาญ” หมายความวา ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุ
ทุพพลภาพตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔
“หนังสือรับรอง” หมายความวา หนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปน
หลักทรัพยประกันการกูเงิน
“สถาบนั การเงนิ ” หมายความวา ธนาคารพาณชิ ยท อ่ี ยใู นกาํ กบั ของกระทรวงการคลงั
ธนาคารพาณิชยของเอกชน หรือสถาบันการเงินอื่น ซึ่งไดทําบันทึกขอตกลงกับกรมบัญชีกลาง
เพื่อใหผูรับบํานาญขอกูเงินตามกฎกระทรวงนี้
ขอ ๒ ใหกรมบัญชีกลางจัดทําบันทึกขอตกลงรวมกันระหวางกรมบัญชีกลางกับ
สถาบันการเงิน เพื่อใหผูรับบํานาญนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน
ขอ ๓ ผูรับบํานาญซึ่งประสงคจะขอกูเงิน ใหยื่นคํารองขอรับหนังสือรับรองตอ
สวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญ เพื่อใหสวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญตรวจสอบสิทธิใน
บําเหน็จตกทอด
ใหผ รู บั บาํ นาญขอรบั แบบคาํ รอ งขอรบั หนงั สอื รบั รองตามวรรคหนง่ึ ไดท ก่ี รมบญั ชกี ลาง
สํานักงานคลังเขต สํานักงานคลังจังหวัด หรือสถานที่อื่นตามที่อธิบดีกรมบัญชีกลางกําหนด
คํารองขอรับหนังสือรับรองตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกรมบัญชีกลาง
กําหนด
ขอ ๔ ใหสวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญตรวจสอบและรับรองความถกู ตองและ
ความครบถวนของขอมูลในคํารองขอรับหนังสือรับรอง และสงไปยังกรมบัญชีกลางหรือสํานักงาน
คลังจังหวัดแลวแตกรณี
ขอ ๕ เมื่อกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดไดรับคํารองขอรับหนังสือ
รับรองตามขอ ๔ แลว ใหออกหนังสือรับรองแกผูรับบํานาญ

๔๓๐

หนังสือรับรองตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกรมบัญชีกลางกําหนด
ขอ ๖ ผูรับบํานาญสามารถนําหนังสือรับรองตามขอ ๕ ไปใชเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกูเงินกับสถาบันการเงินได
ในการขอกูเงินตามวรรคหนึ่ง ผูรับบํานาญตองแจงใหบุคคลผูมีสิทธิจะไดรับบําเหน็จ
ตกทอดไดทราบถึงการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินดวย
ขอ ๗ เมื่อสถาบันการเงินและผูรับบํานาญไดทําสัญญากูเงิน และสถาบันการเงิน
ไดจายเงินใหแกผูรับบํานาญรายใดแลว ใหสถาบันการเงินแจงขอมูลที่เกี่ยวของไปยังกรมบัญชี
กลางเพื่อดําเนินการหักเงินบํานาญรายเดือนตามสัญญากูเงินตอไป
วิธีการแจงขอมูลและการหักเงินบํานาญตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่อธิบดี
กรมบัญชีกลางกําหนด
ขอ ๘ ผูรับบํานาญตองยินยอมใหสวนราชการผูเบิกเบี้ยหวัดบํานาญหักเงิน
บํานาญรายเดือนเพื่อชําระคืนเงินกูใหแกสถาบันการเงินตามสัญญากูเงิน
ขอ ๙ ในกรณที ผ่ี รู บั บาํ นาญไมส ามารถปฏบิ ตั ติ ามสญั ญากเู งนิ ได ใหก รมบญั ชกี ลาง
และสถาบันการเงินดําเนินการ ดังตอไปนี้
(๑) กรณีที่ผูรับบํานาญผิดสัญญากูเงิน ใหสถาบันการเงินตรวจสอบจํานวนเงิน
ที่ผูรับบํานาญตองชําระคืน และแจงกรมบัญชีกลางเพื่อที่จะชําระคืนเงินกูในสวนที่เหลือตาม
สัญญากูเงิน แตตองไมเกินจํานวนที่นําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการ
กูเงินตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
(๒) กรณีที่ผูรับบํานาญถึงแกความตาย ใหกรมบัญชีกลางแจงสถาบันการเงินเพื่อ
ใหสถาบันการเงินตรวจสอบจํานวนเงินที่ผูรับบํานาญตองชําระคืน และใหกรมบัญชีกลางชําระคืน
เงินกูในสวนที่เหลือตามสัญญากูเงิน แตตองไมเกินจํานวนที่นําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลัก
ทรัพยในการประกันการกูเงินตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
วิธีการชําระคืนเงินกูตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่อธิบดีกรมบัญชีกลางกําหนด
ขอ ๑๐ ใหอธิบดีกรมบัญชีกลางมีอํานาจกําหนดวิธีปฏิบัติในสวนที่เกี่ยวของเพื่อ
ปฏิบัติการใหเปนไปตามกฎกระทรวงนี้

ใหไว ณ วันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔
กรณ จาตกิ วณชิ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

๔๓๑

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๗ / ๒ แหงพระราช
บัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ(ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๓ บัญญัติใหผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษ
เพราะเหตุทุพพลภาพ อาจนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินกับ
สถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข ที่กําหนดในกฎกระทรวง จึงจําเปนตอง
ออกกฎกระทรวงนี้

๔๓๒

ดวนทส่ี ดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๑๖๗
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔

เร่ือง ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

ดวยกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดกําหนดระเบียบกระทรวงการคลังวา
ดวยการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป ประเภท ง. เลม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๔๒ ง วันที่ ๑๑ เมษายน
๒๕๕๔ นั้น

กรมบัญชีกลางเห็นสมควรแจงเวียนใหสวนราชการไดทราบและถือปฏิบัติตอไป
โดยไดนําลงเว็บไซต www.cgd.go.th เรียบรอยแลว

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของถือปฏิบัติตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) อุไร รม โพธหิ ยก
(นางอุไร รมโพธิหยก)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบบัญชี
รักษาราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบียบดานคาใชจายในการบริหาร
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๐

๔๓๓

ดว นที่สุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๓ / ว ๑๗๗
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔

เรอ่ื ง พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๔

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย สําเนาพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๕๔

โดยที่พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๘ ตอนที่ ๓๕ ก วันที่ ๑๒ พฤษภาคม
๒๕๕๔ ซึ่งกําหนดสิทธิในการไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรใหใชบังคับตั้งแตป
การศึกษา ๒๕๕๔ เปนตนไป

กรมบัญชีกลางขอสงสําเนาพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษา
ของบุตร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามสิ่งที่สงมาดวย ซึ่งพระราชกฤษฎีกาดังกลาวไดยกเลิก
มาตรา ๘ ตรี แหงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๘ เนื่องจากหนวยงานอื่นไดมีการนําหลักเกณฑในลักษณะทํานองเดียวกันไปกําหนดไว
ดวย ทําใหผูมีสิทธิไมสามารถใชสิทธิรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรจากหนวยงาน
ใดได จึงสมควรยกเลิกบทบัญญัติดังกลาว อนึ่ง ทานสามารถเปดดหู นังสือนี้ไดที่เว็บไซตของ
กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th อีกดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สุทธิรัตน รตั นโชติ
(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ กลุมงานคาตอบแทนและสวัสดิการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๙๕๗

๔๓๔

(สาํ เนา)

พระราชกฤษฎกี า
เงินสวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การศึกษาของบุตร (ฉบบั ที่ ๗)

พ.ศ. ๒๕๕๔

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

เปน ปที่ ๖๖ ในรัชกาลปจ จบุ นั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมพระราชกฤษฎีกาวาดวยเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาของบุตร

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ
มาตรา ๓ (๖) แหงพระราชบัญญัติการกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจายเงินบางประเภทตาม
งบประมาณรายจาย พ.ศ. ๒๕๑๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว
ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา “พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๔”

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิกมาตรา ๘ ตรี แหงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ
การศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ
ศึกษาของบุตร(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๘

มาตรา ๔ สิทธิในการไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรตามพระราช
กฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราช
กฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๔ เปนตนไป

มาตรา ๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

๔๓๕

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๘ ตรี แหง
พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๘ ไดบัญญัติ
หลักเกณฑการไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรในกรณีผูมีสิทธิมีคูสมรสที่มีสิทธิได
รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรจากหนวยงานอื่นแลว จะไมมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการ
เกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เวนแตเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรที่ไดรับจากหนวยงาน
อื่นนั้นตํ่ากวาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรตามที่กําหนดไว ก็ใหมีสิทธิไดรับเงิน
สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรเฉพาะสวนที่ขาดอยูนั้น แตปรากฏวาหนวยงานอื่นไดมี
การนําหลักเกณฑในลักษณะทํานองเดียวกันไปกําหนดไวดวย ทําใหผูมีสิทธิไมสามารถใชสิทธิ
รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรจากหนวยงานใดไดสมควรยกเลิกบทบัญญัติดังกลาว
จึงจําเปนตองตราพระราชกฤษฎีกานี้

๔๓๖

ดวนทีส่ ดุ (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๙๒
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๔

เร่ือง ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการขอรับและการจายบําเหน็จบํานาญขาราชการ
(ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๔

เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการขอรับและการจายบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๔

๒. แบบบัญชีรายชื่อผูไดนับเวลาราชการเปนทวีคณู ตามพระราชบัญญัติบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ สําหรับกําลังพลสังกัด กอ.รมน. และ
ผูปฏิบัติงานในสายงาน กอ.รมน. (แบบ ๕๓๐๔ ก)

ดวยระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการขอรับและการจายบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งกําหนดหลักฐานการมีสิทธิไดนับเวลาทวีคณู สําหรับ
กําลังพลสังกัดกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และผูปฏิบัติงาน
ในสายงาน กอ.รมน. ซึ่งปฏิบัติงานที่ถือวาเปนการปฏิบัติหนาที่ตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนดใน
ระหวางที่มีการรบ การสงคราม การปราบปรามจลาจลหรือในระหวางที่มีประกาศสถานการณ
ฉุกเฉิน ซึ่งรับรองโดย กอ.รมน. (แบบ ๕๓๐๔ ก) มีผลใชบังคับแลวตั้งแตวันที่ ๑๘ พฤษภาคม
๒๕๕๔ เปนตนไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม ๑๒๘
ตอนพิเศษ ๖๐ ง วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๔) รายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย

กรมบัญชีกลาง ขอเรียนวา เพื่อใหการรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของแนบแบบ
ขอรับบําเหน็จบํานาญเปนไปโดยถกู ตอง สะดวก และรวดเร็ว จึงขอสงระเบียบกระทรวงการ
คลังวาดวยการขอรับและการจายบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
แบบบัญชีรายชื่อผูไดนับเวลาราชการเปนทวีคูณตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๔๙๔ สําหรับกําลังพลสังกัด กอ.รมน. และผูปฏิบัติงานในสายงาน กอ.รมน. (แบบ
๕๓๐๔ ก) มาเพื่อใชเปนหลักฐานการมีสิทธิไดนับเวลาทวีคูณในกรณีดังกลาว

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สทุ ธริ ตั น รัตนโชติ
(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง
สํานักกฎหมาย กลุมกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔ www.cgd.go.th
๔๓๗

ดว นท่สี ุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๙๔
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๔

เร่อื ง หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการขอรับและการออกหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอด
เพื่อใชเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน และการหักเงินบํานาญเพื่อชําระคืนเงินกูใหแก

สถาบันการเงิน

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการขอรับและการออกหนังสือรับรองสิทธิใน
บําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพยประกันการกูเงินและการหักเงินบํานาญ
เพื่อชําระคืนเงินกูใหแกสถาบันการเงิน

๒. แบบคํารองขอรับหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพย
ประกันการกูเงิน

๓. ตัวอยางหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพยประกัน
การกูเงิน

ตามที่กระทรวงการคลังไดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ และพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙
เพื่อใหผูรับบํานาญสามารถนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน
กับสถาบันการเงิน ดังนั้น เพื่อใหการขอรับและการออกหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอด
เพื่อใชเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน และการหักเงินบํานาญเพื่อชําระคืนเงินกูใหแกสถาบัน
การเงิน เปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ กรมบัญชีกลางจึงไดกําหนดหลักเกณฑ
และวิธีปฏิบัติในการขอรับและการออกหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพย
ประกันการกูเงิน และการหักเงินบํานาญเพื่อชําระคืนเงินกูใหแกสถาบันการเงิน รายละเอียด
ปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย

กรมบัญชีกลางจึงขอสงหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการขอรับและการออก
หนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน และการหักเงิน
บํานาญเพื่อชําระคืนเงินกูใหแกสถาบันการเงิน มาเพื่อใหสวนราชการตางๆ ถือปฏิบัติ ตั้งแตวันที่
๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สุทธิรตั น รตั นโชติ
(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง
สํานักกฎหมาย กลุมกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔ www.cgd.go.th ๔๓๘

ดวนทส่ี ุด (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๒๑๒
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

เร่อื ง การเบิกจายตรงประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชนตามเกณฑกลุมวินิจฉัย
โรครวม (DRGs)

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาล
ประเภทผูปวยในสถานพยาบาลเอกชน ตามเกณฑกลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs)

๒. รายชื่อสถานพยาบาลของเอกชนที่เขารวมโครงการ ๓๒ แหง
๓. บัญชีรายการโรคและการรักษาพยาบาลที่ผูมีสิทธิสามารถขอใชสิทธิเบิก

คารักษาพยาบาลสําหรับตนเองและบุคคลในครอบครัวจากทางราชการได
๔. แบบแจงการตรวจสอบคาใชจายสถานพยาบาลเอกชน

ดวยกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดบรรลุขอตกลงกับสถานพยาบาล
ของเอกชนในการดําเนินโครงการเบิกจายตรงประเภทผูปวยในสถานพยาบาลของเอกชน
โดยสถานพยาบาลของเอกชนทเ่ี ขา รว มโครงการ สามารถใหบ รกิ ารทางการแพทยป ระเภทผปู ว ยใน
แกผูมีสิทธิและบุคคลในครอบครัวและสามารถใชสิทธิเบิกจายจากทางราชการได ซึ่งเปนการเพิ่ม
สิทธิประโยชนตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓

กรมบัญชีกลางพิจารณาแลว อาศัยอํานาจตามความนัยขอ ๑๙ และขอ ๒๗
ของหลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
พ.ศ. ๒๕๕๓ เห็นควรกําหนดแนวทางการปฏิบัติใหสอดคลองกับประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
หลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยใน สถานพยาบาลของเอกชน ตามเกณฑ
กลุมวินิจฉัยโรครวม (DRGs) (สิ่งที่สงมาดวย ๑) ใหผูมีสิทธิและสวนราชการถือปฏิบัติ ดังนี้

ผูมสี ิทธิ
๑. การเขารับการรักษาพยาบาลประเภทผูปวยในที่สามารถขอใชสิทธิเบิกจาก
ทางราชการไดจะตองเปนกรณีที่ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับบริการทางการแพทย
ณ สถานพยาบาลของเอกชนที่เปนคูสัญญากับกระทรวงการคลัง (สิ่งที่สงมาดวย ๒) และเปนไป
ตามหลักเกณฑตามบัญชีรายการโรคและการรักษาพยาบาล (สิ่งที่สงมาดวย ๓) เทานั้น
๒. การเขารับการรักษาพยาบาลใหใชเลขที่บัตรประจําตัวประชาชนของผูมีสิทธิ
หรือบุคคลในครอบครัว แสดงตอสถานพยาบาล เวนแต ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับ

๔๓๙

บริการทางการแพทยในเรื่องการคลอดบุตรและบุตรที่คลอดนั้นเจ็บปวยมีความจําเปนตองเขารับ
การรักษาพยาบาลเปนผูปวยในการเขารับการรักษาพยาบาลของบุตรกรณีดังกลาวใหใชหนังสือ
รับรองการมีสิทธิรับเงินคารักษาพยาบาลที่สวนราชการออกใหเพื่อใชเปนหลักฐานในการแสดง
สิทธิยื่นตอสถานพยาบาล

๓. กอนเขารับบริการทางการแพทย สถานพยาบาลจะแจงประมาณการคา
ใชจายสวนที่ไมสามารถเบิกจากทางราชการได หากผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวมีความ
ประสงคที่จะเขารับบริการจะตองลงลายมือชื่อในแบบตอบรับและยินยอมเปดเผยขอมูลการรักษา
พยาบาลตอกรมบัญชีกลางเพื่อประโยชนในการตรวจสอบการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาล

๔. กรณีที่สถานพยาบาลเรียกเก็บคาใชจายสวนที่ไมสามารถเบิกจากทาง
ราชการไดเพิ่มเติมจากประมาณการที่เคยแจงไวครั้งแรก ใหผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเรียก
ใหสถานพยาบาลชี้แจงถึงเหตุที่ตองเรียกเก็บเพิ่มเติมกอนชําระคาใชจายและลงนามในแบบตอบ
รับเพื่อยืนยันคาใชจายที่สถานพยาบาลเรียกเก็บในกรณีที่ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเห็นวา
ขอชี้แจงของสถานพยาบาลไมเปนไปตามหลักเกณฑที่กระทรวงการคลังกําหนด ใหดําเนินการ
แจงตอกรมบัญชีกลางตามแบบที่กําหนด (สิ่งที่สงมาดวย ๓) ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ชําระ
คาใชจายใหกับสถานพยาบาล

๕. กรณีที่บุคคลในครอบครัวของผูมีสิทธิมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนกรณี
คลอดบุตรจากสํานักงานประกันสังคม และคลอดบุตรในสถานพยาบาลของเอกชนที่เปนคูสัญญา
กบั กระทรวงการคลงั หากผมู สี ทิ ธปิ ระสงคจ ะขอเบกิ คา รกั ษาพยาบาลสว นทข่ี าดอยจู ากทางราชการ
ใหชําระคารักษาพยาบาลตามจํานวนที่สถานพยาบาลแจงแตไมเกินอัตราประโยชนทดแทนกรณี
คลอดบุตรที่สํานักงานประกันสังคมกําหนดโดยกรมบัญชีกลางจะจายคารักษาพยาบาลเพิ่มเติม
ใหกับสถานพยาบาลในระบบเบิกจายตรง สําหรับคาใชจายสวนที่เบิกจากทางราชการไมไดใหถือ
ปฏิบัติตามขอ ๓ และขอ ๔

สว นราชการ
กรณีที่สวนราชการไดรับคําขอจากผูมีสิทธิเพื่อใหออกหนังสือรับรองการมีสิทธิ
รับเงินคารักษาพยาบาลกรณีบุตรของผูมีสิทธิเจ็บปวย ใหดําเนินการตามหลักเกณฑกระทรวงการ
คลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓
อนึ่ง กรมบัญชีกลางไดอํานวยความสะดวกใหผูมีสิทธิและสวนราชการสามารถ
เขาตรวจสอบรายชื่อสถานพยาบาลของเอกชนที่เปนคูสัญญากับกระทรวงการคลัง บัญชีรายการ
โรคและการรักษาพยาบาลตลอดจนประมาณการคาใชจายสวนที่เบิกจากทางราชการไมได
ในรปู แบบขอมลู อิเล็กทรอนิกส โดยสามารถตรวจสอบขอมูลไดที่เว็บไซดกรมบัญชีกลาง (www.
cgd.go.th) เลือกหัวขอ “สวัสดิการรักษาพยาบาล” และเลือก “รายชื่อโรงพยาบาลเอกชนที่เขา
รวมโครงการเบิกจายตรงผูปวยในดวยระบบ DRGs” และสามารถ Download สิ่งที่สงมาดวย ๑

๔๔๐

๒ ๓ และ ๔ ในรปู แบบเอกสารที่เว็บไซตกรมบัญชีกลาง เลือกหัวขอ”สวัสดิการรักษาพยาบาล”
และเลือก “ขอมูลนารู”

จึงเรียนมาเพื่อโปรดแจงผูมีสิทธิและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป ทั้งนี้โปรด Download สิ่งที่สงมาดวย www.cgd.go.th

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) รังสรรค ศรวี รศาสตร

(นายรังสรรค ศรีวรศาสตร)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ
กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘

๔๔๑

ดวนทส่ี ดุ (สําเนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๒๑๕
กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๔

เรื่อง พระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ
พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ ( ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๓

เรียน อธิบดีกรมที่ดิน

สง่ิ ทส่ี ง มาดว ย ๑. พระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๒๖ ) พ.ศ. ๒๕๕๓
๒. พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๗ ) พ.ศ. ๒๕๕๓

ดวยพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๒๖ ) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ
พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งบัญญัติใหผูรับ
บํานาญสามารถนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน มีผลใชบังคับแลว
ตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ
(ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๒๘ ก
วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๓ และพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๕๓ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๗๙ ก วันที่ ๒๒
ธันวาคม ๒๕๕๓

กรมบัญชีกลาง จึงขอสงพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๒๖)
พ.ศ. ๒๕๕๓ และพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๓ มา
เพื่อโปรดทราบ โดยไดนําลงเว็บไซต www.cgd.go.th ในระบบสารสนเทศกฎหมาย เรียบรอยแลว

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบดวย

ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) สทุ ธิรัตน รตั นโชติ
(นางสาวสุทธิรัตน รัตนโชติ)

ที่ปรึกษาดานพัฒนาระบบการเงินการคลัง
ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมบัญชีกลาง

สํานักกฎหมาย
กลุมกฎหมายและระเบียบดานเงินเดือน คาจาง บําเหน็จบํานาญ
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๔

๔๔๒

(สาํ เนา)

พระราชบญั ญัติ
บาํ เหน็จบาํ นาญขาราชการ (ฉบบั ที่ ๒๖)

พ.ศ. ๒๕๕๓

ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓

เปน ปท่ี ๖๕ ในรชั กาลปจ จุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม
ของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ
(ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๕๓”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป
มาตรา ๓ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนลักษณะ ๒/๒ การนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไป
เปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน มาตรา ๔๗/๒ มาตรา ๔๗/๓ มาตรา ๔๗/๔ และมาตรา
๔๗/๕ แหงพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔

“ลักษณะ ๒/๒
การนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน

มาตรา ๔๗/๒ ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพอาจ
นําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

ในกรณีที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพไดรับ
บําเหน็จดํารงชีพไปแลว หากประสงคจะนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน ใหหักบําเหน็จดํารงชีพออกจากสิทธิในบําเหน็จตกทอด
เสียกอน

๔๔๓

มาตรา ๔๗/๓ ในกรณีที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุ
ทุพพลภาพ ซึ่งไดนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินถึงแกความ
ตายหรือผิดสัญญากูเงินจนตองบังคับเอากับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกูเงินใหกระทรวงการคลังจายเงินใหแกสถาบันการเงินที่ผูนั้น ไดนําสิทธิในบําเหน็จ
ตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินเทากับจํานวนที่ถูกบังคับแตไมเกินจํานวนที่นํา
สิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน

การจายเงินใหแกสถาบันการเงินตามวรรคหนึ่ง ใหกระทรวงการคลังจายจากงบ
ประมาณที่ตั้งไวสําหรับการเบิกจายบําเหน็จตกทอด

มาตรา ๔๗/๔ ในกรณีที่กระทรวงการคลังไดจายเงินแกสถาบันการเงินไปแลวตาม
มาตรา ๔๗/๓ ใหกระทรวงการคลังหักจํานวนเงินนั้นออกจากสิทธิในบําเหน็จตกทอดเทากับ
จํานวนที่จายใหแกสถาบันการเงิน

ในกรณีที่กระทรวงการคลังไมอาจหักจํานวนเงินที่จายใหแกสถาบันการเงินจากสิทธิ
ในบําเหน็จตกทอดตามวรรคหนึ่งได ใหกระทรวงการคลังเรียกเงินคืนจากผูรับบํานาญปกติหรือ
ผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพหรือจากกองมรดกของผูนั้น แลวแตกรณี เปนจํานวน
เทากับจํานวนที่กระทรวงการคลังไดจายใหแกสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่
กระทรวงการคลังกําหนด

มาตรา ๔๗/๕ ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพผูใด
ไดนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินแลว หากภายหลังผูนั้นกลับ
เขารับราชการใหมโดยใชสิทธินับเวลาราชการสําหรับคํานวณบําเหน็จบํานาญตอนกอนออกจาก
ราชการตอเนื่องกับการรับราชการในตอนหลังตามมาตรา ๓๐ และเมื่อออกจากราชการในครั้ง
หลังไดเลือกรับบําเหน็จ ใหจายบําเหน็จแกผูนั้นตามสิทธิที่จะไดรับ แตตองไมเกินจํานวนที่เหลือ
จากสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน โดยใหกระทรวงการคลัง
กันเงินบําเหน็จเทากับจํานวนดังกลาวไวและเมื่อสัญญากูเงินสิ้นสุดลงโดยไมมีการบังคับเอากับ
สิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินใหกระทรวงการคลังคืนเงิน
บําเหน็จที่กันไว

ในกรณีที่ผูรับบําเหน็จถึงแกความตายหรือสัญญากูเงินสิ้นสุดลง ถามีการบังคับเอา
กับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงิน ใหกระทรวงการคลังจาย
เงนิ ใหแ กส ถาบนั การเงนิ โดยกระทรวงการคลงั มสี ทิ ธหิ กั จากเงนิ บาํ เหนจ็ ทก่ี นั ไวต ามวรรคหนง่ึ กอ น
ถามีเงินเหลือใหจายคืนแกผูรับบําเหน็จหรือทายาท แลวแตกรณี”

มาตรา ๔ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๔๙/๑ แหงพระราชบัญญัติบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔

๔๔๔

“มาตรา ๔๙/๑ ภายใตบังคับมาตรา ๔๙ ในกรณีที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับ
บํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพไดนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกัน
การกูเงินหากสัญญากูเงินสิ้นสุดลงโดยไมมีการบังคับเอากับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปน
หลักทรัพยในการประกันการกูเงิน ทายาทมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดเต็มตามจํานวนที่มีสิทธิ
หากผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพถึงแกความตายหรือสัญญากู
เงินสิ้นสุดลงโดยมีการบังคับเอากับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการประกัน
การกูเงิน ทายาทมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดเทากับจํานวนที่เหลือหลังจากที่กระทรวงการคลัง
ไดหักจํานวนเงินที่จายใหแกสถาบันการเงินออกจากสิทธิในบําเหน็จตกทอดตามมาตรา ๔๗/๔
วรรคหนึ่ง”

มาตรา ๕ ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพซึ่งยังคงมี
สิทธิไดรับบํานาญอยูกอนวันที่พระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ซึ่งแกไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหมีสิทธินําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยใน
การประกนั การกเู งนิ ไดต ามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญตั บิ าํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ดวย

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

อภสิ ิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

๔๔๕

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ
(ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดบัญญัติใหผูรับบํานาญมีสิทธินําบําเหน็จดํารงชีพมาใชไดกอน
เพื่อบรรเทาความเดือดรอนและเพื่อใหผูรับบํานาญสามารถดํารงชีพอยูได โดยเหมาะสมกับ
สภาวะเศรษฐกิจ แตการดําเนินการดังกลาวสามารถชวยเหลือผูรับบํานาญไดเพียงบางสวน
และปรากฏวายังมีผูรับบํานาญอีกจํานวนมากที่ไดรับบํานาญรายเดือนในอัตราตํ่าทําใหไดรับ
บําเหน็จดํารงชีพในอัตราที่ไมเพียงพอตอการครองชีพ ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเดือนรอนของผูรับ
บํานาญและจะเปนการสงเสริมการลงทุนอันเปนการกระตุนเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมอีก
ทางหนึ่งสมควรกําหนดใหผูรับบํานาญสามารถนําสิทธิในบําเหน็จตกทอด ไปเปนหลักทรัพยใน
การประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

๔๔๖

(สาํ เนา)

พระราชบัญญตั ิ
กองทุนบําเหน็จบาํ นาญขาราชการ (ฉบับที่ ๗)

พ.ศ. ๒๕๕๓

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ ๑๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

เปน ปท ่ี ๖๕ ในรชั กาลปจจุบนั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยกองทุนบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอม
ของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ (ฉบับที่ ๗ ) พ.ศ. ๒๕๕๓”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา ๕๗/๒ มาตรา ๕๗/๓ มาตรา ๕๗/๔ และ
มาตรา ๕๗/๕ แหงพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙

“มาตรา ๕๗/๒ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพ
อาจนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

ในกรณีที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพไดรับ
บําเหน็จดํารงชีพไปแลว หากประสงคจะนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกูเงินกับสถาบันการเงิน ใหหักบําเหน็จดํารงชีพออกจากสิทธิในบําเหน็จตกทอด
เสียกอน

มาตรา ๕๗/๓ ในกรณีที่ผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุ
ทุพพลภาพซึ่งไดนําสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการประกันการกูเงินถึงแกความ
ตายหรือผิดสัญญากูเงินจนตองบังคับเอากับสิทธิในบําเหน็จตกทอดที่นําไปเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกูเงินใหกระทรวงการคลังจายเงินใหแกสถาบันการเงินที่ผูนั้นไดนําสิทธิในบําเหน็จ

๔๔๗


Click to View FlipBook Version