The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่งกรมที่ดิน ประจำปี 2550 (ส่วนที่ 2) (ปี 2550)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

รวมระเบยี บคำสัง่
กรมทีด่ ิน

ประจำปี ๒๕๕๐

กองแผนงาน กรมท่ีดนิ

1

บัญชรี ายชอ่ื หนังสือเวียน ระเบยี บ และคำส่งั ตา่ งๆ

สำนกั ส่งเสริมธรุ กิจอสังหารมิ ทรพั ย์
ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๐



๑. เลขทห่ี นังสอื เวียน ชอ่ื เรือ่ ง หน้า
ลำดบั ท่ี ระเบียบ คำส่งั ๔๗๐
๒. ลงวนั เดือน ปี
๑.

่ี มท
๐๕๑๗.๒
/ว
๒๐๓๓๖
การขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนผังโครงการหรือวิธีการที่
ลว.
๒๔
ก.ค.
๕๐

ได้รับอนุญาต



๔๗๑
๒.

่ี มท
๐๕๑๗.๒
/ว
๓๐๕๘๒
การขออนุญาตทำการจดั สรรทด่ี ิน


ลว.

พ.ย.
๕๐




๓.

่ี มท
๐๕๑๗.๒
/ว
๓๖๑๒๗
การแต่งต้ังคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้ซ้ือที่ดินจัดสรร ๔๗๓
ลว.
๒๗
ธ.ค.
๕๐
จงั หวดั





469

(สำเนา)

ท่
ี มท
๐๕๑๗.๒/ว
๒๐๓๓๖







กรมทด่ี นิ















ถนนพระพพิ ิธ
กทม.
๑๐๒๐๐













๒๔
กรกฎาคม
๒๕๕๐



เร่อื ง การขอแก้ไขเปล่ยี นแปลงแผนผงั โครงการหรอื วิธกี ารที่ได้รับอนญุ าต

เรยี น ผวู้ ่าราชการจงั หวัดทุกจังหวัด






ด้วยมีผู้หารือปัญหาเกี่ยวกับการพิจารณา
คำขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนผัง
โครงการ
หรือวธิ ีการที่ไดร้ บั อนุญาต
ตามนัยมาตรา
๓๒
แห่งพระราชบญั ญตั ิการจดั สรรทีด่ นิ

พ.ศ.
๒๕๔๓
ว่า
การที่ผู้ขอได้นำโฉนดที่ดินมาขออนุญาตทำการจัดสรรที่ดินเพิ่มเติมต่อจาก
โครงการเดิม
โดยมีการจัดทำถนนทางเข้า-ทางออกต่อเนื่องกันนั้น
จะเข้าลักษณะเป็นการขอ
แก้ไขแผนผงั โครงการ
หรอื วิธกี ารท่ีได้รับอนญุ าตหรอื ไม




กรมที่ดินได้นำเร่ืองเสนอให้คณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง
พิจารณาวินิจฉัยใน
การประชุมคร้ังท่ี
๖/๒๕๕๐
เม่ือวันที่
๒๑
มิถุนายน
๒๕๕๐
ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติว่า

การดำเนินการดังกล่าวน้ันมิใช่เป็นการขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงแผนผังโครงการ
หรือวิธีการท่ีได้
รบั อนุญาต
ตามนยั มาตรา
๓๒
แหง่ พระราชบัญญัติการจดั สรรท่ีดิน
พ.ศ.
๒๕๔๓
เนือ่ งจากการ
ขอแก้ไขเปล่ียนแปลงแผนผังโครงการ
หรือวิธีการที่ได้รับอนุญาต
ต้องเป็นการแก้ไข
เปล่ียนแปลงลักษณะ
หรือวิธีการในการจัดสรรท่ีดิน
ท่ีอยู่ในแผนผังโครงการเดิมตามท่ี
คณะกรรมการอนญุ าตแลว้
มใิ ชก่ ารนำทด่ี นิ นอกโครงการ
มาทำการจดั สรรรวมขยายเพม่ิ เตมิ จาก
โครงการเดมิ




จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ
และส่ังเจา้ หนา้ ทที่ ราบและถอื ปฏิบตั ิตอ่ ไป


ขอแสดงความนับถอื




(ลงชอ่ื ) ว่าท่ี ร.ต. ขนั ธ์ชยั วิจักขณะ
(นายขนั ธช์ ัย
วิจักขณะ)


รองอธบิ ดปี ฏบิ ตั ิราชการแทน

อธบิ ดกี รมท่ีดิน


สำนกั สง่ เสริมธรุ กจิ อสงั หาริมทรัพย

โทร.
๐-๒๒๒๒-๓๒๗๑,
๐-๒๒๒๒-๖๘๒๔

โทรสาร
๐-๒๒๒-๐๕๑๘


470

(สำเนา)

ที่
มท
๐๕๑๗.๒/ว
๓๐๕๘๒







กรมท่ดี นิ















ถนนพระพิพธิ
กทม.
๑๐๒๐๐














พฤศจิกายน
๒๕๕๐



เร่ือง การขออนญุ าตทำการจัดสรรที่ดิน

เรียน ผวู้ ่าราชการจังหวดั ทกุ จงั หวดั

อา้ งถงึ หนังสอื กรมท่ีดิน
ที่
มท
๐๕๑๗.๒/ว
๘๙๕๙
ลงวันที่
๒๓
มีนาคม
๒๕๔๗






ตามที่กรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณารับคำขออนุญาตทำการ
จัดสรรท่ีดินของเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาว่า
กรณีที่เจ้าพนัก
งานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาตรวจสอบคำขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดิน
แล้วเห็นว่า
หลักฐานและรายละเอียดท่ียื่นพร้อมคำขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดินตาม
มาตรา
๒๓
แห่งพระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน
พ.ศ.
๒๕๔๓
ครบถ้วนแล้ว
ให้เจ้าพนักงาน
ที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาส่ังรับคำขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดินและนำ
คำขอลงบญั ชคี มุ เรอื่ งการจดั สรรทดี่ นิ ตามแบบ
จ.ส.ก.

พรอ้ มทัง้ แจง้ ให้ผู้ขอทราบ
นนั้




โดยที่มีข้อเท็จจริงว่า
เม่ือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดได้ส่งคำขอ
แผนผัง
โครงการ
และวธิ ีการจดั สรรท่ีดนิ
ตลอดจนเอกสารหลักฐานตา่ ง

ทีเ่ กี่ยวขอ้ งให้พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีหรือ
คณะอนกุ รรมการหรอื บคุ คลหนง่ึ บคุ คลใดทค่ี ณะกรรมการแตง่ ตง้ั เพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งนนั้

ปรากฏวา่
กอ่ นทคี่ ณะกรรมการจะพจิ ารณาเรอ่ื งราวการขออนญุ าตทำการจดั สรรทด่ี นิ และเหน็ ชอบ
แผนผัง
โครงการและวิธีการจัดสรรท่ีดินผู้ขอใบอนุญาตทำการจัดสรรที่ดินได้ดำเนินการแก้ไข
เปล่ียนแปลงแผนผัง
โครงการหรือวิธีการจัดสรรที่ดินหรือหลักฐานหรือรายละเอียดซ่ึงผิดไป
จากที่ได้ย่ืนคำขอไว้
เช่น
ขอจดทะเบียนจำนอง
ข้ึนเงินจำนองหรือก่อภาระผูกพันต่าง


ในท่ีดินท่ียื่นขออนุญาตทำการจัดสรรที่ดินไว
้ จดทะเบียนเลิกภาระจำยอมที่เป็นทางเข้า-ออก
ที่ดินแปลงท่ีขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดิน
เป็นต้น
อันจะมีผลให้การพิจารณาและการออกใบ
อนุญาตให้ทำการจัดสรรที่ดินของคณะกรรมการผิดพลาด
คลาดเคล่ือนเนื่องจากคำขอ

แผนผัง
โครงการ
หรือวิธีการจัดสรรท่ีดิน
หรือหลักฐานหรือรายละเอียดท่ีเสนอให้คณะ
กรรมการพิจารณาเปล่ียนแปลงไป
ดังน้ัน
เพื่อป้องกันความเสียหายท่ีอาจจะเกิดเหตุดังกล่าว

จึงขอซ้อมความเข้าใจมาเพื่อให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา

ดำเนนิ การเพม่ิ เติมดังน้


471

๑.
เมื่อเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา
ส่ังรับคำขอ
อนุญาตทำการจัดสรรที่ดินและนำคำขอลงบัญชีคุมเร่ืองการจัดสรรท่ีดินตามแบบ
จ.ส.ก.


แล้ว
ให้สั่งพนักงานเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบสำเนาหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินท่ีผู้ขอใบอนุญาตทำการ
จัดสรรท่ีดินแสดงในการย่ืนขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดินกับหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินฉบับ
สำนักงานทด่ี ินวา่ ถูกตอ้ งตรงกันหรอื ไม่
โดยขอให้รบั รองความถกู ตอ้ งไวด้ ้วย
พร้อมทง้ั ใหบ้ นั ทกึ
ข้อความกลัดติดไว้ในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน
แปลงที่ขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดินฉบับ
สำนักงานท่ีดินทุกแปลงว่า
“ท่ีดินแปลงน้ีอยู่ระหว่างการขออนุญาตทำการจัดสรรที่ดินตาม
คำขอเลขรับที่
....................ลงวันท
ี่ ............................”
เสร็จแล้วให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีลงช่ือ
พร้อม
วนั
เดอื น

ี กำกับไว




๒.
ในกรณีที่คำขอ
แผนผัง
โครงการหรือวิธีการจัดสรรท่ีดิน
หรือหลักฐาน
หรือรายละเอียดมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงไปจากคำขอ
แผนผัง
โครงการหรือวิธีการจัดสรร
ที่ดินหรือหลักฐานหรือรายละเอียดท่ีได้ย่ืนคำขออนุญาตทำการจัดสรรที่ดิน
ให้เจ้าพนักงาน
ท่ดี นิ จงั หวดั หรอื เจา้ พนกั งานที่ดนิ จงั หวัดสาขารบี ส่งคำขอ
แผนผัง
โครงการหรือวธิ ีการจดั สรร
ที่ดิน
หรือหลกั ฐานรายละเอียดท่แี ก้ไข
เปล่ยี นแปลงดังกลา่ วใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณาโดยเรว็









จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ
และสัง่ ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีถอื ปฏิบัติต่อไป


ขอแสดงความนบั ถือ



(ลงช่ือ) ชยั ฤกษ์ ดษิ ฐอำนาจ

(นายชัยฤกษ์
ดษิ ฐอำนาจ)

อธิบดีกรมทด่ี นิ














สำนกั สง่ เสริมธุรกิจอสงั หาริมทรพั ย์

โทรศพั ท์
๐-๒๖๒๒-๓๔๗๙

โทรสาร
๐-๒๖๒๒-๓๔๘๐






472

(สำเนา)


่ี มท
๐๕๑๗.๒/ว
๓๖๑๒๗







กรมท่ีดนิ















ถนนพระพพิ ธิ
กทม.
๑๐๒๐๐













๒๗
ธนั วาคม
๒๕๕๐



เรอ่ื ง การแตง่ ต้ังคณะอนกุ รรมการคุ้มครองผซู้ ือ้ ท่ีดินจดั สรรจังหวัด

เรยี น ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ทกุ จงั หวดั

สงิ่ ทส่ี ่งมาดว้ ย
สำเนาคำส่ังคณะกรรมการจัดสรรทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร
เร่อื ง
แต่งตั้ง

คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองผซู้ อื้ ทดี่ นิ จดั สรรกรงุ เทพมหานคร
และคณะเจา้
หนา้ ทต่ี รวจสอบการดำเนนิ การจดั สรรทด่ี ิน






ด้วยในการประชุมคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลาง
คร้ังท
่ี ๑๐/๒๕๕๐
เมื่อวันท
่ี
๑๘
ตุลาคม
๒๕๕๐
ท่ีประชุมได้พิจารณากรณีที่มีปัญหาร้องเรียนเก่ียวกับการจัดสรรท่ีดินว่า

ในจังหวัดอื่นจะมีคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดเพียงคณะเดียว
ซ่ึงต้องพิจารณาออก
ข้อกำหนดเกย่ี วกบั การจดั สรรทด่ี นิ
พจิ ารณาเกย่ี วกบั คำขออนญุ าต
การออกใบอนญุ าต
การโอน
ใบอนุญาตให้ทำการจัดสรรท่ีดินและเม่ือมีเร่ืองร้องเรียนปัญหาเก่ียวกับการจัดสรรท่ีดิน

คณะกรรมการจดั สรรทีด่ นิ จังหวัดก็ตอ้ งพจิ ารณาด้วย
ทำใหม้ มุ มองในการแก้ไขปญั หาการกระทำ
ความผดิ กฎหมายเกย่ี วกบั การจดั สรรทด่ี นิ เปน็ การมองจากมมุ เดยี ว
อาจไมส่ ามารถคมุ้ ครองผซู้ อ้ื
ที่ดินจัดสรรได้ดีพอ
ซึ่งแตกต่างจากในกรุงเทพมหานครท่ีอาศัยอำนาจตามมาตรา
๑๘
แห่ง
พระราชบัญญัติการจัดสรรท่ีดิน
พ.ศ.
๒๕๔๓
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้ซื้อท่ีดิน
จัดสรรกรุงเทพมหานครขึ้น
เพ่ือพิจารณาเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับการจัดสรรที่ดินโดยมีผู้แทน
จากหน่วยงานต่าง

รวมทั้งผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นคณะ
อนกุ รรมการ
ทำให้สามารถตรวจสอบการกระทำความผดิ ตามกฎหมายเกีย่ วกับการจัดสรรทดี่ นิ
ไดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็
จงึ มมี ตใิ หอ้ ธบิ ดกี รมทดี่ นิ ในฐานะเลขานกุ ารคณะกรรมการจดั สรรทดี่ นิ กลางนำผล
งานของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรกรุงเทพมหานครเสนอคณะกรรมการ
จดั สรรที่ดนิ กลางพิจารณา
หากเหน็ สมควรอาจกำหนดเปน็ แนวทางเสนอแนะให้คณะกรรมการ
จดั สรรที่ดินจงั หวดั แต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองผซู้ ้ือที่ดินจดั สรรจังหวดั ตอ่ ไป




กรมที่ดินได้นำเร่ืองเสนอให้คณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกลางพิจารณาในการ
ประชุมครั้งท
่ี ๑๑/๒๕๕๐
เมื่อวันท่
ี ๑๕
พฤศจิกายน
๒๕๕๐
ที่ประชุมมีมติว่า
ควรแนะนำให้
คณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัดทุกจังหวัดแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้ซื้อท่ีดิน

473

จัดสรรจังหวัด
เพื่อพิจารณาเร่ืองร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดสรรท่ีดิน
โดยให้กรมที่ดินส่งตัว
อย่างคำสั่งคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกรุงเทพมหานครมาเพ่ือให้จังหวัดใช้เป็นแนวทาง
ประกอบการพิจารณาดำเนินการ
และหากคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินจังหวัดใดได้แต่งตั้งคณะ
อนุกรรมการฯ
ดังกล่าวแล้ว
ให้จังหวัดรายงานผลพร้อมส่งสำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะ
อนุกรรมการค้มุ ครองผ้ซู ือ้ ทด่ี ินจดั สรรไปใหก้ รมทีด่ ินทราบดว้ ย






จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ
และพจิ ารณาดำเนนิ การต่อไป


ขอแสดงความนบั ถอื




(ลงชื่อ) ชยั ฤกษ์ ดิษฐอำนาจ
(นายชัยฤกษ์
ดษิ ฐอำนาจ)

อธิบดกี รมที่ดนิ


















สำนกั สง่ เสรมิ ธุรกจิ อสังหาริมทรัพย์

โทร.
๐-๒๒๒๒-๓๒๗๑,
๐-๒๒๒๒-๖๘๒๔

โทรสาร.
๐-๒๒๒๒-๐๕๑๘






474

(สำเนา)
คำสง่ั คณะกรรมการจดั สรรที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร


ท่ี
๑/๒๕๔๖

เร่อื ง
แตง่ ต้งั คณะอนุกรรมการคุม้ ครองผูซ้ ือ้ ทีด่ นิ จัดสรรกรงุ เทพมหานคร


และคณะเจ้าหนา้ ท่ีตรวจสอบการดำเนินการจดั สรรท่ีดิน


______________________



ดว้ ยคณะกรรมการจดั สรรทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร
ไดม้ มี ตใิ นคราวประชมุ ครง้ั ท
่ี ๗/๒๕๔๖

เม่ือวันท่ี
๒๓
เมษายน
๒๕๔๖
ให้ยกเลิกคำสั่งคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานคร


ี่ ๓/๒๕๔๔
ลงวันที่
๒๖
พฤศจิกายน
๒๕๔๔
เร่ือง
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้ซ้ือ
ทด่ี นิ จดั สรรกรงุ เทพมหานครและคณะเจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบการดำเนนิ การจดั สรรทด่ี นิ
และคำสง่ั
คณะกรรมการจดั สรรที่ดินกรุงเทพมหานคร

่ี ๒/๒๕๔๕
ลงวันท
่ี ๒๗
กุมภาพันธ
์ ๒๕๔๕
เรอ่ื ง

แก้ไขเพมิ่ เตมิ คำสง่ั คณะกรรมการจดั สรรทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร
พรอ้ มทง้ั เหน็ ชอบใหแ้ ตง่ ตง้ั คณะ
อนุกรรมการคุ้มครองผู้ซื้อท่ีดินจัดสรรกรุงเทพมหานครและคณะเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบการ
ดำเนนิ การจัดสรรทดี่ ินใหม่



ฉะนนั้
อาศยั อำนาจตามความในมาตรา
๑๘
แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารจดั สรรทด่ี นิ
พ.ศ.
๒๕๔๓
ให้
ยกเลกิ คำสงั่ ดงั กลา่ วขา้ งตน้
และแตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองผซู้ อื้ ทดี่ นิ จดั สรรกรงุ เทพมหานคร

คณะเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบการดำเนนิ การจัดสรรท่ดี นิ ขึ้นใหม่
ประกอบด้วยบุคคลต่อไปน้ี



๑.
คณะอนกุ รรมการคมุ้ ครองผ้ซู อื้ ท่ีดินจดั สรรกรุงเทพมหานคร
ประกอบดว้ ย




๑.๑
ว่าทร่ี อ้ ยตรีสอาด
ชมบุญ





เป็นประธานอนุกรรมการ




๑.๒
ผอู้ ำนวยการสำนกั สง่ เสรมิ ธุรกจิ อสังหารมิ ทรัพย
์ เปน็ รองประธานอนกุ รรมการ




๑.๓
ผแู้ ทนสำนกั งานอยั การสูงสดุ




เปน็ อนุกรรมการ




๑.๔
ผแู้ ทนกองบงั คบั การสบื สวนสอบสวนคดเี ศรษฐกจิ
เป็นอนุกรรมการ





สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ




๑.๕
ผู้แทนกรงุ เทพมหานคร






เปน็ อนกุ รรมการ




๑.๖
ผแู้ ทนสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค
เปน็ อนกุ รรมการ




๑.๗
ผอู้ ำนวยการกองนิตกิ าร
กรมท่ดี นิ



เป็นอนุกรรมการ




๑.๘
เจ้าพนกั งานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร



เป็นอนกุ รรมการ




๑.๙
ผูอ้ ำนวยการสว่ นมาตรฐานการจดั สรรทดี่ นิ

เป็นอนกุ รรมการ





สำนักส่งเสริมธุรกจิ อสังหารมิ ทรัพย์



และเลขานุการ




๑.๑๐
นางจนั ทิพา
วสุวัต







เปน็ ผชู้ ่วยเลขานุการ






นักวชิ าการทดี่ ิน


สำนกั ส่งเสริมธุรกจิ อสังหารมิ ทรพั ย์




๑.๑๑
นางสกุ ัญญา
ดมี าก







เปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ าร





นกั วิชาการท่ีดนิ

สำนกั สง่ เสรมิ ธรุ กจิ อสังหารมิ ทรพั ย


475

ให้คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้ซ้ือที่ดินจัดสรรกรุงเทพมหานคร
มีอำนาจหน้าที่
พิจารณารายงานผลการตรวจสอบ
สอบสวนของคณะเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบการดำเนินการ
จดั สรรทดี่ นิ
เรยี กเปน็ หนงั สอื ให้บคุ คลใดมาใหข้ ้อเทจ็ จรงิ
คำอธิบาย
ความเหน็
คำแนะนำทาง
วชิ าการหรอื ใหส้ ง่ เอกสารหรอื ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การจดั สรรทด่ี นิ หรอื กจิ การอน่ื ทเ่ี กยี่ วกบั การจดั สรร
ท่ีดินตามท่ีเห็นสมควร
เม่ือคณะอนุกรรมการ

พิจารณาเห็นว่า
มีการกระทำความผิดตาม
พระราชบญั ญตั กิ ารจดั สรรทด่ี นิ
พ.ศ.
๒๕๔๓
ใหด้ ำเนนิ การไปตามพระราชบญั ญตั กิ ารจดั สรรทด่ี นิ

พ.ศ.
๒๕๔๓
และหากเหน็ สมควรดำเนนิ คดอี าญากบั ผกู้ ระทำผดิ
ก็มอบหมายให้อธิบดีกรมที่ดิน
หรือรองอธิบดีกรมท่ีดินซึ่งอธิบดีกรมที่ดินมอบหมาย
ในฐานะประธานกรรมการจัดสรรที่ดิน
กรงุ เทพมหานคร
ดำเนนิ การร้องทุกข์กล่าวโทษเพื่อดำเนนิ คดีอาญาได้ทกุ ราย




๒.
คณะเจ้าหน้าที่ตรวจสอบการดำเนินการจัดสรรท่ีดินในเขตกรุงเทพมหานคร

แบง่ เปน็
๑๖
คณะ
แต่ละคณะประกอบด้วยบคุ คลดงั ตอ่ ไปน้ี





คณะที่ ๑ เขตท้องท่ีสำนกั งานทด่ี นิ กรุงเทพมหานคร
ประกอบด้วย





๑)
เจา้ พนักงานทีด่ นิ กรุงเทพมหานคร





เปน็ หัวหนา้ คณะ



















เจ้าหนา้ ท
่ี




๒)
หัวหนา้ ฝา่ ยรงั วัด
สำนักงานทีด่ นิ กรงุ เทพมหานคร

เป็นเจา้ หนา้ ท
่ี




๓)
หัวหน้างานหนงั สอื สำคญั และทะเบยี นสิทธ


เปน็ เจา้ หน้าที่






สำนักงานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร





และเลขานกุ าร





คณะที่ ๒
เขตท้องที่สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขาห้วยขวาง

ประกอบดว้ ย





๑)
เจา้ พนกั งานท่ีดินกรงุ เทพมหานคร
สาขาห้วยขวาง

เป็นหวั หน้าคณะ



















เจ้าหน้าท่ี





๒)
หัวหน้าฝา่ ยรงั วดั
สำนกั งานทีด่ นิ กรงุ เทพมหานคร

เปน็ เจ้าหน้าท่ี






สาขาหว้ ยขวาง





๓)
หัวหนา้ งานหนงั สอื สำคญั และทะเบยี นสิทธิ


เปน็ เจ้าหน้าท
ี่






สำนกั งานทีด่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาหว้ ยขวาง

และเลขานุการ





คณะที่ ๓
เขตทอ้ งทสี่ ำนกั งานทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบางกะป
ิ ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนกั งานที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบางกะปิ

เปน็ หัวหน้าคณะ



















เจา้ หนา้ ที





๒)
หัวหน้าฝา่ ยรังวดั
สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร

เป็นเจา้ หน้าที






สาขาบางกะป





๓)
หวั หนา้ งานหนังสอื สำคญั และทะเบียนสทิ ธ


เป็นเจ้าหน้าท
่ี






สำนกั งานทดี่ ินกรุงเทพมหานคร
สาขาบางกะป


และเลขานุการ




476

คณะที่ ๔
เขตท้องที่สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขาลาดพร้าว

ประกอบดว้ ย





๑)
เจา้ พนักงานทดี่ ินกรุงเทพมหานคร
สาขาลาดพรา้ ว

เป็นหัวหนา้ คณะ



















เจา้ หนา้ ท
่ี




๒)
หัวหนา้ ฝา่ ยรงั วัด
สำนกั งานที่ดินกรงุ เทพมหานคร

เป็นเจ้าหนา้ ที






สาขาลาดพร้าว





๓)
หัวหน้างานหนงั สือสำคัญและทะเบยี นสทิ ธิ


เป็นเจ้าหน้าท่ี







สำนักงานที่ดนิ กรุงเทพมหานคร
สาขาลาดพรา้ ว

และเลขานกุ าร





คณะที่ ๕
เขตท้องท่ีสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขาพระโขนง

ประกอบด้วย





๑)
เจ้าพนกั งานทดี่ ินกรุงเทพมหานคร
สาขาพระโขนง

เปน็ หวั หน้าคณะ



















เจ้าหนา้ ท่ี





๒)
หัวหน้าฝา่ ยรงั วัด
สำนกั งานที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร

เป็นเจ้าหน้าท่ี






สาขาพระโขนง





๓)
หัวหนา้ งานหนงั สอื สำคญั และทะเบียนสทิ ธิ


เป็นเจา้ หนา้ ท
่ี






สำนกั งานท่ีดนิ กรุงเทพมหานคร
สาขาพระโขนง

และเลขานกุ าร



คณะท่ี ๖
เขตทอ้ งทสี่ ำนกั งานทดี่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาประเวศ
ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนักงานทดี่ นิ กรุงเทพมหานคร
สาขาประเวศ

เป็นหวั หน้าคณะ



















เจ้าหน้าท
ี่




๒)
หัวหน้าฝ่ายรงั วดั
สำนกั งานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร

เป็นเจา้ หน้าที่






สาขาประเวศ





๓)
หัวหน้างานหนังสือสำคัญและทะเบยี นสิทธิ


เปน็ เจา้ หน้าท
่ี





สำนักงานท่ดี นิ กรุงเทพมหานคร
สาขาประเวศ


และเลขานุการ





คณะที่ ๗
เขตทอ้ งทส่ี ำนกั งานทดี่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบงึ กมุ่
ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนกั งานท่ีดินกรงุ เทพมหานคร
สาขาบงึ กุม่


เป็นหวั หน้าคณะ



















เจ้าหนา้ ท
่ี




๒)
หวั หน้าฝ่ายรังวัด
สำนักงานที่ดนิ กรุงเทพมหานคร

เป็นเจ้าหน้าท
ี่





สาขาบงึ กุ่ม





๓)
หวั หนา้ งานหนังสอื สำคัญและทะเบียนสิทธิ


เปน็ เจา้ หนา้ ท
่ี





สำนักงานที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบงึ ก่มุ


และเลขานุการ


คณะที่ ๘
เขตทอ้ งทส่ี ำนกั งานทดี่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบางเขน
ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนักงานทดี่ ินกรุงเทพมหานคร
สาขาบางเขน

เป็นหวั หนา้ คณะ



















เจา้ หนา้ ท่ี


477

๒)
หวั หนา้ ฝ่ายรังวัด
สำนกั งานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร

เปน็ เจา้ หนา้ ท่ี






สาขาบางเขน





๓)
หวั หน้างานหนังสอื สำคญั และทะเบยี นสทิ ธิ


เป็นเจา้ หนา้ ที






สำนักงานทีด่ นิ กรุงเทพมหานคร
สาขาบางเขน


และเลขานุการ


คณะท่ี ๙
เขตทอ้ งทส่ี ำนกั งานทดี่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาดอนเมอื ง
ประกอบดว้ ย





๑)
เจา้ พนกั งานทด่ี นิ กรุงเทพมหานคร
สาขาดอนเมอื ง

เป็นหัวหนา้ คณะ



















เจ้าหน้าท
่ี




๒)
หัวหน้าฝ่ายรงั วัด
สำนักงานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร

เป็นเจ้าหนา้ ท่ี






สาขาดอนเมือง





๓)
หวั หนา้ งานหนังสือสำคญั และทะเบียนสิทธ


เป็นเจ้าหนา้ ท
่ี







สำนักงานทีด่ นิ กรุงเทพมหานคร
สาขาดอนเมอื ง

และเลขานุการ





คณะที่ ๑๐
เขตทอ้ งทสี่ ำนกั งานทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขามนี บรุ
ี ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนักงานท่ีดนิ กรงุ เทพมหานคร
สาขามีนบรุ


เปน็ หัวหน้าคณะ



















เจา้ หน้าท่ี





๒)
หวั หน้าฝ่ายรงั วัด
สำนกั งานท่ีดินกรุงเทพมหานคร

เป็นเจา้ หนา้ ท
่ี





สาขามีนบุร





๓)
หวั หนา้ งานหนงั สือสำคญั และทะเบยี นสทิ ธ


เป็นเจา้ หน้าท
่ี





สำนกั งานท่ดี ินกรุงเทพมหานคร
สาขามนี บุรี


และเลขานุการ





คณะท่ี ๑๑
เขตท้องท่ีสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขาบางกอกน้อย

ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนกั งานที่ดินกรงุ เทพมหานคร
สาขาบางกอกน้อย
เปน็ หัวหน้าคณะ



















เจ้าหน้าท่ี





๒)
หวั หนา้ ฝ่ายรงั วดั
สำนักงานท่ีดนิ กรุงเทพมหานคร

เปน็ เจา้ หน้าที






สาขาบางกอกน้อย





๓)
หัวหน้างานหนังสอื สำคัญและทะเบยี นสทิ ธิ


เป็นเจา้ หน้าท
่ี





สำนกั งานทดี่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบางกอกนอ้ ย
และเลขานกุ าร





คณะที่ ๑๒
เขตท้องที่สำนักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร
สาขาหนองแขม

ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนักงานท่ดี นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาหนองแขม
เปน็ หวั หนา้ คณะ



















เจ้าหน้าท่ี





๒)
หวั หน้าฝา่ ยรังวัด
สำนกั งานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร

เปน็ เจ้าหน้าที






สาขาหนองแขม





๓)
หวั หน้างานหนงั สอื สำคัญและทะเบยี นสิทธิ


เป็นเจา้ หน้าท
่ี





สำนักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร
สาขาหนองแขม

และเลขานุการ


478

คณะที่ ๑๓
เขตท้องที่สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขาลาดกระบัง

ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนักงานท่ีดนิ กรุงเทพมหานคร
สาขาลาดกระบงั
เป็นหัวหนา้ คณะ



















เจ้าหน้าท่ี





๒)
หวั หนา้ ฝ่ายรงั วัด
สำนักงานท่ดี นิ กรุงเทพมหานคร

เป็นเจ้าหนา้ ที่






สาขาลาดกระบัง





๓)
หวั หน้างานหนังสอื สำคญั และทะเบยี นสทิ ธ


เปน็ เจา้ หน้าท
่ี





สำนกั งานทดี่ นิ กรุงเทพมหานคร
สาขาลาดกระบงั

และเลขานุการ





คณะที่ ๑๔
เขตท้องท่ีสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร
สาขาหนองจอก

ประกอบด้วย





๑)
เจ้าพนกั งานท่ดี ินกรงุ เทพมหานคร
สาขาหนองจอก
เปน็ หัวหน้าคณะ



















เจา้ หนา้ ท
่ี




๒)
หวั หน้าฝ่ายรังวดั
สำนักงานทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร

เป็นเจ้าหนา้ ท่ี






สาขาหนองจอก





๓)
หัวหนา้ งานหนังสอื สำคญั และทะเบียนสิทธิ


เปน็ เจา้ หนา้ ท
่ี





สำนักงานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร
สาขาหนองจอก

และเลขานกุ าร





คณะท่ี ๑๕
เขตทอ้ งทสี่ ำนกั งานทด่ี นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาธนบรุ
ี ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนักงานทด่ี ินกรงุ เทพมหานคร
สาขาธนบุร


เป็นหัวหน้าคณะ



















เจา้ หน้าท่





๒)
หัวหน้าฝา่ ยรงั วดั
สำนกั งานที่ดินกรงุ เทพมหานคร

เป็นเจา้ หน้าท่ี






สาขาธนบุรี





๓)
หัวหนา้ งานหนังสือสำคัญและทะเบียนสิทธ


เปน็ เจ้าหน้าท
่ี






สำนักงานทด่ี ินกรงุ เทพมหานคร
สาขาธนบรุ ี


และเลขานกุ าร





คณะที่ ๑๖
เขตท้องท่ีสำนักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร
สาขาบางขุนเทียน

ประกอบดว้ ย





๑)
เจ้าพนกั งานที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบางขุนเทยี น
เป็นหัวหน้าคณะ



















เจา้ หน้าที่





๒)
หัวหน้าฝา่ ยรงั วัด
สำนักงานที่ดนิ กรงุ เทพมหานคร

เปน็ เจา้ หนา้ ท
่ี





สาขาบางขุนเทยี น





๓)
หัวหนา้ งานหนังสือสำคัญและทะเบยี นสิทธ


เป็นเจา้ หน้าท
ี่





สำนกั งานทีด่ นิ กรงุ เทพมหานคร
สาขาบางขนุ เทียน

และเลขานกุ าร




479

ให้คณะเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบการดำเนินการจัดสรรที่ดิน
มีอำนาจหน้าท่ีและ
ความรบั ผิดชอบ
ดังนี้




๑.
ตรวจสอบและติดตามว่า
ผู้ได้รับอนุญาตให้ทำการจัดสรรที่ดินในเขตท้องท่ี
กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดสรรที่ดินไปถูกต้องตามแผนผัง
โครงการหรือวิธีการที่ได้รับ
อนุญาตจากทางราชการหรือไม
่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการจัดให้มีสาธารณูปโภคหรือ
บริการสาธารณะ
และการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคให้คงสภาพดังเช่นท่ีได้จัดทำข้ึน
รวมท้ัง
ตรวจสอบการโฆษณาโครงการจดั สรรทดี่ นิ ของผู้ไดร้ บั อนญาตใหท้ ำการจดั สรรทดี่ นิ วา่
ได้โฆษณา
ตรงกบั หลกั ฐานและรายละเอียดที่แจ้งไว้ในคำขออนุญาตทำการจัดสรรท่ีดินที่ได้รับอนุญาตจาก
คณะกรรมการจดั สรรที่ดินกรุงเทพมหานคร
หรือไม่
อยา่ งไร




๒.
ตรวจสอบ
สอบสวน
และติดตามว่า
มผี ู้ดำเนินการจดั สรรท่ีดนิ รายใดทีก่ ระทำ
ไปโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
เพราะไม่ได้ยื่นคำขออนุญาตทำการจัดสรรที่ดินและไม่ได้รับ
ใบอนญุ าตใหท้ ำการจดั สรรทด่ี ิน




๓.
ตรวจสอบ
สอบสวนกรณีมกี ารร้องเรียน
ร้องทกุ ข
์ เก่ียวกบั การจดั สรรท่ดี นิ




๔.
เรยี กเป็นหนังสอื ใหบ้ คุ คลใดมาใหข้ ้อเทจ็ จริง
คำอธบิ าย
ความเหน็
คำแนะนำ
ทางวิชาการ
หรือส่งเอกสารหรือข้อมูลเก่ียวกับการจัดสรรที่ดิน
หรือกิจการอ่ืนที่เก่ียวข้องกับ
การจัดสรรทีด่ นิ ตามทีเ่ หน็ สมควร




๕.
ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนใดตามท่ีคณะกรรมการจัดสรรท่ีดินกรุงเทพมหานคร
และ
คณะอนุกรรมการคุม้ ครองผซู้ ้อื ทดี่ ินจดั สรรกรุงเทพมหานครมอบหมาย




เสรจ็ แลว้ รายงานผลการตรวจสอบ
สอบสวน
พรอ้ มความเหน็ ตอ่ คณะอนกุ รรมการ
คมุ้ ครองผูซ้ ้อื ท่ีดินจดั สรรกรงุ เทพมหานคร
เพ่อื พิจารณาส่ังการตามควรแกก่ รณี




ทั้งนี
้ ตง้ั แตบ่ ดั นเ้ี ป็นตน้ ไป











ส่งั

วันท่
ี ๑๓
พฤษภาคม
พ.ศ.
๒๕๔๖






(ลงชือ่ ) อรรถพร ทองประไพ
(นายอรรถพร
ทองประไพ)

รองอธบิ ด
ี ปฏบิ ตั ริ าชการแทน

อธิบดีกรมทด่ี ิน


ประธานกรรมการจัดสรรที่ดินกรงุ เทพมหานคร




480

บัญชรี ายชอ่ื หนงั สอื เวียน ระเบียบ และคำสั่งตา่ งๆ

สำนกั งานเลขานกุ ารกรม
ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๐



๑. เลขท่ีหนงั สอื เวียน หน้า
ลำดับที่ ระเบียบ คำส่งั ชือ่ เร่ือง ๔๘๒
๒. ลงวัน เดอื น ปี
๑.
ด่วนท่สี ุด


ที
่ มท
๐๕๐๑.๒
/
๐๒๙๒
แนวทางปฏบิ ัติกรณีเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ


ลว.
๑๐
ม.ค.
๕๐




๒.
ท่ี
มท
๐๒๐๘.๒
/ว
๓๑๓๒
ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
๔๘๘
ลว.
๑๔
ก.ย.
๕๐
(ฉบับท่ี..)
พ.ศ.
...
และร่างพระราชบัญญัติปรับปรุง

กระทรวง
ทบวง
กรม
(ฉบบั ที.่ .)
พ.ศ.
...


๓.
ดว่ นทีส่ ุด



๔๘๙

่ี มท
๐๕๐๑.๒
/ว
๓๒๐๔๒
ศนู ย์ปฏบิ ัติราชการกรมทดี่ ิน
ด้านการข่าว


ลว.
๑๙
พ.ย.
๕๐





481

ด่วนที่สดุ (สำเนา)

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ
สำนักงานเลขานกุ ารกรม
ฝา่ ยชว่ ยอำนวยการนักบริหาร



โทร

-
๒๒๒๑
-
๑๘๒๕
(๔๑๕,
๒๒๒)


ี่
มท๐๕๐๑.๒/๐๒๙๒



วันที
่ ๑๐
มกราคม
๒๕๕๐

เรอ่ื ง
แนวทางปฏิบตั ิกรณเี กดิ เหตุการณ์ความไมส่ งบ

เรียน
อธิบดี






ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบข้ึนในเขตกรุงเทพมหานคร
ซึ่งมีการลอบวาง
ระเบิดและโทรศัพท์ข่มขู่วางระเบิดในสถานที่ต่าง

โดยกระทรวงมหาดไทยได้สั่งการวาง
มาตรการรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการให้หน่วยงานต่าง

ดำเนินการ
และสำนักงาน
เลขานุกรมแจ้งเวยี นใหห้ นว่ ยงานท้ังในสว่ นกลาง
และส่วนภมู ภิ าคทราบและถอื ปฎิบตั แิ ลว้
น้นั






เพ่ือเป็นการป้องกันอันตราย
และทราบแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องในกรณีพบวัตถุ
ต้องสงสัยว่าเป็นวัตถุระเบิด
กรณีโทรศัพท์ลึกลับ
หรือถูกข่มขู่ทางโทรศัพท์
หรือกรณีสงสัยว่า
เปน็ พสั ดุภณั ฑ์
หรอื จดหมายระเบดิ
สำนกั งานเลขานุการกรมไดร้ วบรวมแนวทางปฏบิ ตั ใิ นกรณี
ดงั กล่าวจากสำนักขา่ วกรองแห่งชาต
ิ รายละเอียดปรากฏตามเอกสารทน่ี ำเรยี นมาพร้อมน้ี
เหน็
ควรแจ้งให้เจ้าหน้าทท่ี ้งั ในสว่ นกลาง
และส่วนภูมภิ าคทราบและถือปฏิบตั ิต่อไป






จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
หากเห็นชอบสำนักงานเลขานุการกรมจะได้ดำเนิน
การต่อไป






(ลงชือ่ ) สพุ ินดา นาคบวั
(นางสพุ ินดา
นาคบัว)


เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารงานท่ัวไป

รักษาราชการแทน

เลขานกุ ารกรม




482

แนวทางปฏบิ ัติ
กรณพี บวัตถุตอ้ งสงสยั วา่ เป็นวัตถรุ ะเบิด

______________________



หากพบวัตถตุ อ้ งสงสยั ว่าเป็นวัตถรุ ะเบดิ ควรปฏบิ ตั ิดงั ต่อไปนี้



๑.
อยา่ แตะต้อง
และห้ามมิใหผ้ ู้ใดเข้าไปใกลว้ ตั ถุตอ้ งสงสยั นัน้




๒.
กน้ั บริเวณทพ่ี บวัตถตุ อ้ งสงสยั นน้ั ไว




๓.
นำยางนอกรถยนต์วางครอบวัตถุต้องสงสัย
โดยวางซ้อน
๓-๔
ชนั้




๔.
แจง้ เจ้าหน้าท่ตี ำรวจโดยเรว็ ที่สุด
และคอยพบช้ีแจงรายละเอยี ด






ในกรณีท่ีพบอุปกรณ์การก่อวินาศกรรม
ปรากฏแน่ชัดแล้ว
ถ้าเป็นอุปกรณ์ในการ
ก่อวินาศกรรมด้วยไฟผู้ที่พบเห็นจะจัดการแก้ไขไม่ให้เกิดเพลิงได้ก็ควรจะเข้าจัดการเสีย
แต่ถ้า
เป็นวัตถุระเบิด
ผู้ท่ีจะจัดการต่อระเบิดจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้
ความชำนาญและมี
ประสบการณ
์ ดังน้ัน
วิธีท่ีดีท่ีสุดก็คือ
หาหนทางให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินให้
มากทส่ี ุด
ดว้ ยความเยือกเยน็
มีสต
ิ ไม่ต่ืนเต้น
โดยปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำดังตอ่ ไปนี้




๑.
แจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจทันที




๒.
ออกจากเขตอนั ตรายโดยเร็ว
และพยายามรว่ มมือกับบุคคลอื่น

กนั มิให้ผู้ใด
เขา้ ไปในเขตอันตรายประมาณ
๑๐๐
เมตรเป็นอย่างนอ้ ย




๓.
ปดิ ไฟฟ้า
ทอ่ แกส๊
ทอ่ เช้ือเพลิง
ที่เข้าไปสู่เขตอนั ตราย




๔.
ถา้ มกี ระสอบทราย
ใหว้ างไว้โดยรอบ
สงู เกนิ

เทา่ ของความสงู ของระเบิด

แตอ่ ย่าใช้กระสอบทรายทับดินระเบดิ
จะทำใหแ้ รงระเบดิ สงู ขึน้
ถา้ มกี ารระเบดิ หรือถา้ มเี ครื่อง
ชว่ ยลดแรงระเบดิ อนื่

เช่น
ยางรถยนต์เกา่

ใหค้ รอบระเบดิ ไวส้ กั

-

ช้ัน




๕.
ถา้ มเี วลาจะเคลอ่ื นยา้ ยวตั ถตุ ดิ ไฟและวตั ถเุ ลก็

อน่ื

ออกจากบรเิ วณใกลเ้ คยี ง
แต่ต้องพิจารณาให้รอบครอบถึงเชือก
ลวด
หรือส่ิงใดที่มีลักษณะโยงไปสู่วัตถุระเบิด
อย่าดึง

อย่าแตะต้อง




๖.
อยา่ แตะต้องหรอื ก้รู ะเบดิ เป็นอนั ขาด
ให้รอผชู้ ำนาญมากรู้ ะเบิด






483

แนวทางการปฏิบัติ
กรณีโทรศัพทล์ กึ ลับหรอื ถกู ขม่ ขทู่ างโทรศัพท์

______________________




แนวทางปฏบิ ตั กิ รณถี กู ขม่ ขทู่ างโทรศพั ทห์ รอื ไดร้ บั โทรศพั ทล์ กึ ลบั และกรณถี กู ขม่ ขวู่ า่ จะวางระเบดิ



๑.
จดั เตรยี มอปุ กรณเ์ ครอื่ งบนั ทกึ เสยี งไว้ใหพ้ รอ้ มเสมอ
และตอ่ เครอ่ื งโทรศพั ทพ์ ่วง
ไว้ให้ผอู้ ืน่ รว่ มฟงั ได้ดว้ ย




๒.
ถ้าผู้โทรศัพท์ขู่มีทีท่าว่าจะสนทนาด้วยควรรีบฉวยโอกาสน้ี
พยายามชวนผู้ท่ี
โทรศัพท์มาให้พดู ต่อไปเรอื่ ย

นานเทา่ ท่จี ะทำได้โดยไมข่ ดั จังหวะ
โดยใช้กลวธิ ดี ังน้ี





๒.๑
พยายามใหผ้ ู้โทรศัพท์ขู่ร้สู ึกวา่
เราสนใจฟงั





๒.๒
ถ้าผู้โทรศัพท์รู้สึกโกรธ
ไม่พอใจเจ็บใจต่อตัวบุคคล
หน่วยราชการ
หรือ
องค์การ
พยายามพูด
พยายามเห็นอกเห็นใจ
และพยายามซักถามให้ได้สาเหตุของความไม่
พอใจให้ชัดเจน
ซึง่ อาจจะชว่ ยสืบหาตวั ผ้พู ดู โทรศพั ท์ได้ภายหลงั





๒.๓
พยายามให้ผู้โทรศัพท์ขู่พูดมากกว่าท่ีเขาต้ังใจ
ด้วยการให้พูดทวนซ้ำหรือ
พูดย่ัวให้โกรธถามเขาว่าต้องการให้ช่วยทำอะไรบ้าง
ย่ิงพูดนานเท่าไรก็จะทำให้ผู้โทรศัพท์ขู่
ต้องผิดพลาดมากข้ึน
เปิดเผยข้อเท็จจริงหรือตัวเองมากข้ึน
ความรู้สึกของผู้รับโทรศัพท์เป็น
เรื่องสำคัญท่ีสุด
จะช่วยในการตัดสินใจของผู้รับผิดชอบสถานการณ์ว่าการโทรศัพท์ขู่นั้นเป็น
เรอ่ื งจรงิ หรอื ไม




๓.
พยายามสอบถามให้รู้ถึงความมุ่งหมายหรือความตั้งใจในการโทรศัพท์มาขู่

หรือใหร้ ้วู า่ เปน็ ภัยคกุ คามประเภทใด




๔.
พยายามจับความให้ละเอียด




๕.
วางระเบดิ ท่ีไหน
เวลาเท่าไหรจ่ ะระเบิด
ทำไมจงึ วางระเบดิ ที่นัน้




๖.
วางระเบิดไว้เมื่อเวลาเท่าใด
จะวางดว้ ยวธิ ใี ด
จะระเบดิ ข้ึนไดอ้ ย่างไร




๗.
พยายามพิสูจน์ทราบจากเสียงท่ีได้ยินมาว่า
ผู้ท่ีโทรศัพท์มาน้ันเพศอะไร
อายุ
ประมาณเท่าใด
สำเนียงการพูดเป็นอยา่ งไร
ฯลฯ




๘.
ประเมนิ สภาพทางจติ ใจของผทู้ โี่ ทรศพั ทม์ าวา่ เปน็ คนอยา่ งไร
สตสิ มประกอบหรอื ไม




๙.
จัดเตรียมแบบฟอร์มไว้บันทึกรายงานการโทรศัพท์ขู่ไว้ล่วงหน้า
จะช่วยให้
สะดวกย่ิงข้ึน
พยายามจดบันทึกรายละเอียดให้ได้มากท่ีสุดเท่าที่จะทำได้แบบฟอร์มควร
ประกอบดว้ ยข้อความต่อไปน้ี





๙.๑
วนั
เวลา
ท่รี ับโทรศพั ท





๙.๒
โทรมาจากตู้สาธารณะหรือส่วนตัว





๙.๓
เสียงของผู้โทรศัพท์ขู่
เปน็ ชาย
หญิง
เดก็
ผู้ใหญ
่ ฯลฯ





๙.๔
นำ้ เสียงของผู้โทรศพั ทข์
ู่ ดัง
คอ่ ย
เสยี งสงู
ตำ่
หรอื ดัดเสียง
ฯลฯ





๙.๕
วิธพี ูด
เร็ว
ชา้
รัว
ตะกุกตะกกั
ฯลนฯ





๙.๖
ภาษาที่ใช้
หยาบคาย
ธรรมดา
หรือมกี ารศกึ ษา
ฯลฯ


484

แนวทางปฏิบตั ิ
กรณพี ัสดุภัณฑ์หรอื จดหมายระเบดิ

______________________






พึงระลึกไว้เสมอว่า
พัสดุภัณฑ์หรือจดหมายท่ีเราได้รับน้ัน
อาจเกิดระเบิดขึ้นได้
เมอ่ื แกะออกหรอื เปดิ ออกกลอ่ งของขวญั หรอื จดหมายที่ไมท่ ราบแนช่ ดั วา่ ใครนำสง่ มาให
้ เมอ่ื ใด

ไม่ควรยกหรือเคลอื่ นยา้ ยเปน็ อันขาดเพราะอาจจะเปน็ กล่องระเบดิ หรือจดหมายระเบิดก็ได




กล่องระเบิดหรือกล่องของขวัญระเบิด
มักจะมีน้ำหนักมากเกินขนาดของกล่องท่ี
ควรจะเป็น
และน้ำหนักของปลายกล่องทั้งสองข้างมักไม่เท่ากัน
เพราะต้องบรรจุดินระเบิดไว้
ด้านใดด้านหนึ่ง
การยกหรือเคล่ือนย้ายกล่องอาจทำให้เกิดระเบิดข้ึนได
้ หากใช้วิธีจุดระเบิด
ดว้ ยการยกกลอ่ งขน้ึ
อาจใชห้ ฟู งั วา่ ภายในกลอ่ งมเี สยี งเดนิ ของนาฬกิ าหรอื ไม
่ หรอื ใชเ้ ชอื กยาว


ลากกล่อง
หากไม่ระเบดิ
จงึ ยกหรือเคลื่อนย้ายนำไปไว้ในที่โล่งแจ้งรอใหผ้ ้ชู ำนาญพสิ จู นว์ ่าไม่ใช่
กลอ่ งระเบิด




จดหมายระเบิดที่เคยพบมาแล้วมีขนาดซองประมาณ
๘x๕x๑/๔
น้ิว
น้ำหนัก


-

ออนซ์



แนวทางสังเกตกรณีท่ีพสั ดุภัณฑ์หรือจดหมายจดั สง่ มาทางไปรษณีย์



๑.
จ่าหน้าซอง
สังเกตว่ามีช่ือ
และท่ีอยู่ของส่งอยู่หน้าซองหรือไม
่ หากเป็น
จดหมายที่เราไมค่ าดคิดมากอ่ นควรสงสยั ไว้ก่อน




๒.
ลายมือหรือตัวพิมพ์
สังเกตดูว่าเป็นภาษาต่างประเทศหรือตัวหนังสือท่ีเราคุ้น
เคยมากอ่ นหรอื เปล่า




๓.
ความสมดุลของน้ำหนัก
ถ้าน้ำหนักของกล่องหรือจดหมายไม่สมดุลกัน
เช่น

หนกั ไปทางด้านใดด้านหน่งึ มากผิดปกต
ิ ควรตงั้ เปน็ ขอ้ สงสัยไวก้ อ่ น




๔.
น้ำหนัก
ถ้ากล่องหรือจดหมายน้ันมีน้ำหนักผิดปกติเม่ือเทียบกับขนาดของ
กลอ่ งหรือซองแล้วควรสงสัยไว้กอ่ น




๕.
มีรูที่ซองจดหมายหรือห่อกล่อง
รูท่ีกล่าวน้ันอาจเป็นรูท่ีเกิดจากการซ่อนเส้น
ลวดหรือสายไฟฟา้ ไว้ภายในก็ได้




๖.
รอยเป้ือนหรือรอยด่างต่าง
ๆอาจเกดิ มาจากคราบน้ำมนั ของดนิ ระเบดิ




๗.
กล่ิน
วตั ถุระเบิดบางชนิดจะมีกลิ่นของสารท่ีใช้ทำระเบดิ




๘.
ความรู้สึก
ในกรณีซองจดหมาย
อาจรู้สึกได้ด้วยการสัมผัส
เพราะจดหมาย
ธรรมดามักจะเป็นเพียงแผ่นกระดาษพบั ไว
้ แต่ถ้าจดหมายนั้นมีของแข็ง
เช่น
แผน่ กระดาษแข็ง

แผน่ ไม
้ หรอื แผ่นโลหะ
ความระวังไว้กอ่ น
ว่าอาจเปน็ จดหมายระเบดิ ได




485

แนวทางปฏิบัตเิ มื่อสงสัยวา่ เปน็ พัสดุภัณฑ์หรือจดหมายระเบดิ



๑.
นำจดหมายหรือกล่องท่ีน่าสงสัยน้ัน
ไปวางไว้ในท่ีโล่งแจ้ง
และให้ห่างตัว
อาคารมากที่สุดเท่าทจี่ ะทำได้




๒.
ใหผ้ ้คู นออกไปจากบรเิ วณนั้นใหห้ มดทนั ที




๓.
แจ้งผบู้ งั คับบญั ชาให้ทราบแลว้
โทรศพั ทแ์ จง้ เจา้ หน้าทตี่ ำรวจ




๔.
ปฏิบัตติ ามคำแนะนำของผชู้ ำนาญกรู้ ะเบดิ โดยเครง่ ครัด



ขอ้ หา้ ม



๑.
อยา่ งอหรอื ดัดซองจดหมายหรือกล่องหรอื ห่อของน้นั




๒.
อย่าเปิดจดหมายหรือกล่องหรอื หอ่ ของน้นั
รวมท้งั อย่าตดั เชอื กที่ผกู อยูด่ ้วย




๓.
อย่านำไปลา้ งหรอื แชน่ ำ้




๔.
อย่าเขย่าหรือกระแทก




๕.
อยา่ นำไปเก็บไว้ในตู้ใสเ่ อกสาร



ข้อแนะนำท่ัวไป



๑.
ในกรณที ่ีได้รบั จดหมายขูห่ รือสิ่งอ่นื

ในลกั ษณะเดยี วกัน
ใหส้ ่งส่ิงทเี่ ราไดร้ บั
พรอ้ มทงั้ ซองใหเ้ จ้าหน้าที่ตำรวจทนั ท




๒.
อยา่ ให้คนส่งของเข้ามาในบา้ น




๓.
อย่ารับของขวัญหรือห่อของจากบุคคลท่ีเราไม่รู้จัก
หรือสิ่งของท่ีส่งมาให้เรา
โดยท่ีไม่ได้สั่ง




๔.
อยา่ ปลอ่ ยใหม้ กี ารนำสง่ พสั ดมุ าวางทงิ้ ไวห้ นา้ ประตหู รอื หนา้ ตา่ ง
โดยยงั ไมม่ ผี รู้ บั




๕.
ตรวจพัสดสุ ิ่งของที่ได้รับอย่างระมัดระวังก่อนท่ีจะเซน็ รับของ




๖.
บอกผทู้ จี่ ะสง่ จดหมายหรอื สงิ่ ของมาใหเ้ รา
ใหเ้ ขยี นชอ่ื ทอี่ ยู่ไวบ้ นหอ่ ของดา้ นนอก

หรือทซี่ องจดหมายด้วย




๗.
ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนตัวเจ้าหน้าท่ีบริการ
เช่น
บุรุษไปรษณีย์
คนส่งนม

ตลอดจนพนกั งานนำสง่ อน่ื

ควรเพิม่ ความระมัดระวังใหม้ ากขน้ึ กว่าปกติ




๘.
ชีแ้ จงใหบ้ คุ คลในบ้านทราบถึงขอ้ ควรระวงั ดังกล่าวมาแลว้ ด้วย




486

การปอ้ งกนั อนั ตรายจากแรงระเบิด



เมอื่ พบวตั ถตุ อ้ งสงสยั
หลกั การงา่ ย

คอื
ตอ้ งรบี หาวสั ดมุ าบงั ไวก้ อ่ น
วสั ดทุ น่ี ยิ มใช้

และหาง่ายทีส่ ดุ
ไดแ้ ก่
ยางรถยนต
์ หรือกระสอบทราย
ถา้ เปน็ ยางรถยนต์
จะต้องใชค้ นนำไป
ครอบวตั ถตุ ้องสงสัย
จำนวนประมาณ

-

เสน้
ซง่ึ มคี วามเสย่ี งสงู
หากระเบิดเกดิ ทำงาน

การนำกระสอบทรายเข้าไปบัง
หรือล้อมวัตถุต้องสงสัย
ปกติก็ต้องใช้คนนำพาเข้าไป
และมี
ความเสี่ยงเช่นเดียวกัน
วิธีท่ีง่ายท่ีสุด
คือ
เป็นรถเข็นท่ีมีล้อแล้วนำกระสอบทรายมาวางซ้อน
กนั เปน็ บังเกอร์
ให้มคี วามสูงในขนาดที่เหมาะสมแลว้ เข็นรถเขา้ ไป
ซ่งึ สามารถใช้ไมด้ ันรถเข้าไป
จากระยะไกลได้
เพ่ืออยู่ห่างไกลจากวัตถุที่ต้องสงสัย
และที่สำคัญคือกระสอบทรายจะมี
ขีดความสามารถในการลดทอน
(absorb)
แรงระเบดิ ได้ด




นอกจากน้ันเจ้าหน้าท่ี
EOD
:
Explosive
Ordnance
Disposal
สามารถติดต้ัง
เครือ่ งยงิ ปลดชนวนระยะไกล
(Water
cannon)
ไว้ท่กี ระสอบทราย
ใหพ้ รอ้ มทำงานไดด้ ว้ ย




______________________


487

(สำเนา)

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ
กระทรวงมหาดไทย
สำนกั งานปลดั กระทรวง
โทร.

๒๒๒๒
๒๘๔๙,
๕๐๔๙๙


่ี มท
๐๒๐๘.๒/ว
๓๑๓๒

วันท่ี
๑๔
กนั ยายน
๒๕๕๐

เรอ่ื ง ร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับท่ี
...)
พ.ศ.
...
และร่าง

พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง
ทบวง
กรม
(ฉบับท่ี
...)
พ.ศ.
...

เรียน
หวั หนา้ สว่ นราชการระดบั กรม
หวั หนา้ หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย


หัวหน้าส่วนราชการและหนว่ ยงานในสงั กัดสำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย






ด้วยกระทรวงมหาดไทยได้รับแจ้งจากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีว่า
สภา
นิติบัญญัติแห่งชาติได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(ฉบับท่ี
...)

พ.ศ.
...
และรา่ งพระราชบญั ญัติปรบั ปรงุ กระทรวง
ทบวง
กรม
(ฉบบั ท่
ี ...)
พ.ศ.
...
แลว้ ลงมติ
เห็นสมควรประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป
ซ่ึงสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะได้นำร่าง
พระราชบญั ญตั ใิ นเรอื่ งนที้ ง้ั สองฉบบั ขนึ้ ทลู เกลา้ ฯ
ถวาย
เพอื่ ประกาศใชบ้ งั คบั เปน็ กฎหมายตอ่ ไป

รายละเอียดปรากฎตามสำเนาหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตร
ี ท่ี
นร
๐๕๐๓/ว(ล)

๑๔๘๑๕
ลงวนั ที่
๒๙
สิงหาคม
๒๕๕๐
ท่ีส่งมาพร้อมน้




กระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่
รา่ งพระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วมสี าระสำคญั
เป็นการแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ.
๒๕๓๔
เพ่ือให้การ
ปฏิบัติราชการสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล
นำพาประเทศไปสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืน
อำนวย
ความสะดวกและให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งสนับสนุน
ให้การบรหิ ารงานของจังหวัดแบบบรู ณาการบรรลุผลสำเรจ็
โดยประชาชนมสี ่วนรว่ ม
สอดส่อง
และเสนอแนะในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐตามวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
อาทิ
แก้ไขวิธีการมอบอำนาจ
การกำหนดให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดสามารถย่ืนคำขอจัดตั้ง
งบประมาณได
้ การกำหนดอำนาจหน้าที่ของจังหวัดและอำเภอเพ่ิมข้ึนเป็นต้น
ซึ่งมีผลกระทบ
ตอ่ การปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ ของกระทรวงมหาดไทยและการบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าค
จึงขอ
ให้ส่วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ
และหน่วยงานในสังกัดพิจารณาปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติ
ราชการในส่วนทเี่ ก่ยี วขอ้ งให้สอดคล้องเหมาะสมตอ่ ไป




จึงเรียนมาเพ่ือพิจารณาดำเนินการ
สำหรับรายละเอียดของร่างพระราชบัญญัติฯ

สามารถเปดิ ดูขอ้ มลู ไดท้
ี่ www.law.moi.go.th




(ลงชอื่ ) พงศ์โพยม วาศภูติ

(นายพงศ์โพยม
วาศภตู )ิ

ปลดั กระทรวงมหาดไทย


488

(สำเนา)

ด่วนทีส่ ุด

ท่ีมท
๐๕๐๑.๒/ว
๓๒๐๔๒







กรมท่ีดิน















ถนนพระพิพธิ
กทม.
๑๐๒๐๐













๑๙
พฤศจิกายน
๒๕๕๐



เร่อื ง ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารกรมท่ีดนิ
ด้านการขา่ ว

เรยี น ผู้ว่าราชการจังหวดั ทกุ จังหวดั






โดยท่ีสถานการณ์ในปัจจุบัน
ได้ปรากฏการก่อเหตุร้ายด้วยวิธีการต่าง

อันเป็น
ภัยคุกคามซ่ึงสลับซับซ้อนมากขึ้น
และอาจส่งผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยและความ
มน่ั คงของประเทศ




กรมท่ีดิน
ได้จัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการกรมที่ดินด้านการข่าวข้ึน
เพ่ือสนับสนุนข้อมูล
ขา่ วสารทค่ี รอบคลมุ
บทบาท
หนา้ ทขี่ องกระทรวงมหาดไทย
ในการบำบดั ทกุ ข
์ บำรงุ สขุ
รวมทง้ั
เพ่ือให้การดำเนินการด้านการข่าว
ของกรมที่ดิน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
รวดเร็ว
และ
ถูกต้อง
สามารถนำไปใช้เปน็ ข้อมลู สำหรบั ผู้บรหิ าร
หรอื ผู้เกยี่ วขอ้ ง
ในการประกอบการตัดสิน
ใจแก้ไขปัญหาต่าง

ไดอ้ ย่างทันทว่ งที




ฉะนน้ั
จงึ ขอใหเ้ จา้ หนา้ ที่ในสงั กดั กรมทด่ี นิ
ชว่ ยกนั สอดสอ่ ง
ตรวจตรา
สดบั
รบั ฟงั

ข้อมูลข่าวสาร
และสังเกตเหตุการณ์ผิดปกติต่าง

อันอาจจะนำมาซ่ึงความเสียหายต่อความ
มั่นคงของชาติ
ศาสนา
และพระมหากษัตริย
์ ซ่ึงรวมถึงเหตุการณ์ต่าง

ที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อความสงบเรียบร้อยของสังคม
และความอยู่ด
ี มีสุข
ของคนในประเทศ
ทั้งนี
้ หากพบเห็น
เหตุการณผ์ ิดปกติ
ขอใหแ้ จง้ ศูนยป์ ฏบิ ตั ิการกรมทดี่ นิ
หมายเลขโทรศัพท
์ ๐
๒๖๒๒
๒๓๘๐




จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
และแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีในสังกัดกรมท่ีดินทราบ
และถือ
เปน็ แนวทางปฏิบัติโดยเครง่ ครดั ต่อไป


ขอแสดงความนับถือ




(ลงชื่อ) ชยั ฤกษ์ ดษิ ฐอำนาจ
(นายชยั ฤกษ
์ ดิษฐอำนาจ)

อธบิ ดกี รมทด่ี นิ




สำนกั งานเลขานุการกรม

โทร./โทรสาร
(มท)
๕๐๘๐๑-๑๒
ตอ่
๒๒๒,

๒๒๒๑
๑๘๒๕

ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส
[email protected]


489

490

บัญชรี ายช่ือหนงั สือเวียน ระเบียบ และคำสงั่ ต่างๆ

ลำดับท่ี กองพสั ดุ
๑.

ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๐
๒.

๓.
๑. เลขทหี่ นังสือเวียน
ระเบยี บ คำสงั่ ชอ่ื เร่อื ง หน้า
๒. ลงวนั เดือน ปี ๔๙๒
คำสัง่ กรมท่ดี นิ
การใช้และการดแู ลรักษารถยนต์ของกรมทดี่ นิ

๔๙๗

ี่ ๗๘๔
/
๒๕๕๐
๔๙๙

ลว.

มี.ค.
๕๐




ที
่ มท
๐๕๐๘
/ว
๑๑๘๐๐
ระเบียบเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุให้

ลว.

พ.ค.
๕๐
สำนักงานท่ีดิน





่ี มท
๐๕๐๘
/ว
๒๘๒๕๙
การบันทกึ วัสดุคงคลังในระบบ
GFMIS


ลว.
๑๒
ต.ค.
๕๐





491

(สำเนา)
คำสง่ั กรมทด่ี นิ
ท่ี ๗๘๔/๒๕๕๐

เรอ่ื ง การใช้และการดูแลรักษารถยนตข์ องกรมท่ีดิน

______________________






เพ่ือให้การใช้และการดูแลรักษารถยนต์ของกรมที่ดินอยู่ในแนวทางเดียวกัน
และ
อนวุ ตั รใหเ้ ป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยรถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
แก้ไขเพิ่มเตมิ

(ฉบับท่
ี ๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕
และท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ
(ฉบับท๖่ี )
พ.ศ.
๒๕๔๕
จงึ เหน็ สมควรวางระเบยี บ

เรือ่ ง
การใชแ้ ละการดแู ลรกั ษารถยนต์ของกรมท่ีดินไวด้ ังต่อไปน
้ี



ขอ้
๑.
ใหย้ กเลกิ คำสง่ั กรมท่ีดิน
ที
่ ๔๔๑/๒๕๓๗
ลงวันท่
ี ๒๒
กุมภาพนั ธ
์ ๒๕๓๗

เร่อื ง
การใชแ้ ละการดูแลรกั ษารถยนต์ของกรมทดี่ ิน




ขอ้
๒.
คำสั่งนี้ให้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ
สำนักและกองต่างๆในกรมที่ดิน

ตลอดจนสำนักงานที่ดินจังหวัด
สำนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา
สำนักงานท่ีดินส่วนแยก
และ
สำนักงานที่ดนิ อำเภอ




หมวด ๑
บทความทั่วไป




ข้อ ๓.
รถยนตข์ องกรมทด่ี ินแบ่งเปน็

ประเภท
คือ
รถยนตน์ ่งั
รถยนตบ์ รรทกุ
ตา่ งๆ
รถแทรคเตอร์
และรถจกั รยานยนต์




“รถยนตน์ งั่ ”
หมายความวา่
รถยนต์ประจำตำแหนง่ และรถยนต์นง่ั ที่ใช้เปน็ พาหนะ
ตดิ ตอ่ ราชการทวั่ ไปประจำสว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค
เชน่
รถเกง๋
รถต
ู้ รถแวนและรถสองตอน

เป็นต้น




“รถยนตบ์ รรทกุ ”
หมายความวา่
รถยนตบ์ รรทกุ ตา่ งๆ
เชน่
รถยนตก์ ระบะบรรทกุ เลก็

รถยนต์บรรทุกเทท้าย
รถยนต์บรรทุกน้ำ
รถลากจูง
ฯลฯ
ซ่ึงใช้ในราชการกรมท่ีดิน
และตาม
โครงการตา่ งๆ




“รถแทรคเตอร์”
หมายถึง
รถแทรคเตอรป์ ระเภทต่างๆ
ท่ีใช้ในราชการกรมที่ดนิ ใน
โครงการต่างๆ
และใหห้ มายถึงรถบดถนนด้วย




“รถจกั รยานยนต”์
หมายถงึ
รถท่ีใชเ้ ปน็ พาหนะตดิ ตอ่ ราชการทว่ั ไปประจำสว่ นกลาง
และสว่ นภูมิภาค


492

ขอ้
๔.
รถยนตน์ ง่ั สว่ นกลางของกรมทดี่ นิ
รถยนตบ์ รรทกุ
รถแทรคเตอร
์ ตลอดจน
รถจกั รยานยนตข์ องกรมทด่ี นิ ตามขอ้

ทกุ คนั ตอ้ งมตี ราเครอ่ื งหมายกรมทดี่ นิ ปรากฏอยขู่ า้ งนอก
รถยนตท์ งั้ สองขา้ งใหป้ รากฏชัดเจน
ขนาดกวา้ งหรอื ยาวไมน่ อ้ ยกว่า

นวิ้
ขนาดตัวอักษรคำว่า

“กรมทดี่ ิน”
สงู ไม่น้อยกวา่

นวิ้




สำหรับรถจกั รยานยนต์ตราเคร่ืองหมายและขนาดตัวอกั ษรใหล้ ดลงตามสว่ น




หมวด ๒
การดูแลรกั ษาและการซอ่ มบำรุง






ข้อ
๕.
รถยนตท์ ุกคนั ของกรมทด่ี ิน
โดยปกติให้อยู่ในความควบคุมดแู ลและรักษา
ซอ่ มบำรุงและรับผดิ ชอบของกองพัสดุ




ขอ้
๖.
ให้กองพัสดุจัดทำบัญชีรายการแสดงหลักฐานการได้มาและการจำหน่าย
จ่ายโอนซ่ึงการครอบครองรถยนต์ทุกคันตามแบบ

หรือแบบ

ท้ายระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรีว่าดว้ ยรถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
แก้ไขเพม่ิ เตมิ
(ฉบับท่
ี ๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕
และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ
เติม
(ฉบบั ที่
๖)
พ.ศ.
๒๕๔๕
ไวเ้ ปน็ หลักฐาน




ข้อ
๗.
ในกรณีท่ีส่วนราชการสำนัก
กองหรือหน่วยราชการของกรมที่ดินมีความ
ประสงค์ขอรถยนต์ไปใช้ราชการนอกเขตกรุงเทพมหานคร
ให้สำนัก
กองหรือหน่วยราชการ
น้ันๆ
ทำบันทึกเสนอขออนุญาตต่ออธิบด
ี ในบันทึกน้ันต้องกำหนดระยะเวลาเร่ิมการใช้รถยนต์
และเวลาสน้ิ สดุ การใชร้ ถยนต์ไว้ใหช้ ดั เจน
และเมอ่ื ไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากอธบิ ดแี ลว้
ให้ใช
้ (แบบ

ก.)

กรอกขอ้ ความลงใหค้ รบถว้ นและนำเสนอกองพสั ดเุ พอ่ื ขออนมุ ตั ริ ถยนตแ์ ละพนกั งานขบั รถยนต์
ต่อไป
เม่ือนำรถยนต์ออกจากกรมท่ีดินให้ทำหลักฐานการรับมอบรถไว้กับกองพัสดุด้วยทุกครั้ง

ระหวา่ งการใช้รถยนต์ดังกล่าวใหอ้ ยู่ในความควบคมุ ดแู ลรกั ษาซอ่ มบำรงุ ของสว่ นราชการสำนกั

กองหรือหน่วยงานนัน้ ๆ
เปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบและมีหน้าทีค่ อยตรวจตรารถยนต์ใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อม
ท่จี ะใชง้ านไดด้ เี สมอ




ในกรณมี ีความประสงคข์ อรถยนต์ภายในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล
(นนทบรุ ี

ปทุมธาน
ี และสมุทรปราการ)
ไม่ข้ามคืน
ให้กรอกข้อความในแบบขออนุญาตใช้รถส่วนกลาง

(แบบ
๓)
ทา้ ยระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยรถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
แก้ไขเพมิ่ เตมิ
(ฉบบั ท
่ี ๓)

พ.ศ.
๒๕๓๕
และแก้ไขเพ่มิ เตมิ
(ฉบบั ท่
ี ๖)
พ.ศ.
๒๕๔๕
เสนอกองพัสดหุ รือผู้ที่ได้รบั มอบหมาย
เป็นผอู้ นุญาตและจดั รถให




ข้อ
๘.
เม่ือส่วนราชการสำนัก
กองหรือหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตให้นำรถไปใช้
ราชการตามข้อ

ได้ใช้รถยนต์เสร็จส้ินตามโครงการหรือตามระยะเวลาท่ีได้รับอนุญาตแล้ว

ให้รีบจัดทำบันทึกส่งมอบรถน้ันๆส่งคืนให้กองพัสดุ
โดยไม่ชักช้าหลังจากที่รถกลับมาถึงแล้ว


493


ละเมือ่ สง่ มอบเรียบรอ้ ยแล้ว
ใหส้ ว่ นสำนกั
กองหรือหนว่ ยงานน้ันหมดหน้าท่ดี แู ลรักษารถนน้ั ๆ

นบั แตว่ นั ทส่ี ง่ มอบเรยี บรอ้ ย
โดยใหก้ องพสั ดตุ รวจรบั รถยนตเ์ หลา่ นน้ั ไว้ในความรบั ผดิ ชอบทนั ที




ในการส่งมอบตามความในข้อน
้ี หากรถน้ันๆ
จำเป็นต้องซ่อมก็ให้ผู้ส่งมอบถือเป็น
ผ้ทู ำรายงานการขอซอ่ มใหก้ องพสั ดุพจิ ารณา
พร้อมกบั บันทึกส่งมอบรถยนต์คันดงั กล่าว




ขอ้
๙.
ให้มีสมุดบันทึกการใช้รถส่วนกลางและส่วนภูมิภาคหรือตามโครงการ
ตา่ งๆ
ประจำรถแต่ละคัน
โดยมีข้อความตามแบบ

ท้ายระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วย
รถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
และที่แก้ไขเพมิ่ เติม
(ฉบับท่
ี ๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕
และให้หัวหนา้ ส่วนสำนัก

กองหรือหนว่ ยราชการนน้ั ๆ
ของกรมทดี่ นิ
ควบคมุ พนกั งานขบั รถยนต์ใหล้ งรายการใชร้ ถตามความ
เปน็ จรงิ




ขอ้
๑๐.
การดำเนนิ การซอ่ มรถโดยปกตใิ หถ้ อื เปน็ หนา้ ทขี่ องกองพสั ดเุ ปน็ ผพู้ จิ ารณา
การนำรถเข้าซ่อม
ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ.
๒๕๒๓
และที่แก้ไข
เพม่ิ เตมิ
(ฉบับที่
๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕




ในกรณีรถยนต์อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของส่วนกลางหรือหน่วยงานท่ีได้รับ
อนุญาตให้นำรถไปใช้ราชการตามข้อ

ให้ส่วนกลางหรือหน่วยงานน้ันมีหน้าที่รายงานขอซ่อม
ตามระเบียบ
โดยเสนอผ่านกองพัสดุเป็นผู้พิจารณาจัดซ่อมตามความเหมาะสม
หากเป็นเรื่อง
ซ่อมเล็ก

นอ้ ย

ทส่ี ว่ นกลางหรือหนว่ ยงานนัน้

สามารถซอ่ มเองได้
มีความประสงคจ์ ะได้
อะไหล่ไปเปล่ียนช้ินส่วนที่ชำรุดก็ให้รายงานขอเบิกมาตามระเบียบและให้กองพัสดุจัดหาอะไหล่
นั้น

ให้ตามความจำเป็น




ข้อ
๑๑.
การขอเบิกอะไหล่ไปเปล่ียนให้ระบุไว้ในใบขอเบิกให้ชัดเจนว่าจะนำไป
เปลี่ยนใช้กับรถคันใด
หมายเลขทะเบียนใด
เมื่อได้รับอะไหล่ไปแล้วให้นำไปใช้กับรถคันนั้น


จะนำไปสับเปล่ียนใชก้ บั รถคนั อื่นไม่ได้




ข้อ
๑๒.
เมื่อผู้ใช้รถได้รับอะไหล่ใหม่ไปเปลี่ยนแทนของเก่าแล้ว
ให้รีบนำอะไหล่
เก่าท่ีชำรุดทกุ ชิ้นสง่ คืนกองพัสดุตามกำหนดเวลา
ดังนี้






เปล่ยี นท่สี ่วนกลาง

ใหน้ ำส่งทันทีเมื่อเปล่ียนหรือซ่อมเสรจ็






เปลยี่ นที่ตา่ งจงั หวดั

ใหห้ วั หนา้ ส่วนราชการหรือหนว่ ยงานท่ขี อเบกิ












ไปนำส่ง

พรอ้ มบญั ชรี ายละเอยี ดของทช่ี ำรดุ ทกุ ชน้ิ คนื กองพสั ด
ุ ภายใน
๓๐
วนั
นบั จากวนั เปลยี่ นหรอื ซอ่ มเสรจ็




ขอ้
๑๓.
ให้หัวหน้าส่วนราชการสำนัก
กอง
หรือหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ดูแลรักษา
รถยนต์ตามระเบียบน
้ี คอยตรวจตราควบคุมและกวดขันการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ขับข่ีรถโดย
เคร่งครัด
หากเกิดความเสียหายข้ึนแก่ทรัพย์สินของกรมที่ดินหรือบุคคลอื่นเพราะความ
ประมาทเลินเลอ่ ของผขู้ ับข่
ี ผู้ขบั ขนี่ นั้ ตอ้ งรบั ผิดชอบท้งั ส้นิ


494

ขอ้ ๑๔.
กรณีรถเสียหายเพราะเหตุอื่น
นอกจากการชำรุดเสื่อมสภาพไปเพราะ
การใช้งานตามปกต
ิ ให้ผู้รับผิดชอบดูแลรถในขณะใช้รถรายงานให้กรมท่ีดินทราบถึงเหตุแห่ง
การชำรดุ เสยี หาย
หากเปน็ กรณที ช่ี ำรดุ เสยี หายเพราะบคุ คลกระทำกใ็ หส้ อบสวนให้ไดต้ วั ผรู้ บั ผดิ
มาชดใชค้ า่ เสยี หายด้วย




การรายงานให้รายงานตามแบบ

ท้ายระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถ
ราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบบั ท
ี่ ๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕




ข้อ
๑๕.
ให้มีสมุดแสดงรายการซ่อมบำรุงของรถแต่ละคันตามแบบ

ท้าย
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับท
่ี ๓)

พ.ศ.
๒๕๓๕




ขอ้
๑๖.
การเกบ็ รักษารถยนตป์ ระจำตำแหนง่ และรถยนต์สว่ นกลาง
รถรับรอง
ให้
ถือปฏบิ ตั ติ ามระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยรถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ

(ฉบบั ท
่ี ๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕




หมวด ๓
อำนาจการส่งั อนญุ าตให้ใช้รถ






ขอ้ ๑๗.
การใชร้ ถยนต์ทุกประเภท
ให้ผูอ้ ำนวยการกองพัสดุหรอื ผู้ไดร้ ับมอบหมาย
เป็นผู้พิจารณาอนุญาต
เว้นแต่การใช้รถออกนอกเขตกรุงเทพมหานครหรือเป็นการใช้ข้ามคืน

หรือนำไปใช้ตามโครงการต่างๆ
ให้กองพัสดุหรือหน่วยงานท่ีขอใช้เป็นผู้ดำเนินการขออนุญาต

โดยประสานกับกองพสั ดุพจิ ารณาเสนออธิบดีหรอื รองอธบิ ดหี รอื ผู้ได้รับมอบหมายเปน็ ผ้อู นมุ ัต




ข้อ
๑๘.
ในกรณีท่ีรถอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการสำนัก
กอง
หรือ
หน่วยงานหรือโครงการต่างๆ
ของกรมที่ดิน
การอนุญาตใช้รถยนต์ภายในจังหวัดให้อยู่ใน
ดลุ พินจิ ของหวั หนา้ ส่วนราชการ
หัวหนา้ หนว่ ยงาน
หรอื หวั หนา้ โครงการนน้ั

เว้นแต่การใช้รถ
ออกนอกเขตจังหวัดใหเ้ สนอผวู้ า่ ราชการจงั หวดั หรือผู้ไดร้ บั มอบหมายเป็นผูอ้ นุญาต





หมวด ๔
การเบกิ จ่ายน้ำมนั






ขอ้ ๑๙.
การเบิกจ่ายน้ำมันรถทุกประเภท
ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรีวา่ ด้วยรถราชการ
พ.ศ.
๒๕๒๓
และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบบั ท
ี่ ๓)
พ.ศ.
๒๕๓๕


495

ขอ้ ๒๐.
ให้ระบุเลขระยะทางหรือชั่วโมงการทำงานของรถแต่ละคันพร้อมท้ังวัน

เดอื น
ปี
จำนวนน้ำมันเปน็ ลิตรในการเตมิ นำ้ มนั แต่ละครง้ั
แลว้ รวบรวมไว้เปน็ หลกั ฐานเพอื่ การ
ตรวจสอบในแต่ละปงี บประมาณด้วย




หมวด ๕
อำนาจการบงั คับบญั ชาพนักงานขับรถยนต์







ขอ้ ๒๑.
โดยปกติให้พนักงานขับรถยนต์ของกรมท่ีดินท้ังหมดอยู่ในอำนาจบังคับ
บัญชาของผู้อำนวยการกองพัสดุ
แต่ในกรณีท่ีออกไปปฏิบัติในส่วนราชการสำนัก
กองหรือ
หน่วยงานที่ขอใช้รถตามคำสั่งน
้ี ระหว่างปฏิบัติงานนั้น

อยู่
ให้พนักงานขับรถอยู่ในอำนาจ
บังคบั บญั ชาของหวั หนา้ สว่ นราชการสำนัก
กองหรอื หน่วยงานนนั้







ทั้งน
ี้ ให้ถอื ปฏบิ ตั ติ ้งั แตบ่ ดั นเ้ี ป็นต้นไป

















สงั่

วันที่

มนี าคม
พ.ศ.
๒๕๕๐






(ลงชอ่ื ) ชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ
(นายชัยฤกษ
์ ดษิ ฐอำนาจ)

อธบิ ดีกรมทดี่ ิน







496

(สำเนา)

ที
่ มท
๐๕๐๘/ว
๑๑๘๐๐



ถงึ จงั หวดั ทกุ จงั หวัด






ด้วยกรมที่ดินได้วางระเบียบเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติงานด้านพัสดุให้สำนักงาน
ที่ดินถือปฏิบัติไว้หลายกรณี
และจากการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรมที่ดินพบว่ายังมี
สำนักงานที่ดินบางแห่งไม่ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบท่ีได้วางไว
้ กรมท่ีดินจึงขอซักซ้อม
ความเขา้ ใจในการปฏิบัติงาน
ดังน
ี้



๑.
ระเบียบกรมที่ดิน
ว่าด้วยการพิมพ์
การควบคุมรักษาและเบิกจ่ายแบบพิมพ์
โฉนดท่ีดิน
หนังสือรับรองการทำประโยชน
์ และหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
พ.ศ.
๒๕๔๗
ได้
กำหนดให้ใช้บัญชีรับจ่ายแบบพิมพ์โฉนดท่ีดิน
(บ.ท.ด.
๖๙)
แบบใหม
่ สำหรับควบคุมการเบิก
จ่ายแบบพิมพ์โฉนดที่ดิน
หนังสือกรรมสิทธ์ิห้องชุดหรือใบแทน
และใช้บัญชีรับจ่ายแบบพิมพ

(ค.ท.ด.
๒๔)
แบบใหม
่ สำหรับควบคุมการเบิกจ่ายหนังสือรับรองการทำประโยชน์หรือใบแทน

ซ่งึ ได้แก้ไขตามหนังสอื กรมที่ดนิ
ท่
ี มท
๐๕๐๘/ว
๑๕๔๕๒
ลงวนั ท
ี่ ๑๓
มถิ นุ ายน
๒๕๔๖
เรอ่ื ง

ให้เจ้าพนกั งานทดี่ นิ ลงนามในแบบ
บ.ท.ด.
๖๙
และแบบ
ค.ท.ด.
๒๔
โดยปรบั ขอ้ ความใหม้ คี วาม
ชดั เจนยงิ่ ขน้ึ
จงึ ขอใหจ้ งั หวดั ตรวจสอบหากสำนกั งานทด่ี นิ ใดใชบ้ ญั ชรี บั จา่ ยแบบพมิ พ
์ บ.ท.ด.
๖๙

และ
ค.ท.ด.
๒๔
แบบเก่า
ได้โปรดส่ังให้เจ้าพนักงานท่ีดินแก้ ไขบัญชีรับจ่ายบางรายการให้
ถกู ต้อง
ดังนี้





๑.๑
บัญชีรบั จ่ายแบบพิมพ์โฉนดทดี่ ิน
(บ.ท.ด.๖๙)






ช่อง
“หมายเหต”ุ
แก้ไขใหม่กำหนดเป็นช่อง
“เจ้าพนักงานท่ีดนิ
ผู้ลงนาม

(วัน/เดือน/ปี)”
และให้เจ้าพนักงานท่ีดินผู้ซ่ึงลงนามในโฉนดที่ดิน
หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
หรือใบแทนต้องเป็นผู้ลงนามในแบบ
บ.ท.ด.
๖๙
ตามช่องท่ีกำหนดใหม่น
ี้ พร้อมวงเล็บชื่อตัว
บรรจงและลงวันเดือนปี
(ที่ลงนาม)
ไว้ดว้ ย





๑.๒
บัญชีรบั จ่ายแบบพมิ พ์
(ค.ท.ด.
๒๔)






๑.๒.๑
ชอ่ ง
“จำนวน”
แก้ไขใหมก่ ำหนดใหเ้ ป็นชอ่ ง
“ผูร้ บั ไปจดั การ”
โดย
ให้ผู้รับ
ลงชื่อพรอ้ มวงเลบ็ ช่อื ตวั บรรจง






๑.๒.๒
ชอ่ ง
“หมายเหต”ุ
แก้ไขใหมก่ ำหนดใหเ้ ปน็ ชอ่ ง
“เจา้ พนกั งานทด่ี นิ

ผู้ลงนาม
(วัน/เดือน/ปี)”
และให้เจ้าพนักงานที่ดินผู้ซึ่งลงนามในหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์หรือใบแทน
ต้องเป็นผู้ลงนามในแบบ
ค.ท.ด.
๒๔
ตามช่องท่ีกำหนดใหม่น
ี้ พร้อม
วงเล็บชื่อตัวบรรจงและลงวัน
เดือน
ปี
(ที่ลงนาม)
ไว้ด้วย
(สำนักงานท่ีดินอำเภอให้หมายถึง

497


ายอำเภอหรือผทู้ ่ีได้รบั มอบหมายลงนาม)




หากสำนกั งานทด่ี ินใดตอ้ งการบัญชีรบั จา่ ยแบบพมิ พ์โฉนดทด่ี นิ
(บ.ท.ด.
๖๙)
และ
บญั ชรี บั จ่ายแบบพมิ พ์
(ค.ท.ด.
๒๔)
แบบใหม
่ ขอให้สง่ ใบเบิกแจง้ ความประสงค์ไปยังกรมทดี่ นิ




๒.
ระเบียบกรมท่ีดิน
ว่าด้วยการตรวจสอบและรวบรวมเอกสารเกี่ยวกับที่ดิน
และหอ้ งชดุ เพอื่ เกบ็ รกั ษาโดยระบบไมโครฟลิ ม์
หรอื ระบบเอกสาร
พ.ศ.
๒๕๔๘
หมวด

สว่ นท
ี่

ข้อ
๑๑(๕)
กำหนดว่า




“การเย็บเอกสารเข้าเล่มให้เจาะเอกสารท่ีมุมบนด้านซ้ายโดยใช้ปกสารบบหนังสือ
สำคญั
(ท.ด.
๒๘)
ปดิ ปะหน้าและหลังเอกสาร”




แต่จากการฝึกอบรมโครงการสัมมนาหัวหน้าฝ่าย/เจ้าหน้าท
ี่ ฝ่ายควบคุมและ
รักษาหลักฐานท่ีดิน
สำนักงานที่ดินจังหวัด
ระหว่างวันท
ี่ ๒๖-๒๘
กุมภาพันธ์
๒๕๕๐
พบว่า
สำนักงานทีด่ นิ ส่วนใหญ่ไม่ไดจ้ ัดเก็บเอกสาร
(ท.ด.
๑)
ด้วยปกสารบบหนังสือสำคัญ
(ท.ด.
๒๘)

ตามทร่ี ะเบยี บกรมทดี่ นิ กำหนดไวต้ ามขอ้

ทำใหต้ อ้ งแก้ไขการจดั เกบ็ เอกสารดงั กลา่ วใหถ้ กู ตอ้ ง
ซงึ่ จะตอ้ งใช
้ ท.ด.
๒๘
เปน็ จำนวนมาก
ดงั นน้ั
เพอ่ื ใหก้ ารจดั เกบ็ เอกสารมคี วามปลอดภยั มากยง่ิ
ข้ึนและมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
จึงขอให้จังหวัดแจ้งสำนักงานที่ดินจังหวัดสำรวจ
ความต้องการใช้
ท.ด.
๒๘
และแจง้ ความประสงค์ไปยังกรมทีด่ ิน
ภายในวันที
่ ๒๘
พฤษภาคม

๒๕๕๐
เพ่ือจะได้จัดซ้ือไว้สำรองจ่ายให้ทันกับความต้องการ
(เฉพาะสำนักงานท่ีดินจังหวัดที่มี
ฝ่ายควบคมุ และรักษาหลักฐานท่ดี นิ )




๓.
กรณีท่ีสำนักงานท่ีดินได้จัดซื้อครุภัณฑ์ใหม่
(ซ้ือเอง)
หรือได้รับบริจาคจาก
หน่วยงานหรือบุคคลอ่ืน
ขอให้จังหวัดแจ้งสำนักงานท่ีดินจังหวัดดำเนินการขอรหัสครุภัณฑ์ไป
ยังกรมที่ดินภายใน
๓๐
วัน
นับจากวันท่ีได้รับครุภัณฑ์
เพ่ือจะได้ส่งซ่อมแซมและเบิกจ่ายเงิน
จากทางราชการได
้ อกี ท้งั เปน็ การปอ้ งกันสงิ่ ของของทางราชการมใิ หส้ ูญหาย






จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ


กรมทดี่ นิ


พฤษภาคม
๒๕๕๐







กองพัสด

โทร.

๒๒๒๒
๖๘๒๘

โทรสาร.

๒๒๒๒
๔๑๓๔

โทร.
(มท)
๕๐๘๐๑
-
๑๒
ตอ่
๒๖๖,
๒๗๐


498

(สำเนา)

ท่ี
มท
๐๕๐๘/ว
๒๘๒๕๙








กรมทด่ี ิน















ถนนพระพิพธิ
กทม.
๑๐๒๐๐













๑๒
ตุลาคม
๒๕๕๐



เร่อื ง การบนั ทึกวัสดุคงคลังในระบบ
GFMIS

เรยี น ผูว้ ่าราชการจงั หวัดทกุ จังหวัด

อ้างถงึ หนงั สือกรมบญั ชกี ลาง

่ี กค
๐๔๑๐.๓/ว
๑๔๔
ลงวนั ที
่ ๗
เมษายน
๒๕๔๙







ตามหนังสือที่อ้างถึง
กรมบัญชีกลางได้แจ้งให้ส่วนราชการพิจารณาหลักเกณฑ์
การรับรู้วัสดุคงคลังตามระบบ
GFMIS
โดยให้ส่วนราชการรับรู้วัสดุคงคลังเป็นสินทรัพย์ก่อน

แล้วจึงปรับปรุงวัสดุที่ใช้ไปเป็นค่าใช้จ่าย
และหากวัสดุประเภทใดท่ีหน่วยงานคาดว่าจะใช้หมด
ไปภายในรอบระยะเวลาบัญช
ี โดยไม่จำเป็นต้องเก็บไว้เป็นวัสดุคงคลัง
ก็สามารถใช้ดุลยพินิจ
บันทึกเป็นค่าใชจ้ ่ายได้
นน้ั




กรมทด่ี นิ พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่
ระบบ
GFMIS
ยงั มขี อ้ จำกดั ในการปฏบิ ตั งิ าน
ดงั นนั้

เพ่อื ให้สำนกั งานท่ดี นิ มีความคล่องตัวในการปฏบิ ัตงิ าน
และสามารถตรวจสอบวัสดคุ งเหลอื ท่ีมี
อยู่จริงได้
จึงกำหนดหลักเกณฑ์การบันทึกรับรู้วัสดุคงคลังตามระบบ
GFMIS
ของสำนักงาน
ทดี่ นิ
ประกอบดว้ ย




๑.
หลักเขตท่ีดิน




๒.
หมดุ หลักฐานแผนที่

สำหรบั วสั ดแุ ละแบบพมิ พ์ต่างๆ
ทสี่ ำนกั งานที่ดนิ ขอเบิกไปจากกรมทดี่ ิน
หรือจดั ซอ้ื ไว้จ่ายให้กับ
สาขา/ส่วนแยก/อำเภอ
ไม่ต้องนำมาบันทึกรับรู้เป็นวัสดุคงคลัง
ตามระบบ
GFMIS
โดย
สำนักงานท่ีดินต้องจัดทำทะเบียนคุมบัญชีวัสดุทุกประเภทตามระบบมือเพ่ือใช้ในการตรวจสอบ
และการรายงานวสั ดคุ งเหลอื ประจำป
ี ตามระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพสั ด
ุ พ.ศ.
๒๕๓๕

และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
ทั้งน
้ี ทะเบียนคุมวัสดุหลักเขตที่ดินและหมุดหลักฐานแผนที่
จะต้องแยก
วัสดุคงเหลือที่มีก่อนการบันทึกเป็นวัสดุคงคลังตามระบบ
GFMIS
และวัสดุที่บันทึกเป็นวัสดุ
คงคลังตามระบบ
GFMIS
และทำการปรับปรงุ บัญชีวัสดคุ งคลังท่บี ันทึกในระบบ
GFMIS
และ
ใช้ไปในระหวา่ งปเี ปน็ วัสดุใช้ไป
(คา่ ใช้จา่ ย)
ตามห้วงเวลาที่กรมบัญชกี ลางกำหนด





อนง่ึ
เพอื่ ไม่ใหเ้ ปน็ ปญั หาในทางปฏบิ ตั ิ
จงึ ใหเ้ รม่ิ บนั ทกึ วสั ดคุ งคลงั ตามหลกั เกณฑน์ ้ี

ต้ังแต่วันท่ี

ตุลาคม
๒๕๕๐
เป็นต้นไป
กรณีหน่วยงานใดมีการบันทึกรับรู้วัสดุคงคลังตาม

499

ระบบ
GFMIS
ในปงี บประมาณ
พ.ศ.
๒๕๔๘
-
๒๕๕๐
ให้ทำการปรับปรงุ บญั ชีเป็นวสั ดใุ ช้ไปทง้ั
จำนวน






จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบและถือปฏบิ ตั โิ ดยเครง่ ครดั ตอ่ ไป


ขอแสดงความนบั ถอื




(ลงชือ่ ) ชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ
(นายชยั ฤกษ
์ ดษิ ฐอำนาจ)

อธบิ ดีกรมทีด่ นิ














กองพสั ดุ

โทร.

๒๒๒๒
๖๘๒๘

โทรสาร

๒๒๒๒
๔๑๓๔






500

บญั ชีรายช่ือหนังสือเวยี น ระเบียบ และคำส่งั ต่างๆ

สำนกั มาตรฐานและสง่ เสรมิ การรังวดั
ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๐



๑. เลขทีห่ นงั สือเวยี น ชื่อเรือ่ ง หน้า
ลำดับที่ ระเบียบ คำสัง่ ๕๐๒
๒. ลงวนั เดอื น ปี
๑.
ท่ี
มท
๐๕๑๔.๓
/ว
๔๕๘๘
ซ้อมความเข้าใจการสอบถามที่อยู่จากนายทะเบียน
ลว.
๒๐
ก.พ.
๕๐

อำเภอหรอื นายทะเบียนท้องถิ่น


๒.
ระเบียบกรมทดี่ ิน


ว่าด้วยการใช้แบบพิมพ์เก่ียวกับงานรังวัดในสำนักงาน ๕๐๔
ลว.
๒๐
ก.พ.
๕๐
ท่ดี ิน
พ.ศ.
๒๕๕๐




๓.

ี่ มท
๐๕๑๔.๓
/ว
๑๒๗๒๕
การแก้ไขแบบพิมพ์และตัวอย่างตามระเบียบกรมที่ดินว่า ๖๒๕
ลว.
๑๖
พ.ค.
๕๐
ด้วยการใช้แบบพิมพ์เก่ียวกับการรังวัดในสำนักงานท่ีดิน


พ.ศ.
๒๕๕๐




๔.

่ี มท
๐๕๑๔.๓
/ว
๑๓๒๘๙
รายงานเครอ่ื งมอื เคร่ืองใช้ในการรงั วัดและทำแผนท่
ี ๖๒๘
ลว.
๒๒
พ.ค.
๕๐




๕.
ด่วนมาก
๖๓๑

ที่
มท
๐๕๑๔.๓
/ว
๑๔๕๗๔
ซอ้ มความเข้าใจการสอบถามที่อย่ขู องผู้มสี ิทธใิ นทดี่ นิ ข้าง

ลว.

มิ.ย.
๕๐
เคียง




๖.
ท่
ี มท
๐๕๑๔.๓
/ว
๑๕๙๖๐
ซ้อมความเข้าใจในการปฏิบัติงานการรังวัดในสำนักงาน ๖๓๒
ลว.
๑๕
มิ.ย.
๕๐
ทดี่ ิน




๗.
ระเบียบกรมท่ีดนิ
ว่าด้วยการลงที่หมายในระวางแผนท่ีดิจิทัลของสำนักงาน ๖๓๔
ลว.
๒๑
ก.ย.
๕๐

ทด่ี ิน
พ.ศ.
๒๕๕๐




501

(สำเนา)

ที่
มท
๐๕๑๔.๓/ว
๔๕๘๘








กรมที่ดนิ















ถนนพระพพิ ิธ
กทม.
๑๐๒๐๐













๒๐
กุมภาพันธ์
๒๕๕๐



เรอ่ื ง ซอ้ มความเข้าใจการสอบถามที่อยจู่ ากนายทะเบยี นอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิน่

เรยี น ผวู้ า่ ราชการจังหวัดทุกจงั หวดั

อ้างถงึ ๑.
กฎกระทรวงฉบบั ที่
๓๑
(พ.ศ.
๒๕๒๑)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ ห้ใช้

ประมวลกฎหมายท่ีดนิ
พ.ศ.
๒๔๙๗


๒.
ระเบียบกรมที่ดิน
ว่าดว้ ยการติดตอ่
หรอื แจ้งผู้มีสิทธิในทีด่ นิ ขา้ งเคยี งใหม้ า

ลงชือ่ รับรองแนวเขตหรอื คดั คา้ นการรังวัด
พ.ศ.
๒๕๒๑






ตามท่ีกรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการติดต่อหรือแจ้งผู้มีสิทธิในท่ีดิน
ข้างเคียงให้มารับรองแนวเขตหรือคัดค้านการรังวัด
ในกรณีท่ีไม่อาจติดต่อผู้มีสิทธิในที่ดิน
ข้างเคียงให้มาระวังแนวเขตได้ให้มีการสอบถามที่อยู่ของผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงจากนาย
ทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่นแล้วส่งหนังสือแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไป
ยงั ผมู้ สี ทิ ธใิ นท่ีดนิ ข้างเคยี งตามท่ีอยดู่ งั กลา่ ว
นน้ั




ขณะน
้ี ปรากฏว่าได้มีการส่งหนังสือแจ้งผู้มีสิทธิในท่ีดินข้างเคียงให้มารับรองเขต
หรือคัดค้านการรังวัดไปยังชื่อและที่อยู่ท่ีสอบถามได้ความจากนายทะเบียนอำเภอหรือนาย
ทะเบยี นทอ้ งถิน่
แตเ่ จ้าของทด่ี นิ ขา้ งเคียงผรู้ ับไม่ใช่ผู้ถือกรรมสิทธ์ทิ ี่ดนิ ที่แทจ้ รงิ
เนอื่ งจากมชี ือ่
และนามสกุลพ้องกัน
ทำให้ผู้ท่ีได้รับแจ้งเข้าใจผิด
ต้องเสียเวลาและเสียค่าใช้จ่ายในการเดิน
ทางไปตรวจสอบแนวเขตที่ดิน
จึงได้มีหนังสือร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
ซ่ึง
จากการตรวจสอบข้อเท็จจริง
ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาเห็นว่า
การปฏิบัติหน้าท่ีของพนัก
งานเจ้าหน้าท่ีขาดความละเอียดรอบคอบเท่าที่ควรในการตรวจสอบแบบรับรองรายการ
ทะเบียนราษฎรเปรียบเทียบกับหนังสือสัญญาซ้ือขายในสารบบที่ดิน
จึงให้แจ้งเวียนกำชับเจ้า
หน้าที่ให้ใช้ความระมัดระวังตรวจสอบเอกสารและการดำเนินการเกี่ยวกับที่ดิน
ซึ่งเป็นการ
ป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดความผิดพลาดคลาดเคลอื่ นจนเป็นภาระแกป่ ระชาชนโดยไม่สมควร




กรมท่ีดินพิจารณาแล้วเพ่ือมิให้เกิดปัญหาดังกล่าว
ในการสอบถามชื่อ
ท่ีอยู
่ จาก
นายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
โดยวิธีธรรมดาหรือโดยระบบสารสนเทศควรจะ
ตรวจสอบให้สมบูรณค์ รบถว้ นจากรายละเอยี ด
เช่น
ช่ือ-สกุล
ชือ่ บิดา-มารดา
วนั
เดอื น
ปเี กดิ


502

เลขประจำตัวประชาชน
เป็นต้น
อน่ึง
หากมีความบกพร่องเกิดขึ้นในทำนองน้ีอีกจะถือเป็น
ความบกพรอ่ งของเจา้ หนา้ ท
่ี และจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยทป่ี ระชาชนตอ้ งเสยี ไปจากการนดี้ ว้ ย




จึงเรียนมาเพื่อโปรดสง่ั ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีใหถ้ อื ปฏิบตั ิโดยเครง่ ครดั ต่อไป





ขอแสดงความนบั ถือ




(ลงช่ือ) ชัยฤกษ์ ดษิ ฐอำนาจ
(นายชยั ฤกษ

ดิษฐอำนาจ)

อธิบดกี รมที่ดนิ












สำนักมาตรฐานและส่งเสรมิ การรังวัด

โทร.
(มท)
๕๐๘๐๑-๑๒
ตอ่
๒๖๙,

๒๒๒๒
๒๓๓๒

โทรสาร

๒๒๒๓
๐๓๒๖






503

(สำเนา)
ระเบยี บกรมท่ีดนิ
ว่าด้วยการใช้แบบพิมพเ์ กีย่ วกบั งานรังวดั ในสำนักงานท่ีดิน

พ.ศ. ๒๕๕๐








ด้วยปรากฏว่าแบบพิมพ์ที่ใช้ในงานรังวัดของสำนักงานท่ีดินซึ่งได้จัดพิมพ์ขึ้นใช้มา
ต้ังแต่เดิมจนถึงปัจจุบันมีเป็นจำนวนมาก
แบบพิมพ์บางชนิดล้าสมัยท้ังขนาดและวัสดุในการจัด
พิมพ์
ประกอบกับในปัจจุบันกรมท่ีดินได้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามาพัฒนางานรังวัดเฉพาะ
รายเพ่ือให้บริการแก่ประชาชนด้วยความสะดวก
ถูกต้องและรวดเร็วย่ิงขึ้นกว่าเดิม
แบบพิมพ์
ดังกล่าว
จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขรูปแบบให้เหมาะสมกับการดำเนินการโดยวิธีเดิม
และ
ระบบทสี่ ่งั พมิ พม์ าจากโปรแกรมคอมพิวเตอรต์ ่างๆ
จงึ วางระเบียบไว้ดงั ต่อไปน้ี




ขอ้

ระเบยี บนเ้ี รยี กวา่
“ระเบียบกรมที่ดิน
ว่าด้วยการใชแ้ บบพมิ พเ์ ก่ยี วกบั งาน
รงั วดั ในสำนกั งานทดี่ ิน
พ.ศ.
๒๕๕๐”




ข้อ

ระเบยี บน้ีใช้บงั คบั ตัง้ แต่บดั นเี้ ป็นต้นไป




ขอ้

บรรดาแบบพิมพ์ต่างๆ
ตามระเบียบ
คำสั่ง
หรือหนังสือเวียน
ท่ีเคย
กำหนดไว้แล้ว
หากยังมีใช้ในราชการอยู่แต่มีขนาด
รูปแบบเนื้อหา
ขัดแย้งหรือไม่ตรงกับแบบ
พิมพต์ ามระเบยี บน้ีให้ใช้แบบพิมพต์ ามระเบยี บนีแ้ ทน




ขอ้

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานรังวัดที่ผ่านการรับรองจากกรมท่ีดินไม่
วา่ จะเปน็ โปรแกรมใดจะตอ้ งจดั พมิ พ์ให้เปน็ ไปตามระเบยี บน
ี้



ข้อ

แบบพิมพ์ต่อไปนี้ให้ใช้แบบพิมพ์ตามขนาด
รูปแบบและคำอธิบายแบบ
พิมพท์ า้ ยระเบียบน้ี





๑)
บัญชคี มุ การนัดรงั วดั ประจำเดอื น
(ร.ว.
๗๐)





๒)
รายงานการรงั วดั
(ร.ว.
๓)





๓)
รายงานการรังวัด
(ร.ว.

ก)





๔)
ตน้ รา่ งแผนท
่ี




๕)
รายการรังวดั
(ร.ว.
๖๗)





๖)
แบบคำนวณพิกดั ฉาก
(ร.ว.
๒๕
ก)





๗)
แบบคำนวณเนอ้ื ที่
(ร.ว.
๒๕
ข)





๘)
แบบคำนวณเนือ้ ท
ี่ (ร.ว.
๖๙
ก)





๙)
บัญชคี ุมต้นร่างแผนท่ี
(ร.ว.
๔๘
ก)






๑๐)
บญั ชีคุมรายการคำนวณ
(ร.ว.
๔๘
ข)


504

๑๑)
บัญชคี ้นหาตน้ ร่างแผนทแี่ ละรายการคำนวณ
(ร.ว.
๗๒)





๑๒)
บญั ชียมื ต้นร่างแผนท่แี ละรายการคำนวณ
(ร.ว.
๗๓)





๑๓)
บญั ชีคุมระวางแผนที
่ (ร.ว.
๗๔)





๑๔)
แบบคำนวณพิกัดฉาก
(ร.ว.
๒๕
ง)





๑๕)
แบบคำนวณเน้อื ท่
ี (ร.ว.
๒๕
จ)





๑๖)
บญั ชคี มุ หลักฐานการรังวดั ในระวางระบบพกิ ดั ฉาก
ยูทีเอม็
(ร.ว.
๔๘
ค)





๑๗)
บัญชคี ้นหาหลักฐานการรังวัดในระวางแผนที่
ระบบพิกดั ฉาก
ยทู เี อม็







(ร.ว.
๗๒
ก)





๑๘)
บญั ชีคมุ ระวางแผนทีร่ ะบบพกิ ดั ฉาก
ยทู ีเอ็ม
(ร.ว.
๗๔
ก)





๑๙)
บัญชีคมุ ระวางแผนที่ระบบพกิ ดั ฉาก
ยูทเี อ็ม
(ร.ว.
๗๔
ข)





๒๐)
แผนทพ่ี พิ าท
(ร.ว.
๔)





๒๑)
กระดาษบาง
(ร.ว.
๙)





๒๒)
กระดาษบาง
(ร.ว.
๑๖)





๒๓)
บันทกึ คำชีแ้ จงเรื่องตรวจและชแี้ ผนท่ีระวาง
(ร.ว.
๑๐)





๒๔)
บันทกึ คำชแี้ จงเรอ่ื งตรวจและชีร้ ะวางรปู ถ่ายทางอากาศ
(ร.ว.
๑๐
ก)





๒๕)
รายการรงั วดั มมุ
-

ระยะของเสน้ โครงงานหมดุ หลกั ฐานแผนท
่ี (ร.ว.
๓๑
ค)





๒๖)
รายการรังวัดเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนท่ีเพ่ือเก็บรายละเอียด

โยงยึดหลักเขตที่ดนิ ระบบพิกัดฉาก
ยทู ีเอ็ม
(ร.ว.
๓๑
ซ)
มี

แบบ






-
แบบตามขวาง
(กรอกขอ้ มูลดว้ ยวิธีการเขียนแบบเดิม)






-
แบบตามยาว
(บันทึกขอ้ มลู โดยโปรแกรมคอมพวิ เตอร)์




ขอ้

แบบพิมพ
์ ตามข้อ
๑-๕,
๙-๑๓,
๑๖-๒๔
ท่ีจัดพิมพ์ไว้เดิม
หากยังมีใช้ใน
ราชการอยู่ให้ใช้ต่อไปจนกว่าจะหมด
โดยแก้ไขข้อความ
(ถ้ามี)
ให้ตรงกับแบบพิมพ์ตาม
ระเบียบนี




ขอ้

ให้ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัดเป็นผู้รักษาการตาม
ระเบียบนี้













ประกาศ

วนั ที่
๒๐
กมุ ภาพันธ
์ พ.ศ.
๒๕๕๐






(ลงชอ่ื ) ชยั ฤกษ์ ดิษฐอำนาจ
(นายชัยฤกษ

ดิษฐอำนาจ)

อธิบดีกรมท่ีดิน


505

506
(ร.ว.
๗๐)


บญั ชีคุมการนดั รังวัด
ประจำเดือน...............................................พ.ศ.
........................



ที่
ชื่อช่างรงั วัด
ระดับ








วนั ท
่ี หมายเหตุ





๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
๓๐
๓๑

คำอธิบายวธิ ีลงรายการ
บัญชคี มุ การนดั รงั วัด (ร.ว. ๗๐)





ชอ่ื ชา่ งรงั วัด
ให้เขียนช่ือทกุ คนโดยเวน้

บรรทัด



ระดบั


หมายถงึ ระดบั ตำแหนง่
เช่น
นายชา่ งรงั วดั

เขยี น




ชอ่ งวนั ท
ี่
คอื วนั นดั รงั วดั ของชา่ งรงั วดั แตล่ ะคน
โดยใหท้ ำสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ
ลงในชอ่ ง
ดงั น
ี้






หมายถงึ

ออกหนงั สอื แสดงสทิ ธ





หมายถึง

สอบเขต
ตรวจสอบฯ





หมายถึง

แบง่ แยกฯ





หมายถึง

รวมหนังสือแสดงสิทธ





หมายถึง

เปลี่ยน
น.ส.






หมายถึง

ชตี้ ำแหน่ง





หมายถงึ

พพิ าท



นสล.
หมายถึง

หนังสือสำคัญสำหรับทหี่ ลวง



๑,๒,๓
หมายถงึ

จำนวนวันทน่ี ดั ทำการรังวัด















ฯลฯ



ตัวอย่าง

จำนวนวนั ที่นดั ทำการรังวัดออกโฉนดท่ดี นิ

วัน
แสดงสญั ลกั ษณ
์ =
อ/๒





จำนวนวันทีน่ ัดทำการรังวัดรวมโฉนดและแบง่ แยก

วนั
=
ร,
บ/๒




507

508

509

คำอธบิ ายวธิ ีใช้
แบบรายงานการรังวดั (ร.ว. ๓)








แบบรายงานการรงั วัด
(ร.ว.
๓)
ใช้รายงานการรังวดั ที่ดนิ ประเภทที่ไม่ไดม้ ีการเบกิ
จ่ายเงินค่าใช้จา่ ยในการรงั วดั ลกั ษณะเหมาจา่ ย




510

511

512

คำอธิบายวิธีใช้
แบบรายงานการรงั วัด (ร.ว. ๓ ก)








แบบรายงานการรงั วดั
(ร.ว.

ก)
ใช้รายงานการรังวัดที่ดิน
ซ่ึงเบิกจา่ ยเงนิ ค่าใช้
จ่ายในการรังวัดในลักษณะเหมาจ่าย
ตามกฎกระทรวงฉบับท
ี่ ๔๘
(พ.ศ.
๒๕๔๒)
ออกตาม
ความในพระราชบัญญัตใิ ห้ใชป้ ระมวลกฎหมายทด่ี ิน
พ.ศ.
๒๔๙๗
เท่านน้ั




513

ต้นร่างเลขท.่ี .............................หมายเลขประจำแฟ้ม.........................

ประเภทการรงั วดั .................................ราย....................................ระวาง.....................................มาตราส่วน
๑/.......................

ตำบล...................................อำเภอ......................................จงั หวดั .................................ได้ปกั หลกั .......................ไว้..............หลัก

ผรู้ งั วดั ....................................................................ตำแหน่ง........................................รงั วดั วนั ท่.ี ............../................./...................












































แยก
เลขท่ีดนิ
ไร
่ เนื้อที่
แยก
เลขทด่ี ิน
เน้อื ที
่ สอบแสทานแลว้ ใช้ได
้ เนื้อท่ีดินเดิม...............ไร่...............งาน...............วา

ที
่ งาน
วา

่ี ไร
่ งาน
วา
ลงนามผู้ตรวจ
วนั เดอื นปี
ลงนาม...................................................ผู้ลงท่ีหมาย

(......................................................................................)












............................/.........................../.............................

ลงนาม.............................................................ผตู้ รวจ












(......................................................................................)

............................/.........................../.............................












ได้ตรวจแผนที่ถูกต้องตามรายการรังวัดแล้ว












ลงนาม.............................................................ผรู้ งั วัด

(......................................................................................)












............................/.........................../.............................


514

คำอธิบาย
รปู แบบของตน้ ร่างแผนที่






๑.
มีขนาด
A๔




๒.
วสั ดทุ ่ีใช้ในการจัดพิมพ
์ มอี ย
ู่ ๓
ชนิด






ก.
กระดาษหลังผา้ ไม่ยืดหด






ข.
วัสดโุ ปรง่ แสงชนิดไมย่ ืดหด






ค.
กระดาษปอนด์ขนาด
๑๒๐
แกรม
(ใช้เฉพาะกรณีท่ีมีการจัดเก็บ
ข้อมลู การรงั วัดลงในฐานขอ้ มูลเทา่ นั้น)




515

516

คำอธิบาย
รูปแบบของรายการรังวดั (ร.ว. ๖๗)








๑.

มขี นาด
A๔




๒.

วสั ดุในการจัดพมิ พ์กระดาษปอนด์
ขนาด
๑๒๐
แกรม




517


Click to View FlipBook Version