The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2549 (ส่วนที่ 1) (ปี 2549)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

รวมระเบียบคำสัง่


กรมทีด่ นิ


ประจำปี ๒๕๔๙


กองแผนงาน กรมท่ดี นิ

สารบัญ


หน้า

สำนกั งานเลขานกุ ารกรม
กองการเจา้ หนา้ ท ่ี ๑
กองคลัง ๕๕
กองนิตกิ าร ๑๑๑
กองพัสด ุ ๔๑๗

สำนกั งานคณะกรรมการช่างรงั วดั เอกชน ๔๓๕

สำนักงานจดั การทด่ี นิ ของรัฐ ๔๕๕

สำนกั มาตรฐานและส่งเสริมการรงั วัด ๔๖๑

สำนกั มาตรฐานการทะเบียนทีด่ นิ ๖๒๙

สำนกั มาตรฐานการออกหนังสือสำคญั ๖๓๓

สำนกั สง่ เสริมธรุ กิจอสงั หารมิ ทรัพย์ ๑๐๐๓

ศนู ย์ส่งเสริมประสทิ ธภิ าพกรมทด่ี นิ ๑๐๔๗

สำนักงานตรวจราชการ ๑๐๖๑

๑๐๖๗

บัญชีรายช่ือหนังสือเวียน ระเบียบ และคำส่ังตา่ งๆ


สำนกั งานเลขานุการกรม


ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙


๑. เลขท่หี นงั สอื เวียน

ลำดับท ่ี ระเบยี บ คำสัง่ ชือ่ เรื่อง หนา้

๒. ลงวนั เดือน ปี



๑. ท่ี มท ๐๕๐๑.๔/ว ๓๗๑๕๖ แต่งตง้ั คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา

ลว. ๑ ธ.ค. ๔๘ สำนกั งานทีด่ นิ จงั หวดั

๒. ท่ี มท ๐๕๐๑.๒/๑๒๓๖๙ การดำเนนิ การเรอ่ื งราวร้องทุกข์

ลว. ๘ ธ.ค. ๔๘ กลา่ วโทษและแจง้ เบาะแสการ

กระทำทีผ่ ิดกฎหมาย

๓. ที่ มท ๐๕๐๑.๒/ว ๔๐๒๖๕ การจัดเตรียมและประสานขอ้ มูล

ลว. ๒๙ ธ.ค. ๔๘ โครงการกระจกชาวดิน

๔. กฎกระทรวง กำหนดบคุ คลซึง่ ไดร้ บั การยกเวน้

วนั ท่ี ๓๐ ธ.ค. ๔๘ ไมต่ อ้ งมบี ตั รประจำตัวประชาชน

พ.ศ. ๒๕๔๘

๕. ท่ี นร ๐๕๐๓ /๒๘๑๐ รา่ งประกาศกระทรวงมหาดไทย

ลว. ๒๗ ก.พ. ๔๙ เร่อื งแบง่ เขตท้องท่อี ำเภอภเู วยี ง

จงั หวัดขอนแกน่ ต้งั เปน็

กิง่ อำเภอเวียงเกา่

๖. ด่วนทส่ี ดุ
การวางมาตรการรักษาความ

ที่ มท ๐๒๐๑.๒/ว ๑๑๔๓ ปลอดภยั สถานทีร่ าชการ

ลว. ๔ เม.ย. ๔๙ แนวทางปฏิบัติราชการอันเน่ือง

๗. นร. ๐๕๐๓/ว ๕๗ มาจากนายกรฐั มนตรีขอลาพัก

ลว. ๑๐ เม.ย. ๔๙ การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี

การมอบหมายอำนาจหนา้ ที่ให้

๘. คำสั่งกระทรวงมหาดไทย รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงมหาด-

ที่ ๓๗๘/๒๕๔๙ ไทยปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตร

ลว. ๑๑ ต.ค. ๔๙ ว่าการกระทรวงมหาดไทย

บัญชีรายชื่อหนงั สอื เวยี น ระเบยี บ และคำส่งั ต่างๆ


สำนักงานเลขานุการกรม


ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๙


๑. เลขทีห่ นงั สอื เวียน

ลำดับท่ี ระเบียบ คำส่งั ชือ่ เรื่อง หนา้

๒. ลงวนั เดอื น ป


๙. ท่ี นร ๐๕๐๓/ว (ร) ๒๑๒
ลว. ๑๘ ต.ค. ๔๙ การจัดการหนุ้ สว่ นและหุ้นของ

๑๐. คำสัง่ กระทรวงมหาดไทย รัฐมนตร

ท่ี มท. ๔๒๔/๒๕๔๙ มอบอำนาจการปฏิบัติราชการแทน

ลว. ๓๐ ต.ค. ๔๙
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

๑๑. คำสั่งกระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้รองปลดั กระทรวง

ท่ี ๔๒๕/๒๕๔๙ มหาดไทยปฏิบัติหน้าทห่ี ัวหนา้

ลว. ๓๐ ต.ค. ๔๙ กลมุ่ ภารกิจ

๑๒. คำสัง่ กรมที่ดนิ การรกั ษาสถานทีร่ าชการกรมที่ดนิ

ท่ี ๓๓๘๔/๒๕๔๙

ลว. ๑๔ พ.ย. ๔๙

(สำเนา)


ที่ มท ๐๕๐๑.๔ /ว ๓๗๑๕๖ กรมที่ดนิ


ถนนพระพิพธิ กทม. ๑๐๒๐๐


๑ ธันวาคม ๒๕๔๘

เร่ือง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานทดี่ ินจังหวดั

เรยี น ผวู้ ่าราชการจังหวัดทุกจงั หวดั

อ้างถึง หนังสอื กรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๕๐๑.๔/ว ๑๘๒๘๖ ลงวันท่ ี ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๗

เรอื่ ง การรายงานผลยุทธศาสตรช์ มุ ชนสมั พันธ์


สง่ิ ทส่ี ง่ มาด้วย โครงการแต่งต้ังที่ปรึกษาสำนักงานทีด่ นิ จงั หวัด





ตามท่ีหนังสือท่ีอ้างถึง กรมท่ีดินได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์กรมท่ีดิน พ.ศ.

๒๕๔๗ - ๒๕๕๑ โดยมตี วั ชี้วดั ท่ี ๒๐ ไดแ้ ก่ระดับความสำเรจ็ ของการตอบสนองความคิดเหน็

ของประชาชนซ่ึงมีเป้าหมายการดำเนินการคือ การแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาเจ้าพนักงานท่ีดิน

จังหวัด / สาขา และจัดให้มีการประชุมหารือระหว่างเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด / สาขา และ

หวั หน้าฝา่ ย กบั คณะท่ีปรกึ ษาเป็นประจำ อยา่ งน้อยเดือนละ ๑ คร้ัง เพือ่ ให้คณะทปี่ รกึ ษา

ถ่ายทอดความคิดเห็นของประชาชน พร้อมท้ังร่วมกันพิจารณากำหนดแนวทางการตอบสนอง

ความคดิ เห็นของประชาชน แลว้ รายงานผลใหท้ ราบทกุ เดอื น นน้ั


เนื่องจากการกำหนดแนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำป ี

๒๕๔๙ ก.พ.ร. ไดก้ ำหนดประเดน็ การประเมนิ ผลในภาพรวมเป็น ๔ มิติ ๑๖ ประเด็น ๒๐

ตัวชีว้ ัดโดยมิติท ่ี ๒ มติ ิด้านคณุ ภาพให้บรกิ าร ตัวชวี้ ัดท ่ี ๖ ไดแ้ ก่ ระดบั ความสำเร็จในการ

เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการ ข้ันตอนท่ ี ๔ ส่วน

ราชการมีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน (เป็นทางการและไม่เป็นทางการ) โดยมีการ

ดำเนนิ กจิ กรรมรว่ มกันอยา่ งต่อเนื่อง และชัดเจน และข้ันตอนที่ ๕ มีกระบวนการ / กลไก

ตรวจสอบโดยภาคประชาชน กรมท่ีดินพิจารณาแล้ว เพ่ือให้การปฏิบัติตามคำรับรองการ

ปฏบิ ัติราชการ ตามตัวชีว้ ัดท ่ี ๖ เปน็ ไปอย่างเปน็ รปู ธรรม กรมทดี่ นิ จึงจดั ทำโครงการแตง่ ตั้ง

คณะกรรมการท่ีปรึกษาสำนักงานที่ดินจังหวัดขึ้น ตามรายละเอียดโครงการท่ีแนบมาพร้อมน ้ี

และขอใหจ้ ังหวดั ดำเนินการดังน
ี้

๑. แจ้งให้สำนักงานที่ดินจังหวัดและสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา สรรหาคณะ
กรรมการ ที่ปรึกษาสำนักงานท่ีดินจังหวัด / สาขา ประกอบด้วย ที่ปรึกษาเจ้าพนักงานท่ีดิน
ปัจจุบัน (ท่ียังอยู่ในวาระ) และให้เพ่ิมเติมผู้แทนในคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด
องค์กรชุมชน คณาจารย์และผู้มีส่วนได้เสียภาคประชาชน (ชมรมธนาคาร หอการค้า
สหกรณ ์ เป็นต้น) ส่งให้กรมที่ดิน ภายในเดือนธันวาคม ๒๕๔๘ เพ่ือให้อธิบดีมีคำสั่ง
แต่งตัง้

๒. ให้คณะกรรมการท่ีปรึกษาสำนักงานที่ดินจังหวัด / สาขา ประชุมคณะ
กรรมการเดือนละ ๑ ครั้ง เพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ แล้วรายงานผลการประชุมและ
การดำเนินการของสำนักงานท่ีดนิ ให้กรมที่ดินทราบ ภายในวนั ที ่ ๕ ของทุกเดือน เพือ่ กรม
ทด่ี นิ จะไดร้ วบรวมประเมนิ ผลตามตัวชว้ี ดั ท ี่ ๖ ต่อไป



จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพจิ ารณาดำเนินการต่อไป



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชอื่ ) พีรพล ไตรทศาวทิ ย์

(นายพีรพล ไตรทศาวิทย์)

อธิบดกี รมทดี่ นิ







สำนักงานเลขานุการกรม

โทร. ๐ -๒๒๒๖-๓๐๗๓ มท. ๕๐๘๐๑ - ๑๒ ต่อ ๒๒๙

โทรสาร. ๐- ๒๒๒๓ - ๒๙๓๗

หน่วยงาน สำนักงานเลขานุการกรม กรมทีด่ ิน

แผนงาน พัฒนาระบบราชการ

โครงการ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการทีป่ รึกษาสำนักงานทด่ี ินจังหวัด



๑. หลักการและเหตุผล

๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ พระราช
บัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้มีบทบัญญัติเก่ียวกับการขยายสิทธิ
เสรีภาพ และการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมท้ังการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐเพิ่มมากขึ้น
เปน็ ผลใหป้ ระชาชนมีความตืน่ ตัวทางประชาธิปไตยสูง

๒. ในการกำหนดแนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำ
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ สำนกั งาน ก.พ.ร. ได้กำหนดประเด็นการประเมนิ ผลในภาพรวม
เป็น ๔ มิติ ๑๖ ประเด็น ๒๐ ตัวชี้วัด โดยตัวช้ีวัดท ี่ ๖ คือ ระดับความสำเร็จในการเปิด
โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการ โดยน้ำหนักร้อยละ ๓ จะ
พิจารณาจากการที่ส่วนราชการมีระบบการบริหารราชการท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามีส่วน
ร่วมในการตัดสินใจทางการบริหารและการดำเนินกิจการของรัฐ ท้ังทางตรงและทางอ้อม ใน
อันที่จะสนองตอบต่อความต้องการของตนเอง โดยพิจารณาความก้าวหน้าของขั้นตอนการ
ดำเนนิ งานตามเปา้ หมายแตล่ ะระดับ ดังนี้

ข้ันตอนท ่ี ๑ ส่วนราชการมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่าง
โปรง่ ใส อยา่ งนอ้ ย ๕ ชอ่ งทาง

ขั้นตอนท่ ี ๒ ส่วนราชการมีระบบการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่าง
น้อย ๓ ช่องทาง

ข้ันตอนที ่ ๓ ส่วนราชการมีการนำความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการ
บริหารงาน มีเจา้ หน้าทรี่ บั ผิดชอบ และมีการดำเนนิ การอยา่ งเป็นรูปธรรม

ขน้ั ตอนที่ ๔ ส่วนราชการมที ป่ี รึกษาท่ีมาจากภาคประชาชน (เป็นทางการและ
ไม่เปน็ ทางการ) โดยมีการดำเนินกิจการรมรว่ มกันอย่างต่อเน่ืองและชัดเจน

ขนั้ ตอนที่ ๕ มีกระบวนการ/กลไกการตดิ ตาม ตรวจสอบ โดยภาคประชาชน

แนวความคิด

จากหลักการและเหตุผลข้างต้น กรมท่ีดินพิจารณาแล้ว เห็นควรตั้งคณะ
กรรมการท่ีปรึกษาของสำนักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร / สาขา และ สำนักงานท่ีดินจังหวัด /
สาขา โดยคณะกรรมการควรประกอบด้วย ผู้แทนจาก สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้
บรโิ ภค ผูแ้ ทนองค์กรชมุ ชน คณาจารย ์ และภาคประชาชน เพื่อรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และใหค้ ำ
แนะนำเก่ยี วกบั ปัญหาที่เกดิ จากการบรหิ ารราชการกรมทด่ี นิ



วตั ถุประสงค์

การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานท่ีดินจังหวัดและสาขา มี
วตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้

๑. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร / สาขา/
ส่วนแยก สำนักงานท่ีดินจังหวัด / สาขา /ส่วนแยก และ สำนักงานที่ดินอำเภอ / ก่ิงอำเภอ
ได้รับทราบข้อมูลย้อนกลับจากประชาชนผู้มาติดต่องานโดยผ่านคณะกรรมการท่ีปรึกษาเจ้า
พนักงานท่ีดินจังหวัด ซ่ึงเป็นตัวแทนประชาชนในท้องถ่ิน อันจะเป็นผลให้เจ้าหน้าที่ได้ทราบ
ภาพลกั ษณข์ องตนเองโดยแนช่ ัด และ สามารถปรับปรงุ แก้ไขตนเอง และแก้ไขข้อบกพร่องใน
การปฏิบัติ ให้เป็นไปโดยถูกต้องตามทำนองคลองธรรม ตามความต้องการของประชาชนใน
ทอ้ งท
่ี
๒. เพื่อให้สำนกั งานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร / สาขา / ส่วนแยก สำนกั งานทดี่ นิ
จังหวัด / สาขา / ส่วนแยก และ สำนักงานท่ีดินอำเภอ / ก่ิงอำเภอ มีคณะกรรมการที่
ปรึกษา เป็นแนวร่วมในการปฏิบัติงาน โดยเม่ือได้มาร่วมกันรับทราบปัญหาข้อขัดข้องต่าง ๆ
แล้ว จะสามารถแบ่งเบาภาระในการช้ีแจงข้อเท็จจริงแก่ประชาชนผู้มาติดต่อแทนเจ้าหน้าท่ี
เพอ่ื ให้ทราบและเข้าใจปญั หาขอ้ ขดั ข้องดงั กล่าว ได้โดยปราศจากขอ้ เคลือบแคลงใจ



อำนาจหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการทป่ี รกึ ษาสำนักงานทดี่ นิ จงั หวดั / สาขา

อำนาจ หน้าท ่ี ของคณะกรรมการทีป่ รกึ ษาสำนกั งานทดี่ ินจงั หวัด มดี ังน้

(๑) สดับตรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนเกี่ยวกับการให้บริการของ
สำนักงานท่ีดินในพื้นท่ีรับผิดชอบ ในเร่ืองความประพฤติ การปฏิบัติตน การปฏิบัติราชการ
ความซอ่ื สตั ย ์ สุจริต โปรง่ ใส ในการให้บรกิ ารประชาชนของเจ้าหนา้ ทีท่ ี่ดิน

(๒) ให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับงานด้านการให้บริการประชาชน การปรับปรุง
สถานท่ี การจัดหาวัสดุอปุ กรณข์ องสำนักงานที่ดนิ ในพนื้ ทรี่ บั ผิดชอบ รวมทั้งบรรยากาศในการ
ทำงานและสง่ิ แวดล้อมในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทใ่ี นการให้บริการประชาชน

(๓) ให้ความชว่ ยเหลือในด้านการประชาสัมพันธ์ของสำนักงานทดี่ ินในพืน้ ที่รับ
ผิดชอบเพอื่ ใหป้ ระชาชนท่มี าใชบ้ รกิ ารไดม้ คี วามเขา้ ใจทด่ี ีและถูกต้อง

(๔) เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีเพื่อให้การ
บริการประชาชนเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

(๕) เสนอแนะในกิจการอื่น ๆ ท่ีเห็นสมควรให้เกิดผลดีต่อสำนักงานที่ดินใน
พ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ และกรมที่ดินในภาพรวม



คณุ สมบัติของคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนกั งานทดี่ นิ จงั หวัด / สาขา

การคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอให้เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานที่ดิน
จงั หวัด / สาขา ใหเ้ สนอแต่งตง้ั จากบคุ คลท่ีมีคุณสมบตั ิ ดงั นี

(๑) เป็นผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้แทนองค์กร
ชมุ ชน คณาจารย ์ ส่ือมวลชน และภาคประชาชน

(๒) เปน็ คนซ่ือสัตย์ และ มีศลี ธรรม

(๓) เปน็ ผทู้ ี่ได้รบั การยอมรบั นบั ถอื ในสังคม ชมุ ชนท้องถ่ิน

(๔) เป็นผ้ทู ่ปี ระกอบอาชีพสจุ รติ

(๕) เปน็ ผู้ท่ีไม่มเี บือ้ งหลงั ทีส่ ังคมรังเกียจ

โดยให้สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร และ สำนักงานท่ีดินจังหวัดและสาขา
สรรหาพิจารณาเสนอบุคคลท่ีมีคุณสมบัติดังกล่าว ผ่านจังหวัด เพ่ือให้อธิบดีกรมท่ีดินมีคำสั่ง
แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการท่ีปรึกษาสำนักงานท่ีดินจังหวัด ในจำนวนตามความเหมาะสมของ
แต่ละพน้ื ท
่ี


วาระการดำรงตำแหนง่ ของคณะกรรมการทป่ี รึกษาสำนกั งานทด่ี ินจังหวดั / สาขา

บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานท่ีดินจังหวัด /
สาขา มีวาระการดำรงตำแหน่งคนละ ๒ ป ี นับแต่วันท่ีมีคำสั่งแต่งต้ัง เม่ือครบวาระแล้ว
อาจได้รบั แต่งตั้งอีก

หากผ้ไู ดร้ ับแต่งตงั้ ถึงแกก่ รรม ลาออก หรือขาดคุณสมบัติ ตามที่กำหนดกอ่ น
ครบวาระการดำรงตำแหน่ง ให้สำนักงานที่ดิน ฯ เสนอบุคคลเพื่อแต่งต้ังให้เข้าดำรงตำแหน่ง
แทน และบุคคลน้ันจะดำรงตำแหน่งได้ไม่เกินระยะเวลาตามวาระท่ตี นเขา้ ดำรงตำแหนง่ แทน



สทิ ธิประโยชนต์ อบแทนคณะกรรมการทปี่ รกึ ษาสำนักงานทดี่ นิ จงั หวดั / สาขา

บุคคลท่ีได้รับแต่งต้ังเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานท่ีดินจังหวัด / สาขา

จะได้ รบั สทิ ธิประโยชนต์ อบแทน ดังนี

(๑) ประกาศแต่งตงั้ โดยอธิบดกี รมทด่ี ิน

(๒) มีบตั รแสดงการเป็นคณะกรรมการท่ปี รึกษาสำนกั งานทด่ี นิ จังหวดั พร้อม
รปู ถา่ ย ตดิ บตั ร ลงนามโดยอธบิ ดีกรมท่ดี นิ

(๓) มีสิทธิเข้าประชุมร่วมกับข้าราชการที่ดินในท้องท่ีเพ่ือแสดงความคิดเห็น
ตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั การปฏบิ ัติงานของเจา้ หน้าที่ทด่ี ินตามโอกาสอันควร

(๔) มสี ิทธเิ ขา้ ไปปฏิบัติหนา้ ท่ที ี่ปรกึ ษาของเจา้ พนกั งานท่ีดนิ จังหวดั เพ่อื ชว่ ย
ให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดชี้แจงและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องเก่ียวกับการปฏิบัติงานให้แก่
ประชาชนไดต้ ามทีเ่ ห็นสมควร

(๕) หากเห็นว่ามีเรื่องที่ไม่ถูกต้องเกิดข้ึนในสำนักงานท่ีดินจังหวัด / สาขา
จะตอ้ งรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการท่ีปรกึ ษาแจง้ เรอื่ งดงั กลา่ ว ไปยงั อธิบดีกรม
ทีด่ นิ ไดโ้ ดยตรง



การตดิ ตามประเมินผล

สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร / สาขา / และ สำนกั งานที่ดินจังหวัด / สาขา
จะต้องรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานที่ดินจังหวัดให้กรมที่ดิน
ทราบทกุ วนั ท ่ี ๕ ของเดือน



ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ

(๑) เจา้ หนา้ ที่ทีป่ ฏบิ ัติงานในสำนักงานท่ีดนิ ทกุ สำนักงาน มีภาพสะท้อนกลบั
ถึงตนเองว่าได้ปฏิบัติตนและปฏิบัติงานไปโดยถูกต้องและโดยชอบ ท้ังเป็นที่พึงพอใจของ
ประชาชนแล้วหรือไม่อันจะนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขตนเองและการปฏิบัติงานต่อไปได้โดย
รวดเรว็

(๒) เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานท่ีดินทุกสำนักงาน มีกำลังใจปฏิบัติ

งานเพ่ือประชาชนเพราะมีความรู้สึกว่า มีคณะกรรมการที่ปรึกษาสำนักงานท่ีดินจังหวัด เป็น

แนวร่วม ประกอบกับเมื่อต้องช้ีแจงข้อขัดข้องต่าง ๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานให้ประชาชน

ทราบ โดยเฉพาะปัญหาเรื่องสำคัญ ๆ ก็จะมีท่ีปรึกษาเป็นตัวแทนประชาชนในท้องท่ีช่วย

อธิบาย ตอบปัญหา แก้ไขข้อขัดข้องใหง้ านสำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยความราบรื่น




ผูเ้ สนอโครงการ (ลงชอื่ ) ธำรงศกั ดิ์ ธำรงสิริภาคย์


(นายธำรงศักดิ์ ธำรงสิรภิ าคย)์


เจา้ หนา้ ท่วี เิ คราะห์ นโยบายและแผน ๘ ว รกั ษาราชการแทน


เลขานกุ ารกรม




ผู้เห็นชอบโครงการ (ลงช่อื ) ประทีป เจรญิ พร


(นายประทีป เจรญิ พร)


รองอธบิ ดกี รมท่ดี ิน




ผู้อนมุ ัติโครงการ (ลงชื่อ) พรี พล ไตรทศาวิทย


(นายพีรพล ไตรทศาวิทย์)


อธบิ ดกี รมทดี่ นิ

บนั ทกึ ขอ้ ความ

ส่วนราชการ สำนักงานเลขานกุ ารกรม ฝา่ ยชว่ ยอำนวยการนักบรหิ าร


โทร. ๐ - ๒๒๒๑-๑๘๒๕ (๔๑๕,๒๒๒)


ท่ ี มท ๐๕๐๑.๒/ ๑๒๓๖๙ วนั ท ี่ ๘ ธนั วาคม ๒๕๔๘

เรอ่ื ง การดำเนนิ การเรอื่ งราวรอ้ งทกุ ขก์ ลา่ วโทษและแจ้งเบาะแสการกระทำทผ่ี ิดกฎหมาย

เรียน อธบิ ด





ดว้ ยสำนักงานปลัดสำนักนายกรฐั มนตรี ได้กำหนดหลักเกณฑ์ ข้นั ตอนและวธิ ี

การดำเนินการเร่ืองราวร้องทุกข์กล่าวโทษและแจ้งเบาะแสการกระทำผิดกฎหมายท่ีประชาชน

ย่ืนคำร้องต่อนายกรัฐมนตรีรวมทั้งกำชับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานให้ดำเนินการด้วยความ

ระมัดระวังและละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ความคุ้มครองผู้ร้องและผู้ท่ีเก่ียวข้อง มิให้ต้องรับภัย

หรือความไม่ชอบธรรมจากการร้องทุกข์กล่าวโทษและแจ้งเบาะแสการกระทำผิดกฎหมายโดย

ใหป้ ฏิบัตติ ามมติคณะรัฐมนตรีเมอ่ื วันที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๑ ดังน้


๑. ในเบ้อื งต้นใหถ้ อื เปน็ ความลับของทางราชการ หากเปน็ บัตรสนเท่ห์ใหพ้ ิจารณา

เฉพาะรายทร่ี ะบุหลกั ฐาน กรณแี วดลอ้ มปรากฎชัดแจง้ ตลอดจนชี้พยานบคุ คลแน่นอน


๒. ส่งสำเนาเร่ืองโดยปกปิดช่ือผู้ร้องให้ส่วนราชการและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง

ดำเนนิ การในทางลับ


๓. ขอให้ส่วนราชการและหน่วยงานเจ้าของเรื่องแจ้งให้ผู้ร้องกับสำนักงานปลัด

สำนักนายกรัฐมนตรีทราบในทางลับ หลังจากได้รับเร่ืองและภายหลังการสืบสวนไม่เกิน ๑๕

วัน โดยหากปรากฎว่ามีความจริงอันเป็นกรณีความผิดกฎหมายบ้านเมืองให้ดำเนินคดีอาญา

และถ้าปรากฎมีมูลความจริงเป็นกรณีความผิดทางวินัย ให้ดำเนินการสอบสวนหรือต้ัง

กรรมการสอบสวนไปตามพระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕


๔. ให้มีการคุ้มครองผู้ร้องและผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่าให้ต้องรับภัยหรือความไม่ชอบ

ธรรม ซึ่งอาจเน่อื งมาจากการรอ้ งเรียน การเปน็ พยาน หรอื การใหข้ อ้ มูลน้นั โดยประสานขอ

ความร่วมมอื ให้สว่ นราชการและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องถือปฏิบัตอิ ยา่ งเครง่ ครัด รวมทั้งใหม้ กี าร

พจิ ารณาดำเนินการเปน็ กรณพี เิ ศษเฉพาะเรอื่ งดงั นี


๔.๑ กรณที เ่ี กยี่ วข้องกับความม่ันคงของประเทศ


เห็นควรส่งเรื่องใหส้ ภาความมั่นคงแห่งชาตพิ ิจารณาดำเนินการตอ่ ไป


๔.๒ กรณีที่อาจมีผลกระทบตอ่ ชีวติ และความปลอดภัยของผรู้ ้อง


เห็นควรสรุปสาระสำคัญตามคำร้องเฉพาะที่หน่วยงานเจ้าของเรื่องจะ

สามารถนำไปพจิ ารณาดำเนินการต่อไปได้ โดยไม่นำสง่ เอกสารคำร้องตน้ ฉบับ รวมท้ังหากมี

10

ความจำเป็นเห็นควรประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้การคุ้มครองผู้ร้องเป็นพิเศษรายกรณี
ด้วย ท้ังนี้ หากหน่วยงานเจ้าของเร่ืองประสานร้องขอทราบข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมให้
พจิ ารณาเปน็ รายกรณ

๔.๓ กรณที ่อี าจเกีย่ วข้องกบั คดีหรือทำใหเ้ ป็นคดีความได

เห็นควรแจ้งรายละเอียดเฉพาะท่ีหน่วยงานเจ้าของเรื่องจะสามารถนำ
ไปพิจารณาดำเนินการต่อไปได้ โดยอาจมีการปกปิดข้อความตามคำร้องบางส่วนด้วยก็ได้
ท้ังนี้ หากหน่วยงานเจ้าของเร่ืองประสานร้องขอทราบข้อมูลรายละเอียดเพ่ิมเติมให้พิจารณา
เป็นรายกรณ

๔.๔ กรณที ี่เกย่ี วข้องกับเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ

เห็นควรส่งเร่ืองให้หัวหน้าส่วนราชการท่ีสูงหรือเหนือกว่าส่วนราชการ
ต้นสังกัดของผู้ถูกร้อง และส่งเรื่องให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในการ
สืบสวนหรอื สอบสวนเรื่องรอ้ งเรยี นของสว่ นราชการหรอื หน่วยงานนน้ั เปน็ การเฉพาะดว้ ย

ทงั้ น้ี หากขา้ ราชการหรอื เจา้ หนา้ ท่ีไม่ปฏิบตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ ์ ขน้ั ตอน
และวิธีการทก่ี ำหนด ใหถ้ ือวา่ ละเวน้ การปฏิบตั ิหน้าท ่ี หรือประมาทเลินเลอ่ เป็นเหตุใหร้ าชการ
เสียหายและใหม้ กี ารดำเนินการทางวนิ ัย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และสำนักงานเลขานุการกรม จะได้เวียนแจ้งให้
สำนกั / กอง และจังหวดั ทกุ จงั หวัดถอื ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางดังกล่าวต่อไป



(ลงชอื่ ) ธำรงศกั ด์ิ ธำรงสิริภาคย์

(นายธำรงศักด์ ิ ธำรงสิริภาคย)์

เจา้ หน้าทว่ี เิ คราะหน์ โยบายและแผน ๘ว รกั ษาราชการแทน

เลขานกุ ารกรม




















11

(สำเนา)


ที่ นร ๐๑๐๔.๓๓/ว ๖๘๑๒ สำนักนายกรัฐมนตร


ทำเนยี บรฐั บาล กทม. ๑๐๓๐๐

๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๘

เรอ่ื ง การดำเนนิ การเรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ขก์ ลา่ วโทษและแจ้งเบาะแสการกระทำทผี่ ดิ กฎหมาย

เรยี น อธิบดกี รมท่ีดิน

สิ่งท่สี ง่ มาดว้ ย สำเนาหนังสอื สำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๖ / ว ๒๑๘


ลงวนั ที ่ ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๔๑ และเอกสารประกอบ จำนวน ๗ แผน่





ด้วย สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตร ี โดยศูนย์บริการประชาชนมีภารกิจ

ในการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ของประชาชนท่ียื่นคำร้องต่อนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและ

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรฐั มนตร ี โดยเฉพาะการดำเนินการเรอ่ื งราวร้องทกุ ข์กล่าวโทษและ

แจ้งเบาะแสการกระทำที่ผิดกฎหมาย ซ่ึงสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้ส่งเรื่องให้

หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องพิจารณาหรอื พจิ ารณาตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ แล้วแจง้ ผลให้ทราบ เพอ่ื นำ

กราบเรียนนายกรัฐมนตร ี นำเรียนรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

ต่อไป


เมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ เลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้เชิญรอง

เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรีฝ่ายการเมือง (พลโท ปรชี า วรรณรัตน)์ ปลัดสำนกั นายกรัฐมนตรี

ผู้อำนวยการศูนย์บริการประชาชน และคณะกรรมการติดตามและประสานงานตามการส่ังการ

ของนายกรัฐมนตรี (คตส.นรม.) บ้านพิษณุโลก ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับแนวทาง

การดำเนินการเรอ่ื งราวร้องทุกขก์ ล่าวโทษและแจง้ เบาะแสการกระทำที่ผดิ กฎหมายทีป่ ระชาชน

ย่ืนคำร้องต่อนายกรัฐมนตร ี และมีบัญชาให้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ ข้ันตอนและวิธีการ

ดำเนินการ รวมทั้งกำชับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้ดำเนินการด้วยความระมัดระวังและละเอียด

รอบคอบ เพ่ือให้ความคุ้มครองผู้ร้องและผู้เก่ียวข้อง มิให้ต้องรับภัยหรือความไม่ชอบธรรม

จากการร้องทกุ ข์กลา่ วโทษและแจง้ เบาะแสการกระทำที่ผิดกฎหมายดงั กล่าว


12

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้การดำเนินการ
เร่ืองราวร้องทุกข์ กล่าวโทษและแจ้งเบาะแสการกระทำท่ีผิดกฎหมายหรือเกี่ยวข้องกับความ
ม่ันคงของประเทศท่ีประชาชนยื่นคำร้องต่อนายกรัฐมนตรีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และผู้
ร้องมีความเชื่อม่ันในการดำเนินการของส่วนราชการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จึงเห็นควรให้
ปฏบิ ตั ิตามมตคิ ณะรัฐมนตรเี มื่อวันท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๑ รายละเอยี ดปรากฏตามส่ิงท่ีสง่
มาด้วยและกำหนดหลักเกณฑ์ ขนั้ ตอนและวิธดี ำเนินการ ดงั นี

๑. ในเบื้องต้นให้ถือเป็นความลับของทางราชการ หากเป็นบัตรสนเท่ห์ให้
พิจารณาเฉพาะรายที่ระบุหลักฐาน กรณีแวดล้อมปรากฏชัดแจ้ง ตลอดจนช้ีพยานบุคคล
แนน่ อน

๒. ส่งสำเนาเรื่องโดยปกปิดชื่อผู้ร้องให้ส่วนราชการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ดำเนนิ การในทางลับ

๓. ขอให้ส่วนราชการและหน่วยงานเจ้าของเร่ืองแจ้งให้ผู้ร้องกับสำนักงานปลัด
สำนักนายกรัฐมนตรีทราบในทางลับ หลังจากได้รับเรื่องและภายหลังการสืบสวนไม่เกิน ๑๕
วนั โดยหากปรากฏวา่ มีความจรงิ อนั เปน็ กรณคี วามผดิ กฎหมายบ้านเมืองใหด้ ำเนนิ คดอี าญา
และถ้าปรากฏมีมูลความจริงเป็นกรณีความผิดทางวินัย ให้ดำเนินการสอบสวนหรือตั้ง
กรรมการสอบสวนไปตามพระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕

๔. ให้มกี ารคุม้ ครองผู้รอ้ งและผู้ทีเ่ กยี่ วข้อง อย่าใหต้ ้องรับภัยหรือความไม่ชอบ
ธรรม ซึง่ อาจเนอื่ งมาจากการร้องเรียน การเป็นพยาน หรอื การใหข้ อ้ มลู นน้ั โดยประสานขอ
ความร่วมมอื ให้สว่ นราชการและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด รวมทงั้ ให้มกี าร
พิจารณาดำเนนิ การเปน็ กรณีพเิ ศษเฉพาะเรอื่ ง ดังน้

๔.๑ กรณที ี่เก่ียวขอ้ งกบั ความม่นั คงของประเทศ

เหน็ ควรส่งเรอื่ งให้สภาความม่นั คงแหง่ ชาตพิ จิ ารณาดำเนนิ การตอ่ ไป

๔.๒ กรณีท่ีอาจมีผลกระทบตอ่ ชวี ติ และความปลอดภยั ของผรู้ อ้ ง

เห็นควรสรุปสาระสำคัญตามคำร้องเฉพาะท่ีหน่วยงานเจ้าของเร่ืองจะ
สามารถนำไปพิจารณาดำเนนิ การต่อไปได้ โดยไม่นำส่งเอกสารคำรอ้ งตน้ ฉบบั รวมทั้งหากมี
ความจำเป็นเห็นควรประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือให้การคุ้มครองผู้ร้องเป็นพิเศษรายกรณี
ด้วย ท้ังน ้ี หากหน่วยงานเจ้าของเร่ืองประสานร้องขอทราบข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมให้
พิจารณาเปน็ รายกรณ

๔.๓ กรณีทีอ่ าจเกย่ี วข้องกับคดีหรอื ทำใหเ้ ป็นคดคี วามได

เห็นควรแจ้งรายละเอียดเฉพาะที่หน่วยงานเจ้าของเร่ืองจะสามารถนำ
ไปพิจารณาดำเนินการต่อไปได้ โดยอาจมีการปกปิดข้อความตามคำร้องบางส่วนด้วยก็ได้

13

ทั้งน ี้ หากหน่วยงานเจ้าของเร่ืองประสานร้องขอทราบข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมให้พิจารณา
เปน็ รายกรณ

๔.๔ กรณีท่เี กย่ี วข้องกับเจ้าหน้าทข่ี องรฐั

เห็นควรส่งเรื่องให้หัวหน้าส่วนราชการที่สูงหรือเหนือกว่าส่วนราชการ
ต้นสังกัดของผู้ถูกร้อง และส่งเร่ืองให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าท่ีในการ
สบื สวนหรอื สอบสวนเร่อื งร้องเรยี นของสว่ นราชการหรือหนว่ ยงานนน้ั เปน็ การเฉพาะด้วย

ทั้งน ้ี หากขา้ ราชการหรือเจา้ หน้าท่ไี มป่ ฏิบัติใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ ์ ข้นั ตอน
และวิธีการดังกล่าว ให้ถือว่าละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ หรือประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ราชการ
เสียหาย เหน็ ควรใหม้ ีการดำเนนิ การทางวินัย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และขอให้ถือปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวด้วย
จกั ขอบคณุ ย่งิ



ขอแสดงความนับถือ

(ลงชื่อ) รองพล เจริญพันธ์

(นายรองพล เจรญิ พันธ)ุ์

ปลดั สำนักนายกรฐั มนตร







สำนกั งานปลดั สำนักนายกรัฐมนตรี

ศูนย์บรกิ ารประชาชน E-mail : [email protected]

โทร. ๐๒๒๘๓ ๑๒๙๔-๖ โทรสาร ๐๒๒๘๑ - ๔๓๕๘





















14

(สำเนา)


ท่ี นร ๐๒๐๖./ว ๒๑๘ สำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร


ทำเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐


๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑

เรอ่ื ง หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการและการ


สอบสวนเร่อื งราวรอ้ งเรียนกลา่ วโทษขา้ ราชการวา่ กระทำผิดวินัย

เรยี น กระทรวง ทบวง กรม

สิง่ ทสี่ ่งมาด้วย ๑. บัญชีรายชื่อมติคณะรัฐมนตรี/คำส่ังนายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการร้อง


เรียนกล่าวโทษ ข้าราชการและการสอบสวนเรื่องราวร้องเรียนกล่าว


โทษข้าราชการวา่ กระทำผดิ วินยั ที่ยกเลกิ


๒. สำเนาหนงั สือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ท่ี มท ๐๒๐๘.๓/๙๑๒๕


ลงวันท ่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑


๓. สำเนาหนังสอื สำนักงาน ก.พ. ท่ี นร ๐๗๐๙.๒/๕๘๐


ลงวนั ที ่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๑


๔. สำเนาหนงั สือสำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ท่ี นร ๐๖๐๑/๒๕๖๕


ลงวันท ่ี ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๐





เดิมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเกี่ยวกับระเบียบการสอบสวนเรื่องราวร้องกล่าวโทษ

ข้าราชการว่ากระทำผิดวินัยและการรับพิจารณาบัตรสนเท่ห์ จำนวน ๒ ฉบับ และคำส่ัง

นายกรัฐมนตรีเก่ียวกับการสอบสวนเรื่องราวร้องทุกข์กล่าวโทษข้าราชการ จำนวน ๑ ฉบับ

ตามส่ิงท่ีสง่ มาด้วย ๑


สำนกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรพี ิจารณาเห็นว่า มตคิ ณะรัฐมนตรีและคำสงั่ นายก

รัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการและ

การสอบสวนเร่ืองราวร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการว่ากระทำผิดวินัยดังกล่าว ได้ถือปฏิบัติมา

นานแล้ว สมควรนำมติคณะรัฐมนตรีและคำส่ังนายกรัฐมนตรีดังกล่าวมารวบรวม ปรับปรุง

แก้ไข และยกร่างเป็นหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติในเร่ืองน้ีใหม่ ให้มีความสมบูรณ์อยู่ใน

ฉบับเดยี วกัน โดยมีความสอดคลอ้ งกบั หลกั การของกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง มขี ้ันตอนการปฏิบัติ

ที่ละเอียดชัดเจน สะดวกในการอ้างอิงและเหมาะสมในการถือปฏิบัต ิ สำนักเลขาธิการคณะ

รัฐมนตรีจึงได้นำหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการและ

การสอบสวนเรื่องราวร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการว่ากระทำผิดวินัย ตามมติคณะรัฐมนตรี

15

และคำสงั่ นายกรฐั มนตรีดงั กล่าว มากำหนดขึ้นใหม่ ซง่ึ กระทรวงมหาดไทย สำนกั งาน ก.พ.
และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้เสนอความเห็นมาเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะ
รัฐมนตรีด้วยและสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาความเห็นดังกล่าวแล้ว เห็นสมควร
ปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรีและคำสั่งนายกรัฐมนตรีดังกล่าวโดยพิจารณายกเลิกมติคณะรัฐมนตรี
และคำสั่งนายกรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวข้องท้ัง ๓ ฉบับ และกำหนดหลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติ
เก่ียวกับการร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการและการสอบสวนเรื่องราวร้องเรียนกล่าวโทษ
ขา้ ราชการว่ากระทำผดิ วินัยข้ึนใหม่ ดังน
้ี
๑. เมื่อผู้บังคับบัญชาได้รับเร่ืองราวกล่าวโทษข้าราชการ ในเบ้ืองต้น ให้ถือเป็น
ความลับทางราชการ หากเป็นบัตรสนเท่ห์ ให้พิจารณาเฉพาะรายที่ระบุหลักฐาน กรณีแวด
ลอ้ มปรากฎชดั แจ้ง ตลอดจนชพี้ ยานบุคคลแนน่ อนเท่านั้น

๒. สง่ สำเนาเรอ่ื งราวกล่าวโทษข้าราชการโดยปิดชอื่ ผรู้ ้องหรือสำเนาบตั รสนเทห่ ใ์ ห

ผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกกล่าวโทษทำการสืบสวนทางลับว่ามีมูลความจริงเพียงใด หรือไม ่
ถ้าเหน็ วา่ กรณไี มม่ ีมลู ท่คี วรกลา่ วหาว่ากระทำผดิ วินยั จึงจะยตุ ิเรือ่ งได้ ท้งั น้ี ใหร้ ีบดำเนนิ การ
ใหแ้ ล้วเสร็จโดยเร็ว แล้วรายงานให้ผบู้ งั คบั บัญชาทไี่ ดร้ บั เรอ่ื งราวทราบ

๓. ให้ผู้บังคับบัญชาที่เป็นผู้ได้รับเร่ืองราวฯ แจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบในทางลับ
หลังจากทีไ่ ด้รับเร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์ และภายหลังการสืบสวนในเวลาอนั สมควร

๔. ถ้าปรากฎวา่ มีความจริงอันเปน็ กรณคี วามผิดทางกฎหมายบ้านเมือง ใหด้ ำเนิน
คดีทางอาญา ถ้าปรากฎมีมูลความจริงเป็นกรณีความผิดทางวินัย ให้ดำเนินการสอบสวน
หรอื ต้ังกรรมการสอบสวนไปตามพระราชบญั ญตั ิระเบยี บราชการพลเรอื น

๕. ให้ผู้บังคับบัญชาใช้ดุลพินิจส่ังการท่ีสมควรเพ่ือคุ้มครองผู้ร้องและพยานอย่าให้
ตอ้ งรบั ภยั หรือความไม่ชอบธรรม ซงึ่ อาจเนือ่ งมาจากการร้องเรยี นหรือการเปน็ พยานนนั้

๖. ในการดำเนินการตามขั้นตอนสืบสวนในทางลับเพ่ือหาข้อเท็จจริงหากเจ้าหน้าท่ีผู้
สืบสวน ในทางลับได้กระทำละเมิดต่อข้าราชการผู้ถูกกล่าวโทษหรือบุคคลภายนอกและความ
เสียหายดังกล่าวเกิดขึ้นจากการกระทำในหน้าที่แม้มิได้กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
อย่างร้ายแรง หน่วยงานต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายตามหลักเกณฑ์ในพระ
ราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงขอเสนอคณะรัฐมนตรี
พจิ ารณาตอ่ ไป ความละเอยี ดปรากฎตามสิง่ ทีส่ ง่ มาดว้ ยน้ี

คณะรัฐมนตรีได้ประชมุ ปรึกษาเมอ่ื วนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๑ ลงมตวิ ่า

๑. อนมุ ตั ิให้ยกเลิกคำสั่งนายกรฐั มนตร ี เรอ่ื ง การสอบสวนเร่ืองราวรอ้ งทกุ ขก์ ลา่ ว
โทษข้าราชการ มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที ่ ๒๑ สิงหาคม ๒๔๙๖ เรื่อง ระเบียบการ
สอบสวนเรื่องราวร้องกล่าวโทษข้าราชการว่ากระทำผิดวินัย และมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท ี่

16

๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ เรอ่ื ง บตั รสนเท่ห์ ๓ ฉบบั

๒. เห็นชอบหลักเกณฑ์และแนวทางปฎิบัติเก่ียวกับการร้องเรียนกล่าวโทษ
ข้าราชการและการสอบสวนเรื่องราวร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการว่ากระทำผิดวินัย ตามท่ี
สำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรเี สนอ โดยปรบั ปรงุ ขอ้ ๕ เปน็ วา่ “ให้ผูบ้ ังคับบญั ชาใชด้ ลุ พินิจ
ส่ังการที่สมควรเพื่อคุ้มครองผู้ร้อง พยาน และบุคคลท่ีให้ข้อมูลในการสืบสวนสอบสวน อย่า
ให้ต้องรับภัยหรือความไม่ชอบธรรม ซึ่งอาจเนื่องมาจากการร้องเรียน การเป็นพยาน หรือ
การใหข้ ้อมูล นั้น” และให้ส่วนราชการถือปฏบิ ตั ิต่อไป

จึงเรียนยืนยันมา/จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และขอได้โปรดแจ้งให้ส่วน
ราชการในสังกัดทราบและถอื ปฏบิ ตั ติ ่อไป



ขอแสดงความนับถือ

(ลงชอื่ ) วิษณุ เครอื งาม

(นายวิษณุ เครอื งาม)

เลขาธิการคณะรฐั มนตรี







สำนักบริหารงานสารสนเทศ





























17

(สำเนา)


ที่ นร ๐๗๐๙.๒/ว ๕๘๐ สำนกั งาน ก.พ.


ถนนพษิ ณโุ ลก กท ๑๐๓๐๐


๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๑

เรื่อง การรอ้ งเรียนกลา่ วโทษขา้ ราชการและการสอบสวน

เรยี น เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตร

อา้ งถงึ หนังสือสำนกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร ๐๒๐๖/๑๕๙๒๑


ลงวนั ท ี่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๐





ตามหนังสือที่อ้างถึง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งว่าได้พิจารณาหนังสือ

เวียนเกี่ยวกับการร้องเรียนมายังหน่วยงานของรัฐ และระเบียบการสอบสวนเรื่องราวร้องเรียน

กล่าวโทษข้าราชการวา่ กระทำผดิ วนิ ัย จำนวน ๓ ฉบบั แล้วเหน็ ควรนำมารวบรวมไวใ้ นฉบบั

เดียวกัน และปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติมให้เป็นปัจจุบันเพ่ือถือปฏิบัติต่อไป ท้ังน้ ี ได้ขอให้

สำนักงาน ก.พ. พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวด้วย ความละเอียดแจ้งแล้ว

น้ัน


สำนักงาน ก.พ. ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

จะพิจารณาปรับปรุงหนังสือเวียนมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการร้องเรียนมายังหน่วยงานของรัฐ

ระเบียบการสอบสวนเรื่องราวร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการว่ากระทำผิดวินัย และการรับ

พิจารณาบัตรสนเท่ห ์ โดยเห็นควรนำมารวมไว้เป็นฉบับเดียวกัน และแก้ไขเพิ่มเติมให้เป็น

ปัจจุบันเพื่อซักซ้อมให้เกิดความเข้าใจและถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกันน้ัน นับว่าเป็นเร่ืองท่ี

สมควรจะดำเนนิ การเปน็ อย่างยิง่ อยา่ งไรกต็ าม สำนักงาน ก.พ. มขี ้อสงั เกตบางประการที่

ขอเรยี นเพือ่ ประกอบการพิจารณาดำเนินการดังนี้


๑. หลักการสืบสวนก่อนดำเนินการทางวินัยท่ีปรากฎในหนังสือเวียนทั้ง

๓ ฉบับ เป็นการกำหนดทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพบเรือน

พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งยกเลิกไปแล้ว แต่ปัจจุบัน กระบวนการสืบสวนได้ถูกกำหนดไว้ในมาตรา

๙๙ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ แล้ว จึงไม่มี

ความจำเป็นจะตอ้ งนำมากำหนดในหนงั สอื เวียนหรอื ระเบียบฉบบั ใหมน่ ี้อกี


๒. กรณีให้ส่งสำเนาเร่ืองราวร้องเรียนกล่าวโทษข้าราชการโดยปกปิดชื่อผู้ร้อง

หรือสำเนาบัตรสนเท่ห์ให้ผู้บังคับบัญชาไม่ต่ำกว่าระดับ ๗ ของผู้กล่าวโทษ ทำการสืบสวน

ทางวินยั วา่ มมี ลู ความจรงิ เพยี งใดนนั้ สำนกั งาน ก.พ. เขา้ ใจว่าความในประกาศนีค้ งจะหมาย

18

ถึงผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกกล่าวโทษ และมีความเห็นในกรณีนี้ว่า ไม่ควรกำหนดระดับของผู้

บังคับบัญชาผู้ทำการสืบสวนไว้ เพราะตามมาตรา ๙๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ

ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดให้เป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาท่ีจะต้องทำการ

สืบสวนและใช้ดุลพินิจว่าจะสมควรดำเนินการทางวินัยหรือไม่ ดังนั้น หากข้าราชการผู้ใดมี

ฐานะเป็นผู้บังคับบัญชา ไม่ว่าจะดำรงตำแหน่งระดับใดก็ตาม ก็ย่อมถือเป็นผู้มีหน้าท่ีตาม

กฎหมายอย่แู ล้ว นอกจากน้นั การไมก่ ำหนดระดบั ตำแหน่งของผู้บังคับบัญชาไว้จะทำใหก้ าร

สืบสวนคลอ่ งตัวขน้ึ


๓. สำนกั งาน ก.พ. เหน็ วา่ การกำหนดระยะเวลาสืบสวนใหแ้ ลว้ เสร็จภายใน ๓๐

วนั อาจจะทำให้การสบื สวนเร็วข้นึ แต่ในบางเรื่องทม่ี ขี อ้ มูลมาก ผสู้ บื สวนอาจจะดำเนนิ การ

ไม่ทันภายในกำหนดเวลา จึงไม่ควรกำหนดระยะเวลาตายตัว แต่ควรใช้คำว่า “รีบ” ใน

ระเบยี บเพื่อเปน็ การบง่ บอกเจตนารมณใ์ นการท่ีจะเรง่ รดั ใหม้ กี ารสบื สวนให้เสร็จโดยเร็วท่สี ดุ





นอกเหนือจากขอ้ สังเกตดงั กล่าวขา้ งตน้ แล้ว สำนกั งาน ก.พ. เหน็ ด้วยกับมาตรการ

นี้เพราะการกำหนดมาตรการเพอื่ ค้มุ ครองผูร้ ้องดังกล่าว จะทำให้ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมใน

การตรวจสอบการทำงานของข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมากยิ่งข้ึน เน่ืองจากผู้ร้องไม่ต้อง

กงั วลกบั การที่จะตอ้ งไดร้ ับโทษภัยหรือความไม่ชอบธรรมท้ังปวงดว้ ย


จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ





ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงช่อื ) สมี า สีมานันท


(นายสมี า สีมานันท)์


รองเลขาธิการ ก.พ. ปฏบิ ตั ิราชการแทน


เลขาธกิ าร ก.พ.











สำนกั เสรมิ สร้างวินยั และรกั ษาระบบคุณธรรม


กลุ่มรักษามาตรฐานวินัย


โทร. ๒๘๑๘๖๗๗







19

(สำเนา)


ที่ นร ๐๖๐๑/๒๕๖๕ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


ท่าช้างวังหนา้ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐


๑๖ ธนั วาคม ๒๕๔๐

เรอื่ ง การร้องเรยี นกลา่ วโทษข้าราชการและการสอบสวน

เรียน เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี


อา้ งถึง หนงั สอื สำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ด่วนมาก ที่ นร ๐๒๐๖/๑๕๙๒๒


ลงวนั ท ี่ ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๔๐





ตามหนังสือท่ีอ้างถึง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเห็นควรแก้ไขเพ่ิมเติม

ระเบียบการสอบสวนเรื่องราวร้องกล่าวโทษข้าราชการกระทำผิดวินัย และขอให้สำนักงาน

คณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นในประเด็นทางกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับพระราชบัญญัติวิธี

ปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และพระราชบญั ญตั ิความรับผิดทางละเมิดของเจ้า

หน้าท่ ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ความละเอยี ดแจ้งแล้ว นัน้


สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาแล้วขอเรียนว่า ข้ันตอนต่างๆ

เกี่ยวกับการสืบสวนในทางลับเพ่ือหาข้อเท็จจริงว่ามีมูลตามท่ีถูกร้องเรียนหรือไม่โดยยังไม่มี

การตั้งคณะกรรมการสอบสวนความผิดทางวินัย เป็นเพียงขั้นตอนทางบริหารภายในของฝ่าย

ปกครองเท่านั้น มิใช่ขั้นตอนการทำคำสั่งทางปกครอง จึงไม่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติวิธี

ปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙


อน่ึง ในการดำเนินการตามข้ันตอนสืบสวนในทางลับเพ่ือหาข้อเท็จจริงนั้น

หากเจ้าหน้าท่ีผู้สืบสวนในทางลับได้กระทำละเมิดต่อข้าราชการผู้ถูกกล่าวโทษหรือบุคคล

ภายนอก หากความเสียหายดังกล่าวเกิดขึ้นจากการกระทำในหน้าท่ีและมิได้กระทำโดยจงใจ

หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหน่วยงานต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย

ตามหลักเกณฑ์ในพระราชบัญญตั คิ วามรับผดิ ทางละเมิดของเจา้ หน้าท ่ี พ.ศ. ๒๕๓๙




















20

จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ



ขอแสดงความนับถอื

(ลงช่ือ) อกั ขราทร จุฬารตั น

(นายอกั ขราทร จุฬารตั น)

เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา






ฝ่ายวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง

โทร. ๒๒๒๐๒๐๖- ๙ ต่อ ๔๐๔













































21

ด่วนมาก
(สำเนา)


ที่ นร ๐๒๐๘.๓/๙๑๒๕ กระทรวงมหาดไทย


ถนนอัษฎางค ์ กท ๑๐๒๐๐


๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑

เร่อื ง การร้องเรยี นกล่าวโทษขา้ ราชการและการสอบสวน

เรียน เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี

อ้างถึง หนงั สือสำนักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ดว่ นมาก ที่ นร ๐๒๐๖/๑๕๙๒๐


ลงวันท่ี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๐


ตามหนังสือทีอ่ ้างถึง สำนกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรีเห็นควรยกเลกิ หนงั สือเวยี น

รวม ๓ ฉบับและแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบการสอบสวนเรื่องราวกล่าวโทษข้าราชการกระทำผิด

วินยั เพ่อื ถือปฏิบัตโิ ดยขอให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเสนอความเห็น น้นั


กระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาข้อมูลข้างต้นแล้ว เห็นด้วยกับการยกเลิก

หนังสือเวียนและการแก้ไขเพื่มเติมระเบียบการสอบสวนเร่ืองราวร้องทุกข์กล่าวโทษข้าราชการ

กระทำผดิ วนิ ยั ตามท่ีสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแกไ้ ขทุกประการ


จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและดำเนนิ การต่อไป





ขอแสดงความนับถอื

(ลงชอ่ื ) พลตรี สน่ัน ขจรประศาสน


(สนนั่ ขจรประศาสน)์


รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย






















สำนกั งานปลดั กระทรวง


คณะตรวจราชการและเรอื่ งราวร้องทกุ ข์


โทร/โทรสาร ๒๒๑๑๑๓๓


22

(สำเนา)




ที่ มท ๐๕๐๑.๒/ว ๔๐๒๖๕ กรมทีด่ นิ

ถนนพระพพิ ธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๒๙ ธันวาคม ๒๕๔๘

เรอ่ื ง การจดั เตรียมและประสานข้อมูลโครงการกระจกชาวดิน

เรยี น ผ้วู ่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด



ด้วยกรมที่ดิน ได้เปิดช่องทางการส่ือสารกับประชาชน เพ่ือสะท้อนแนวคิด
ความต้องการของประชาชน และเปิดโอกาสให้เข้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการบริหาร
รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเพื่อปรับปรุงพัฒนาการบริหารตามโครงการ “กระจกชาวดิน” ซึ่ง
ประกอบดว้ ย การดำเนนิ งาน ดังน
้ี
๑. กรมท่ีดินได้แต่งตั้งคณะกรรมการท่ีปรึกษาสำนักงานที่ดินจังหวัดและสาขา
จากผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ เช่น จากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ผู้แทน
องค์กรชุมชน คณาจารย์และมีผู้มีส่วนได้เสียภาคประชาชน เช่น ชมรมธนาคาร หอการค้า
สหกรณ์ เป็นต้น กลุ่มคนเหล่านี้จะเป็นตัวแทนของประชาชนในการสะท้อนแนวคิด และ
ความต้องการของประชาชน ซ่ึงการดำเนินงานของคณะกรรมการท่ีปรึกษาสำนักงานที่ดิน
จังหวัด / สาขา จะร่วมกันประชุมเพ่ือดำเนินการตามอำนาจหน้าท่ีแล้วรายงานผลการประชุม
และการดำเนินการของสำนักงานท่ีดินให้กรมท่ีดินทราบภายในวันท ่ี ๕ ของทุกเดือน หาก
เหน็ วา่ มีเรอื่ งท่ไี ม่ถกู ตอ้ งเกิดขนึ้ ในสำนักงานทด่ี นิ และได้ทกั ทว้ งแล้ว แตย่ ังไม่ไดร้ ับการแกไ้ ข
ให้คณะกรรมการที่ปรึกษาแจง้ เร่ืองดังกลา่ วไปยังอธบิ ดีกรมทด่ี นิ ได้โดยตรง

๒. กรมท่ีดินเปิดโอกาสให้ประชาชนร้องเรียนร้องทุกข์เกี่ยวกับเรื่องท่ีไม่ได้รับ
ความเป็นธรรมจากการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หน้าท ี่ แสดงความคิดเห็น หรอื เสนอแนะเพื่อใหท้ าง
ราชการนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงพัฒนาการบริการให้ตรงกับความต้องการของประชาชน
และเปิดโอกาสใหป้ ระชาชน สอบถามปัญหาเกย่ี วกบั ทีด่ ินหลายชอ่ งทาง ไดแ้ ก่

- ทางจดหมาย ประชาชนสามารถแจ้งข้อมูล หรือเร่ืองร้องเรียนร้องทุกข ์
เรื่องท่ีไม่ได้รับความเป็นธรรมให้อธิบดีทราบเพื่อช่วยขจัดปัดเป่า แก้ไขปัญหาได้โดยตรงทาง
จดหมายสง่ ตรงถึง


อธบิ ดีกรมที่ดนิ

“กระจกชาวดิน” ตู้ ปณ. ๑๑ ปณ. วดั เลยี บ


กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๑


23

- ทางโทรศัพท ์ ประชาชนสามารถโทรศัพท์มาที่ศูนย์ดำรงธรรมกรมท่ีดิน
โทร. ๐ ๒๖๒๒ ๒๓๘๐ ซง่ึ มีเจา้ หน้าท่ผี ู้มคี วามเชี่ยวชาญที่ได้รับมอบหมายรับเรือ่ งรอ้ งเรียน
ร้องทกุ ขค์ อยรับเรื่องรอ้ งเรยี นร้องทกุ ข ์ ตอบข้อซกั ถาม ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือแกไ้ ขปญั หา
และบรกิ ารขา่ วสารตา่ ง ๆ อยา่ งเบด็ เสร็จต่อเน่อื ง จำนวน ๔ ค่สู าย และสามารถโอนสายให้
ประชาชนไดห้ ารือกบั เจา้ หน้าท่เี จ้าของเรอ่ื งทร่ี ้องเรยี น หรอื ขอคำปรึกษาได้โดยตรง อกี ๑๖
ค่สู าย

- ทางเครอื ข่าย Internet ประชาชนสามารถสื่อสารกบั กรมที่ดนิ ในการรอ้ ง
เรียนร้องทุกข์ สอบถามปัญหาต่าง ๆ โดยใช้เว็บไซต์กรมท่ีดิน www. dol.go.th ซ่ึงจะได้
รับคำตอบทุกเรือ่ ง

กรมที่ดิน ไดแ้ จง้ ใหจ้ งั หวัดพิจารณาดำเนินการเกีย่ วกับคณะกรรมการทปี่ รึกษา
สำนกั งานท่ีดินจงั หวดั แล้ว ตามหนงั สือกรมทด่ี ิน ที่ มท ๐๕๐๑.๔/ว ๓๗๑๕๖ ลงวันท่ ี ๑
ธันวาคม ๒๕๔๘ สำหรบั การเปิดโอกาสให้ประชาชนรอ้ งเรยี นรอ้ งทุกขเ์ กยี่ วกบั เรือ่ งท่ีไมไ่ ดร้ ับ
ความเป็นธรรม จากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ แสดงความคิดเห็น เสนอแนะเพ่ือให้ทาง
ราชการนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงพัฒนาการบริการให้ตรงกับความต้องการของประชาชน
และเปิดโอกาสให้ประชาชนสอบถามปัญหาเก่ียวกับที่ดิน ทางจดหมายทาง ต ู้ ปณ. ๑๑
ทางโทรศพั ท ์ ผ่านโทรศัพทห์ มายเลข ๐ ๒๖๒๒ ๒๓๘๐ และทางเครอื ขา่ ย Internet โดย
เว็บไซต์กรมที่ดิน www. dol.go.th บางเรื่องเกี่ยวข้องกับสำนักงานที่ดินจังหวัด / สาขาดัง
กล่าว ดังนัน้ เพอื่ ใหก้ ารดำเนนิ โครงการกระจกชาวดิน สามารถชว่ ยเหลือแกไ้ ขปัญหาให้แก่
ประชาชน ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดแจ้งเจ้า
หน้าที่ในสังกัดทราบ และให้ความสำคัญกับการประสานข้อมูลทางโทรศัพท์ ซ่ึงต้องดำเนิน
การด้วยความรวดเร็ว เน่ืองจากศูนย์ให้บริการทางโทรศัพท ์ กระจกชาวดินต้องดำเนินการ
หรอื แก้ไขปญั หาใหแ้ กป่ ระชาชนท่ใี ชบ้ ริการในลกั ษณะเบด็ เสรจ็




















24

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดทราบ และถือ
ปฏิบัตโิ ดยเครง่ ครดั ต่อไป



ขอแสดงความนับถอื



(ลงช่ือ) พรี พล ไตรทศาวทิ ย์

(นายพรี พล ไตรทศาวทิ ย)์

อธบิ ดีกรมท่ีดิน









สำนกั งานเลขานุการกรม

โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๑๘๒๕ โทรสาร ๐ ๒๒๒๑ ๑๘๒๕

ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส ์ [email protected]





































25

(สำเนา)


กฎกระทรวง

กำหนดบคุ คลซ่ึงไดร้ บั การยกเวน้ ไม่ต้องมบี ตั รประจำตัวประชาชน


พ.ศ. ๒๕๔๘

------------------------------


อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญัตบิ ตั รประจำ
ตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน
(ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๒ และ มาตรา ๒๓ แห่งพระราชบญั ญัตบิ ัตรประจำตวั ประชาชน
พ.ศ. ๒๕๒๖ อันเป็นกฏหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบคุ คล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฏหมาย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฏกระทรวงไว้ ดังต่อไปน้

ขอ้ ๑ ใหย้ กเลกิ

(๑) กฏกระทรวง ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๗) ออกตามความในพระราช
บัญญตั ิ บตั รประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖

(๒) กฏกระทรวง ฉบับท ่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๑) ออกตามความในพระราช
บัญญัติ บัตรประจำตวั ประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖

(๓) กฏกระทรวง ฉบับที ่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราช
บญั ญัติบตั รประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖

ข้อ ๒. บุคคลดงั ตอ่ ไปน้ไี ด้รบั การยกเว้นไมต่ ้องมีบตั รประจำตัวประชาชน

(๑) สมเด็จพระบรมราชิน

(๒) พระบรมวงศานวุ งศต์ ง้ั แต่ช้นั พระองค์เจา้ ขึน้ ไป

(๓) ภิกษุ สามเณร นกั พรตและนักบวช

(๔) ผู้มีกายพกิ ารเดินไม่ได้ หรือเปน็ ใบ้ หรอื ตาบอดทง้ั สองขา้ ง หรอื จิตฟน่ั เฟือน
ไมส่ มประกอบ


26

(๕) ผอู้ ยใู่ นทค่ี มุ ขงั โดยชอบด้วยกฏหมาย

(๖) บคุ คลซึ่งกำลงั ศกึ ษาวิชา ณ ตา่ งประเทศ และไมส่ ามารถย่นื คำขอมบี ตั ร
ประจำตวั ประชาชนได้

ใหไ้ ว ้ ณ วนั ที่ ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘



(ลงช่อื ) พลอากาศเอก คงศักดิ์ วนั ทนา

(คงศกั ดิ์ วันทนา)

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

(ราชกิจจานเุ บกษา ฉบับกฤษฎกี า เล่ม ๑๒๓ ตอนท่ ี ๒๓ ก วนั ท ี่ ๖ มนี าคม ๒๕๔๙)













































27

(สำเนา)


ท่ี นร ๐๕๐๓ / ๒๘๑๐ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี


ทำเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐


๒๗ กมุ ภาพนั ธ ์ ๒๕๔๙

เรอื่ ง ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องท่ีอำเภอภูเวียง จังหวัด


ขอนแกน่ ต้งั เปน็ กงิ่ อำเภอเวยี งเกา่

เรยี น รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย

อ้างถงึ หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสดุ ท่ี มท ๐๓๑๐.๑/๑๐๗๒


ลงวนั ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๔๙





ตามที่ได้เสนอผลการดำเนินการเก่ียวกับร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง

แบ่งเขตท้องที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ต้ังเป็นกิ่งอำเภอเวียงเก่า ตามมติคณะ

กรรมการกล่ันกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตร ี คณะท ่ี ๗ (ฝ่ายกฏหมาย) ไปเพ่ือดำเนินการ

นั้น


คณะรฐั มนตรไี ด้ประชมุ ปรกึ ษาเม่ือวนั ที ่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 ลงมตวิ ่า


๑. อนุมัติในหลักการร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง แบ่งเขตท้องที่

อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ต้ังเป็นกิ่งอำเภอเวียงเก่า ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ

และให้ส่งคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฏหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจ

พจิ ารณาแล้วดำเนนิ การต่อไปได


๒. เพ่ือให้การตั้งก่ิงอำเภอเวียงเก่า เป็นไปเพ่ือประโยชน์ในการอำนวยความ

สะดวกในการให้บริการประชาชน โดยไม่เป็นภาระงบประมาณในการก่อสร้างสถานที่ราชการ

กรณีจำเป็นให้ดำเนินการก่อสร้างเฉพาะอาคารท่ีทำการก่ิงอำเภอเท่านั้น สำหรับส่วนราชการ

อ่ืน ๆ ทต่ี อ้ งปฏิบัตงิ านเพ่อื อำนวยความสะดวกแกป่ ระชาชนในพื้นทตี่ ้ังกิ่งอำเภอดงั กล่าว ให้

ดำเนินการในลกั ษณะเป็นหน่วยบรกิ ารเคลื่อนท ่ี (mobile unit) ไปกอ่ น ทั้งนี ้ สำหรับค่าใช้

จ่ายท่ีจำเป็นของกระทรวงมหาดไทย และของแต่ละส่วนราชการท่ีเพ่ิมขึ้นในปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๔๙ ให้ทุกหน่วยงานปรับแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๔๙ ที่ได้รับในโครงการ / รายการท่ีมีความจำเป็นในลำดับต่ำ หรือพิจารณาใช้เงินเหลือ

จ่ายมาดำเนนิ การตอ่ ไป








28

จึงเรียนยืนยันมา และขอได้โปรดแจ้งให้ส่วนราชการที่ต้องปฏิบัติงานเพื่อ
อำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในพื้นที่ตั้งกิ่งอำเภอดังกล่าว ดำเนินการตามมติคณะ
รัฐมนตรีต่อไปด้วยสำหรับร่างประกาศกระทรวงมหาดไทยในเร่ืองน้ีได้ส่งไปเพื่อคณะกรรมการ
ตรวจสอบร่างกฏหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ ๑ ตรวจพิจารณาตาม
มตคิ ณะรัฐมนตรีตอ่ ไปแล้ว



ขอแสดงความนับถือ



(ลงชือ่ ) โฉมศรี อารยะศิร

(นางโฉมศรี อารยะศริ ิ)

รองเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตร ี ปฏิบตั ิราชการแทน

เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตร







สำนักนติ ธิ รรม

โทร. ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ตอ่ ๓๐๘ - ๙ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๕๘























29

ด่วนทส่ี ุด
บันทึกขอ้ ความ


ส่วนราชการ กระทรวงมหาดไทย สำนักงานปลัดกระทรวง โทร ๐ - ๒๒๒๑ - ๐๘๒๓, มท.๕๐๓๐๙


ท่ี มท ๐๒๐๑ .๒/ว ๑๑๔๓ วนั ท่ี ๔ เมษายน ๒๕๔๙

เร่อื ง การวางมาตรการรักษาความปลอดภัยสถานทีร่ าชการ

เรยี น ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้บริหาร ส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดสำนกั งาน


ปลัดกระทรวงมหาดไทย หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม หัวหน้าหน่วยงาน


รฐั วิสาหกิจในสงั กัดกระทรวงมหาดไทย และหวั หน้าสำนกั งานรฐั มนตรีฯ





เนื่องในเทศกาลสงกรานต์ ๒๕๔๙ ระหว่างวันพฤหัสบดีท ี่ ๑๓ - วันอาทิตย ์

๑๖ เมษายน ๒๕๔๙ เป็นวันหยุดราชการต่อเน่ืองกันหลายวัน ดังน้ัน เพื่อเป็นการไม่

ประมาทต่อสถานการณ์และเป็นการวางมาตรการรักษาความปลอดภัยให้แก่สถานท่ีราชการ

จงึ ขอความร่วมมอื ท่านในการดำเนนิ การ ดังน้ี


๑. กำชับเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย และเจ้าหน้าที่ผู้อยู่เวรยามในห้วง

เวลาดังกล่าวให้ถือปฏิบัติการอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการโดยเคร่งครัด รวมทั้งการตรวจตรา

เฝ้าระวังสิ่งผิดปกติต่าง ๆ โดยใกล้ชิด เพื่อเป็นการป้องกันมิให้เกิดอันตรายขึ้นในสถานท่ี

ราชการ โดย


๑.๑ ให้บุคคลในสังกัดติดบัตรอนุญาตบุคคลตลอดเวลาที่อยู่ในบริเวณ

สถานท่ีราชการโดยให้ผู้บังคับบัญชาถือปฏิบัติเป็นตัวอย่าง หากลืมบัตรให้ใช้บัตรประชาชน

หรือบตั รขา้ ราชการ แลกบตั รผมู้ าปฏิบัติงาน (ชั่วคราว) ท่ปี อ้ มรกั ษาการณ์


๑.๒ ใหต้ รวจสอบสถานท่ีจอดรถภายในบรเิ วณสว่ นราชการ หากพบเห็น

รถยนต์ท่ีไม่มีบัตรอนุญาต และมีลักษณะน่าสงสัยว่าจะเป็นพาหนะของผู้ก่อความไม่สงบ

เรยี บร้อย ใหแ้ จง้ ผู้บงั คับบัญชาทราบทันท


30

๒. กรณีหากพบเห็นวัตถุหรือสิ่งผิดปกติท่ีคาดว่าอาจจะก่อให้เกิดภยันตราย
ใหแ้ จ้ง ศปก.มท. หมายเลขโทรศัพท์ ๐ - ๒๒๒๑ - ๐๘๑๘ / สื่อสาร สป. ๕๐๓๙๗ -
๙๙ หรือศูนย์อำนวยการบรรเทา สาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หมายเลขโทรศัพท์ ๐ - ๒๒๔๑ - ๗๔๕๐ - ๖ โทรศัพท ์ สายดว่ น ๑๗๘๔

จงึ เรียนมาเพ่อื ถือปฏบิ ตั ิต่อไป



(ลงชื่อ) ชยั ฤกษ์ ดิษฐอำนาจ

(นายชยั ฤกษ์ ดษิ ฐอำนาจ)

รองปลัดกระทรวง ปฏิบัตริ าชการแทน

ปลัดกระทรวงมหาดไทย



















31

(สำเนา)


ที่ นร ๐๕๐๓ / ว ๕๗ สำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตร


ทำเนยี บรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐


๑๐ เมษายน ๒๕๔๙

เรอ่ื ง แนวทางปฏิบตั ิราชการอันเนอื่ งมาจากนายกรัฐมนตรีขอลาพกั การปฏบิ ตั หิ นา้ ท ี่

เรยี น รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย





ด้วยนายกรัฐมนตรีได้ขอลาพักการปฏิบัติหน้าท่ีต้ังแต่วันที่ ๕ เมษายน

๒๕๔๙ เป็นต้นไป และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๔๙ มอบหมายให้

รองนายกรัฐมนตร ี พลตำรวจเอก ชดิ ชัย วรรณสถิตย ์ นายสรุ ยิ ะ จงึ รุง่ เรอื งกจิ นายสมคดิ

จาตุศรีพิทักษ ์ นายสุวัจน ์ ลิปตพัลลภ นายสุรเกียรติ ์ เสถียรไทย นายสุชัย เจริญรัตนกุล

และนายวษิ ณุ เครืองาม เป็นผรู้ ักษาราชการแทนนายกรัฐมนตร ี ตามลำดบั ดงั น้ัน เพอื่ ให้

ส่วนราชการและหน่วยงานตา่ ง ๆ ได้รับทราบและเข้าใจแนวทางในการปฏิบัตริ าชการเกี่ยวกบั

การนำเร่ืองเสนอนายกรัฐมนตรี หรือเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับนายกรัฐมนตรีโดยถูกต้องตรงกัน

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจึงซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติราชการอันเนื่องมา

จากนายกรฐั มนตรีขอลาพักการปฏิบตั หิ น้าท ี่ ดงั นี้


๑. ตามพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่

แก้ไขเพิม่ เตมิ มาตรา ๔๑ บัญญัติให้ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการไดใ้ ห้รอง

นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน ให้คณะรัฐมนตรี

มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง

รองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรคี น

ใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน และมาตรา ๔๘ บัญญัติให้ผู้รักษาราชการแทนมีอำนาจ

หนา้ ท่ีเชน่ เดยี วกบั ผูซ้ ง่ึ ตนแทน


ดงั น้นั การท่ีนายกรฐั มนตรี (พนั ตำรวจโท ทักษณิ ชินวตั ร) ขอลาพักการ

ปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ถือได้ว่าเป็นกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้รองนายก

รัฐมนตร ี (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์)ซ่ึงได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีให้เป็นผู้

รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี ลำดับที ่ ๑ จึงมีอำนาจหน้าท่ี เช่นเดียวกับนายกรัฐมนตรี

ตามนัยมาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ฯ


๒. กรณีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการใด ๆ ที่มีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีเป็น

ประธานกรรมการถือว่ายังสมบูรณ์อยู่และถ้าต้องมีการประชุมคณะกรรมการดังกล่าวรองนายก

32

รัฐมนตร ี (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์) ในฐานะผู้รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ยอ่ มสามารถทำหนา้ ท่ีประธานกรรมการแทนนายกรัฐมนตรีได้

๓. กรณีท่ีจะต้องมีหนังสือกราบเรียนนายกรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาสั่งการหรือลง
นามในเร่ืองใดตามอำนาจหนา้ ท่ ี ใหจ้ ดั ทำหนงั สอื กราบเรยี น นายกรฐั มนตรีเหมือนเดมิ ซึง่ ใน
ทางปฏิบัติสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีหรือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะพิจารณานำ
เสนอรองนายกรัฐมนตร ี (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์) ผู้รักษาราชการแทนนายก
รัฐมนตรเี ปน็ ผสู้ ่งั การหรอื ลงนามแทนนายกรัฐมนตรีตอ่ ไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และขอได้โปรดแจ้งให้หน่วยงานในสังกัดทราบและ
ถือปฏบิ ัติต่อไป



ขอแสดงความนบั ถอื



(ลงชือ่ ) บวรศักดิ์ อวุ รรณโณ

(นายบวรศักด ิ์ อวุ รรณโณ)

เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตร







สำนักนิตธิ รรม

โทร. ๐๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ตอ่ ๓๐๙ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๕๘

























33

(สำเนา)


คำสง่ั กระทรวงมหาดไทย

ท่ี ๓๗๘/๒๕๔๙


เร่อื ง การมอบหมายอำนาจหน้าทใี่ ห้รัฐมนตรีช่วยวา่ การกระทรวงมหาดไทย

ปฏบิ ตั ริ าชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย


------------------------------

ตามที่ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งรัฐมนตรี เม่ือวันท ่ี ๘
ตลุ าคม ๒๕๔๙ นน้ั

เพื่อให้การปฏิบตั ิราชการของกระทรวงมหาดไทย เปน็ ไปด้วยความรวดเร็วและ
เรียบร้อย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ และมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย จึงมี
คำสั่งให้ยกเลิกคำส่ังกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๓๖/๒๕๔๘ ลงวันท ่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๘
เร่ือง การมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติราชการ
แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และให้ใช้คำสั่งฉบับน้ีแทน โดยมอบหมายให้
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มหาดไทย ดังต่อไปน้

๑. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายบัญญัติ จันทน์เสนะ) มี
อำนาจในการส่ังการอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการดำเนินการอื่นเก่ียวกับ
ราชการของ กรมการพัฒนาชุมชน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมโยธาธิการและ
ผงั เมอื ง การประปานครหลวง การประปาสว่ นภมู ภิ าค และองคก์ ารตลาด

๒. การปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในกลุ่ม
ภารกิจส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจที่ได้รับมอบหมายให้เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มหาดไทยเป็นผู้พจิ ารณาสง่ั การ ในกรณตี อ่ ไปนี้

๒.๑ งานนโยบายและงานบริหารงานบุคคล

๒.๒ เรือ่ งที่ต้องเสนอนายกรฐั มนตรี และคณะรัฐมนตรี

สำหรับงานเกี่ยวกับการตอบกระทู้ถาม ชี้แจงญัตติ ร่างพระราชบัญญัต ิ หรือ
กิจการอื่นท่ีเกี่ยวกับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้รัฐมนตรีช่วยการกระทรวงมหาดไทย เป็น
ผู้รับผิดชอบงานตามคำส่ังน ้ี หรือตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย เป็นผู้
ตอบชี้แจง

๓. บรรดาคำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ ซ่ึงรัฐมนตรีช่วยว่าการ

34

กระทรวงมหาดไทย ส่ัง หรือลงนามในฐานะผู้ปฏิบัติราชการแทน หรือผู้รักษาราชการแทน

ใหน้ ำเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เพื่อทราบในวาระแรกที่อาจกระทำได


ทงั้ น้ ี ตง้ั แตบ่ ดั น้เี ป็นตน้ ไป





สงั่ ณ วันท่ี ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๙




(ลงช่อื ) อารยี ์ วงศ์อารยะ


(นายอารยี ์ วงศอ์ ารยะ)


รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย





(คำสั่งกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๓๗๘/๒๕๔๙ ลงวนั ที ่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๙)





รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย


นายอารีย์ วงศอ์ ารยะ





๑. สำนักงานรฐั มนตรี ๖. กรงุ เทพมหานคร


๒. สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ๗. การไฟฟ้านครหลวง


๓. กรมการปกครอง ๘. การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค


๔. กรมท่ดี ิน ๙. งานนโยบายและงานบรหิ ารงานบคุ คล


๕. กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ ๑๐. เรือ่ งทต่ี อ้ งเสนอนายกรัฐมนตรี และคณะรฐั มนตรี





รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย


(นายบัญญัติ จันทนเ์ สนะ)





๑. กรมการพฒั นาชมุ ชน ๔. การประปานครหลวง


๒. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ๕. การประปาส่วนภมู ิภาค


๓. กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง ๖. องคก์ ารตลาด













35

(สำเนา)


ท่ี นร ๐๕๐๓ / ว (ร) ๒๑๒ สำนกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี


ทำเนยี บรฐั บาล กทม. ๑๐๓๐๐


๑๘ ตลุ าคม ๒๕๔๙

เรอ่ื ง การจดั การหนุ้ สว่ นและหนุ้ ของรฐั มนตรี

เรยี น รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย


สง่ิ ท่สี ง่ มาด้วย พระราชบัญญัติการจดั การหุน้ ส่วนและหนุ้ ของรฐั มนตรี พ.ศ. ๒๕๔๓





ด้วยพระราชบัญญัติการจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตร ี พ.ศ. ๒๕๔๓

กำหนดห้ามมิให้รัฐมนตรีกระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือจัดการใดๆ เก่ียว

กบั หุน้ หรอื กิจการของหุน้ สว่ นหรือบรษิ ทั สรุปไดด้ ังน
ี้

๑. รัฐมนตรีต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทหรือไม่คง

ไว้ซง่ึ ความเป็นหุ้นส่วนหรือผถู้ อื หนุ้ ในห้างหุน้ ส่วนหรอื บรษิ ัท เว้นแตก่ รณ ี ดงั ตอ่ ไปนี้


๑.๑ ในห้างหุ้นส่วนจำกัด รัฐมนตรีเป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิด

ได้ไมเ่ กนิ ร้อยละ ๕ ของทนุ ทัง้ หมด


๑.๒ ในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด รัฐมนตรีเป็นผู้ถือหุ้นได้ไม่

เกนิ รอ้ ยละ ๕ ของจำนวนหนุ้ ทง้ั หมดทีจ่ ำหนา่ ยได้


๒. กรณีรัฐมนตรีประสงค์จะได้รับประโยชน์จากการเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นใน

ส่วนที่เกินกว่าจำนวนท่ีกำหนดในข้อ ๑ ให้รัฐมนตรีแจ้งเป็นหนังสือให้ประธานกรรมการ

ป.ป.ช. ทราบภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับแต่งต้ังเป็นรัฐมนตรี (ภายในวันท ่ี ๖

พฤศจิกายน ๒๕๔๙) และโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทนั้นให้นิติบุคคลท่ีมี

อำนาจจัดการกองทุนส่วนบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือ

นิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นตามกฎหมายภายใน ๙๐ วันนับแต่วันท่ี

ได้แจ้งประธานกรรมการ ป.ป.ช. และเม่ือโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นให้นิติบุคคลแล้ว ต้องแจ้งให้

ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ทราบภายใน ๑๐ วนั


๓. ให้รัฐมนตรีโอนกรรมสิทธ์ิในหุ้นส่วนหรือหุ้นให้นิติบุคคลโดยเด็ดขาดแต่การ

จัดการหรือการจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรี ให้เป็นไปตามเงื่อนไข

ของสัญญาจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรีซ่ึงต้องจัดทำตามแบบท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช.

ประกาศกำหนดไว ้ การโอนดงั กล่าวไม่กระทบกระเทือนสิทธิของเจา้ หนต้ี ามภาระผกู พันท่มี ีอยู่

ก่อนวนั ท่ีมีการโอน และเจ้าหนีต้ ามภาระผกู พนั จะโตแ้ ยง้ การโอนดังกลา่ วไมไ่ ด้


36

๔. ห้ามมิให้รัฐมนตรีกระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารครอบงำ
หรอื ออกคำส่ังเกย่ี วกับการจัดการห้นุ ส่วนหรอื ห้นุ หรอื การจัดหาผลประโยชน์ในหุน้ สว่ นหรอื หุน้

๕. เมื่อรัฐมนตรีได้รับหุ้นส่วนหรือหุ้นและผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการหุ้น
ส่วนหรือหุ้นกลับคืนมาแล้ว หรือรัฐมนตรีได้รับโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นเพ่ิมข้ึนในระหว่างการดำรง
ตำแหน่งรัฐมนตรีและมีส่วนท่ีเกินกว่าจำนวนท่ีกำหนดในข้อ ๑ ถ้ารัฐมนตรียังคงประสงค์ได้
รับประโยชน์จากหุ้นส่วนหรือหุ้นดังกล่าวต่อไป ให้รัฐมนตรีแจ้งความประสงค์ให้ประธาน
กรรมการ ป.ป.ช. ทราบภายใน ๓๐ วนั นับแตว่ ันทไี่ ดร้ บั คนื หนุ้ สว่ นหรือหุ้น หรอื รบั โอนส่วน
ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ และดำเนนิ การโอนหนุ้ ส่วนหรือหุ้นนัน้ ใหก้ ับนติ ิบุคคลอนื่

ความละเอยี ดปรากฎตามสง่ิ ท่ีส่งด้วย

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ



ขอแสดงความนับถอื
(ลงชือ่ ) รองพล เจริญพันธ
์ุ
(นายรองพล เจรญิ พันธุ)์

เลขาธิการคณะรฐั มนตร







สำนักนิตธิ รรม

โทร. ๐๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ตอ่ ๓๐๘ - ๙ โทรสาร ๐๒๒๘๐ ๙๐๕๘

























37

(สำเ
นา)

พระราช
บัญญตั

การจัดการหุน้ สว่ นแ
ละหนุ้ ของรัฐมนตรี

พ.ศ. ๒
๕๔๓

------------------------

ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไ้ ว ้ ณ วนั ท ่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๓

เปน็ ปที ี ่ ๕๕ ในรัชกาลปจั จุบนั




พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด
เกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรให้มกี ฎหมายว่าดว้ ยการจดั การหุ้นส่วนและหนุ้ ของรัฐมนตรี

พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของ
บุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราช
อาณาจกั รไทย บัญญัตใิ ห้กระทำไดโ้ ดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและ
ยนิ ยอมของรัฐสภาดังต่อไปน
้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “ พระราชบัญญัติการจัดการหุ้นส่วนและหุ้น
ของรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๓”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปน็ ต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน
้ี
“รัฐมนตร”ี หมายความวา่ นายกรัฐมนตรีหรอื รัฐมนตรแี ต่ละคนในคณะรัฐมนตรี

“นิติบุคคล” หมายความว่า นิติบุคคลที่รัฐมนตรีมอบหมายให้จัดการหุ้นส่วนหรือ
หุน้ ของรฐั มนตรตี ามพระราชบญั ญตั ินี

“คณะกรรมการ ป.ป.ช.” หมายความวา่ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ ริตแหง่ ชาต

มาตรา ๔ รัฐมนตรีต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือ
ไมค่ งไวซ้ งึ่ ความเปน็ หุ้นสว่ นหรือผูถ้ อื หุน้ ในหา้ งหุ้นสว่ นหรอื บรษิ ทั เวน้ แต่ในกรณีดงั ต่อไปน้

(๑) ในห้างหุ้นส่วนจำกัด รัฐมนตรีเป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดได้ไม่เกิน
รอ้ ยละหา้ ของทนุ ทั้งหมดของหา้ งห้นุ ส่วนจำกดั น้นั


38

(๒) ในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด รัฐมนตรีเป็นผู้ถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ
หา้ ของจำนวนหุน้ ทั้งหมดทจี่ ำหน่ายไดใ้ นบริษทั นัน้

มาตรา ๕ ในกรณีทีร่ ัฐมนตรปี ระสงคจ์ ะได้รบั ประโยชน์จากการเป็นหุ้นส่วนหรอื ผูถ้ อื
หุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทในส่วนท่ีเกินกว่าจำนวนท่ีกำหนดไว้ในมาตรา ๔ ให้รัฐมนตรี
ดำเนินการดงั ตอ่ ไปนี

(๑) แจ้งเป็นหนังสือให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ทราบภายในสามสิบวนั นบั แต่วนั ท่ีไดร้ บั แตง่ ต้ังเป็นรฐั มนตรี และ

(๒) โอนหุ้นส่วนหรือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทนั้นให้นิติบุคคลภายในเก้าสิบวัน
นับแต่วันที่ได้ แจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบ และ
เม่ือได้ดำเนินการโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นให้กับนิติบุคคลใดแล้ว ให้รัฐมนตรีแจ้งเป็นหนังสือให้
ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติทราบภายในสิบวันนับแต่วันท่ีได้
โอนหนุ้ ส่วนหรือหนุ้ น้นั

มาตรา ๖ นติ บิ คุ คลท่รี ัฐมนตรีจะโอนหุ้นส่วนหรอื หุ้นใหจ้ ดั การตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
ได้ต้องเป็นนิติบุคคลท่ีมีอำนาจจัดการกองทุนส่วนบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์หรือนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพ่ือประโยชน์ของผู้อ่ืนตามกฎหมายโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

มาตรา ๗ นิติบุคคลที่รัฐมนตรีจะโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นให้จัดการได้ ต้องเป็น
นิติบุคคลที่ไม่มีกรรมการหรือพนักงานซึ่งนิติบุคคลนั้นมอบหมายให้เป็นผู้จัดการในการบริหาร
และจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรีที่มีผลประโยชน์หรือมีส่วนได้เสียกับรัฐมนตรี คู่สมรส
ของรฐั มนตร ี เจ้าหน้หี รือลูกหน้ขี องรัฐมนตร

มาตรา ๘ ในการโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรีให้กับนิติบุคคลตามพระราช
บัญญัตินี้ให้รัฐมนตรีโอนกรรมสิทธ์ิในหุ้นส่วนหรือหุ้นให้กับนิติบุคคลโดยเด็ดขาดแต่การจัดการ
หรือการจัดหาผลประโยชน์เกี่ยวกับหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตร ี ให้เป็นไปตามเงื่อนไขของ
สญั ญาจดั การหุน้ ส่วนหรอื หนุ้ ของรฐั มนตร

การโอนหุ้นสว่ นหรอื หุ้นที่มภี าระผกู พันใดๆ อยู่ก่อนวันทีม่ ีการโอน การโอนดังกลา่ ว
ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของเจ้าหน้ีตามภาระผูกพันน้ัน และเจ้าหนี้ตามภาระผูกพันจะโต้แย้ง
การโอนดงั กล่าวมิได

มาตรา ๙ สัญญาจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรีต้องจัดทำตามแบบท่ีคณะ
กรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกำหนดซง่ึ อย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกีย่ วกับเรือ่ งดงั ตอ่ ไปน้

(๑) รายละเอียดเก่ยี วกบั หุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรที จ่ี ะโอนใหก้ ับนิติบุคคล

(๒) รายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการจำหน่ายจ่ายโอนหุ้นส่วนหรือหุ้น วิธีการจัดการหุ้น

39

ส่วนหรือหุ้นและการจัดหาผลประโยชน์ในหุ้นส่วนหรือหุ้นท่ีรับโอน ซึ่งจะต้องไม่มีลักษณะ
เป็นการกำหนดกรอบการจัดการหรือการจัดหาผลประโยชน์ที่รัฐมนตรีอาจครอบงำจัดการหรือ
การจัดหาผลประโยชน์

(๓) ค่าตอบแทนและวิธีการจ่ายค่าตอบแทนในการจดั การหนุ้ สว่ นหรือหุน้ ถา้ หากม

(๔) ความรบั ผดิ และขอ้ จำกัดความรบั ผิดในการจดั การห้นุ สว่ นหรอื หนุ้

(๕) การจ่ายผลประโยชน์ที่เกดิ จากการจดั การห้นุ สว่ นหรือหุ้น

(๖) วิธีการคืนหุ้นส่วนหรือหุ้นรับโอนและผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการหุ้นส่วน
หรือหุ้นในการกำหนดแบบสัญญาจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตร ี คณะกรรมการ ป.ป.ช.
อาจกำหนดเงื่อนไขหรือขอบเขตของความตกลงท่ีรัฐมนตรีและนิติบุคคลจะมีสิทธิกระทำได้ไว้
ด้วยก็ได

การทำความตกลงเป็นประการอ่ืนนอกเหนือจากข้อกำหนดในสัญญาจัดการหุ้นส่วน
หรือหุ้นของรฐั มนตรีแบบทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนดจะกระทำมิได

มาตรา ๑๐ เม่ือรัฐมนตรีได้ดำเนินการโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นให้กับนิติบุคคลแล้ว ให้
นิติบุคคลน้ันรายงานการรับโอนหุ้นส่วนหรือหุ้น พร้อมทั้งส่งสำเนาของสัญญาจัดการหุ้นส่วน
หรือหุน้ ของรฐั มนตรใี หก้ บั คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายในสบิ วันนบั แตว่ ันทีไ่ ดล้ งนามในสญั ญา
ในการนี้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. จัดให้มีการเปิดเผยสำเนาของสัญญาน้ันให้ประชาชน
ทราบตามวิธีการทเ่ี หน็ สมควรโดยไม่ชกั ช้า

มาตรา ๑๑ ห้ามมิให้รัฐมนตรีกระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหาร
ครอบงำ หรือออกคำสั่งเก่ียวกับการจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นหรือการจัดหาผลประโยชน์ในหุ้น
ส่วนหรือหุ้น

มาตรา ๑๒ ห้ามมิให้นิติบุคคลยินยอมหรือดำเนินการด้วยวิธีการใดๆ เพื่อให้
รัฐมนตรีมีโอกาสเข้าไปบริหาร ครอบงำ หรือออกคำส่ังเกี่ยวกับการจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้น
หรอื การจัดหาผลประโยชนใ์ นหนุ้ ส่วนหรอื หุ้น หรอื เปิดเผยต่อบคุ คลใดๆ ในลกั ษณะที่จะมีผล
ทำให้รัฐมนตรีทราบถึงการบริหารหรือจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นท่ีรับโอนมาจากรัฐมนตรีผู้นั้น
เว้นแต่เป็นการเปิดเผยตามที่กฎหมายกำหนดหรือเป็นการรายงานการประกอบกิจการตาม
เงื่อนไขท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด

มาตรา ๑๓ ให้นิติบุคคลจัดทำบัญชีแสดงการจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นที่รับโอนจาก
รัฐมนตรีและผลประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นดังกล่าวแยกไว้ต่างหากจาก
บัญชแี สดงการประกอบกิจการของนิติบุคคล

หุ้นส่วนหรือหุ้นที่นิติบุคคลรับโอนมาจากรัฐมนตรีและผลประโยชน์ท่ีได้รับจากการ
จัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นดังกล่าวมิใช่ทรัพย์สินของนิติบุคคลท่ีเจ้าหน้ีของนิติบุคคลน้ันจะยึดหรือ

40

อายัดเพ่ือบังคับชำระหนี้ทั้งในคดีแพ่งและคดีล้มละลายได้ เว้นแต่เจ้าหน้ีของนิติบุคคลน้ันมี
สิทธิบังคับตามภาระผูกพันท่ีติดกับหุ้นส่วนหรือหุ้นหรือผลประโยชน์ท่ีเกิดจากหุ้นส่วนหรือหุ้น
ดังกลา่ วโดยตรง

ให้นำความในวรรคสองมาใช้บงั คบั กับกรณที น่ี ติ บิ ุคคลเลกิ กิจการด้วยโดยอนุโลม

มาตรา ๑๔ ในการรับโอนและจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรีตามพระราช
บัญญัตินี้ให้นิติบุคคลที่รับโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นนั้นได้รับยกเว้นจากบัญญัติของกฎหมายใดๆ ท่ี
ห้ามมิให้นิติบุคคลน้ันเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทอื่นหรือท่ีมีการจำกัด
จำนวนเงินในการรบั จดั การทรัพยส์ ินของบคุ คลอืน่

ในกรณีที่มีกฎหมายจำกัดจำนวนหุ้นส่วนหรือหุ้นของนิติบุคคลในหุ้นส่วนหรือบริษัท
อ่ืนมิให้นับจำนวนหุ้นส่วนหรือหุ้นท่ีได้รับโอนมาจากรัฐมนตร ี รวมทั้งผลประโยชน์ท่ีเกิดจาก
หุ้นส่วนหรือหุ้นน้ันรวมเข้ากับจำนวนหุ้นส่วนหรือหุ้นท่ีนิติบุคคลน้ันจะพึงมีได้ในห้างหุ้นส่วน
หรอื บรษิ ทั อื่น

มาตรา ๑๕ ในกรณที น่ี ติ บิ ุคคลท่รี บั โอนหุ้นสว่ นหรอื หุ้นของรัฐมนตรเี ลกิ กิจการหรอื
ล้มละลายเม่ือรัฐมนตรีได้รับหุ้นส่วนหรือหุ้นและผลประโยชน์ที่เกิดจากการจัดการหุ้นส่วนหรือ
หุ้นกลับคืนมาแล้วถ้ารัฐมนตรียังคงประสงค์จะได้รับประโยชน์จากหุ้นส่วนหรือหุ้นดังกล่าวต่อ
ไป ให้รัฐมนตรีแจ้งความประสงค์ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่ง
ชาติทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคืนหุ้นส่นหรือหุ้นนั้น และดำเนินการโอนหุ้นส่วน
หรือหนุ้ น้ันให้กับนติ ิบุคคลอืน่ ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบญั ญัติน
้ี
ในกรณีท่ีรัฐมนตรีได้รับโอนหุ้นส่วนหรือหุ้นเพิ่มข้ึนในระหว่างการดำรงตำแหน่งเป็น
รัฐมนตรีและมสี ่วนเกนิ กว่าจำนวนท่ีกำหนดไว้ในมาตรา ๔ ถ้ารฐั มนตรียงั คงประสงค์จะไดร้ บั
ประโยชนจ์ ากห้นุ ส่วนหรือห้นุ ดังกลา่ วตอ่ ไป ให้นำความในวรรคหนึ่งมาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๖ นิติบุคคลใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๓ วรรคหน่ึง
ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กินสามแสนบาท

มาตรา ๑๗ รัฐมนตรีผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๑ หรือนิติบุคคลใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๒
ต้องระวางโทษจำคุกต้ังแต่หน่ึงปีถึงสิบป ี หรือปรับตั้งแต่หน่ึงแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท หรือ
ท้ังจำทั้งปรับ

มาตรา ๑๘ ในกรณีที่นิติบุคคลกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้ถือว่า
กรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคลซ่ึงรับผิดชอบในการดำเนินงานของนิติบุคคลนั้นเป็นผู้ร่วม
กระทำความผิดกับนิติบุคคลเว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ากระทำของนิติบุคคลน้ันได้กระทำโดยตนมิได้
รู้เหน็ หรอื ยินยอมด้วย

มาตรา ๑๙ ให้รัฐมนตรีซ่ึงดำรงตำแหน่งอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

41

ดำเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ภายในหน่ึงร้อยยี่สิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ี
ใชบ้ งั คบั

มาตรา ๒๐ ใหน้ ายกรฐั มนตรรี กั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี



ผูร้ บั สนองพระบรมราชโองการ

ชวน หลกี ภยั

นายกรัฐมนตรี



























หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตฉิ บับน ี้ คือ โดยท่ีมาตรา ๒๐๙ ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้รัฐมนตรีต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้น
ส่วนหรือบริษัท หรือไม่คงไว้ซึ่งความเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไป
ท้ังน ี้ ตามจำนวนท่ีกฎหมายบัญญัติ ในกรณีท่ีรัฐมนตรีผู้ใดประสงค์จะได้รับประโยชน์จาก
กรณีดังกล่าวต่อไปให้รัฐมนตรีผู้น้ันแจ้งให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แหง่ ชาติทราบภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ที่ไดร้ บั แต่งต้งั และให้รฐั มนตรผี ู้นนั้ โอนหนุ้ ในหา้ งหนุ้
ส่วนหรือบริษัทดังกล่าวในนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพย์สินเพ่ือประโยชน์ของผู้อื่น ท้ังน้ี ตามที่
กฎหมายบญั ญตั ิ

ในการนี ้ ห้ามมิให้รัฐมนตรีผู้น้ันกระทำการใดอันมีลักษณะเป็นการเข้าไปบริหารหรือ
จัดการใดๆ เกย่ี วกบั หุ้นส่วนหรือกิจการของห้างหุ้นส่วนหรือบริษทั ดังกล่าว จงึ จำเป็นต้องตรา
พระราชบญั ญตั นิ ี้


42

(สำเนา)


คำสั่งกระทรวงมหาดไทย

ท่ี ๔๒๔/๒๕๔๙


เร่อื ง มอบอำนาจการปฏบิ ัติราชการแทนปลดั กระทรวงมหาดไทย

--------------------------


ตามที่กระทรวงมหาดไทยไดม้ ีคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ท ่ี ๔๘๕/๒๕๔๘ ลง
วันท ่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ คำส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๕๘๑/๒๕๔๘ ลงวันท่ี
๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และคำส่ังกระทรวงมหาดไทย ที่ ๓๑/๒๕๔๙ ลงวันท ี่ ๒๕
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ มอบอำนาจการปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงมหาดไทย ฝ่าย
บรหิ าร และงานของสำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย นั้น

เพ่ือให้การบริหารราชการของกระทรวงมหาดไทยเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๓๘(๕) แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงให้ยกเลิกคำส่ังกระทรวงมหาดไทย ท ่ี ๔๘๕/๒๕๔๘ ลงวันท่ี ๓๐
กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ คำส่ังกระทรวงมหาดไทย ท ่ี ๕๘๑/๒๕๔๘ ลงวันท ี่ ๒๙
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และคำส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๓๑/๒๕๔๙ ลงวันท่ี ๒๕
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และมอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ิราชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทยในงานฝา่ ยบริหาร ตามนัยคำสั่งกระทรวงมหาดไทยที ่ ๕๔๕/๒๕๔๖
ลงวันท ี่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ และงานของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ดงั น้

๑. นายพีรพล ไตรทศาวิทย์ อธิบดีกรมท่ีดิน รักษาราชการแทนรองปลัด
กระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ิราชการแทนปลัดกระทรวงมหาดไทย ในงานฝา่ ยบริหาร

๒. รองปลดั กระทรวงมหาดไทย หวั หนา้ กลุ่มภารกิจด้านกิจการความมน่ั คงภายใน
ปฏบิ ตั ริ าชการแทนปลัดกระทรวงมหาดไทย ในงานดงั น้ี

- งานยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมั่นคงภายใน

- งานการกำกับดูแลและติดตามผลการดำเนินงานของสำนักนโยบายและ

แผน สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เฉพาะส่วนยุทธศาสตร์ด้านความ

มน่ั คงภายใน

๓. รองปลัดกระทรวงมหาดไทย หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่ง
เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ ปฏิบตั ริ าชการแทนปลดั กระทรวงมหาดไทย ในงานดังน้ี

- งานยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาชุมชนและส่งเสริมการปกครองทอั งถ่ิน

- งานการกำกับดูแลและติดตามผลการดำเนินงานของสำนักนโยบายและ


43

แผน สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เฉพาะส่วนยุทธศาสตร์ด้านการ

พฒั นาชมุ ชนและส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่

๔. รองปลัดกระทรวงมหาดไทย หัวหน้ากลุ่มงานภารกิจด้านสาธารณภัยและ

พฒั นาเมือง ปฏบิ ัติราชการแทน ปลดั กระทรวงมหาดไทย ในงานดังน้ี

- งานยุทธศาสตรด์ า้ นสาธารณภยั และพัฒนาเมือง

- งานการกำกับดูแลและติดตามผลการดำเนินงานของสำนักนโยบายและ

แผน สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เฉพาะส่วนยุทธศาสตร์ด้าน

สาธารณภยั และพฒั นาเมือง

ทง้ั นี ้ ต้งั แต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไป




สงั่ ณ วนั ท ่ี ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙




(ลงช่ือ) พงศโ์ พยม วาศภูติ

(นายพงศโ์ พยม วาศภตู ิ)

รองปลดั กระทรวง รกั ษาราชการแทน

ปลดั กระทรวงมหาดไทย

































44

(สำเนา)


คำสัง่ กระทรวงมหาดไทย

ที่ ๔๒๕/๒๕๔๙


เร่ือง มอบหมายให้รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ิหน้าทีห่ ัวหน้ากล่มุ ภารกจิ

-----------------------


ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งกระทรวงมหาดไทยท ่ี ๔๘๖/๒๕๔๘ ลง
วันท ี่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ คำส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๓๒ / ๒๕๔๙ ลงวนั ที่ ๒๕
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ท ี่ ๒๐๖ / ๒๕๔๙ ลงวันที ่ ๑๔
มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙ มอบหมายให้รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่หี ัวหน้ากลมุ่
ภารกิจ นนั้

เนื่องจากกระทรวงมหาดไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้ดำรงตำแหน่งรองปลัด
กระทรวงมหาดไทย ดังน้ัน เพ่ือให้การบริหารราชการของกระทรวงมหาดไทยเป็นไปด้วย
ความเรียบรอ้ ย อาศยั อำนาจตามความในมาตร ๒๑ แห่งพระราชบัญญตั ิระเบยี บบรหิ ารราช
การแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ
(ฉบบั ท ี่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงให้ยกเลกิ คำสัง่ กระทรวงมหาดไทย ท ่ี ๔๘๖ / ๒๕๔๘ ลงวัน
ท ี่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ คำส่งั กระทรวงมหาดไทย ท่ี ๓๒ / ๒๕๔๙ ลงวนั ท ี่ ๒๕
มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๒๐๖ / ๒๕๔๙ ลงวันท่ ี ๑๔
มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ และมอบหมายใหร้ องปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัตหิ น้าทหี่ ัวหนา้
กลุม่ ภารกจิ ดังนี้

๑. นายสรุ อรรถ ทองนริ มล รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ิหน้าทีห่ วั หน้า
กล่มุ ภารกิจดา้ นกิจการความม่นั คงภายใน

๒. นายสาโรช คัชมาตย ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน รักษา
ราชการแทนรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั หิ นา้ ทห่ี ัวหน้ากลมุ่ ภารกจิ ด้านสาธารณภัยและ
พฒั นาเมือง

๓. นายสมชาย ชมุ่ รัตน ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา รกั ษาราชการ
แทนรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่ง
เสรมิ การปกครองสว่ นท้องถิ่น

ท้ังน ้ี อำนาจในการปฏิบัติหน้าที่ของหัวหน้ากลุ่มภารกิจดังกล่าวให้เป็นไปตาม
มาตรา ๒๑ วรรคหก แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
และกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยกลุ่มภารกจิ พ.ศ ๒๕๔๕ และทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ


45

ทง้ั น้ ี ตง้ั แต่บัดนีเ้ ปน็ ต้นไป




สง่ั ณ วันที ่ ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๙




(ลงชอ่ื ) พงศ์โพยม วาศภตู

(นายพงศโ์ พยม วาศภูต)ิ

รองปลัดกระทรวง รกั ษาราชการแทน

ปลดั กระทรวงมหาดไทย

















































46

(สำเนา)


คำสงั่ กรมท่ีดิน

ท่ี ๓๓๘๔/๒๕๔๙

เรอื่ ง การรกั ษาสถานท่ีราชการกรมท่ีดนิ

----------------------------------

ตามคำส่ังกรมที่ดิน ท่ี ๓๔๘/๒๕๒๗ ลงวันที ่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๒๗
เร่ืองการรักษาสถานที่ราชการกรมท่ีดินคำสั่งกรมท่ีดินที ่ ๕๓๕/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๑๕
เมษายน ๒๕๓๐ เร่อื งแกไ้ ขคำสงั่ กรมท่ีดนิ ท ่ี ๓๔๘/๒๕๒๗ คำสงั่ กรมทด่ี ิน ท่ี ๓๓๐/๒๕๔๒
ลงวนั ท่ ี ๑๐ กมุ ภาพันธ ์ ๒๕๔๒ เรอื่ งแก้ไขคำส่ังกรมที่ดนิ ที ่ ๕๓๕/๒๕๓๐ และตามคำสง่ั
กรมที่ดิน ท่ี ๒๔๗๖/๒๕๔๖ ลงวันท ี่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ เรื่องการแก้ไขคำส่ัง
กรมทดี่ นิ ท่ี ๓๔๘/๒๕๒๗ ไดก้ ำหนดหน้าท่ีการจดั เวรรักษาสถานทรี่ าชการ หน้าที่ของเวร
และผตู้ รวจเวรให้ถือปฏบิ ัต ิ น้ัน

บัดน้ี กรมท่ีดินพิจารณาเห็นสมควรปรับปรุงแนวทางปฏิบัติในการรักษาสถาน
ท่ีราชการกรมท่ีดินให้มีความสมบูรณ์และเป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย
แห่งชาต ิ พ.ศ. ๒๕๑๗ แผนป้องกันอัคคภี ัยของกรมท่ดี ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ และระเบยี บกรมที่ดิน
ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยในบริเวณกรมท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงให้ยกเลิกคำสั่งกรมท่ีดิน
ดงั กลา่ วข้างตน้ และให้ถือปฏิบัติดังต่อไปน้

๑. การจัดเวรรกั ษาสถานที่ราชการกรมท่ดี ิน

๑.๑ การจดั ทำบญั ชผี อู้ ยเู่ วรและผตู้ รวจเวร

๑.๑.๑ ให้สำนักงานเลขานุการกรมจัดทำบัญชีผู้อยู่เวรและผู้ตรวจเวร
รักษาสถานท่ีราชการกรมที่ดินไว้เป็นประจำทุกเดือน พร้อมทั้งจัดให้มีแบบบันทึกการอยู่เวรฯ
เพอ่ื ใชบ้ ันทกึ เหตกุ ารณป์ ระจำวันและแบบบันทกึ อ่นื ๆ ตามที่เหน็ สมควร

๑.๑.๒ ให้ทุกสำนัก/กอง แจ้งรายช่ือเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในสังกัดท่ีมี
การเปล่ียนแปลง ย้ายเข้า ย้ายออก เลื่อนระดับ เปลี่ยนช่ือ-นามสกุล ฯลฯ ให้สำนักงาน
เลขานุการกรม ทราบทุกครั้ง

๑.๒ การแจ้งการอยู่เวร

ให้สำนักงานเลขานุการกรมจัดส่งบัญชีเวรประจำกรมท่ีดินไปให้สำนัก/กอง
ต่างๆ ทราบ และให้สำนัก/กองต่างๆ แจ้งให้ผู้อยู่เวร และผู้ตรวจเวรทุกคนทราบ โดยให้
สำนัก/กอง จัดทำคำสั่งกำหนดตัวบุคคลให้มีหน้าท่ีเวียนบัญชีการอยู่เวรและการตรวจเวรให้ผู้
อย่เู วรและตรวจเวรทราบ แลว้ ให้นำบัญชกี ารอยเู่ วรไปปิดไวใ้ นทเ่ี ปิดเผย หรอื นำไปกลดั ติดไว้
กับบัญชีลงเวลาการปฏิบัติราชการฯ ของสำนัก/กอง หรือฝ่ายแล้วแต่กรณีว่าอย่างใดจะ
สะดวกและง่ายต่อการตรวจสอบ และให้เป็นหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีทุกคนในสำนัก/กอง น้ันๆ
จะต้องตรวจดูบัญชีเวรประจำเดือนด้วยตนเองอีกคร้ังหน่ึงว่าตนจะต้องอยู่เวรหรือตรวจเวรใน
วัน เวลา ใด โดยให้ถือว่า เม่ือมีการปิดคำสั่งบัญชีเวรในที่เปิดเผยหรือกลัดติดไว้ในบัญชีการ

47

ลงเวลาปฏิบัติราชการฯ แล้วผู้มีหน้าท่ีอยู่เวรหรือตรวจเวรตามบัญชีฯ นั้นทุกคนซึ่งอยู่ใน
สงั กดั สำนัก/กอง น้ันๆ ได้รบั ทราบการอย่เู วรหรือตรวจเวรแล้ว

๑.๓ การจดั เวรหรือผตู้ รวจเวรแทน และการสับเปล่ียนเวรหรอื ผู้ตรวจเวร

๑.๓.๑ การจัดเวรหรอื ผตู้ รวจเวรแทน

ในกรณีทผี่ ู้มหี นา้ ที่อยูเ่ วรหรือตรวจเวร ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทอี่ ยูเ่ วร
หรือตรวจเวรในวันใด ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ให้สำนัก/กอง ท่ีผู้นั้นสังกัดอย ู่ เป็นผู้รับผิดชอบจัด
เจ้าหน้าท่ีในสังกัดเป็นผู้อยู่เวรหรือตรวจเวรแทน และแจ้งให้สำนักงานเลขานุการกรมทราบ
ล่วงหน้าก่อนวนั อยู่เวรไมน่ ้อยกว่า ๓ วนั

๑.๓.๒ การสบั เปล่ยี นเวรหรือผู้ตรวจเวร

ผู้อยเู่ วรหรอื ผตู้ รวจเวร อาจขอสบั เปล่ยี นเวรกบั บุคคลอ่ืนซง่ึ
อยู่เวรหรือตรวจเวรในเดือนเดียวกันน้ัน โดยมีการตกลงให้คำยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร
ผ่านสำนัก/กองต้นสงั กัด และแจง้ สำนกั งานเลขานุการกรมทราบลว่ งหนา้ ก่อนวนั อยู่เวร หรอื
ตรวจเวรไม่น้อยกว่า ๓ วนั

๒. ผูอ้ ยู่เวร หัวหนา้ เวร และผู้ตรวจเวร

๒.๑ ผู้อยู่เวร ให้ข้าราชการระดับ ๖ เป็นผู้อยู่เวรและหัวหน้าเวรโดยมี
ข้าราชการระดบั ๑- ๕ และ/หรือลกู จา้ งประจำและ/หรือพนกั งานราชการเปน็ ผ้ชู ว่ ยเวร ท้ังน้ี
ให้อยู่เวร ณ สถานที่ทส่ี ำนักงานเลขานุการกรมกำหนด

๒.๑.๑ วันทำการ จัดเจ้าหน้าท่ีอยู่เวรหน่ึงผลัด โดยให้เจ้าหน้าท่ี
(ชาย) จำนวน ๓ คน อยู่เวร ต้งั แต่เวลา ๑๖.๓๐ น. ถงึ เวลา ๘.๓๐ น. ของวันรุ่งข้ึน

๒.๑.๒ วนั หยดุ ราชการ จัดเจ้าหนา้ ทีอ่ ยู่เวรเป็น ๒ ผลัด

- ผลัดที่ ๑ ใหเ้ จา้ หน้าที่ (หญิง) จำนวน ๔ คน อยู่
เวรตั้งแต่เวลา ๘.๓๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๓๐ น.

- ผลัดที่ ๒ ให้เจา้ หน้าท่ี (ชาย) จำนวน ๓ คน อยู่เวร
ต้ังแต่เวลา ๑๖.๓๐ น. ถงึ เวลา ๘.๓๐ น. ของวนั รงุ่ ข้ึน

ให้ผูอ้ ยเู่ วรมีหนา้ ทด่ี งั นี

(๑) ให้มาปฏิบัติหนา้ ท่ีอยู่เวรตามวันและเวลาท่กี ำหนดไว้ ตามขอ้ ๒.๑.๑

และ ๒.๑.๒

(๒) สอดส่อง ตรวจตราความปลอดภัยในด้านโจรกรรม การก่อวินาศกรรม
อคั คภี ยั ฯลฯ ที่อาจจะเกดิ ขน้ึ แก่สถานทีร่ าชการ สง่ิ อุปกรณ์ ตลอดจนทรัพยส์ นิ ต่างๆ ของ
กรมท่ดี นิ

(๓) ปฏบิ ัตริ าชการพเิ ศษท่เี กิดขนึ้ โดยเฉพาะหน้า

(๔) ปฏิบตั กิ ารดว่ นหรือพเิ ศษตามคำส่ังผู้บังคบั บญั ชาซ่งึ มคี ำส่ังการโดย

ชอบในระหวา่ งอย่เู วร

(๕) กรณมี ีเหตกุ ารณ์ผิดปกตอิ นั อาจเป็นภยั แกส่ ถานทร่ี าชการกรมทด่ี ิน

เกิดขึ้นหรือมีเหตุการณ์ซ่ึงอาจจะเป็นมูลเหตุท่ีจะให้เกิดอัคคีภัย ให้ผู้อยู่เวรรีบระงับเหตุตาม
48


Click to View FlipBook Version