The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กระบวนการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (ปี 2564)

สำนักจัดการที่ดินของรัฐ (KM ปี 2564)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

คำนำ

การจัดที่ดินทำกินใหชุมชนภายใตคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหงชาติ (คทช.) เปนนโยบาย
ท่ีสำคัญของรัฐบาล และเปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรชาติดานการเสริมสรางพลังทางสังคม
เดิมสำนักจัดการท่ีดินของรัฐ ไดจัดทำหนังสือ เร่ือง กระบวนการการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชนตามนโยบาย
รัฐบาล เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานตามกระบวนการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชนในทุกประเภทที่ดิน
เพ่ือใหเจา หนาทท่ี ี่เก่ียวของกับการจดั ที่ดินทำกินใหชมุ ชนใชเ ปนแนวทางปรับใชเพื่อใหสามารถขับเคล่ือน
การดำเนินงานไดอยางสอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน เกิดผลสัมฤทธิ์เปนรูปธรรมอยางมีประสิทธิภาพ
ซ่ึงเปนภารกิจหลักของกรมที่ดิน และปจจุบันไดมีพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผลบังคับใช เม่ือวันท่ี ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๒ มีผลยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
วา ดวยคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรเี ม่อื วนั ท่ี ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๖๑
มีมติใหคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของเรงประชาสัมพันธสรางการรับรู
แกประชาชนกลุมเปาหมาย เกี่ยวกับเจตนารมณหลักเกณฑและเง่ือนไขในการดำเนินการ ตามโครงการ
ดังกลาวใหชัดเจน และถูกตองตรงกันดวย โดยกรมท่ีดินในฐานะฝายเลขานุการคณะอนุกรรมการจัดท่ีดิน
ไดตอบแนวทางปฏิบัติใหจังหวัดนำไปเปนแนวทางปฏิบัติแลว เห็นสมควรท่ีจะรวบรวมปญหา
และแนวทางปฏิบัติในเร่ืองดังกลาว ไวเปนรปู เลม เพื่อใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติไดนำไปปรับใช เพื่อใหสามารถ
ขับเคลื่อนการดำเนินงานไดอยางสอดคลองเปนไปในทิศทางเดียวกัน เกิดผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรม
และมปี ระสิทธิภาพตอ ไป

องคความรูเรื่อง “กระบวนการการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาล” เปนองคความรู
ท่ไี ดรบั การคัดเลือกจากคณะกรรมการจดั การความรขู องกรมท่ีดนิ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

สำนกั จดั การท่ีดนิ ของรัฐ
กองฝกอบรม

กรมทดี่ ิน กระทรวงมหาดไทย



สารบัญ หนา

เร่ือง ๗

 กระบวนการการจัดท่ดี ินทำกนิ ใหชุมชน ๑๓
ตามนโยบายรัฐบาล พ้ืนทปี่ า สงวนแหงชาติ
๒๑
 กระบวนการการจัดที่ดินทำกนิ ใหช ุมชน ๒๙
ตามนโยบายรัฐบาล พน้ื ทีป่ าสงวนแหงชาติ ๓๕
(การจดั ระบบการใชป ระโยชน) ๔๑
๔๙
 กระบวนการการจัดที่ดินทำกินใหช ุมชน ๗๑
ตามนโยบายรัฐบาล พืน้ ท่ีปาชายเลน ๘๕
ภายใตคณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหงชาติ
ของกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง

 กระบวนการการจัดทด่ี ินทำกินใหชุมชน
ตามนโยบายรฐั บาล พ้นื ทเ่ี ขตปฏิรปู ทีด่ ินของ ส.ป.ก.

 กระบวนการการจัดท่ีดนิ ทำกนิ ใหช มุ ชน
ตามนโยบายรัฐบาล พื้นทนี่ คิ มสรา งตนเอง

 กระบวนการการจัดท่ีดนิ ทำกนิ ใหช มุ ชน
ตามนโยบายรฐั บาล ทดี่ นิ สาธารณประโยชน

 กระบวนการการจัดทด่ี ินทำกนิ ใหชุมชน
ตามนโยบายรฐั บาล ทีด่ ินทีร่ าชพสั ดุ

 ตอบขอหารือของ คทช. จงั หวัด

ภาคผนวก ก พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายทด่ี ินแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๒

ภาคผนวก ข คำสงั่ คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แหง ชาติ ที่ ๑/๒๕๖๓
ลงวนั ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๓ เรือ่ ง แตงต้งั คณะอนกุ รรมการ





กระบวนการการจัดที่ดนิ ทากนิ ใหช้ มุ ชน
ตามนโยบายรฐั บาล

พน้ื ที่ปา่ สงวนแห่งชาติ



พื้นพทนื้่ีปทา่ ีป่สางสวงนวแนหแ่งหชงาชตาิ ติ 23

พ้นื ทีด่ ำเนินการ

พ้ืนที่ปาสงวนแหงชาติที่ผานข้ันตอนการดำเนินงานของ คณ ะอนุกรรมการจัดหาท่ีดิน
โดยคณะอนกุ รรมการจัดหาทดี่ ิน ใหความเห็นชอบใหน ำไปดำเนนิ การจัดที่ดินทำกินใหชุมชน ตามนโยบาย
รัฐบาลในลกั ษณะแปลงรวมและรายงานใหค ณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแหงชาติ (คทช.) ทราบแลว

กระบวนการจัดที่ดินทำกินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) พ้ืนที่ดำเนินการเปนท่ีดินในพ้ืนท่ี
ปาสงวนแหง ชาติ ประกอบดวย

๑. หลักเกณฑการจัดที่ดินทำกินใหชุมชน การจัดระเบียบการใชประโยชนเปนการนำที่ดิน
ของรัฐทีม่ ีผูใชประโยชน มาจดั ระเบยี บการใชป ระโยชน

(๑) จดั ทด่ี นิ ทำกนิ ใหชุมชนในรปู แปลงรวม ตามสภาพพืน้ ที่ และตามเขตการปกครอง
(๒) การใชประโยชนในท่ีดิน ใหเปนไปตามขอกำหนดและเงื่อนไขของหนวยงานเจาของพื้นท่ี

ซึ่งไดผานความเห็นชอบ ของ คทช. แลว
(๓) จั ดที่ ดิ น ให แก ผู เข าท ำป ระโยชน ห รื ออยู อาศั ยใน พ้ื น ท่ี อยู แล ว ตามท่ี ครอบ ครอง

อยูจรงิ แตไมเ กิน ๒๐ ไร หากมีพ้ืนท่ีเหลือ หรือพ้ืนที่ท่ีไมมีผูทำประโยชน จงึ จะจัดใหผูท่ีถูกผลักดัน
และอพยพออกจากพื้นที่ปา และผูมีถิ่นท่ีอยูในทองที่ท่ีจะจัดที่ดินหรือใกลเคียง โดยพิจารณา
จากหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ ตามเกณฑการตรวจสอบขอมูลการถือครอง
และแนวทางการจดั ท่ีดินที่ คทช. เห็นชอบ ทัง้ นี้ เพ่อื เปน การควบคมุ และรวมกันดูแลรักษาพ้ืนทปี่ า ไม
(๔) ใหผูที่ไดรับอนุญาตใหใชประโยชนในที่ดินนำท่ีดินดังกลาว ไปดำเนินการจัดที่ดินทำกินใหชุมชน
ตามนโยบายรัฐบาลโดยรวมกับ คทช. จังหวัด เพื่อดำเนินการจัดท่ีดินใหแกราษฎรที่มีคุณสมบัติ
และเปนไปตามหลกั เกณฑท ่ี คทช. เหน็ ชอบ

๒. ประเภทของผทู ไี่ ดรับการจัดท่ีดิน

(๑) ผูเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยในพ้ืนที่อยูแลวเปนไปตามผลการตรวจสอบขอมูลรูปแปลงที่ดิน
และขอมูลของรายช่ือราษฎรผูครอบครองโดย คทช. จังหวัด สำหรับผลการตรวจสอบของ
คทช. จังหวัด ในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ สามารถจำแนกประเภทผูที่ไดรับการจัดท่ีดินตามลักษณะ
การครอบครองได ดงั น้ี
- ผูครอบครองรายเดมิ ชือ่ ตรง/แปลงตรงใหเขารวมโครงการฯ
- ผคู รอบครองชอื่ ไมตรง (ทายาทผูค รอบครองรายเดิม)/แปลงตรงใหเขารวมโครงการฯ
- ผคู รอบครองรายใหม/มีการเปลย่ี นมอื ใหตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องผคู รอบครอง

4 พื้นทป่ี ่าสงวนแหง่ ชาติ พ้นื ท่ีปาสงวนแหง ชาติ 3

กรณีผา น : เขารวมโครงการแบบมีเงือ่ นไข ตามท่กี รมปา ไมไดกำหนดเงอ่ื นไขวา “ใหร าษฎรท่ีครอบครองท่ีดิน
รายใหมปลูกไมปายืนตนเฉล่ียไมนอยกวา ๔๐ ตนตอไร โดยใหแลวเสร็จภายใน ๒ ป นับแตวันที่ไดเขารวม
โครงการ ท้ังน้ีตองทำการบำรุงรักษาตนไมที่ปลูก หากตนไมที่ปลูกตายตองปลูกทดแทนดวยและตองไมตัด
ตน ไมท่ปี ลูกกอ นไดร บั อนุญาต”

กรณไี มผ า น : ไมเขา รว มโครงการฯ (ทด่ี นิ เขา กองกลาง)
- ไมปรากฏช่ือผูครอบครองมีการใชที่ดินแตไมพบตัวให คทช. จังหวัด ตรวจสอบเพ่ิมเติม
ผลการตรวจสอบเปนคนเดิม เขาสูประเภทผูครอบครองรายเดิม/ทายาท กรณีเปนคนใหม
เขาสูป ระเภทผคู รอบครองรายใหม/ มีการเปลี่ยนมือ

(๒) ผูทถ่ี กู ผลกั ดนั และอพยพออกจากพื้นท่ีปา
(๓) ผูมีถ่ินที่อยูในทองท่ีที่จะจัดท่ีดินหรือใกลเคียง โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด

ตามลำดบั

๓. คณุ สมบตั ขิ องผทู ี่ไดร บั การจดั ทด่ี ิน

(๑) บุคคลสัญชาตไิ ทย
(๒) เปนผยู ากไรไมมที ่ีทำกิน และ/หรือท่ีอยอู าศยั หรอื มรี ายได ตอปไ มเกนิ ๓๐,๐๐๐ บาท/คน
(๓) บรรลนุ ิติภาวะแลว หรอื เปน หวั หนา ครอบครวั
(๔) มถี ิน่ ท่ีอยใู นทอ งที่ทจี่ ะจัดทด่ี ินหรอื ใกลเคียง
(๕) มคี วามสามารถทำประโยชนในที่ดินได
(๖) ไมเปน คนวกิ ลจริตหรอื จิตฟนเฟอ น ไมสมประกอบ
(๗) ยนิ ยอมปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ ขอ บังคับ ขอกำหนด และเงอ่ื นไขที่กำหนด
(๘) ปจจุบันไมไ ดร บั การชวยเหลอื ในการจดั ทดี่ ินจากทาง ราชการ
(๙) กรณีท่ีคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดพิจารณาเห็น เปนความจำเปน เพื่อประโยชนในทาง

เศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพื้นที่สภาพการ ใชประโยชน
ทำประโยชน คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผอนผันการปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑ เปนการเฉพาะรายกไ็ ด

พ้ืนพทน้ืปี่ ทา่ ส่ปี งา วสนงวแนหแ่งหชงาชตาิ ติ 45

๔. แนวทางการดำเนินการ

(๑) คณะอนุกรรมการจดั ท่ีดินสงมอบขอมูลแปลงท่ีดนิ และ รายชื่อผคู รอบครอง ใหแก คทช. จังหวัด
ดำเนนิ การ

(๒) คทช. จังหวัด รวมกับหนวยงานเจาของพื้นท่ี (ระดับจังหวัด) สำรวจ/ตรวจสอบ/ลงพ้ืนที่ตรวจสอบ
ขอมูลรูปแปลงที่ดิน และขอมูลของราษฎรผูครอบครองภายในขอบเขตพ้ืนที่ที่จะดำเนินการจัด
ที่ดินทำกนิ ใหชุมชน และจำแนกประเภทตามลกั ษณะการครอบครอง

(๓) คทช. จงั หวดั รวบรวมขอมูลรายงานคณะอนกุ รรมการจดั ทดี่ นิ ทราบเพ่ือรายงานให คทช. ทราบ
(๔) จังหวัดหรือหนวยงานท่ีไดรับมอบหมายจาก คทช. จังหวัด ขออนุญาตเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัย

ภายในเขตปาสงวนแหงชาติ ตามมาตรา ๑๖ แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗
(๕) หนวยงานท่ไี ดรับมอบหมายจาก คทช. จงั หวัด ไดร บั อนุญาตจากหนวยงานเจา ของพ้ืนที่
(๖) คทช. จงั หวดั ตงั้ คณะทำงานจัดทด่ี ินดำเนินการจัดระเบยี บการใชประโยชน
(๗) คณะทำงานฯ ประชมุ ชีแ้ จงราษฎรแจง ใหทราบถึงแนวทาง/แผนการดำเนนิ งาน
(๘) คณะทำงานฯ คัดเลือกบุคคลตามคุณสมบัติประเภทของผูท่ีไดรับการจัดที่ดินและเงื่อนไขการ

เขารวมโครงการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชนที่กำหนด รวมทั้งจัดทำผังแปลงที่ดินและรายช่ือราษฎร
ท่จี ะไดร บั การจัดระเบียบการใชประโยชน
(๙) คทช. จังหวัด อนุมัติใหดำเนินการจัดระเบียบการใชประโยชนตามผังแปลงและรายช่ือ
ที่คณะทำงานฯ เสนอ จากนัน้ รายงานผลใหคณะอนกุ รรมการจัดทดี่ ินเพอ่ื รายงาน คทช. ทราบ
(๑๐) คทช. จังหวัด รวบรวมขอมูลสงเรื่องใหผูไดรับอนุญาตและหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีกำกับดูแล
ใหเ ปน ไปตามการอนญุ าตและขอกำหนด ภายใตการบรหิ ารจดั การของ คทช. จงั หวดั

๕. ขอกำหนดการใชที่ดนิ ของผูท ไ่ี ดร ับการจดั ที่ดนิ

(๑) ตองทำประโยชนและ/หรืออยูอาศัย ดวยตนเองหรือใหบุคคลในครอบครัวภายในขอบเขตพ้ืนที่
ที่ไดร บั การจัดท่ดี ินเทานน้ั หามขยายพื้นที่

(๒) หา มซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให ใหเชา ใหเชาซื้อ ใหยืม โอนสิทธิการเชา หรือโอนสทิ ธิการครอบครอง
ใหบคุ คลอืน่ เวนแตเปน ไปตามระเบยี บกฎหมายของหนว ยงานทีอ่ นุญาตใหใชทดี่ ิน

(๓) สามารถตกทอดไปยังทายาทโดยธรรมได
(๔) ตองปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายตาง ๆ ของหนวยงานที่อนุญาตใหใชที่ดิน รวมถึงขอกำหนด

ท่ี คทช. จะกำหนดข้ึนใหมในภายหลังดวย
(๕) ใหความยินยอมและอำนวยความสะดวกกับเจาหนาทีท่ ี่เขาไปตรวจสอบพน้ื ท่ีทีจ่ ดั ทด่ี นิ
(๖) หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนด หรือผูท่ีไดรับการจัดที่ดินไมประสงคจะใชท่ีดิน

ให คทช. จงั หวัด สามารถพิจารณายกเลิกการใชทีด่ ิน และใหผ ูท ีไ่ ดรับการจัดที่ดินตอ งสงคนื พน้ื ท่ี

6 พน้ื ทีป่ า่ สงวนแหง่ ชาติ พน้ื ท่ีปา สงวนแหง ชาติ 5

(๗) หามละทิ้งไมทำประโยชน หรือไมอยูอาศัยในที่ดิน หากมีความจำเปนหรือมีขอจำกัดที่ไมสามารถ
ทำประโยชนในท่ีดินไดใหแจงผูใหญบานเพื่อรายงานให คทช. จังหวัด ทราบและพิจารณา
ตามลำดับ

(๘) หา มบกุ รกุ แผว ถางปา เพื่อขยายเปนพื้นทีอ่ ยูอาศยั /ทำกนิ เพิม่ เติม
(๙) ตองคอยสอดสองตรวจตราระมัดระวังมิใหมีการบุกรุกแผวถางปาในบริเวณติดตอใกลเคียง

ถาพบการบุกรุกแผวถางปาใหแจงพนักงานเจาหนาที่ในทองที่ เชน กำนัน ผูใหญบาน เจาหนาท่ีปาไม
ตำรวจ ทหาร เปน ตน ทราบทนั ที
(๑๐) ใหทำการปลูกตนไมชนิดดีมีคาในพ้ืนที่ที่ไดรับการจัดที่ดินอยางนอย ๒ ตน ตอไร และตองดูแล
รกั ษาใหเจริญเตบิ โตอยางดี



กระบวนการการจดั ทีด่ นิ ทากนิ ใหช้ มุ ชน
ตามนโยบายรัฐบาล

พ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ

(การจดั ระบบการใชป้ ระโยชน)์



พืน้ พทนื้ ปี่ ทา่ ่ปี สางสวงนวแนหแง่ หชง าชตาิ ติ 79

พนื้ ทดี่ ำเนนิ การ

พ้ื น ท่ี ป าส งวน แ ห งช าติ ท่ี ผ าน ขั้ น ต อ น ก ารด ำเนิ น งาน ข องค ณ ะอนุ ก รรรม ก ารจั ด ห า ที่ ดิ น
โดยคณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินใหความเห็นชอบใหนำไปดำเนินการจัดที่ดินทำกินใหชุมชนตามนโยบาย
รัฐบาลในลักษณะแปลงรวม และรายงานใหคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแหง ชาติ (คทช.) ทราบ

กระบวนการจัดที่ดินทำกินใหชุมชนตามนโยบาย (คทช.) พ้ืนที่ดำเนินการเปนที่ดินในพ้ืนท่ีปาสงวน
แหงชาติหรือปา (แปลงวา ง) ประกอบดว ย

๑. หลักเกณฑการจัดทดี่ ินทำกนิ ใหชุมชน (การจัดระบบการใชประโยชน)

เปนการนำท่ีดินปาสงวนแหงชาติท่ีไมมีผูครอบครองมาจัดระบบการใชประโยชนใหแกผูยากไรไมมีท่ีดิน
ทำกนิ หรอื มีแตไมพอเลี้ยงชพี โดยใชหลักเกณฑดังน้ี

(๑) จัดท่ีดินทำกินใหชุมชนในรูปแปลงรวมใหใชประโยชนรวมกันโดยไมใหกรรมสิทธ์ิเฉพาะราย
ตามสภาพพืน้ ท่ีและตามเขตการปกครอง

(๒) จดั ทำผงั แปลงท่ีดินตามสัดสว นที่เหมาะสมกับสภาพการทำประโยชนในพื้นท่ี และความเหมาะสม
ของสภาพพื้นท่ีโดยใหกันพื้นที่สวนกลางไวไมนอยกวา ๑๐% ของพ้ืนที่ทั้งหมด เพื่อปลูกปา
หรอื ไมยืนตน

(๓) การใชประโยชนในที่ดินใหเปนไปตามขอกำหนดและเง่ือนไขของหนวยงานรับผิดชอบพื้นที่
ซ่ึงไดผา นความเหน็ ชอบของ คทช. แลว

(๔) จัดที่ดินใหผูที่ถูกผลักดันและอพยพออกจากพ้ืนท่ีสงวนหวงหามของรัฐ และผูท่ีไดรับผลกระทบ
จากการดำเนินการตามโครงการของทางราชการที่สูญเสียท่ีดินทำกินเปนลำดับแรก และผูไมมีท่ีดิน
ทำกินหรือมีเพียงเล็กนอยไมเพี ยงพอตอการครองชีพที่มีถิ่นที่อยูในท องท่ี ที่จะจัดที่ ดิน
โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ ตามลำดับ หากมีพื้นท่ีเหลือจึงจะจัดใหผูที่มีถิ่นท่ีอยู
ในทองที่ใกลเคียงอ่ืนตอไป ทั้งนี้ กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณา
เห็นเปนความจำเปนเพ่ือประโยชนในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย
สามารถกำหนดการคดั กรองและจัดลำดับท่ีเหมาะสมของชุมชนทองถน่ิ ตามทีเ่ หน็ ควรได

(๕) ใหผูท่ีไดรับอนุญาตใหใชประโยชนในท่ีดินดังกลาวไปดำเนินการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชนหรือ
โดยรวมกับ คทช. จังหวัด เพ่ือดำเนินการจัดท่ีดินใหแกราษฎรที่มีคุณสมบัติและเปนไปตาม
หลักเกณฑที่ คทช. เหน็ ชอบ

10 พ้นื ทปี่ า่ สงวนแห่งชาติ พ้นื ท่ีปาสงวนแหงชาติ 8

๒. ประเภทของผูท ไ่ี ดรบั การจดั ทด่ี นิ

(๑) ผูท ถ่ี ูกผลกั ดันและอพยพโยกยายออกจากพ้นื ที่สงวนหวงหามของรัฐ

(๒) ผทู ่ีไดรับผลกระทบจากการดำเนนิ การตามโครงการของทางราชการทส่ี ูญเสยี ทด่ี นิ ทำกิน

(๓) ผไู รที่ดนิ ทำกนิ ท่ีขอรับการจัดทด่ี ินทม่ี ีถ่ินท่ีอยูในทองทีท่ ่ีจะจัดที่ดิน โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล
อำเภอ ตามลำดับ หากมีพื้นท่ีเหลือจึงจะจัดใหผูท่ีมีถ่ินที่อยูในทองที่ใกลเคียงอ่ืนตอไป และได
ข้ึนทะเบยี นไวก บั ทางราชการ

๓. คณุ สมบัตขิ องผูท ่ีไดรบั การจัดที่ดนิ

(๑) บคุ คลสัญชาติไทย
(๒) เปนผูย ากไรไ มม ีที่ทำกนิ และ/หรอื ทอ่ี ยูอ าศัย หรอื มีรายไดต อ ปไ มเกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/คน
(๓) บรรลุนติ ิภาวะแลว หรอื เปนหวั หนา ครอบครวั
(๔) มถี นิ่ ทอี่ ยูในทองทีท่ ีจ่ ะจดั ทด่ี ินหรอื ใกลเ คียง
(๕) มคี วามสามารถทำประโยชนใ นท่ดี นิ ได
(๖) ไมเ ปน คนวิกลจริตหรอื จิตฟน เฟอ นไมสมประกอบ
(๗) ยนิ ยอมปฏบิ ัติตามระเบยี บ ขอ บังคบั ขอกำหนด และเง่อื นไขทกี่ ำหนด
(๘) ปจ จุบนั ไมไ ดร ับการชวยเหลอื ในการจดั ท่ดี นิ จากทางราชการ
(๙) กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณาเห็นเปนความจำเปนเพ่ือประโยชนในทาง

เศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพ้ืนท่ีสภาพการใชประโยชน
ทำประโยชน คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผอนผันการปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑเปนการเฉพาะรายก็ได

๔. แนวทางการดำเนนิ การ

(๑) คณะอนุกรรมการจัดที่ดินสงมอบขอมูลพ้ืนท่ี (เนื้อที่และรูปแปลงที่ดิน) ใหแก คทช. จังหวัด

ดำเนินการ

(๒) จังหวัดขออนุญาตเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยภายในเขตปาสงวนแหงชาติ ตามมาตรา ๑๖
แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ หรือตามกฎกระทรวงการขออนุญาต

และการอนุญาตทำประโยชนในเขตปา พ.ศ. ๒๕๕๘ และทแ่ี กไ ขเพมิ่ เติม

พ้นื พท้นื ป่ี ท่า่ีปสางสวงนวแนหแ่งหชง าชตาิ ติ 19 1

(๓) คทช. จงั หวัด จัดตั้งคณะทำงานจัดท่ดี นิ เพอ่ื ดำเนินการจัดระบบการใชประโยชน
- กำหนดขอบเขตแปลงท่ีดินพ้ืนท่ีสำหรับพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและใหกันพ้ืนท่ีไวไมนอยกวา
๑๐% ของพน้ื ที่ทง้ั หมดเพื่อปลูกปา หรือไมยนื ตน
- การวางผงั แปลงทด่ี ินใหมีขนาดที่เหมาะสมกับสภาพการทำประโยชนในพ้ืนที่ และความเหมาะสม
ของสภาพพ้ืนท่โี ดยไมเ กนิ ครอบครัวละ ๑๕ ไร
- คดั เลือกบุคคลตามคณุ สมบตั ิ ประเภทของผูท่ไี ดรับการจดั ทดี่ นิ
- นำเสนอผลการดำเนนิ การให คทช. จงั หวัด อนมุ ัติ

(๔) คทช. จังหวัด อนุมัติใหดำเนินการจัดระบบการใชประโยชนตามผังแปลงและรายช่ือที่คณะทำงานฯ
เสนอ จากนัน้ รายงานผลใหคณะอนุกรรมการจัดทด่ี นิ เพ่ือรายงาน คทช. ทราบ

๕. ขอกำหนดการใชท่ีดินของผทู ่ีไดรับการจดั ทด่ี นิ

(๑) ตองทำประโยชนและ/หรืออยูอาศัย ดวยตนเองหรือใหบุคคลในครอบครัวภายในขอบเขตพื้นที่
ท่ไี ดรบั การจดั ทดี่ นิ เทา นัน้ หา มขยายพืน้ ที่

(๒) หา มซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให ใหเชา ใหเชาซื้อ ใหยืม โอนสิทธิการเชา หรือโอนสิทธิการครอบครอง
ใหบ คุ คลอืน่ เวนแตเ ปนไปตามระเบียบ กฎหมายของหนวยงานท่ีอนญุ าตใหใชท ี่ดิน

(๓) สามารถตกทอดไปยังทายาทโดยธรรมได
(๔) ตอ งปฏบิ ตั ิตามระเบียบ กฎหมายตาง ๆ ของหนว ยงานที่อนุญาตใหใ ชทีด่ นิ รว ม ถึ งข อ ก ำห น ด

ที่ คทช. จะกำหนดข้ึนใหมใ นภายหลงั ดวย
(๕) ใหความยนิ ยอมและอำนวยความสะดวกกบั เจาหนาทที่ ี่เขาไปตรวจสอบพื้นท่ที ่จี ดั ทดี่ นิ
(๖) หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนด หรือผูที่ไดรับการจัดท่ีดินไมประสงคจะใชที่ดิน

ให คทช. จังหวัด สามารถพิจารณายกเลิกการใชที่ดิน และใหผูท่ีไดรับการจัดที่ดินตองสงคืนพื้นที่
(๗) หามละท้ิงไมทำประโยชน หรือไมอยูอาศัยในท่ีดิน หากมีความจำเปนหรือมีขอจำกัดท่ีไมสามารถ

ทำประโยชนในที่ดินได ใหแจงผูใหญบานเพ่ือรายงานให คทช. จังหวัด ทราบ และพิจารณา
ตามลำดบั
(๘) หามบกุ รุกแผวถางปา เพื่อขยายเปน พ้นื ทอ่ี ยูอาศัย/ทำกิน เพม่ิ เตมิ
(๙) ตองคอยสอดสองตรวจตราระมัดระวังมิใหมีการบุกรุกแผวถางปาในบริเวณติดตอใกลเคียง
ถาพบการบุกรุกแผวถางปา ใหแจงพนักงานเจาหนาท่ีในทองท่ี เชน กำนัน ผูใหญบาน เจาหนาที่
ปา ไม ตำรวจ ทหาร เปนตน ทราบทันที

12 พนื้ ทป่ี า่ สงวนแห่งชาติ พืน้ ทป่ี าสงวนแหงชาติ 10



กระบวนการการจัดทดี่ ินทากนิ ใหช้ ุมชน
ตามนโยบายรฐั บาล

พื้นที่ปา่ ชายเลน

ภายใตค้ ณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ
ของกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่



พื้นพท้นืปี่ ทา่ ชี่ปา ยชเาลยนเลน 125

พน้ื ทีด่ ำเนนิ การ

พื้ น ท่ี ป า ช า ย เล น ที่ ผ า น ขั้ น ต อ น ก า ร ด ำ เนิ น ง า น ข อ ง ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร น โย บ า ย ท่ี ดิ นจั งหวั ด
(คทช. จังหวัด) และคณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินโดยคณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินใหความเห็นชอบ
ใหนำไปดำเนินการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาลในลักษณะแปลงรวม และรายงาน
ใหคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ (คทช.) ทราบแลว และคณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติใหยกเวน
มติคณะรฐั มนตรี เม่อื วนั ท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๔ วนั ท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๓ และวนั ที่ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๓
เพ่ือนำทีด่ ินที่เปน ปา ชายเลน ไปจดั ที่ดนิ ทำกินใหชมุ ชนตามนโยบายรฐั บาล กระบวนการจัดที่ดินทำกิน
ใหช ุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.). พ้ืนทดี่ ำเนนิ การเปนท่ีดินในพื้นที่ปาสงวนแหงชาตหิ รอื ปาทเ่ี ปนปาชายเลน
ประกอบดวย

๑. หลกั เกณฑการจดั ที่ดินทำกนิ ใหช ุมชนการจดั ระเบียบ/จัดระบบการใชป ระโยชน

เปนการนำที่ดินของรัฐที่มีผูครอบครองใชประโยชนมาจัดระเบียบการใชประโยชน รวมท้ังการนำที่ดิน
ของรัฐท่ีไมมีผูครอบครองมาจัดระบบการใชประโยชนใหแกผูยากไรไมมีที่ดินทำกินหรือมีแตไมพอเลี้ยงชีพ
โดยใชหลักเกณฑดงั นี้

(๑) จัดที่ดินทำกินใหชุมชนในรูปแปลงรวมใหใชประโยชนรวมกัน โดยไมใหกรรมสิทธิ์เฉพาะราย
ตามสภาพพื้นที่และตามเขตการปกครอง โดยสมาชิกของชุมชนควรมีการรวมกลุมกัน ทั้งนี้
อาจประกอบดวยสมาชิกในกลุมตามรูปแบบท่ีกฎหมายกำหนด เชน วิสาหกิจชุมชน สหกรณ
เปนตน

(๒) การใชประโยชนในที่ดินใหเปนไปตามขอกำหนดและเง่ือนไขกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
ซ่ึงไดผ า นความเห็นชอบของ คทช. แลว

(๓) จัดที่ดินใหแกผูเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยในพ้ืนท่ีอยูแลว ตามท่ีครอบครองอยูจริงแตไมเกิน
๓๐ ไร หากมีพื้นท่ีเหลือหรือพื้นท่ีท่ีไมมีผูทำประโยชนใหนำมาฟนฟูสภาพปากอน หากพ้ืนท่ี
ไมเหมาะสมที่จะนำมาฟนฟูสภาพปาจึงจะจัดใหผูท่ีถูกผลักดันและอพยพออกจากพ้ืนท่ีปา
และผูมีถ่ินท่ีอยูในทองที่ที่จะจัดท่ีดินหรือใกลเคียง โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ
จังหวัด ตามลำดับ ตามเกณฑ การตรวจสอบขอมูลการถือครองและแนวทางการจัดท่ีดิน ที่ คทช.
เห็นชอบ ท้ังน้ี เพ่อื เปนการควบคมุ และรวมกันดแู ลรักษาพนื้ ท่ปี าชายเลน

16 พนื้ ทีป่ ่าชายเลน พืน้ ที่ปาชายเลน 13

(๔) ใหผูที่ไดรับอนุญาตใหใชประโยชนในที่ดินนำที่ดินดังกลาวไปดำเนินการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชน
หรือสมาชิกของชุมชน ท่ีรวมกลุมกันตามนโยบายรัฐบาล โดยรวมกับ คทช. จังหวัด เพ่ือดำเนินการ
จัดที่ดนิ ใหแ กร าษฎรทีม่ คี ณุ สมบตั แิ ละเปนไปตามหลักเกณฑท ่ี คทช. เหน็ ชอบ

(๕) พ้ืนที่ท่ีจะจัดใหตามโครงการฯ ตองมีการทำประโยชนในพ้ืนท่ีกอนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๔ และตอเนือ่ งจนถึงปจจุบนั

(๖) ใหกันที่ดินสวนที่อยูหางจากริมทะเล ไมนอยกวา ๑๐๐ เมตร ออกไปกอน เพื่อการอนุรักษ
และฟนฟสู ภาพปา ชายเลน

(๗) ในการจัดระบบการใชประโยชนท่ีดินใหกับผูไดรับการจัดที่ดินรายใหมไดกำหนดพื้นท่ีตามความ
เหมาะสมของที่ดินปาชายเลนที่สามารถจัดได และเหลือจากการจัดใหผูอยูอาศัยในพ้ืนท่ี
ดง้ั เดิมกอ น

(๘) ผูท่ีจะไดรับการจัดที่ดินตองแจงความประสงคเขารวมโครงการฯ ตอกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
หรอื คทช. จังหวัด

๒. ประเภทของผูทไี่ ดร บั การจัดที่ดิน

(๑) ผเู ขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยในพื้นที่อยูแลวจากการสำรวจเบ้อื งตน ของกรมทรพั ยากรทางทะเล
และชายฝง และเปนไปตามผลการตรวจสอบขอมูลรูปแปลงท่ีดิน และขอมูลรายช่ือราษฎร

ผูครอบครองจาก คทช. จังหวัด โดยจำแนกประเภทผูท่ีไดรับการจัดที่ดินตามลักษณะการครอบครอง

ออกเปน

(๑.๑) ผคู รอบครองรายเดมิ ชอ่ื ตรง/แปลงตรงใหเ ขา รวมโครงการฯ

(๑.๒) ผูครอบครองชอ่ื ไมตรง (ทายาทผูครอบครองรายเดิม)/แปลงตรง ใหเขารว มโครงการฯ

(๑.๓) ผูครอบครองรายใหม/มกี ารเปลี่ยนมอื ใหต รวจสอบคุณสมบตั ิของผคู รอบครอง

กรณผี าน : ใหเ ขา รว มโครงการฯ
กรณไี มผ าน : แจง ผคู รอบครองทราบและใหน ำพ้ืนทมี่ าฟน ฟู สภาพปา

(๑.๔) ในพ้ืนท่ีที่ไมแจงความประสงคเขารวมโครงการฯ ให คทช. จังหวัด ตรวจสอบเพิ่มเติม
เพื่อยืนยันวาไมประสงคจะเขารวมโครงการฯในกรณีน้ี ใหกรมทรัพยากรทางทะเล
และชายฝง พจิ ารณาดำเนนิ การตามอำนาจหนา ทีต่ อ ไป

(๒) ผทู ่ีถกู ผลกั ดนั และอพยพออกจากพน้ื ท่ปี า

(๓) ผูมีถิ่นท่ีอยูในทองที่ที่จะจัดที่ดินหรือใกลเคียง โดยพิจารณา จากหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด

ตามลำดับ

พ้ืนทพป่ีน้ื ท่าชี่ปาายชเาลยนเลน 1174

๓. คณุ สมบัตขิ องผูท ่ไี ดร ับการจดั ที่ดนิ

๓.๑ ผคู รอบครองที่ดนิ รายเดิม (การจดั ระเบยี บการใชป ระโยชน)
(๑) มสี ัญชาติไทยและบรรลุนติ ภิ าวะแลวหรอื เปน หัวหนาครอบครัว
(๒) มีความสามารถทำประโยชนในท่ีดนิ ได
(๓) ไมเ ปนคนวกิ ลจรติ หรือจิตฟน เฟอ นไมสมประกอบ
(๔) ยินยอมปฏิบตั ติ ามระเบยี บ ขอ บังคบั ขอกำหนด และเงอ่ื นไขทก่ี ำหนด
(๕) ปจจุบันไมไดร ับการชวยเหลอื ในการจดั ทดี่ นิ จากทางราชการ

๓.๒ ผไู ดร บั การจัดทด่ี ินรายใหม (การจดั ระบบการใชป ระโยชน)
(๑) มสี ญั ชาตไิ ทยและบรรลนุ ิตภิ าวะแลวหรอื เปนหวั หนา ครอบครัว
(๒) มีความสามารถทำประโยชนใ นทด่ี ินได
(๓) ไมเ ปนคนวิกลจรติ หรือจิตฟน เฟอนไมส มประกอบ
(๔) ยนิ ยอมปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ ขอบังคบั ขอ กำหนด และเงื่อนไขทก่ี ำหนด
(๕) ปจ จบุ ันไมไดรับการชว ยเหลอื ในการจดั ทด่ี นิ จากทางราชการ
(๖) เปน ผูยากไรไ มม ีท่ีทำกนิ และ/หรือท่ีอยูอาศัย หรือมรี ายไดไ มเ กิน ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป
(๗) มีถ่นิ ท่อี ยใู นทองท่ที ่จี ะจดั ท่ดี นิ หรอื ใกลเคียง

กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด พิจารณาถึงความจำเปนเพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจ
สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพื้นท่ี สภาพการใชประโยชน ทำประโยชน
คณะอนกุ รรมการนโยบายท่ดี ินจงั หวดั (คทช. จงั หวัด) จะผอนผนั การปฏบิ ตั ิตามหลกั เกณฑเปนการเฉพาะรายก็ได

๔. แนวทางการดำเนนิ การ

(๑) คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินสงมอบขอมูลแปลงที่ดินและรายช่ือผูครอบครองท่ีมีใหแก คทช. จังหวัด
ดำเนินการ

(๒) คทช. จังหวัด รวมกับหนวยงานเจาของพื้นที่ (ระดับจังหวัด) สำรวจตรวจสอบ/ลงพ้ืนท่ีตรวจสอบ
ขอมูลรูปแปลงที่ดิน และขอมูลของราษฎรผูครอบครองภายในขอบเขตพื้นที่ท่ีจะดำเนินการ
จดั ท่ดี ินทำกินใหชุมชน และจำแนกประเภทตามลักษณะการครอบครอง

(๓) คทช. จังหวัด รวบรวมขอมูลรายงานคณะอนุกรรมการจัดที่ดินทราบเพ่ือรายงานให คทช. ทราบ
(๔) จังหวัดหรือหนวยงานท่ีไดรับมอบหมายจาก คทช. จังหวัด ขออนุญาตเขาทำประโยชนหรือ

อยูอาศัยภายในเขตปาสงวนแหงชาติ ตามมาตรา ๑๖ แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ
พ.ศ. ๒๕๐๗ หรือตามกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตทำประโยชนในเขตปา
พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดดำเนินการขอยกเวน มติ ครม. ท่ีเก่ียวของ
เรยี บรอยแลว

18 พ้ืนทีป่ ่าชายเลน พื้นที่ปา ชายเลน 15

(๕) หนวยงานทีไ่ ดรบั มอบหมายจาก คทช. จงั หวัด ไดร บั อนุญาตจากหนว ยงานเจาของพ้นื ท่ี

(๖) คทช. จังหวดั อาจต้ังคณะทำงานจัดท่ดี ินดำเนินการจดั ระเบยี บ/จดั ระบบการใชป ระโยชน

(๗) คณะทำงานฯ ประชุมชแี้ จงราษฎรแจง ใหท ราบถึงแนวทาง/แผนการดำเนินงาน

(๘) คณะทำงานฯ คัดเลือกบุคคลตามคุณสมบัติประเภทของผูท่ีไดรับการจัดที่ดิน และเง่ือนไข
การเขารวมโครงการจัดที่ดินทำกินใหชุมชนท่ีกำหนดซึ่งไดผานความเห็นชอบของ คทช. แลว
รวมท้ังจัดทำผังแปลงที่ดินและรายช่ือราษฎรที่จะไดรับการจัดระเบียบ/จัดระบบการใชประโยชน

(๙) คทช. จังหวัด อนุมัติใหดำเนินการจัดระเบียบ/จัดระบบการใชประโยชนตามผังแปลงและรายชื่อ
ท่ีคณะทำงานฯ เสนอ จากนั้นรายงานผลใหคณะอนุกรรมการจัดที่ดินเพ่ือรายงาน คทช. ทราบ

(๑๐) คทช. จังหวัด รวบรวมขอมูลสงเรื่องใหผูไดรับอนุญาตและหนวยงานเจาของพื้นท่ีกำกับดูแล
ใหเปน ไปตามการอนญุ าต และขอกำหนดภายใตก ารบรหิ ารจัดการของ คทช. จังหวดั

๕. ขอ กำหนดการใชท่ดี ินของผทู ีไ่ ดรับการจัดที่ดิน

(๑) ตองทำประโยชนและ/หรืออยูอาศัยดวยตนเอง หรือบุคคลในครอบครัวภายในขอบเขตพ้ืนที่
ท่ีไดรบั การจัดท่ีดินเทา นนั้ หามขยายพ้นื ทแ่ี ละตองทำประโยชนอยา งตอเน่อื ง

(๒) หามซ้ือขาย แลกเปล่ียน ให ใหเชา ใหเชาซื้อ ใหยืม โอนสิทธิการเชา หรือโอนสิทธิการครอบครอง
ใหบคุ คลอน่ื เวนแตเปนไปตามระเบียบ กฎหมายของหนว ยงานท่อี นญุ าตใหใชท ดี่ ิน

(๓) สามารถตกทอดไปยงั ทายาทโดยธรรมได
(๔) ตอ งปฏิบตั ิตามระเบยี บ กฎหมายตา ง ๆ ของหนว ยงานทีอ่ นุญาตใหใ ชท ่ดี ิน รว ม ถึ งข อ ก ำห น ด

ที่ คทช. จะกำหนดข้นึ ใหมในภายหลังดวย
(๕) ใหความยนิ ยอมและอำนวยความสะดวกกบั เจาหนาทท่ี ่ีเขา ไปตรวจสอบพน้ื ท่ที ่จี ดั ท่ดี ิน
(๖) หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนด หรือผูท่ีไดรับการจัดท่ีดินไมประสงคจะใชท่ีดิน

ให คทช. จังหวัด สามารถพิจารณายกเลิกการใชที่ดิน และใหผูที่ไดรับการจัดท่ีดินตองสงคืนพ้ืนที่
(๗) อนุญาตใหใชประโยชนเพ่ือการเพาะเล้ียงสัตวน้ำหรือพืชเกษตรที่มีอยูเดิม หรือปลูกปาชายเลน

ไมอ นุญาตใหใ ชเ พอ่ื วัตถปุ ระสงคอ ่ืน
(๘) การสรางท่ีอยูอาศัยตองทำเทาท่ีจำเปนแกตนเองและบุคคลในครอบครัว จะสรางท่ีอยูอาศัย

เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคอืน่ มไิ ด
(๙) การทำประโยชนของตนจะตองไมกระทบตอระบบนิเวศใกลเ คียง และไมก อ ใหเกดิ มลพษิ ตอสิง่ แวดลอม
(๑๐) ผูท่ีไดรับการจัดที่ดินตองใหความรวมมือในการปลูกและบำรุงรักษาปาชายเลนในพื้นท่ีตามท่ี

ทางราชการเห็นสมควร ตลอดทงั้ ตองชวยดแู ลปา ชายเลนที่อยใู กลเคียงมใิ หถกู บุกรุกเพิ่มเติม
(๑๑) การไมปฏิบัติตามเง่ือนไขหรือกระทำผิดเงื่อนไข มีผลทำใหสิทธิในการใชท่ีดินตามโครงการฯ

สน้ิ สดุ ลงทนั ที

พ้นื ทพปี่ ื้นา่ ชทาี่ปยา เชลานยเลน 1196



พืน้ ที่เขตปฏริ ปู ท่ีดนิ ของ ส.ป.ก. 21



กระบวนการการจัดทีด่ นิ ทากนิ ให้ชมุ ชน
ตามนโยบายรฐั บาล

พน้ื ที่เขตปฏิรปู ทีด่ นิ ของ ส.ป.ก.



พื้นพทน้ืีเ่ ขทตเ่ี ปขตฏปิรปูฏิรทูปี่ดทิน่ีดขินอขงอสง.ปส..ปก..ก. 2183

กระบวนการจัดที่ดินทำกินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) ในพ้ืนท่ีเขตปฏิรูปท่ีดินของ ส.ป.ก.
ประกอบดว ย

๑. หลักเกณฑการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชน (การจัดระบบการใชประโยชน) เปนการนำท่ีดิน
ของรัฐที่ไมม ีการใชประโยชน (ทีว่ าง) มาบริหารจดั การ

(๑) จัดที่ดินทำกินใหชุมชนหรือกลุมบุคคลหรือสถาบันเกษตรกรในรูปสหกรณหรือกลุมเกษตรกร
ใหใ ชป ระโยชนร วมกันโดยไมใหเปนกรรมสิทธิ์เฉพาะรายตามสภาพพ้ืนที่ และตามเขตการปกครอง

(๒) การจัดทำแผนผังแปลงท่ีดินตามสัดสวนท่ีเหมาะสมกับสภาพการทำประโยชน (Zoning)
และความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ี

(๓) กำหนดจัดทำสาธารณูปโภคอยางเหมาะสมกับพื้นที่ และความสะดวกในการใชประโยชน
และความเปน อยู

(๔) หลักเกณฑวิธีการและเง่ือนไขในการจัดท่ีดินและการใชประโยชนในที่ดินใหเปนไปตามกฎหมาย
และขอกำหนดของหนวยงานเจาของพ้ืนท่ซี ึง่ ไดผา นความเห็นชอบของ คทช. แลว

(๕) จัดท่ีดินใหผูที่ถูกผลักดันและอพยพออกจากพื้นที่ปาตนน้ำและปาอนุรักษที่สำคัญเปนลำดับแรก
ผูท่ีไดรับผลกระทบจากการดำเนินการตามโครงการของทางราชการท่ีสูญเสียที่ดินทำกิน
และผูไมมีท่ีดินทำกิน หรือมีเพียงเล็กนอยไมเพียงพอตอการครองชีพที่มีถิ่นท่ีอยูในทองที่
ท่ีจะจัดที่ดิน โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ ตามลำดับ หากมีพื้นที่เหลือจึงจะจัดใหผูที่มี
ถ่ินที่อยูในทองท่ีใกลเคียงอื่นตอไป ทั้งนี้ กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด
พิจารณาเห็นเปนความจำเปนเพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย
สามารถกำหนดการคดั กรองและจัดลำดับท่เี หมาะสมของชมุ ชนทองถน่ิ ตามทเ่ี ห็นควรได

(๖) ใหผูท่ีไดรับอนุญาต (หนวยงาน หรือชุมชน หรือสถาบันเกษตรกร หรืออ่ืน ๆ ท่ีกฎหมาย
ของหนวยงานกำหนด) ใหใชประโยชนในท่ีดินนำที่ดินดังกลาวไปดำเนินการจัดท่ีดินทำกิน
ใหสมาชิกในชุมชนตามนโยบายรัฐบาล โดยรวมกับ คทช. จังหวัด หนวยงานเจาของพ้ืนท่ี
และองคกรหรือคณะกรรมการตามท่ีกฎหมายของหนวยงานนั้นกำหนด เพ่ือดำเนินการ
จัดที่ดินใหแกผูท่ีมีคุณสมบัติตามกฎหมายของหนวยงานนั้นกำหนด และเปนไปตามหลักเกณฑ
ท่ี คทช. เห็นชอบ

๒. ประเภทของผูที่จะไดร ับการจดั ท่ดี นิ

(๑) ผูที่ถูกผลกั ดนั และอพยพออกจากพืน้ ท่ปี า ตนนำ้ และปาอนรุ กั ษทส่ี ำคญั
(๒) ผูทไี่ ดร ับผลกระทบจากการดำเนนิ การตามโครงการของทางราชการทสี่ ูญเสียท่ดี ินทำกิน
(๓) เกษตรกรผูไรท่ีดินทำกินท่ีขอรับการจัดท่ีดินท่ีมีถิ่นท่ีอยูในทองท่ีท่ีจะจัดที่ดิน และไดข้ึนทะเบียน

กบั ส.ป.ก. หรอื หนวยงานอ่ืน ๆ

24 พนื้ ทีเ่ ขตปฏริ ูปทีด่ ินของ ส.ป.ก. พนื้ ท่เี ขตปฏริ ปู ทดี่ นิ ของ ส.ป.ก. 19

(๔) กลุมเกษตรกรรุนใหมท่ีผานการฝกอบรมจาก ส.ป.ก. โดยกำหนดที่จะจัดที่ดินใหเนื้อที่
ไมเกินรอยละ ๕ ของจำนวนแปลงที่ดินท่ีจะจัดสรรท้ังหมด และขนาดเน้ือที่ท่ีจะจัดสรรใหแก
เกษตรกรรุนใหมแตละราย ไมเกินกึ่งหนึ่งของเนื้อที่จัดสรรใหแกราษฎรทั่วไปในพ้ืนที่นั้น
โดยใหคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) สามารถพิจารณาไดตามความเหมาะสม

๓. คณุ สมบตั ิของผทู ไ่ี ดร บั การจัดที่ดนิ

(๑) บุคคลสญั ชาติไทย

(๒) เปนผยู ากไรไมม ีที่ทำกิน และ/หรอื ที่อยูอาศัย
(๓) บรรลนุ ิติภาวะแลว หรอื เปน หัวหนา ครอบครวั
(๔) มคี วามสามารถทำประโยชนใ นทด่ี ินได
(๕) ไมเ ปนคนวิกลจรติ หรือจติ ฟนเฟอ นไมสมประกอบ

(๖) ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับ ขอกำหนดและเง่ือนไขท่ีกำหนด ท้ังจาก คทช.
และหนว ยงานเจาของพืน้ ที่

(๗) ปจจบุ ันไมไ ดรบั การชวยเหลอื ในการจดั ทีด่ นิ ทำกนิ จากทางราชการ
(๘) กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดพิจารณาเห็นเปนความจำเปนเพ่ือประโยชน

ในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพ้ืนที่สภาพการใชประโยชน
ทำประโยชน คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผอนผันการปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑเ ปน การเฉพาะรายก็ได
(๙) มีคณุ สมบตั ติ ามกฎหมายของหนว ยงานเจาของพน้ื ที่กำหนด

๔. แนวทางการดำเนินการ

(๑) คณะอนุกรรมการจัดทีด่ ินสงมอบพ้ืนท่ี (เน้ือท่ี และรูปแปลงที่ดิน) ใหแ ก คทช. จังหวดั ดำเนนิ การ
(๒) คทช. จังหวัด รวมกับหนวยงานเจาของพื้นที่และหนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของในระดับจังหวัด

กำหนดวางผังแปลงที่ดินใหมีขนาดท่ีเหมาะสมกับสภาพการทำประโยชน (Zoning) และพ้ืนที่
สาธารณประโยชนใ นดา นตา ง ๆ ท่ใี ชร ว มกนั

(๓) คทช. จังหวัด รวมกับหนวยงานเจา ของพ้ืนท่ีและหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของประกาศรับผูมีความจำเปน
ทเ่ี ดือดรอ น คดั กรองจดั ลำดบั และจดั ทำบัญชีรายช่ือผูทีส่ มควรจะไดรับการจดั ท่ดี ิน

(๔) คทช. จังหวัด หรือรวมกับหนวยงานเจาของพ้ืนที่และหนวยงานอื่น ๆ ที่เก่ียวของ หรือองคกร
หรือคณะกรรมการตามท่ีกฎหมายของหนวยงานนั้น กำหนดพิจารณาคัดเลือกผูท่ีสมควรจะไดรับ
การจัดทดี่ นิ ตามการคัดกรองจัดลำดับตาม (๓)

พ้นื พทื้นีเ่ ขทตี่เขปตฏปิรฏปู ิรทปู ่ีดทินี่ดขนิ อขงอสง.สป..ปก..ก. 2205

(๕) ใหผูที่ผานการพิจารณาตาม (๔) จัดตั้งสถาบันเกษตรกรในรูปสหกรณหรือกลุมเกษตรกร
โดยตอ งมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ นำทดี่ นิ ทไ่ี ดมาไปบรหิ ารจัดการ ใหสมาชิกใชประโยชนตามกฎหมาย
ของหนว ยงานนนั้ กำหนดดว ย

(๖) ใหอ งคกรหรอื คณะกรรมการตามท่ีกฎหมายของหนวยงานน้ัน กำหนดพิจารณาอนญุ าตใหสถาบัน
เกษตรกรเขา ทำประโยชนใ นทีด่ ินตามเงือ่ นไขท่กี ฎหมายของหนวยงานนั้นกำหนด

(๗) คทช. จังหวัด บูรณาการระหวางหนวยงานที่เก่ียวของในการพัฒนาพื้นที่และอาชีพของสมาชิก
สถาบันเกษตรกรหรือผูท่ีไดรับการจัดท่ีดิน สำหรับการพัฒนาพื้นที่ดานโครงสรางพื้นฐาน
และกิจการสาธารณประโยชนตามแผนผังท่ีกำหนดใน (๒) ใหหนวยงานท่ีดำเนินการบูรณาการ
พฒั นาขอใชท ่ีดินเพอ่ื ดำเนินงานไดจ ากหนว ยงานเจาของพื้นท่ี

๕. การอนุญาตใหส ถาบันเกษตรกรเขา ทำประโยชนใ นที่ดนิ

(๑) ระเบยี บ/กฎหมายที่ใช
๑) พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๑๙ และ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒
๒) ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข
ในการคัดเลือกเกษตรกร ซ่ึงจะมีสิทธิไดรับที่ดินจากการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม
พ.ศ. ๒๕๓๕ แกไ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘
๓) ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม วาดวยการใหเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร
ผูไดรับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม ปฏิบัติเก่ียวกับการเขาทำประโยชนในที่ดิน
พ.ศ. ๒๕๓๕ แกไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐
๔) พระราชกฤษฎีกา ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ มติ คปก. ท่ีเกี่ยวของ และหนังสือ
สงั่ การจาก ส.ป.ก.

(๒) ขั้นตอนการอนุญาต
๑) สถาบันเกษตรกรยื่นคำรองขอเขาทำประโยชนในที่ดินตามประกาศของคณะกรรมการ
ปฏิรูปท่ดี ินจังหวดั
๒) นำเสนอคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินจังหวัด (ผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน) เพ่ือพิจารณา
ใหความเห็นชอบ คัดเลือกและอนุญาตใหสถาบันเกษตรกรเขาทำประโยชนในเขตปฏิรูปที่ดิน
๓) นำเสนอคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พิจารณาอนุญาตใหเขาทำประโยชน
โดยทำเปน สัญญาเชา ซ่งึ อาจจะมกี ารยกเวน คาเชาไประยะหน่งึ กอ นก็ได
๔) ประกาศผลการคัดเลือกใหทราบโดยท่วั กนั และใหย นื่ คำคดั คาน
๕) จัดทำสัญญาเชา และมอบทดี่ ินใหส ถาบันเกษตรกร

26 พน้ื ที่เขตปฏิรปู ที่ดนิ ของ ส.ป.ก. พน้ื ที่เขตปฏริ ปู ทด่ี นิ ของ ส.ป.ก. 21

(๓) เงอ่ื นไขการอนญุ าตและสถาบันเกษตรกรตองใหส มาชิกถือปฏิบัติ
๑) ทำประโยชนในที่ดินดวยตนเองเต็มความสามารถ และไมนำท่ีดินน้ันท้ังหมดหรือบางสวน
ไปใหบุคคลอื่นไมวาจะโดยการขาย ใหเชา หรือเขาทำประโยชนหรือโดยพฤติกรรมใด ๆ
ที่แสดงใหเหน็ ในลกั ษณะนั้น
๒) ทำสัญญาเชาท่ีดินกับสถาบันเกษตรกรหรือตามขอตกลงอื่นท่ีกำหนด และตองปฏิบัติ
ตามสญั ญาดังกลา ว
๓) ไมเปลี่ยนแปลงสภาพท่ีดินจนเปนเหตุใหท่ีดินเส่ือมสภาพความเหมาะสมแกการประกอบ
เกษตรกรรม
๔) ไมข ดุ บอ เพ่อื การเกษตรกรรมเกินรอยละหาของเน้ือที่ท่ีไดรับมอบ
๕) ไมปลูกสรางสิ่งกอสรางใด ๆ เวนแตการปลูกสรางตามสมควรสำหรับโรงเรือน ท่ีอยูอาศัย ยุงฉาง
หรือส่ิงกอสรางอ่ืน ๆ ที่ใชประโยชนเพื่อการเกษตรของเกษตรกรที่เปนสมาชิกหรือสถาบัน
เกษตรกรน้ัน
๖) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตท่ีดินในที่ดินที่ไดรับมอบมิใหเกิดชำรุดเสียหาย
เคลื่อนยา ยไปจากตำแหนง เดิม

(๔) คาตอบแทน/คาธรรมเนียม/คาเชา คาเชาที่ดินตามท่ีกำหนด ซ่ึงคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดิน
เพอื่ เกษตรกรรมอาจจะมีการยกเวน คา เชาไประยะหนง่ึ กอ นก็ได

๖. ขอกำหนด

(๑) สมาชิกสถาบันเกษตรกรตองทำประโยชนและ/หรืออยูอาศัย ดวยตนเองหรือใหบุคคล
ในครอบครัวภายในขอบเขตพ้ืนทีท่ ่ไี ดรับการจดั ทด่ี ินเทานัน้ หา มขยายพ้ืนท่ี

(๒) หา มซ้ือขาย แลกเปลี่ยน ให ใหเ ชา ใหเชาซ้อื ใหย ืม โอนสทิ ธิการเชา หรือโอนสิทธกิ ารครอบครอง
ใหบคุ คลอื่นเวน แตเ ปน ไปตามระเบียบ กฎหมายของหนว ยงานท่อี นญุ าตใหใ ชทด่ี ิน

(๓) สามารถตกทอดไปยงั ทายาทโดยธรรมของสมาชกิ สถาบันเกษตรกรได
(๔) ตองปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายตาง ๆ ของหนวยงานท่ีอนุญาตใหใชท่ีดิน รวมถึงขอกำหนด

ที่ คทช. จะกำหนดข้นึ ใหมใ นภายหลังดว ย

(๕) ใหค วามยินยอมและอำนวยความสะดวกกบั เจาหนา ที่ท่เี ขาไปตรวจสอบพนื้ ทีท่ ่ีจัดที่ดนิ
(๖) หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนด หรือผูที่ไดรับการจัดที่ดินไมประสงคจะใชท่ีดิน

ให คทช. จังหวัด สามารถพิจารณายกเลิกการใชท่ีดิน และใหผูที่ไดรับการจัดท่ีดินตองสงคืนพื้นที่

พพนื้ ืน้ ทที่เขเี่ ขตตปปฏฏริ ริูปูปทท่ดี ี่ดนิ ินขขอองงสส.ป.ป.ก..ก. 2227

(๗) สมาชิกสถาบันเกษตรกรตองใชเวลาสวนใหญประกอบอาชีพในบริเวณพื้นท่ีท่ีจัดให ตลอดจน
เอาใจใสพัฒนาปรับปรุงฟนฟูบำรุงดิน เพื่อใหเหมาะแกการเกษตรและรักษาสภาพแวดลอม
ระบบนิเวศไวอยางย่ังยืน รวมทั้งตองปลูกไมยืนตน หรือไมผลไมนอยกวารอยละ ๒๐ ของเนื้อที่
ทไ่ี ดร ับ

(๘) สมาชิกสถาบันเกษตรกรตองใชพ้ืนที่ดำเนินการผลิตใหเปนไปตามแนวทาง/สอดคลองกับแนวทาง
ของกลุมหรือสถาบันเกษตรกรท่ีเปนสมาชิกตามหลักเกณฑการจัดท่ีดิน ท้ังน้ี เพื่อผลประโยชน
ของสมาชิกในการที่จะไดรับการสงเสริมดานวิชาการผลิต การหาตลาด โดยเฉพาะอำนาจตอรอง
ในการจำหนายผลผลติ อยางครบวงจร

28 พนื้ ทเ่ี ขตปฏริ ปู ทดี่ นิ ของ ส.ป.ก. พืน้ ทเ่ี ขตปฏิรปู ทด่ี นิ ของ ส.ป.ก. 23



กระบวนการการจดั ทดี่ นิ ทากนิ ใหช้ ุมชน
ตามนโยบายรัฐบาล

พน้ื ท่ีนคิ มสรา้ งตนเอง



พนื้ พทืน้ น่ี ทิคน่ี มิคสมรสา้ รงาตงนตเนอเงอง 3251

พ้นื ท่ดี ำเนนิ การ

พื้นท่ีนิคมที่สงวนเพื่อกิจการนิคม (ราษฎรที่ใชประโยชนใ นพ้ืนที่เดิม) ซึ่งผานข้ันตอนการดำเนินงาน
ของคณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดิน และคณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินไดใหความเห็นชอบใหนำไปดำเนินการ
จัดทด่ี ินทำกนิ ใหช มุ ชนตามนโยบายรฐั บาลในลกั ษณะแปลงรวม และรายงานใหค ณะกรรมการนโยบายท่ีดิน
แหงชาติ (คทช.) ทราบ

๑. หลักเกณฑการจัดท่ีดินทำกินใหชุมชน การจัดระเบียบการใชประโยชน โดยการนำที่ดิน
ในเขตพื้นทน่ี คิ มสรางตนเอง ทม่ี ีผูเขาใชป ระโยชนเดิมมาจดั ระเบียบการใชประโยชน

(๑) จัดท่ีดินทำกินใหชุมชนรูปแปลงรวม โดยไมใหเปนกรรมสิทธิ์ตามสภาพพื้นที่และตามเขต
การปกครอง

(๒) การใชประโยชนในที่ดินใหเปนไปตามกฎหมาย ขอกำหนด และเงื่อนไขของหนวยงานเจาของ
พน้ื ที่ซ่งึ ไดผานความเห็นชอบของ คทช. แลว

(๓) จัดท่ีดินใหแกผูใชประโยชน หรือผูที่อาศัยอยูในพื้นที่อยูแลวตามท่ีครอบครองอยูจริง
ตามความเหมาะสม หากมีพื้นที่เหลือหรือพื้นท่ีที่ไมมีผูใชประโยชน จึงจะจัดใหผูที่ถูกผลักดัน
หรืออพยพออกจากพื้นที่ปาหรือผูท่ีมีถิ่นฐานอยูในทองท่ีหรือใกลเคียงกับพื้นท่ีท่ีจัดระเบียบ น้ัน
คัดเลือกจากผูที่มาข้ึนทะเบียนไวกับจังหวัดเทานั้น) โดยพิจารณาจาก หมูบาน ตำบล อำเภอ
จังหวัด ตามลำดับ ตามเกณฑการตรวจสอบขอมูลการถือครองและแนวทางการจัดที่ดิน ที่ คทช.
เหน็ ชอบ ท้งั น้ี เพอ่ื เปน การควบคมุ และรวมกันดูแลรกั ษาพ้นื ทส่ี งวนเพือ่ กจิ การนิคม

๒. ประเภทของผทู ี่ไดรบั การจดั ทด่ี นิ

(๑) ผใู ชป ระโยชนห รอื อยูอาศยั ในพื้นท่ีอยแู ลว ซงึ่ ไดทำสัญญาอนุญาตใหใชทด่ี นิ ในนคิ มน้นั ๆ
(๒) ผทู ีถ่ กู ผลักดนั และอพยพออกจากพน้ื ทป่ี า
(๓) ผูท่ไี ดร บั ผลกระทบจากการดำเนนิ การตามโครงการของทางราชการที่สูญเสียทดี่ นิ ทำกิน
(๔) ผูท่ีไมมีท่ีดินทำกินหรือมีเพียงเล็กนอยไมพอตอการครองชีพ ที่มีถิ่นอยูในทองท่ีที่จะจัดท่ีดิน

โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ หากมีพื้นที่เหลือจึงจะจัดใหผูท่ีมีถิ่นท่ีอยูใน
ทอ งทีใ่ กลเคียงอืน่ ตอ ไป

32 พ้ืนท่นี ิคมสร้างตนเอง พืน้ ทีน่ คิ มสรางตนเอง 26

๓. คุณสมบัตขิ องผทู ่ีไดรบั การจดั ทดี่ ิน

(๑) บุคคลสญั ชาตไิ ทย
(๒) เปนผูย ากไรไมมที ี่ทำกิน และ/หรอื ที่อยอู าศัย หรือมรี ายไดต อปไมเกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/คน

(๓) บรรลุนติ ภิ าวะแลว หรือเปนหวั หนาครอบครวั
(๔) มีถน่ิ ทีอ่ ยใู นทอ งที่ท่จี ะจดั ทีด่ ินหรอื ใกลเคยี ง

(๕) มคี วามสามารถทำประโยชนใ นท่ดี นิ ได

(๖) ไมเ ปนคนวิกลจรติ หรือจิตฟน เฟอนไมส มประกอบ
(๗) ยนิ ยอมปฏิบัตติ ามระเบยี บ ขอ บังคบั ขอ กำหนด และเงื่อนไข ท่ีกำหนด
(๘) กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณาเห็นเปนความจำเปน เพ่ือประโยชนใน

ทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพ้ืนที่สภาพการใชประโยชน
ทำประโยชน คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผอนผันการปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑเ ปน การเฉพาะรายก็ได
(๙) คุณสมบัติตามกฎหมายของหนวยงานเจาของพื้นที่กำหนด เชน กรณีการจัดระเบียบการใชประโยชน
ผูไดร ับการจดั สรร ตอ งเปนผูอยูใ นที่นคิ มสรางตนเอง เปน ตน

๔. แนวทางการดำเนินการการจัดทด่ี นิ ทำกนิ ใหช ุมชนโดยการจัดระเบียบการใชประโยชน

(๑) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ รังวัดแปลงที่ดินและจัดทำบัญชีรายช่ือผูครอบครองใชประโยชน
ในท่ีดินสงวนเพื่อกิจการนิคมสงใหคณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดิน พิจารณาใหความเห็นชอบ
กำหนดเปนพนื้ ท่ีเปาหมายดำเนนิ การจัดที่ดนิ

(๒) คณะอนกุ รรมการจัดหาท่ีดินสงมอบพื้นท่ีเปา หมายใหคณะอนุกรรมการจดั ท่ีดิน พิจารณาคัดเลือก
กำหนดพ้ืนที่พรอมราษฎรทค่ี รอบครองเดมิ

(๓) คณะอนุกรรมการจัดที่ดินสงมอบพื้นที่และรูปแปลงที่ดินพรอมรายชื่อผูครอบครองใชประโยชนเดิม
ให คทช. จังหวัด พิจารณาคัดเลือกคนเขา ทำประโยชน

(๔) ผูปกครองนิคมสรางตนเองรวมกันพิจารณาคัดเลือกผูเขาทำประโยชนแลว เสนอ คทช. จังหวัด

พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบ และรายงานใหค ณะอนุกรรมการจดั ท่ดี ินทราบ
(๕) ผูไดรับคัดเลือกดำเนินการรวมกลุมจดทะเบียนจัดต้ังสหกรณ หรือรูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสม

และยื่นคำขออนุญาตใชท่ีดินสงวนเพื่อกิจการนิคม พรอมจัดทำสัญญาในลักษณะแปลงรวม
เสนออธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (คิดคาบำรุงกิจการนิคม เพ่ือท่ีอยูอาศัยคิดอัตรา
ไรละไมน อ ยกวา ๑๐๐ บาท ตอป เพ่ือทำการเกษตร คดิ อัตราไรล ะไมนอยกวา ๒๐๐ บาท ตอ ป)
(๖) คทช. จังหวัด รายงานผลการจัดทด่ี นิ ใหค ณะอนกุ รรมการจดั ทดี่ นิ เพื่อรายงาน คทช. ทราบ

พนื้ ทพี่นน้ื คิ ทมนี่ สิครม้าสงรตานงเตอนงเอง 3237

๕. ขอกำหนดการใชทด่ี ินของผทู ีไ่ ดรับการจัดที่ดิน

(๑) ตองทำประโยชนและ/หรืออยูอาศัยดวยตนเอง หรือบุคคลในครอบครัวภายในขอบเขตพื้นท่ี
ท่ไี ดรับการจัดทดี่ ินเทา นนั้

(๒) หา มมิใหทำการซ้ือขายหรือโอน หรือมอบสิทธิการครอบครองใหแกบคุ คลอนื่ เวนแตเ ปนการโอนสิทธิ
ใหก บั บุตร คสู มรส หรอื บิดา มารดา ของผูรบั อนญุ าตเทานน้ั

(๓) สามารถตกทอดไปยงั ทายาทโดยธรรมได
(๔) ตองปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ รวมถึงขอกำหนดที่ คทช.

จะกำหนดข้นึ มาใหมใ นภายหลังดว ย
(๕) ใหค วามยินยอมและอำนวยความสะดวกกับเจา หนา ท่ีท่เี ขา ไปตรวจสอบพืน้ ท่ีท่จี ดั ทด่ี ิน
(๖) หากมีการฝา ฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนดในสัญญาอนญุ าตใหใชท ี่ดนิ หรอื ผูท่ไี ดรบั การจดั ทีด่ ิน

ไมประสงคจะใชท่ีดินใหผูท่ีไดรับการจัดที่ดินตองสงคืนพื้นที่ใหแกสหกรณ และแจงนิคมสรางตนเอง
ในพ้นื ท่ี
(๗) หา มบกุ รุกขยายพน้ื ทอี่ ยอู าศยั /ทำกนิ เพิ่มเตมิ
(๘) ใหทำการปลกู ตนไมในพ้นื ทท่ี ี่ไดรับการจดั ที่ดนิ ตามความเหมาะสม

34 พนื้ ทน่ี คิ มสรา้ งตนเอง พนื้ ทน่ี ิคมสรางตนเอง 28



กระบวนการการจดั ทีด่ นิ ทากนิ ให้ชมุ ชน
ตามนโยบายรฐั บาล

ที่ดินสาธารณประโยชน์



ท่ดี ินทสีด่ าินธสาารธณารปณระปโรยะชโยนช์ น 3370

ในการดำเนนิ การจดั ท่ดี ินทำกินและทีอ่ ยูอาศยั ใหช มุ ชน

ในที่ดินสาธารณ ประโยชนตามนโยบายของรัฐบาลภ ายใต คทช. นั้น เปนการนำที่ดิน
สาธารณประโยชนท่ีประชาชนเลิกใชประโยชนรวมกันแลว มาจัดระเบียบการถือครองใหแกราษฎร
เปนแปลงรวม โดยการออกหนังสืออนุญาตใหแกชุมชนที่มีฐานะเปนนิติบุคคลในรูปสหกรณหรือรูปแบบอื่นท่ี
เหมาะสม ตามสภาพพื้นท่ีเพื่อเขาใชประโยชนในท่ีดินของรัฐ ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๙
และระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการอนุญาตใหประชาชนใชประโยชนในที่ดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๗
สวนคุณสมบัติขอกำหนดและเงื่อนไข ในการใชประโยชนในที่ดินของผูไดรับการจัดใหเปนไปตามท่ี
คทช. กำหนด โดยมีแนวทางในการดำเนินการ ดงั น้ี

(๑) กรมทีด่ นิ จดั สงขอ มลู แปลงทดี่ นิ และรายช่ือผูครอบครองท่ีดนิ ใหแกคณะอนุกรรมการจดั หาท่ดี นิ
(๒) คณ ะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินสงมอบขอมูลแปลงท่ีดินและรายช่ือผูครอบครองที่ดิน

ใหค ณะอนุกรรมการจัดทีด่ ิน
(๓) คณะอนุกรรมการจัดท่ีดินสงมอบขอมูลแปลงที่ดินและรายชื่อผูครอบครองใหคณะอนุกรรมการ

นโยบายท่ีดิน (คทช. จังหวัด) ดำเนนิ การ
(๔) คณะอนกุ รรมการนโยบายทีด่ นิ จงั หวัด (คทช. จังหวัด) สงมอบขอมลู แปลงท่ีดินและรายชือ่ ผคู รอบครอง

ใหคณะกรรมการพิจารณาเพ่ืออนุญาตใหประชาชนใชประโยชนในที่ดินของรัฐ ตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยวาดวยการอนุญาตใหประชาชนใชประโยชนในที่ดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๗
ตรวจสอบคณุ สมบัตขิ องบคุ คลตามทคี่ ณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหงชาติ (คทช.) กำหนด
(๕) คณะกรรมการพิจารณาเพ่อื อนุญาตใหประชาชนใชป ระโยชนในที่ดินของรัฐ สงผลขอมลู แปลงที่ดิน
และรายชื่อผูครอบครองที่ไดรับการพิจารณาคัดเลือกแลว ใหคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด
(คทช. จังหวดั )
(๖) ผูทผี่ า นการพิจารณาตามขอ (๕) ขอจัดต้ังเปนนติ ิบุคคลในรปู สหกรณ หรอื รปู แบบอื่นท่ีเหมาะสม
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนำท่ีดินท่ีไดมาบริหารจัดการใหแกสมาชิกใชประโยชน ตามกฎหมาย
และระเบียบ
(๗) คณะอนกุ รรมการนโยบายท่ีดนิ จงั หวัด (คทช. จังหวัด) มอบขอมลู แปลงทด่ี ินและรายช่ือผูครอบครอง
ใหสำนักงานที่ดินจังหวัด เพ่ือเสนอผูวาราชการจังหวัด ออกหนังสืออนุญาตใหกับชุมชน
และใหชุมชนบรหิ ารจัดการการใชประโยชนในท่ดี ินดังกลา วใหก บั สมาชิกในชมุ ชน
(๘) คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) รายงานคณะอนุกรรมการจัดท่ีดิน
เพ่ือรายงานคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหงชาติ (คทช.) ทราบ และสงขอมูลใหหนวยงาน
เจา ของพน้ื ทีก่ ำกบั ดแู ลการใช ประโยช นใหเปน ไปตามเง่ือน ไขท่ีกำห น ด ภ ายใตกรอบ
การบรหิ ารจดั การของคณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหงชาติ (คทช.)

38 ท่ีดนิ สาธารณประโยชน์ ทด่ี นิ สาธารณประโยชน 31

๑. ประเภทของผทู ่ีไดร บั การจดั ทีด่ ิน

(๑) ผูท่ีเขาครอบครองทำประโยชนหรืออยูอาศัยในที่ดินอยูแลว โดยเปนไปตามผลการตรวจสอบขอมูล
รายช่อื บคุ คลผูเขาครอบครองและรูปแปลงท่ีดิน

(๒) ผทู ่ีถูกผลักดันและอพยพออกจากพื้นท่ีปาตนน้ำ ปาอนุรักษ หรือพื้นที่ท่ีทางราชการกำหนดใหเปน
ที่สงวนหวงหามตลอดไป โดยพิจารณาจากบุคคลที่มีถิ่นที่อยูในทองที่ที่จะจัดที่ดินหรือใกลเคียง
ในหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ ตามเกณฑการตรวจสอบขอมูลการถือครอง และแนวทาง
การจดั ทีด่ นิ ท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ดี นิ แหงชาติ (คทช.) เห็นชอบ

๒. คุณสมบตั ขิ องผูทีไ่ ดร ับการจดั ท่ดี นิ

(๑) บุคคลสัญชาตไิ ทย
(๒) เปนผูยากไรไ มม ที ่ที ำกนิ และ/หรอื ท่อี ยอู าศยั หรือมรี ายได ตอปไมเ กิน ๓๐,๐๐๐ บาท/คน
(๓) บรรลนุ ติ ิภาวะแลว หรือเปนหัวหนา ครอบครัว
(๔) มีถิ่นทอ่ี ยูในทอ งที่ทจี่ ะจดั ทดี่ ินหรือใกลเ คยี ง
(๕) มีความสามารถทำประโยชนใ นท่ีดนิ ได
(๖) ไมเปน คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ
(๗) ยินยอมปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ ขอบังคับ ขอกำหนด และเงื่อนไขท่ีกำหนด
(๘) ปจ จบุ ันไมไดร ับการชว ยเหลอื ในการจัดที่ดินจากทางราชการ
(๙) กรณีท่ีคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดพิจารณาถึงความจำเปน เพ่ือประโยชน

ในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพื้นท่ีสภาพการใชประโยชน
ทำประโยชน คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผอนผันการปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑเ ปนการเฉพาะรายก็ได

๓. หลักเกณฑการจัดระเบียบท่ีดินสาธารณประโยชนใหชุมชนทำกินหรืออยูอาศัย
ตามนโยบายของรัฐบาล และคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ (คทช.) โดยการนำ
ท่ีสาธารณประโยชนท่ีประชาชนเลิกใชประโยชนรวมกันแลวมาจัดระเบียบการถือครอง
ใหแกราษฎร ดังนี้

(๑) จัดที่ดินทำกินหรืออยูอาศัยใหชุมชนที่มีฐานะเปนนิติบุคคล ในรูปแบบสหกรณหรือรูปแบบอื่น
ท่ีเหมาะสมตามสภาพพนื้ ท่ี

(๒) การใชประโยชนในที่ดินใหเปนไปตามขอกำหนดและเงอื่ นไขของหนวยงานเจาของพื้นท่ี ซ่ึงไดผาน

ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แหงชาติ (คทช.) แลว

ท่ีดทินดี่สินาธสาารธณารปณรปะรโยะโชยนช์ น 3329

(๓) จัดท่ีดินใหแกผูเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยในพ้ืนท่ีอยูแลว ตามท่ีครอบครองอยูจริง
เปน ลำดับแรก หากมีพ้ืนที่เหลอื จากการจัดท่ีดินใหค งไวเปน พ้ืนท่สี วนกลางเพ่ือใชป ระโยชนร วมกัน
สำหรับพื้นท่ีที่มีผูครอบครองแตไมอยูในหลักเกณฑ หรือคุณสมบัติ หรือเงื่อนไขที่กำหนด
ไวใหพิจารณาจัดใหแกผูท่ีถูกผลักดันและอพยพออกจากพื้นท่ีปาตนน้ำและปาอนุรักษ หรือพื้นที่
ท่ีทางราชการกำหนดใหเปนที่สงวนหวงหามตลอดไป โดยพิจารณาจากบุคคลท่ีมีถิ่นที่อยูในทองท่ี
ท่ีจะจัดที่ดินหรือใกลเคียงในหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ ตามเกณฑการตรวจสอบขอมูล
การถือครองและแนวทางการจัดท่ีดินท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหงชาติ (คทช.) เห็นชอบ
ท้งั น้ี เพ่ือเปนการควบคุมและรวมกันดูแลท่สี าธารณประโยชน โดยจดั ใหครัวเรอื นละไมเ กนิ ๑๕ ไร

(๔) ใหชุมชนที่ไดรับอนุญาตใหใชประโยชนในท่ีดินนำที่ดินดังกลาว ไปดำเนินการจัดใหแกสมาชิก
ในชุมชนตามนโยบายรัฐบาล โดยรวมกับคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัด (คทช. จังหวัด)
หนว ยงานผมู ีหนาท่ดี แู ลรักษาตามกฎหมาย และระเบียบของหนว ยงานนนั้

๔. ขอ กำหนดการใชท่ีดนิ ของผูท่ีไดรบั การจดั ท่ีดนิ

(๑) ตองทำประโยชนและ/หรืออยูอาศัย ดวยตนเองหรือใหบุคคลในครอบครัว ภายในเขตพื้นท่ี
ที่ตนไดร บั การจดั ทด่ี นิ เทานัน้ หามขยายพน้ื ที่

(๒) หา มซือ้ ขาย แลกเปลี่ยน ให ใหเ ชา ใหเชาซ้อื ใหยืม หรอื โอนสทิ ธิการเชา หรอื โอนสทิ ธิครอบครอง
ใหบ ุคคลอน่ื เวน แตเปนไปตามระเบยี บ กฎหมาย ของหนวยงานทีอ่ นุญาตใหใชทด่ี นิ

(๓) สามารถตกทอดแกท ายาทโดยธรรมได
(๔) ตองปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายตาง ๆ ของหนวยงาน ท่ีอนุญาตใหใชท่ีดิน รวมถึงขอกำหนด

ที่คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ แหงชาติ (คทช.) จะกำหนดข้ึนใหมในภายหลงั ดว ย
(๕) ใหความยนิ ยอมหรอื อำนวยความสะดวกกับเจาหนาที่ท่ีเขา ไปตรวจสอบพนื้ ท่ีทจ่ี ดั ที่ดิน
(๖) หากมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนด หรือผูที่ไดรับการจัดท่ีดินไมประสงคจะใชท่ีดิน

ใหคณะกรรมการพิจารณาเพ่ืออนุญาตใหประชาชนใชประโยชนในท่ีดินของรัฐสามารถพิจารณา
ยกเลกิ การใชทด่ี ิน และใหผทู ี่ไดร บั การจัดทด่ี นิ ตอ งสง คนื พืน้ ท่ี
(๗) ตองระมัดระวังไมใหการทำประโยชนข องตนกระทบกระเทือนหรือรบกวนบุคคลอืน่ หรือกอ ใหเกิด
ความเสียหายตอทรัพยสนิ ของทางราชการและของเอกชน หากผูรับอนุญาตพบแรทรัพยากรปาไม
วตั ถโุ บราณ หรอื ทรัพยากรอนั ควรอนรุ ักษ เปนตน ใหหยุดการทำประโยชนไวและแจงใหพนักงาน
เจา หนาที่ทราบโดยดวน
(๘) ในกรณีที่มีความจำเปนเพ่ือประโยชนสาธารณะ หรือเพื่อประโยชนของทางราชการ และทางราชการ
จะตอ งเรยี กพืน้ ทท่ี ีไ่ ดรบั การจัดท่ีดินคืน ผูที่ไดรบั การจดั ที่ดินตอ งสงคืนพ้ืนท่ที ันที
(๙) สมาชกิ ตอ งปฏบิ ัตติ ามขอ บงั คบั ของสหกรณหรือนิติบุคคล รปู แบบอื่น

40 ทดี่ นิ สาธารณประโยชน์ ทด่ี ินสาธารณประโยชน 33



กระบวนการการจดั ท่ีดินทากนิ ให้ชุมชน
ตามนโยบายรฐั บาล

ที่ดินท่รี าชพสั ดุ



พ้นื พทืน้ ีท่ ท่ดี ท่ี นิ ดี่ รินารชาพชัสพดสั ุ ดุ 4353

๑. หลกั เกณฑก ารจัดทด่ี นิ ทำกินใหช มุ ชน

มี ๒ รปู แบบ ดังนี้
๑.๑ การจัดที่ดินทำกินใหชุมชน โดยการจัดระบบการใชประโยชน นำท่ีดินราชพัสดุที่ไมมีการ

ใชประโยชน (ทีว่ า ง) มาจัดระบบใชประโยชน
(๑.๑.๑) จัดท่ีดินทำกินใหชุมชนหรือกลุมบุคคล โดยไมใหเปนกรรมสิทธิ์ เฉพาะรายตามสภาพ

พ้นื ท่ีและตามเขตการปกครอง
(๑.๑.๒) จัดทำแผนผังแปลงที่ดินตามสัดสวนที่เหมาะสมกับสภาพการใชประโยชน และความเหมาะสม

ของสภาพพนื้ ที่
(๑.๑.๓) จัดทำสาธารณูปโภคอยา งเหมาะสมกับพน้ื ท่แี ละความสะดวกในการใชประโยชน
(๑.๑.๔) หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดท่ีดินราชพัสดุ และการใชประโยชน

ท่ีดินราชพัสดุใหเปนไปตามกฎหมายท่ีราชพัสดุซึ่งไดผานความเห็นชอบของ คทช. แลว
(๑.๑.๕) จัดที่ดินราชพัสดุใหผูที่ถูกผลักดัน และอพยพออกจากพ้ืนที่ปาตนน้ำ และปาอนุรักษ

ที่สำคัญเปนลำดับแรกในเง่ือนไข จะไดรับการจัดท่ีดินตามกฎหมายท่ีราชพัสดุ ผูท่ีไดรับ
ผลกระทบจากการดำเนินการตามโครงการของทางราชการที่สูญเสียท่ีดินทำกิน
และผูท่ีไมมีที่ดินทำกินหรือมีเพียงเล็กนอยไมเพียงพอตอการครองชีพท่ีมีถิ่นท่ีอยู
ในทองทีท่ ี่จะจดั ที่ดิน โดยพจิ ารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ ตามลำดับ หากมีพื้นท่ี
เหลือจงึ จะจัดใหผ ูท่ีมีถน่ิ ท่ีอยใู นทองท่ีใกลเ คียงอ่ืนตอไป ท้ั งนี้ กรณี ที่คณะอนุ กรรมการ
นโยบายท่ดี ินจังหวัด พิจารณาเห็นเปนความจำเปนเพ่ือประโยชนในทางเศรษฐกิจ สังคม
และความส งบ เรียบรอย สามารถกำหนดการคั ดกรองและจั ดลำดั บท่ี เห ม าะส ม
ของชมุ ชนทอ งถ่ินตามที่เหน็ สมควรได

๑.๒ การจัดท่ีดินทำกินใหชุมชน โดยการจัดระเบียบการใชประโยชน เปนการนำที่ดินราชพัสดุที่มี
ผใู ชประโยชนม าจัดระเบียบการใชประโยชน
(๑.๒.๑) จัดทด่ี นิ ทำกินใหชมุ ชนในรูปแปลงรวมตามสภาพพ้ืนที่ และตามเขตการปกครอง
(๑.๒.๒) การใชประโยชนในท่ีดินใหเปนไปตามกฎหมาย ขอกำหนด และเงื่อนไขของหนวยงาน
เจาของพืน้ ที่ ซึง่ ไดผา นความเหน็ ชอบของ คทช. แลว
(๑.๒.๓) จัดท่ีดินใหแกผูเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยในพื้นท่ีอยูแลวตามท่ีครอบครองอยูจริง
ตามความเหมาะสม หากมีพ้ืนท่ีเหลือหรือพ้ืนท่ีท่ีไมมีผูทำประโยชนจึงจะจัดใหผูที่
ถูกผลักดันและอพยพออกจากพื้นท่ีปา และผูมีถ่ินที่อยูในทองท่ีที่จะจัดที่ดิน
หรือใกลเคียง โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ ตามเกณฑ
การตรวจสอบขอมูลการถือครองและแนวทางการจัดที่ดินท่ี คทช. เห็นชอบ ทั้งนี้
เพ่ือเปนการควบคมุ และรว มกันดแู ลรักษาพนื้ ทท่ี ีร่ าชพัสดุ

44 พ้ืนทที่ ่ีดินราชพัสดุ พื้นที่ทด่ี นิ ราชพัสดุ 36

๒. ประเภทของผูท่ีไดรบั การจดั ท่ีดนิ

(๑) ผทู ถี่ ูกผลกั ดันและอพยพออกจากพนื้ ทปี่ าตนน้ำและปา อนรุ ักษที่สำคัญ
(๒) ผบู ุกรุกทด่ี นิ ราชพสั ดุ ซึง่ อยูในเงอ่ื นไขจะไดร ับการจัดที่ดนิ ตามกฎหมายทร่ี าชพสั ดุ
(๓) ผทู ี่ไดรับผลกระทบจากการดำเนินการตามโครงการของทางราชการทีส่ ญู เสยี ท่ีดนิ ทำกิน
(๔) ผูท่ีไมมีท่ีดินทำกินหรือมีเพียงเล็กนอยไมพอตอการครองชีพที่มีถิ่นท่ีอยูในทองที่ที่จะจัดท่ีดิน

โดยพิจารณาจากหมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ หากมีพ้ืนท่ีเหลือจึงจะจัดใหผูท่ีมีถ่ิน
ที่อยใู นทอ งท่ีใกลเคยี งอืน่ ตอไป

๓. คุณสมบตั ขิ องผทู ่ไี ดรบั การจดั ท่ีดิน

(๑) บุคคลสญั ชาตไิ ทย

(๒) เปน ผยู ากไรไมม ีท่ที ำกนิ และ/หรอื ทีอ่ ยูอาศยั หรือมีรายไดตอ ปไ มเกิน ๓๐,๐๐๐ บาท/คน

(๓) บรรลนุ ิตภิ าวะแลว หรอื เปนหัวหนา ครอบครวั

(๔) มีถนิ่ ท่ีอยูในทองท่ีทจี่ ะจัดทดี่ ินหรอื ใกลเ คียง

(๕) มคี วามสามารถทำประโยชนในทดี่ นิ ได

(๖) ไมเ ปน คนวกิ ลจรติ หรอื จิตฟน เฟอนไมส มประกอบ

(๗) ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับ ขอกำหนด และเงื่อนไขที่กำหนด ทั้งจาก คทช. และกรมธนารักษ
(๘) ปจ จุบันไมไดรบั การชวยเหลอื ในการจดั ที่ดนิ ทำกินจากทางราชการ

(๙) กรณีท่ีคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณาเห็นเปนความจำเปน เพ่ือประโยชนในทาง
เศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบรอย โดยคำนึงถึงลักษณะพ้ืนที่สภาพการใชประโยชน
ทำประโยชน คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผอนผันการปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑเปนการเฉพาะรายก็ได

(๑๐) มีคุณสมบัติตามกฎหมายของหนวยงานเจาของพ้ืนท่ีกำหนด เชน กรณีการจัดระเบียบ
การใชประโยชนผูไดรับการจดั สรร ตองเปนผอู ยใู นท่ีราชพัสดุกอนวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ เปนตน

๔. แนวทางดำเนนิ การ

๔.๑ การจดั ทด่ี ินทำกนิ ใหชุมชน โดยการจัดระบบการใชประโยชน
(๔.๑.๑) กรมธนารักษคัดเลือกท่ีราชพัสดุแปลงที่เหมาะสมเสนอคณะอนุกรรมการจัดหาที่ดิน

เพื่อกำหนดเปนพน้ื ทเ่ี ปา หมาย

(๔.๑.๒) คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินใหความเห็นชอบ แลวสงใหคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน

จังหวดั (คทช. จังหวัด) พิจารณาดำเนินการ

พนื้ พทน้ื ่ที ท่ีด่ที ินด่ี รินารชาพชสัพดสั ุดุ 3475

(๔.๑.๓) คทช. จังหวัด พิจารณาตรวจสอบขอบเขตพื้นท่ีดำเนินการกำหนดวางผังแปลงท่ีดิน ใหมีขนาด
ที่เหมาะสมกับสภาพการทำประโยชน และพื้นท่ีสาธารณประโยชนในดานตาง ๆ
เพือ่ ใชร วมกัน และสงขอมลู ใหคณะอนุกรรมการจดั หาท่ดี นิ พิจารณา

(๔.๑.๔) คณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินสงมอบพ้ืนที่เปาหมายใหคณะอนุกรรมการจัดที่ดิน
และ คทช. จงั หวัด ดำเนนิ การ

(๔.๑.๕) คทช. จังหวัด คัดเลือกบุคคลตามหลักเกณฑคุณสมบัติประเภทผูไดรับการจัดท่ีดิน
และขอกำหนดอ่ืนที่เก่ียวของ และจัดทำบัญชีรายชื่อผูท่ีจะไดรับการจัดที่ดิน
สงใหค ณะอนุกรรมการจัดทดี่ ินพจิ ารณา

(๔.๑.๖) ผูไดรับการคัดเลือกตามบัญชีรายชื่อผูท่ีจะไดรับการจัดท่ีดิน ดำเนินการจดทะเบียน
จัดตงั้ สหกรณ

(๔.๑.๗) ชมุ ชนในรปู สหกรณยืน่ คำขอเชา ทร่ี าชพสั ดุในลักษณะแปลงรวม
(๔.๑.๘) สำนักงานธนารักษพ้ืนท่ีดำเนินการจัดใหชุมชนในรูปสหกรณเชาตามกฎหมายท่ีราชพัสดุ

โดยสหกรณจัดสรรพื้นที่ใหแกสมาชิกเพื่ออยูอาศัยไดไมเกิน ๑๐๐ ตารางวา ตอครอบครัว
อัตราคาเชาไมต่ำกวาตารางวาละ ๐.๒๕ บาท ตอเดือน และกรณีการเชาเพ่ือประกอบ
การเกษตรไดไมเกิน ๑๕ ไร ตอครอบครัว อัตราคาเชาไมต่ำกวา ไรละ ๒๐๐ บาท ตอป
(๔.๑.๙) คทช. จังหวัด แจงผลการดำเนินการจัดทำสัญญาเชาท่ีราชพัสดุใหคณะอนุกรรมการ
จัดท่ดี นิ ทราบ เพ่ือสงใหคณะอนกุ รรมการสง เสริมและพฒั นาอาชพี ดำเนนิ การตอไป

๔.๒ การจดั ทดี่ ินทำกนิ ใหชุมชนโดยการจดั ระเบียบการใชป ระโยชน
(๔.๒.๑) สำนักงานธนารักษพื้นท่ีสำรวจรังวัดและตรวจสอบที่ราชพัสดุแปลงท่ีมีการบุกรุก
พ รอ ม รายล ะเอี ยด ผู บุ ก รุก ส งให ก รม ธน ารัก ษ เพ่ื อพิ จารณ าคั ดเลื อกแปลง
เสนอคณะอนุกรรมการจัดหาทด่ี ินพจิ ารณากำหนดเปนพน้ื ทเี่ ปาหมาย
(๔.๒.๒) คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินใหความเห็นชอบแลวสงใหคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดิน
จงั หวัด (คทช. จังหวดั ) พิจารณาดำเนินการ
(๔.๒.๓) คทช. จังหวัด พิจารณาตรวจสอบขอบเขตพ้ืนที่ดำเนินการจำนวนผูบุกรุกและรายละเอียด
แลว สง ขอมลู ใหคณะอนกุ รรมการจัดหาทด่ี นิ พิจารณา
(๔.๒.๔) คณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดินสงมอบพื้นที่เปาหมายใหคณะอนุกรรมการจัดที่ดิน
และ คทช. จังหวัด ดำเนินการ
(๔.๒.๕) คทช. จังหวัด รับรองสิทธิของผูบุกรุกที่ราชพัสดุตามสภาพการครอบครองที่ดิน
และจัดทำบัญชีรายช่ือผูที่จะไดรับการจัดท่ีดินสงใหคณะอนุกรรมการจัดที่ดินพิจารณา
(๔.๒.๖) ผูที่ไดรับการคัดเลือกตามบัญชีรายช่ือผูที่จะไดรับการจัดที่ดินดำเนินการจดทะเบียน
จดั ต้งั สหกรณ


Click to View FlipBook Version