The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแนวทางปฏิบัติ ตามข้อกำหนดว่าด้วยมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการกรมที่ดินฯ (ปี 2560)

กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมกรมที่ดิน

Keywords: ด้านทั่วไป

38 37
(๕) ไมยอมใหบุคคลอื่นอาศัยช่ือตนเองถือครองทรัพยสิน สิทธิ

หรือประโยชนอ่ืนใดแทนบุคคลอ่ืนอันเปนการเล่ียงกฎหมาย หรือใชช่ือ
บุคคลอื่นถอื ครองส่งิ ดงั กลา วแทนตนเพ่ือปกปดทรพั ยสินของตน

(๖) เม่ือทราบวามีการละเมิด หรือไมปฏิบัตติ ามกฎหมายในสวน
ราชการของตน หัวหนาสวนราชการตองดาํ เนินการท่ีจําเปน เพื่อใหเกิด
การเคารพกฎหมายข้ึนโดยเร็ว

(๗) เมอื่ ไดรับคํารอง หรือคาํ แนะนําจากผูตรวจการแผน ดิน หรือ
หนวยงานอื่นวากฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ ที่อยูในความรับผิดชอบ
ของสวนราชการตน สรางภาระเกินสมควรแกป ระชาชน หรือสรางความ
ไมเปนธรรมใหเกิดขึ้น ตองดําเนินการทบทวนกฎหมาย กฎ หรือขอบัง
คบั ดังกลาวโดยเร็ว

ขอ ๘ ขาราชการตองปฏิบัติหนาท่ีดวยความเที่ยงธรรม เปนกลาง
ทางการเมืองใหบรกิ ารแกประชาชนโดยมีอัธยาศัยที่ดีและไมเลือกปฏิบัติ
โดยไมเปนธรรม โดยอยางนอยตอ งวางตนดงั น้ี

(๑) ปฏิบตั หิ นาทีใ่ หล ุลว ง โดยไมห ลีกเลี่ยง ละเลย หรือละเวนการ
ใชอํานาจเกนิ กวาท่ีมีอยูตามกฎหมาย

(๒) ปฏิบัติหนาท่ี หรือดําเนินการอื่น โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความ
เปนมนุษย และสิทธิเสรีภาพของบุคคล ไมกระทําการใหกระทบสิทธิเสรีภาพ
ของบุคคลหรอื กอภาระหรือหนาท่ีใหบ ุคคลโดยไมมอี ํานาจตามกฎหมาย

(๓) ใหบ รกิ ารและอํานวยความสะดวกแกประชาชนโดยมีอัธยาศัยท่ดี ี
ปราศจากอคติและไมเลือกปฏิบัติตอบุคคลผูมาติดตอโดยไมเปนธรรม
ในเรื่องถ่ินกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุความพิการ สภาพทางกาย
หรอื สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือ
ทางศาสนา การศกึ ษา อบรม หรือความคดิ เห็นทางการเมืองอันไมขัดตอ
รัฐธรรมนญู เวนแตจะดาํ เนินการตามมาตรการท่ีรัฐกําหนดขึ้น เพ่ือขจัด
อุปสรรค หรอื สงเสริมใหบุคคลสามารถใชสทิ ธิและเสรีภาพได เชนเดียว

3839
กับบุคคลอ่ืน หรือเปนการเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผล เปนธรรม และเปนที่
ยอมรับกันท่วั ไป

(๔) ละเวนการใหสัมภาษณ การอภิปราย การแสดงปาฐกถา
การบรรยาย หรือการวิพากษวิจารณอันกระทบตอความเปนกลางทาง
การเมอื ง เวนแตเปนการแสดงความเหน็ ทางวิชาการตามหลกั วิชา

(๕) ไมเอื้อประโยชนเปนพิเศษใหแกญาติพี่นอง พรรคพวก เพื่อนฝูง
หรอื ผูมีบุญคณุ และตอ งปฏบิ ตั ิหนา ท่ีดว ยความเท่ียงธรรมไมเห็นแกหนา ผใู ด

(๖) ไมลอกหรือนําผลงานของผูอื่นมาใชเปนของตนเองโดยมิได
ระบุแหลง ทม่ี า

ขอ ๙ ขาราชการตองปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสาร
ของทางราชการอยางเครงครัดและรวดเร็ว ไมถ วงเวลาใหเนิ่นชาและใช
ขอมูลขาวสารที่ไดมาจากการดําเนินงานเพื่อการในหนาที่และใหขอมูล
ขาวสารแกประชาชนอยางครบถวน ถูกตอง ทันการณ และไมบิดเบือน
ขอ เท็จจรงิ โดยอยางนอยตอ งวางตน ดังนี้

(๑) ไมใชขอมูลที่ไดม าจากการดําเนินงานไปเพื่อการอ่ืน อันไมใช
การปฏิบัติหนาท่ีโดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อเอื้อประโยชนแกตนเองหรือ
บุคคลอืน่

(๒) ชี้แจง แสดงเหตุผลท่ีแทจริงอยางครบถวนในกรณีที่กระทํา
การอันกระทบตอสิทธิและเสรีภาพบุคคลอื่น ไมอนุญาต หรือไมอนุมัติ
ตามคําขอของบุคคล หรือเมื่อบุคคลรองขอตามกฎหมายเวนแตการอัน
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายวาดวยวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครองไดกําหนดยกเวนไว ทั้งนี้ จะตองดําเนินการ
ภายในสบิ หาวนั ทําการ นบั แตกระทาํ การดังกลาวหรือไดร บั การรองขอ

ขอ ๑๐ ขาราชการตองมุงผลสัมฤทธ์ิของงาน รักษาคุณภาพและ
มาตรฐานแหงวิชาชีพโดยเครง ครัดโดยอยางนอยตอ งวางตน ดงั น้ี

40 39
(๑) ปฏิบัติงานโดยมงุ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานใหเกิด

ผลดีทีส่ ดุ จนเตม็ กําลงั ความสามารถ
(๒) ใชงบประมาณ ทรัพยสิน สิทธิและประโยชนที่ทางราชการ

จดั ให ดวยความประหยัด คุม คา ไมฟ ุมเฟอย
(๓) ใชความรูความสามารถ ความระมดั ระวังในการปฏิบัตหิ นาท่ี

ตามคณุ ภาพและมาตรฐานวิชาชีพโดยเครงครดั
ขอ ๑๑ ขาราชการตองยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข โดยอยางนอ ยตอ งวางตน ดงั น้ี
(๑) ไมแสดงการตอตานการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข หรือสนับสนุนใหนําการปกครองใน
ระบอบอืน่ ท่ไี มมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ มาใชในประเทศไทย

(๒) จงรกั ภักดตี อ พระมหากษตั ริย และไมละเมิดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระรัชทายาทไมว าทางกาย หรือทางวาจา

ขอ ๑๒ ขาราชการตองเปนแบบอยางที่ดีในการดํารงตน รักษา
ชือ่ เสยี งและภาพลกั ษณของราชการโดยรวม โดยอยา งนอยตองวางตน ดงั น้ี

(๑) ไมละเมิดหลักสําคญั ทางศีลธรรม ศาสนา และประเพณี ในกรณี
ทมี่ ีขอขัดแยงระหวางประมวลจรยิ ธรรมน้ีกับหลักสําคัญทางศลี ธรรม ศาสนา
หรอื ประเพณี ขาราชการตองเสนอเร่ือง ใหคณะกรรมการจรยิ ธรรมพิจารณา
วินจิ ฉยั

(๒) หัวหนาสวนราชการและผูบังคับบัญชาในสวนราชการทุก
ระดับชั้นตองปกครองผูอยูใตบังคับบัญชาดวยความเท่ียงธรรม โดยไม
เห็นแกความสัมพันธหรือบุญคุณสวนตัว และควบคุมใหผูอยูใตบังคับ
บัญชาปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรมโดยเครง ครดั

(๓) หัวหนาสวนราชการและผูบังคับบัญชาในสวนราชการ
ทุกระดับชั้นตองสนับสนุนสงเสริมและยกยองผูอยูใตบังคับบัญชาที่มี

4041
ความซ่ือสัตย มีผลงานดีเดน มีความรูความสามารถและขยันขันแข็ง
ไมเ ลือกที่รกั มักท่ชี งั และยึดมน่ั ในระบบคุณธรรม

(๔) ไมกระทําการใดอันอาจนําความเส่ือมเสียและไมไววางใจให
เกิดแกส วนราชการหรือราชการโดยรวม

(หมวด ๓)
กลไกและระบบการบังคบั ใชประมวลจรยิ ธรรม

สวนท่ี ๑
องคก รคมุ ครองจริยธรรม
ขอ ๑๓ ก.พ. มีหนาที่ควบคุมกํากับใหมีการปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมอยางทั่วถงึ และจริงจงั โดยมีอาํ นาจหนา ท่ี ดงั นี้
(๑) วางระเบยี บเพอื่ กําหนดการท้งั หลายอนั จาํ เปน แกการใชบ ังคบั
ประมวลจรยิ ธรรม
(๒) คุมครองและประกันความเปนอิสระและเที่ยงธรรมของ
คณะกรรมการจรยิ ธรรมและงานดานสงเสรมิ และคมุ ครองจริยธรรม
(๓) คุมครองขาราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีอยาง
ตรงไปตรงมามิใหผูบังคับบัญชาใชอํานาจโดยไมเปนธรรมตอขาราชการ
ผูน ้ัน
(๔) เผยแพรและปลูกฝงจริยธรรมใหเปนที่รับทราบอยางกวาง
ขวางทง้ั ในหมขู า ราชการและประชาชน
(๕) สง เสรมิ และยกยองสวนราชการ หวั หนาสว นราชการ ผูบังคับ
บัญชา และขาราชการทีป่ ฏิบัตติ ามประมวลจรยิ ธรรมอยางจรงิ จัง
(๖) ติดตาม สอดสองการใชบังคับ และการปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมนี้ ในกรณีมีการฝาฝนจริยธรรมและยังไมมีการดําเนินการใด

42 41
ก.พ. อาจมีมติใหหัวหนาสวนราชการของขาราชการผูฝาฝนปฏิบัติตาม
ประมวลจริยธรรมได
(๗) ประสานงานกับผูตรวจการแผนดิน เพื่อใหการปฏิบัติตาม
คานิยมหลักสําหรับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจาหนาท่ีของรัฐ
ตลอดจนประมวลจริยธรรมน้ีมีผลใชบังคับอยางจริงจัง มีประสิทธิภาพ
และทัว่ ถงึ
(๘) ประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ ของหัวหนา
สวนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม และขาราชการทั้งปวง และจัดทํา
รายงานประจําปเสนอคณะรัฐมนตรี และผูตรวจการแผนดิน แลวเผย
แพรใ หป ระชาชนทราบ
(๙) ตีความ และวินิจฉัยชข้ี าดปญหาอนั เกิดจากประมวลจริยธรรมนี้
(๑๐) ประมวลการตีความและวินิจฉัยปญหาอันเกิดจากการใช
บงั คับประมวลจริยธรรมนีท้ กุ ปและเผยแพรใ หขา ราชการทราบเพ่ือยึดถือ
และเปน แนวทางปฏิบตั ิตอ ไป
(๑๑) ทบทวนวา สมควรแกไ ขเพิม่ เติมประมวลจรยิ ธรรมน้ีหรอื ไมทุกสปี่ 
(๑๒) ดําเนินการอ่ืนตามประมวลจริยธรรมนี้ หรือตามท่จี ะตกลง
กบั ผตู รวจการแผน ดิน
ขอ ๑๔ ให ก.พ. โดยขอเสนอของหัวหนาสวนราชการ แตงต้ัง
คณะกรรมการจริยธรรมประจําสวนราชการขึ้น เพ่ือควบคุม กํากับใหมี
การปฏบิ ัตติ ามประมวลจริยธรรมนี้
คณะกรรมการจริยธรรมประกอบดว ย
(๑) ประธานกรรมการ ซึ่งหัวหนาสวนราชการเสนอจาก
ผูทรงคุณวุฒิภายนอกผูมีความซ่ือสัตยเปนประจักษโดยไดรับความ
เหน็ ชอบจาก ก.พ.
(๒) กรรมการผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภท
อํานวยการเลอื กกันเอง ใหเหลอื สองคน

4243
(๓) กรรมการสองคนซ่ึงเปนขาราชการในสวนราชการท่ีไดรับ
คดั เลอื กจากขา ราชการพนักงานราชการ และลูกจางของสวนราชการน้ัน
ตามวธิ กี ารดาํ เนินการทีแ่ ตล ะสวนราชการเหน็ สมควร
(๔) กรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกสองคน ซ่ึงหัวหนาสวน
ราชการและรองหัวหนา สวนราชการรวมกันเสนอ
ใหหัวหนางานกลุมงานคุมครองจริยธรรมเปนเลขานุการ
คณะกรรมการจริยธรรม
กรรมการจริยธรรมตองไมเคยถูกลงโทษทางวินัย และเปนผูมี
เกยี รติ เปนทยี่ อมรบั ของสวนราชการนน้ั
ขอ ๑๕ คณะกรรมการจริยธรรมมีอํานาจหนา ท่ี ดังนี้
(๑) ควบคุม กํากับ สงเสริมและใหคําแนะนําในการใชบังคับ
ประมวลจรยิ ธรรมน้ใี นสวนราชการ
(๒) สอดสองดูแลใหมีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมในสวน
ราชการ ในกรณีที่มีขอสงสัยหรือมีขอรองเรียนวามีการฝาฝนจริยธรรม
ใหสงเรอื่ งใหห ัวหนาสวนราชการเพ่ือปฏบิ ตั ิตามประมวลจริยธรรมนโ้ี ดยเรว็
(๓) พิจารณาวนิ ิจฉัยช้ีขาดปญหาอันเกิดจากการใชบังคับประมวล
จริยธรรมน้ีในสวนราชการเม่ือไดวินิจฉัยแลวใหสงคําวินิจฉัยให ก.พ.
โดยพลัน ถา ก.พ. มิไดวินิจฉัยเปนอยางอื่นภายในหกสิบวันนับแตวันท่ี
ก.พ. รับเร่ือง ใหค ําวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการจริยธรรมเปนท่สี ดุ
(๔) สงเร่ืองให ก.พ. พิจารณาวินิจฉัยในกรณีทเ่ี ห็นวา เร่ืองนั้นเปน
เรื่องสําคัญหรอื มีผลกระทบในวงกวางหลายสวนราชการ และยังไมมคี ํา
วนิ จิ ฉัยของ ก.พ. หรือผูตรวจการแผน ดิน
(๕) คุมครองและประกันความเปนอิสระและเท่ียงธรรมของงาน
ดา นสงเสรมิ และคมุ ครองจริยธรรมของสวนราชการ
(๖) คุมครองขาราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้อยาง
ตรงไปตรงมา มิใหผูบังคบั บญั ชาใชอาํ นาจโดยไมเ ปน ธรรมตอ ขาราชการผนู ้ัน

44 43
(๗) เสนอผลการประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้ของ

หัวหนาสวนราชการตอ ก.พ. และประเมินผลการปฏิบัติงานของงาน
ดา นสงเสริมและคมุ ครองจรยิ ธรรมของสวนราชการเพอ่ื เสนอหวั หนาสว น
ราชการเพื่อประกอบการเลื่อนเงินเดือน หรือเล่ือนตําแหนงขาราชการ
ในกลมุ งาน

(๘) เสนอแนะการแกไขเพม่ิ เติมประมวลจริยธรรมนี้ หรือการอ่ืนที่
เห็นสมควรตอ ก.พ.

(๙) ดําเนินการอื่นตามประมวลจริยธรรมน้ี หรือตามที่ ก.พ.
มอบหมาย

การประชุมคณะกรรมการจริยธรรมใหนํากฎหมายวาดวยวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครองมาใชบังคบั

ขอ ๑๖ หัวหนาสวนราชการ และผูบริหารสวนราชการตั้งแต
ผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารประเภทอํานวยการ หรือดํารงตําแหนง
ประเภทอื่นท่ีทําหนาที่เปนผูบังคับบัญชามีหนาที่ปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมนี้ และประพฤติตนใหเ ปนแบบอยางท่ีดแี กผูอยูใ ตบังคบั บัญชา
ควบคุมใหผูอยูใตบังคบั บัญชาปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ี สนับสนุน
สงเสริมผูอยูใตบังคับบัญชาท่ีมีความซ่ือสัตยมีผลงานและความรู
ความสามารถ และปฏบิ ตั ิตามประมวลจริยธรรมน้ี โดยใหมีอํานาจหนาท่ี
ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) คุมครองและประกันความเปนอิสระและเท่ียงธรรมของงาน
ดา นสงเสริมและคมุ ครองจริยธรรม ของสวนราชการ

(๒) คุมครองขาราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้อยาง
ตรงไปตรงมา มิใหถูกกล่ันแกลงหรือถูกใชอํานาจโดยไมเปนธรรม
ในกรณีที่หัวหนาสวนราชการ ผูบริหารสวนราชการตั้งแตประเภท
อํานวยการข้ึนไป ถูกขาราชการผูใดกลาวหาวาไมปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมน้ี ขาราชการผูถูกกลาวหานั้นไมอาจดําเนินการเกี่ยวกับการ

4445
ออกคาํ สั่งแตงตั้ง โยกยาย เลื่อนเงนิ เดือน แตง ตั้งคณะกรรมการสืบสวน
ขอเท็จจริงหรือคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย หรือการดําเนินการใด
ท่ีเปนผลรายหรือกระทบตอสิทธิหนาที่ของขาราชการผูกลาวหาน้ัน
จะกระทาํ มิไดเ วนแตจะไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรม
ประจาํ สวนราชการแลว

(๓) สงเสริมและเผยแพรก ารปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีอยาง
สม่าํ เสมอ

(๔) ติดตามสอดสองใหขาราชการในสวนราชการปฏิบัติตาม
ประมวลจริยธรรมนอี้ ยางเครง ครดั

(๕) ปฏิบัติตามมติหรือคําวินิจฉัย ก.พ. หรือคณะกรรมการ
จริยธรรม คําแนะนําของผูตรวจการแผนดิน ในกรณีท่ีคณะกรรมการ
จริยธรรมมีคําวินิจฉัยใด และหัวหนาสวนราชการไมเห็นพองดวยกับคํา
วินิจฉัยน้ัน ใหเสนอความเห็นของตนและคําวินิจฉัยของคณะกรรมการ
จริยธรรมไปใหก.พ. วินจิ ฉัยได เวนแตกรณีนัน้ มคี าํ วนิ จิ ฉัยของผูตรวจการ
แผนดิน หรือ ก.พ. วินจิ ฉยั เสร็จเดด็ ขาดไวแลว

(๖) รวบรวมปญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ี และ
ขอเสนอแนะในการปรับปรุงประมวลจริยธรรมนี้ หรือการอื่นตามที่
เหน็ สมควรเสนอตอ ก.พ.

(๗) ดาํ เนินการอ่ืนตามประมวลจริยธรรมนี้ หรือตามท่ีผูต รวจการ
แผนดนิ หรือ ก.พ.มอบหมาย

ขอ ๑๗ ใหจัดต้ังกลุมงานคุมครองจริยธรรมขึ้นในทกุ สวนราชการ
ข้ึนตรงตอหัวหนาสวนราชการ มีหนาที่คุมครองจริยธรรมตามประมวล
จริยธรรมน้ี ซึ่งมีความเปนอิสระ โดยมีขาราชการซึ่งดํารงตําแหนงประเภท
บริหารระดับตน ขน้ึ ไปเปน หัวหนา กลุม และมีอาํ นาจหนาที่ ดงั ตอ ไปน้ี

46 45
(๑) ดาํ เนินการเผยแพร ปลูกฝง สงเสริม ยกยองขาราชการที่เปน

แบบอยางที่ดีและติดตามสอดสองการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้
อยางสมํ่าเสมอ

(๒) สืบสวนขอเท็จจริงการฝาฝนจริยธรรมเพื่อรายงานผลใหหัว
หนาสวนราชการพิจารณาท้ังนี้ โดยอาจมีผูรองขอหรืออาจดําเนินการ
ตามท่หี วั หนาสวนราชการมอบหมาย หรอื ตามที่เหน็ สมควร ก็ได

(๓) ใหความชวยเหลือและดูแลขาราชการซ่ึงปฏิบัตติ ามประมวล
จริยธรรมน้ีอยางตรงไปตรงมามิใหถูกกล่ันแกลงหรือถูกใชอํานาจโดย
ไมเปนธรรมใหนําความในขอ ๑๖ (๒) มาใชกับขาราชการในกลุมงาน
คมุ ครองจริยธรรมดว ย โดยอนุโลมโดยให ก.พ. เปน ผูใ หค วามเหน็ ชอบ

(๔) ทําหนาที่ฝายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจํา
สวนราชการ

(๕) ดาํ เนินการอื่นตามท่กี าํ หนดในประมวลจริยธรรมนี้ หรือตามที่
หวั หนา สวนราชการคณะกรรมการจรยิ ธรรม หรือตามท่ี ก.พ. มอบหมาย
ท้ังนี้ โดยไมกระทบตอความเปนอิสระของผูดํารงตําแหนงในกลุมงาน
ดังกลา ว

(สว นท่ี ๒)
ระบบการบงั คับใชประมวลจริยธรรม
ขอ ๑๘ การฝาฝนจริยธรรมตามความในหมวด ๒ ของประมวล
จริยธรรมนี้เปนความผิดวินัยตามกฎหมายวาดวยพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ หรือระเบียบกระทรวงการคลัง
วาดวยลูกจางประจําของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๓๗ แลว แตกรณี

4647
ขอ ๑๙ เม่ือมีกรณีการฝาฝนจริยธรรม ผูบังคับบัญชาอาจสั่ง
ลงโทษทางวินัย วากลา วตกั เตอื น ทาํ ทณั ฑบ นเปนหนังสือหรือสั่งใหไดรบั
การพฒั นาตามทเี่ หน็ สมควร
ขอ ๒๐ ใหหัวหนาสวนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม และ
ก.พ. สงเสริมจริยธรรมขา ราชการ โดยอยางนอยตอ งดําเนินการ ดังนี้
(๑) ในการบรรจุแตงตั้ง เลื่อนเงินเดือน ยายหรือโอนขาราชการ
ใหใชพฤติกรรมทางจริยธรรมของผูน้ันพิจารณาควบคูกับความรู
ความสามารถ
(๒) ปลูกฝง จริยธรรมใหข า ราชการใหม จัดใหขาราชการลงลายมือ
ช่ือรับทราบประมวลจริยธรรม จัดใหมีสมุดบันทึกประวัติในสวนท่ี
เกี่ยวกับจริยธรรมของขาราชการแตละคน รวมทั้งจัดใหมีกิจกรรม
สงเสริมจรยิ ธรรมผูบ ริหาร และขา ราชการอยางสมา่ํ เสมอ
(๓) ประเมินการปฏิบตั ิตามประมวลจริยธรรมของขาราชการ
(๔) คุมครองขาราชการผูปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีอยาง
เพยี งพอ
(๕) ยกยองขาราชการและสวนราชการท่ีถือปฏิบัติตามประมวล
จรยิ ธรรมนีโ้ ดยเครงครัด
(๖) ตอบขอสงสัยหรือคําถามเก่ียวกับการปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมน้ี
(๗) จัดใหมีการศึกษาคานิยมที่เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติตาม
ประมวลจรยิ ธรรมน้ีและดําเนนิ การแกไขปรับเปล่ยี นคานิยมน้นั
(๘) เผยแพรใหประชาชน ผูเปนคูสมรส ญาติ พี่นอง พรรคพวก
เพ่ือนฝูงของขาราชการตลอดจนประชาชนผูมาติดตอราชการทราบ
ประมวลจริยธรรมของขาราชการ เพื่อไมทําการอันเปนการสงเสริมหรือ
กอใหเกดิ การฝา ฝนจริยธรรม

48 47
(๙) จัดใหมีการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติตามประมวลจรยิ ธรรมน้ี
ขอ ๒๑ เมื่อมีปญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีในเร่อื งใด

ขา ราชการอาจเสนอเรือ่ งทเี่ ปนปญหาดังกลาวใหหัวหนางานดานสง เสริม
และคุมครองจริยธรรมของสวนราชการที่ตนสังกัดนําเสนอเพ่ือขอคํา
วินิจฉัยหรอื อนุญาตแลว แตกรณีจากคณะกรรมการจริยธรรมได ในกรณี
ท่ีเร่ืองนั้นเปนเร่ืองสําคัญหรือมีผลกระทบในวงกวางหลายสวนราชการ
และยังไมมีคําวินิจฉัยของ ก.พ. หรือผูตรวจการแผนดินแลวแตกรณี
คณะกรรมการจรยิ ธรรมอาจสง เร่อื งให ก.พ. วนิ จิ ฉยั

ในกรณที ่ี ก.พ. เห็นวาเรื่องดงั กลาวตามวรรคหน่ึงเปนเร่ืองสําคัญ
อันควรแกการขอคาํ แนะนาํ จากผตู รวจการแผน ดนิ ก็ใหกระทาํ ได

ขาราชการที่ปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการจริยธรรม
ก.พ. หรือผูตรวจการแผน ดนิ ไมต อ งรับผดิ ทางวินยั

ขอ ๒๒ ในกรณีท่ีจําเปนตองดําเนินการเร่ืองใดโดยดวน
หากปลอยใหเน่ินชาไปจะกระทบตอประโยชนสวนรวมหรือประโยชน
ของทางราชการ และไมอาจเรียกประชุมคณะกรรมการจริยธรรมไดทันข
าราชการอาจขอคําแนะนําจากหัวหนางานดานสงเสริมและคุมครอง
จริยธรรมของสวนราชการทต่ี นสงั กัด

หัวหนางานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรมตามวรรคหน่ึง
มีหนาท่ีตองใหคําแนะนําตามสมควร ตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการ
จริยธรรม ก.พ. หรือผูตรวจการแผนดิน หากไมมีคําวินิจฉัยในเรื่องท่ี
เปนปญหามากอน หัวหนา งานดา นสงเสริมและคุม ครองจริยธรรมอาจให
คําแนะนาํ โดยยึดประโยชนสูงสุดของสวนรวมเปนสําคัญ ท้ังตองมุงสราง
ความสํานึกและเท่ียงธรรมในหนาท่ี ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีของ
ขาราชการท่ีสรางความไววางใจและเชื่อม่ันของปวงชน และการดํารง
ตนเปนแบบอยางท่ีดีงามใหสงเร่อื งใหคณะกรรมการจริยธรรมและ ก.พ.
ทราบ

4849
ขาราชการท่ปี ฏิบตั ิตามคําแนะนําของหัวหนา งานดา นสงเสริมและ
คุมครองจริยธรรมตามแนวทางท่ีคณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือ
ผูตรวจการแผน ดนิ เคยวนิ ิจฉัยไวแลวโดยสจุ รติ ไมต องรับผิดทางวินยั

บทเฉพาะกาล
ขอ ๒๓ ใหดาํ เนินการแตงต้ังคณะกรรมการจริยธรรมและจัดต้ัง
กลุมงานคุมครองจริยธรรมในสวนราชการทุกแหงภายในเกาสิบวัน
นบั แตวันท่ปี ระมวลจรยิ ธรรมน้ีมผี ลใชบ งั คบั
ขอ ๒๔ เมื่อครบหน่ึงปนับแตวันที่ประมวลจริยธรรมน้ีมีผลใช
บังคับให ก.พ. จัดใหมีการประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้
พรอมดําเนนิ การปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติหรือแกไขเพิ่มเติมประมวล
จริยธรรมใหเหมาะสม
ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให ก.พ. รับฟงความคิดเห็น
จากขาราชการ หัวหนากลุมงานคุมครองจริยธรรม คณะกรรมการ
จริยธรรม หัวหนาสวนราชการ และผูตรวจการแผนดินอยางกวางขวาง
และตอ งดําเนนิ การตามวรรคหนงึ่ ใหแลวเสร็จภายในหน่ึงรอยแปดสิบวัน
นับแตวันทค่ี รบหน่งึ ปของการใชบังคบั ประมวลจรยิ ธรรมน้ี

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒
อภิสทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ
นายกรฐั มนตรี
ประธาน ก.พ.

50 49
หมวด 2

ขอบังคับกรมท่ดี นิ วา ดวยจรรยาขาราชการกรมทดี่ นิ พ.ศ. ๒๕๕๒

ขอบังคบั กรมที่ดินวา ดวยจรรยาขาราชการกรมทีด่ นิ พ.ศ. ๒๕๕๒
โดยท่ีกรมที่ดินมีภารกิจในการคุมครองสิทธิในที่ดนิ ของประชาชน

และจัดการที่ดินของรัฐโดยการออกหนังสือแสดงสิทธิ และใหบริการ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยก ารรงั วัดแบงแยก
สอบเขต รวมโฉนดที่ดิน เพื่อใหประชาชนมีความม่ันคงในการถือครอง
ท่ดี ิน และไดร ับบรกิ ารทด่ี ีมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการรังวัดออกหนงั สือ
สําคัญสําหรับท่ีหลวง และการพิจารณาอนุญาต อนุมัติใหใชประโยชน
ในท่ีดินสาธารณประโยชนท่ีประชาชนเลิกใชประโยชนรวมกันแลว
เพ่ือใหการบริหารจัดการที่ดินของรัฐมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน
สูงสุด จึงสมควรกําหนดขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการกรมที่ดิน
เพ่ือเปนการเสรมิ สรางจิตสํานึกท่ีถูกตองของขาราชการกรมทด่ี ินในการ
ปฏิบัติหนาท่ดี ังกลาวใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล บรรลุวิสัยทัศนและ
พันธกิจของกรมท่ีดิน เพื่อประโยชนสุขของประชาชน ปองกันการทจุ ริต
ประพฤตมิ ิชอบ ธํารงไวซ่งึ ศกั ดิ์ศรีเกียรตคิ ณุ ของกรมที่ดิน อันจะสงผลให
ไดร ับความเชือ่ ถือ ศรัทธา และไววางใจจากประชาชน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๘ และ ๗๙ แหงพระราช
บัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กรมที่ดินจึงไดกําหนด
ขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการกรมท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้ึนเพ่ือเปน

5051

กรอบมาตรฐานการประพฤติปฏิบัติตนของขาราชการกรมท่ีดิน ในการ
เปนแบบอยางที่ดีงามธํารงไว ซ่ึงเกียรติ ศักด์ิศรี ความเปนขาราชการท่ดี ี
ไวดังตอ ไปนี้

ขอ ๑ ยึดมัน่ และยืนหยดั ในส่งิ ทถ่ี ูกตอง
ปฏิบัติหนาที่โดยยึดม่ันในความถูกตอง เท่ียงธรรม รักษาผล
ประโยชนข องประเทศชาติหนวยงาน และสวนรวมมากกวาผลประโยชน
สวนตน
 ปฏิบัติหนาท่ีดวยความรูความสามารถและทักษะในการ
ดําเนินงาน ดวยความถูกตองตามหลักกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ และยึด
ม่ันในหลักวิชาการดานทะเบียน ดานรังวัด ดานการบริหาร และ
จริยธรรม
 ปฏิบตั หิ นา ท่โี ดยยดึ มน่ั ในระบบคุณธรรม เพื่อประโยชนสุขของ
ประชาชน รวมท้ังละเวนการแสวงหาตําแหนง บําเหน็จความชอบ และ
ประโยชนอ น่ื ใดจากบุคคลอน่ื โดยมชิ อบ
 ตัดสินใจและกระทําการใดๆ โดยยึดประโยชนสวนรวมของ
ประเทศชาติประชาชนและหนวยงานมากกวาประโยชนส วนตน
 ประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดขี องผูใตบังคบั บัญชาในการยึดมั่น
ความถกู ตองเทย่ี งธรรม และปกปองผลประโยชนข องชาติ
ขอ ๒ ซอ่ื สตั ย สจุ ริต รับผิดชอบ
ปฏิบัติหนาท่ีดวยความซ่ือสัตย สุจริต เสียสละ พากเพียรและ
ตระหนักในหนาที่ความรบั ผิดชอบ
 ปฏิบตั ิหนาที่ดว ยความซอ่ื สตั ย สุจริต เทีย่ งธรรม ไมมุง หวังและ
แสวงหาผลประโยชนอนั มคิ วรไดจ ากการปฏิบัติงาน
 ใชด ุลพินิจในการตัดสินใจดวยความสจุ ริต ตรงตามเจตนารมณ
ของกฎหมาย

52 51
 ไมใหคําแนะนําใดๆ เก่ียวกับการดําเนินการ อันเปนการหลบ

เล่ียงกฎหมายคา ธรรมเนยี ม และคา ภาษีอากร
 ไมรับฝากหรือรับเหมาเงนิ คาธรรมเนียม คาภาษีอากร และคา

ใชจายตางๆรวมทงั้ การรบั เงินมัดจาํ รงั วัดสว นทเ่ี หลือคนื แทนผูข อรงั วัด
 รับผิดชอบตอผลการกระทําของตนเอง อธิบายส่ิงท่ตี นไดปฏิบัติ

อยางมีเหตุผลและถูกตอง ชอบธรรม พรอมท้ังยินดีแกไขขอผิดพลาด
ที่เกิดขึน้

 ควบคุม กํากับ ดูแล ผูปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของตนไมให
กระทาํ การหรือมพี ฤตกิ รรมในทางมชิ อบ

 ไมน ําผลงานของผอู ื่นมาเปนของตน
ขอ ๓ โปรงใสและสามารถตรวจสอบได
ปฏิบตั ิหนาทีด่ ว ยความโปรงใส พรอมรับการตรวจสอบ
 เปดเผยหลักเกณฑ ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน ใหผูรับบริการ
ไดรับทราบรวมถึงให ขอมูลขาวสาร แกผูรองขอตามกรอบของระเบียบ
กฎหมาย
 ปฏิบัติหนาที่ราชการตามลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีไดมี
การวางระเบียบแนวทางปฏิบัติไว
 ใชขอมูลขาวสารของทางราชการในทางท่ีเปนประโยชน ถูกตอง
ดวยความระมัดระวัง ไมเปดเผยขอมูลขาวสารท่ีเปนความลับของทาง
ราชการ
 ปกปดขอมูลสวนบุคคลอันไมควรเปดเผยท่ีอยูในความ
รบั ผิดชอบของหนวยงาน
 ดูแลหลักฐานการปฏิบัตงิ านใหพรอ มรับการตรวจสอบ
 ช้แี จงและใหเหตุผลแกผ ูรบั บริการ กรณไี มสามารถปฏิบัติหรือ
กระทาํ ตามคําขอได

5523
ขอ ๔ ไมเลือกปฏิบัติ
ปฏิบตั หิ นาทด่ี ว ยความเสมอภาค เปน ธรรม และปราศจากอคติ
 ปฏิบัติตอ ผมู ารบั บรกิ ารดว ยความเสมอภาค ไมเ ลอื กปฏิบัติ
 ปฏิบัติหนาที่สอบสวน เปรียบเทียบ ไกลเกลี่ย รวมทั้งกรณี
พิพาทเรื่องตางๆ บนพื้นฐานของความเปนกลาง และใหค วามเปนธรรม
แกทกุ ฝา ย ไมช ้ชี อ งใหคกู รณฝี า ยใดฝายหนงึ่ ไดเปรียบ
 ละเวนการมีพฤติกรรมอันอาจทําใหคูกรณีฝายใดฝายหนึ่ง
เขา ใจวาเปน การชวยเหลือคกู รณีอีกฝา ยหนงึ่ หรือบุคคลภายนอก
 ไมกระทําการใดอันเปนการยุยงสงเสริม ใหเกิดขอพิพาท
เกี่ยวกับแนวเขตหรอื เนอ้ื ที่ทด่ี ิน หรอื การปฏิบตั หิ นา ทอ่ี ี่นๆ
ขอ ๕ มุง ผลสัมฤทธิ์
ปฏิบัติหนาท่ีเสร็จสมบูรณภายในเวลาที่กําหนด ไดผลลัพธตาม
เปาหมาย คุมคาดวยวิธีการท่ีถูกตองชอบธรรม เกิดประโยชนสูงสุดตอ
ประเทศชาติ ประชาชน และหนวยงาน โดยใชทรัพยากรอยางประหยัด
และเหมาะสม
 ปฏบิ ัตงิ านดวยความเอาใจใส มานะพยายาม มุง มนั่ และติดตาม
งานในความรับผิดชอบใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายภายในเวลา
ท่ีกําหนด โดยวิธีการ กระบวนการ ท่ีถูกตอ ง
 ปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ โดยใชทักษะ ความรูความสามารถ
อยางเต็มท่ีดวยความถูกตอง รอบคอบ ระมัดระวัง เพ่ือรักษาผลประโยชน
สวนรวมอยางเตม็ ความสามารถ
 พัฒนาตนเองใหเปนผูมีความรอบรู และมีความรู ความสามารถ
ทกั ษะในการปฏิบตั ิงานในหนาที่
 พัฒนาระบบการทํางานใหไดผลงานท่ีดี มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ
ประสทิ ธผิ ลและเปนแบบอยางได

54 53
 จัดระบบการจัดเก็บเอกสาร ขอมูล รวมทั้งสถานที่ ใหเปน

ระบบระเบียบเอ้ืออํานวย ตอ การทาํ งานใหสาํ เร็จตามเปาหมาย
 ดูแลรักษาและใชทรัพยสินของทางราชการอยางประหยัด

คมุ คา เหมาะสมดว ยความระมดั ระวัง มิใหเสยี หายหรอื ส้ินเปลือง เสมือน
เปนทรัพยสนิ ของตนเอง

ขอ ๖ มีจิตบริการปฏิบัติหนาที่ใหผูรับบริการไดรับความสะดวก
รวดเรว็ ดวยความมอี ธั ยาศัยไมตรี

 ใหบ รกิ ารดวยความกระตอื รือรน เอาใจใส และใหเกียรตผิ ูร บั บรกิ าร
 สอดสองดูแล และใหบริการแกผูรับบริการดวยความสะดวก
รวดเรว็ เสมอภาคยตุ ิธรรม และมอี ัธยาศยั ไมตรี
 ใหบรกิ ารดวยภาษาถอยคําสุภาพ ชัดเจน เขาใจงาย หลีกเลี่ยง
การใชศ ัพทเทคนคิ หรือถอ ยคําภาษากฎหมายท่ผี รู ับบรกิ ารไมเ ขา ใจ
 ปฏิบัติงานดวยความถูกตอง รอบคอบ รวดเร็ว ระมัดระวัง
ไมใ หเสอื่ มเสยี หรอื กระทบตอ สิทธขิ องบคุ คลอ่ืน
 เปดชองทางรับฟงความคดิ เห็นของประชาชน ผูมีสวนไดสวนเสีย
ในสถานท่ีใหบริการ และนําขอมูลดังกลาวมาใชในการแกไขปญหา
ปรับปรงุ พฒั นาหนวยงานและการใหบรกิ ารประชาชน
ขอ ๗ ดํารงชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดาํ เนินชีวติ บนทางสายกลาง โดยยึดหลักความพอประมาณ ความ
มีเหตุผลและการมภี ูมคิ มุ กนั ท่ีดี ภายใตเ งื่อนไขความรแู ละคุณธรรม
 ยดึ หลกั ความพอประมาณ โดยดํารงชวี ิตเหมาะสมกับฐานะของ
ตนเองและสังคมพัฒนาตนเองใหมีความอุตสาหะ ขยันหม่ันเพียร
ประหยัด และดีขึน้ เปนลําดับ
 ยึดหลักความมีเหตุผล โดยปฏิบัติตนและปฏิบัติงานอยางมี
ระบบ มีเหตุผลถูกตอง โปรงใส เปนธรรม กอนตัดสินใจดําเนินการใดๆ
ตอ งคาํ นึงถงึ ผลท่คี าดวาจะเกดิ ขึน้ ท้งั ตอ สว นรวมและตอ ตนเอง

5455
 ยึดหลักการมีภูมิคุมกันท่ีดี ดวยการดําเนินชีวิตและปฏิบัติงาน
โดยมีเปาหมายมีการวางแผนและดําเนินการไปสูเปาหมายดวยความ
รอบคอบ ประหยัด อดทน อดออม บนพ้ืนฐานความรูและคุณธรรม
เพ่ือใหบ รรลุเปา หมาย
 พัฒนาตนเองและเพ่ือนรวมงาน ใหเปนผูมีความรูความสามารถ
ในการปฏิบัติงานมีความโอบออ มอารี เอื้อเฟอเผ่ือแผตอผูมาติดตอราชการ
และเพอื่ นรว มงาน
 ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูใตบังคับบัญชาในการนอม
นําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก ารปฏบิ ตั ิ
 ดูแลเอาใจใสผูใตบังคับบัญชา ทั้งในดานการปฏิบัติงาน
ขวัญกําลังใจ สวัสดิการและรับฟงความคิดเห็นของผูใตบังคับบัญชา
ตลอดจนปกครองผูใตบังคับบัญชาดว ยหลักการและเหตุผลทีถ่ ูกตองตาม
ทํานองคลองธรรม
ขอ ๘ รกั ศกั ดิ์ศรีของตนเองและเกียรติภูมิขององคกร
ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ต น ใ ห  เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป  น ข  า ร า ช ก า ร ท่ี ดี
เสริมสรางภาพลักษณของกรมท่ีดินใหเปน ที่เช่ือถือ ศรัทธาและไววางใจ
ของประชาชน
 รักศักด์ิศรีของตนเอง โดยประพฤติตนใหเหมาะสมกับการ
เปนขาราชการท่ีดีอยูในระเบียบ วินัย กฎหมาย และเปนผูมีคุณธรรม
จริยธรรม ศีลธรรมอันดี เพื่อใหเปนที่เชื่อถือ ศรัทธาและไววางใจของ
ประชาชน
 สงเสรมิ ภาพลักษณเ พ่ือเกียรตภิ มู ิของกรมทีด่ ิน ดว ยความภูมิใจ
ในความเปนขาราชการกรมที่ดิน สรางความเชื่อม่ันใหสังคมภายนอก
ยอมรับการปฏิบตั ิงานของกรมท่ีดิน
 สรา งความสามัคคใี นองคกร โดย

- เคารพตอ ความเช่อื และคา นิยมของบุคคลหรือเพ่ือนรวมงาน

56 55
- ยอมรับความคิดเห็นที่แตกตาง และบริหารจัดการความ

ขัดแยงอยางมีเหตผุ ล
- ไมผูกขาดการปฏิบัติงานหรือเก่ียงงาน อันอาจทําใหเกิดการ

แตกความสามคั คใี นหนว ยงาน
- ประสานงานกับทุกฝายทเี่ กี่ยวของดวยการรักษาสัมพันธภาพ

ในการปฏิบตั ิงาน
ท้ังนี้ ใหขาราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการ ปฏิบัติตาม

จรรยาขา ราชการดังกลาวขางตน โดยเครงครัด

ประกาศ ณ วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
ลงช่ือ อนวุ ัฒน เมธีวบิ ูลวฒุ ิ
(นายอนุวัฒน เมธวี ิบูลวุฒ)ิ
อธบิ ดีกรมท่ดี ิน

หมวด ๓
คา นิยมหลกั กรมที่ดิน

คา นยิ มหลัก : ACCEPT
Accountability : รรู ับผดิ ชอบ
Customer Service : มอบจติ บริการ
Communication : สือ่ สารเลิศล้าํ
Ethic : จริยธรรมนําจิตใจ
People Development : ฝกใฝเ รยี นรู
Teamwork : มงุ สูความรวมมือ

56
บทที่ ๓
แนวทางปฏิบัตติ ามประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรอื น
จรรยาขาราชการกรมทด่ี นิ และคา นิยมหลักกรมทีด่ ิน
หมวด ๑
แนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรอื น
ประมวลจริยธรรมขาราชการ และขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการ
(Code of Ethics and Code of Conduct) ตางเปนกลไกและเครื่องมือ
ที่องคกรสากลระหวางประเทศ เชนสหประชาชาติรวมท้ังภาครัฐใน
นานาอารยประเทศยอมรับวาใชในการขับเคลื่อนจริยธรรมในองคกร
ท่ีเปนรูปธรรมเปนพันธะสัญญาท่ีประกาศใหประชาชนรับทราบวา
เจาหนาที่ของภาครัฐในแตละสวนราชการจะตองปฏิบัติอยางไร
นอกจากน้ันยังเปนเคร่ืองมือกํากับ และตรวจสอบจริยธรรมของเจา
หนา ท่ีในหนวยงานปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบในราชการ ประการ
สําคัญในองคกรตนแบบพบวา ทุกหนวยงานของประเทศ ระดับรัฐบาล
กลาง มลรัฐและทองถ่ิน สาระในจริยธรรมและจรรยาขาราชการจะสอด
คลองกันคือ ประกอบดวยคุณธรรม คานิยมหลักที่เหมือนกัน อาทิ เชน
คุ ณ ธ ร ร ม ห ลั ก ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ / ก ฎ ห ม า ย คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม
พฤติกรรมตามจรรยาขาราชการทั้งที่เปนหลักตามมาตรฐานท่ัวไปและ
ที่กําหนดขึ้นเฉพาะของแตละหนวยงาน แนวทางในการปฏิบัติกรณี
ท่ีมีขอขัดแยงระหวางผลประโยชนสวนรวมกับผลประโยชนสวนตน
หนาทขี่ องผูรับผิดชอบกํากับดูแลคือ ผูบ ริหารระดบั สงู และกลไกบงั คบั ใช
จริยธรรมตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนซึ่งเปน
มาตรฐานการประพฤติปฏิบัติของขาราชการตามคานิยมหลัก (Core Value)
๙ ประการของสํานักงานผูตรวจการแผนดิน และจรรยาขาราชการท่ี

58 57
บัญญัติในมาตรา ๗๘ ของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑
๑.๑ บุคคลท่มี ีหนา ท่ีตองปฏิบัติตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมขาราชการ
พลเรือน
ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน ลงประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
เมื่อวันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เพื่อใหใชบังคับเปนมาตรฐานทาง
จริยธรรมกับขาราชการพลเรือนสามัญ พนักงานราชการ และลูกจาง
ในสังกัดราชการพลเรือน โดยมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ ๒ กุมภาพันธ
๒๕๕๓ เปน ตนมา
พนักงานราชการและลูกจา งในสังกัดราชการพลเรือน ตองปฏิบัติ
ตนตามประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือน เชนเดียวกับขาราชการพล
เรือนตามขอ ๒ แหงประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนซ่ึงกําหนด
คํานิยาม “ขาราชการ หมายความวา ขาราชการพลเรือน พนักงาน
ราชการ และลูกจางในสังกัดราชการพลเรือน ดังนน้ั ขาราชการครูจึงไม
อยูในขอบังคับตามประมวลจริยธรรมน้ี “หัวหนาสวนราชการ”
หมายความรวมถึง ผูวาราชการจังหวัด สําหรับราชการสวนภูมิภาค
“คณะกรรมการจริยธรรม” หมายความวา คณะกรรมการจริยธรรม
ประจําสวนราชการ และ “ของขวัญ” หมายความวาของขวัญตาม
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ
ทุจริตหรือกฎหมายเก่ียวกับการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและ
ประโยชนส วนรวม
ดังนั้น ผูมีหนาที่ตองปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมขาราชการ
พลเรือน คือ ขาราชการทุกคนพนักงานราชการ และลูกจางในสังกัด
ราชการพลเรือน โดยเฉพาะผูบรหิ าร ตอ งปฏิบตั ิตนเปนแบบอยางทด่ี ี

5859
ขาราชการที่กระทําการใดอันไมเปนไปตามประมวลจริยธรรม
บางกรณอี าจกระทําไปเพราะไมท ราบวาเปน การฝาฝน ประมวลจริยธรรม
จนมีผูทักทวงขึ้นหรือตนเองสงสัยวากระทําไดหรือไม กรณีนี้ตองขอให
คณะกรรมการจริยธรรมพิจารณาวาจะกระทําตอไปไดหรือไม สว นกรณี
จงใจกระทําการฝาฝนจริยธรรมโดยมีผูรองเรียนกลาวหา หรือ
คณะกรรมการจริยธรรมสงสัย กลุมงานคุมครองจริยธรรมตองสืบสวน
และเสนอหัวหนา สวนราชการเพ่อื พิจารณาตอ ไป
๑.๑.๑ ขอแนะนําเกย่ี วกับหนา ทข่ี องขาราชการ

๑) ความเขาใจเน้ือหาสาระของประมวลจริยธรรม
ขา ราชการพลเรือน

๒) ใหความรูความเขาใจกับบุคคลอื่นที่ตองปฏิบัติหนาท่ี
โดยยึดมาตรฐานทางจรยิ ธรรมขาราชการพลเรือน

๓)เรียนรูเน้ือหาสาระท่ีเก่ียวของกับหนาที่และความ
รับผิดชอบของตน พรอ มทัง้ ปฏบิ ัติตามดวยความเชอ่ื มัน่ และศรัทธา

๔) ทบทวนความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระของประมวล
จรยิ ธรรมอยางสมาํ่ เสมอ

๕) ใหความรูความเขาใจกับบุคคลอื่นท่ีตองปฏิบัติหนาท่ี
โดยยึดมาตรฐานทางจริยธรรมขาราชการพลเรือน

๖) เมื่อมีขอสงสัยหรือขอซักถามใหปรึกษาผูบังคับบัญชา
หรอื บุคคลทกี่ ําหนดใหมีหนาทรี่ ับผิดชอบเก่ียวกับการติดตามการปฏิบัติ
ตามประมวลจริยธรรม ผานชองทางตา งๆ ทกี่ ําหนดไว

๗) แจงใหผูบังคับบัญชาหรือบุคคลท่ีรับผดิ ชอบทราบเม่ือ
พบเห็นการฝา ฝนหรือการไมปฏบิ ตั ิตามประมวลจริยธรรม

๘) ใหความรวมมือในการตรวจสอบขอเท็จจริงตางๆ กับ
หนวยงานหรือบุคคลที่หนวยงานไดม อบหมาย

60 59
๑.๑.๒ แนวทางการปฏิบัตติ ามจริยธรรมขาราชการพลเรอื น
ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนไดกําหนดจริยธรรม

สําหรบั ขาราชการพลเรือนไวใน หมวด ๒ จาํ นวน ๑๐ ประการ
จุดมงุ หมาย
๑. เพ่ือใหปวงขาราชการเกิดสํานึกลึกซ้ึงและเท่ยี งธรรมในหนาที่

ผดุงเกียรติและศักด์ิศรีขาราชการ ควรแกความไววางใจและเชอื่ ม่ันของ
ปวงชน

๒. เพื่อใหขาราชการดํารงตนตั้งมั่นเปนแบบอยางท่ีดีงามสมกับ
ความเปน ขา ราชการในพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัวผทู รงเปน แบบอยาง
แหงธรรมจรรยาอันสงู สุด

ประมวลจริยธรรม แนวทางปฏิบตั ิ
ขาราชการพลเรอื น ๑.๑ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
ขอ ๑. ขาราชการตองยดึ มั่นใน อยางตรงไปตรงมาและไมกระทําการ
จริยธรรมและยนื หยดั กระทําสิ่ง เลี่ยงประมวลจริยธรรมน้ี ในกรณีมีขอ
ที่ถูกตองและเปน ธรรม สงสัยหรือมีผูทักทวงวาการกระทําใด
ของขา ราชการอาจขัดประมวลจรยิ ธรรม
ตองไมกระทําการดังกลาวหรือหยุด
กระทําการและสง เร่ืองใหคณะกรรมการ
จริยธรรมพิจารณาวินิจฉัย ในกรณีที่
คณะกรรมการจริยธรรมวินิจฉัยวาการ
กระทําน้ันขัดตอประมวลจริยธรรมจะ
กระทําการน้ันมไิ ด
๑.๒ เมอื่ รูหรือพบเห็นการฝาฝน
ประมวลจริยธรรมตองรายงานการ

ประมวลจริยธรรม 6061
ขาราชการพลเรือน
แนวทางปฏิบตั ิ
ฝาฝนดังกลาวพรอมพยานหลักฐาน
(ถามี) ตอหัวหนาสวนราชการหรือ
คณะกรรมการจริยธรรมโดยพลัน
ในกรณีท่ีหัวหนาสวนราชการเปนผู
ฝาฝนฯ ตองรายงานตอปลัดกระทรวง
หรือผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไปของ
หัวหนาสวนราชการนั้นแลวแตกรณี
และหรือคณะกรรมการจรยิ ธรรม

๑.๓ ต องรา ย งานก าร ดํ าร ง
ตําแหนง ทัง้ ท่ีไดรบั คาตอบแทน และ
ไมไดรับคาตอบแทนในนิติบุคคลซ่ึง
มิใชสวนราชกา ร รัฐ วิสา หกิจ
องคการมหาชนราชการสวนทอ งถิ่น
หนวยงานอ่นื ของรัฐ และกิจการทรี่ ัฐ
ถือหุนใหญ ตอหัวหนาสวนราชการ
แล ะค ณะ กร ร มก า รจ ริ ย ธ ร ร ม
ในกรณีที่การดํารงตําแหนงนั้นๆ
อาจขัดแยงกับการปฏิบัติหนาท่ีหรือ
อาจทาํ ใหการปฏิบัตหิ นาทเี่ สียหาย

ความในขอน้ีใหใชบังคับกับการ
เปนลูกจางการรับจางทําของการเปน
ตัวแทน การเปนนายหนาและการมีนิติ
สมั พนั ธอื่นในทํานองเดยี วกันดวย

62 61

ประมวลจริยธรรม แนวทางปฏิบตั ิ
ขาราชการพลเรือน
๑.๔ ในกรณที ่ขี าราชการเขารวม
ประชุมและพบวามีการกระทําซึ่งมี
ลักษณะตาม ขอ ๑.๒ หรือมีการเสนอ
เร่ืองตามขอ ๑.๒ ผานขาราชการ
ขาราชการมีหนาท่ีตองคัดคาน การ
กระทําดังกลาว และบันทึกการคัดค
านของตนไวในรายงานการประชุม
หรือในเรอ่ื งนั้นแลวแตกรณี
ขอ ๒. ขาราชการตองมีจิตสํานึก ๒.๑ อุ ทิ ศ ต น ใ ห  กั บ ก า ร
ท่ีดี และความรับผิดชอบตอหนา ปฏิบัติงานในหนาที่ดวยควา ม
ท่ี เสียสละ ปฏิบัติหนาที่ดวย รอบคอบระมัดระวัง และเต็มกําลัง
ความรวดเร็ว โปรงใส และ ความสามารถท่ีมีอยู ในกรณีท่ีตอง
สามารถตรวจสอบได โดยอยาง ไปปฏิบัติงานอ่ืนของรัฐดวย จะตอง
นอ ยตองวางตน ดังน้ี ไมท าํ ใหงานในหนาทเ่ี สยี หาย
๒.๒ ละเวนจากการกระทําทั้ง
ปวงท่ีกอใหเกิดความเสียหายตอ
ตํ า แ ห น  ง ห น  า ท่ี ข อ ง ต น ห รื อ ข อ ง
ขาราชการอ่ืน ไมกาวกายหรือ
แ ท ร ก แ ซ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ข อ ง
ขา ราชการอน่ื โดยมิชอบ
๒.๓ ใชดุลยพินิจและตัดสินใจ
ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ด  ว ย ค ว า ม รู 
ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ย่ี ย ง ท่ี ป ฏิ บั ติ
ในวิชาชีพตรงไปตรงมา ปราศจาก

ประมวลจริยธรรม 6263
ขาราชการพลเรอื น
แนวทางปฏิบตั ิ
อ ค ติ ส ว น ต น ต า ม ข  อ มู ล พ ย า น
หลักฐานและความเหมาะสมของ
แตล ะกรณี

๒.๔ เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น
จากการปฏิบัติหนาที่ตองรีบแกไข
ใหถูกตอง และแจงใหหัวหนาสวน
ราชการทราบโดยพลนั

๒.๕ ไมขัดขวางการตรวจสอบ
ของหนวยงานท่ีมีหนาที่ตรวจสอบ
ตามกฎหมายหรือประชาชน ตองให
ความรว มมือกับหนวยงานที่มีหนาท่ี
ต ร ว จ ส อ บ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ห รื อ
ประชาชนในการตรวจสอบ โดยให
ขอ มลู ท่ีเปนจริงและครบถวน เมื่อได
รบั การรองขอในการตรวจสอบ

๒.๖ ไมสั่งราชการดวยวาจาใน
เร่ืองท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหาย
แกร าชการ ในกรณที ่ีสั่งราชการดวย
วาจาในเร่ืองดังกลาว ใหผูใตบังคับ
บัญชาบันทึกเร่ืองเปนลายลักษณ
อักษรตามคําส่ังเพ่ือใหผูส่ังพิจารณา
ส่ังการตอ ไป

64 63

ประมวลจรยิ ธรรม แนวทางปฏิบัติ
ขาราชการพลเรือน
ขอ ๓. ขาราชการตองแยก ๓.๑ ไมนําความสัมพันธสวนตัว
เรื่องสวนตัวออกจากตําแหนง ที่ตนมีตอบุคคลอื่นไมวาจะเปนญาติ
หนาท่ี และยึดถือประโยชนส วน พ่ีนอง พรรคพวก เพื่อนฝูง หรือผูมี
รวมของประเทศชาติเหนือกวา บุญคุณสวนตัว มาประกอบการใช
ประโยชนส ว นตน ดุลยพินิจใหเปนคุณหรือเปนโทษแก
บุคคลนั้น หรือปฏิบัติตอบุคคลน้ัน
ตางจากบุคคลอน่ื เพราะชอบหรือชงั
๓.๒ ไมใชเวลาราชการ เงิน
ทรัพยสิน บุคลากรบริการ หรือสิ่ง
อาํ นวยความสะดวกของทางราชการ
ไปเพื่อประโยชนสวนตัวของตนเอง
หรือผูอื่น เวน แตไดรับอนุญาต
โดยชอบดวยกฎหมาย
๓.๓ ไมกระทําการใด หรือดํารง
ตําแหนง หรือปฏิบัติการใดในฐานะ
สวนตัว ซ่ึงกอใหเกิดความเคลือบ
แ ค ล ง ห รื อ ส ง สั ย ว า จ ะ ขั ด กั บ
ป ร ะ โ ย ช น ส ว น ร ว ม ที่ อ ยู ใ น ค ว า ม
รบั ผดิ ชอบของหนา ท่ี
ในกรณีที่มีความเคลือบแคลง
หรอื สงสัยใหขาราชการผูนั้น ยุติการ
กระทําการดังกลาวไวกอนแลวแจง
ให ผู บั งคับ บั ญช า หั ว หน าสว น
ราชการคณะกรรมการจริยธรรม

6465

ประมวลจรยิ ธรรม แนวทางปฏิบตั ิ
ขาราชการพลเรือน
พิจารณา เมื่อคณะกรรมการจริยธรรม
วินิจฉัยเปนประการใดแลวจึงปฏิบัติ
ตามนั้น
๓.๔ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ท่ี
รับผิดชอบในหนวยงานโดยตรงหรือ
หนาที่อื่นในราชการ รัฐวิสาหกิจ
องคการมหาชน หรือหนวยงานของ
รัฐ ขา ราชการตองยึดถือประโยชของ
ทางราชการเปนหลัก ในกรณีท่ีมี
ความขัดแยงระหวางประโยชนของ
ทางราชการ หรือประโยชนสวนรวม
กับประโยชนสวนตนหรือสวนกลุม
อันจําเปนตองวินิจฉัยหรือช้ีขาดตอง
ยึดประโยชนของทางราชการและ
ประโยชนส วนรวมเปน สาํ คัญ
ขอ ๔. ขาราชการตองละเวน ๔.๑ ไมเรียก รับ หรือยอมจะรับ
จากการแสวงประโยชนท่ีมิชอบ หรือยอมใหผูอื่นเรียก รับ หรือยอม
โดยอาศัยตําแหนงหนาท่ีและ จะรับซึ่งของขวัญแทนตนหรือญาติ
ไมกระทําการอันเปนการขัดกัน ของตน ไมวากอนหรือหลังดํารง
ระหวางประโยชนสวนตนและ ตําแหนงหรือปฏิบัติหนาท่ีไมวาจะ
ประโยชนส ว นรวม เก่ียวของหรือไมเกี่ยวของกับการ
ปฏิบัติหนาที่หรือไมก็ตาม เวนแต
เปนการใหโดยธรรมจรรยาหรือเปน
การใหตามประเพณีหรือใหแกบุคคล

66 65

ประมวลจรยิ ธรรม แนวทางปฏิบัติ
ขาราชการพลเรอื น
ทัว่ ไป
๔.๒ ไมใชตําแหนงหรือกระทํา
การที่เปนคุณ หรือเปนโทษแก
บุคคลใด เพราะมีอคติ
๔.๓ ไมเ สนอหรืออนุมัติโครงการ
การดาํ เนินการหรือ การทํานิติกรรม
สัญญา ซึ่งตนเองหรือบุคคลอ่ืนได
ประโยชนอันมิควรไดโดยชอบดวย
กฎหมายหรือประมวลจรยิ ธรรมน้ี
ขอ ๕. ขาราชการตองเคารพ ๕.๑ ไ ม  ล ะ เ มิ ด รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ
และปฏิบัติตามรัฐธรรมนญู และ กฎหมาย กฎ ขอบังคับหรือมติ
กฎหมายอยา งตรงไปตรงมา คณะรัฐมนตรีท่ีชอบดวยกฎหมาย
ในกรณมี ีขอสงสยั หรือมีขอทักทวงวา
การกระทําไมชอบดวยรัฐธรรมนูญ
กฎหมาย กฎ ขอบังคับหรือมติ
คณะรัฐมนตรีที่ชอบดวยกฎหมาย
ขาราชการตองแจงใหหัวหนาสวน
ราชการและคณะกรรมการจริยธรรม
พิจารณาและจะดําเนินการตอไปได
ตอเม่ือไดขอยุติจากหนวยงานที่มี
อํานาจหนา ที่แลว
๕.๒ ใ น ก ร ณี ที่ เ ห็ น ว า คํ า สั่ ง
ผูบงั คับบัญชา หรือการดําเนินการใด
ที่ ต น มี ส ว น เ กี่ ย ว ข อ ง ไ ม ช อ บ ด ว ย

ประมวลจริยธรรม 6667
ขาราชการพลเรือน
แนวทางปฏิบัติ
รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ หรือขอ
บังคับ ตองทักทวงเปนลายลักษณ
อกั ษรไว

๕ . ๓ ใ น ก ร ณี ท่ี เ ห็ น ว า ม ติ
คณะรัฐมนตรีไมชอบดวยกฎหมาย
ตองทําเรื่องเสนอใหหัวหนาสวน
ราชการพิจารณา และสงเร่ืองให
สํ า นั ก เ ล ข า ธิ ก า ร ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี
ดําเนินการใหไดขอยุติทางกฎหมาย
ตอไป

๕.๔ ไมเลี่ยงกฎหมาย ใชหรือ
แนะนําใหใชชองวางของกฎหมาย
ที่อยูในความรับผิดชอบของตนเพื่อ
ประโยชนของตนเองหรือผูอื่น และ
ตอ งเรง แกไขชอ งวา งดังกลา วโดยเรว็

๕.๕ ไมยอมใหบุคคลอ่ืนอาศัย
ชื่อตนเองถือครองทรัพยสิน สิทธิ
หรือประโยชนอื่นใดแทนบุคคลอื่น
อันเปนการเลีย่ งกฎหมาย หรือใชช่ือ
บุคคลอน่ื ถือครองสง่ิ ดงั กลาวแทนตน
เ พื่ อ ป ก ป  ด ท รั พ ย  สิ น แ ท น ต น

๕.๖ เมื่อทราบวามีการละเมิด
หรือไมปฏิบัติตามกฎหมายในสวน
ร า ช ก า ร ข อ ง ตน หั ว ห น  า ส ว น

68 67

ประมวลจรยิ ธรรม แนวทางปฏิบัติ
ขาราชการพลเรือน
ร า ช ก า ร ต  อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร ที่ จํ า เ ป  น
เพื่อใหเกิดการเคารพกฎหมายข้ึน
โดยเรว็
๕.๗ เมื่อไดรับคําร อง หรื อ
คําแนะนําจากผูตรวจการแผนดิน
หรือหนวยงานอื่นวากฎหมายกฎ
ห รื อ ข  อ บั ง คั บ ที่ อ ยู  ใ น ค ว า ม
รับผิดชอบของสวนราชการของตน
สรางภาระเกินสมควรแกประชาชน
หรือสรางความไมเปนธรรมใหเกิดข้ึน
ต  อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร ท บ ท ว น ก ฎ ห ม า ย
กฎ หรือ ขอบงั คบั ดังกลา วโดยเร็ว
ขอ ๖. ขาราชการตองปฏิบัติ ๖.๑ ป ฏิ บั ติ ห น า ท่ี ให ลุ ล ว ง
หนาท่ีดวยความเท่ียงธรรมเปน โดยไมหลีกเล่ียง ละเลยหรอื ละเวนการ
กลางทางการเมืองใหบริการแก ใชอ ํานาจเกนิ กวาที่มอี ยูตามกฎหมาย
ประชาชนโดยมีอัธยาศัยที่ดีและ ๖.๒ ปฏิบัติหนาท่ีหรือดําเนินการ
ไมเ ลือกปฏิบตั ิโดยไมเปนธรรม อื่น โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปน
มนุษย และสิทธิเสรีภาพของบุคคล
ไมก ระทาํ การใหกระทบสิทธิเสรีภาพ
ของบุคคล หรือกอภาระหรือหนาท่ี
ใหบคุ คลโดยไมมอี ํานาจตามกฎหมาย
๖.๓ ใหบริการและอํานวยความ
สะดวกแกประชาชนโดยมีอัธยาศัย
ที่ดีปราศจากอคติ และไมเลือกปฏิบัติ

ประมวลจริยธรรม 6869
ขาราชการพลเรือน
แนวทางปฏิบตั ิ
ตอบุคคลผูมาติดตอโดยไมเปนธรรมใน
เร่ือง ถิ่นกําเนิดเชื้อชาติ ภาษา เพศ
อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือ
สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง
เศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทาง
ศาสนา การศึกษา อบรมหรือความ
คิดเห็นทางการเมือง อันไมขัดตอรัฐ
ธรรมนูญ เวนแตจะดําเนินการตาม
มาตรการที่ รั ฐ กํ าหนดข้ึ นเพ่ื อขจั ด
อุปสรรค หรือสงเสริมใหบุคคลสามารถ
ใชสิทธิและเสรภี าพไดเชนเดียวกับบุคคล
อ่ืนหรือเปนการเลือกปฏิบัติท่ีมีเหตุผล
เปนธรรม และเปน ทีย่ อมรบั กนั ทวั่ ไป

๖.๔ ละเวนการใหสัมภาษณ
การอภิปราย การแสดงปาฐกถาการ
บรรยาย หรือการวิพากษวิจารณอัน
กระทบตอความเปนกลางทาง
การเมือง เวนแตเปนการแสดง
ความเห็นทางวชิ าการตามหลกั วชิ า

๖.๕ ไมเอื้อประโยชนเปนพิเศษ
ใหแกญาติพี่นองพรรคพวกเพ่ือนฝูง
ห รื อ ผู  มี บุ ญ คุ ณ แ ล ะ ต  อ ง ป ฏิ บั ติ
หนาทด่ี ว ยความเท่ียงธรรมไมเห็นแก
หนาผูใ ด

70 69

ประมวลจรยิ ธรรม แนวทางปฏิบตั ิ
ขาราชการพลเรอื น
๖.๖ ไมลอก หรือนําผลงานของ
ผูอื่นมาใชเปนของตนเองโดยมิได
ระบุแหลง ทีม่ า
ขอ ๗. ขาราชการตองปฏิบัติ ๗.๑ ไมใชขอมูลที่ไดมาจากการ
ตามกฎหมายวาดวยขอมูล ดําเนินงานไปเพื่อการอื่น อันไมใชการ
ขาวสารของทางราชการอยาง ปฏิบัติหนาที่ โดยเฉพาะอยางย่ิง เพื่อ
เครงครัดและรวดเร็ว ไมถวง เอือ้ ประโยชนแ กต นเองหรือบุคคลอน่ื
เวลาใหเนิ่นชาและใชขอมูล ๗.๒ ช้ีแจง แสดงเหตุผลท่ีแท
ข า ว ส า ร ที่ ไ ด  ม า จ า ก ก า ร จริงอยางครบถว นในกรณีท่ีกระทาํ การ
ดําเนินงานเพ่ือการในหนาท่ี อันกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของ
และใหขอมูลขาวสารแกประชา บุคคลอ่ืน ไมอนุญาต หรือไมอนุมัติ
ชน อ ย า ง ค ร บถ ว น ถู กต  อ ง ตามคําขอของบุคคล หรือเมื่อบุคคล
ทันการณ และไม บิดเ บือน รองขอตามกฎหมายเวนแตการอัน
ขอเทจ็ จริง คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครองตามกฎหมายวา ดวยวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครองไดกําหนดยกเวน
ไว ท้ังนี้ จะตองดําเนินการภายในสิบ
หาวันทําการ นับแตกระทําการ
ดงั กลา ว หรือไดร ับการรองขอ
ขอ ๘. ขาราชการตองมุงผล ๘.๑ ปฏิบัติงานโดยมุงประสิทธิ
สัมฤทธ์ิของงานรักษาคุณภาพ ภาพและประสิทธิผลของงานใหเกิด
และมาตรฐานแหงวิชาชีพโดย ผลดที ี่สุดจนเตม็ กําลงั ความสามารถ
เครงครัด ๘.๒ ใชงบประมาณ ทรัพยสิน
สิทธิและประโยชนท่ีทางราชการ

7071

ประมวลจรยิ ธรรม แนวทางปฏิบัติ
ขาราชการพลเรือน
จัดให ดวยความประหยัด คุมคา
ไมฟ ุมเฟอย
๘.๓ ใชความรูความสามารถ
ความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาที่
ตามคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ
โดยเครง ครดั
ขอ ๙. ขาราชการตอ งยึดม่ันใน ๙.๑ ไมแสดงการตอตานการ
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน พระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขหรือ
ประมขุ สนับสนุนใหนําการปกครองใน
ระบอบอื่นท่ีไมมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ มาใชในประเทศไทย
๙.๒ จ งรั กภั กดี ตอ พ ระมห า
กษัตริย และไมละเมิดองคพระมหา
กษัตริยพระราชินี และพระรัช
ทายาทไมว าทางกาย หรอื ทางวาจา
ขอ ๑๐. ขา ราชการตองเปนแบบ ๑๐.๑ ไมละเมิดหลักสําคัญทาง
อยางที่ดีใน การดํารงตนรักษา ศีลธรรม ศาสนา และประเพณี
ชื่อเสียงและภาพลักษณของ ใน กรณีที่ มีข อขัดแยงระหวา ง
ราชการโดยรวม ประมวลจริยธรรมนี้กับหลักสําคัญ
ทางศีลธรรม ศาสนา หรือประเพณี
ข าร า ช ก า รต  อง เส น อ เร่ื อ งให 
คณะกรรมการจริยธรรมพิจารณา
วนิ ิจฉยั

72 71
ประมวลจรยิ ธรรม
ขาราชการพลเรอื น แนวทางปฏิบตั ิ
๑๐.๒ หัวหนาสวนราชการและ
ผู บั งคั บบัญชา ใน สวน ราชกา ร
ทุกระดับช้ันตองปกครองผูอยูใต
บังคับบัญชาดวยความเที่ยงธรรม
โ ด ย ไ ม  เ ห็ น แ ก  ค ว า ม สั ม พั น ธ  ห รื อ
บุญคุณสวนตัว และควบคุมใหผูอยู
ใตบังคับบัญชาปฏิบัติตามประมวล
จรยิ ธรรมโดยเครง ครดั
๑๐.๓ หัวหนาสวนราชการและ
ผูบังคับบัญชาในสวนราชการทุก
ระดับชั้นตองสนับสนุนสงเสริมและ
ยกยองผูอยูใตบังคับบัญชาที่มีความ
ซ่ือสัตย มีผลงานดีเดน มีความรู
ความสามารถ และขยันขันแข็ง
ไมเลือกที่รักมักท่ีชัง และยึดมั่นใน
ระบบคณุ ธรรม
๑๐.๔ ไมกระทําการใดอันอาจนํา
ความเส่ือมเสียและไมไววางใจใหเกิด
แกสวนราชการหรอื ราชการโดยรวม

๑.๒ ขอปฏบิ ัตสิ ําหรับนักบริหาร
๑.๒.๑ ทําตัวเปนแบบอยางท่ีดี โดยเฉพาะอยางยิ่งในการปฏิบัติ

ตามประมวลจริยธรรมและขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการของสวน
ราชการ

7273
๑.๒.๒ รักษาการส่ือสารที่ซือ่ สัตยและเปด เผยกบั ผูใตบ งั คับบญั ชา
๑.๒.๓ ปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาอยางยุติธรรม เทาเทียมกัน
และเสมอตนเสมอปลาย
๑.๒.๔ ดูแลผูใตบังคับบัญชา มีขอตกลงเก่ียวกับมาตรฐานการ
ทํางาน
๑.๒.๕ ใหความสนใจตอสมรรถนะและความสามารถของผูใต
บังคบั บัญชา
๑.๒.๖ หาโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาไดรับการพัฒนาอยาง
สมํ่าเสมอ
๑.๓ กลไกและระบบ
ในการดําเนินงานเพื่อการบังคับใชประมวลจริยธรรมใหเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ จําตองมีกลไก และระบบเพ่ือขับเคลื่อนประมวล
จริยธรรมขาราชการพลเรือนใหเปนไปตามเจตนารมณของมาตรฐาน
จรยิ ธรรมของผูตรวจการแผน ดนิ
๑.๓.๑ กลุมงานคุมครองจริยธรรมเปนหนวยงานกํากับดูแล
ดา นจริยธรรม

เปนหนวยงานขน้ึ ตรงกบั ผูบริหารระดับสูงและคณะกรรมการ
จรยิ ธรรมของสว นราชการ โดยมหี นา ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบ ดงั นี้

1. ดาํ เนนิ การเกีย่ วกับการคมุ ครองจริยธรรมตามประมวล
จรยิ ธรรมขาราชการพลเรือน

2. เผยแพร ปลูกฝง สงเสริม ยกยองขาราชการ พนักงาน
ราชการ ลูกจางประจํา และลูกจางชั่วคราวท่ีเปนแบบอยางท่ีดี
และติดตามสอดสอ งการปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรือน
และจรรยาขา ราชการกรมท่ีดิน

74 73
3. ทําหนาท่ีฝายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรม

กรมท่ดี นิ
4. ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ

หนว ยงานอ่นื ทีเ่ ก่ียวขอ งหรือทไ่ี ดร ับมอบหมาย
๑.๓.๒ ผูบงั คับบญั ชา/หวั หนา งาน
1. กระตุนใหเกิดสภาพแวดลอมในการพูดคุยแลกเปล่ียน

ความคิดเหน็ ในประเดน็ ทางจริยธรรมระหวางผูปฏิบัติงาน
๒. ดูแลใหผูใตบังคับบัญชาไดรับการฝกอบรมดาน

จริยธรรมและจรรยาขาราชการของสว นราชการอยางท่วั ถงึ
๓. จัดใหมีเอกสารที่เกี่ยวของกับประมวลจริยธรรม

ข อ บั ง คั บ จ ร ร ย า ข า ร า ช ก า ร ข อ ง ส ว น ร า ช ก า ร ใ น ส ถ า น ท่ี ทํ า ง า น ที่
ผูใตบ ังคบั บญั ชาสามารถเขาถึงไดงา ย

4. ใหมีการสนทนาเกี่ยวกับหลักการความถูกตองใน
ระหวางการบังคบั บญั ชาและ ใหคาํ แนะนาํ ในการทํางาน

5. จัดการเร่ืองรองเรียนเกี่ยวกับจริยธรรมในการทํางาน
ขอขัดแยงระหวางผลประโยชนสวนตนกับสวนรวมอยางไมเปนทางการ
เพื่อปองกันมิใหเกิดความรายแรงเพิ่มมากข้ึนหรือสามารถยุติปญหาได
โดยไมตองเขาสูกระบวนการอยางเปนทางการ

6. ใหการอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรมและจรรยา
ขา ราชการเปนสวนหนึ่งในการประเมินผลการปฏิบัติงาน

7. ประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีดวยการปฏิบัติท่ียึดมั่น
ในหลักการทีถ่ กู ตอง

8. ปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาอยางยุติธรรม เทาเทียมกัน
และเสมอตนเสมอปลาย

7475
๑.๓.๓ คณะกรรมการจรยิ ธรรม

ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน ไดกําหนดอํานาจ
หนาทข่ี องคณะกรรมการจริยธรรม ดังนี้

1. ควบคุม กํากับ สงเสริมและใหคําแนะนําในการใช
บงั คบั ประมวลจริยธรรมนีใ้ นสวนราชการ

2. สอดสองดแู ลใหมีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมใน
สวนราชการ ในกรณีที่มขี องสัยหรือมีขอรอ งเรยี นวามีการฝา ฝนจริยธรรม
ใหสงเรื่องใหหัวหนาสวนราชการเพื่อปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้
โดยเร็ว

3. พิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปญหาอันเกิดจากการใชบังคับ
ประมวลจริยธรรมน้ใี นสวนราชการ เม่ือไดวินิจฉัยแลวใหสง คําวินจิ ฉัยให
ก.พ. โดยพลัน ถา ก.พ. มิไดวินิจฉัยเปนอยางอื่นภายในหกสิบวันนบั แต
วันท่ี ก.พ. รับเร่อื ง ใหคาํ วินจิ ฉัยของคณะกรรมการจริยธรรมเปนทสี่ ดุ

4. สง เร่ืองให ก.พ. พิจารณาวินิจฉัยในกรณีท่ีเห็นวาเรื่อง
น้ันเปนเรือ่ งสําคญั หรือมีผลกระทบในวงกวางหลายสวนราชการ และยัง
ไมม ีคําวินจิ ฉยั ของ ก.พ. หรอื ผูต รวจการแผน ดนิ

5. คุมครองและประกันความเปนอิสระและเท่ียงธรรม
ของงานดานสงเสริมและคมุ ครองจรยิ ธรรมของสวนราชการ

6. คุมครองขาราชการซ่ึงปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
อยางตรงไปตรงมา มิใหผูบังคับบัญชาใชอํานาจโดยไมเปนธรรมตอ
ขา ราชการผนู ัน้

7. เสนอผลการประเมนิ การปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
นี้ของหัวหนาสวนราชการตอ ก.พ. และประเมินผลการปฏิบัติงานของ
งานดา นสงเสริมและคมุ ครองจริยธรรมของสวนราชการเพื่อเสนอหัวหนา
สวนราชการเพ่ือประกอบการเล่ือนเงินเดือน หรือเลื่อนตําแหนง
ขา ราชการในกลุม งาน

76 75
8. เสนอแนะการแกไขเพ่ิมเติมประมวลจริยธรรมนี้ หรือ

การอน่ื ท่เี ห็นสมควรตอ ก.พ.
9. ดําเนินการอ่ืนตามประมวลจริยธรรมน้ี หรือตามที่

ก.พ. มอบหมาย
การประชุมคณะกรรมการจริยธรรมใหนํากฎหมายวาดวย

วธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครองมาใชบังคบั
ระบบการบังคับใชประมวลจริยธรรม ซ่ึงการฝาฝน

ประมวลจริยธรรม ท่ีกําหนดไวใ นประมวลจริยธรรมถือเปนความผิดวินัย
และมีกลไกประกอบไปดวยองคกรคุมครองจริยธรรม โดยให ก.พ.
มีหนา ท่ีควบคุม กํากับ ใหมีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอยางทั่วถึง
และจริงจังให ก.พ.โดยขอเสนอของหัวหนาสวนราชการ แตงต้ัง
คณะกรรมการจรยิ ธรรมประจําสวนราชการ เพื่อควบคมุ กํากับ ใหมีการ
ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม และใหมีการจัดต้ังกลุมงานคุมครอง
จริยธรรมข้ึนในทุกสว นราชการ ขึ้นตรงตอหัวหนาสวนราชการ มีหนาที่
คุมครองจริยธรรมตามประมวลจริยธรรม ซ่ึงมีความเปนอิสระ โดยมี
ขาราชการซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับตนข้ึนไปเปนหัวหนากลุม
และทําหนาที่เลขานุการคณะกรรมการจริยธรรมประจําสวนราชการ
และดาํ เนินงานใหเปนไปตามประมวลจรยิ ธรรม ดังน้ี

๑) ชองทางรับขอรองเรียนที่ปลอดภัยและเช่ือถือไดและ
ผูร องเรียนสามารถสอบถามความคบื หนาเปนเร่อื งลับได

๒) กระบวนการตรวจสอบท่ชี ดั เจน โปรง ใส นาเชอ่ื ถอื
๓) มีมาตรการลงโทษที่ชัดเจนหากมีการฝาฝนจริยธรรม
มีการกําหนดข้ันตอนและแนวทางการพิจารณาตามความรายแรงแหง
การกระทาํ

แผนภมู ิโครงสรางและอาํ นาจหนา ทขี่ องกลมุ งานคมุ ครองจรยิ ธรรมกรมท่ดี นิ
(แนบทา ยคําสัง่ กรมทีด่ นิ ที่ 4412/2558 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2558)

กลมุ งานคุมครองจรยิ ธรรมกรมที่ดนิ อํานาจหนา ที่
1. ดําเนินการเกีย่ วกบั การคุม ครองจริยธรรมตามประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือน
2. เผยแพร ปลกู ฝง สงเสริม ยกยอ งขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจางประจํา และลูกจางช่วั คราวท่เี ปน

แบบอยางท่ีดี และติดตามสอดสองการปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือนและจรรยาขาราชการกรมท่ดี ิน
3. ทาํ หนาท่ฝี า ยเลขานกุ ารของคณะกรรมจริยธรรมกรมท่ีดนิ
4. ปฏบิ ตั ิงานรว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหนวยงานอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ งหรอื ที่ไดรับมอบหมาย

กลุม สง เสริมจริยธรรม กลมุ คุมครองจริยธรรม
มีหนาที่และความรบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั มีหนา ท่ีและความรับผิดชอบเกยี่ วกับ
- การดาํ เนนิ การเผยแพร ปลกู ฝง สง เสริม ยกยองขาราชการ พนกั งานราชการ - สืบสวนขอ เท็จจรงิ การฝา ฝน จรยิ ธรรมขาราชการพลเรีอน และรายงานอธิบดีกรมท่ีดนิ เพอ่ื พิจารณา ท้งั น้ี
ลกู จางประจํา และลกู จา งช่ัวคราวที่เปนแบบอยา งทดี่ ี และติดตามสอดสองการปฏบิ ัติ โดยอาจมผี รู อ งขอหรอื อาจดําเนนิ การตามที่อธบิ ดีกรมที่ดนิ มอบหมายหรอื ตามทเี่ ห็นสมควรกไ็ ด
ตามประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือนและจรรยาขาราชการกรมทีด่ ิน - ใหค วามชว ยเหลือและดูแลขา ราชการ พนักงานราชการ ลูกจางประจํา ลูกจางชวั่ คราว ซง่ึ ปฏิบัติตาม
- จัดทาํ แผนยทุ ธศาสตร กลยุทธ และแผนปฏิบัติการประจาํ ปในการปองกัน และ ประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรือนอยางตรงไปตรงมา มิใหถูกกลั่นแกลงหรือถูกใชอํานาจโดยไมเปนธรรม
ปราบปรามการทุจรติ ประพฤติมิชอบ และการสรา งราชการใสสะอาดของกรมที่ดนิ - คมุ ครองขาราชการ พนกั งานราชการ ลกู จางประจํา ลกู จางชั่วคราว ซึง่ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
- ประเมนิ การปฏิบัตติ ามประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรอื น และขอบงั คบั วาดว ย ขา ราชการพลเรอื นอยางตรงไปตรงมา มิใหถ ูกกลัน่ แกลงหรือถูกใชอํานาจโดยไมเปนธรรม ในกรณที ่ขี า ราชการ
จรรยาขาราชการกรมท่ีดนิ พรอ มดาํ เนินการปรบั ปรุงแนวทางการปฏิบัติหรอื แกไขเพิ่มเติม พนักงานราชการ ลกู จางประจาํ ลกู จางช่วั คราว ผูนั้นกลาวหาวาอธิบดีกรมทด่ี ินหรือผบู รหิ ารสวนราชการ
- จดั ทําและประสานการดาํ เนินงานตามคาํ รบั รองการปฏิบัติราชการ ตามตวั ชวี้ ัดระดับ ตง้ั แตประเภทอํานวยการขึ้นไป ไมปฏบิ ัติหรือฝาฝน ประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรอื น ขาราชการผถู กู
ความสําเรจ็ ของการดําเนินการตามมาตรการปอ งกันและปรามปรามการทุจรติ กลาวหานนั้ จะดาํ เนนิ การเก่ียวกับการออกคาํ สง่ั แตงต้ัง โยกยา ย เลอื่ นเงนิ เดือน แตง ตัง้ คณะกรรมการสบื สวน
- สง เสรมิ ประสาน และผลกั ดัน ใหห นว ยงานภายในกรมที่ดนิ ปฏิบัตติ ามแผนการสรา ง ขอเทจ็ จริงหรือคณะกรรมการสอบสวนทางวินยั หรือดําเนนิ การใดทเ่ี ปนผลราย หรือกระทบตอสิทธิหนาท่ีของ
ราชการใสสะอาด รวมทงั้ สงเสริมการปรบั เปลยี่ นกระบวนทศั น วัฒนธรรม คา นยิ ม สรา ง ขา ราชการ พนกั งานราชการ ลกู จางประจํา ลกู จางชวั่ คราว ผถู ูกลาวหาน้นั มไิ ด เวนแตจะไดร ับความเหน็ ชอบ
เครือขา ยหนวยงานใสสะอาดเชือ่ มโยงระหวา งหนวยงานภายในกับหนว ยงานภายนอก จากคณะกรรมการจรยิ ธรรมประจาํ กรมท่ีดนิ แลว และ ก.พ. เปนผใู หความเหน็ ชอบอีกชนั้ หน่ึง
- ตดิ ตามประเมินผลการดําเนนิ งานตามแผนปอ งกันและปรามปราบการทจุ รติ ประพฤติ - ดําเนนิ การอืน่ ตามทกี่ ําหนดในประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรอื น หรือตามท่ีอธิบดีกรมทดี่ ิน
มชิ อบ และการสรางราชการใสสะอาดของกรมท่ดี นิ เพ่ือรายงานผูบรหิ ารกรมที่ดนิ คณะกรรมการจรยิ ธรรมประจาํ กรมท่ีดนิ หรอื ตามที่ ก.พ. มอบหมาย ทัง้ น้ี โดยไมกระทบตอความเปนอิสระ
- ดําเนนิ การโครงการคดั เลือกขาราชการกรมที่ดนิ ผมู คี ุณธรรมและจรยิ ธรรม ของผูดาํ รงตาํ แหนงในกลมุ งานคุม ครองจริยธรรมกรมทด่ี ิน
- ดาํ เนนิ งานดานสารบรรณ ธุรการ งานพิมพ งานวัสดคุ รภุ ณั ฑ จดั ทาํ รายงาน และงานประชมุ ของกลุมงาน
คุมครองจริยธรรมกรมท่ีดนิ ตลอดจนประสานงานกับหนว ยงานอน่ื ทเี่ ก่ยี วของ 77

78

กรอบอตั รากําลังในกลมุ งานคุมครองจริยธรรมกรมท่ดี ิน

กลมุ งานคุมครองจรยิ ธรรมกรมทด่ี นิ 6-8
รองอธบิ ดี

กลุม สงเสรมิ จรยิ ธรรม 2-3 กลุม คมุ ครองจริยธรรม 3-4
นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการพิเศษ = 1 นิตกิ ร ชํานาญการพเิ ศษ = 1
นักวเิ คราะหนโยบายและแผน =1-2 นิติกรปฏบิ ตั กิ าร/ชํานาญการ =1-2
นักจัดการงานทัว่ ไป/นักทรพั ยากรบคุ คล/ เจาพนักงานธรุ การ ปฏบิ ัตงิ าน/ชํานาญงาน = 1
นกั วชิ าการทดี่ นิ ปฏิบัติการ/ชํานาญการ

7879
๑.๔ แนวคําถาม – คําตอบ ท่ีนาสนใจเก่ียวกับประมวลจริยธรรม
ขาราชการพลเรือน

ท่มี าของประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรอื น :
ขอ ๑ ถาม ประมวลจริยธรรมขา ราชการพลเรือนมที ี่มาอยางไร

ตอบ ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนออกตามมาตรา
๒๗๙ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
โดยวรรคหนึ่งบัญญัติใหมาตรฐานทางจริยธรรมของขาราชการ แตละ
ประเภทเปนไปตามประมวลจริยธรรมที่กําหนดขึ้น และวรรคสอง
บญั ญัติใหมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนง่ึ จะตองมีกลไกและระบบ
ในการดําเนินงานเพ่ือใหการบังคับใชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ
คานิยมหลัก ๙ ประการซ่ึงผตู รวจการแผนดินกําหนด เปนกรอบในการ
รางประมวลจริยธรรมของขา ราชการแตละประเภท ประกอบดว ย

(๑) การยดึ มน่ั ในคุณธรรมและจริยธรรม
(๒) การมีจติ สาํ นกึ ทีด่ ี ซ่อื สตั ย สจุ รติ และรับผดิ ชอบ
(๓) การยึดถือในประโยชนของประเทศชาติเหนือกวา
ประโยชนส วนตนและไมมีผลประโยชนทับซอ น
(๔) การยืนหยัดทําในสิ่งท่ีถูกตอง เปนธรรม และถูก
กฎหมาย
(๕) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว
มีอธั ยาศยั และไมเ ลือกปฏิบัติ
(๖) การใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางครบถวน
ถกู ตอง และไมบ ิดเบอื นขอเทจ็ จริง
(๗) การมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ
โปรง ใส และตรวจสอบได
(๘) การยึดม่ันในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมขุ และ

80 79
(๙) การยึดมนั่ ในหลักจรรยาวชิ าชีพขององคก ร

ขอ ๒ ถาม เจตนารมณข องประมวลจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือน
ตอบ ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนมีเจตนารมณ

เพื่อใหขาราชการทั้งหลายเกิดสํานึกลึกซึ้งและเที่ยงธรรมในหนาที่
ผดุงเกียรติและศักดิ์ศรีขาราชการควรแกความไววางใจ และเช่ือมั่นของ
ปวงชนและดํารงตนต้ังม่ันเปนแบบอยางท่ีดีงามสมกับความเปน
ขา ราชการในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั โดยใหขา ราชการยึดถือปฏิบัติ
ตนตามจรยิ ธรรมขา ราชการพลเรอื น

ขอ ๓ ถาม ประมวลจรยิ ธรรมมีผลใชบงั คับเม่ือใด
ตอบ คณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันท่ี ๒๖ สิงหาคม

๒๕๕๑ และวันท่ี ๒๕ สิงหาคม๒๕๕๒ มีมติเห็นชอบกับประมวล
จรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือน เพอ่ื ใหใชบังคับเปนมาตรฐานทางจริยธรรม
และจรรยาขาราชการพลเรือน พนักงานราชการ และลูกจางในสังกัด
ราชการพลเรือน และประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน ไดประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา เม่ือวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ และมีผลใชบังคับ
ตงั้ แตว ันที่ ๒ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๓

ขอ ๔ ถาม องคป ระกอบของประมวลจรยิ ธรรมมอี ะไรบา ง
ตอบ คําปรารภ : คานิยมหลัก (CoreValue) ของมาตรฐาน

จริยธรรมของผูดํารงตาํ แหนงทางการเมืองและเจาหนาท่ีของรฐั ๙ ประการ
ของสาํ นักงานผูตรวจการแผน ดนิ และเจตนารมณ

หมวด ๑ บททั่วไป : กาํ หนดเวลาบังคบั ใชแ ละนยิ ามศัพท
หมวด ๒ จริยธรรมขาราชการพลเรือน : เปนการขยาย
คานิยมหลัก ๙ ประการของสํานักงานผูตรวจการแผนดิน เปนแนวทาง
การประพฤติปฏิบัติตนของขาราชการ ประกอบดวย ๑๐ ขอหลักและ
๔๑ ขอยอย

8081
หมวด ๓ กลไกและระบบการบังคับใชประมวลจริยธรรม :
ประกอบดว ย ๒ สวน คอื

สวนที่ ๑ องคกรคุมครองจริยธรรม : ก.พ. คณะกรรมการ
จริยธรรม งานดานสงเสริมและคมุ ครองจริยธรรม หัวหนา สวนราชการ

สวนท่ี ๒ ระบบการบังคับใชประมวลจริยธรรม :
การดําเนินการกรณกี ารฝา ฝนจรยิ ธรรมเปน ความผิดวินัย บทลงโทษ

บทเฉพาะกาล : กําหนดการดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการ
จริยธรรมและงานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรมในสวนราชการ
และการประเมนิ การปฏิบตั ิตามประมวลจรยิ ธรรมเมื่อครบหนงึ่ ป

การสงเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม :
ขอ ๕ ถาม ตามประมวลจริยธรรม มีการกําหนดแนวทางการ
สงเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมอยางไรบา ง

ตอบ ตามขอ ๒๐ กําหนดวา ใหหัวหนาสวนราชการ
คณะกรรมการจริยธรรม และ ก.พ. สงเสริมจริยธรรมขาราชการ โดยอยางนอย
ตอ งดําเนนิ การดังนี้

(1) ในการบรรจุแตงต้ัง เล่ือนเงินเดือน ยายหรือโอน
ขาราชการ ใหใชพฤติกรรมทางจริยธรรมของผูนั้นพิจารณาควบคูกับ
ความรูความสามารถ

(๒) ปลูกฝงจริยธรรมใหขาราชการใหม จัดใหขาราชการ
ลงลายมือช่ือรับทราบประมวลจริยธรรม จัดใหมีสมุดบันทึกประวัติ
ในสวนท่ีเกี่ยวกับจริยธรรมของขาราชการแตละคน รวมทั้งจัดใหมี
กิจกรรมสง เสรมิ จริยธรรมผูบริหาร และขา ราชการอยางสม่ําเสมอ

(๓) ประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของขาราชการ
(๔) คุมครองขาราชการผูปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ี
อยางเพยี งพอ

82 81
(๕) ยกยองขาราชการและสวนราชการท่ีถือปฏิบัติตาม

ประมวลจริยธรรมน้โี ดยเครงครัด
(๖) ตอบขอสงสัยหรือคําถามเก่ียวกับการปฏิบัติตาม

ประมวลจริยธรรมน้ี
(๗) จัดใหมกี ารศึกษาคานิยมท่ีเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติ

ตามประมวลจริยธรรมนี้ และดําเนนิ การแกไขปรับเปล่ียนคา นิยมน้นั
(๘) เผยแพรใหป ระชาชน ผเู ปนคสู มรส ญาติ พ่ีนอง พรรคพวก

เพ่ือนฝูงของขาราชการตลอดจนประชาชนผูมาติดตอราชการทราบ
ประมวลจริยธรรมของขาราชการ เพ่ือไมทําการอันเปนการสงเสรมิ หรือ
กอใหเกิดการฝา ฝนจริยธรรม

(๙) จดั ใหมีการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรมนี้
คณะกรรมการจริยธรรม
ขอ ๖ ถาม ประธานกรรมการและกรรมการจริยธรรม ไดรับ
เบีย้ ประชุมหรอื ไมและเปน จํานวนเทา ใด

ตอบ คณะกรรมการจริยธรรมประจําสวนราชการ ถือเปน
คณะกรรมการท่แี ตง ตง้ั โดยคณะรฐั มนตรี มีสิทธิไดร บั เบี้ยประชุมเปนราย
ครั้งในอัตรา กรรมการคร้ังละไมเกิน ๑,๖๐๐ บาท ประธานไดรับ
เพ่ิมอีก ๑ ใน ๔ ของอัตรากรรมการ เทากับคร้งั ละไมเกิน ๒,๐๐๐ บาท
(พระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชุมกรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๕ มาตรา
๖ และมาตรา ๙)

ท้ังนี้ เลขานุการและผูชวยเลขานุการฯ ท่ีไดรับมอบหมาย
และมีคําส่ังแตงตั้งตามประมวลจริยธรรม ใหไดรับเบ้ียประชุมเทากับ
กรรมการ ในอัตราครั้งละไมเกิน ๑,๖๐๐ บาท โดยใหเลขานุการมีสิทธิ
ไดรับเบี้ยประชุมไมเกินหน่ึงคน และผูชวยเลขานุการมีสิทธิไดรับเบ้ีย
ประชุมไมเกินสองคน(พระราชกฤษฎีกาเบ้ียประชุมกรรมการ พ.ศ.
๒๕๔๗ มาตรา ๑๓) อนึง่ ใหสวนราชการตงั้ งบประมาณไวเพ่ือการนี้ดวย

8283
ขอ ๗ ถาม องคประกอบและการคัดเลือกคณะกรรมการ
จริยธรรมประจาํ สวนราชการและจังหวัดกําหนดไวอยางไร

ตอบ ตามขอ ๑๔ แหงประมวลจรยิ ธรรมฯ กาํ หนดไว ดงั น้ี
 ประธานกรรมการ ขอ ๑๔ (๑) กําหนดใหหัวหนาสวน
ราชการเสนอจากผูทรงคุณวุฒิภายนอกผูมีความซื่อสัตยเปนที่ประจักษ
โดยไดรับความเห็นชอบจาก ก.พ. ดังน้ันสวนราชการจึงอาจสรรหาหรือ
คัดเลือกโดยใชวิธีที่เห็นสมควรได
 กรรมการ ๒ คน ตามขอ ๑๔ (๒) กําหนดใหขาราชการ
ประเภทบริหารหรืออํานวยการเลือกกันเอง ดังน้ัน สวนราชการจะตอง
จัดใหผูมีสิทธิดังกลาวเลือกกันเอง โดยอาจกําหนดวิธีการไดตามท่ี
เหน็ สมควร
 กรรมการ ๒ คน ตามขอ ๑๔ (๓) กําหนดใหสวน
ราชการคัดเลือกจากขาราชการพนักงานราชการ และลูกจางของสวน
ราชการน้นั ตามวิธีการท่สี วนราชการเห็นสมควร ดังนั้นสวนราชการอาจ
กาํ หนดวธิ ีการคัดเลือกไดตามทเ่ี หน็ สมควร
อน่ึง คําวา “ขาราชการ” ตามขอ ๑๔ (๓) ใหหมายถึง
ขาราชการท่ีมีระดับตําแหนงอํานวยการก็ได เน่ืองจากในขอ ๑๔ (๒)
ใชคําวา “ขาราชการประเภทบริหารหรืออํานวยการ”แตมิไดหมายความ
วาหากไดเลือกกรรมการตามขอ ๑๔ (๒) โดยรวมขาราชการประเภท
อํานวยการดว ยแลว จะสามารถเลือกใหเปนกรรมการตาม ขอ ๑๔ (๓) ไดอ ีก
 กรรมการ ๒ คน ตามขอ ๑๔ (๔) กําหนดใหรองหัวหนา
สวนราชการและหัวหนา สวนราชการรวมกนั เสนอ ดังนั้น สวนราชการจึง
อาจสรรหาหรอื คัดเลือกโดยใชวธิ ีการท่ีเห็นสมควรได
ขอ ๘ ถาม ตามขอ ๑๔ (๓) คําวา “ลูกจางของสวนราชการ”
หมายความวาอยางไร

84 83
ตอบคําวา “ลูกจางของสว นราชการ”หมายถึง “ลูกจางประจํา”

โดยที่ขอ ๑๘ แหงประมวลจริยธรรม กําหนดใหการฝาฝนจริยธรรม
ตามความในหมวด ๒ ของประมวลจริยธรรมนี้ เปนความผิดวินัยตาม
กฎหมายวาดวยพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
หรือระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยลูกจางประจําของสวนราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๗ แลว แตก รณี

ขอ ๙ ถาม ขาราชการท่ีเคยถูกลงโทษทางวินัย และไดรับโทษ
ไปกอนแลว หรือในวันท่พี ระราชบัญญัตลิ างมลทิน มีผลใชบังคับ จะถือวา
ไมเ คยถกู ลงโทษทางวินัยตาม ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรอื นตาม
ขอ ๑๔ วรรคทา ย หรือไม

ตอบ พระราชบัญญัติลางมลทิน บญั ญัติใหลางมลทินใหแก
บรรดาผูถูกลงโทษทางวินัยซ่ึงไดกระทํากอนหรือในวันท่ี พ.ร.บ.
ลางมลทินฉบับนั้นมีผลใชบังคับ ถือวา ผูนั้นมิไดเคยถูกลงโทษหรือลง
ทัณฑทางวินัยในกรณีน้ัน ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกา ไดวินิจฉัยวา
การลางมลทินตาม พ.ร.บ. ดังกลาวเปนการลางโทษ แตมิไดลาง
พฤติกรรมการกระทําความผิด ของขาราชการผูน้ัน ดังน้ัน จึงถือวา
ขาราชการดังกลาวไมเคยถูกลงโทษทางวินัย อยางไรก็ดี เน่ืองจากตาม
ประมวลจริยธรรมขอ ๑๔ ไดกําหนดคุณสมบัติของขาราชการ ท่จี ะเปน
กรรมการจรยิ ธรรมไวสรปุ วา ตองไมเคยถูกลงโทษทางวินัย และตองเปน
ผูมีเกียรติ เปนที่ยอมรับของสวนราชการน้ัน ดังนั้น ในการพิจารณา
แตง ต้ังขาราชการผูท่ีจะไดร ับการเสนอชือ่ เปนกรรมการจริยธรรมประจํา
สวนราชการ จึงควรพิจารณาจากบุคคลท่ีดํารงตนตามหลักคุณธรรม
จริยธรรม เปนแบบอยางและเปนท่ียอมรับ สามารถสรางความเช่ือม่ัน
ศรัทธาในการปฏิบัติหนาที่ตามเจตนารมณของประมวลจริยธรรมฯ
ใหบรรลผุ ลได

8485
ขอ ๑๐ ถาม บุคคลที่ไดรับเลือกเปนกรรมการจริยธรรมตาม
ขอ ๑๔ (๒) ไดรับการเลื่อนตําแหนงเปนผทู รงคุณวุฒิ (ประเภทวิชาการ)
สวนราชการจะสามารถเสนอชื่อบุคคลที่ไดรับเลือก ในลําดับถัดไปตามที่
สวนราชการไดข ้ึนบญั ชไี ว โดยมิตองดําเนินการเลือกใหมไดห รอื ไม

ตอบ ป ระม วลจ ริ ยธ รรมขอ ๑ ๔ (๒ ) กํา หนดใ ห
คณะกรรมการจริยธรรมประกอบดว ยกรรมการผูดํารงตําแหนงประเภท
บริหารหรืออํานวยการเลือกกันเองใหเหลือสองคน และประมวล
จริยธรรมฯ มิไดก ําหนดใหมกี ารขึน้ บัญชีไว ดังน้นั หากกรรมการในสวนนี้
เหลือไมถึงสองคนสวนราชการจะตองดําเนินการเลือกใหมอีกหน่ึงคน
เพื่อใหครบองคประกอบของคณะกรรมการฯ เน่ืองจากอาจเปนการ
จํากัดสทิ ธข์ิ องผูทีไ่ ดร บั การแตงตง้ั ใหด าํ รงตําแหนงนน้ั ในภายหลงั

อยางไรก็ตาม หากจะตกลงใหแตกตางจากนี้ เพ่ือใหการ
ดําเนินงานของคณะกรรมการฯมีความตอเน่ือง เชน การจัดทําและขึ้น
บัญชีรายช่ือผูท่ีไดรับคัดเลือกเปนกรรมการและจะนําบัญชีมาใชกรณี
กรรมการตองพนตําแหนง และไมอาจดําเนินการคัดเลือกไดโดยเร็วสวน
ราชการและจังหวัดตองทําหนังสือขอหารือมายังสํานักงาน ก.พ.
พิจารณาเปนกรณีไป

ขอ ๑๑ ถาม คณะกรรมการจรยิ ธรรมมีวาระการดํารงตําแหนง กีป่ 
ตอบ มติที่ประชุม ก.พ. คร้ังที่ ๔/๒๕๕๓ เม่ือวันที่ ๒๖

เมษายน ๒๕๕๓ เห็นควรใหคณะกรรมการจริยธรรมของสวนราชการ
และจังหวัดมีวาระการดํารงตําแหนง ๒ ป นับแตวันที่มีประกาศแตงตั้ง
คณะกรรมการจรยิ ธรรมประจาํ สว นราชการและจงั หวัด

ขอ ๑๒ ถาม เมอื่ มกี ารเปลย่ี นแปลงกรรมการจริยธรรม (เชน การ
เล่ือนตําแหนง/การแตงตั้งใหดํารงตําแหนงอื่น/การยายสังกัดหรือการ
โอนไปหนวยงานอน่ื ) สว นราชการตองสง เร่ืองให ก.พ. แตงต้งั ใหมท ุกครง้ั
หรือไม

86 85
ตอบ กรณีมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ (เชน จากการ

เลื่อนตําแหนง/การแตงต้ังใหดํารงตําแหนงอื่น/การโยกยายสังกัด)
สามารถนํามาตรา ๗๖ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซง่ึ เปนหลักกฎหมายทัว่ ไปในกรณีไมมกี ฎหมายใช
บังคับในกรณีน้ันโดยเฉพาะโดยมาตรา ๗๖ บัญญัติไววา “นอกจากพน
จากตําแหนงตามวาระ กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ... (๖) มีเหตุตอง
พนจากตําแหนงกอนครบวาระตามกฎหมายวาดวยการน้ัน” มาใชบังคับ
โดยอนุโลมไดดังน้ัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการในกรณีขางตน
ใหสวนราชการดาํ เนนิ การคดั เลือกกรรมการจริยธรรมตามแนวทางที่ระบุ
ไวในขอ ๑๔ (...) และสงรายช่ือกรรมการให ก.พ. ดําเนินการแตงตั้ง
ทดแทน

ทั้งนี้ กรรมการท่ีไดรับการแตงตั้งทดแทน ใหมีวาระการ
ดํารงตําแหนงเทา กบั วาระการดํารงตาํ แหนงทีเ่ หลอื ของกรรมการคนเดมิ

ขอ ๑๓ ถาม การพนจากตําแหนงกรรมการจริยธรรมมีกรณีอ่ืน
อกี หรือไม

ตอบ คณะกรรมการจริยธรรมอาจพนจากตําแหนงไดใน
กรณตี ามมาตรา ๗๖ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ ทีน่ ํามาใชบงั คบั โดยอนุโลมซึง่ บัญญัติไววา นอกจากพนจาก
ตําแหนงตามวาระ กรรมการพน จากตําแหนงเมอื่

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เปนบคุ คลลมละลาย
(๔) เปนคนไรค วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค วามสามารถ
(๕) ไดร ับโทษจาํ คกุ โดยคาํ พิพากษาถึงทส่ี ดุ ใหจําคุก เวนแต
เปนความผดิ ลหุโทษหรือความผดิ อันไดก ระทําโดยประมาท

8687
(๖) มีเหตุตองพนจากตําแหนงกอนครบวาระตาม
กฎหมายวาดวยการน้นั
ขอ ๑๔ ถาม คณะกรรมการจรยิ ธรรมมีอํานาจหนาท่ีและบทบาท
อยางไรบา ง
ตอบ อํานาจหนาท่ีคณะกรรมการจริยธรรม เปนไปตาม
ขอ ๑๕ แหงประมวลจรยิ ธรรมฯ
นอกเหนือจากอํานาจหนาที่ตามประมวลจริยธรรม
คณะกรรมการจริยธรรมประจําสวนราชการและจังหวัดยังมีบทบาทที่
สําคัญในการสง เสริมผลกั ดนั ดา นคณุ ธรรมจริยธรรม ดงั นี้
๑. เปนเจาภาพ เจาของเรือ่ ง
๒. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทาง
๓. สงเสรมิ กระตุน ติดตาม
๔. สรา งเครอื ขายภายในและภายนอก
๕. บริหารความรู สรางความเขาใจเก่ียวกับการสงเสริม
จริยธรรม
๖. เช่ือมโยงเรื่องจริยธรรมกับการพัฒนาและการ
บริหารงานบุคคล
งานดานสง เสริมและคุมครองจรยิ ธรรม
ขอ ๑๕ ถาม แนวทางการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓
ตอบ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม
๒๕๕๓ เห็นชอบตามมติ ก.พ. เม่ือวันท่ี ๘ มีนาคม ๒๕๕๓ เกี่ยวกับการ
จัดตงั้ งานดานสงเสรมิ และคมุ ครองจรยิ ธรรมของสวนราชการและจังหวัด
ขอใหทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการดําเนินการตามประมวล
จริยธรรมขาราชการพลเรือนและกําหนดใหมีงานดานสงเสริมและ
คุมครองจริยธรรม เปนหนวยงานภายในรับผิดชอบภารกิจงานดาน


Click to View FlipBook Version