The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือแนวทางปฏิบัติ ตามข้อกำหนดว่าด้วยมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการกรมที่ดินฯ (ปี 2560)

กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมกรมที่ดิน

Keywords: ด้านทั่วไป

88 87
สงเสริมและคมุ ครองจรยิ ธรรมและเปลย่ี นศนู ยประสานราชการใสสะอาด
ของสวนราชการและจังหวัด หรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบภารกิจดานการ
สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล เปนงานดานสงเสรมิ และ
คุมครองจริยธรรมของสวนราชการและจังหวัด โดยปฏิบัติงานภายใต
การกํากับดูแลของเลขานุการคณะกรรมการจริยธรรมประจําสวน
ราชการ และจังหวัด
ดงั นั้น สว นราชการและจงั หวัด สามารถนาํ มติคณะรัฐมนตรี
ดังกลาว พิจารณาเปนแนวทางการจัดตั้งงานดานสงเสริมและคุมครอง
จรยิ ธรรม ดงั นี้
๑. ใหเปลี่ยนศูนยประสานราชการใสสะอาดของสวน
ราชการและจังหวัดหรือหนวยงานที่รับผิดชอบภารกิจดานการสงเสริม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาล เปนงานดานสงเสริมและคุมครอง
จรยิ ธรรมของสวนราชการและจงั หวดั
๒. ใหงานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรมของสวน
ราชการและจังหวัด ปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลของเลขานุการ
คณะกรรมการจริยธรรมประจําสวนราชการและจังหวัด(ตามแนวหนงั สือ
สาํ นกั งาน ก.พ. ว ๒๘ ลงวนั ที่ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๕๓)
ขอ ๑๖ ถาม กรณีการรองเรียนการฝาฝนประมวลจริยธรรม
งานดานสงเสรมิ และคมุ ครองจรยิ ธรรมตอ งดาํ เนนิ การอยางไร
ตอบ ตามขอ ๑๗ (๒) แหงประมวลจริยธรรม กําหนดให
งานดานสงเสริมและคมุ ครองจริยธรรม มีหนาท่ี สืบสวนขอเท็จจริงการ
ฝาฝนจริยธรรม ใน ๓ กรณี คือ ๑) เมื่อมีผูรองขอ ๒) หัวหนาสวน
ราชการมอบหมาย หรือ ๓) ตามที่เห็นสมควรแลวรายงานผลใหหัวหนา
สวนราชการพิจารณาเม่ือหัวหนา สวนราชการเห็นวาไมมีมูลจะสั่งยุติเร่ือง
ถา มมี ูลกไ็ ปสูกระบวนการทางวนิ ัย

8889
ขอสังเกต : หากมีการรองเรียนไปท่ีคณะกรรมการ
จริยธรรม คณะกรรมการจริยธรรมตองสงเร่ืองใหหัวหนาสวนราชการ
พิจารณาส่ังการตอ เนื่องจากคณะกรรมการฯ ไมมีอํานาจหนาที่ในการ
บังคบั บัญชาสัง่ การงานดานสงเสรมิ และคมุ ครองจรยิ ธรรม
หัวหนาสวนราชการ ผูบริหารสวนราชการตั้งแตประเภท
อาํ นวยการขนึ้ ไป
ขอ ๑๗ ถาม ตามประมวลจริยธรรม หัวหนาสวนราชการและ
ผูบรหิ ารสวนราชการต้ังแตป ระเภทอํานวยการขึ้นไปมีอํานาจหนาท่ีและ
บทบาทอยางไรบา ง
ตอบ ขอ ๑๖ กาํ หนดไว ดังนี้

- ประพฤตติ นเปน แบบอยางที่ดแี กผูใตบ ังคบั บญั ชา
- สนับสนุน สงเสริม ผูใตบังคับบัญชาท่ีซ่ือสัตย
มีผลงาน มีความรูความสามารถและปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้
โดยมอี าํ นาจหนาที่ ดงั น้ี
- คุมครองและประกันคว ามเปนอิสระของ
คณะกรรมการจรยิ ธรรม (ขอ ๑๖ (๑))
- คมุ ครองขาราชการผปู ฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ี
อยางตรงไปตรงมามิใหถูกกลั่นแกลง หรือถูกใชอํานาจโดยไมเปนธรรม
(ขอ ๑๖ (๒))
- รวบรวมปญหา ขอเสนอแนะ ในการปฏิบัติ
ปรบั ปรงุ หรอื การอื่นใดเกี่ยวกบั ประมวลจริยธรรมนี้ (ขอ ๑๖ (๖))
ขอ ๑๙ กําหนดวา เม่ือมีกรณีการฝาฝนจริยธรรม
ผูบังคับบัญชาอาจสั่งลงโทษทางวินัยวากลาวตักเตือน ทําทัณฑบนเปน
หนงั สอื หรือสัง่ ใหไดร บั การพฒั นาตามทเี่ หน็ สมควร

90 89
ขอ ๒๐ กําหนดวา ใหหัวหนาสวนราชการ คณะกรรมการ

จริยธรรม และก.พ.สงเสริมจริยธรรมขาราชการ โดยอยางนอยตอง
ดําเนินการ ดังน้ี

(๑) ในการบรรจุแตงตั้ง เล่ือนเงินเดือน ยายหรือโอน
ขาราชการ ใหใชพฤติกรรมทางจริยธรรมของผูน้ันพิจารณาควบคูกับ
ความรูความสามารถ

(๒) ปลูกฝงจริยธรรมใหขาราชการใหม จัดใหขาราชการ
ลงลายมือช่ือรับทราบประมวลจริยธรรม จัดใหมีสมุดบันทึกประวัติ
ในสวนท่ีเก่ียวกับจริยธรรมของขาราชการแตละคนรวมท้ังจัดใหมี
กิจกรรมสง เสริมจริยธรรมของขาราชการ รวมทั้งจัดใหมีกิจกรรมสงเสริม
จริยธรรมผูบรหิ าร และขา ราชการอยางสมา่ํ เสมอ

(๓) ประเมินการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของ
ขา ราชการ

(๔) คุมครองขาราชการผูปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมนี้
อยางเพยี งพอ

(๕) ยกยองขาราชการและสวนราชการที่ถือปฏิบัติตาม
ประมวลจริยธรรมนโ้ี ดยเครงครดั

(๖) ตอบขอสงสัยหรือคําถามเก่ียวกับการปฏิบัติตาม
ประมวลจรยิ ธรรมน้ี

(๗) จดั ใหมกี ารศกึ ษาคานยิ มทเ่ี ปนอุปสรรคตอ การปฏิบัติ
ตามประมวลจริยธรรมน้ี และดาํ เนนิ การแกไขปรบั เปลีย่ นคา นิยมนัน้

(๘) เผยแพรใหประชาชน ผูเปนคูสมรส ญาติ พ่ีนอง
พรรคพวกเพ่ือนฝูงของขาราชการตลอดจนประชาชนผูมาติดตอ ราชการ
ทราบประมวลจริยธรรมของขาราชการพลเรือน เพ่ือไมทําการอันเปน
การสง เสรมิ หรอื กอใหเกิดการฝา ฝนจรยิ ธรรม

9091
(๙) จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมนี้
ขอ ๑๘ ถาม ตามประมวลจริยธรรม หัวหนาสวนราชการไม
สามารถทําอะไรไดบ าง
ตอบ ขอ ๑๖ (๒) บัญญัติไว ดังนี้
ในสวนกรณีท่ีหัวหนาสวนราชการ หรือผูบริหารสวน
ราชการตั้งแตประเภทอํานวยการขึ้นไปเปนผูถูกกลาวหาวาไมปฏิบัตติ าม
ประมวลจริยธรรม ไมอาจดําเนินการเกี่ยวกับการออกคําส่ัง แตงต้ัง
โยกยาย เล่ือนเงินเดือน แตงต้ังคณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริงหรือ
คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยหรือดําเนินการใดท่ีเปนผลรายหรือ
กระทบตอสิทธิหนาท่ีของขาราชการผูกลาวหาได เวนแตไดรับความ
เหน็ ชอบจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมแลว
ขอ ๒๑ ถาม หากมีขอสงสัยหรือมีผูทักทวงวาการกระทําใดเปน
การขดั ประมวลจริยธรรมขา ราชการพลเรือน ตองทําอยางไร
ตอบ ในกรณีที่มีขอสงสัยหรือมีผูทักทวงวาการกระทําใด
เปนการขัดประมวลจริยธรรมฯตองไมกระทําการหรือหยุดกระทําการ
ดังกลาว แลว สง เรื่องใหคณะกรรมการจรยิ ธรรมพิจารณาวินิจฉัยวาการกระทํา
นัน้ ขดั ตอ ประมวลจรยิ ธรรมหรอื ไม (ขอ ๓ (๑), ขอ ๕ (๓), ขอ ๗ (๑))
กลไกและระบบการบงั คับใชประมวลจรยิ ธรรม
ขอ ๑๙ ถาม การฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
ขา ราชการพลเรือน จะมีผลอยางไร
ตอบ กา รฝา ฝนจริ ยธ รรมตา มคว ามในห มว ด ๒
ข อ ง ป ร ะ ม ว ล จ ริ ย ธ ร ร ม ถื อ เ ป  น ค ว า ม ผิ ด วิ นั ย ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว า ด ว ย
พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ หรือระเบียบ

92 91
กระทรวงการคลังวาดวยลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. ๒๕๓๗
แลวแตกรณี (ขอ ๑๘)
และผูบังคับบัญชาอาจส่ังได ดังนี้ ๑) ลงโทษทางวินัย
๒) วากลา วตกั เตือน ๓) ทาํ ทัณฑบนเปนหนังสือ หรือ ๔) ส่ังใหไดรับการ
พัฒนาตามที่เหน็ สมควร (ขอ ๑๙)
ขอ ๒๐ ถาม หากมีขอสงสัยหรือมีผูทักทวงวาการกระทําใดเปน
การขดั ประมวลจริยธรรมขา ราชการพลเรอื น ตองทําอยางไร
ตอบ ในกรณีท่ีมีขอสงสัยหรือมีผูทักทวงวาการกระทําใด
เปนการขัดประมวลจริยธรรมฯตองไมกระทําการหรือหยุดกระทําการ
ดังกลาว แลวสงเรื่องใหคณะกรรมการจริยธรรมพิจารณาวินิจฉัยวาการ
กระทําน้ันขดั ตอ ประมวลจริยธรรมหรือไม (ขอ ๓ (๑), ขอ ๕ (๓), ขอ ๗ (๑))
หัวหนาสวนราชการ ผูบริหารสวนราชการต้ังแตประเภท
อาํ นวยการขน้ึ ไป
ขอ ๒๑ ถาม หากพบเห็นการกระทําที่ฝาฝนประมวลจริยธรรม
ขา ราชการพลเรือน ตองทาํ อยางไร
ตอบ เม่ือรูหรือพบเห็นการฝาฝนประมวลจริยธรรมน้ี
ขาราชการมีหนาท่ีตองรายงานการฝาฝนพรอมพยานหลักฐาน (หากมี)
ตอหัวหนาสวนราชการ และหรือคณะกรรมการจริยธรรมโดยพลัน
(ตามขอ ๓ (๒))
ท้ังนี้ หากมีการรองเรียนการฝาฝนประมวลจริยธรรม
มายังคณะกรรมการจริยธรรมคณะกรรมการจริยธรรมควรสงเรื่องให
หัวหนาสวนราชการพิจารณาส่ังการในเบ้ืองตนกอน เน่ืองจากหัวหนา
สวนราชการเปนผูมีอํานาจบังคับบัญชา ในฐานะผูมีอํานาจส่ังบรรจุ
แตงต้ัง ตามมาตรา ๕๗ พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑ และสามารถส่ังการงานดานสง เสริมและคุมครองจริยธรรม

9293

ใหดําเนินการสืบสวนหาขอ เทจ็ จริงการฝาฝนเพ่ือรายงานตอหวั หนา สวน
ราชการพจิ ารณาได (ตามขอ ๑๗ (๒))

ขอ ๒๒ ถาม หากแนวทางปฏบิ ตั ทิ กี่ าํ หนดไวในประมวลจริยธรรม
ยงั มีความไมชดั เจน หรือมีปญหาทางปฏบิ ัตจิ ะปรับปรุงแกไขไดห รอื ไม

ตอบ บทเฉพาะกาล ขอ ๒๔ กําหนดใหมีการประเมินการ
ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมน้ีพรอมดําเนินการปรับปรุงแนวทางการ
ปฏิบัติหรือแกไขเพิ่มเติมประมวลจริยธรรม ใหเหมาะสมเมื่อประมวล
จริยธรรมบังคับใชครบ ๑ ป โดยให ก.พ. ดําเนินการรับฟงขาราชการ
หัวหนา งานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรม คณะกรรมการจรยิ ธรรม
หวั หนา สวนราชการ และผูตรวจการแผน ดนิ

--------------------------------------------------------
หมวด ๒

แนวทางปฏิบตั ติ ามขอบงั คบั กรมทีด่ นิ
วา ดวยจรรยาขาราชการกรมท่ดี ิน พ.ศ. ๒๕5๒

๒.๑ จรรยาวิชาชีพ
จรรยาวิชาชีพหรือจรรยาบรรณวิชาชีพหมายถึง มาตรฐาน

ของคุณคา แหงความดีงามของการกระทําหนึ่งๆ หรือพฤติกรรมโดยรวม
ของผูประกอบวิชาชีพใดวิชาชีพหนึ่งสําหรับกรมทดี่ ินไดจัดทําขอบังคับทาง
จรรยาวิชาชีพข้ึน โดยอาศัยตามความในมาตรา ๗๘ และ ๗๙
แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ เรียกวา
“จร ร ย า ข า ร า ช กา ร กร ม ท่ี ดิ น เ พื่ อ เ ป น กร อบ ม าต ร ฐ า น ใ ห ข า ร า ช ก า ร
เปนขาราชการท่ีดี เพ่ือเปนการเสริมสรางจิตสํานึกท่ีถกู ตองของขาราชการ
กรมท่ีดินในการปฏิบัติหนาที่ราชการตามภารกิจที่ไดรับมอบหมายใหมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล บรรลุวิสัยทัศน พันธกิจ คานิยมหลักกรมท่ีดิน

94 93
เพ่ือประโยชนสุขของประชาชน ปองกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ ธํารงไว
ซึ่งศกั ดศ์ิ รี เกียรติภูมิของกรมท่ีดิน อันจะสงผลใหไดรับความเช่ือถือ ศรัทธา
และไววางใจจากประชาชน
ในการสรางขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการกรมท่ีดิน มีการรับฟง
ความคิดเหน็ อยางทว่ั ถึงจากผมู ีสวนไดส วนเสีย เพื่อใหมาตรฐานจริยธรรมของ
ขาราชการสอดคลองตรงกับบริบทของกรมท่ีดินและขาราชการกรมที่ดิน
รวมทงั้ เปนเครอื่ งจงู ใจใหเกดิ ความรสู ึกรว มรับผดิ ชอบใหปฏิบตั ิตาม
๒.๒ แนวทางปฏิบัติ
โดยท่ีขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการกรมท่ีดิน มีลักษณะเปน
ขอกําหนดอยางกวาง ๆที่คอนขางเปนนามธรรม จึงจําเปนตองมีการ
จัดทําแนวทางปฏิบัติในรูปแบบของคําอธิบาย มีลักษณะเปนรูปธรรม
เพ่ืองา ยแกการเขาใจ และเปนตวั อยางท่สี ามารถนําสกู ารปฏิบตั ิไดจ ริง
จุดมุงหาย
๑. เพ่ือเสริมสรางจิตสํานึกที่ถูกตองของขาราชการกรมท่ีดิน
ในการปฏิบัติหนาท่ีใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บรรลุวิสัยทัศน
และพันธกิจของกรมทดี่ นิ เพือ่ ประโยชนสขุ ของประชาชน
๒. เพื่อปองกันการทุจรติ และประพฤติมิชอบ
๓. เพ่ือธํารงไวซ่ึงศักดิ์ศรี เกียรติคุณของกรมท่ีดิน และบุคลากร
ของกรมท่ดี ิน ใหไดร บั ความเชอ่ื ถือ ศรทั ธาและไววางใจจากประชาชน
ขอบงั คบั
ขอ ๑ ยึดมัน่ และยนื หยดั ในสิ่งทีถ่ ูกตอง
ปฏิบัติหนา ทโ่ี ดยยึดม่ันในความถูกตอง เที่ยงธรรม รักษา
ผลประโยชนของประเทศชาติ หนวยงาน และสวนรวมมากกวา
ผลประโยชนส วนตน

9495
แนวทางปฏิบตั ิ
- ปฏิบัติหนาที่ดวยความรูความสามารถและทักษะในการ
ดําเนินงาน ดวยความถูกตองตามหลักกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ และยึดม่ัน
ในหลกั วิชาการดา นทะเบียน ดา นรังวดั ดา นการบรหิ าร และจริยธรรม
- ปฏิบัติหนาทีโ่ ดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม เพื่อประโยชนสุขของ
ประชาชน รวมทั้งละเวนการแสวงหาตําแหนงบําเหน็จความชอบ และ
ประโยชนอ น่ื ใดจากบุคคลอื่นโดยมชิ อบ
- ตัดสินใจและกระทําการใดๆ โดยยึดประโยชนสวนรวมของ
ประเทศชาตปิ ระชาชนและหนวยงานมากกวาประโยชนส วนตน
- ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีของผูใตบังคับบัญชาในการยึดมั่น
ความถกู ตองเท่ยี งธรรม และปกปองผลประโยชนข องชาติ
ขอบังคบั
ขอ ๒ ซอ่ื สตั ย สุจริต รับผดิ ชอบ

ปฏิบัติหนา ท่ีดวยความซื่อสตั ย สจุ รติ เสยี สละ พากเพียร
และตระหนกั ในหนา ทคี่ วามรบั ผิดชอบ

แนวปฏิบตั ิ
- ปฏิบตั หิ นาท่ีดวยความซื่อสัตย สุจริต เท่ียงธรรม ไมมุงหวังและ
แสวงหาผลประโยชนอนั มิควรไดจ ากการปฏิบตั ิงาน
- ใชดุลพินิจในการตัดสินใจดวยความสุจริต ตรงตามเจตนารมณ
ของกฎหมาย
- ไมใหคําแนะนําใดๆ เกี่ยวกับการดําเนินการ อันเปนการหลบ
เล่ียงกฎหมาย คา ธรรมเนยี ม และคา ภาษอี ากร
- ไมรับฝากหรือรับเหมาเงินคาธรรมเนียม คาภาษีอากร และ
คา ใชจายตางๆ รวมท้งั การรบั เงินมดั จํารงั วัดสว นทเ่ี หลอื คนื แทนผขู อรังวัด

96 95
- รับผิดชอบตอ ผลการกระทําของตนเอง อธิบายสิ่งที่ตนไดปฏิบตั ิ

อยางมเี หตผุ ลและถกู ตอ ง ชอบธรรม พรอ มทั้งยินดีแกไ ขขอ ผิดพลาดท่เี กิดขนึ้
- ควบคุม กํากับ ดูแล ผูปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของตน

ไมใ หก ระทาํ การหรอื มพี ฤตกิ รรมในทางมชิ อบ
- ไมน าํ ผลงานของผอู น่ื มาเปนของตน

ขอบังคบั
ขอ ๓ โปรง ใสและสามารถตรวจสอบได
ปฏิบัติหนา ท่ีดวยความโปรงใส พรอ มรบั การตรวจสอบ
แนวทางปฏิบตั ิ
- เปดเผยหลักเกณฑ ข้ันตอน วิธีการปฏิบัติงาน ใหผูรับบริการ

ไดร บั ทราบรวมถงึ ให ขอมลู ขาวสาร แกผ ูรองขอตามกรอบของระเบยี บ กฎหมาย
- ปฏิบตั ิหนาที่ราชการตามลําดับข้ันตอนการปฏิบัติงานที่ไดมีการ

วางระเบียบแนวทางปฏิบัตไิ ว
- ใชข อ มลู ขาวสารของทางราชการในทางที่เปนประโยชน ถูกตอ ง

ดว ยความระมัดระวัง ไมเ ปด เผยขอมูลขา วสารทเ่ี ปนความลับของทางราชการ
- ปกปดขอมูลสวนบุคคลอันไมควรเปดเผยที่อยูในความ

รบั ผิดชอบของหนว ยงาน
- ดแู ลหลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงานใหพรอ มรับการตรวจสอบ
- ชี้แจงและใหเหตุผลแกผูรับบริการ กรณีไมสามารถปฏิบัติหรือ

กระทําตามคําขอได
ขอบงั คับ

ขอ ๔ ไมเลือกปฏิบตั ิ
ปฏิบัติหนาท่ีดวยความเสมอภาค เปนธรรม และ

ปราศจากอคติ

9697
แนวทางปฏิบตั ิ
- ปฏบิ ตั ติ อ ผมู ารบั บรกิ ารดว ยความเสมอภาค ไมเ ลอื กปฏิบตั ิ
- ปฏิบัติหนาท่ีสอบสวน เปรียบเทียบ ไกลเกลี่ย รวมทั้งกรณี
พิพาทเรื่องตางๆ บนพ้ืนฐานของความเปนกลาง และใหความเปนธรรม
แกทกุ ฝา ย ไมช ชี้ อ งใหคกู รณฝี า ยใดฝายหน่งึ ไดเปรยี บ
- ละเวนการมีพฤติกรรมอันอาจทาํ ใหคูกรณีฝายใดฝายหน่ึงเขาใจ
วาเปนการชวยเหลอื คกู รณีอีกฝา ยหน่งึ หรอื บุคคลภายนอก
- ไมกระทําการใดอันเปนการยุยงสงเสริม ใหเกิดขอพิพาท
เกีย่ วกับแนวเขตหรอื เนื้อท่ีท่ดี ิน หรือการปฏบิ ตั ิหนาทอ่ี ื่นๆ
ขอบังคับ
ขอ ๕ มุงผลสมั ฤทธ์ิ

ปฏิบตั ิหนาที่เสรจ็ สมบูรณภายในเวลาท่ีกําหนด ไดผลลัพธ
ตามเปาหมายคุมคา ดวยวธิ ีการที่ถูกตอง ชอบธรรม เกิดประโยชนสูงสุด
ตอประเทศชาติ ประชาชน และหนวยงาน โดยใชทรัพยากรอยางประหยัด
และเหมาะสม

แนวทางปฏิบัติ
- ปฏิบตั ิงานดวยความเอาใจใส มานะพยายาม มงุ มั่นและติดตาม
งานในความรับผิดชอบใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายภายในเวลาท่ี
กําหนด โดยวิธกี าร กระบวนการ ท่ถี กู ตอง
- ปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ โดยใชทักษะ ความรูความสามารถ
อยางเต็มท่ีดวยความถูกตอง รอบคอบ ระมัดระวัง เพ่ือรักษา
ผลประโยชนสวนรวมอยางเตม็ ความสามารถ
- พฒั นาตนเองใหเปนผูมีความรอบรู และมคี วามรู ความสามารถ
ทักษะในการปฏิบัตงิ านในหนาที่

98 97
- พัฒนาระบบการทํางานใหไดผลงานที่ดี มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ

ประสทิ ธิผลและเปนแบบอยางได
- จัดระบบการจดั เก็บเอกสาร ขอมูล รวมท้งั สถานที่ ใหเปนระบบ

ระเบยี บเอ้ืออํานวย ตอ การทํางานใหสาํ เร็จตามเปาหมาย
- ดแู ลรกั ษาและใชทรพั ยสนิ ของทางราชการอยางประหยัด คุม คา

เหมาะสมดวยความระมัดระวัง มิใหเสียหายหรือส้ินเปลือง เสมือนเปน
ทรพั ยสนิ ของตนเอง
ขอบงั คับ

ขอ ๖ มจี ติ บรกิ าร
ปฏิบัติหนาท่ี ใหผูรับบริการไดรับความสะดวก รวดเร็ว

ดวยความมีอัธยาศัยไมตรี
แนวทางปฏิบัติ
- ใหบริการดวยความกระตือรือรน เอาใจใส และใหเกียรติ

ผูรับบรกิ าร
- สอดสองดูแล และใหบริการแกผูรับบริการดวยความสะดวก

รวดเรว็ เสมอภาค ยุตธิ รรม และมอี ัธยาศยั ไมตรี
- ใหบริการดวยภาษาถอยคําสุภาพ ชัดเจน เขาใจงาย หลีกเล่ียง

การใชศ พั ทเทคนิค หรอื ถอ ยคําภาษากฎหมายที่ผรู บั บริการไมเ ขา ใจ
- ปฏิบัตงิ านดวยความถูกตอง รอบคอบ รวดเรว็ ระมดั ระวัง ไมใ ห

เสือ่ มเสียหรอื กระทบตอ สทิ ธขิ องบุคคลอน่ื
- เปดชองทางรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ผูมีสวนไดสวน

เสียในสถานท่ีใหบริการ และนําขอมูลดังกลาวมาใชในการแกไขปญหา
ปรบั ปรุงพัฒนาหนวยงานและการใหบรกิ ารประชาชน

9899
ขอบังคบั

ขอ ๗ ดํารงชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดาํ เนนิ ชีวิตบนทางสายกลาง โดยยึดหลักความพอประมาณ

ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันท่ีดี ภายใตเง่ือนไขความรูและ
คุณธรรม

แนวทางปฏิบัติ
- ยึดหลักความพอประมาณ โดยดํารงชีวิตเหมาะสมกับฐานะของ
ตนเองและสังคมพัฒนาตนเองใหมีความอุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร
ประหยดั และดขี นึ้ เปนลําดับ
- ยึดหลักความมีเหตุผล โดยปฏิบัติตนและปฏิบัติงานอยางมี
ระบบ มีเหตุผลถูกตอง โปรงใส เปนธรรม กอนตัดสินใจดําเนินการใดๆ
ตอ งคาํ นึงถึงผลทีค่ าดวาจะเกดิ ขนึ้ ทัง้ ตอ สว นรวมและตอ ตนเอง
- ยึดหลักการมีภูมิคุมกันที่ดี ดวยการดําเนินชีวิตและปฏิบัติงาน
โดยมีเปาหมายมีการวางแผนและดําเนินการไปสูเปาหมายดวยความ
รอบคอบ ประหยัด อดทน อดออม บนพื้นฐานความรูและคุณธรรม
เพือ่ ใหบรรลุเปา หมาย
- พัฒนาตนเองและเพ่ือนรว มงาน ใหเปนผูมีความรูความสามารถ
ในการปฏิบัติงานมีความโอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผตอผูมาติดตอ
ราชการและเพื่อนรวมงาน
- ประพฤตติ นเปน แบบอยางทดี่ ีแกผูใตบังคับบัญชาในการนอมนํา
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏบิ ตั ิ
- ดูแลเอาใจใสผูใตบังคับบัญชา ท้ังในดานการปฏิบัติงาน ขวัญ
กาํ ลังใจ สวัสดิการและรบั ฟงความคดิ เห็นของผูใตบังคับบัญชา ตลอดจน
ปกครองผูใตบังคับบัญชาดวยหลักการและเหตุผลท่ีถูกตองตามทํานอง
คลองธรรม

100 99

ขอบังคบั
ขอ ๘ รกั ศกั ดศ์ิ รีของตนเองและเกยี รติภูมขิ ององคกร
ประพฤติปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับการเปนขาราชการท่ีดี

เสริมสรางภาพลักษณของกรมท่ีดินใหเปนท่ีเชื่อถอื ศรัทธา และไววางใจ
ของประชาชน

แนวทางปฏิบตั ิ
- รักศักดิ์ศรีของตนเอง โดยประพฤติตนใหเหมาะสมกับการเปน
ขาราชการท่ีดีอยูในระเบียบ วินัย กฎหมาย และเปนผูมีคุณธรรม
จริยธรรม ศีลธรรมอันดี เพ่ือใหเปนที่เช่ือถือศรัทธา และไววางใจของ
ประชาชน
- สงเสริมภาพลักษณเพ่ือเกียรติภูมิของกรมท่ีดิน ดว ยความภูมิใจ
ในความเปนขาราชการกรมท่ีดิน สรางความเช่ือม่ันใหสังคมภายนอก
ยอมรับการปฏิบัติงานของกรมทดี่ นิ
- สรางความสามคั คใี นองคกร โดย

- เคารพตอ ความเชอื่ และคา นิยมของบคุ คลหรือเพื่อนรวมงาน
- ยอมรบั ความคิดเหน็ ทแี่ ตกตาง และบรหิ ารจัดการความ
ขดั แยงอยางมเี หตุผล
- ไมผ ูกขาดการปฏิบัติงานหรือเกีย่ งงาน อนั อาจทาํ ใหเกิดการ
แตกความสามัคคใี นหนวยงาน
- ประสานงานกับทุกฝา ยทีเ่ กี่ยวของดว ยการรกั ษาสมั พนั ธภาพ
ในการปฏิบตั งิ าน

------------------------------------

101001

หมวด ๓
แนวทางปฏิบัตติ ามคานยิ มหลักกรมทด่ี นิ

จดุ มงุ หมาย
๑. เพื่อใหเกิดสํานึกของความรับผิดชอบตอหนาท่ี กลารบั ผิดชอบ

ตอการตัดสนิ ใจของตนเอง
๒. เพ่อื ใหบรกิ ารอยางถูกตองดว ยความรอบคอบ
๓. เพื่อปฏิบตั งิ านดวยความซือ่ สัตย สจุ รติ และโปรง ใส

แนวทางปฏิบตั ิ แนวทางปฏิบตั ิ
คานิยมหลักของขาราชการ ๑.๑ มีสาํ นกึ ในบทบาท
กรมทีด่ ิน หนาที่ ความรับผดิ ชอบ
๑.๒ มคี วามรู ความสามารถ
ขอ ๑. รูรับผิดชอบ ในงานท่ีทําเปนอยางดีและทาํ งาน
พฤตกิ รรมท่ีควรแสดงออก อยางเต็มศกั ยภาพ
๑.๓ กลา รบั ผดิ ชอบตอผลงาน
ขอ ๒. มอบจติ บริการ และการตัดสนิ ใจของตนเอง
พฤติกรรมทคี่ วรแสดงออก ๑.๔ มองภาพรวม
ความสําเรจ็ ขององคก รมากกวา
ประโยชนส วนตน
๒.๑ ใหบรกิ ารดวยความ
กระตือรือรน เอาใจใส และให
เกยี รตผิ ูรบั บรกิ าร
๒.๒ แสดงพฤตกิ รรม และใช

102 101
คานยิ มหลกั ของขา ราชการ แนวทางปฏิบตั ิ
กรมทีด่ ิน วาจาที่เหมาะสม มอี ธั ยาศัยและ
มติ รไมตรีทีด่ ี
ขอ ๓. สอ่ื สารเลิศลํา้ ๒.๓ สอดสองดแู ล และ
พฤตกิ รรมที่ควรแสดงออก ใหบ ริการดวยความสะดวก
รวดเรว็ เสมอภาค ยตุ ิธรรม
ขอ ๔. จริยธรรมนําจติ ใจ ๒.๔ ใหบรกิ ารอยางถูกตอง
พฤติกรรมทค่ี วรแสดงออก ดว ยความรอบคอบระมดั ระวัง
๒.๕ ใหคําแนะนําทเ่ี ปน
ประโยชนก บั ผรู ับบรกิ าร
๓.๑ สอ่ื สาร และถายทอด
ขอ มูลอยางถูกตอง ชัดเจน
รวดเรว็ และทว่ั ถึง
๓.๒ สื่อสารในเชงิ บวก สภุ าพ
และปราศจากอคติ
๓.๓ ปรับรูปแบบ วิธีการส่ือสาร
ใหเหมาะสมกับลกั ษณะของผูฟง
และสถานการณ
๓.๔ รบั ฟง และเหน็ คุณคา
ของความคดิ ที่แตกตา ง
๔.๑ ปฏิบัติงานดว ยความ
ซอื่ สตั ย สจุ ริต และโปรง ใส
๔.๒ ปฏิบัตงิ านโดยไมหวัง
ผลประโยชน หรือส่งิ ตอบแทน
๔.๓ วางตัวเปน กลาง ให

คานิยมหลกั ของขา ราชการ 101203
กรมท่ีดิน แนวทางปฏิบัติ

ขอ ๕. ฝกใฝเ รียนรู ความยุติธรรม เพื่อรักษาสิทธข์ิ อง
พฤติกรรมที่ควรแสดงออก ทุกฝา ย

ขอ ๖. มุง สคู วามรวมมือ ๔.๔ ยึดมั่นในกฎ ระเบยี บ
พฤติกรรมท่ีควรแสดงออก วินัย ขอบงั คบั และกฎหมายท่ี
เกีย่ วของ

๔.๕ กลา ยืนหยัดในสงิ่ ที่
ถกู ตอง

๕.๑ หม่ันศกึ ษา หาความรู
เพม่ิ เตมิ ในงานท่รี ับผดิ ชอบ

5.๒ พฒั นากระบวนการ
ทาํ งานอยางตอ เนือ่ ง

๕.๓ เชอื่ มโยงความรู แนวคดิ
ใหมม าประยกุ ตใชในการทํางาน

๕.๔ นาํ ความคิดเหน็ หรือ
ขอ เสนอแนะมาปรับปรงุ การ
ทาํ งานใหดีข้ึน

๖.๑ ใหความรวมมอื กับทมี
พรอ มชว ยเหลอื ผูอ่ืนดวยความ
เตม็ ใจ

๖.๒ สามัคคี และชวยกนั
แกปญหา เพือ่ ความสาํ เร็จของ
ทมี

๖.๓ มสี ํานกึ ในสดั สว นงาน
และรบั ผิดชอบสว นของตนเอง

104 103
คานิยมหลักของขาราชการ แนวทางปฏิบัติ
กรมทด่ี ิน อยางเตม็ ประสทิ ธภิ าพ
๖.๔ ใหความไวเนื้อเชือ่ ใจ
เคารพในสถานะ บทบาท และให
เกียรติผทู ี่ทาํ งานรว มกนั
๖.๕ ใหกําลงั ใจซึง่ กันและกัน
สมาํ่ เสมอ

110405

106 105

110067

108 107

110089

110 109

111
110

112 111
กรณตี ัวอยาง

กรณตี ัวอยาง ๑
ในการสอบคัดเลือกบุคคลเขารับราชการ คุณวินิจ ซ่ึงเปน

นักวิชาการ ไดรับการแตงต้ังใหเปนกรรมการออกขอสอบและกรรมการ
สอบสัมภาษณดวยผูหนึ่ง เชาวันหน่ึงกอนจะมีการสอบจริงผอู ํานวยการ
สํานัก ซึ่งเปนผูบังคับบัญชาของคณุ วินิจ ไดเรียกคุณวินิจไปพบ และเลา
ใหฟงวามีผูสมัครสอบคนหนึง่ เปนผูท่ีนาจะใหความชวยเหลือ เพราะพอ
กับแมยากจนมาก และเปนญาติทางภรรยาของผูอํานวยการเองดวย
จากนั้น ผูอํานวยการสํานัก ไดขอรองใหคุณวินิจบอกแนวทางของ
ขอสอบท่ีออกไปแลว โดยใหบอกดวยวาจาเพ่ือที่จะไมเปนหลักฐานให
ผูอ่ืนเอาผิดได และหากมีการสอบสัมภาษณขอใหคุณวินิจใหคะแนน
ผูสมัครสอบคนนี้เปนพิเศษ (จากกรณีศกึ ษาของ โกศล มีคุณ)

คําแนะนํา
จะตองไมชวยญาติของผูบังคับบัญชา เนื่องจากการใหขอมูล
เก่ียวกับขอสอบการใหคะแนนดวยความชอบหรือตกอยูภายใตอิทธิพล
ของผูอ่ืน ทําใหเกิดความเปนอยุติธรรมแกผูสมัครสอบคนอ่ืน เปนการ
ไมปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการที่ชอบธรรม นอกจากนี้หากชวยเหลือ
ยังทําใหหนวยงานไดผูท่ีมีความรู ความสามารถตํ่ากวามาตรฐานของ
ขาราชการ เปนการสมยอมตออิทธิพลจะตองสมยอมและสมรูรวมคิด
ตอการประพฤตมิ ิชอบในอนาคตตลอดไป
กรณีตัวอยา งท่ี ๒
ปรดี าเปน เจาหนาทส่ี าธารณสุขสวนกลาง มีหนาที่เผยแพรความรู
ความเขาใจดานสาธารณสุขใหแกประชาชน สัปดาหนี้เขาไดรับ
มอบหมายใหเปนหัวหนากลุมไปปฏิบัติหนาที่ในอําเภอติดชายแดน

111213
ภาคใต โดยมีเพื่อนรวมงานอีก ๒ คน ครั้นเม่ือเร่ิมลงมือปฏิบัติงาน
คณะของทานพบวามีชาวบาน กลุมหนึ่งเดินทางไปมาเสมอระหวาง
เขตอําเภอน้กี บั จังหวัดชายแดนอกี จงั หวัด และไดทราบวาชาวบานกลุมน้ี
ไปรวมชุมนุมกับผูกอการรายซึ่งต้ังคายอยูชายแดน กอเหตุราย ทําให
ขา ราชการและประชาชนถูกทํารายบาดเจ็บและเสียชวี ิต แตไมมใี ครกลา
รายงานฝายปกครองเนื่องจากกลัวมีอันเปนไป หากเปนทานจะทํา
อยางไร

คาํ แนะนํา
ตองตัดสินใจรายงานใหฝายปกครองทราบ ถือเปนหนาที่ของ
ขา ราชการทุกคน ตอ งปฏิบัติ เพื่อทําใหประเทศ สังคมสงบสขุ เรียบรอย
มีความมั่นคงและยั่งยืน การท่ีทานเลือกปฏิบัติตามคําแนะนําเปนการ
แสดงวา เม่ือเกิดขอขัดแยงระหวางความปลอดภัยสวนตน กับความ
ปลอดภัยของประเทศ ประชาชน ทา นเลือกท่ีจะกระทําโดยยึดประโยชน
สวนรวม ซึ่งเปนจริยธรรมขั้นสูงควรคาตอเกียรติภูมิของการเปน
ขา ราชการ (โดย โกศล มคี ณุ )
กรณตี ัวอยาง ๓
เจาหนาท่ีจัดซื้อจัดจางของหนวยงานทําการเลือกวาจางญาติของ
ตนใหเขามารับงานของหนวยงานซ่ึงแมจะไมปรากฏการกระทําผิด
แตเ ปนการขัดแยงระหวางผลประโยชนสวนตนพวกพองกับผลประโยชน
ของชาติ
คําแนะนํา
จะตองไมชวยญาติ และขาราชการตองไมเขาไปมีสวนเกี่ยวของใดๆ
ในการจดั ซื้อจัดจางไมวาทางตรง หรือทางออ ม

114 113
กรณตี ัวอยาง ๔
เ จ า ห น า ที่ อ า วุ โ ส ซึ่ ง อ ยู ใ น ตํ า แ ห น ง ท่ี มี อิ ท ธิ พ ล ต อ ก า ร อ นุ มั ติ
มีอิทธิพลทําใหเกิดการอนุมัติโครงการใหบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย
ท่ีตนเองถือหุนรับงานจากหนวยงาน ลักษณะเชนน้ีแสดงใหเห็นการ
ขัดแยงระหวางผลประโยชนสวนตนและสวนรวม แมวาเจาหนาที่อาวุโส
จะไมไดใ ชอาํ นาจตอ การตัดสินใจของฝายจดั ซ้ือจัดจางคนอ่ืน
คําแนะนํา
ในกรณีเชนน้ีผูบังคับบัญชาควรมอบหมายเจาหนาที่อาวุโสน้ันๆ
ไปทาํ งานอื่นทไ่ี มเ กีย่ วของกบั การจัดซอ้ื จดั จางครั้งนี้

กรณตี ัวอยาง ๕
ทานจะปฏิบัติเชน ไรในกรณีน้ี
๑. เจาหนาทห่ี นาหองผบู ริหารถามเรื่องผลตอบแทนที่เขาจะไดรับ

หากสามารถจูงใจใหผูบริหารโยกยายทานไปประจําอยูจังหวัดท่ีทาน
ตองการ

คําแนะนํา
ทานตองปฏเิ สธและขอใหเจาหนาที่น้ันดําเนนิ การอยางชอบธรรม
ชี้แจงใหเจาหนาท่ีผูน้ันเขาใจวา การจายผลตอบแทนเปนส่ิงท่ีขัดตอ
นโยบายของผูบริหาร และทําใหระบบบริหารงานบุคคลของภาครัฐตาม
หลกั คุณธรรมถูกทาํ ลาย
๒. ในสว นราชการที่ทานปฏิบัติงานอยูมีประเพณีการจัดงานเล้ียง
ตอนรับผูบริหารระดับสูงท่ีเขามารับตําแหนงใหมอยางหรูหรา โดยการ
เรี่ยไรเงินจากพอคา คหบดี และขาราชการในหนวยงานกันเอง เจาของ
ธุรกิจแตละรายไดใหเงินโดยเฉลี่ยประมาณสองแสนบาทสําหรับงาน
ดังกลาวเปนประจําขณะน้ีผูบริหารระดับสูงกําลังจะเดินทางเขามารับ

111415
ตําแหนงใหมในหนวยงานของทาน และทานไดรับมอบหมายใหจัดงาน
ดังกลา ว จะทําอยางไร

คําแนะนํา
ประเพณีการจัดงานเล้ียงตอนรับผูบังคับบัญชาคนใหมดังกลาว
ขางตน เปนการกระทําที่กอใหเกิดความขัดแยงระหวางผลประโยชน
สวนตนและสวนรวมโดยประการแรกทาํ ใหบ ุคคลท่ัวไปเขาใจวาทานทํา
เพือ่ แลกเปลีย่ นกับความกาวหนา ในตาํ แหนงหนาทีข่ องทา นเองประการที่
สองทําใหภาคเอกชนที่ใหเงินเพ่ือจัดงานเล้ียงตอนรบั เขาใจวาในอนาคต
ธุรกิจของเขาจะไดรับจาง/จัดจาง มีผลประโยชนตางตอบแทนจาก
หนวยงานของทานประการท่ีสามเปนการทําลายสัมพันธภาพในการ
ทํางานระหวางทานกับเพ่ือนรวมงานท่ีตองถูกเรี่ยไรเงินเปนประจํา
ประการท่ีสี่เปนการเบียดเบียนผูอื่นโดยเฉพาะขาราชการกันเองที่มี
เงินเดือนจํากัด สรางความเดือดรอนใหแกขาราชการและครอบครัวของ
เขาในหลกั ศาสนาถือวาเปน ความชว่ั เปนตน
ดังน้ัน หากทานไมส ามารถปฏิเสธการจัดงานเล้ียงตอนรับควรทํา
โดยประหยัด ใชเงินสวัสดิการภายในที่มีอยู นอกจากน้ันหากทาน
รับผิดชอบงานดานการคุมครองจริยธรรมดวยควรผลักดันใหหนวยงาน
ออกมาตรการหรือนโยบายเกี่ยวกับการรับหรือใหทรัพยสินหรือ
ผลประโยชนเ พื่อการปฏบิ ตั กิ รณีของผูบรหิ ารระดับสูงหรือผูบริหารสูงสุด
ขององคกรเองตองออกนโยบาย มาตรการและวิธีการปฏิบัติในเรื่อง
เก่ียวกับการรับหรือใหทรัพยสิน หรือผลประโยชนอ่ืนใดในองคกร
เพื่อสรางมาตรฐานทางจริยธรรมในการทํางาน กําจัดขอสงสัยของ
สาธารณชนวาทา นจะตดั สนิ ใจอยางไมชอบธรรมใหประโยชนก ับบุคคลใด
บุคคลหนึ่งท่ีมีสวนรวมในการจัดงานเล้ียงตอนรับ และประการสําคัญ
เปนการปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูนําของหนวยงานท่ีตองเปนตนแบบท่ีดี
และบริหารงานอยางยุตธิ รรม เกดิ ธรรมาภิบาลในองคก ร

116 115
กรณีตัวอยาง ๖
การจัดอาหารกลางวันแบบบุฟเฟต ใหกับกลุมเจาหนาท่ีภาครัฐ
และองคกรเอกชนจํานวนมาก เพ่ือแสดงผลิตภัณฑ ซึ่งเปนหนาที่ของ
ทานที่ตองหาความรูเก่ียวกับผลิตภัณฑชนิดนี้ การกระทําเชนน้ีสามารถ
ทําไดและไมกอใหเกิดความสงสัยวาทานจะไปตกลงซื้อผลิตภัณฑ
โดยผลของการเล้ียงอาหาร
ผเู สนอโครงการเชิญทานไปรับประทานอาหารท่ภี ตั ตาคารหรูเพียง
ผูเดียว และทานเปนผูมีหนาที่กล่ันกรองโครงการ ซึ่งเปนเหตุผลที่ผูพบ
เห็นอาจสรุปวาทานผานโครงการของบริษัทเนื่องจากการรับเลี้ยงนี้
ดังนัน้ ควรปฏเิ สธ
ทานไดรับเชิญใหไปนําเสนอนโยบายของรัฐบาลในการสัมมนา
ซึง่ จดั นอกเมอื งไป ๒๐๐ ก.ม. โดยไดร บั อนุมัตจิ ากเลขาธิการ กําหนดการ
บรรยายอยูวิชาสุดทายกอนอาหารคํ่า ปรากฏวาผูจัดการสัมมนา
ปรบั เปล่ียนกําหนดการกะทันหัน โดยขอใหทา นบรรยายระหวางอาหาร
ค่ํา และเสนอออกคาที่พักกลางคืนและคาเดินทาง ซ่ึงเปนการประหยัด
งบประมาณรัฐ ในสถานการณเ ชนน้ี สามารถทําได
นักพัฒนารีสอรทไมสามารถเสนอใหทางการอนุมัติการสราง
รีสอรทได เน่ืองจาก ไมผานเกณฑ ทานในฐานะตัวแทนองคกรในการ
ตรวจสอบถูกรองขอจากบริษทั ใหใสความคดิ เหน็ ในทางบวก เพื่อรายงาน
หัวหนาสวนราชการ บริษัทจึงนัดหารือกับทานในเรือสําราญ ซึ่งจอด
ชายฝงของโครงการสรางรีสอรทที่กําลังขออนุมัติ ซงึ่ เปนการกระทําท่ีไม
เหมาะสมหากรับขอ เสนอแนะจะนําไปสูการถูกกลาวหาวารับผลประโยชน
ในทางมชิ อบ
ทานเปนเจาหนาท่ีใหบริการตอทะเบียนรถยนต หรือทะเบียน
การคา หรอื เก่ียวของกับการอนุญาต อนมุ ัติใดๆ เมือ่ ทานใหบริการเสร็จ
สิ้นผูรับบริการใหของขวัญหรือของกํานัลแกทาน ซ่ึงมีมูลคาเล็กนอย

111617
แตทานไดรับบอยครั้งและทุกวัน ในกรณีเชนนี้ ควรทําอยางไรของขวัญ
ที่ไดร ับแมม ีมูลคา เลก็ นอยและไดร ับจากผูบรกิ ารคนละคน แตเมื่อรวมกัน
แลวยอมมีคาเกินหลักเกณฑท่ีกําหนดนอกจากน้ันยังทําใหเกิดขอสงสัย
แกเพ่ือนรวมงาน ผูรับบริการท่วั ไปวามีอิทธิพลตอการใหบริการของทา น
รวมท้ังเปนการสรางนิสัยที่คาดหวังวาตนจะไดรับของขวัญหรือของ
รางวัลทุกครั้งท่ีบริการเสร็จ กระทบตอการใหบริการอยางเสมอภาค
เทาเทียมกัน ดังนั้น ควรนําของขวัญเหลาน้ันลงทะเบียนไวกับสวน
ราชการ หรือขอคาํ ปรึกษาจากผูบังคับบัญชาวาจะจัดการอยางไรสําหรับ
หนวยงานการจดั วางกาํ ลงั คนปฏิบตั ใิ นหนา ท่ที ่ีตองเสย่ี งกับการเกิดความ
ขัดแยงของผลประโยชน ผูบังคับบัญชาจะตองใหคําปรึกษากํากับดูแล
อยางใกลชิด และตองสับเปลีย่ นหมนุ เวียนคนอยูเสมอ

เจาหนาที่ตรวจสอบนา้ํ หนกั รถยนตรับคาตอบแทน จํานวน ๒๗ คร้ัง
เปนเงินรวมหนึ่งแสนหน่ึงพันบาทถวน เพ่ือใหการอนุญาตรถบรรทุกท่ี
บรรทุกสินคาที่มีน้ําหนักเกินกวาท่ีกฎหมายกําหนดขนสงสินคาไดกรณี
เชนน้นี อกจากจะเปนการฝา ฝนประมวลจรยิ ธรรม ผิดวินัยขัน้ ไลออกจาก
ราชการแลว ยังมโี ทษทางอาญาแผน ดนิ ดวย

คาํ แนะนาํ
กรณีขางตนทั้งหมดเปนกรณีวินิจฉัยผิดจรรยาบรรณ เปนการ
ฝาฝนประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน และผิดวินัย ซึ่งเปนการ
กระทําท่ีรายแรงและการพิจารณาวินิจฉัยมีโทษทางอาญา ผูพิพากษา
ไดระบุเหตุผลวาการกระทําของเจาหนาที่ของรัฐผูนั้น กอใหเกิดความ
ไมปลอดภัยตอสาธารณชน ทําลายทรัพยสินสาธารณะ (ถนน) เปนการ
สมยอมของเจาหนาท่ี ยอมใหผูรับบริการกระทําผิดกฎหมาย และเปน
การใหผลประโยชนใ นทางมชิ อบตอบริษัททเ่ี ปนเจาของกิจการรถบรรทุก
รวมทง้ั เจาของสินคาและส่งั ลงโทษจาํ คกุ เปนเวลา๑ ป โดยไมร อลงอาญา

118 117
กรณตี ัวอยาง ๗
หนวยงานของทานไดมีการประเมินเพ่ือเล่ือนตําแหนง โดยมีทาน
เปนกรรมการในการประเมินเพ่ือเลื่อนตําแหนงในคร้ังน้ี กอนการ
ประเมินมีบุคคลที่มีผลประโยชนเก้ือกูลตอครอบครัวของทานในอดีต
ไดขอใหทานพิจารณานายจงรัก ซ่ึงเปนญาติของเขาเปนกรณีพิเศษ
เพอื่ เปนการตอบแทนบญุ คณุ ทีไ่ ดเคยชว ยเหลือครอบครัวของทา น
คําแนะนํา
ทานตองพิจารณาโดยยึดหลักการ กฎหมาย และวิธีการปฏิบัติ
ดวยความเสมอภาค และเปนธรรมโดยไมเลือกปฏิบัติ เน่ืองจากกรณี
ท่ีเกิดขึ้นเปนความขัดแยงระหวางคุณธรรม คือความกตัญสู วนบุคคล
กบั ความรับผดิ ชอบในหนา ทรี่ าชการในฐานะกรรมการและผูบ ังคับบัญชา
รวมทั้งคณุ ธรรมความยุติธรรม ซึ่งเปนคุณธรรมข้ันสูงกวา เมื่อทานเลือก
การปฏิบัติหนาท่ีโดยยึดความเสมอภาคยุติธรรม แสดงวาทานเปน
ผูมีจริยธรรมข้นั สงู ทาํ ใหเกดิ ธรรมาภบิ าลในองคก ร
กรณตี ัวอยาง ๘
เม่ือเวลา ๑๖.๓๐ น ทานกําลังเดินออกจากหนวยงานของทาน
เพ่ือกลับบาน มีประชาชนเดินดวยความเรงรีบเพื่อมาขอรับบริการและ
เดินสวนทางกบั ทา น เขามาถึงประตหู นว ยงานของทา นพอดี
คาํ แนะนาํ
ทานตองระลึกเสมอวา การปฏิบัติหนาที่ในฐานะขาราชการน้ัน
ตองเปน ไปตลอดเวลาในฐานะผูใหบ ริการสาธารณะทย่ี ึดถอื มาตรฐานการ
ใหบริการที่เปนเลิศ ทานควรรีบกลับไปใหบริการประชาชนคนนั้น
เปนความเสียสละที่อยูในความคาดหวังของทุกคน เพื่อบุคคลนั้นไมตอง
เสยี เวลาอกี ๑ วัน ทจ่ี ะตองเดนิ ทางกลับมารับบรกิ าร

111819
กรณีตัวอยาง ๙

ขณะน้ีมีการชุมนุมทางการเมืองเพ่ือเคลื่อนไหวตามระบอบ
ประชาธิปไตย ทา นเองมแี นวคิดและนิยมกลมุ เคล่ือนไหวทางการเมอื งท่ี
ไดชุมนุมอยางตอเนื่อง และทานสนใจเขารวมการเคล่ือนไหวการชุมนุม
ดว ย

คําแนะนํา
ก า ร เ ข า ร ว ม ชุ ม นุ ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง ต า ม ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
สามารถทําไดในฐานะประชาชนดังน้ัน ตองกระทํานอกเวลาราชการ
และไมแสดงตนวาเปนขาราชการดวยการแตงเครื่องแบบหรืออภิปราย
หนาเวทีการชุมนุม และไมนําประเด็นตางๆ ในการชุมนุมทางการเมือง
มาพดู คยุ กบั เพื่อนรว มงานในทที่ าํ งาน
กรณีตัวอยาง ๑๐
ทานจะปฏิบัติอยา งไรในกรณนี ้ี
เพ่ือนรวมงานของทาน ๒ คน กําลังแสดงความคิดเห็นทางการ
เมืองและเกิดการโตแยงกันเน่ืองจากแตละคนมีความคิดเห็นฝกใฝ
กลุมเคล่ือนไหวทางการเมืองที่เปนปฏิปกษตอกัน และขอความเห็น
จากทานเพ่อื สนบั สนุน
คําแนะนาํ
ทานตองไมใหความคดิ เห็นใดๆ ท่ีเก่ียวกับการเคลอ่ื นไหวของกลมุ
ทางการเมืองไมสนับสนุนเพื่อนคนหนึ่งคนใด และพยายามใหเพ่ือน ๒ คน
ยุติการวิพากษวิจารณทางการเมืองในท่ีทํางาน เน่ืองจากจะมีผลตอการ
ปฏิบัติงานรวมกันในฐานะทีมงาน และทําลายสัมพันธภาพบรรยากาศ
ของการทาํ งานในหนวยงาน

120 119
กรณีตัวอยาง ๑๑
ทานจะปฏิบัติอยา งไรในกรณีเชนนี้
อดีตขา ราชการที่ทา นรูจกั ไดโทรศัพทมาขอขอมลู ช่ือ ท่ีอยู เบอร
โทรศัพทของขาราชการในหนวยงานของทาน โดยแจงวาจะนําไปใช
ในการติดตอ กบั บคุ คลเหลา นั้น เพื่อเสนอสิทธิประโยชนทางการเงนิ ตางๆ
เชน บัตรเครดิต บริการเงนิ กูย มื ทา นจะปฏบิ ัติเชนไร
คาํ แนะนาํ
ขอมูลชื่อ ท่ีอยู เบอรโทรศัพท แมวาจะเปนขอมูลซ่ึงเปนท่ีทราบ
โดยทัว่ ไปในหนวยงานหรือกลุมเพ่ือน ยังคงถือวาเปนขอมูลสวนตวั ที่ตอ ง
ไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลกอนเปดเผยเวนแตเปนเรื่อง
เก่ียวของกบั การปฏบิ ัติงานในฐานะเจาหนาทขี่ องรฐั ดังน้นั ตามตัวอยาง
นจ้ี งึ ไมควรใหขอ มูลดังกลาวไป

กรณีตัวอยาง ๑๒
ทานจะปฏิบัตเิ ชน ไรในกรณีตอไปน้ี
ทานไดรับมอบหมายงานใหทํางานรวมกับเพื่อนรวมงาน ซ่ึงมีขอ

พิพาทฟองรองเปนคดีความในศาล เกี่ยวกับปญหาความขัดแยงสวนตัว
กับทาน ทานจะสามารถปฏเิ สธทีจ่ ะทํางานรว มกับคนน้ไี ดห รอื ไม

คาํ แนะนํา
ในการทํางานตองมุงม่ันในผลสําเร็จของงาน ปฏิบัติงานอยาง
ตรงไปตรงมา และตองไมใหปญหาหรือความขดั แยงสวนบคุ คลเขามาเปน
อุปสรรคในการทํางาน ในกรณีนี้ทานจึงไมควรปฏิเสธงานที่ไดรับ
มอบหมาย แตถาทานเห็นวาการรวมงานนั้นอาจมีอุปสรรคทําใหงานไม
บรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งไว ใหรายงานผูบังคับบัญชาทราบเพ่ือหา
วิธีการแกไขปญหา โดยอาจใหผูบังคับบัญชาหรือบุคคลใดเปนท่ีปรึกษา
ใกลช ดิ ในงานดังกลาว

121021
กรณตี ัวอยาง ๑๓

นางสาว ก. ขาราชการในหนวยงานของทาน ซึ่งไดรับมอบหมาย
ใหบริการประชาชนท่ีเคานเตอรใหบริการ ไดพูดคุยกับผูรับบริการและ
เพอื่ นรวมงาน โดยใชน าํ้ เสยี งหว น เสยี งดงั สีหนา บึง้ ตึงจนเปนนสิ ยั เปน ท่ี
รบั รโู ดยทัว่ ไปวาไมเรยี บรอ ย ทา นในฐานะผูบังคบั บญั ชาควรทําอยางไร

คาํ แนะนาํ
ทานตองเขาไปจัดการใหคําปรึกษาแนะนําและแกไข โดยให
คาํ แนะนําในการพดู ส่ือสารกับผูอ่ืนในหนาท่ีการใหบริการท่ีจะตองสุภาพ
เรยี บรอ ย หรอื สง นางสาว ก. เขารบั การพัฒนาเก่ียวกับการใหบริการท่ีดี
ใหโอกาสนางสาว ก. ไดลองปฏิบัติหนาท่ีใหบริการใหมหลังจากให
คําปรึกษาแนะนํา และหรือสงไปเขารับการพัฒนากรณีที่ไมมีการ
เปล่ียนแปลงใดๆ ที่สอดคลองกับมาตรฐานพฤติกรรมในการใหบริการ
ประชาชน ทานควรโยกยายหนาที่ใหนางสาว ก. ไปปฏิบัติหนาที่อื่น
ทีไ่ มตองใหบรกิ ารประชาชน
กรณตี ัวอยาง ๑๔
ในหนวยงานของทา น การทํางานรวมกันเปนกลมุ เปนเรอ่ื งสําคัญ
มาก และทานก็มีกลุมเพื่อนรวมงานท่ีทํางานกับทานมาดวยดีหลาย ๆ
งาน ซง่ึ จะตอ งรว มทํางานกันตอ ไปอีก ตอ มามขี าราชการรนุ พี่ในกลุมงาน
นี้ ชักจูงใหพวกทานรบั งานบริษัทมาทาํ ในเวลาราชการ ขณะท่ีทานยังไม
มีงานรบี ดวน ซ่ึงจะทําใหทานมีรายไดพิเศษดวย และเพ่ือนรวมงานของ
ทานก็ทํากันหลายคนในกรณเี ชนนี้ ทานจะทํางานพิเศษในเวลาราชการ
หรือไม เพราะเหตุใด
คาํ แนะนาํ
ทานตองไมรบั ทํางานพเิ ศษในเวลาราชการ เน่ืองจากเวลาราชการ
ถือเปนทรัพยสินของราชการ รวมท้ังทรัพยากรบุคคลเปนทรัพยสินของ

122 121
ราชการดวย ตองใชประโยชนเพื่อราชการเทานั้นการใชเวลาราชการ
หาประโยชนใ สตนเอง เปนการคดโกง ไมอ ุทิศตน

กรณีตัวอยาง ๑๕
นายสวสั ดิ์เปน เจาหนาที่ของกรมประชาสงเคราะห เขามกั จะไดรับ

มอบหมายใหเปนผูนําส่งิ ของไปแจกใหกับผูยากจนหรือผูประสบภัยพิบัติ
เสมอ ๆ คร้ังหน่ึงเกิดอุทกภัยท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดมีหนวยงาน
และผูมีใจกุศลบรจิ าคเงินและสิ่งของจํานวนมาก เพื่อชว ยเหลือผูประสบ
ทุกขย ากในครง้ั นี้ นายสวัสดิ์ไดร ับมอบหมายใหเปนผูรวบรวมของไวกอน
นําไปแจกท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือคนทํางานบานของนายสวัสด์ิ
ซ่ึงเปนคนหนงึ่ ที่ชวยขนส่ิงของ เห็นวาส่ิงของท่ีไดรับบริจาคท่ีรวบรวมไว
นั้นมีผาหมและเสื้อผาจํานวนมาก จึงไดขอผาหมจากนายสวัสด์ิ ๑ ผืน
นายสวัสดิ์นึกข้ึนไดวาตนเคยคิดจะซ้ือผาหมใหกับคนทํางานบาน
เหมือนกันเพราะไดเคยขอไวนานแลว และคนทํางานบานคนนี้เปนคน
ภาคอีสานเชนเดยี วกับกลุมผูท่ีจะไดรบั แจกของ หากทา นเปนนายสวัสดิ์
จะตัดสนิ ใจอยางไร (โดย นายโกศล มีคุณ)

คาํ แนะนาํ
ทานตองปฏิเสธคนทํางานบานผูนัน้ เน่ืองจากความรับผิดชอบของ
ทานคือ การทําตามวัตถุประสงคของภาระที่ไดรับมอบหมายอยาง
เท่ยี งตรง สว นภาระทต่ี อ งใหผาหมคนทาํ งานบานเปนภาระสวนตัว

122
บทที่ ๔
การปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรอื น จรรยาของ
ขาราชการกรมทด่ี ินและคา นยิ มหลักกรมทดี่ ิน
หมวด ๑
กระบวนการและกลไกการปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรม
ขาราชการพลเรอื น
๑.๑ กระบวนการจดั การกรณีมขี อสงสยั หรือทักทวงวามีการกระทําขัด
ประมวลจรยิ ธรรม
เม่ือมีผูสงสัยหรือทักทวงในเรอ่ื งตอไปนี้ ใหสงเร่อื งใหคณะกรรมการ
จริยธรรมพจิ ารณาวินิจฉัย
๑.๑.๑ กรณีที่มีขอสงสัยหรือมีผูทักทวงวาการกระทําใดๆ
ของขาราชการขัดประมวลจริยธรรมขาราชการตองไมกระทําการ
ดังกลาว หรือหากกําลังกระทําการดังกลาวแลว ตองหยุดการกระทําน้ัน
และสงเร่ืองใหคณะกรรมการจริยธรรมพิจารณาวินิจฉัย ในกรณีที่
คณะกรรมการจริยธรรมวินิจฉัยวาการกระทํานั้นขัดประมวลจริยธรรม
ขา ราชการจะกระทาํ การน้นั มิได ทงั้ นต้ี ามขอ ๓ (๑)
๑.๑.๒ กรณีมีความเคลือบแคลงหรือสงสัยวาขาราชการกระทํา
การใดหรือดํารงตําแหนงหรือปฏิบัติการใดในฐานะสวนตัวจะขัดกับ
ประโยชนสวนรวมท่ีอยูในความรับผิดชอบของหนาที่ ใหขาราชการยุติ
การกระทําดังกลาวไวกอน แลวแจงใหผูบังคับบัญชา หัวหนาสวน
ราชการและคณะกรรมการจริยธรรมพิจารณา เม่ือคณะกรรมการ
จริยธรรมวินิจฉยั เปน ประการใดแลว จึงปฏิบัติตามนั้น ทง้ั น้ี ตามขอ ๕ (๓)
๑.๑.๓ กรณีมีขอสงสัยหรือมีขอทักทวงวา ขาราชการกระทําการ
ใดไมชอบดวยรัฐธรรมนญู กฎหมาย กฎ ขอบังคบั หรือมติ ค.ร.ม. ท่ชี อบ

124 123
ดวยกฎหมาย ขาราชการตองแจงใหหัวหนาสวนราชการและคณะกรรมการ
จริยธรรมพิจารณา และจะดําเนินการตอไปไดตอเมื่อไดขอยุติจากหนวยงาน
ที่มีอํานาจหนา ท่ีแลว ท้ังน้ี ตามขอ ๗ (๑)
๑.๑.๔ กรณีขาราชการดํารงตําแหนงทั้งท่ีไดรับคาตอบแทนและ
ไมไดรับคาตอบแทนในนิติบุคคล ซ่ึงไมใชสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ
องคการมหาชน ราชการสวนทองถิ่น หนวยงานอ่ืนของรัฐและกิจการท่ี
รัฐถือหุนใหญ ตอหัวหนาสวนราชการและคณะกรรมการจริยธรรม
ในกรณที ี่การดาํ รงตาํ แหนงนน้ั ๆ อาจขัดแยงกบั การปฏิบัติหนา ทห่ี รืออาจ
ทําใหการปฏิบัติหนาท่ีเสียหาย ตามขอ ๓ (๓)เพื่อใหคณะกรรมการ
จรยิ ธรรมพจิ ารณาวินจิ ฉัย
การเสนอเรอ่ื งใหคณะกรรมการจรยิ ธรรมพจิ ารณาในกรณีดังกลาว
ขางตน เปนหนาท่ีของหัวหนางานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรม
ในฐานะเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรม ในการประมวลเร่ืองสรุป
ขอ เทจ็ จรงิ ขอ กฎหมาย และความเห็น เสนอใหคณะกรรมการจริยธรรม
พิจารณาวินิจฉัย เม่ือคณะกรรมการจริยธรรมที่มีอํานาจหนาที่ได
พิจารณาวินจิ ฉัยเสร็จเปนขอ ยุติแลวหวั หนา งานดา นสงเสริมและคุมครอง
จรยิ ธรรมก็ตองแจงใหข า ราชการทราบ และควรเสนอหวั หนา สวนราชการ
พจิ ารณาแจงใหข า ราชการในสวนราชการนั้นทราบโดยทัว่ กนั ดวย
ท้ังนี้ ตามแผนภูมิกลไกการดําเนินการกรณีสงสัย/ทักทวงวา
กระทําการขดั ประมวลจรยิ ธรรม

121425
๑.๒ กลไกการดาํ เนนิ การกรณีสงสยั /ทกั ทวงวา กระทาํ การขัดประมวล
จรยิ ธรรม

--------------------------------
หมวด ๒

กระบวนการจดั การกรณีมกี ารฝา ฝน ประมวลจรยิ ธรรม
ขาราชการพลเรอื น

๒.๑ กระบวนการจัดการกรณีมกี ารฝา ฝน ประมวลจริยธรรม
เมื่อมกี ารรายงานหรือรอ งเรียนวา ขาราชการกระทาํ การฝาฝน จริยธรรม

ในกรณีตอไปน้ีงานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรมตองดําเนินการ
สืบสวนขอเท็จจริงวามีการฝาฝนจริยธรรมจริงหรือไม แลวรายงาน
หัวหนา สวนราชการเพ่ือพิจารณา คือ

๒.๑.๑ กรณีคณะกรรมการจริยธรรมมีอํานาจหนาท่ีสอดสองดูแล
การปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมแลวมีขอสงสัยหรือมีขอรองเรียนวา
มีการฝาฝนจริยธรรม ใหสงเร่ืองใหหัวหนาสวนราชการเพ่ือดําเนินการ

126 125
ตอไปโดยเร็ว ทั้งน้ี ตามขอ ๑๕ (๒) ซ่ึงหัวหนาสวนราชการก็ตอง
มอบหมายใหงานดา นสงเสรมิ และคุมครองจริยธรรม/กลุมงานคุมครอง
จริยธรรม ดาํ เนนิ การสบื สวนขอเท็จจรงิ ตามขอ ๑๗ (๒) ตอไป
๒.๑.๒ กรณีขาราชการรูหรือพบเห็นการฝาฝนจริยธรรมและ
รายงานหัวหนาสว นราชการ หรือคณะกรรมการจริยธรรมตามขอ ๓ (๒)
งานดานสงเสรมิ และคมุ ครองจรยิ ธรรม/กลุมงานคุมครองจริยธรรมก็ตอง
ดําเนนิ การสบื สวนขอเท็จจรงิ ตามขอ ๑๗ (๒) ตอไป
๒.๑.๓ กรณมี ผี รู องขอใหพิจารณาการฝาฝนจริยธรรมตอกลุมงาน
คมุ ครองจรยิ ธรรมหรือหัวหนา สวนราชการ งานดานสงเสริมและคุมครอง
จริยธรรม/กลมุ งานคุมครองจริยธรรม ตอ งดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริง
ตามขอ ๑๗ (๒) ท้ังนี้ ตามแผนภูมิกลไกการดําเนินการกรณีฝาฝน
ประมวลจริยธรรม
๒.๒ กลไกการดําเนนิ การกรณีฝา ฝน ประมวลจรยิ ธรรม

121627
๒.๓ การพจิ ารณาขอรอ งเรยี นในเบอ้ื งตน การสืบสวนขอเทจ็ จริง

งานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรมควรดําเนินการพิจารณา
ขอรองเรียนวามีการฝาฝนจริยธรรม ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี
ตามหนังสือสํานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๖/ว ๒๑๘ ลงวันที่
๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑ เร่ืองหลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการ
รองเรียนกลาวโทษขาราชการและการสอบสวนเรื่องราวรองเรียน
กลา วโทษขา ราชการวากระทําผิดวนิ ยั ดงั นี้

๒.๓.๑ กรณผี ูรองเรียนจะตองตรวจสอบในเบื้องตนวา ผูรองเรียน
มีตวั ตนจรงิ หรอื ไม ถา ไมมีตัวตนจริงก็เขาลักษณะเปนบัตรสนเทห ใหรับ
พิจารณาเฉพาะรายที่ระบุหลักฐานกรณีแวดลอมปรากฏชัดแจง
ตลอดจนชีพ้ ยานบุคคลแนน อนเทานั้น

๒.๓.๒ การดาํ เนนิ การเกย่ี วกับเรอื่ งรองเรยี นในเบอื้ งตน ใหถือเปน
ความลับทางราชการ ดังน้ันเอกสารที่เก่ียวของกับการดําเนินการทาง
จริยธรรม จึงควรประทับตรา “ ลับ”

๒.๓.๓ ขอรอ งเรยี นทีง่ านดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรมรับไว
พจิ ารณาและดําเนนิ การตอไปไดแก ขอรอ งเรียนท่ีกลาวหาวาขาราชการ
ฝาฝนจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนถาเร่ือง
รองเรียนเปนการกลาวหาวากระทําผิดวินัย ก็สงเรื่องใหหัวหนาสวน
ราชการพจิ ารณาดาํ เนนิ การทางวนิ ัยตอไป

การสบื สวนขอเทจ็ จรงิ
ดวย ขอ ๑๗ ของประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน
กําหนดใหจัดต้ังกลุมงานคุมครองจริยธรรมข้ึนในทุกสวนราชการ
ซึ่งนอกจากจะมีหนาท่ีสอดสองเพื่อใหขาราชการ พนักงานราชการและ
ลูกจางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนแลว ยังมีหนาที่
สําคัญอีกประการหนึ่ง คือสืบสวนขอเท็จจริง กรณี ขาราชการ

128 127
และลูกจาง ฝาฝนประมวลจริยธรรมเพ่ือรายงานผลใหหัวหนาสวน
ราชการพจิ ารณา
การสืบสวน คือ การสืบหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน
ในเบื้องตน แตเนื่องจากประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนไมได
กําหนดรูปแบบและวิธีการสืบสวนขอเท็จจริงกรณีมีการฝาฝนประมวล
จริยธรรมไว จึงเห็นควรนําหลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการ
รองเรียนกลาวโทษขาราชการและการสอบสวนเร่ืองราวรองเรียน
กลาวโทษขาราชการวากระทําผิดวินัย ซ่ึงคณะรัฐมนตรีไดมีมติในเร่ือง
หลกั เกณฑแ ละแนวทางปฏิบัติดังกลาวไว เมือ่ วันท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๑
แจงเวียนตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๖/
ว ๒๑๘ มาปรบั ใชเ ทา ที่จาํ เปนไดด งั น้ี
- กลุมงานคมุ ครองจริยธรรม/หัวหนากลุม งานดานสงเสริม
และคมุ ครองจรยิ ธรรม/ดําเนนิ การสบื สวนเอง
- มอบหมายใหขาราชการในงานดานสงเสริมและคุมครอง
จรยิ ธรรม/กลมุ คมุ ครองจรยิ ธรรมสบื สวน
- แตงตงั้ คณะกรรมการสืบสวน
๑. เมื่อกลุมงานคุมครองจริยธรรม/งานดานสง เสรมิ และคุมครอง
จรยิ ธรรม ไดร ับเรื่องราวกลาวหาวาขา ราชการฝา ฝนประมวลจรยิ ธรรมใน
เบ้ืองตนใหถือวาเปนความลับทางราชการ หากเปนบัตรสนเทห
ใหพจิ ารณาเฉพาะรายท่ีระบพุ ยานหลักฐาน กรณแี วดลอมปรากฏชัดแจง
ตลอดจนชี้พยานบุคคลแนน อนเทานั้น
๒. ใหกลุมงานคุมครองจริยธรรม/งานดานสงเสริมและคุมครอง
จริยธรรม ทําการสบื สวนทางลบั เพื่อรายงานหัวหนา สวนราชการ
๓. กรณีไมมีมูลความจริงใหผูบังคับบัญชายุติเรื่อง แตถามีกรณี
ฝาฝนประมวลจริยธรรมผูบังคับบัญชาอาจส่ังลงโทษทางวินัยวากลาว

121829
ตักเตือน ทําทัณฑบนเปนหนังสือหรือส่ังการใหไดรับการพัฒนาตาม
ทเี่ ห็นสมควร

การสืบสวนขอเท็จจริงเพ่ือเสนอหัวหนาสวนราชการพิจารณา
ตามขอ ๑๗ (๒) งานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรม ควรดําเนินตาม
ข้ันตอนดังนี้

๑. การพิจารณาขอรองเรยี นในเบือ้ งตน
๒. การสบื สวนขอเท็จจริง
๓. การเสนอผลการสบื สวนตอ หวั หนาราชการเพื่อพิจารณา
๔. การพิจารณาวินจิ ฉัยของหัวหนา สวนราชการ
๕. การดําเนนิ การตามขอวินจิ ฉัยของหวั หนาสว นราชการ
๖. การแจงผลการพจิ ารณา
เม่ืองานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรม/กลุมงานคุมครอง
จริยธรรม ไดรับเร่ืองรองเรียนการฝาฝนจริยธรรม และเปนเรื่องที่รับ
พิจารณาได ก็ตองดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริงตามขอ ๑๗ (๒)
โดยหัวหนางานดา นสง เสริมและคุมครองจริยธรรมจะทาํ การสืบสวนเอง
หรือมอบหมายใหเจาหนาที่ในกลุมงานดานสงเสริมและคุมครอง
จริยธรรมสืบสวนก็ได ในกรณีจําเปนจะแตงตั้งคณะกรรมการสืบสวน
ขอ เทจ็ จรงิ กไ็ ด
ใ น ก า ร สื บ ส ว น ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ต อ ง แ จ ง ข อ ก ล า ว ห า แ ล ะ ส รุ ป
พยานหลักฐานท่ีสนับสนุนขอกลาวหาใหผถู ูกกลาวหาทราบ พรอมทั้งให
โอกาสผูถูกกลาวหาชี้แจงขอกลาวหาดวย ทั้งนี้ เพราะการสืบสวน
ขอ เท็จจรงิ อาจนาํ ไปสูการสงั่ ใหวากลาวตักเตือนหรือทําทัณฑบน ซง่ึ ผูถูก
ส่ังอาจรองทุกขตอผูมีอํานาจพิจารณารองทุกขตามกฎหมาย และอาจ
ฟองคดีตอศาลปกครองได จึงจําเปนตองดําเนินการตามหลักเกณฑ
ที่บญั ญตั ไิ วในพระราชบัญญตั วิ ธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดว ย

130 129
การแตงต้ังคณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริง ควรตั้งกรรมการ

อยางนอย ๓ คน ประธานกรรมการควรดํารงตําแหนงไมตํ่ากวาผูถูก
กลาวหา และควรมีนิติกรหรือขาราชการที่มีวุฒิทางกฎหมายอยางนอย
๑ คน เปนกรรมการ และควรใหเลขานุการกลุมงานดานสงเสริมและ
คุมครองจริยธรรมเปนกรรมการและเลขานุการ และอาจใหมี
ผูชวยเลขานุการดวยก็ดี โดยมีสาระสําคัญตามตัวอยางคําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการสืบสวนขอเทจ็ จรงิ

การแตงตงั้ กรรมการสืบสวนขอเท็จจริง ถาจะแตงต้ังบุคคลซึง่ มิได
อยูใตบ ังคับบัญชาของหวั หนา งานดา นสงเสริมและคุมครองจริยธรรมเปน
กรรมการ ก็ทาํ บนั ทึกขออนมุ ัติหัวหนา สวนราชการแตงตั้งบุคคลดังกลาว
เปนกรรมการได

การสืบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน การแจงขอกลาวหา การบันทึก
ปากคําบุคคล และการทํารายงานการสืบสวน อาจนําหลักเกณฑและ
วิธีการในการสอบสวนพิจารณาทางวินัย ตามกฎ ก.พ. และคูมือ
การดําเนินการทางวินัย จัดทําโดยสํานักงาน ก.พ. มาดัดแปลงให
เหมาะสมกับการสืบสวนทางจริยธรรมน้ีได และคณะกรรมการสืบสวน
ขอเท็จจริงควรดําเนินการสืบสวนใหเสร็จภายใน ๓๐ วัน หรือภายใน
เวลาอันรวดเรว็ (ดตู ัวอยางรายงานการสืบสวน)
ในการสบื สวนขอเทจ็ จริง ขอควรคาํ นึงในเรอ่ื งตอไปน้ี คอื

๑. ความรับผดิ ชอบของผสู ืบสวนขอเทจ็ จริง
ผูสืบสวนขอเท็จจริงตองรับผิดชอบในการรวบรวมหลักฐาน
ที่สําคัญท้ังหมด ตรวจสอบหลักฐาน เอกสารตางๆ และรายงานผล
ขอคนพบ ความเปนไปได ขอเสนอแนะ โดยตองทําอยางเที่ยงตรง
ดว ยความเช่ือมัน่ วา ขอมูลตา งๆ จะเปน ความลับทส่ี ุด

131031
๒. การดาํ เนินการสบื สวน
ในทุกขั้นตอนผูสืบสวนจะตองทําตามกฎของความยุติธรรมตาม
ธรรมชาติ (Natural Justice) กฎของความยุตธิ รรมตามธรรมชาติ คือ

- ปราศจากอคติ (Unbiased)
- ใหโอกาสทุกฝายไดชี้แจง และมีการรับฟงอยางยุติธรรม
(Fair hearing)
- แนใจวาทุกฝา ยไดใ หข อ มลู และอนญุ าตใหวิจารณ
- เคารพตอ ความคดิ เหน็ ของบุคคลที่มีผลลัพธตอบุคคลนั้นๆ
กระบวนการที่ยุติธรรมเปนสิ่งท่ีสําคัญมากตอหนาที่สืบสวน
ขอเท็จจริง เนนการตรวจสอบความถูกตองของหลักฐาน พิจารณา
ผลกระทบท่ีจะเกิดจากประเดน็ ปญหาการฝาฝนประมวลจริยธรรมอยาง
รอบดา น และผูสืบสวนควรบันทึกความเหน็ เก่ียวกับขอจํากัดและจุดออน
ของการสืบสวนขอเทจ็ จริง
ความเชือ่ มน่ั ความเชอื่ มั่นตอ กระบวนการสืบสวนขอเท็จจริง เปน
สิ่งสําคัญที่สุดตอความเที่ยงธรรมของการสอบถามหาความจริง และลด
ผลกระทบทางลบจากการสืบสวนใหนอยท่ีสุด ดังนั้น การเก็บรักษา
ขอมูล หลักฐาน เอกสารตางๆ จะตองปลอดภัยท่ีสุด ปกปดรายช่ือ
อตั ลกั ษณข องบุคคล
ส่งิ ทจี่ ะตองเก็บรักษาเปนความลบั ที่สุด
- ขอเท็จจรงิ ทไี่ ดจ ากการสืบสวน (Facts)
- เนอ้ื หาของกรณี
- แหลง ทมี่ าของขอ มลู
- ขอมลู ที่ผสู บื สวนรวบรวม
- อัตลักษณข องพยาน
- เอกสารทเ่ี ก็บรวบรวมขณะสืบสวน

132 131
- การใหถอยคําตางๆ ของพยานเกี่ยวกับเนื้อหาของการ

สืบสวนระหวาง ๒ ฝา ย หรอื ฝายที่สาม
๓. ความเปนกลางผูสืบสวนจะตองเปนกลางตลอดกระบวนการ

สืบสวนขอเท็จจริง จะตองไมกระทําหรอื ถูกรับรูวาผลประโยชนทับซอน
เกี่ยวของกับการรองเรียน บุคคล การปฏิบัติหนาท่ีสืบสวนนโยบายหรือ
วิธีการ หรือสิง่ ใดๆ ที่ถูกกลา วหา

๔. การสืบสวนขอเท็จจริงไมใชการใหคําปรึกษาหารือหรือ
กิจกรรมใหคําแนะนําดังน้ันตองทําใหเฉพาะเจาะจง ในกรณีที่เกิดขึ้น
ถาปรากฏส่ิงที่สําคัญแตไมอยูในขอบเขตอํานาจ ผูสืบสวนขอเท็จจริง
จะตอ งหาขอพิสูจนกอน เพื่อสง ตอผูมีอํานาจรับผิดชอบดําเนินการตอไป
หากมีขอสงสัยเกี่ยวกับอํานาจในการเก็บรวบรวมขอมูล หลักฐานตางๆ
ใหสอบถามฝายกฎหมายของหนวยงานคณะกรรมการจริยธรรมประจํา
สวนราชการ หรอื ก.พ.

ขน้ั ตอนการดําเนินการสบื สวนขอเทจ็ จรงิ
ตองวางแผนการสืบสวนกอนการสอบถาม หรือการตั้งคําถาม
จะเร่มิ ข้ึน เพื่อกําหนดเทคนิควิธีการและกําหนดวาตองการความชวยเหลือ
จากบุคคลใดบางในการสืบสวนขอเทจ็ จรงิ
 พ ย า น สํ า คั ญ ทุ ก ค น ท่ี เ ก่ี ย ว ข อ ง ต อ ง ไ ด รั บ ก า ร ส อ บ ป า ก คํ า
โดยปกติจะสอบปากคาํ ผูรองเรยี นเปนคนแรก แตอ าจพิจารณาตามความ
แตกตางของส่งิ ตอ ไปน้ี

- ความสาํ คัญของหลกั ฐานทพ่ี ยานมี
- ระดับความสัมพันธกับผูถูกกลาวหา เชน เพื่อนรวมงาน
ผูบงั คับบญั ชา ผใู ตบ งั คับบัญชา
- สถานการณท เี่ หมาะสม
ปกติผูถูกกลาวหาจะถูกสอบปากคําเปนคนสุดทาย เพ่ือใหผู
สืบสวนขอเท็จจริงไดเ ก็บรวบรวมขอมูลไดมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะสามารถทําได

131233
แตบางกรณีอาจสอบปากคําผูถูกกลาวหาเปนคนแรกเพื่อประหยัดเวลา
ดังน้ันจะสอบปากคําผูใดกอนหรือหลัง ข้ึนอยูกับทักษะของผูสืบสวน
และความหนัก-เบา ของกรณีท่เี กดิ ข้นึ

- การรวบรวมพยานหลักฐาน ผูสืบสวนขอเท็จจริงจะตองรู
หลักการรับฟงพยานหลักฐาน รูวิธีเก็บรวบรวมพยานหลักฐาน และ
ปกปองคมุ ครองพยานหลักฐาน

- การสรุปสืบสวนขอเท็จจริง เปนข้ันตอนสุดทาย ผูสืบสวน
ขอเท็จจริงจะตองตรวจสอบความถูกตองของหลักฐาน วิเคราะหขอมูล
หลักฐาน จัดสรุปทํารายงาน เก็บรักษาขอมูลหลักฐานของการสืบสวน
ขอ เทจ็ จริง จัดแฟมขอมลู ไวอยางปลอดภัย

- ทักษะของผูสืบสวน ผูสืบสวนขอเท็จจริงจะตอ งไดรับการฝกอบรม
เทคนิค วิธีการสืบสวนขอเท็จจริงอยางเช่ือม่ันไดวา มีทักษะในการ
สืบสวนขอเท็จจริง และเปนความรับผิดชอบของหนวยงานท่ีจะตองให
บุคคลท่รี ับผิดชอบไดร ับการฝกอบรมหลกั สูตรเฉพาะ

การดําเนินการกรณีการฝาฝนจริยธรรมผูมีหนาที่ดําเนินการ
ทั้งผูสืบสวนขอเท็จจริงหัวหนางานดานสงเสริมและคุมครองจริยธรรม
และหัวหนา สว นราชการ ควรยึดหลัก ๓ ประการ ประกอบการดําเนินการคือ

๑. หลักความยุติธรรม (Justice) คือ การดําเนินการตาม
กระบวนการท่ีประมวลจริยธรรมกําหนดไวและแสวงหาพยานหลักฐาน
เพ่ือพิสูจนวาผูถูกกลาวหาไดกระทําการอันเปนการฝาฝนจริยธรรมตาม
ที่กําหนดไว โดยใหผูถูกกลาวหาไดทราบพยานหลักฐานท่ีสนับสนุน
ขอ กลาวหา และไดต อ สแู กตัวอยางเตม็ ที่

๒. หลักความเปนธรรม (Fairness) คือ การดําเนินการอยางเทา
เทียมเสมอหนา ปราศจากอคตคิ วามลําเอียงและไมเ ลือกทรี่ กั มักท่ีชัง

๓. หลักความรวดเร็ว (Promptness) การดําเนินการทาง
จริยธรรม ตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในเวลาอันสมควร ถาลาชา

134 133
ความยุติธรรมและความเปนธรรมก็ไมมีความหมาย เขาลักษณะตาม
สุภาษิตกฎหมายที่วา “ความยุติธรรมถาลาชา คือความอยุติธรรม”
(Justice delayed is justice denied)
การจะดําเนินการใหเปนไปตามสามหลักขางตน ผูดําเนินการ
จะตองมีทักษะความชํานาญซึ่งเปนความรับผิดชอบของสวนราชการท่ี
จะตอ งใหผูมหี นาทร่ี บั ผดิ ชอบไดร ับการฝกฝนอบรม
การเสนอผลการสืบสวนขอเทจ็ จริง
เม่อื สบื สวนขอเทจ็ จรงิ เสร็จแลว หัวหนากลุมงานดานสงเสริมและ
คุมครองจริยธรรมตองรายงานผลการสืบสวนใหหัวหนาสวนราชการ
พจิ ารณา ดงั นี้
๑. กรณีผลการสืบสวนไมมีพยานหลักฐานที่จะฟงไดวา ผูถูก
กลาวหากระทาํ การฝาฝนจรยิ ธรรมตามทถี่ ูกกลาวหา ก็เสนอสง่ั ใหยตุ เิ รือ่ ง
๒. กรณีผลการสืบสวนมีพยานหลักฐานฟงไดวา ผูถูกกลาวหา
กระทําการฝาฝนจริยธรรมก็เสนอใหหัวหนาสวนราชการส่ังใหวากลาว
ตกั เตอื น ทําทัณฑบ นเปนหนังสือ หรอื ใหไดร บั การพฒั นา
ทั้งนี้ อาจเสนอตามความเห็นของผูสบื สวนขอเท็จจริง หรือเสนอ
แตกตางจากความเห็นของผสู บื สวนขอเท็จจริงก็ได
การรายงานผลการสืบสวนขอเท็จจริงในกรณีท่ีฟงไดวา ผูถูก
กลาวหาฝาฝนจริยธรรม ควรรายงานใหมีสาระสําคัญวา ผูถูกกลาวหา
ฝาฝนจริยธรรมในกรณีใด ตามประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรือนขอ
ใด พรอ มทงั้ ขอ เสนอใหดาํ เนินการแกผูฝาฝนอยางไรท้ังน้ี (ดูตามตัวอยาง
รายงาน)
โดยที่ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือนไดกําหนดไวใน
ขอ ๑๘ วาการฝาฝนจริยธรรมตามความในหมวด ๒ ของประมวล
จริยธรรมนี้เปนความผิดวินัยตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการ
พลเรือนระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการหรือ

131435
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยลูกจางประจําของสวนราชการ แลวแต
กรณี ดังนั้น เม่ือผลการสืบสวนขอเท็จจริงฟงไดวาขาราชการฝาฝน
จรยิ ธรรมจึงตองดําเนินการทางวินัยทุกเร่ือง ซ่ึงหัวหนาสวนราชการตอ ง
ดําเนินการตอไป สวนผลการดําเนินการทางวินัยจะตองลงโทษทางวินัย
หรือไม ข้ึนอยูกับขอเท็จจริงและดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการ
ที่จะตองพิจารณาตามกฎหมายหรือระเบยี บดงั กลา วขางตน

และเนื่องจากขั้นตอนตางๆเกี่ยวกับการสืบสวนในทางลับเพื่อหา
ขอเท็จจริงวามีมูลตามที่รองเรียนหรือไม โดยยังไมมีการแตงต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนความผิดทางวินัย เปนเพียงขั้นตอนทางบริหาร
ภายในของฝา ยปกครองเทา น้นั มใิ ชขัน้ ตอนการการทาํ คําสั่งทางปกครอง
จงึ ไมเ ก่ยี วกับพระราชบัญญตั ิวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
(ความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ท่ี นร ๐๖๐๑/๒๕๖๒
ลงวันท่ี ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๔๐) ซงึ่ หมายความวาในการดําเนินการสืบสวน
ขอเท็จจริงไมจําเปนตองฟงความทุกฝาย ผูที่ถูกกลาวหาวาฝาฝน
จริยธรรมไมมีสิทธิรองทุกขหรืออุทธรณคําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการ
สืบสวนขอเท็จจริงไดการสืบสวนขอเท็จจริงไมมีรูปแบบ วิธีการ และ
ขัน้ ตอนท่ีชัดเจนแนน อนผูมหี นาทีส่ ืบสวนขอเท็จจริงสามารถดําเนินการ
ตามความเหมาะสมเพื่อที่จะใหไดขอเท็จจริงในเบ้ืองตน ซ่ึงอาจ
ดาํ เนินการดงั น้ี

การรวบรวมขอเทจ็ จริง
๑. คณะกรรมการสืบสวนขอเท็จจริง เชิญบุคคลผูที่ไดรูไดเห็น
ไดฟง การกระทําท่ีเปนการฝาฝนประมวลจริยธรรม (ประจักษพยาน)
หรือบุคคลท่ีไดฟงบุคคลอื่นเลาใหฟงอีกทอดหนึ่ง(พยานบอกเลา)มาให
ถอยคํา แลวคณะกรรมการฯ บันทึกถอยคําของบุคคลเหลานั้นไวตาม
แบบท่ีกาํ หนดแลว ลงช่อื ผใู หถ อ ยคาํ และคณะกรรมการฯ ไวเปนหลกั ฐาน

136 135
๒. ใหบุคคลที่รูเห็นการกระทําที่เปนการฝาฝนประมวลจริยธรรมน้ัน

บันทึกเปนลายลักษณอักษรตามขอเท็จจริงที่ไดรูไดเห็นไดฟงมาและลง
ลายมือชื่อไว แลวสงมอบใหคณะกรรมการฯหรือผูที่ไดรับมอบหมายให
สืบสวนขอเท็จจริง (กรณีไมไดตั้งในรูปคณะกรรมการ) ซ่ึงวิธีน้ีเหมาะ
สาํ หรบั ผทู ่ไี มมีเวลาหรือไมสะดวกทจ่ี ะมาพบคณะกรรมการฯ หรือตองใช
เวลาในการทบทวนขอเท็จจรงิ

๓. ใหบุคคลที่ครอบครองเอกสารที่ตองใชเปนพยานหลักฐานใน
การพิจารณาการฝา ฝนประมวลจริยธรรม สงเอกสารใหคณะกรรมการฯ
หรอื บุคคลท่ีไดรบั มอบหมายใหสบื สวนฯ

๔. ไมมีความจําเปนตองเชิญผูท่ีถูกกลาวหาวาฝาฝนประมวล
จริยธรรมมาใหถอยคําเพราะหากไมมีมูลความจริงแลวอาจบัน่ ทอนจิตใจ
ของบุคคลน้ัน

การจดั ทํารายงานขอเทจ็ จรงิ
หลังจากไดถอยคําจากพยานบุคคล และการรวบรวมพยาน
เอกสารแลว และเห็นวามีมูลเพียงพอที่นาเช่ือวาบุคคลที่ถูกกลาวหานั้น
ไดฝาฝนประมวลจริยธรรม (ในทางวินัยใชคําวา มีมูลท่ีควรกลาวหาวา
กระทําผิดวินัย) หรือ เห็นวาพยานหลักฐานที่รวบรวมไดไมมีมูลเพียงพอ
ใหรับฟงวามีการฝาฝนประมวลจริยธรรม ใหยุติการสืบสวนขอเท็จจริง
แลว จัดทํารายงานขอเท็จจริงเพ่ือเสนอหัวหนางานดานสงเสริมและ
คมุ ครองจริยธรรม และรายงานผลใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาตอ ไป
รายงานการสบื สวนขอเทจ็ จริง อาจประกอบดวยหัวขอ ดงั น้ี
๑. มูลกรณีเปนเหตุแหงการรองเรียนเชน มูลกรณีเกิดจากมีผู
รองเรียนกลาววามีการฝา ฝนประมวลจริยธรรม หรือเกิดจากหัวหนาสว น
ราชการมอบหมายใหดําเนนิ การ หรือเกิดจากมูลเหตุอ่ืน

131637
๒. การรวบรวมขอเท็จจรงิ

๒.๑ พยานบคุ คล จํานวน.....ปาก ซ่ึงพยานแตละคนใหถอยคํา
ดงั น้ี (สรปุ ถอ ยคาํ ท่ีเปนสาระสําคัญของพยานบคุ คลแตละปาก)

๒.๒ พยานเอกสาร (ถา ม)ี
๓. ขอเทจ็ จริง
การเขียนขอเท็จจริง คณะกรรมการตองนําถอยคําของพยาน
บุคคลแตละปากมาพิจารณาวาเหตุการณใดที่พยานใหถอยคําสอดคลอง
ตองกันหรือเปนไปในทิศทางเดียวกันและนาเช่ือวาเปนความจริง
คณะกรรมการก็รับฟงไวเปนขอเท็จจริง แลวนําขอเท็จจริงท่ีไดมาเรียบ
เรียงเปนรอยแกวใหไดรายละเอียดในเรื่องวัน เวลา สถานท่ีและ
การกระทาํ ท่ีเปน การฝา ฝนประมวลจรยิ ธรรมนน้ั
ในสภาพความเปนจริงการใหถอยคําของพยานบุคคล โดยเฉพาะ
ในกรณีที่เชิญผูที่ถูกกลาวหามาใหถอยคําดวย ขอเท็จจริงที่ไดจากการ
สืบสวนจะแบงเปนสองสวนชัดเจน กลาวคือสวนหนึ่งจะเปนขอเท็จจริง
ที่พยานสวนใหญใหถอยคําสอดคลองตองกัน ซ่ึงสวนนี้ตองถือวาเปน
ขอเท็จที่รับฟงได อีกสวนหน่ึงพยานจะใหถอยคําไมสอดคลองกัน
ในลักษณะซายกับขวา หรือรับฟงขอเท็จจริงสวนน้ีเปนประการใด
ดวยเหตผุ ลใดและเพราะเหตุใดจึงไมรับฟงถอยคําของพยานอีกฝายหน่ึง
เพราะหากขอเท็จจริงยังฟงไมไดเปนท่ียุติ การวินิจฉัยปญ หาขอกฎหมาย
วาเปน การฝา ฝนประมวลจรยิ ธรรมหรอื ไมก็ไมส ามารถกระทาํ ได
ตัวอยางการเขียนขอเท็จจริงจากการสืบสวนขอเท็จจริงวินัย
ขา ราชการครู
ขอเท็จจริง
จากการสบื สวนขอ เทจ็ จรงิ รับฟงไดวา เม่อื เวลาประมาณ ๒๒.๐๐ น.
ของวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๔ หลังจากอาจารยสมชายกลับจากการไปทํา
ธรุ ะสวนตวั และกําลังจะกลับเขาบานพกั ซง่ึ อาจารยสมชายพักอาศยั อยูท่ี


Click to View FlipBook Version