The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดินของรัฐตามภารกิจของกรมที่ดิน (ปี 2562)

สำนักจัดการที่ดินของรัฐ (KM ปี 2562)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

46 คมู่ ือสนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรัฐ คู่มอื สนับสนนุ การคุม้ ครองที่ดนิ ของรฐั 46

3.2 การดาเนนิ การกับผบู้ ุกรุกทดี่ ินของรัฐ ซึ่งบุกรกุ ตงั้ แต่วนั ท่ี 4 มีนาคม 2515
บุคคลท่ีฝ่าฝืนมาตรา 9 หรือบุกรุกที่ดินของรัฐต้ังแต่วันที่ 4 มีนาคม 2515 ซึ่งเป็นวันที่ประกาศ

ของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 มีผลใช้บังคับ ย่อมมีความผิดตามมาตรา 108 ทวิ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจ
ดาเนินคดีได้ทันทีโดยไม่ต้องแจ้งผู้บุกรุกดังเช่นบทบัญญัติมาตรา 108 แต่ในทางปฏิบัติแล้ว พนักงาน
เจ้าหน้าท่ีจะไมแ่ จ้งความดาเนินคดีทันที พนกั งานเจ้าหนา้ ที่จะใช้วธิ ีการแจง้ ให้ผูบ้ ุกรกุ ระงบั การกระทาผดิ และ
ออกไปจากที่ดินเสียก่อน โดยอาจกาหนดเวลาให้ออกจากท่ีดิน ถ้าผู้กระทาผิดยังขัดขืนไม่ยอมออกไปจากที่ดินนั้น
พนักงานเจา้ หน้าทีจ่ ึงจะใชว้ ิธีการแจ้งความเพ่อื จับกมุ ดาเนินคดี

3.3 คาพพิ ากษาศาลฎกี าทน่ี า่ สนใจเกยี่ วกบั การบกุ รกุ ทีด่ ินของรฐั
มาตรการทางอาญาในการคุ้มครองท่ีดินของรัฐมิใช่มีเฉพาะท่ีบัญญัติไว้แต่ในประมวลกฎหมาย

ท่ีดินเท่าน้ัน ประมวลกฎหมายอาญา หรือกฎหมายอ่ืน เช่น พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย
พระพุทธศักราช 2456 พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติป่าสงวน
แห่งชาติ พ.ศ. 2507 หรือพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ซึ่งมีบทบัญญัติกาหนด
โทษอาญาไวส้ าหรบั ผู้ฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าว สามารถใช้ในการคุ้มครองท่ีดินของรัฐได้ทัง้ สิ้น แต่การกระทาใด
จะเป็นความผิดตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดน้นั ขึน้ อยู่กับขอ้ เทจ็ จริง โดยศาลจะเป็นผู้พจิ ารณาว่าการกระทาใด
เปน็ ความผดิ หรอื ไม่ ดังปรากฏตามคาพิพากษาศาลฎีกาทน่ี ่าสนใจ ดังนี้

คาพิพากษาฎีกา ที่ 2469/2520 วินิจฉัยว่า “จาเลยเข้าไปยึดถือครอบครองท่ีดินของรัฐ
มาต้ังแต่ก่อนมีประกาศของคณ ะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 ออกใช้บังคับ เม่ือไม่ปรากฏว่านายอาเภอ
หรือคณ ะกรรมการจัดท่ีดินเพื่อประโยชน์ของประชาชนได้เคยแจ้งให้จาเลยรื้อถอนส่ิงปลูกสร้าง
ออกไปแลว้ ยอ่ มจะเอาผิดแกจ่ าเลยตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ มาตรา 9 และ 108 ทวิ ไม่ได้”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2356/2530 วินิจฉัยว่า “จาเลยขุดทรายในแม่น้าซ่ึงเป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินโดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นการทาลายหรือทาให้เสื่อมสภาพที่ทรายอันเป็นความผิดตามประมวล
กฎหมายท่ีดิน และรถยนต์ที่จาเลยใช้บรรทุกทรายซ่ึงขุดได้จากแม่น้า ถือว่าเป็นยานพาหนะท่ีได้ใช้เป็น
อุปกรณใ์ หไ้ ดร้ ับผลในการกระทาความผิด ตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ มาตรา 108 ทวิ วรรคท้าย จึงตอ้ งรบิ ”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2431/2532 วินิจฉัยว่า “การที่ศาลจะมีอานาจส่ังให้บุคคลใดออกไป
จากที่ดินของรัฐนั้นต้องเป็นกรณีท่ีศาลพิพากษาว่า บุคคลดังกล่าวได้กระทาความผิดตามประมวลกฎหมาย
ที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ แลว้ เมอ่ื ที่พพิ าทยงั ไม่อาจฟังได้แน่ชัดว่าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ และจาเลยยึดถือ
ครอบครองอยู่โดยเช่ือว่าตนมีสิทธิครอบครองต่อจากบิดา จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว ศาลไม่อาจ
สั่งให้จาเลยและบริวารออกไปจากท่ีพิพาทได้ การที่จาเลยไม่ยอมออกจากท่ีพิพาทตามคาส่ังของนายอาเภอ
เพราะเชื่อว่าจาเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจรงิ อันเดียวเกี่ยวพันกันกับท่ีวินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทา
ของจาเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จาเลยจึงไม่มีความผิดฐานขดั คาส่ังเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 368”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2672/2534 วินิจฉัยว่า “กรมศิลปากรอนุญาตให้สานักหุบผาสวรรค์
ใช้ประโยชน์เน้ือท่ีภูเขาและรัศมีเขาถ้าพระ อันเป็นโบราณสถานได้ จาเลยในฐานะเจ้าสานักหุบผาสวรรค์
ย่อมได้รับประโยชน์จากการอนุญาตนั้นด้วย จาเลยจึงเป็นผู้หนึ่งที่มีสิทธิครอบครองที่ดินดังกล่าว แม้ต่อมา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ท่ีเขาหรือภูเขาและปริมณฑลรอบที่เขา
หรอื ภูเขา 40 เมตรทุกแห่ง ทุกจังหวัดเป็นที่หวงห้ามซ่ึงกินความถึงบริเวณท่ีกรมศิลปากรอนุญาตเช่นว่านั้นด้วย

คมู่ ือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 47
คู่มือสนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรัฐ 47

ก็หามีผลเป็นการห้ามมิให้จาเลยเข้าไปปลูกสร้างในที่ดินบริเวณนั้นไม่ การปลูกสร้างของจาเลยจึงไม่เป็น
ความผิดตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ มาตรา 9, 108, 108 ทวิ”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2079/2535 วินิจฉัยว่า “ตามระเบียบของคณะกรรมการจัดท่ีดิน
แห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515) ว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการแจ้งและออกคาสั่งแกผ่ ู้ฝา่ ฝืนมาตรา 9 แห่งประมวล
กฎหมายท่ีดิน อยู่ก่อนวันท่ีประกาศของคณะปฏิวัติฉบบั ที่ 96 ลงวันท่ี 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 ใช้บงั คับ
กาหนดให้เจ้าหน้าที่ผู้นาส่งหนังสือแจ้งบันทึกเหตุการณ์และเหตุผลในการไม่ยอมรับหนังสือแจ้งไว้และให้มี
พยานอย่างน้อย 2 คน ลงชื่อรับรองไว้ในบันทึกน้ันด้วย เม่ือผู้นาส่งหนังสือแจ้งได้ปฏิบัติการดังกล่าวน้ันแล้ว
ให้ถือว่าผู้ฝ่าฝืนได้รับหนังสือแจ้งแล้ว แต่ตามบันทึกข้อความของเจ้าหน้าที่ผู้นาหนังสือแจ้งและคาส่ังให้ออกจาก
ที่ดนิ ไปส่งแก่จาเลย นอกจากจะไมป่ รากฏเหตุผลท่ีผฝู้ า่ ฝนื ไม่ยอมรับหนังสือแจ้งแลว้ ยังไม่ปรากฏว่าเจ้าหนา้ ท่ี
ผู้นาส่งได้สอบถามเหตุผลเอาจากผู้ฝ่าฝืนแล้วบันทึกไว้ และไม่ปรากฏว่าบันทึกดังกล่าวเป็นเอกสารที่อ้างอิง
เก่ียวกับจาเลย ว่าเป็นผู้เข้าไปยึดถือครอบครองก่อสร้างท่ีดินของรัฐอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 9 แห่งประมวล
กฎหมายท่ีดินแต่อย่างใด บันทึกข้อความนั้นจึงยังไม่ถูกต้องครบถ้วนตามที่ระเบียบดังกล่าวกาหนด ดังน้ัน
จะถือว่าจาเลยได้รับหนังสือแจ้งอันเป็นคาสั่งเจ้าพนักงานซึ่งสั่งการตามอานาจที่ มีกฎหมายให้ไว้และทราบ
คาสั่งนั้นแล้วหาได้ไม่ จาเลยยังไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 368 และจาเลยไม่มีความผิด
ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2366/2536 วินิจฉัยว่า “ที่ดินพิพาทเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันแต่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล ได้มีพระราชกฤษฎีกาถอนสภาพที่ดินพิพาท
ดังนั้น ท่ีดินพิพาทย่อมไม่เป็นท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน นับแต่วันท่ีพระราชกฤษฎีกา
มีผลใช้บังคับแต่ท่ีดินพิพาทยังคงมีสภาพเป็นท่ีดินอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน หาได้เปลี่ยนแปลงตกไปเป็น
กรรมสทิ ธิ์ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดไม่ จาเลยทง้ั หกบกุ รกุ เข้าไปยึดถอื ครอบครองที่ดนิ พิพาท จงึ ยังมีความผิดอยู่
แตเ่ มอื่ ท่ีดินพพิ าทมิได้มีสภาพเป็นท่สี าธารณสมบตั ิของแผน่ ดนิ สาหรบั พลเมืองใชร้ ว่ มกัน จึงเป็นกรณีกฎหมาย
ท่ีใช้ขณะกระทาความผิดแตกต่างกับกฎหมายท่ีใช้ภายหลังการกระทาความผิดต้องใช้กฎหมายในส่วนที่เป็นคุณ
แก่ผู้กระทาความผิดไม่ว่าทางใดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 3 จาเลยทั้งหกจึงไม่ต้องรับโทษตาม
ประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง แต่ตอ้ งรับโทษตามมาตรา 108 ทวิ วรรคหนึง่ ซึง่ มีอัตราโทษ
เบากว่า พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวหาได้บัญญัติให้การกระทาเช่นน้ันไม่เป็นความผิดไม่ จึงไม่มีผลให้จาเลย
ท้ังหกพ้นจากการเป็นผู้กระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 การที่นายอาเภอซึ่งเป็น
เจ้าพนักงานผู้มีหน้าท่ีดูแลท่ีดินพิพาทดังกล่าวตามกฎหมายมีหนังสือส่ังให้จาเลยท่ี 4 และที่ 6 ออกไปจาก
ที่ดินพิพาทภายในกาหนดจาเลยท่ี 4 และท่ี 6 ทราบแล้วเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามโดยไม่มีเหตุและข้อแก้ตัว
อนั สมควรการกระทาของจาเลยท่ี 4 และที่ 6 จึงมีความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 วรรคหนึง่ ”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 31/2542 วินิจฉัยว่า “ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108 และ
มาตรา 108 ทวิ บัญญัติถงึ ผกู้ ระทาการฝ่าฝนื มาตรา 9 ออกเป็น 2 ช่วงระยะเวลา คือ หากผฝู้ ่าฝืนมาตรา 9
อยู่ก่อนวันที่ 4 มีนาคม 2515 แล้ว พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอน
ตามท่ีมาตรา 108 บัญญัติไว้ก่อนผู้ฝ่าฝืนจึงมีความผิดตามมาตรา 108 แต่ถ้ากระทาการฝ่าฝืนมาตรา 9
ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม 2515 เป็นต้นไป ผู้ฝ่าฝืนตามมาตรา 108 ทวิ มีความผิดทันที โจทก์ฟ้องว่าเมื่อวันท่ี
1 มีนาคม 2533 จาเลยปลูกบ้านในที่ดินสาธารณประโยชน์ตามฟ้อง อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ซ่งึ ประชาชนใช้ร่วมกันและเป็นที่ดินของรฐั ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายท่ีดินฯ มาตรา 9, 108, 108 ทวิ
เม่ือได้ความว่าจาเลยปลูกบ้าน ตามฟ้องก่อนวันที่ 4 มีนาคม 2515 จาเลยจึงไม่มีความผิด ตามประมวล
กฎหมายที่ดินฯ มาตรา 9, 108 ทวิ แม้อาจเปน็ ความผิดตามมาตรา 9, 108 และโจทกไ์ ดอ้ ้างมาตรา 108

48 คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองทดี่ ินของรฐั คูม่ ือสนับสนุนการค้มุ ครองที่ดินของรฐั 48

มาด้วย แต่โจทก์ไม่ได้บรรยายถึงข้อเท็จจริงดังเช่นท่ีปรากฏ ในทางพิจารณามาในฟ้อง จึงไม่ใช่เร่ืองที่โจทก์
ประสงค์ ให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 192 วรรคส่ี จึงไม่อาจลงโทษจาเลย
ตามมาตรา 108 ได้”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 8277/2544 วินิจฉัยว่า “เมื่อท่ีดินพิพาทได้มีการออกพระราชกฤษฎีกา
กาหนดเป็นเขตหวงห้ามสาหรับใช้ในราชการทหารพร้อมด้วยแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกา ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาให้ประชาชนทราบแล้ว ทั้งต่อมากรมธนารักษ์ได้ข้ึนทะเบียนที่ดินพิพาทเป็นท่ีราชพัสดุด้วย
ดังนั้น ย่อมถือว่าประชาชนทุกคนได้ทราบแล้วว่าที่ดินพิพาทเป็นท่ีดินหวงห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดเข้าไปยึดถือ
ครอบครอง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าท่ี จาเลยท้ังสองจะอ้างว่าไม่มีเจตนาเข้าไปยึดถือ
ครอบครองในที่ดินพิพาทอันเป็นท่ีหวงห้ามได้ จาเลยทั้งสองจึงมีความผิดฐานเข้าไปยึดถือครอบครองท่ีดิน
ของรฐั ตามฟอ้ ง”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3541/2542 วินิจฉัยว่า “โจทก์เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากทางราชการ
ให้ประกอบกิจการระเบิดและย่อยหินในท่ีดินของรัฐ และมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ไม่มีข้อความ
ท่ีอนุญาตให้ผู้รับใบอนุญาตโอนสิทธิแก่ผู้อ่ืนได้ โจทก์ผู้รับใบอนุญาตจึงต้องทาเองโดยเฉพาะตัวและผู้ท่ีฝ่าฝืน
บทบัญญัติในมาตรา 9 คือผู้ท่ีเข้าไปประกอบกิจการระเบิดและย่อยหินโดยไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงาน
เจ้าหน้าท่ีจะมีโทษทางอาญาตามมาตรา 108 ทวิ เมื่อตามสัญญาซ้ือขายหินระหว่างโจทก์จาเลยมีข้อตกลง
ให้จาเลยระเบิดและย่อยหินเองโดยจาเลยมิได้เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ดาเนินการ ดังน้ี
หากจาเลยเขา้ ไปดาเนินการกย็ อ่ มเข้าข่ายเปน็ ความผิดตามบทกฎหมายดังกล่าว”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 3314/2545 วินจิ ฉัยว่า “การท่จี าเลยเข้าไปยดึ ถอื ครอบครองคลองควาย
ซึง่ เป็นคลองสาธารณะโดยใช้เสาคอนกรตี ปักปิดขวางช่วงปากคลอง ทาให้ประชาชนทั่วไปไม่สามารถใช้ประโยชน์
สญั จรผ่านไปมาในคลองเพื่อออกสู่แม่น้าได้น้ัน การกระทาของจาเลยเป็นความผิดฐานยึดถือครอบครองที่ดิน
ของรัฐ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ร่วมกัน และฐานทาให้เสียทรัพย์ท่ีใช้หรือมีไว้เพื่อ
สาธารณประโยชน์ เป็นการกระทากรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ต้องลงโทษฐานทาให้เสียทรัพย์
ท่ีใช้หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 360 ซ่ึงเป็นบทท่ีมีโทษหนักที่สุด
จึงไม่อาจอาศัยบทเบาตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคสอง มาบังคับให้จาเลยและบริวาร
ออกจากที่ดินซ่ึงจาเลยเขา้ ไปยึดถือครอบครองตามที่โจทกข์ อได้”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6986/2546 วินิจฉัยว่า “คดีก่อนโจทก์เคยฟ้องจาเลยข้อหาบุกรุก
ยึดถือครอบครองท่ีดินสาธารณประโยชน์เนื้อท่ี 9 ไร่เศษ โดยปลูกบ้านอยู่อาศัยและปลูกต้นไม้ยืนต้น
กอ่ นวันท่ปี ระกาศของคณะปฏวิ ัติ ฉบับที่ 96 ลงวันท่ี 29 กมุ ภาพันธ์ 2515 ใชบ้ ังคบั คดีถงึ ทีส่ ุดโดยศาลฎกี า
ฟังข้อเท็จจริงว่า จาเลยยึดถือครอบครองท่ีดินสาธารณประโยชน์หลังจากประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับแล้ว
เป็นการครอบครองสืบเน่ืองมาก่อนวันท่ีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2515
ใช้บังคับ โดยจาเลยมิได้มีสิทธิครอบครองและมิได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าท่ี การกระทาของจาเลย
เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา 9 , 108 แต่ยกคาขอให้จาเลยออกจากท่ีดินพิพาท ต่อมา
โจทก์ยื่นฟ้องเป็นคดีน้ีว่า จาเลยเข้าไปยึดถือ ครอบครองก่นสร้างที่ดินสาธารณประโยชน์ โดยใช้รถไถเข้าไป
ไถปรับท่ีดินเนื้อท่ีประมาณ 2 ไร่ ภายหลังวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์
2515 ใช้บังคับแล้ว อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา 9 (1), 108 ทวิ วรรคสอง
การกระทาในคดีนี้จึงต่างกรรมต่างวาระแยกต่างหากจากการกระทาในคดีก่อน และความผิดตามประมวล
กฎหมายที่ดิน มาตรา 108 กับมาตรา 108 ทวิ มีองค์ประกอบแตกต่างกัน การกระทาความผิดของจาเลย
ในคดีนก้ี ับคดีก่อนจึงไม่ใช่ความผิดกรรมเดยี วกนั ฟ้องของโจทก์คดนี ้ีจึงไม่เป็นฟ้องซ้า”

คมู่ อื สนบั สนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 49
คมู่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองทีด่ นิ ของรฐั 49

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3971/2548 วินิจฉัยว่า “จาเลยที่ 1 และที่ 2 ใช้รถแบ๊กโฮขุดตักดิน
ในที่สาธารณประโยชน์ อันเป็นการทาให้เสื่อมสภาพท่ีดิน ที่หิน ท่ีกรวด หรือท่ีทรายในบริเวณที่รัฐมนตรี
ประกาศหวงห้ามในราชกิจจานุเบกษา ต่อมาจาเลยท่ี 3 ซ่งึ เป็นประธานสภาตาบลได้จัดทาบันทึกการประชุม
สภาตาบลอันเป็นเท็จว่า ท่ีประชุมเห็นชอบให้จาเลยท่ี 1 และที่ 2 ดาเนินการขุด ตักดินได้ การกระทาของ
จาเลยที่ 3 มิใช่เป็นการเตรียมทาเอกสารไว้ก่อนมีการขุดตักดินในที่สาธารณประโยชน์หรือ นาไปใช้อ้างอิง
ในการขุดตักดินดังกล่าว อันจะเป็นการแสดงเจตนาในการมีส่วนร่วมเข้าไปขุดตักดินในที่สาธารณประโยชน์
ของจาเลยท่ี 1 และท่ี 2 ในลักษณะแบ่งหน้าที่กันทา จาเลยที่ 3 ไม่เป็นตัวการร่วมกระทาความผิดกับ
จาเลยท่ี 1 และท่ี 2 ตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา 9 (2) ประกอบมาตรา 108 ทวิ”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 681/2550 วินิจฉัยว่า “การกระทาของจาเลยนอกจากจะเป็นความผิด
ฐานร่วมกันบุกรุกท่ีดินราชพัสดุตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 (2) แล้ว ยังเป็นความผิดฐานเข้าไป
ยดึ ถือ ครอบครอง ก่นสรา้ งและทาด้วยประการใดให้เป็นการทาลายหรือทาให้เส่อื มสภาพทด่ี ินของรฐั อันเป็น
ความผิดตามประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา 9 (1) (2), 108 ทวิ วรรคหน่ึง ด้วย ซึ่งตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
มาตรา 108 ทวิ วรรคสี่ บัญญัติให้ศาลมีอานาจสั่งในคาพิพากษาให้ผู้กระทาความผิด คนงาน ผู้รับจ้างและ
บริวารของผู้กระทาความผิดออกจากท่ีดินน้ันได้ อันมิใช่โทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 แต่เป็น
มาตรการท่ีมุ่งประสงค์ให้รัฐสามารถเข้าใช้ประโยชน์ในท่ีดินได้โดยไม่จาต้องฟ้องขับไล่จาเลยเป็นคดีแพ่ง
อีกต่างหาก ดังน้ัน แม้ศาลจะลงโทษจาเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 (2) ซ่ึงเป็นบทกฎหมาย
ท่ีมีโทษหนักท่ีสุดเพียงบทเดียวตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90 แต่เมื่อเป็นความผิดตามประมวล
กฎหมายท่ีดิน มาตรา 108 ทวิ วรรคหนึ่ง ด้วย ศาลก็มีอานาจส่ังให้จาเลยและบริวารร้ือถอนสิ่งปลูกสร้าง
และออกไปจากทีด่ นิ ของรฐั ได้”

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 10325/2550 วินิจฉัยว่า “เดิมท่ีดินพิพาทเป็นท่ีสาธารณสมบัติของ
แผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน แต่ต่อมามีคาส่ังจังหวัดสุรินทร์ให้เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
บางส่วนซึ่งรวมทั้งที่ดินพิพาท ท่ีดินพิพาทย่อมไม่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
อีกต่อไป นับแต่วันที่คาสั่งจังหวัดสุรินทร์มีผลใช้บังคับ แต่ที่ดินพิพาทยังคงมีสภาพเป็นท่ีดินอันเป็นทรัพย์สิน
ของแผ่นดินอยู่ต่อไป หาได้เปล่ียนแปลงตกไปเป็นกรรมสิทธ์ิของบุคคลหน่ึงบุคคลใดไม่ และคาสั่งจังหวัดสุรินทร์
ดังกล่าวมิใช่บทบัญญัติของกฎหมาย กรณีจึงหาใช่มีกฎหมายออกใช้ภายหลังยกเลิกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 2 วรรคสอง การกระทาของจาเลยจึงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9 , 108 ทวิ
วรรคหน่งึ ”
4. อานาจหนา้ ทใ่ี นการคุม้ ครองป้องกันทีด่ นิ ของรัฐ

อานาจหน้าที่ในการคุ้มครองป้องกันท่ีดินของรัฐ เกิดขึ้นจากการที่กฎหมายกาหนดให้หน่วยงานของรัฐ
เจ้าหน้าท่ีรัฐ มอี านาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบในการคุ้มครองป้องกันไมว่ ่าจะโดยตรง หรือโดยอ้อม เพ่ือให้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือเจตนารมณ์ของกฎหมายท่ีกาหนดอานาจหน้าท่ีเช่นว่าน้ัน และยังมีระเบียบปฏิบัติ
รวมถึงนโยบายของรัฐบาล ที่กาหนดให้หน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่รัฐ มีหน้าที่สนับสนุนการดาเนินการ
ดังกล่าว เพื่อมิให้ผู้ใดนาไปใช้เป็นประโยชน์ส่วนตนได้ หรือถ้านาไปได้ก็โดยวิธีการตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้
เท่านัน้ ซง่ึ สามารถแยกพจิ ารณาตามลักษณะของกฎหมาย และการกาหนดอานาจหน้าท่ีได้ ดังน้ี

50 คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองทดี่ ินของรฐั คมู่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 50

4.1 อานาจหน้าท่ีในการคุ้มครองป้องกันท่ีดินตาม มาตรา 1304 (1) ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์

ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 วรรคแรก บัญญัติวา่ “บรรดาท่ีดินทั้งหลายอันเป็นสาธารณสมบัติ
ของแผน่ ดินหรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินน้ัน ถ้าไม่มกี ฎหมายกาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนให้ อธิบดีมีอานาจหน้าท่ี
ดูแลรักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อานาจหน้าที่ดังว่านี้รัฐมนตรีจะมอบหมายให้
ทบวงการเมอื งอ่ืนเปน็ ผใู้ ช้ก็ได้”

เพราะฉะนั้นท่ีดินท่ีอธิบดีกรมที่ดินจึงมีหน้าที่ดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดิน
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ท่ดี ินอันเป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดนิ หรือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน
(2) ที่ดินตาม (1) ต้องไม่มกี ฎหมายกาหนดไวเ้ ป็นอย่างอื่นว่าให้เป็นอานาจหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ี
อ่ืนเปน็ ผู้ดูแล
โดยผลของมาตรา 8 ท่ีดินสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตามมาตรา 1304 ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ (1) ท่ีดินรกร้างว่างเปล่า ท่ีดินท่ีมีผู้เวนคืนหรือทอดท้ิง หรือกลับมาเป็นของแผ่นดิน
โดยประการอื่น (2) ท่ีดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และ (3) ท่ีดินท่ีใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
และท่ีดินอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ตามมาตรา 1309 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งได้แก่
เกาะท่ีเกิดในทะเลสาบ หรือในทางน้า หรือในเขตน่านน้าของประเทศ และท้องทางน้าท่ีต้ืนเขิน ล้วนอยู่ใน
อานาจของอธบิ ดีกรมทดี่ ินท่ีจะเป็นผู้ดูแลรกั ษาและดาเนินการคุม้ ครองป้องกัน เว้นแตจ่ ะมีกฎหมายกาหนดไว้
เป็นอย่างอ่ืน กล่าวคือ ถ้าหากมีกฎหมายเฉพาะกาหนดอานาจหน้าที่ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีอื่นเป็นผู้ดูแลรักษาแล้ว
การดแู ลรักษากต็ อ้ งเป็นไปตามกฎหมายเฉพาะนัน้ ไม่อยู่ในอานาจหน้าทข่ี องอธบิ ดกี รมท่ดี ินอกี ต่อไป
ตัวอย่างของกฎหมายท่ีกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าที่อ่ืนเป็นผู้ดูแลรักษา
และดาเนนิ การคุม้ ครองป้องกันท่ีดินสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เชน่
1) พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 ให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุ
ซ่ึงหมายถึง อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด และรวมถึงท่ีดินที่ใช้ เพ่ือประโยชน์ของ
แผ่นดินโดยเฉพาะตามมาตรา 1304 (3) แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ด้วย
2) พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พ.ศ. 2457 ให้กรมการอาเภอซ่ึงปัจจุบัน หมายถึง
นายอาเภอ มีหน้าที่ดูแลตรวจตรารักษาท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกชนิด คือ ที่เล้ียงปศุสัตว์
ทจ่ี ดั ไวส้ าหรับราษฎรไปรวมเล้ียงด้วยกัน ตลอดจนถนนหนทางและท่ีอยา่ งอืน่ ซึ่งเป็นของกลางใหร้ าษฎรใช้ได้
ดว้ ยกนั (มาตรา 122 แห่งพระราชบญั ญัติลกั ษณะปกครองทอ้ งท่ี พ.ศ. 2457)
3) พระราชบญั ญตั ิการเดนิ เรือในนา่ นนา้ ไทย พ.ศ. 2456 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศ ของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2515) และพระราชบัญญัติการเดนิ เรือในน่านน้าไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 ให้เจา้ ท่า
มีหน้าที่ดูแลรักษาและขุดลอกร่องน้า ทางเรือเดิน แม่น้า ลาคลอง ทะเลสาบ และทะเลภายในน่านน้าไทย
(มาตรา 120 แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พ.ศ. 2456 แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
การเดินเรือในน่านน้าไทย (ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2535)
4) พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 ผู้อานวยการทางหลวงเป็นผู้ควบคุมทางหลวง
โดยอธิบดีกรมทางหลวงเปน็ ผอู้ านวยการทางพิเศษ ทางหลวงแผน่ ดิน ทางหลวงสัมปทาน ผู้ว่าราชการจังหวัด
หรือนายอาเภอซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายเป็นผู้อานวยการทางหลวงชนบท นายกเทศมนตรี
เปน็ ผอู้ านวยการทางหลวงเทศบาล และประธานกรรมการสขุ าภิบาลเป็นผู้อานวยการทางหลวงสขุ าภิบาล

ค่มู อื สนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 51
คมู่ ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรัฐ 51

5) พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ
พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ได้บัญญัติอานาจหน้าท่ีการดูแลรักษา
ค้มุ ครองป้องกนั เขตรกั ษาพันธุสตั ว์ป่า อุทยานแหง่ ชาติ และปา่ สงวนแห่งชาติไว้ เป็นการเฉพาะ
6) พระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2558 ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป็นเจ้าของท่ีดินรกร้างว่างเปล่า หรือท่ีดินซ่ึงมีผู้เวนคืนหรือทอดท้ิงหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่น
ตามประมวลกฎหมายทีด่ ินในเขตโครงการจดั รูปทดี่ ินเพอื่ ใช้ในการจดั รูปท่ีดิน
7) พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ให้ ส.ป.ก. เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์
ท่ีดินรกร้างว่างเปล่า หรือที่ดินซ่ึงมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดย ประการอื่น
ตามประมวลกฎหมายท่ีดินและท่ีดินน้ันอยู่นอกเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ในเขตปฏิรูปท่ีดิน
เพอื่ นามาใช้ในการปฏริ ูปท่ดี ินเพอื่ เกษตรกรรม
นอกจากน้ียงั มีท่ีดินอกี หลายประเภทซ่ึงอยู่ในความดูแลของกระทรวง ทบวง กรมอ่นื และรัฐวสิ าหกิจ
บางแห่ง เช่น ที่ดินของการรถไฟ การรถไฟซ่ึงเป็นรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ดูแลรักษา ที่ดินเขตคันคลองคูน้าต่าง ๆ
เขือ่ น กรมชลประทานเปน็ ผู้ดแู ลรกั ษาโดยเฉพาะ
เพราะฉะน้ัน อานาจของอธิบดีกรมท่ีดินเกี่ยวกับการดูแลรักษาที่ดินซ่ึงเป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินและทรัพย์สินของแผ่นดินจึงมีเฉพาะที่ดินตามมาตรา 1304 (1) คือ ท่ีดินรกร้างว่างเปล่า
ที่ดินท่ีมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายท่ีดิน อย่างไรก็ตาม
ปัจจุบันอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับที่ดินรกร้างว่างเปล่านี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มอบหมายให้
ทบวงการเมืองอื่นใช้อานาจแทนแล้วตามคาส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี 505/2552 ลงวันที่ 20 พฤศจกิ ายน
2552 เรื่อง มอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดิน
อันเป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดนิ หรอื ทรัพยส์ นิ ของแผ่นดินท่ีไม่มีกฎหมายกาหนดไว้เปน็ อยา่ งอ่นื ดงั นี้
(1) กรงุ เทพมหานคร ภายในเขตกรงุ เทพมหานคร
(2) เมืองพทั ยา ภายในเขตเมอื งพทั ยา
(3) เทศบาล ภายในเขตเทศบาล
(4) องค์การบริหารสว่ นตาบล ภายในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตาบล นั้น
สาหรับองค์การบริหารส่วนจังหวัดอาจสนับสนุน ประสานและให้ความร่วมมือกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นตาม (2) (3) และ (4) ในการดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินดังกล่าวข้างต้น รวมท้ัง
ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าท่ี และอาจสนับสนุนงบประมาณแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่นในการ
ดาเนนิ งานหรอื เข้าไปดาเนนิ การเมอื่ ไดร้ บั การร้องขอจากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นนน้ั
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 1313/2510 วินิจฉัยว่า “อานาจท่ีจะดูแลรักษาที่สาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินประเภทพลเมืองใช้ร่วมกันหรือนัยหนึ่งท่ีสาธารณประโยชน์ เป็นอานาจหน้าที่ของนายอาเภอ
ตามพระราชบัญญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2495 มาตรา 40 วรรค 3 อานาจฟ้องคดจี ึงตกอยู่
แก่นายอาเภอความในประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา 8 หมายถึงที่ดินอันเป็นสาธารณสมบตั ิของแผ่นดินหรือ
ทรพั ยส์ ินของแผ่นดินโดยท่วั ๆ ไป ซ่งึ ถา้ ไม่มีกฎหมายกาหนดไวเ้ ปน็ อย่างอ่ืนให้เป็นอานาจของอธิบดีท่ีจะดูแล
รักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกัน และให้รัฐมนตรีมีอานาจมอบหมายให้ทบวงการใดเป็นผู้ใช้อานาจ
ดังกล่าวนั้นได้ แต่ในเรื่องท่ีสาธารณประโยชน์อันเป็นของกลางสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน เช่น ที่ชายตลิ่ง
ซึ่งราษฎรท่ัวไปใช้จอดเรือข้ึนสู่ถนน ได้มีพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 มาตรา 122
บัญญัติไว้เป็นอย่างอ่ืนแล้ว คือ ให้เป็นหน้าท่ีของกรมการอาเภอ และต่อมาได้โอนมาเป็นอานาจหน้าที่ของ
นายอาเภอตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2495 มาตรา 40 วรรค 3 จึงเหน็ ไดว้ ่า

52 ค่มู ือสนับสนุนการคุม้ ครองทด่ี นิ ของรฐั คมู่ ือสนับสนุนการคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 52

ประมวลกฎหมายที่ดินมิได้ยกเลิกเพิกถอนอานาจหน้าที่ของนายอาเภอซ่ึงมีอยู่ตามมาตรา 122 แห่ง
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พ.ศ. 2457 ประกาศของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ท่ีมอบหมายให้เทศบาลมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินท้ังหลาย อันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือทรัพย์สินของแผ่นดิน ภายในเขตเทศบาล จึงหาได้เคลือบคลุมไปถึง
ท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ตามท่ีเป็นอานาจหน้าที่ดูแลจัดการของนายอาเภอ
อยู่แล้วไม่ อานาจฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายเก่ียวแก่ความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้จาเลยจะไม่ให้
การต่อสู้ไว้แต่แรก ศาลก็ยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142..(5)..
(อ้างฎีกาที่ 153/2498, 1277/2503, 227-229/2504)”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 2095/2519 วินิจฉัยว่า “ท่ีพิพาทอยู่ในเขตหวงห้ามตามพระราชกฤษฎีกา
กาหนดเขตหวงห้ามที่ดินอาเภอเมืองลพบุรี อาเภอบ้านเซ่า อาเภอโคกสาโรง จังหวัดลพบุรี พ.ศ. 2479
ซึง่ มาตรา 3 บัญญัติให้เปน็ อานาจของผูบ้ ังคับการจังหวัดทหารบกลพบรุ ี ที่จะหวงห้ามทด่ี ินได้ เม่ือพระราชกฤษฎีกา
ดังกล่าวออกตามความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามท่ีดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 และต่อมาพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. 2497
มาตรา 4 ได้บัญญัติให้ยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามท่ีดินฯ เสียแล้ว พระราชกฤษฎีกาดังกล่าว
จึงถูกยกเลิกไปด้วย ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกลพบุรี โดยลาพังจึงหมดอานาจหวงห้ามที่ดิน แต่ท่ีพิพาท
ก็ยังคงเป็นท่ีหวงห้ามต่อไปตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดินฯ ท่ีดินอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นรฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอานาจมอบหมายให้ทบวงการเมืองที่ดูแล
รกั ษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามมาตรา 8 ประมวลกฎหมายท่ีดิน เมื่อรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย
ได้มอบหมายให้กองทัพบกมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินตามกฎหมายไว้ในพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามท่ีดิน
อาเภอเมืองลพบุรี อาเภอบ้านเซ่าฯ พ.ศ. 2479 อานาจดูแลรักษาที่ดินซ่ึงอยู่ในเขตตามพระราชกฤษฎีกาน้ี
จึงตกเป็นของกองทัพบกการท่ีโจทก์ขอออกโฉนดที่พิพาทและจาเลยคัดค้าน โดยกองทัพบกมอบหมายให้
จาเลยเป็นผู้กระทาการแทน จาเลยจึงอยู่ในฐานะผู้ปฏิบัติการแทนของกองทัพบกซึ่งเป็นนิติบุคคลเท่าน้ัน
โจทกไ์ ม่มอี านาจฟ้องจาเลย เพอ่ื หา้ มจาเลยขดั ขวางการออกโฉนดที่พิพาท”

คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 258/2547 วินิจฉัยว่า “ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ถ้าไม่มี
กฎหมายกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น อานาจหน้าท่ีในการดูแลรักษาตกเป็นของอธิบดีกรมท่ีดิน ตามประมวล
กฎหมายที่ดิน มาตรา 8 แต่สาหรับทางสาธารณประโยชน์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
1304 (2) พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พ.ศ. 2457 มาตรา 122 ได้บัญญัติให้กรมการอาเภอ
เปน็ ผู้มีหน้าทีต่ รวจตรารกั ษา ซง่ึ ต่อมาได้โอนมาเป็นอานาจหนา้ ที่ของนายอาเภอ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 62 วรรคสาม ดังน้ัน อานาจในการกาหนดแนวเขตทางสาธารณะ
จึงมิใช่เป็นอานาจหน้าท่ีของจาเลย การท่ีเจ้าพนักงานท่ีดินในสังกัดส่วนราชการของจาเลยได้รังวัดที่ดินและ
ระบุว่าทางพิพาทเป็นทางสาธารณะตามท่ีผู้ได้รับมอบหมายจากนายอาเภอนาชี้และระวังแนวเขตที่ดิน
จงึ ถอื ไมไ่ ด้วา่ เป็นการกระทาละเมิดตอ่ โจทก์ โจทกจ์ งึ ไมม่ ีอานาจฟอ้ ง”

4.2 อานาจหน้าที่ในการคุ้มครองป้องกันที่ดินตาม มาตรา 1304 (2) ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์

เน่อื งจากที่ดนิ อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดนิ สาหรบั พลเมืองใช้รว่ มกนั ตามนยั มาตรา 1304 (2)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีปรากฏอยู่ในกฎหมายหลายฉบับ จึงมีบทบัญญัติของกฎหมายกาหนด
ให้มเี จา้ หน้าท่รี ัฐ และหน่วยงานของรัฐ มีอานาจหน้าที่ดแู ลรักษาและคุ้มครองป้องกันแตกต่างกันไปตามความมุง่ หมาย

คมู่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 53
ค่มู อื สนบั สนนุ การคมุ้ ครองทีด่ นิ ของรัฐ 53

วัตถุประสงค์ หรือเจตนารมณ์ของกฎหมายแต่ละฉบับ ซึ่งสามารถแยกพิจารณาตามลักษณะของกฎหมาย
และการกาหนดอานาจหนา้ ท่ีได้ ดังนี้

1) กฎหมายกาหนดอานาจหน้าทใ่ี นการคุ้มครองป้องกนั โดยตรง
ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน มีบทบัญญัติของกฎหมาย

กาหนดให้มีเจ้าหน้าที่รัฐ และหน่วยงานของรัฐ มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันไว้เป็นการเฉพาะ
โดยเดิมในมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพทุ ธศักราช 2457 บัญญัติว่า “ที่อันเป็น
สาธารณประโยชน์ คอื ที่เลีย้ งปศุสัตว์ที่จัดไว้สาหรับราษฎรไปรวมเลย้ี งสัตว์ดว้ ยกนั เปน็ ต้น ตลอดจนถนนหนทาง
และท่ีอย่างอื่นซึ่งเป็นของกลางให้ราษฎรใช้ได้ด้วยกัน เป็นหน้าที่ของกรมการอาเภอจะต้องคอยตรวจตรารักษา
อย่าให้ผู้ใดเกียดกันเอาไปเป็นอาณาประโยชน์แต่เฉพาะตัว” ปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติลักษณะปกครอง
ท้องท่ี (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 มาตรา 13 ให้ยกเลิกความในมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองท้องที่ พระพทุ ธศกั ราช 2457 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน

“มาตรา 122 นายอาเภอมีหน้าที่ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการดูแลรักษาและ
คุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน และสิ่งซ่ึงเป็น
สาธารณประโยชน์อนื่ อันอยใู่ นเขตอาเภอ

นายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่มีอานาจใช้ หรือยินยอมให้ บุคคลอ่ืนใช้ท่ีดิน
ตามวรรคหน่ึง เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดและปฏิบัติตามประมวลกฎหมายที่ดิน
และกฎหมายอืน่ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ในกรณีที่มขี ้อพิพาทหรอื คดีเกยี่ วกบั ที่ดินตามวรรคหนึ่ง นายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จะร่วมกันดาเนนิ การหรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง จะเป็นผดู้ าเนินการก็ให้มีอานาจกระทาได้ ท้ังน้ีกระทรวงมหาดไทย
จะวางระเบียบกาหนดหลกั เกณฑ์เปน็ แนวปฏิบัติด้วยกไ็ ด้

ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสาม ให้จ่ายจากงบประมาณขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตามระเบยี บที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด”

ดังน้ัน ปัจจุบันจึงเป็นอานาจหน้าท่ีของนายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
และส่ิงซึ่งเป็นสาธารณประโยชน์อื่นอันอยู่ในเขตอาเภออานาจหน้าที่ดังกล่าวรวมถึงการระงับข้อพิพาทหรือ
ร้องทกุ ขก์ ล่าวโทษดาเนินคดี ตามนยั มาตรา 122 วรรคสาม ซ่ึงจะตอ้ งปฏิบตั ติ ามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
พ.ศ. 2553 ข้อ 6 ดังน้ี

“อานาจหน้าที่ในการดูแลรักษาและคุ้มครองปอ้ งกนั ท่ดี ินตามข้อ 5 ให้เป็นอานาจหน้าท่ีของ
นายอาเภอร่วมกบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยลกั ษณะปกครองท้องที่

ในกรณีมีข้อพิพาทหรือคดีเก่ียวกับที่ดินตามวรรคหนึ่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นผู้ดาเนินการระงับข้อพิพาทหรือร้องทุกข์กล่าวโทษภายในสามสิบวันนับแต่รู้เหตุแห่งข้อพิพาทหรือคดีนั้น
เวน้ แต่คดีจะขาดอายคุ วามให้รอ้ งทกุ ข์กล่าวโทษโดยทันที

หากมิได้มีการดาเนินการตามวรรคสองให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแจ้งเหตุผลและ
ความจาเป็นให้นายอาเภอทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีครบกาหนดและให้นายอาเภอเป็นผู้ดาเนินการหรือ
นายอาเภอรว่ มกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ดาเนินการก็ได้

54 คมู่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองทีด่ ินของรฐั คูม่ ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 54

การดาเนินการระงับข้อพิพาทหรือการดาเนินคดีท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือ
นายอาเภอได้ดาเนินการไปก่อนระเบียบน้ีใช้บังคับให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือนายอาเภอดาเนินการ
ตอ่ ไปจนกวา่ จะถึงทสี่ ดุ

ความในวรรคสองไม่เป็นการตัดอานาจหนา้ ท่ขี องนายอาเภอท่ีจะดาเนนิ การฝ่ายเดยี ว”
2) กฎหมายกาหนดอานาจหนา้ ทีใ่ นการคุม้ ครองป้องกันโดยออ้ ม

(1) กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจดั การทางน้า และแหล่งนา้
กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการทางน้า และแหล่งน้า เช่น พระราชบัญญัติการเดินเรือ
ในนา่ นน้าไทย พระพทุ ธศกั ราช 2456 และพระราชบญั ญัติการประมง พ.ศ. 2490
พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ
ของคณะปฏิวัติฉบับที่ 50 (พ.ศ. 2515) และพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย (ฉบับที่ 14)
พ.ศ. 2535 มาตรา 120 ให้กรมเจ้าท่ามีหน้าที่ดูแลรักษาและขุดลอกร่องน้า ทางเรือเดิน แม่น้า ลาคลอง
ทะเลสาบ และทะเลภายในน่านน้าไทย
พระราชบญั ญตั ิการประมง พ.ศ. 2490 แม้ว่า ตามนัยมาตรา 16 จะบัญญตั ิวา่ ..“ทสี่ าธารณประโยชน์
คือ ที่จับสัตว์น้าซ่ึงบุคคลทุกคนมีสิทธิทาการประมง และเพาะเลี้ยงสัตว์น้า...” ก็ตาม แต่ก็มีข้อห้ามไว้ เช่น
ตามนัยมาตรา 17 “ห้ามมิให้บุคคลใดปลูกสร้างส่ิงใดลงไปในที่รักษาพืชพันธุ์ ที่ว่าประมูลที่อนุญาต ซ่ึงมิใช่
ของเอกชนและที่สาธารณประโยชน์...” และ มาตรา 23 “ห้ามมิให้บุคคลใดขุด หรือสร้างบ่อเล้ียงสัตว์น้า
ในทสี่ าธารณสมบตั ขิ องแผ่นดนิ เวน้ แต่จะได้รบั อนญุ าตจากพนกั งานเจ้าหน้าท่ี”
มีปัญหาว่าอานาจหน้าท่ีดังกล่าวจะขัดแย้งกับอานาจหน้าท่ี ตามนัยมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช 2457 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 11) พ.ศ. 2551 หรือไม่ เรื่องนี้
คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะท่ี 6) มีความเห็นในเรื่องเสร็จท่ี 14/2533 สรุปว่าท่ีดิน
บริเวณ “หนองหาน” จงั หวดั สกลนคร เป็นท่ีดินท่ีอยใู่ นบรเิ วณที่กาหนดให้เป็นเขตหวงห้ามท่ีดินเพ่ือประโยชน์
ในการบารงุ พันธ์ุสตั ว์น้า ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติกาหนดเขตหวงห้ามที่ดินในท้องที่อาเภอเมืองสกลนคร
จังหวัดสกลนคร พุทธศักราช 2484 ซึ่งจากวัตถุประสงค์ของการหวงห้ามท่ีดินดังกล่าว ประกอบกับข้อเท็จจริง
ที่ปรากฏว่าประชาชนได้เข้าไปทาการประมงในบริเวณ “หนองหาน” มาโดยตลอด จึงแสดงว่าการสงวนหวงห้าม
ทด่ี ินดังกล่าวเป็นการสงวนหวงห้ามท่ีดินไว้เพ่ือประโยชน์ของพลเมืองไดใ้ ช้ร่วมกัน ฉะน้ัน ที่ดนิ บริเวณน้ีย่อมเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับทรัพย์สินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันตามมาตรา 1304 (2) แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และเน่ืองจากท่ีดินดังกล่าวได้สงวนหวงห้ามไว้เพื่อวัตถุประสงค์เป็นพิเศษให้เป็น
ที่บารุงพันธุ์สัตว์น้า กรมประมงจึงมีอานาจหน้าท่ีในการดูแลรักษาบริเวณ “หนองหาน” น้ี ภายใต้ขอบเขต
ความรับผดิ ชอบทพี่ ระราชบัญญตั ิการประมง พุทธศกั ราช 2490 ได้บญั ญัติไว้
อย่างไรก็ตามนายอาเภอแห่งท้องที่ก็ยังคงมีอานาจหน้าท่ีโดยท่ัวไปท่ีจะดูแลรักษาท่ีดินบริเวณน้ี
อยู่ด้วยตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 ประกอบกับข้อ 57 แห่งประกาศของ
คณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 218 ฯ ท้ังน้ี เท่าท่ีไม่ขัดต่ออานาจหน้าท่ีโดยเฉพาะของกรมประมง โดยเหตุนี้อานาจ
หน้าที่ในการดูแลรักษาท่ีดินบริเวณ “หนองหาน” จึงเป็นท้ังของกรมประมงและนายอาเภอแห่งท้องที่ ซึ่งต่างก็มี
หน้าที่รับผิดชอบดาเนินการดูแลรักษาด้วยกันตามขอบเขต และความมุ่งหมายของบทบัญญัติของกฎหมาย
ที่แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบอยู่ แต่ไม่อาจอนุญาตให้บุคคลใด ๆ เข้าไปใช้ประโยชน์ในท่ีดินบริเวณที่ให้เป็น
ประการอ่ืนที่แตกต่างไปจากวัตถุประสงค์ของการสงวนหวงห้ามไว้หรือเป็นการขัดขวางต่อสภาพก ารใช้
ประโยชน์ร่วมกันของประชาชนได้แตอ่ ย่างใด ส่วนกรณีของกรมเจ้าทา่ น้ันยังไม่มีข้อเท็จจริงว่ามีการใช้บริเวณ

ค่มู อื สนบั สนุนการคุ้มครองที่ดินของรฐั 55
คู่มือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดินของรฐั 55

“หนองหาน” ในกิจการที่จะต้องอยู่ในความรับผิดชอบของกรมเจ้าท่า กรมเจ้าท่าจึงไม่มีภาระหน้าที่ในการ
ดแู ลรกั ษาบริเวณ “หนองหาน” ตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพทุ ธศักราช 2456

(2) กฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับการจดั การทางบก
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการทางบก เช่น พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535
กาหนดให้ผู้อานวยการทางหลวง เป็นผู้ควบคุมทางหลวง โดยอธิบดีกรมทางหลวง เป็นผู้อานวยการทางพิเศษ
ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงสัมปทาน ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภอซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย
เป็นผู้อานวยการทางหลวงชนบท นายกเทศมนตรี เป็นผู้อานวยการทางหลวง และประธานกรรมการสุขาภิบาล
เป็นผู้อานวยการทางหลวงสขุ าภิบาล
บทบัญญัตขิ องกฎหมายท่ีสนับสนุนการคมุ้ ครองป้องกนั เช่น ตามนัยมาตรา 38 “ห้ามมิให้
ผู้ใดติดตั้ง แขวน วางหรือกองส่ิงใดในเขตทางหลวงในลักษณะท่ีเป็นการกีดขวางหรืออาจเป็นอันตรายแก่
ยานพาหนะ หรือในลักษณะที่จะทาให้เกิดความเสียหายแก่ทางหลวงหรือความไม่สะดวกแก่งานทาง เว้นแต่
ได้รบั อนุญาต...” มาตรา 37 “ห้ามมิให้ผู้ใดสรา้ งทาง ถนน หรือส่ิงอืน่ ใดในเขตทางหลวงเพื่อเป็นทางเข้าออก
ทางหลวง เว้นแต่ได้รบั อนุญาต...” และ มาตรา 43 “ห้ามมใิ ห้ผู้ใดขุด ขน ทาลายหรือทาให้เสียหายแก่ทางหลวง
หรือวัตถุสาหรบั ใชง้ านทาง เว้นแตไ่ ด้รับอนญุ าต...”
(3) กฎหมายเกีย่ วกบั การคุม้ ครองทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
กฎหมายเก่ียวกับการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่นพระราชบัญญัติป่าไม้
พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และ
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ได้บัญญัติอานาจหน้าที่การดูแลคุ้มครองป้องกัน
“ป่า” “เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า” “ป่าสงวนแห่งชาติ” และ “อุทยานแห่งชาติ” ไว้เป็นการเฉพาะสาหรับ
เจ้าหน้าท่ีของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยมีหลักการสาคัญว่าการดาเนินการใด ๆ
เกี่ยวกับ ท่ีสาธารณประโยชน์ ท่ีอยู่ในเขต หรือท่ีต้องด้วยบทบัญญัติข้อห้ามของกฎหมายดังกล่าว จะต้อง
ได้รบั อนญุ าตจากพนักงานเจ้าหน้าท่ี
คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 3) เห็นว่า การตราพระราชกฤษฎีกา
กาหนดเขตอุทยานแห่งชาติไม่มีผลเป็นการถอนสภาพที่สาธารณประโยชน์แต่อย่างใด เพราะการถอนสภาพ
ท่ีสาธารณประโยชน์จะต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกาหรือพระราชบัญญัติถอนสภาพท่ีดิน ตามมาตรา 8
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน แต่เนื่องจากที่สาธารณประโยชน์เป็นที่ดินของรัฐและไม่มีผู้ใดสามารถอ้าง
เอาเป็นเจ้าของหรือครอบครองได้ ท่ีดินดังกล่าวจึงสามารถกาหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติได้ ตามมาตรา 6
แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 เม่ือต่อมาได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาถอนสภาพท่ีดิน
บริเวณดังกล่าวออกจากการเป็นที่สาธารณประโยชน์ ที่ดินน้ันจึงพ้นจากการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันแต่เน่ืองจากท่ีดินดังกล่าวยังเป็นอุทยานแห่งชาติอยู่การจะเข้าไปดาเนินการใด ๆ
ในท่ีดินนั้น จึงต้องปฏบิ ัติตามพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 สาหรับกรณีน้ีก็ต้องไดร้ ับอนุญาต
จากพนักงานเจ้าหน้าท่ี ท้ังน้ี ตามมาตรา 16 (13) แห่ง พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
(เวยี นตามหนังสอื กรมท่ีดิน ที่ มท 0711/ว 17676 ลงวันท่ี 2 กันยายน 2530) (ความเห็นคณะกรรมการ
กฤษฎกี า เรื่องเสรจ็ ท่ี ๒๗๑/๒๕๓๐)
(4) กฎหมายเก่ียวกบั การจดั ระบบการถือครองท่ีดนิ
กฎหมายเก่ียวกับการจัดระบบการถือครองท่ีดิน เช่น พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือ
เกษตรกรรม พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2558 ได้บัญญัติอานาจ

56 คู่มือสนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ดี นิ ของรฐั คู่มือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 56

หน้าท่ีของหน่วยงานรัฐ เจ้าหน้าที่รัฐ ในการบริหารจัดการท่ีดินและการจัดระบบการถือครองที่ดินในเขต
รับผิดชอบไว้เป็นการเฉพาะ หากในเขตพื้นที่รับผิดชอบมีท่ีสาธารณประโยชน์อยู่ การดาเนินการใด ๆ จะต้อง
เป็นไปตามเง่ือนไขของกฎหมายน้นั ดว้ ย เชน่

ในเขตพ้ืนท่ีที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศเป็นเขตปฏิรูปที่ดิน ซ่ึงตามมาตรา 26 (1) แห่ง
พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 กาหนดให้ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หากพลเมืองเลิกใช้หรือเปลี่ยนสภาพจากการเป็นที่ดินสาหรับพลเมือง
ใช้ร่วมกันแล้ว ย่อมถูกถอนสภาพจากการเป็นท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
โดยผลของพระราชกฤษฎีกาฯ เป็นอานาจหน้าท่ีของสานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ท่ีจะ
นาไปดาเนินการปฏิรูปท่ีดิน แต่ถ้าพลเมืองยังไม่เลิกใช้ หรือยังไม่เปลี่ยนสภาพท่ีดินนั้นยังคงเป็นที่ดินอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมต้องจัดที่ดิน
แปลงอื่นใหป้ ระชาชนใชร้ ่วมกนั แทนกอ่ น จงึ จะมผี ลเป็นการถอนสภาพตามกฎหมาย

ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน ท่ีอยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกา
กาหนดเขตสารวจการจัดรูปท่ีดินจะมีผลเป็นการถอนสภาพท่ีดินให้เป็นทรัพย์สินของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เพ่ือใช้ในการจัดการรปู ท่ีดิน ตามนยั มาตรา 34 แหง่ พระราชบัญญัตจิ ัดรูปท่ดี ินเพอื่ เกษตรกรรม พ.ศ. 2558
ดังน้ัน จะต้องได้ข้อเท็จจริงว่าท่ีดินดังกล่าวประชาชนเลิกใช้ประโยชน์ร่วมกันแล้ว หากประชาชนยังใช้ประโยชน์
ร่วมกันอยู่ ท่ีดินนั้นยังคงสภาพเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่ คณะกรรมการ
จัดรูปท่ีดินจังหวัดต้องจัดให้ท่ีดินตอนน้ันคงเป็นที่ดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันต่อไป ถ้าไม่อาจดาเนินการได้
ให้คณะกรรมการจดั รปู ท่ดี นิ จงั หวดั จัดทีด่ ินแปลงอน่ื ภายในเขตตามพระราชกฤษฎกี านน้ั ให้แทน

กล่าวโดยสรุป หากที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้รว่ มกัน ถูกบัญญัติ
อยู่ในกฎหมายฉบับใด และจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายฉบับน้ัน ให้ถือว่าหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจ
หน้าท่ีตามบทบัญญัติของกฎหมายเป็นผู้มีอานาจหน้าท่ีโดยตรงในการคุ้มครองป้องกัน แต่อย่างไรก็ตาม
นายอาเภอแห่งท้องท่ีก็ยังคงมีอานาจหน้าท่ีโดยทั่วไปที่จะดูแลรักษาที่ดินบริเวณน้ีอยู่ด้วยตามพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศกั ราช 2457 (ความเหน็ คณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องเสร็จที่ 14/2533)

4.3 อานาจหน้าที่ในการคุ้มครองป้องกันท่ีดินตาม มาตรา 1304 (3) ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์

ท่ี ดิ น อั น เป็ น ส าธ าร ณ ส ม บั ติ ข อ งแ ผ่ น ดิ น ส าห รับ ใช้ เพ่ื อ ป ระ โย ช น์ ข อ งแ ผ่ น ดิ น โด ย เฉ พ า ะ
ตามมาตรา 1304 (3) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ ท่ีดินที่ต้ังสถานท่ีราชการต่าง ๆ
หรือท่ีเรียกว่าท่ีราชพัสดุ แต่ใช่ว่าที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับใช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพาะจะเป็นที่ราชพัสดุไปเสียท้ังหมดไม่ คงต้องพิจารณาจากบทบัญญัติมาตรา 4 และมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 ซึ่งบัญญัติให้ความหมายของท่ีราชพัสดุ ข้อยกเว้นของการเป็น
ท่ีราชพัสดุ และกาหนดหนว่ ยงานของรัฐผู้ถือกรรมสทิ ธ์ิในทร่ี าชพสั ดุไว้ ดังนี้

ตามนัยมาตรา 4 วรรคท้าย “ส่วนอสังหาริมทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคล และของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ไม่ถอื ว่าเปน็ ทีร่ าชพสั ดุ” และ

ตามนัยมาตรา 5 วรรคแรก “ให้กระทรวงการคลังเปน็ ผูถ้ อื กรรมสทิ ธ์ทิ ร่ี าชพสั ดุ”
ดังนั้น เม่ือท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
แปลงใดเป็นท่ีราชพัสดุ กระทรวงการคลัง โดยกรมธนารักษ์จะเป็นหน่วยงานผู้มีอานาจหน้าท่ีการดูแลรักษา

ค่มู อื สนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 57
คู่มอื สนับสนุนการคุ้มครองท่ดี ินของรัฐ 57

และคุ้มครองป้องกัน แต่หากเป็นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคล และขององค์กรปกครอง
ท้องถน่ิ ซง่ึ ไม่ถือว่าเปน็ ทรี่ าชพสั ดุ หนว่ ยงานดงั กล่าวจะเป็นผูม้ อี านาจหน้าท่ดี ูแลรักษาและคุ้มครองป้องกัน

คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย กองท่ี ๓) ได้พิจารณาปัญหาข้อกฎหมาย
เก่ียวกับอานาจการจัดหาผลประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ (อันมิใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน) ซ่ึงก่อนประมวล
กฎหมายท่ีดินใช้บังคับ กระทรวงการคลัง (กรมธนารักษ์) เป็นผู้ดาเนินการอยู่นั้น เม่ือประมวลกฎหมายท่ีดิน
ใช้บังคับแล้วจะเปลี่ยนแปลงไปประการใดหรือไม่ ซ่ึงคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่า เมื่อได้พิจารณาความ
ในมาตรา ๘ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินท่ีว่า ...ถ้าไม่มีกฎหมายกาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน …และความในมาตรา ๑๐
ที่ว่า …ที่ดินของรัฐซ่ึงมิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง …แล้วจะเห็นว่าอธิบดีกรมที่ดินไม่มีอานาจจัดหา
ผลประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ (อันมิใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน) ท่ีกระทรวงการคลังมีอานาจดาเนินการ
อยู่ก่อนประมวลกฎหมายที่ดิน หรืออีกนัยหน่ึง หลังจากประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับแล้ว อานาจในการ
จัดหาผลป ระโยชน์ ในที่ดินของรัฐอันมิใช่สาธ ารณ สมบัติของแผ่นดินตามท่ีกระท รว งการคลังมีอยู่ห าได้
เปล่ียนแปลงไปแต่ประการใด (ความเหน็ คณะกรรมการกฤษฎีกา เร่อื งเสร็จท่ี ๑๗๗/๒๔๙๘)

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 8836/2542 วินิจฉัยว่า “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน
พ.ศ. 2534 มาตรา 38 เป็นกฎหมายพิเศษที่กาหนดหลักเกณฑ์ในการมอบอานาจ เพ่ือกระจายอานาจบริหาร
ให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารราชการแผ่นดิน และกาหนดวิธีการมอบอานาจ โดยให้ทาเป็นหนังสือ
ดังน้ัน เม่ือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังซึ่งเป็นผู้แทนของกระทรวงการคลังโจทก์มีคาส่ังมอบอานาจ
ให้อธิบดีกรมธนารักษ์มีอานาจร้องทุกข์และแต่งตั้งทนายความเพ่ือฟ้องคดีเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ โดยทาเป็น
หนังสือการมอบอานาจให้ฟ้องคดีน้ีจึงถูกต้องตามมาตรา 38 แล้ว ที่ดินพิพาทเป็นที่ราชพัสดุของโจทก์
ตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 มาตรา 11 และเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับท่ีใช้
เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304 (3) ดังนั้น
ท่ีจาเลยต่อสู้ว่า โจทก์ฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งที่ดินพิพาทเกิน 10 ปี ฟ้องของโจทก์ย่อมขาดอายุความน้ัน
กรณีต้องบังคับตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1306 จาเลยไม่สามารถยกอายุความขึ้นต่อสู้
กบั โจทก์ได้”
5. การดแู ลรักษาและคุม้ ครองป้องกันท่ีสาธารณสมบัติของแผน่ ดินสาหรบั พลเมอื งใช้รว่ มกัน

5.1 หน่วยงานทีม่ ีหนา้ ทดี่ แู ลรกั ษาและคุ้มครองปอ้ งกนั
หน่วยงานท่ีมีหน้าที่ดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรบั พลเมือง

ใช้ร่วมกนั มอี ยู่หลายหน่วยงานดว้ ยกนั ดังน้ี
1) กระทรวงมหาดไทย
ควบคุม กากับ ดูแลให้หน่วยงานท่ีมีหน้าที่ความรับผิดชอบเก่ียวกับท่ีสาธารณประโยชน์

ให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมาย และนโยบายของรัฐบาลโดยเคร่งครัด วางนโยบายทางปฏิบัติ และออกกฎหมาย
เก่ียวกับที่สาธารณประโยชน์และเป็นผู้อนุมัติ อนุญาตเก่ียวกับท่ีสาธารณประโยชน์ตามที่มีกฎหมาย ระเบียบ
กาหนดไว้

2) กรมการปกครอง
ควบคุม กากับ ดูแลให้หน่วยงานในสังกัดดาเนินการเกี่ยวกับท่ีสาธารณประโยชน์และ

ท่ีสาธารณประโยชน์ประจาตาบล และหมู่บ้าน ให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมายและนโยบายของกระทรวง
มหาดไทยโดยเคร่งครดั และพิจารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นเกยี่ วกบั ท่สี าธารณประโยชนด์ ังกลา่ วทงั้ หมด

58 คูม่ ือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรัฐ คู่มือสนบั สนุนการคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 58

3) กรมที่ดนิ
(1) ดาเนินการตามประมวลกฎหมายที่ดินตลอดจนบริหารจัดการท่ีดินของรัฐเป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด (ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
พ.ศ. 2557 วนั ที่ 29 ธนั วาคม 2557)

(2) ทาหน้าที่เก่ียวกับการจัดทา เปล่ียนแปลง และรักษาทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์
ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0604/ว 197 ลงวันที่ 18 เมษายน 2510 เรื่อง การดูแลรักษา
และดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
พ.ศ. 2553

(3) รงั วดั ออกหนังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวง (นสล.) ตามมาตรา 8 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ
(4) ดาเนินการในเรื่องการขอใช้ ขอถอนสภาพ ขอขึ้นทะเบียน การจัดหาผลประโยชน์
การขอสัมปทาน และการสงวนหรือหวงห้ามที่ดนิ ของรัฐ ซ่ึงมิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครองเพื่อให้ประชาชน
ใชป้ ระโยชน์ร่วมกัน ตามมาตรา 8 มาตรา 8 ทวิ มาตรา 9 ถึง มาตรา 12 มาตรา 20 แห่งประมวลกฎหมายทีด่ ิน
และระเบียบกระทรวงมหาดไทยที่เกีย่ วขอ้ งกับเร่ืองเหล่านี้
(5) ดาเนินการในเรื่องการขอเปลี่ยนสภาพท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับ
พลเมืองใช้ร่วมกันจากการเปล่ียนสภาพท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
จากการใช้เพื่อประโยชนอ์ ย่างหนง่ึ เป็นอกี อยา่ งหนึ่ง พ.ศ. 2543
4) จังหวดั
ควบคุม กากับ ดูแล ให้หน่วยงานในสังกัดดาเนินการเก่ียวกับที่สาธารณประโยชน์
และท่ีสาธารณประโยชน์ประจาหมู่ตาบล และหมู่บ้าน ให้เป็นไปตามระเบียบ กฎหมาย และนโยบายของ
กระทรวงมหาดไทยโดยเคร่งครัด และพิจารณาเร่ืองร้องเรียนเกี่ยวกับท่ีสาธารณประโยชน์ที่เกิดข้ึนในท้องที่
จังหวัด
5) นายอาเภอ
(1) ดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่สาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช 2457 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี
(ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0409/ว 1394 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2528
เรอื่ ง กาหนดมาตรการป้องกนั การบุกรุกที่สาธารณประโยชน์ หนงั สอื กรมการปกครอง ที่ มท 0409/ว 490
ลงวันท่ี 13 มิถุนายน 2529 เร่ือง การบริหารเกี่ยวกับการดูแลที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกัน
ท่ดี นิ อนั เป็นสาธารณสมบัติของแผน่ ดินสาหรบั พลเมืองใช้ร่วมกัน พ.ศ. 2553
(2) จัดทา เปลี่ยนแปลง และรักษาทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์ ตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0604/ว 197 ลงวันที่ 18 เมษายน 2510 เร่อื ง การดูแลรักษาและดาเนนิ การ
คุม้ ครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบตั ิของแผ่นดนิ และตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแล
รกั ษาและคมุ้ ครองป้องกันท่ีดินอนั เป็นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดินสาหรับพลเมืองใช้รว่ มกนั พ.ศ. 2553
(3) ดาเนินการกรณีมีการร้องเรียนเกีย่ วกับท่ีสาธารณ ประโยชน์ การบุกรุกทส่ี าธารณประโยชน์
และดาเนินการกรณีต้องวินิจฉัยว่าท่ีดินเป็นที่สาธารณประโยชน์หรือไม่ ตั้งอยู่ ณ ท่ีใด มีขอบเขตอย่างไร ในการ
ดาเนินการดังกล่าวถ้าจะต้องสอบสวนข้อเท็จจริงก็ให้เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน
ข้อเท็จจริง ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการสอบสวนเกี่ยวกับการบุกรุกท่ีหรือทางสาธารณประโยชน์

คมู่ ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 59
ค่มู อื สนับสนุนการคมุ้ ครองท่ดี ินของรฐั 59

พ.ศ. 2539 เม่ือคณะกรรมการสอบสวนเสร็จให้สรุปสานวนเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาส่ังการ
หรือดาเนินการไปตามท่เี ห็นสมควร ในกรณีที่มีปัญหาทหี่ าข้อยุติไมไ่ ด้ ให้นาเร่ืองเสนอคณะกรรมการประสาน
การแกไ้ ขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรฐั สว่ นจงั หวดั (กบร.สว่ นจังหวดั ) พจิ ารณา

(4) ระวงั ชแ้ี นวเขต และรับรองแนวเขตท่ีสาธารณประโยชน์ ตามหนงั สือกระทรวงมหาดไทย
ด่วนมาก ที่ มท 0719/ว 525 ลงวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2542 เรื่อง ให้สอบสวนผปู้ กครองท้องที่ ก่อนออก
หนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท 0516.2/ว 26711 ลงวันท่ี 30
กันยายน 2551 และระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเขียนข้างเคียงและการรับรองแนวเขตที่ดิน (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2551 โดยกาหนดให้การระวังช้ีแนวเขตที่สาธารณประโยชน์เป็นหน้าที่ของนายอาเภอร่วมกับผู้บริหาร
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

(5) เป็นผู้ย่ืนคาขอออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง (นสล.) ตามที่ได้รับมอบจากกระทรวง
มหาดไทย ตามคาส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี 948/2516 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2516 เร่ือง มอบหมาย
การดาเนินการขอออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรบั พลเมือง
ใชร้ ่วมกนั

(6) ทาการสารวจท่ีสาธารณประโยชน์ในเขตท้องที่ของตนเพ่ือประสานงานจังหวัดและกรมที่ดิน
ดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง อานวยความสะดวกและควบคุมการรังวัดออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวง ของเจ้าหน้าท่ีกรมท่ีดิน รวมท้ังทาการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีที่รังวัดออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงได้เน้ือท่ีน้อยกว่าหลักฐานเดิม ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้
สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินช่วยเหลือในการดาเนินการออกหนังสื อสาคัญสาหรับท่ีหลวง
พ.ศ. 2543

(7) ร้องทุกข์กล่าวโทษให้ดาเนินคดีบุกรุกที่สาธารณประโยชน์ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบบั 11) พ.ศ. 2551 หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0409/ว 1394 ลงวันท่ี 25
ตุลาคม 2528 เรื่อง กาหนดมาตรการป้องกันการบุกรุกท่ีสาธารณประโยชน์ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
พ.ศ. 2553 และตามหนังสือกรมการปกครอง ท่ี มท 0311.1/ว 1283 ลงวันท่ี 9 มิถุนายน 2540
เรอื่ ง การดาเนนิ คดกี ับผู้บุกรกุ ทางสาธารณประโยชน์

6) องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล (อบต.)
(1) ดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่สาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติ

ลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช 2457 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่
(ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 ตามมาตรา 23 (2, 3)
ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการดูแลรักษาและค้มุ ครองป้องกนั ทดี่ ินอันเป็นสาธารณสมบตั ิของแผน่ ดิน
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน พ.ศ. 2553 และตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (27)

(2) ร้องทุกข์กล่าวโทษให้ดาเนินคดีกับผู้บุกรุกท่ีสาธารณประโยชน์ ตามหนังสือกรมการปกครอง
ที่ มท 0311.1/ว 1283 ลงวนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2540 เรื่อง การดาเนนิ คดีกับผู้บุกรุกทางสาธารณประโยชน์

(3) ให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือ ให้ความเห็นแก่นายอาเภอเก่ียวกับเร่ืองการออก
หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง รวมท้ังให้ความรว่ มมือและควบคมุ กากับดูแลการทางานของเจา้ หน้าที่กรมที่ดิน

60 คูม่ อื สนบั สนุนการคมุ้ ครองทีด่ ินของรฐั คูม่ อื สนับสนุนการคุ้มครองที่ดินของรฐั 60

ท่ีมารังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบล
หรอื องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินชว่ ยเหลอื ในการดาเนนิ การออกหนงั สอื สาคญั สาหรับทห่ี ลวง พ.ศ. 2543

7) เทศบาล
(1) หน้าทเ่ี กี่ยวกบั ท่สี าธารณประโยชน์ ตามพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50 (2)

และ 53 (5)
(2) ดูแลรักษาท่ีสาธารณะ ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจ

ให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (27)
8) เมืองพัทยา
(1) ดูแลรักษาท่ีสาธารณะ ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจ

ใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (27)
(2) ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ตามมาตรา 67 (2)

แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพทั ยา พ.ศ. 2521
(3) หน้าท่ีอ่ืนตามท่ีกฎหมายระบุเป็นหน้าท่ีของเทศบาลนคร ตามมาตรา 67 (11)

แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2521
9) กรงุ เทพมหานคร
ให้ผู้อานวยการเขตมีอานาจหน้าท่ีในการดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์ เช่นเดียวกับ

นายอาเภอ ตามมาตรา 69 แหง่ พระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
5.2 การดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกัน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษา

และคุ้มครองป้องกันที่ดนิ อันเป็นสาธารณสมบัติของแผน่ ดนิ สาหรับพลเมอื งใช้ร่วมกัน พ.ศ. 2553
ในการดาเนินการเกี่ยวกับที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันดังกล่าว

กระทรวงมหาดไทยได้ออกระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน พ.ศ. 2553 โดยได้มีการยกเลิกระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
พ.ศ. 2544 เนื่องจากได้มีพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 แก้ไขมาตรา 122
แหง่ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทอ้ งท่ี พระพทุ ธศักราช 2457 โดยใหน้ ายอาเภอร่วมกับองคก์ รปกครอง
สว่ นท้องถิ่น มีอานาจหน้าที่ดูแลรกั ษาท่ีดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใชร้ ่วมกัน โดยระเบียบ
ดงั กล่าวมีสาระสาคัญ สรปุ ได้ดงั น้ี

1) ลกั ษณะทีด่ นิ
ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หมายถึง ที่ดินสาหรับประชาชน

ใช้ร่วมกันไม่ว่าจะเป็น โดยสภาพธรรมชาติ โดยการใช้ร่วมกันของประชาชน โดยทางนิติกรรม โดยผลของ
กฎหมาย

2) อานาจหน้าที่
นายอาเภอรว่ มกับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ตามกฎหมายลักษณะปกครองทอ้ งที่มีอานาจ

หน้าทดี่ ูแลรกั ษาและคุม้ ครองป้องกันท่ดี ินสาธารณสมบตั ิของแผ่นดินสาหรบั พลเมืองใช้ร่วมกัน
กรณีมีข้อพิพาทหรือคดีให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการระงับข้อพิพาทหรือ

รอ้ งทกุ ข์กล่าวโทษภายใน 30 วัน นบั แตร่ เู้ หตแุ หง่ ข้อพพิ าทหรือคดนี ้ัน เว้นแตค่ ดีจะขาดอายคุ วามให้ร้องทุกข์

คู่มือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 61
คูม่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองทดี่ ินของรฐั 61

ทันที หากไม่ดาเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแจ้งเหตุผลความจาเป็นให้นายอาเภอทราบภายใน 7 วัน
(นับแต่ครบกาหนด 30 วัน) และให้อาเภอเป็นผู้ดาเนินการหรือนายอาเภอจะร่วมกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินดาเนินการก็ได้ กรณีเรื่องเดิมท่ีได้ดาเนินการไปก่อนหน้าระเบียบน้ีให้ใช้ดาเนินการต่อไป
และหากอาเภอจะดาเนนิ การฝา่ ยเดียวก็ได้

3) การใช้ประโยชน์
นายอาเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีอานาจใช้หรือยินยอมให้บุคคลอ่ืนใช้ โดยจะต้อง

ดาเนินการตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และระเบยี บท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด
4) การจัดทาทะเบยี น
ให้จัดทาทะเบียนท่ีสาธารณประโยชน์ 4 ชุด เก็บไว้ท่ีอาเภอ สานักงานที่ดินจังหวัด องค์กร

ปกครองสว่ นท้องถน่ิ กรมท่ีดนิ โดยทะเบยี นฯ เดมิ ให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ คดั เกบ็ ไว้ 1 ชดุ
กรณียังไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ผู้มีอานาจขอออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงโดย

ให้สานกั งานทดี่ นิ จงั หวดั /สาขา สนับสนนุ ในการดาเนินการ เชน่ ด้านขอ้ มลู และการรังวัดทาแผนที่
กรณีออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงแล้ว ทะเบียนฯ ไม่ถูกต้องครบถ้วนให้เจ้าพนักงานท่ีดิน

แก้ไขรายงานใหถ้ กู ต้องครบถว้ นและลงชื่อ วนั เดอื น ปี ไว้
กรณีมีพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา คาพิพากษาหรือคาสั่งศาลว่าท่ีดินน้ัน ไม่เป็น

ท่ีสาธารณประโยชน์ทั้งแปลงให้เจ้าพนักงานที่ดินหมายเหตุ หากไม่เป็นบางส่วนให้แก้ไขให้ถูกต้อง แล้วลงช่ือ
วนั เดอื น ปี กากับไว้

กรณียังไม่มีการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแต่ตรวจสอบแล้ว ทะเบียนฯ ผิดพลาด
ใหส้ านักงานท่ีดินรวบรวมข้อเท็จจริง ความเหน็ องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ อาเภอรายงานผู้ว่าราชการจังหวัด
เสนอกระทรวงมหาดไทยส่ังการ หากกระทรวงมหาดไทยเห็นชอบแก้ไข จาหน่าย ให้เจ้าพนักงานท่ีดินหมายเหตุ
ถ้าผิดทงั้ แปลงหมายเหตุ “ไมม่ ีท่ีดนิ ตามที่ระบใุ นทะเบียน” และลงช่ือ วนั เดอื น ปี กากับ

เมือ่ เจ้าพนักงานที่ดินแก้ไขหรือจาหน่ายทะเบียนฯ แลว้ ใหส้ ่งสาเนาให้ผู้ดูแลรักษาแกไ้ ขหรือ
จาหน่ายใหต้ รงกนั

5) การตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ
ให้นายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นรว่ มกันดาเนินการ โดยมีสานักงานท่ีดนิ จังหวัด

และสาขา เป็นผู้สนับสนุน
6) คา่ ใชจ้ ่าย
ให้ใช้งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการดาเนินการ เช่น การออกหนังสือ

สาคัญสาหรับทห่ี ลวง การดาเนินคดี การรงั วดั การจดั ทา ตรวจสอบทะเบียน รวมทั้งคา่ ใช้จา่ ยอ่ืน ๆ
7) บทเฉพาะกาล
คาขอเรื่องราวที่ได้ดาเนินการไปก่อน หรืออยู่ระหว่างดาเนินการให้ดาเนินการต่อไปเท่าที่

ไม่ขดั หรือแยง้ กับระเบียบนี้
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติ

ของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน พ.ศ. 2553 นอกจากจะออกมารองรับการดาเนินการของผู้มีอานาจ
หน้าท่ี ตามนัยมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช 2457 ซ่ึงแก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 แล้ว ยังกาหนดหน้าที่ให้
หน่วยงานของรฐั สนบั สนุนการดาเนินการดังกล่าวไว้ ตามนยั ข้อ 12 ซึ่งกาหนดให้ “การตรวจสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับท่ีดินตามข้อ 5 เช่น ประวัติความเป็นมา ท่ีต้ัง ขอบเขต สภาพปัญหาและการแก้ไขปัญหาให้เป็น

62 คูม่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรัฐ คู่มือสนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 62

หน้าท่ีของนายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินโดยให้สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดิน
จังหวัดสาขา ให้การสนับสนุนในการดาเนินการด้วย” ดังนั้น บทบาทของกรมที่ดินในการดาเนินการเก่ียวกับ
การดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
ตามระเบียบดังกล่าว จึงมีเพียงหน้าที่สนับสนุนหน่วยงานหลัก คือ นายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถิ่นทม่ี อี านาจหน้าท่ีตามกฎหมายเทา่ นั้น

นอกจากน้ันตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน พ.ศ. 2553 ข้อ 10 และข้อ 11 ยังได้กาหนด
หน้าที่ใหน้ ายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ดาเนินการจัดทาทะเบยี นที่ดนิ สาธารณประโยชน์ และ
ดาเนินการในส่วนที่เกยี่ วข้องไว้ เช่น การคดั สาเนาทะเบียนท่ีดินสาธารณประโยชน์ การตรวจสอบข้อเท็จจริง
ให้ความเห็นเกี่ยวกับความผดิ พลาดคลาดเคลื่อนของทะเบยี นที่ดินสาธารณประโยชน์ และการขอออกหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวงเปน็ หน้าที่ของนายอาเภอรว่ มกบั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินทัง้ ส้ิน โดยให้สานักงานทด่ี ิน
จังหวัดหรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา ให้การสนับสนุนในการดาเนินการ ดังน้ัน จึงกล่าวได้ว่าบทบาทของ
กรมท่ีดินในการดาเนินการกรณีดังกล่าวนี้ จึงมีเพียงหน้าที่สนับสนุนหน่วยงานหลัก คือ นายอาเภอร่วมกับ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินเช่นกัน

5.3 การคุ้มครองป้องกนั ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการสอบสวนเกี่ยวกับการบุกรกุ ท่ี
หรือทางสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2539

ใน การป ฏิ บั ติห น้ าท่ี ของห น่ วยงาน ที่ เก่ียวข้องใน การแก้ไขปั ญ ห าข้อพิ พ าท เกี่ ยวกับ ท่ี ดิ น
สาธารณประโยชน์บางกรณีมีปัญหายุ่งยาก สลับซับซ้อน มีผลกระทบต่อหลายฝ่าย จึงจาเป็นท่ีจะต้องมี
กระบวนการตรวจสอบข้อเท็จจริงที่เป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย กระทรวง
มหาดไทยจึงออกระเบียบ ว่าด้วยการสอบสวนเก่ียวกับการบุกรุกท่ีหรือทางสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2539
ลงวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2539 โดยมีสาระสาคัญเก่ียวกับการกาหนดให้มีการแต่งต้ัง “ผู้มีอานาจหน้าที่
ในการสอบสวน” อานาจหน้าท่ี และข้ันตอนการปฏิบัติของ “ผู้มีอานาจหน้าที่ในการสอบสวน” การกาหนด
ตัวบุคคล “ผู้มีส่วนได้เสีย” รวมถึงสิทธิหน้าที่ของคู่กรณี โดยเฉพาะสิทธิในการได้รับทราบข้อเท็จจริงและ
พยานหลักฐานจากการสอบสวน เมื่อดาเนินการเสร็จแล้วให้สรุปสานวนเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด หรือปลัด
กรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณี เพ่ือพิจารณาส่ังการหรือดาเนินการตามที่เห็นสมควร รวมทั้งแจ้งให้คู่กรณี
ทราบด้วย ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวมีพ้ืนฐานมาจากกระบวนการพิจารณาทางปกครองของเจ้าหน้าที่
ตามนัยพระราชบญั ญัติวธิ ีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

สาระสาคัญของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการสอบสวนเกี่ยวกับการบุกรุกที่หรือทาง
สาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2539 มดี ังนี้

1) คานยิ าม
“ผู้มีอานาจหนา้ ท่ีในการสอบสวน” หมายถึง เจ้าหนา้ ท่ีของรัฐผู้หนึ่งผู้ใด หรือคณะกรรมการ

สอบสวนท่ีผู้วา่ ราชการจงั หวดั หรอื ปลัดกรุงเทพมหานครแตง่ ต้งั แล้วแตก่ รณี
“ผู้มีส่วนได้เสีย” หมายถึง
(1) ผูท้ ่มี ผี ลประโยชน์ได้เสยี เกี่ยวกับการบุกรุกที่หรือทางสาธารณประโยชน์
(2) ผู้ที่เป็นญาตเิ กี่ยวข้องกับบุคคลตาม (1) ได้แก่ เป็นบพุ การีหรอื ผสู้ ืบสันดานไมว่ า่ ชั้นใด ๆ

หรือเป็นพี่น้อง หรือเป็นลูกพ่ีลูกน้องนับได้เพียงภายในสามชั้น หรือเป็นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียง
สองชั้น

ค่มู ือสนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 63
คมู่ ือสนับสนนุ การคมุ้ ครองทด่ี นิ ของรัฐ 63

(3) เปน็ หรอื เคยเปน็ ผู้แทนโดยชอบธรรมของบุคคล ตาม (1)
(4) เป็นเจา้ หนี้หรือลกู หน้ี หรือเป็นนายจา้ ง หรอื เคยเปน็ นายจ้างของบุคคลตาม (1)
2) การแต่งตัง้ ผูม้ อี านาจหน้าทใ่ี นการสอบสวน
(1) เมื่อมีกรณีอันสมควรจะต้องสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับการบุกรุกท่ีหรือทางสาธารณประโยชน์
ใหผ้ วู้ ่าราชการจงั หวัด หรอื ปลดั กรุงเทพมหานคร แตง่ ตง้ั ผ้มู อี านาจหน้าท่ีในการสอบสวนขนึ้
(2) ผู้มีส่วนได้เสียเก่ียวกับการบุกรุกที่หรือทางสาธารณประโยชน์นั้น ไม่สมควรจะได้รับ
การแตง่ ตัง้ ใหเ้ ปน็ ผู้มีอานาจหน้าทใ่ี นการสอบสวน
(3) เม่ือมีการคัดค้านหรือโต้แย้งว่า ผู้มีอานาจหน้าที่ในการสอบสวนมีส่วนได้เสียในเรื่อง
ทมี่ กี ารสอบสวน ใหผ้ ้วู ่าราชการจังหวดั หรือปลัดกรงุ เทพมหานครแล้วแต่กรณีพิจารณาส่ังการตามที่เห็นสมควร
3) การสอบสวน
ให้ผ้ทู ่มี ีอานาจหน้าทใี่ นการสอบสวนดาเนนิ การดงั น้ี
(1) สอบสวนถึงประวัติความเป็นมา สภาพท่ีดิน อาณาเขตเนื้อที่ และการใช้ประโยชน์ของ
ทีด่ ินนัน้ ๆ โดยชดั เจน นอกจากน้ีให้สอบสวนในประเดน็ ท่ีเกี่ยวขอ้ งดังตอ่ ไปน้ดี ว้ ย

ก. ท่ีดินท่ีทางราชการสงวนหวงห้ามไว้นั้น ได้สงวนหวงห้ามไว้ตั้งแต่เมื่อใด ผู้ใดประกาศ
หวงห้ามอาศัยอานาจตามกฎหมายใด มีหลักฐานอย่างใดบ้าง ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันมาอย่างใด
ต้ังแตเ่ มื่อใด ในปัจจบุ ันยงั ใช้ประโยชนร์ ว่ มกันอยู่ หรือเลกิ ใชแ้ ล้วตั้งแตเ่ มอื่ ใด เพราะเหตุใด

ข. ทางน้า หนอง บึง นั้น ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันมาอย่างใด มีบริเวณตื้นเขิน
หรอื ไม่เพยี งใด การตน้ื เขินน้นั เปน็ ไปในลักษณะใด กล่าวคอื มีบคุ คลทาให้เกิดขึ้นหรอื เปน็ ไปโดยธรรมชาติ

ค. ถนน ทางเดิน น้ัน มีความเป็นมาอย่างไร กล่าวคือ เจ้าของที่ดินอุทิศให้โดยตรง หรือ
โดยปริยาย หรืออย่างใด ทางเส้นนี้เริ่มจากท่ีใดถึงที่ใด ใช้กันอย่างไร เป็นทางซ่ึงสาธารณชนใช้หรือใช้เฉพาะ
เจา้ ของท่ดี ินในละแวกน้ัน

ง. ที่ชายตล่ิงนั้น ตามปกติน้าท่วมถึงหรือไม่ เพียงใด ท่วมถึงทุกปีหรือไม่ เป็นระยะเวลา
นานเทา่ ใด ประชาชนไดใ้ ชป้ ระโยชน์ร่วมกันหรือไม่ อยา่ งไร หรอื มีผู้ใดใชป้ ระโยชน์หรอื ไม่

(2) จดั ทาแผนทสี่ ังเขปแสดงเขตที่หรือทางสาธารณประโยชน์ทด่ี ินข้างเคียง และส่วนท่ีมีการ
บุกรุกเพื่อประกอบการพจิ ารณาดว้ ย

(3) สอบสวนผู้สูงอายุและผู้ปกครองท้องท่ที ้ังในอดีตและปัจจุบันท่ีเคยรู้เหน็ หรือใช้ประโยชน์
ในท่ีหรือทางสาธารณประโยชน์น้ันมากอ่ นเป็นหลกั

(4) ในกรณีท่ีมีผู้เก่ียวข้องประสงค์จะนาพยานหลักฐานอื่นมาเพ่ิมเติมสานวนการสอบสวนหรือ
ประสงค์จะให้ผู้มีอานาจหน้าท่ีในการสอบสวนทาการสอบสวนพยานบุคคลใดหรือรวบรวมพยานหลักฐานอ่ืนใด
ให้ผ้มู ีอานาจหน้าท่ใี นการสอบสวนพิจารณาดาเนินการตามความจาเป็นและสมควร โดยให้ความเป็นธรรมแก่
คกู่ รณีทกุ ฝ่ายดว้ ย

(5) สรุปขอ้ เท็จจรงิ และพยานหลกั ฐานให้ผ้ทู ี่ถกู ร้องเรยี นว่ากระทาการบุกรุกทราบ ถ้าผู้ทีถ่ ูก
ร้องเรียนว่ากระทาการบุกรุกยอมรับ ก็ให้บันทึกถ้อยคาไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าผู้นั้นให้ถ้อยคาปฏิเสธหรือ
ไม่ยอมรับให้ผู้มีอานาจหน้าที่ในการสอบสวนดาเนินการสอบสวนข้อเท็จจริงว่าผู้น้ันได้ท่ีดินมาอย่างไร
ชอบดว้ ยกฎหมายหรอื ไม่ ครอบครองทาประโยชน์อย่างไร เมือ่ ใด

64 คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดนิ ของรัฐ คมู่ ือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดินของรฐั 64

(6) เมื่อผู้มีอานาจหน้าที่ในการสอบสวนได้ดาเนินการตาม (5) แล้ว ให้แจ้งให้คู่กรณีทุกฝ่าย
ได้รับทราบข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานจากการสอบสวน ซ่ึงรวมท้ังข้อกล่าวหาข้อปฏิเสธหรือข้อเท็จจริงที่เป็น
ผลร้ายต่อคู่กรณี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพร้อมทั้งแจ้งให้คู่กรณีดังกล่าวทราบว่าสามารถจะนา เสนอข้อเท็จจริงและ
พยานหลักฐานท้ังพยานบุคคลและพยานเอกสารของตนได้ในระยะเวลาอันสมควร ซ่ึงผู้มีอานาจหน้าที่ในการ
สอบสวนจะเปน็ ผู้พิจารณากาหนดระยะเวลาดังกลา่ วตามความจาเปน็ แล้วแตก่ รณี

(7) การแจ้งตาม (5) และ (6) ให้คานึงถึงความเสียหายหรือความปลอดภัย ซึ่งอาจเกิดแก่
พยานด้วย

4) การปฏบิ ัติหน้าทข่ี องคณะกรรมการ
ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวน้ัน ผู้มีอานาจหน้าที่ในการสอบสวนต้องวางตัวเป็นกลาง

ไม่ลาเอียง ไม่ช้ีนา ข่มขู่ หรือหลอกลวง หรือใช้วิธีการอ่ืนใดในทานองเดียวกันต่อคู่กรณีหรือพยานเพื่อให้
คู่กรณีหรือพยานเสนอขอ้ เท็จจริงและพยานหลักฐานโดยจายอม

5) การสรุปสานวน
เมื่อดาเนินการเสร็จแล้วให้สรุปสานวนเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดหรือปลัดกรุงเทพมหานคร

แล้วแต่กรณี โดยให้ผู้มีอานาจหน้าท่ีในการสอบสวนรายงานประกอบไว้ในสานวนด้วยว่าได้ดาเนินการตาม
ขัน้ ตอนในขอ้ 6 แล้ว และในการเปิดโอกาสให้คู่กรณีทุกฝ่ายได้รับทราบข้อกล่าวหา ข้อปฏิเสธ รวมท้ังการให้
คู่กรณีทุกฝ่ายนาพยานหลักฐานมาสืบเพิ่มเติมน้ัน ผู้มีอานาจหน้าท่ีสอบสวนได้ให้ระยะเวลาในแต่ละข้ันตอน
เท่าใด และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือปลัดกรุงเทพมหานครพิจารณาสั่งการหรือดาเนินการตามท่ีเห็นสมควร
รวมทั้งแจ้งให้คกู่ รณีทราบด้วย

แนวทางในการสอบสวน
แนวทางในการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับท่ีสาธารณประโยชน์ เช่น ประวตั ิความเป็นมา ท่ีตั้ง
ขอบเขต สภาพปัญหา และการแก้ไขปัญหาให้เป็นหน้าท่ีของนายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยใหส้ านกั งานท่ีดนิ จงั หวัดหรอื สานักงานที่ดินจังหวดั สาขาใหก้ ารสนับสนุนในการดาเนินการดว้ ย โดยในการ
สอบสวนดังกล่าวอาจพจิ ารณาจาก
1) มีการสงวนหวงหา้ มโดยชอบด้วยกฎหมายหรอื ไม่ โดยแบ่งเปน็ 3 ช่วงเวลา ดงั นี้

(1) ก่อน พ.ศ. 2478 ไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน กระทาได้โดยมีประกาศพระบรมราชโองการ
ประกาศของสมุหเทศาภบิ าล ผู้ว่าราชการจังหวัด หรอื เจา้ หน้าท่ีปกครองท้องที่

(2) เม่ือมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกรา้ งว่างเปล่าอันเปน็ สาธารณสมบัติของ
แผ่นดิน พ.ศ. 2478 ใช้บังคบั (ใช้เมื่อวันท่ี 8 เมษายน 2479) ได้มีการวางหลักเกณฑ์ท่ีแน่นอนว่าการหวงห้าม
ทรี่ กรา้ งว่างเปลา่ ต้องกระทาโดยพระราชกฤษฎีกา

(3) ปัจจุบันการสงวนหวงห้ามที่ดินไว้ให้ราษฎรใช้ประโยชน์ร่วมกันเป็นอานาจหน้าท่ีของ
คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ตามมาตรา 20 แห่งประมวลกฎหมายท่ดี ินซึ่งใชบ้ งั คับมาตัง้ แต่ พ.ศ. 2497

การสงวนหวงห้าม ถ้าได้กระทาโดยถูกต้อง จะมีการใช้ประโยชน์ตามที่สงวนหวงห้ามหรือไม่
ที่ดินน้ันก็ตกเป็นที่สาธารณประโยชน์ทันทีท่ีมีการสงวนหวงห้าม แต่การสงวนหวงห้ามนี้ จะไม่มีผลกระทบ
กระเทือนถงึ ราษฎรท่ีมีสิทธิครอบครองโดยชอบอยกู่ ่อน

2) ที่สาธารณประโยชน์นอกจากจะเกิดข้ึนได้เนื่องจากมีการสงวนหวงห้ามแล้วก็อาจเกิดข้ึน
โดยสภาพการใช้ประโยชน์ร่วมกันของราษฎร เกิดขึ้นโดยสภาพ หรือเกิดขึ้นโดยมีผู้อุทิศให้ ฉะนั้น ในการ
สอบสวนถ้าการสงวนหวงห้ามไว้โดยไม่ถูกต้อง ก็จะต้องพิจารณาว่าราษฎรได้เคยใช้ประโยชน์ร่วมกันหรือไม่
หากเคยใช้ประโยชน์ร่วมกันมา แม้จะไม่ตกเป็นท่ีสาธารณประโยชน์โดยการสงวนหวงห้าม ก็อาจตกเป็น

คูม่ อื สนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 65
คมู่ ือสนับสนุนการคมุ้ ครองท่ดี นิ ของรฐั 65

ท่ีสาธารณประโยชน์โดยสภาพการใชไ้ ด้ เพราะฉะนั้นในการสอบสวนพยานบุคคล ควรสอบสวนจากผู้ปกครอง
ทอ้ งท่ีและผู้สูงอายทุ ่ีทราบประวัติความเป็นมา และเคยใช้ประโยชนใ์ นที่ดินนน้ั หลาย ๆ ราย เพื่อจะได้ข้อเท็จจริง
ท่ถี ูกต้องว่าที่ดนิ น้ันเปน็ ที่สาธารณประโยชนเ์ พยี งใดหรือไม่

3) การใหค้ วามเหน็ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เกี่ยวกบั ท่ีสาธารณประโยชน์ส่วนมากจะพิจารณา
แต่เพียงวา่ เห็นควรให้คงไว้เป็นท่ีสาธารประโยชน์ต่อไป ไม่ไดพ้ ิจารณาว่าท่ีดนิ น้ันตามข้อเท็จจริงเป็นที่สาธารณประโยชน์
หรอื ไม่ เพียงแต่เห็นว่ามีการนาข้ึนทะเบียนไว้เป็นท่ีสาธารณประโยชน์ก็ถือว่าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ ดังน้ัน
ก่อนให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินให้ความเห็นควรตรวจสอบหลักฐานก่อนว่ามีการสงวนหวงห้ามไวโ้ ดยมีหลักฐาน
อย่างใด เพียงใด หรือไม่ ถา้ ไม่มีหลักฐานก็ควรสอบสวนให้ได้ความชัดเจนว่าราษฎรเคยใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างไร
มาตง้ั แต่เมอื่ ใด อนั จะถอื ว่าเปน็ ทส่ี าธารณประโยชน์หรอื ไม่

4) อานาจการดแู ลที่สาธารณประโยชน์เป็นของนายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จึงควร
ให้นายอาเภอและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นใหค้ วามเห็นทุกเร่ืองก่อนทีจ่ งั หวัดจะให้ความเห็น

5.4 การคุ้มครองป้องกัน ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ท่ดี ินของรัฐ พ.ศ. 2545

ภาครัฐได้เล็งเห็นถึงสภาพความรุนแรงของปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ จึงได้หาแนวทางแก้ไข
ปญั หาในทางบริหาร โดยไดม้ ีการออกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ
พ.ศ. 2535 ลงวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2535 วางแนวทางการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ ซึ่งหมายรวมถึง
ท่ีดินสาธารณประโยชน์ โดยให้เร่งรัดดาเนินการสารวจและจดั ทาแนวเขตที่ดนิ ของรัฐ ที่อยู่ในความดูแลรกั ษาหรือ
ใช้ประโยชน์ของทางราชการให้ถูกต้องชัดเจน รวมทั้งจัดทาทะเบียนหรือหนังสือสาคัญสาหรับที่ดินของรัฐไว้
เป็นหลักฐาน ซง่ึ ตอ่ มาได้มีการยกเลิกระเบยี บดังกลา่ วและให้ใช้ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี ว่าด้วยการแก้ไข
ปญั หาการบกุ รกุ ทีด่ ินของรัฐ พ.ศ. 2545 ลงวันที่ 27 ธนั วาคม 2545 แทน

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ พ.ศ. 2545
ได้กาหนดให้มี “คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ” เรียกโดยย่อว่า “กบร.” มีรองนายกรัฐมนตรี
ท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน หัวหน้า
ส่วนราชการต่าง ๆ เป็นกรรมการ โดยมีรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่รับผิดชอบ
การปฏบิ ัติราชการของสานักงานแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรฐั เป็นกรรมการและเลขานุการ มีอานาจหน้าที่
ในการแกไ้ ขปญั หา และสนับสนุนการแกไ้ ขปญั หาการบุกรกุ ท่ีดินของรัฐ

คณะกรรมการแกไ้ ขปัญหาการบุกรกุ ท่ีดนิ ของรัฐ (กบร.) ไดม้ คี าสั่งแต่งตงั้ อนกุ รรมการ ดังนี้
1) คาสั่งท่ี 2/2546 ลงวันท่ี 22 มกราคม 2546 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่าย
ทางอากาศ โดยมีผู้อานวยการสานักเทคโนโลยีทาแผนท่ี กรมท่ีดิน เป็นประธานอนุกรรมการ มีผู้แทน
ส่วนราชการต่าง ๆ เป็นอนุกรรมการ และข้าราชการสานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมท่ีได้รับมอบหมาย เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ มีอานาจหน้าที่เก่ียวกับการอ่าน แปล ตีความ
ภาพถา่ ยทางอากาศ เพ่อื ประกอบการพสิ จู น์สทิ ธใิ นเขตทดี่ ินของรฐั
2) คาส่ังที่ 3/2546 ลงวันท่ี 22 มกราคม 2546 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการ
บุกรุกที่ดินของรัฐกรุงเทพมหานคร เรียกชื่อย่อว่า “กบร. กทม.” มีปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธานอนุกรรมการ
มีผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ เป็นอนุกรรมการและข้าราชการของสานักงานปลัดกรุงเทพมหานครที่ประธาน
อนุกรรมการมอบหมายเป็นอนุกรรมการและเลขานุการ มีอานาจหน้าที่ เก่ียวกับการดาเนินการแก้ไขปัญหา

66 คมู่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองทด่ี นิ ของรัฐ คมู่ ือสนับสนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั 66

และป้องกนั การบกุ รกุ ท่ีดนิ ของรัฐให้เปน็ ไปตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ท่ีดินของรฐั พ.ศ. 2545

3) คาสั่งท่ี 1/2553 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ จังหวัด
ทุกจังหวัด “กบร. จังหวัด..” มีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานอนุกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ
เป็นอนุกรรมการ และมีปลัดจังหวัด เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ มีหัวหน้าสานักงานจังหวัด เจ้าพนักงานที่ดิน
จังหวัด ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัด และข้าราชการในสังกัดท่ีทาการ
ปกครองจังหวัดทปี่ ระธาน กบร. จังหวัด แต่งต้ังเป็นอนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร มีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับ
การดาเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันการบุกรุกที่ดินของรัฐ ให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
วา่ ดว้ ยการแกไ้ ขปญั หาการบกุ รุกท่ีดนิ ของรัฐ พ.ศ. 2545

ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2545
ข้อ (6) กาหนดให้คณะกรรมการฯ ให้การสนับสนุนแก่หน่วยงานของรัฐในการดาเนินการแก้ไขปัญหา
และป้องกันการบุกรุกที่ดินของรัฐในการขอต้ังงบประมาณ และในเร่ืองอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสมสามารถ
ปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยความรวดเร็ว ดังน้ัน การดาเนินการใด ๆ ที่เป็นการคุ้มครองป้องกัน
หรือแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการบุกรุกที่สาธารณประโยชน์ หากดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการสอบสวนเก่ียวกับการบุกรุกท่ีหรือทางสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2539 แล้วไม่ประสบผลสาเร็จ
หน่วยงานของรัฐควรที่ได้ดาเนินการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดิน
ของรัฐ พ.ศ. 2545 เพ่อื ใหส้ ามารถแกไ้ ขปญั หาได้สาเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี

5.5 การคมุ้ ครองป้องกนั โดยการจดั ทาทะเบียนท่สี าธารณประโยชน์
การจัดทาทะเบียนท่ีสาธารณประโยชน์น้ัน ได้มีการจัดทามานานแล้ว ซ่ึงตามพระราชบัญญัติ

ลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช 2457 มาตรา 114 กาหนดให้กรมการอาเภอจัดทาบัญชีท่ีดิน
ที่นา ที่สวน ที่ห้วย หนอง คลอง บึง เอาไว้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานตามหน้าท่ี การจัดทาทะเบียนท่ีดิน
ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่เี ป็นการจัดทาทะเบียนที่ดินท้ังหมด รวมท้ังท่ีดินสาธารณประโยชน์ด้วย
ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้มีการสารวจที่ดินสาธารณประโยชน์
ทุกแปลง ไม่ว่าจะได้มีการหวงห้ามไว้หรือไม่ และกระทรวงมหาดไทย ได้มีคาสั่งที่ 250/2479 ลงวันที่ 21
ธันวาคม 2479 วางระเบียบให้นาท่ีดินท่ีได้มีพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าไว้เป็นที่ดิน
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันลงทะเบียนที่สาธารณประโยชน์ให้เป็นหลักฐานด้วย ต่อมาได้มีหนังสือกระทรวง
มหาดไทย ท่ี 220/2491 ลงวันท่ี 29 กรกฎาคม 2491 ส่ังให้จังหวัดต่าง ๆ พิจารณาตรวจสอบทะเบียนท่ีดิน
หวงห้ามและหนองน้าสาธารณะภายในท้องท่ีว่ามีการออกทับหรือเหล่ือมล้าท่ีดินของเอกชนที่ได้ครอบครอง
กอ่ นประกาศหรือไม่ แล้วจัดทาทะเบยี นว่ามกี แี่ หง่ อยู่ในท้องท่ีใด หม่ใู ด ตาบลใด ไดป้ ระกาศหวงหา้ มไวต้ ้ังแต่
เม่ือใด ฯลฯ เพื่อจังหวัดจะได้ดาเนินการกับผู้บุกรุกต่อไป และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี 353/2492
ลงวันท่ี 2 กันยายน 2492 สั่งให้จังหวัดนาที่ดินสาธารณประโยชน์ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานการหวงห้าม
หรือทางการมิได้หวงห้าม แต่ได้กลายเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามกฎหมายแล้วขึ้นทะเบียนเอาไว้
เป็นหลักฐาน ยกเว้นท่ีสาธารณประโยชน์ที่เกิดข้ึนโดยสภาพ เช่น แม่น้า คลอง ห้วย หนอง บึง พร้อมท้ัง
ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการปักหลักเขตไว้เป็นหลักฐาน และทาป้ายปักไว้ ณ ท่ีดินน้ันให้ราษฎรทราบไว้เป็น
ทส่ี าธารณประโยชน์

ทะเบียนที่สาธารณประโยชน์ จึงเป็นทะเบียนที่เจ้าหน้าที่ได้จดั ทาข้ึนเพ่ือบันทึกรายการเกี่ยวกับ
ที่ดินสาธารณประโยชน์เอาไว้ให้ทราบว่า ในจังหวัดหน่ึง ๆ หรืออาเภอหน่ึง ๆ หรือตาบลหน่ึง ๆ มีท่ีดิน

คู่มอื สนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 67
ค่มู ือสนับสนนุ การคุม้ ครองท่ดี ินของรฐั 67

สาธารณประโยชน์เป็นจานวนเท่าใด อยู่ทีใ่ ด มีเน้ือท่ีมากน้อยเท่าใด ใช้เพ่ือประโยชนอ์ ย่างไร เพ่ือให้เจา้ หน้าท่ี
ก็ใช้เป็นหลักฐานตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีท่ีมีข้อพิพาทว่าที่ดินแปลงดังกล่าวเป็นของรัฐหรือไม่ จึงถือว่าการ
จัดทาทะเบียนท่ีสาธารณประโยชน์เป็นมาตรการสนับสนุนการคุ้มครองท่ีดินของรัฐ ประเภทสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินสาหรบั พลเมืองใช่ร่วมกนั ได้อกี ทางหน่ึง

5.6 การค้มุ ครองปอ้ งกันโดยการออกหนงั สือสาคัญสาหรับทหี่ ลวง
การออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้มีการดาเนินการออกมานานแล้วก่อนใช้ประมวล

กฎหมายทดี่ ินแต่วา่ การออกหนังสอื ประเภทนี้อาศยั คาสงั่ ระเบยี บการทมี่ ีมาแต่เดิมของกระทรวงเกษตราธิการ
โดยไม่มีกฎหมายใดสนับสนุนหรือให้อานาจพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้แต่อย่างไร แต่ว่าการออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงดังกล่าวในสายตาของคนทั่วไปโดยเฉพาะในชั้นศาลนั้นก็มีความเชื่อถือเพราะเหตุว่าเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐได้เป็นผู้กระทาการออกฉะน้ันเหตุผลที่ได้มีการเพ่ิมมาตรา 8 ตรี เข้ามาน้ันก็เพื่อจะรับรองการดาเนินการ
ของเจ้าหน้าที่ในการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยหนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวงนั้น ๆ 12 โดยหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงฉบับแรกเป็นที่ต้ังที่พักสัสดี ตาบลน่าเมือง อาเภอเมืองราชบุรี
จังหวัดราชบุรี ออกให้เมื่อวันท่ี 18 กันยายน 2460 แต่ไม่มีกฎหมายใดให้อานาจไว้โดยเฉพาะ แต่ได้ออก
กันมาเรื่อย ๆ โดยอาศัยระเบียบคาส่ังต่าง ๆ จนถึงปี พ.ศ. 2515 ได้มีประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 334
(พ.ศ. 2515) แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ประมวลกฎหมายท่ีดินบัญญตั ใิ ห้มมี าตรา 8 ตรี ดงั นี้

มาตรา 8 ตรี “ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หรือใช้เพ่ือ
ประโยชนข์ องแผ่นดินโดยเฉพาะ อธิบดอี าจจัดให้มหี นังสือสาคญั สาหรับทห่ี ลวงเพ่ือแสดงเขตไว้เปน็ หลักฐาน

แบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการออกหนังสือสาคญั สาหรบั ทีห่ ลวง ให้เปน็ ไปตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
ทดี่ ินตามวรรคหนึ่ง แปลงใดยังไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เขตของท่ีดนิ ดังกล่าวให้เป็นไป
ตามหลกั ฐานของทางราชการ”
กฎหมายรบั รองการออกหนังสอื สาคัญสาหรบั ที่หลวงวา่ เป็นเพียงหนงั สือสาคญั ของทางราชการ
อย่างหน่ึงที่แสดงเขตที่ต้ังและการใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐเท่านั้น หาใช่หนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินของรัฐไม่
การออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือหาข้อยุติเกี่ยวกับอาณาเขต ตาแหน่งท่ีตั้ง
และการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรฐั นั้น ๆ ดังนั้น เม่ือท่ีดินของรัฐแปลงใดได้ออกหนังสอื สาคัญสาหรับทห่ี ลวงแล้ว
ต้องถือว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นท่ียุติตามกฎหมาย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าเป็นการออกไปโดยคลาดเคล่ือนหรือไม่ชอบ
ด้วยกฎหมาย ซึ่งจะต้องมีการแก้ไขหรือเพิกถอนแล้วแต่กรณี สาหรับที่ดินของรัฐแปลงใดท่ียังไม่มีหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวง เขตของท่ีดินดังกล่าวจึงต้องเป็นไปตามหลักฐานของทางราชการ ตามนัยมาตรา 8 ตรี วรรคสาม
เช่น ทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์ท่ีกระทรวงมหาดไทยได้สั่งให้จังหวัดต่าง ๆ สารวจและจัดทาขึ้น ประกาศ
การสงวนหวงห้ามท่ีดินของทางราชการ พระราชกฤษฎีกาท่ีออกตาม พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการหวงห้ามที่ดิน
รกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. 2478 ประกาศคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ
ตามนัยมาตรา 20 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ทะเบียนที่ราชพัสดุ ฯลฯ ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าบทบาทหน้าท่ี
ของกรมที่ดินในการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นเพียงการสนับสนุนการคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกนั ในเร่ืองของการจัดทาหลักฐานแสดงแนวเขตท่ีดินของรัฐ
เทา่ นัน้

12ศริ ิ เกวลินสฤษดิ์, เรอ่ื งเดิม, หนา้ 68



คู่มือสนบั สนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 68

บทที่ 3
นโยบายในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ

การแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐในประเทศไทย แต่เดิมหน่วยงานของรัฐจะใช้อานาจตาม
กฎหมายออกคาส่ังให้ผู้บุกรุกออกไปจากท่ีดินของรัฐ หรือดาเนินคดีกับผู้บุกรุกตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
หรือตามประมวลกฎหมายอาญาแล้วแต่กรณี ซ่ึงการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐโดยการใช้อานาจ
ตามกฎหมายดังกล่าว ในบางกรณีไม่ประสบผลสาเร็จและก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชน
และระหว่างประชาชนด้วยกันเองเพ่ิมมากขึน้ ส่วนหน่ึงอาจเป็นเพราะความไม่ชดั เจนของแนวทางและวธิ ีการ
ในการแก้ไขปัญหา ภาครัฐได้เล็งเห็นถึงสภาพความรุนแรงของปัญหาท่ีเกิดข้ึน หากปล่อยทิ้งไว้อาจก่อให้เกิด
ผลกระทบในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง อาจก่อให้เกิดความหายนะแก่ชาติ และ/หรือเกิด
มหันตภัยต่อส่วนรวมได้ จึงได้ออกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ
พ.ศ. 2535 ลงวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2535 วางแนวทางการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ ซ่ึงหมายความ
รวมถึง ที่ป่าสงวนแห่งชาติ ที่สงวนหวงห้ามของรัฐทุกประเภท ที่สาธารณประโยชน์ ที่ราชพัสดุ และท่ีดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินทุกประเภท โดยให้เร่งรัดดาเนินการสารวจและจัดทาแนวเขตท่ีดินของรัฐ
ท่ีอยู่ในความดูแลรักษา หรือใช้ประโยชน์ของทางราชการให้ถูกต้องชัดเจน รวมท้ังจัดทาทะเบียนหรือหนังสือ
สาคัญสาหรับท่ีหลวงไว้เป็นหลักฐาน และได้กาหนดนโยบายและแนวทางในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดิน
ของรัฐไวต้ ามมตคิ ณะรัฐมนตรี เมอื่ วันที่ 4 พฤษภาคม 2536

ต่อมาได้มีการยกเลิกระเบียบดังกล่าวและให้ใช้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหา
การบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2545 ลงวันท่ี 27 ธันวาคม 2545 แทน โดยภาครัฐมีมุมมองในการแก้ไขปัญหา
ท่ีเปล่ียนแปลงไป ดังจะเห็นได้จากเหตุผลในการออกระเบียบดังกล่าว ที่ต้องการปรับปรุงโครงสร้างอานาจ
หน้าที่ของคณะกรรมการฯ ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ
พ.ศ. 2535 ให้มีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลในการแก้ไขปัญหาและป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐอยา่ งเป็น
รปู ธรรมมากย่ิงข้ึน กับเพ่ือให้การประสานนโยบายและการปฏิบัติระหว่างหนว่ ยงานของรัฐที่มีหน้าที่ดูแลรักษา
และคุ้มครองป้องกันที่ดินของรัฐประเภทต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ คาส่ัง ระเบียบ ข้อบังคับ และ
มติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้องให้สอดคล้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร ท้ังในทางสังคม การเมือง
การปกครอง และเสริมสร้างความสมดุล ม่ันคง แข็งแกร่งในทางเศรษฐกิจอย่างย่ังยืนในระยะยาว ต่อมาในปี
พ.ศ. 2547 รัฐบาลได้กาหนดนโยบายในการแก้ไขปัญหาเพ่ิมเติมตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 3 กุมภาพันธ์
2547 เรื่อง การบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในทดี่ ินของรัฐเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน เพ่ือให้หน่วยงาน
ของรฐั ใช้เปน็ แนวทางในการแก้ไขปัญหาการบกุ รุกทีด่ นิ ของรัฐ

กระทรวงมหาดไทยได้ออกระเบียบที่เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการท่ีดินของรัฐมารองรับการดาเนินงาน
ของหน่วยงานในสงั กดั เพื่อให้การปฏิบัตเิ ป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล และตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เม่ือวนั ท่ี 4
พฤษภาคม 2536 เช่น ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการสอบสวนข้อเท็จจริงเก่ียวกับการบุกรุกที่
หรือทางสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2539 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบล
หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นช่วยเหลือในการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. 2543
สาหรบั มตคิ ณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 น้นั ไดอ้ อกระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนญุ าต
ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 มารองรับในการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
ของรัฐ กรณีที่มีการบุกรุกที่ดินสาธารณประโยชน์ โดยแต่เดิมจะออกใบอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในที่ดิน

70 คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองท่ดี นิ ของรัฐ คู่มือสนับสนุนการค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 69

เป็นรายบุคคล แต่ปัจจุบันได้จัดให้ใช้ประโยชน์โดยไม่ให้กรรมสิทธิ์ ในลักษณะชุมชน ในรูปแบบกลุ่มสหกรณ์
หรอื รปู แบบอนื่ ทเ่ี หมาะสม และเปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแหง่ ชาติ (คทช.) กาหนด
1. นโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหาตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ทด่ี ินของรฐั พ.ศ. 2535

ในปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลพิจารณาเห็นว่า การดูแลและรับผิดชอบท่ีดินของรัฐ ซึ่งได้แก่ ท่ีป่าสงวน
แห่งชาติ ท่ีสาธารณประโยชน์ และท่ีราชพัสดุ เป็นต้น มีส่วนราชการเข้ามาเกี่ยวข้องกับการดูแลและรับผิดชอบ
หลายหน่วยงานด้วยกัน บางครั้งเม่ือมีปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ ส่วนราชการดังกล่าวไม่อาจแก้ไขปัญหา
ให้ยุติลงได้โดยลาพัง ประกอบกับที่ดินของรัฐได้ถกู บุกรุก ยึดถือครอบครอง ท้ังในลักษณะส่วนตัวและเป็นหมู่คณะ
ก่อให้เกิดผลกระทบในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการปกครอง นับวันจะสร้างปัญหาท่ีซับซ้อน และ
ทวีความรุนแรงย่ิงขึ้นอาจก่อให้เกิดความหายนะแก่ชาติ เกิดมหันตภัยต่อส่วนรวมได้ ถ้ามิได้รับการแก้ไข
โดยทนั ท่วงที รัฐบาลขณะนน้ั จงึ มีนโยบายทจ่ี ะแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดนิ ของรฐั ดงั กล่าวให้สาเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ย
ความเรียบร้อย ดังน้ัน จึงได้ประกาศใช้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดิน
ของรัฐ พ.ศ. 2535 ข้ึนเม่ือวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2535 ซึ่งตามระเบียบนี้ ได้ต้ังคณะกรรมการข้ึนมาคณะหนึ่ง
เรียกว่า “คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ” เรียกโดยย่อว่า “กบร.” ทาหน้าที่แก้ไขปัญหา
การบุกรกุ ที่ดินของรัฐ

คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรกุ ท่ีดนิ ของรัฐ (กบร.) ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรที ่ีนายกรัฐมนตรี
มอบหมาย เป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรที ี่ได้รบั มอบหมาย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน สาหรับกรรมการประกอบด้วย
หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ โดยมีผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย เป็นกรรมการและ
เลขานกุ าร

กบร. มีอานาจหน้าทก่ี ากับ ติดตาม ดูแลให้สว่ นราชการต่าง ๆ ดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรการในการ
แก้ไขปัญหาและมาตรการในการป้องกันการบุกรุกที่ดินของรัฐ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ความเห็นชอบและ
กาหนดใหเ้ ป็นนโยบายสาคญั ไว้ ดังนี้

1.1 มาตรการในการแกไ้ ขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรฐั
1) เร่งรัดให้ดาเนินการสารวจและจัดทาแนวเขตที่ดินของรัฐท่ีอยู่ในความดูแลรักษาหรือใช้

ประโยชน์ให้ถูกต้องและชัดเจน รวมท้ังจัดทาทะเบียนหรอื หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง แล้วแต่กรณีไวเ้ ป็นหลักฐาน
โดยให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด

2) ให้ กบร. แต่งต้ังคณะกรรมการประสานการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐส่วนจังหวัด
เรียกโดยยอ่ วา่ “กบร.จังหวัด”.ขึน้ ในจังหวดั ที่มีปัญหาการบุกรกุ หรอื การครอบครองที่ดินของรัฐ ประกอบดว้ ย
ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ และมีผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเป็น
กรรมการตามที่ กบร. กาหนด และให้มีหน้าท่ีตรวจสอบการครอบครองท่ีดินของบุคคลผู้เข้าครอบครองที่ดิน
ของรัฐ และตรวจสอบหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินท่ีออกในเขตที่ดินของรัฐ สาหรับรายที่มีเหตุอันควรสงสัย
วา่ จะออกโดยมชิ อบ และมีหน้าท่ีอ่นื ตามที่ กบร. มอบหมาย หากผลปรากฏวา่ ผคู้ รอบครองไม่มีสทิ ธโิ ดยชอบ
ดว้ ยกฎหมายและเปน็ เกษตรกรท่ียากจน หรอื ผู้ยากจนก็ให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องพิจารณาจัดที่ดินให้ทากิน
หรือใหอ้ ยอู่ าศัย ตามท่ี กบร. กาหนด

คู่มอื สนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 70
คมู่ อื สนับสนุนการคุ้มครองทีด่ นิ ของรฐั 71

3) ให้ลงโทษเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบที่ทุจริตหรือประพฤติมิชอบเก่ียวกับที่ดินของรัฐ หรือจงใจ
ละเลยไม่ปฏบิ ัติตามกฎหมาย ระเบยี บ คาส่งั แกผ่ ้บู ุกรุกท่ีดินของรฐั อย่างเครง่ ครดั และเฉยี บขาด

4) กรณีเจ้าหน้าท่ีของรัฐถูกฟ้องเป็นจาเลยในคดีอาญาหรือคดีแพ่ง เก่ียวเนื่องจากการปฏิบัติ
หน้าที่ในการแก้ไขปัญหาหรือในการป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐ หรือในการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับ
ที่ดินของรัฐ อันเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยสุจรติ เพื่อรกั ษาผลประโยชน์ของรัฐ และเป็นกรณีที่พนักงานอัยการ
รับเป็นทนายความแก้ต่างว่าต่างคดีให้ เมื่อเจ้าหน้าที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องเป็นจาเลยต่อศาล ก็ให้ได้รับ
ความคุ้มครองโดยมิต้องรับผิดชอบต่อค่าเสียหายเม่ือแพ้คดี และในกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุด หากเจ้าหน้าที่
ผู้ถูกฟอ้ งคดีต้องออกหรือพ้นจากราชการตามกฎหมายเสียก่อน ก็ให้มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปศาล
ตามหมายเรียกของศาลได้ในอัตราเท่ากับท่ีเคยมีสิทธิเบิกในตาแหน่งสุดท้ายก่อนออก หรือก่อนพ้นจาก
ราชการตามกฎหมาย จนกว่าคดจี ะถึงท่ีสุด และในกรณีเจ้าหน้าท่ีถูกร้องเรียนเกี่ยวกับการรักษาผลประโยชน์
ของรัฐโดยสุจริตดังกล่าว ก็ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาให้ความเป็นธรรมตามระเบียบราชการ หรือตามมติ
คณะรฐั มนตรีโดยเคร่งครัด โดยให้สว่ นราชการทีเ่ ก่ียวข้องดาเนินการแกไ้ ขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ใหส้ อดคล้อง
กนั ดว้ ย

5) กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐถูกฟ้องคดีเป็นจาเลยเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าท่ี ผู้บังคับบัญชาจะอ้าง
เป็นเหตุเพื่องดหรือรอการพิจารณาบาเหน็จความชอบประจาปีไม่ได้ และให้พิจารณาเล่ือนข้ันเงินเดือน
ประจาปใี นกรณีปกติ หรือกรณีพิเศษแล้วแต่กรณี โดยให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนนิ การแก้ไขกฎหมาย กฎ
ระเบียบ ใหส้ อดคลอ้ งกันดว้ ยต่อไป

1.2 มาตรการปอ้ งกนั การบุกรกุ ท่ดี ินของรฐั
1) จัดการวางแผนการใชท้ ่ีดนิ ของรัฐให้ได้ประโยชน์มากท่สี ุด
2) ให้ความรู้ด้านวิชาการเก่ียวกับการใช้ท่ีดินของรัฐ โดยจัดให้มีการอบรมผู้นาท้องถิ่นและ

เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง หรือกาหนดหลักสูตรการเรียนการสอน ตลอดจนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการ
นิสติ นกั ศึกษา และประชาชนท่ัวไป ใหม้ ีความสานึกในคุณค่า รักและหวงแหนที่ดินของรฐั

3) จดั ให้มแี ผนการประชาสัมพันธร์ ะดบั ชาตเิ พือ่ รณรงคใ์ นการอนรุ ักษ์ที่ดินของรัฐ
4) ให้จัดทาแผนท่ีแสดงสภาพ และประเภทท่ีดินของรัฐต้ังแสดงไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด
ที่ว่าการอาเภอ สานักงานเขต สานักงานเทศบาล สภาตาบล และส่วนราชการท่ีรับผิดชอบดูแลรักษาหรือ
ใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินของรัฐ
5) สาหรับท่ีดินของรัฐประเภทสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีสงวนไว้เพ่ือใช้ประโยชน์ของ
แผ่นดินโดยเฉพาะ และประเภทสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันให้มีการเร่งรัดการออก
หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง โดยให้อธิบดีกรมท่ีดินมอบอานาจหน้าท่ีการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ตามความเหมาะสม หากมีผู้คัดค้านการออกหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวง ก็ให้ดาเนินการตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนดโดยให้ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง
ให้ความรว่ มมือ หากมีความจาเปน็ ตอ้ งแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบยี บ กใ็ หด้ าเนนิ การแกไ้ ขใหส้ อดคล้องกันดว้ ย

72 คมู่ ือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรัฐ คมู่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 71

2. นโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหาตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ท่ดี ินของรัฐ พ.ศ. 2545

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2535 ถูกยกเลิก
โดยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2545 ลงวันที่ 27
ธันวาคม 2545 โดยภาครัฐมีมุมมองในการแกไ้ ขปัญหาท่ีเปล่ยี นแปลงไป ดังจะเห็นไดจ้ ากเหตุผลในการออก
ระเบียบดังกล่าว “โดยที่เห็นเป็นการสมควรปรับปรุงโครงสร้างอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการแก้ไขปัญหา
การบุกรุกที่ดินของรัฐ ตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรฐั พ.ศ. 2535
ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการแก้ไขปัญหา และป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐอย่างเป็นรูปธรรม
มากย่ิงข้ึน กับเพ่ือให้การประสานนโยบายและการปฏิบัติระหว่างหน่วยงานของรัฐท่ีมีหน้าที่ดูแลรักษา
และคุ้มครองป้องกันที่ดินของรัฐประเภทต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ และ
มติคณะรัฐมนตรีที่เก่ียวข้องให้สอดคล้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร ท้ังในทางสังคม การเมือง
การปกครองและเสริมสร้างความสมดุล มั่นคง แข็งแกร่งในทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนในระยะยาว นายกรัฐมนตรี
โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี อาศัยอานาจตามความในมาตรา 11 (8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 จึงวางระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ท่ีดนิ ของรัฐ พ.ศ. 2545....”

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2545 มีการ
แก้ไขรายละเอียดเกี่ยวกับอานาจ หน้าที่ และองค์ประกอบของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
(กบร.) แตกต่างไปจากเดิม และคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการ จานวน 3 คาสั่ง ประกอบด้วย 1) คณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ 2) คณะอนุกรรมการ
แก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐกรุงเทพมหานคร (กบร.กทม.) และ 3) คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ที่ดินของรัฐ จังหวัดทุกจังหวัด (กบร.จังหวัด) และวางหลักเกณฑ์ที่สาคัญในการปฏิบัติงานต่าง ๆ ไว้ ดังนี้
1) หลักเกณฑ์การพิสูจน์หลักฐานการครอบครองที่ดินของราษฎรในเขตที่ดินของรัฐ ของคณะกรรมการแก้ไข
ปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ (กบร.) และ 2) มาตรการของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ
เรอื่ ง ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการของคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือในการ
แก้ไขปญั หาการบกุ รุกทด่ี นิ ของรฐั ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของรัฐบาล ปรากฏรายละเอียดดังน้ี

2.1 คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบกุ รกุ ที่ดนิ ของรัฐ (กบร.)
คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ เรียกโดยย่อว่า “กบร.” มีรองนายกรัฐมนตรี

ท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน หัวหน้า
ส่วนราชการต่าง ๆ เป็นกรรมการ โดยมีรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีรับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการของสานกั แกไ้ ขปญั หาการบุกรกุ ท่ีดินของรฐั เปน็ กรรมการและเลขานุการ มีอานาจหน้าท่ี ดงั นี้

(1) เสนอนโยบายหรอื แผนงานในการแกไ้ ขปัญหาและป้องกนั การบุกรุกทด่ี ินของรฐั ต่อคณะรฐั มนตรี
(2) กาหนดมาตรการในการแก้ไขปญั หาและมาตรการในการป้องกนั การบุกรกุ ที่ดนิ ของรฐั

คูม่ อื สนับสนนุ การค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 72
คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรัฐ 73

(3) กากับ ติดตาม ดูแล และตรวจสอบให้หน่วยงานของรัฐ ดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย
แผนงาน มาตรการในการแก้ไขปญั หา และมาตรการในการป้องกันการบุกรกุ ที่ดนิ ของรฐั

(4) รวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการครอบครองท่ีดินของบุคคลใด ๆ
ในท่ีดินของรฐั

(5) เรียกให้หน่วยงานของรัฐส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานและข้อเท็จจรงิ หรือขอให้ส่งผู้แทนมาช้ีแจง
เพ่ือประกอบการพิจารณาของ กบร. หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทางานท่ี กบร. แตง่ ต้ัง

(6) ให้การสนับสนุนแก่หน่วยงานของรัฐในการดาเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันการบุกรุกที่ดิน
ของรัฐในการขอต้ังงบประมาณ และในเร่ืองอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานให้สาเร็จ
ลุลว่ งไปดว้ ยความรวดเร็ว

(7) แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางาน ให้ปฏบิ ตั งิ านตามทมี่ อบหมาย
(8) ให้หน่วยงานของรัฐและจังหวัดดาเนินการใด ๆ ท่ีเกยี่ วกับการแก้ไขปัญหา และป้องกันการ
บกุ รกุ ที่ดินของรัฐตามทกี่ าหนด
(9) ดาเนินการหรือปฏิบัติงานอื่นใดที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา และป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐ
ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย กฎ คาส่ัง ระเบยี บ ข้อบงั คับ และมตคิ ณะรัฐมนตรที ่ีเก่ียวขอ้ ง
2.2 คณะอนกุ รรมการอา่ นภาพถ่ายทางอากาศ
คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) มีคาส่ัง ที่ 2/2546 ลงวันท่ี 22
มกราคม 2546 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักเทคโนโลยี
ทาแผนท่ี กรมที่ดิน เป็นประธานอนุกรรมการ มีผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ เป็นอนุกรรมการ และข้าราชการ
สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับมอบหมาย เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ
มอี านาจหน้าท่ี ดงั น้ี
(1) กาหนดแผนงาน โครงการ งบประมาณในการดาเนินการจัดทาแผนท่ี และอ่าน แปล
ตีความภาพถา่ ยทางอากาศ เพอื่ ประกอบการพสิ ูจน์สิทธิในเขตท่ีดนิ ของรฐั
(2) จัดทาแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศมาตราส่วนต่าง ๆ ตามที่กาหนด เพื่อประกอบการพิสูจน์สิทธิ
ในเขตท่ีดนิ ของรัฐ
(3) อ่าน แปล ตีความภาพถ่ายทางอากาศ พร้อมลงสัญลักษณ์ และหมายแนวเขตพื้นที่ ทั้งที่
ปรากฏและไม่ปรากฏร่องรอยการทาประโยชน์ลงบนภาพถ่ายทางอากาศ เพ่ือประกอบการพิสูจน์สิทธิในเขต
ทดี่ นิ ของรฐั
(4) กาหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง หรือข้อปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั การอา่ น แปล ตีความภาพถา่ ยทางอากาศ
(5) เรียกให้หน่วยงานของรัฐส่งข้อมูลเอกสารหลักฐานและข้อเท็จจริง หรือขอให้ส่งผู้แทน
มาชแ้ี จง เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาของคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ
(6) รายงานผลดาเนินการอา่ นภาพถา่ ยทางอากาศประจาปีต่อ กบร.
(7) แตง่ ตงั้ คณะทางาน หรอื เจ้าหนา้ ทีเ่ พ่อื ช่วยการปฏบิ ัติงานตามทีม่ อบหมาย
(8) ดาเนนิ การใด ๆ ตามที่ กบร. หรอื ประธาน กบร. มอบหมาย

74 คมู่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั คู่มือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 73

2.3 คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบกุ รุกทดี่ นิ ของรฐั กรุงเทพมหานคร (กบร. กทม.)
คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ (กบร.) มีคาสั่งที่ 3/2546 ลงวันที่ 22

มกราคม 2546 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐกรุงเทพมหานคร เรียกช่ือย่อว่า
“กบร.กทม.” ประกอบด้วย ปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธานอนุกรรมการ มีผู้แทนส่วนราชการต่าง ๆ
เป็นอนุกรรมการ และมีข้าราชการสานักการโยธากรุงเทพมหานครที่ประธานอนุกรรมการมอบหมาย
เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ และข้าราชการสานักการโยธากรุงเทพมหานครท่ีประธานอนุกรรมการ
มอบหมาย เปน็ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มีอานาจหนา้ ท่ี ดังนี้

(1) ดาเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันการบุกรุกที่ดินของรัฐให้เป็นไปตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการแกไ้ ขปัญหาการบุกรกุ ท่ีดินของรฐั พ.ศ. 2545

(2) กากับ ตดิ ตาม ดแู ล หน่วยงานของรัฐท่ีดูแล รักษา และใช้ประโยชนใ์ นท่ีดินของรัฐใหเ้ ป็นไป
ตามกฎหมาย กฎ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง และดาเนินการตามนโยบาย
แผนงาน มาตรการแกไ้ ขปญั หา และป้องกนั การบุกรุกทดี่ ินของรฐั ตามท่ี กบร.กาหนด

(3) กาหนดแผนงานประจาปี ในการแก้ไขปญั หาหรอื ป้องกันการบุกรุกทดี่ ินของรัฐ และรายงาน
ให้ กบร. ทราบ

(4) พิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินของบุคคลในเขตที่ดินของรัฐตามหลักเกณฑ์การพิสูจน์สิทธิ
ที่ กบร. กาหนด ในกรณีท่ีต้องใช้ภาพถ่ายทางอากาศประกอบการพิสูจน์สิทธิ ให้ใช้ผลการอ่านภาพถ่าย
ทางอากาศจากคณะอนกุ รรมการอ่านภาพถา่ ยทางอากาศที่ กบร. แต่งตัง้

(5) ตรวจสอบหรือดาเนินการใด ๆ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเก่ียวกับเร่ืองการบุกรุกที่ดินของรัฐ
และการออกเอกสารสิทธิในท่ีดินของรัฐ หากพบว่า ดาเนินการไปโดยมิชอบ หรือโดยทุจริต หรือดาเนินการ
ไปโดยผดิ พลาดคลาดเคล่อื น ใหแ้ จ้งหนว่ ยงานของรฐั ท่ีมีหน้าทเ่ี ก่ยี วข้องดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามกฎหมายและ
ระเบยี บ

(6) รวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการครอบครองที่ดินของบุคคลใด ๆ
ในทด่ี นิ ของรัฐ

(7) เร่งรัดการพิจารณาวินิจฉัยคาขอออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินของบุคคลในเขตท่ีดินของรัฐ
ให้รวดเรว็

(8) เรียกให้หน่วยงานของรัฐส่งข้อมูล เอกสารหลักฐาน และข้อเท็จจริง หรือขอให้ส่งผู้แทน
มาชี้แจงเพื่อประกอบการพิจารณา หรอื เชิญบคุ คลใด ๆ มาให้ความเหน็ ตอ่ กบร.กทม.

(9) แต่งตั้งคณะทางาน หรือเจ้าหน้าที่เพื่อดาเนินการหรือปฏิบัติงานใด ๆ ในการแก้ไขปัญหา
และปอ้ งกันการบกุ รุกทด่ี ินของรัฐ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย

(10) ประชาสัมพันธ์ผลดาเนินการของ กบร. กทม. และเสริมสร้างความเข้าใจในการแก้ไข
ปัญหาและปอ้ งกนั การบุกรกุ ที่ดินของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร

(11) รายงานผลการปฏิบัติงานในการแก้ไขและหรือป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐประจาปี
ให้ กบร. ทราบ

(12) ดาเนนิ การใด ๆ ตามที่ กบร. หรือประธาน กบร. มอบหมาย

คู่มอื สนับสนุนการคุม้ ครองที่ดนิ ของรฐั 74
คมู่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดินของรฐั 75

2.4 คณะอนุกรรมการแก้ไขปญั หาการบกุ รกุ ท่ีดินของรฐั จังหวัดทุกจงั หวัด (กบร. จังหวดั )
คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) มีคาสั่งท่ี 1/2553 ลงวันท่ี 19 มกราคม

2553 แต่งต้ังคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐจังหวัดทุกจังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร)
เรียกชื่อย่อว่า “กบร.จังหวัด...” ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานอนุกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการ
ต่าง ๆ เป็นอนุกรรมการ และมีปลัดจังหวัดเป็นอนุกรรมการและเลขานุการ มีหัวหน้าสานักงานจังหวัด
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัด และข้าราชการ
ในสังกัดท่ีทาการปกครองจังหวัดที่ประธาน กบร.จังหวัดแต่งต้ังหน่ึงท่าน เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
มอี านาจหนา้ ที่ ดงั นี้

(1) ดาเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐให้เป็นไปตามระเบียบสานัก
นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยการแก้ไขปัญหาการบกุ รุกทด่ี ินของรัฐ พ.ศ. 2545

(2) กากับ ติดตาม ดูแล การปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐที่ดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
ของรัฐให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวข้อง และดาเนินการ
ตามนโยบาย แผนงาน มาตรการแกไ้ ขปัญหาและป้องกันการบกุ รุกทด่ี ินของรัฐตามท่ี กบร. กาหนด

(3) กาหนดแผนงานประจาปี ในการแก้ไขปัญหาหรือป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐและรายงาน
ให้ กบร. ทราบ ภายในวันท่ี 30 มกราคม ของทุกปี

(4) พิสูจนส์ ิทธิการครอบครองท่ีดินของบุคคลในเขตที่ดินของรัฐ ตามมาตรการท่ี กบร. กาหนด
ในกรณีทต่ี ้องใช้ภาพถ่ายทางอากาศประกอบการพิสูจน์สิทธใิ ห้ใช้ผลการอ่าน แปล ตีความภาพถา่ ยทางอากาศ
จากคณะอนุกรรมการอา่ นภาพถ่ายทางอากาศท่ี กบร. แตง่ ตงั้

(5) ตรวจสอบหรือดาเนินการใด ๆ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเก่ียวกับการบุกรุกที่ดนิ ของรัฐ และการ
ออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินของรัฐ หากพบว่าดาเนินการไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือดาเนินการไป
โดยผิดพลาดคลาดเคล่ือน ให้แจ้งหน่วยงานของรัฐท่ีมีหน้าที่เกี่ยวข้องดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย
ระเบียบ และคาสัง่ ที่เก่ียวขอ้ ง

(6) รวบรวมข้อมูล เอกสารหลักฐาน และข้อเท็จจริงเก่ียวกับการครอบครองที่ดินของบุคคล
ในเขตทีด่ ินของรฐั

(7) เร่งรัดการพิจารณาวินิจฉัยคาขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินของบุคคลในเขตที่ดินของรัฐ
ให้ทีย่ ุติดว้ ยความรวดเรว็

(8) เรียกให้หน่วยงานของรัฐส่งข้อมูล เอกสารหลักฐานและข้อเท็จจริง หรือขอให้ส่งผู้แทน
มาช้ีแจงเพอ่ื ประกอบการพิจารณา หรือเชิญบคุ คลใด ๆ มาให้ความเหน็ ตอ่ กบร.จังหวัด

(9) แต่งตั้งคณะทางาน หรือเจ้าหน้าที่เพื่อดาเนินการหรือปฏิบัติงานใด ๆ ในการแก้ไขปัญหา
และป้องกนั การบกุ รุกท่ดี ินของรฐั ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

(10) ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงานของ กบร.จังหวัด และเสริมสร้างความเขา้ ใจในการแก้ไข
ปญั หาและปอ้ งกันการบุกรกุ ทีด่ ินของรฐั ในเขตจังหวัด

(11) ให้จัดการประชุม กบร. จังหวัด เป็นประจาทุกเดือน อย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง และเม่ือ
ประชมุ เสร็จแล้วใหร้ ายงานผลการดาเนนิ งานให้ฝ่ายเลขานุการ กบร. ทราบด้วย

(12) รายงานผลการปฏิบัติงานในการแก้ไขและป้องกันปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ ให้ กบร.
ทราบ เป็นรายไตรมาสและรายปี สาหรับการรายงานผลเป็นรายปีน้ัน ให้รายงานภายในวันที่ 30 มกราคม
ของปีถดั ไป

(13) ดาเนนิ การใด ๆ ตามที่ กบร. หรือประธาน กบร. มอบหมาย

คู่มอื สนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 75

76 คมู่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองท่ีดินของรฐั

2.5 หลักเกณฑ์การพิสูจน์หลักฐานการครอบครองที่ดินของราษฎรในเขตที่ดินของรัฐ
ของคณะกรรมการแกไ้ ขปัญหาการบุกรุกทด่ี ินของรัฐ (กบร.)

คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) ได้วางมาตรการ เร่ือง การพิสูจน์สิทธิ
การครอบครองท่ีดนิ ของบุคคลในเขตท่ดี นิ ของรฐั ไว้ดังตอ่ ไปนี้

1) การพิสูจน์สิทธิการครอบครองท่ีดินของบุคคลในเขตที่ดินของรัฐ ต้องมีพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับ
ทีด่ ินแปลงนั้น ซ่ึงแสดงวา่ ไดค้ รอบครองทาประโยชนอ์ ยา่ งต่อเนื่องมากอ่ นการเปน็ ทด่ี นิ ของรัฐ ดังนี้

(1) เอกสารที่ทางราชการทาข้ึนและพิสูจน์ได้ว่าเป็นเอกสารซึ่งลงวันที่ก่อนการเป็นที่ดิน
ของรฐั หรือ

(2) เอกสารท่ีทางราชการทาขึ้นและพิสูจน์ได้ว่าเป็นเอกสารซึ่งลงวันท่ีภายหลังการเป็นที่ดิน
ของรัฐ แตก่ ่อนวันท่ีประมวลกฎหมายทดี่ ินใชบ้ ังคบั (วันที่ 1 ธันวาคม 2497) โดยเอกสารดังกล่าวมีข้อความ
แสดงวา่ ได้ครอบครองทาประโยชนใ์ นทดี่ นิ แปลงน้ันมาก่อนการเป็นท่ีดินของรฐั

(3) พยานหลักฐานอื่นนอกจาก ข้อ (1) และ (2) เช่น ส.ค. 1 หรือพยานบุคคลเป็นต้น
เม่ือพิ จารณ าแล้วเห็นว่าพยานหลักฐานน้ันมีส่วน สนับ สนุ นคากล่าวอ้างว่ามีการครอบครองทาประโยชน์
มาก่อนการเป็นที่ดินของรัฐ ให้ดาเนินการอ่านภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหารท่ีถ่ายภาพพื้นที่น้ันไว้
เป็นคร้ังแรกหลังจากเป็นที่ดินของรัฐ หากปรากฏร่องรอยการทาประโยชน์ในที่ดินอยู่ในภาพถ่ายทางอากาศ
จึงจะเชอื่ ตามพยานหลักฐานอื่นนน้ั

2) เม่ือได้พิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดิน ตามข้อ 1) แล้ว ปรากฏว่า มีการครอบครองทาประโยชน์
ในทด่ี นิ ภายหลังการเป็นทีด่ ินของรัฐให้ กบร.จังหวดั แจ้งผลการพสิ ูจน์สทิ ธิดังกล่าวให้บคุ คลที่ครอบครองทด่ี ิน
ภายในกาหนด 30 วันทาการ และแจ้งให้หน่วยงานของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาท่ีดินของรัฐดาเนินการ
ดังนี้

(1) กรณีท่ีผู้ครอบครองที่ดินมีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ให้แจ้งเจ้าพนักงานที่ดินดาเนินการ
ตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดนิ

(2) กรณีท่ีผู้ครอบครองทด่ี ินได้ย่ืนคาขอออกหนังสอื แสดงสิทธิในทดี่ ินให้ยื่นคัดคา้ นการออกหนังสือ
แสดงสิทธิในท่ีดินต่อเจ้าพนักงานที่ดิน เพื่อให้ดาเนินการสอบสวนเปรียบเทียบตามมาตรา 60 แห่งประมวล
กฎหมายทีด่ นิ

(3) กรณีท่ีผู้ครอบครองท่ีดินไม่มีหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน และไม่ได้ย่ืนคาขอออกหนังสือ
แสดงสิทธิในทด่ี ิน ให้ดาเนนิ การตามกฎหมายและระเบยี บต่อไป

3) เมื่อได้พิสูจน์สิทธิการครอบครองท่ีดินตามข้อ 1) แล้ว ปรากฏว่ามีการครอบครองทาประโยชน์
ในทด่ี นิ มากอ่ นการเปน็ ท่ีดินของรฐั ให้ กบร.จังหวัด แจ้งผลการพสิ ูจน์สิทธิดงั กลา่ วใหบ้ ุคคลท่คี รอบครองทดี่ ินทราบ
ภายในกาหนด 30 วันทาการ และแจ้งให้หนว่ ยงานของรัฐท่ีมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาทด่ี นิ ของรฐั ดาเนนิ การ ดังนี้

(1) กรณีที่หน่วยงานของรัฐดังกล่าวเห็นด้วยกับมติของ กบร.จังหวัด ให้แจ้งเจ้าพนักงานท่ีดิน
จังหวดั ดาเนนิ การตามกฎหมายและระเบียบตอ่ ไป

(2) กรณีท่ีหน่วยงานของรัฐดังกล่าวไม่เห็นด้วยกับมติของ กบร.จังหวัดให้พิจารณาดาเนินการ
ตามอานาจหน้าที่ตอ่ ไป

คมู่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 76
คู่มอื สนบั สนุนการคุ้มครองทด่ี นิ ของรัฐ 77

2.6 มาตรการของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ เรื่อง ข้ันตอนและวิธีการ
ดาเนินงานของคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ

โดยท่ีมาตรการของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ เร่ือง การพิสูจน์สิทธิ
การครอบครองที่ดนิ ของบุคคลในเขตท่ีดนิ ของรัฐ ข้อ 1 (3) ไดก้ าหนดหลักเกณฑก์ ารพิสจู น์พยานหลักฐานอื่น
ว่าหากพยานหลักฐานน้ันมีส่วนสนับสนุนคากล่าวอ้างว่ามีการครอบครองทาประโยชน์มาก่อนการเป็นที่ดิน
ของรัฐ ให้ดาเนินการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ หรือมีความจาเป็นต้องหาขอบเขตท่ีดินของรัฐโดยใช้ภาพถ่าย
ทางอากาศ คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่าย
ทางอากาศขึน้ เพ่อื ดาเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์และข้นั ตอน ดงั ต่อไปนี้

วตั ถปุ ระสงค์
1) เพ่ือหาตาแหน่งและขอบเขตท่ีดนิ ของรัฐ
2) เพื่อหารอ่ งรอยการทาประโยชน์ในที่ดนิ ของบุคคลในเขตท่ีดินของรฐั
3) เพอื่ ใช้เปน็ ขอ้ มลู หลักในการดาเนนิ การแก้ไขปัญหาและป้องกนั การบุกรุกท่ดี ินของรฐั
ขน้ั ตอนดาเนนิ การ
1) ขัน้ ตอนดาเนนิ การของ กบร.จังหวดั

กรณที ี่ กบร.จงั หวัด มมี ตใิ หใ้ ชผ้ ลการอ่านภาพถ่ายทางอากาศประกอบการพิจารณาใหด้ าเนนิ การ
ดงั น้ี

(1) แจ้งใหห้ น่วยงานของรัฐทม่ี อี านาจหนา้ ทดี่ ูแลรักษาทดี่ นิ ของรัฐตามกฎหมาย ขีดขอบเขต
บริเวณที่ขอให้อ่านภาพถ่ายทางอากาศลงบนแผนท่ีภูมิประเทศในระบบพิกัดฉาก U.T.M. มาตราส่วน 1 : 50,000
ลาดับชดุ L 7017 ของกรมแผนทท่ี หาร

(2) แจ้งให้จังหวัดและหน่วยงานของรัฐท่ีมีอานาจหน้าที่ในการดูแลรักษาที่ดินของรัฐตาม
กฎหมายน้ัน ทาการสารวจและจัดทาแผนท่ีกายภาพในระบบพิกัดฉาก U.T.M. มาตราส่วน 1 : 4,000 ที่แสดง
รายละเอียดของบุคคลที่ครอบครองที่ดินในเขตที่ดินของรัฐ โดยให้บุคคลท่ีอ้างสิทธิครอบครองในเขตที่ดิน
ดังกล่าวน้ัน ร่วมชี้ตาแหน่งและขอบเขตที่ดิน ตามแผนการดาเนินการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ
ในเชิงรุก ตามมติคณะรัฐมนตรี เมอื่ วันท่ี 29 กรกฎาคม 2540

(3) จัดซ้ือภาพถ่ายทางอากาศคู่ซ้อน พร้อม Diapositive ขนาด 9” x 9” ให้ครอบคลุม
บริเวณทข่ี อให้อา่ น แปล ตีความภาพถ่ายทางอากาศ จากกรมแผนที่ทหาร ทีถ่ ่ายภาพพ้ืนที่นั้นไวเ้ ป็นครั้งแรก
หลังจากเปน็ ท่ดี ินของรัฐ

ทั้งนี้ ให้จัดซื้อภาพถ่ายทางอากาศท่ีแผนกผลิตภาพถ่ายทางอากาศ กองบินถ่ายภาพทางอากาศ
กรมแผนทท่ี หาร และ Diapositive

(4) ให้ส่งเอกสารและหลักฐานตาม (1) และ (3) ไปยังสานักงานปลดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ ม

2) ขัน้ ตอนดาเนินงานของคณะอนกุ รรมการอา่ นภาพถ่ายทางอากาศ
เม่ือคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศได้รับเอกสารและหลักฐานตามข้อ 1) (ข้ันตอน

ดาเนนิ การของ กบร.จังหวัด) และพิจารณารับไว้ดาเนินการแลว้ จะดาเนนิ การดังนี้
(1) จัดทาระวางแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1 : 4,000 จากภาพถ่ายทางอากาศ

และ Diapositive
(2) อ่าน แปล ตคี วามในภาพถา่ ยทางอากาศ ขนาด 9” x 9”

78 คู่มอื สนับสนนุ การคุ้มครองทด่ี นิ ของรฐั คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 77

(3) ถ่ายทอด (Transfer) ผลการอ่าน แปล ตีความภาพถ่ายทางอากาศ ขนาด 9”x 9” ลงบน
ระวางแผนที่ภาพถา่ ยทางอากาศ มาตราสว่ น 1 : 4,000

(4) จัดทาแผนทีต่ น้ ร่าง ซง่ึ แสดงผลการอ่าน แปล ตีความภาพถ่ายทางอากาศ พร้อมลงสัญลักษณ์
การจาแนกประเภทการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ (Land Use Classification)

(5) คณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศพิจารณารับรองผลการอ่าน แปล ตีความ
ภาพถ่ายทางอากาศท่ปี รากฏในแผนที่ตน้ ร่างพร้อมแผนทีภ่ าพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1 : 4,000

(6) จดั ส่งเอกสารใน (5) ให้จงั หวดั ดาเนินการในข้นั ตอนตอ่ ไป
3) เม่อื จงั หวัดไดร้ บั ผลการอา่ น แปล ตีความภาพถ่ายทางอากาศตามข้อ 2) (ข้นั ตอนดาเนนิ งาน
ของคณะอนุกรรมการอ่านภาพถา่ ยทางอากาศ) แล้วให้ดาเนินการดังนี้

(1) ลงรูปแปลงท่ีดินของรัฐ และรูปแปลงท่ีดินของบุคคล ในระบบพิกัดฉาก U.T.M. ลงบน
แผนทีต่ ้นรา่ ง

(2) จัดทารายงานและข้อพิจารณาเสนอ กบร.จังหวัด พิจารณาตามมาตรการของ
คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ เรื่อง หลักเกณฑ์การพิสูจน์สิทธิการครอบครองท่ีดินของ
บุคคลในเขตที่ดนิ ของรฐั ต่อไป
๓. นโยบายและแนวทางการแกไ้ ขปญั หาการบกุ รกุ ทด่ี ินของรัฐ

๓.๑ นโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐก่อนมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๔
พฤษภาคม ๒๕๓๖

ก่อนมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ได้มีการกาหนดนโยบายและแนวทางในการ
แกไ้ ขปัญหาการบุกรกุ ทีด่ ินของรฐั ไว้ ดังนี้

1) มติคณะกรรมการจดั ท่ดี ินแห่งชาติ ครง้ั ท่ี ๓/๒๕๑๗ เมอื่ วันท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๑๗
เดิมแนวทางในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ บางกรณีจะดาเนินการถอนสภาพการเป็น

ที่ดินของรัฐ เพื่อนาไปจัดให้ประชาชนโดยให้กรรมสิทธิ์ เช่น การจัดที่ดินผืนใหญ่ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
การจัดท่ีดินตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. ๒๕๑๑ ต่อมาภาครัฐเล็งเห็นว่า
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวจะเป็นการส่งเสริมให้มีการบุกรุกท่ีดินของรัฐเพิ่มมากข้ึน ส่งผลให้ที่ดินของรัฐ
ลดน้อยลง ดังน้ัน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ คณะรัฐมนตรีจึงได้มอบหมายให้คณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติหาแนวทาง
แก้ไขปัญหาในเรื่องดังกล่าว คณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติจึงได้มีมติในคราวประชุม ครั้งท่ี ๓/๒๕๑๗
เม่ือวันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๑๑ ตามระเบียบวาระท่ี ๓ เร่ืองท่ี ๓ มีมติให้การจัดที่ดินป่าสงวน
และที่สาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก วา่ ถ้าท่ีดนิ ดังกล่าวมีผู้บุกรกุ เขา้ ไปทาประโยชน์เป็นหลักฐานม่ันคงแล้ว
หากจาเป็นจะต้องถอนสภาพที่ดินนั้นแล้วก็ควรจะไม่ให้กรรมสิทธ์ิแก่ผู้ที่บุกรุกเข้าครอบครอง เพราะเท่ากับ
สง่ เสริมให้ผู้กระทาความผิดกลับได้ประโยชน์ ส่วนคนที่ไม่ได้ทาผิดกลับไม่ได้รับประโยชน์ เป็นการไม่ยุติธรรม
เห็นควรจัดท่ีดินให้แก่ราษฎรที่เข้าไปบุกรุกครอบครองทาประโยชน์โดยวิธีการให้เช่า ส่วนการให้เช่าซื้อน้ัน
เปน็ ทางทีจ่ ะทาให้ผเู้ ช่าซือ้ ไดก้ รรมสทิ ธ์ใิ นทีด่ ินที่บกุ รุกในภายหลงั จึงควรรอไว้กอ่ น

2) นโยบายการใช้และกรรมสิทธ์ิท่ีดินตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๒๕ (แก้ไข
ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๒๖, มติคณะรัฐมนตรี วันท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๖, และ
มติคณะรัฐมนตรี วนั ที่ ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๒๗)

ดว้ ยคณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ ประชุมครั้งท่ี ๒/๒๕๒๕ เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม
๒๕๒๕ ไดพ้ ิจารณาถึงนโยบายการใชแ้ ละกรรมสิทธท์ิ ีด่ ิน มมี ติเห็นควรจะได้กาหนดให้เป็นนโยบาย ดงั นี้

คูม่ อื สนบั สนนุ การค้มุ ครองที่ดนิ ของรฐั 78
คมู่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 79

การจัดที่ดินของรัฐ รัฐบาลได้พยายามแก้ปัญหาท่ีดิน โดยอาศัยวิธีการจัดที่ดินให้แก่ราษฎร
ในเร่ืองนี้ได้มีหน่วยราชการตา่ ง ๆ ซึ่งได้รบั มอบหมายใหเ้ ข้าไปดาเนินการจัดท่ีดินเหล่านี้อยู่ทั้งในเขตปา่ สงวนแห่งชาติ
และนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ โดยมีหน่วยราชการจานวนมาก เช่น กรมประชาสงเคราะห์ กรมส่งเสริมสหกรณ์
กรมท่ีดิน สานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก และหน่วยราชการอื่น ๆ
เนื้อที่รวมท้ังสิ้นประมาณ ๓๐ ล้านไร่ ซ่ึงในจานวนน้ีหน่วยงานต่าง ๆ ได้จัดไปแล้วประมาณครึ่งหน่ึงยังเหลือ
พ้ืนท่ีที่ยังไม่ได้จัดสรรอีกประมาณ ๑๕ ล้านไร่ ผลการพิจารณาของคณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ
ในกรณีน้ีเห็นว่า การจัดท่ีดินซึ่งหน่วยงานต่าง ๆ ที่กาลังดาเนินการอยู่ในปัจจุบันให้ดาเนินการต่อไป แต่ไม่ให้
ขยายพ้ืนที่ดาเนินการ ยกเว้นในกรณีการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมและการพัฒนาท่ีดิน และให้หน่วยงาน
ท่ีรบั ผิดชอบทาแผนปฏิบตั กิ ารหรอื โครงการในการจัดท่ีดินทเ่ี หลืออยู่ใหเ้ สร็จสน้ิ ภายใน ๕ ปี

มติดังกล่าวข้างตน้ นี้มีผลทาให้กระบวนการจัดท่ีดินให้ราษฎรผู้บุกรุกโดยการจดั ทดี่ ินผืนใหญ่
ไม่สามารถดาเนินการได้ จึงทาให้ไม่มีการจัดท่ีดินให้แก่ราษฎรเพ่ือแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐโดยการ
จดั ที่ดนิ ใหล้ ักษณะแปลงใหญอ่ กี ตอ่ ไป

3.2 นโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐตามมติ ครม. เม่ือวันท่ี 4
พฤษภาคม 2536

ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 4 พฤษภาคม 2536 ได้กาหนดนโยบายและแนวทางในการ
แกไ้ ขปัญหาการบกุ รุกที่ดินของรัฐไว้ ดงั นี้

1) รฐั ควรเรง่ รดั ใหม้ ีการดาเนนิ การออกเอกสารสทิ ธแิ ก่ราษฎรในกรณดี ังต่อไปน้ี
(1) กรณีท่ีเป็นผู้ครอบครองทาประโยชน์ในท่ีดินท่ีรัฐได้สงวนหวงห้ามไว้ตามกฎหมาย และหาก

พิสจู น์ไดว้ ่าได้อยู่มาก่อนการสงวนหวงห้ามเป็นทด่ี ินของรฐั หรือเป็นหมู่บ้านเก่าทส่ี ามารถพสิ ูจน์ได้ว่าเปน็ ผอู้ ยู่
มาแต่ด้ังเดิม หรือครอบครองต่อเน่ืองมาจากผู้ครอบครองแต่เดิมมาก่อนการสงวนหวงห้ามเป็นท่ีดินของรัฐ
ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องเร่งรัดดาเนินการตรวจสอบและจัดทาทะเบียนบัญชี หรือจัดทาแผนงาน และโครงการ
ออกเอกสารสิทธขิ องผู้ครอบครองเหล่านี้ไวเ้ ป็นหลักฐาน

(2) ราษฎรท่ีอยู่ในบริเวณแนวเขตท่ีดินของรัฐที่ยังมีแนวเขตท่ีไม่ชัดเจน ให้เร่งดาเนินการ
สารวจแนวเขตให้แน่นอน เม่ือรัฐได้สารวจทาแนวเขตที่ชัดเจนแล้ว ถ้าปรากฏว่าราษฎรเหล่าน้ีครอบครอง
ทากินอยู่นอกเขตที่ดินของรัฐก็ควรพิจารณาดาเนินการออกเอกสารสิทธิให้แก่ราษฎรตามระเบียบขั้นตอน
ของกฎหมายต่อไป

2) รฐั ไมค่ วรให้เอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายทด่ี ินแก่ผ้บู ุกรกุ ทด่ี ินของรฐั
3) ที่ดินของรัฐ (ยกเว้นเขตอทุ ยานแห่งชาติ เขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ป่า เขตพ้ืนท่ีต้นน้า ลาธาร พื้นท่ี
ลุ่มน้าชั้น 1 และช้ัน 2 พื้นที่สงวนหวงห้ามไว้ใช้ประโยชน์ในราชการ และท่ีดินท่ียังไม่หมดสภาพการเป็น
ท่ีสาธารณประโยชน์ที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน) ท่ีผู้บุกรุกครอบครองและรัฐไม่มีความจาเป็นจะต้อง
สงวนไว้อีกต่อไป ให้ดาเนินการตามกฎหมายปฏิรปู ที่ดิน และเพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตามหลักการปฏิรูป
ท่ีดินให้ไดผ้ ลอย่างแทจ้ ริง สมควรให้ ส.ป.ก. ปรับปรงุ แนวทางปฏิบตั ิดงั นี้

(1) ในเขตประกาศปฏิรูปท่ีดิน หากมีผู้บุกรุกถือครองท่ีดิน และเจ้าของท่ีดินต่อต้านการปฏิรูป
ท่ีดิน หรือไม่ให้ความร่วมมือในการกระจายสิทธิการถือครองที่ดิน ให้ ส.ป.ก. ดาเนินการโดยขอความร่วมมือ
จากฝ่ายปกครองหรือส่วนราชการท่ีเก่ียวข้อง ให้ดาเนินการตามกฎหมายแก่ผู้ต่อต้านโดยเคร่งครัด พร้อมทั้ง
รายงาน กบร. เพ่ือประสานงานแก้ไขปญั หาในทุกพื้นที่และทุกราย

80 คู่มือสนับสนนุ การคุม้ ครองท่ดี นิ ของรัฐ คมู่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองท่ีดินของรฐั 79

(2) การนาท่ีดินของรัฐมาดาเนินการปฏิรูปที่ดินให้ ส.ป.ก. พิจารณาดาเนินการจัดเก็บค่าเช่า
หรือค่าชดเชยเข้ากองทุนปฏิรูปที่ดินตามหลกั การและวธิ ีการในส่วนทเ่ี กี่ยวกับค่าเช่า ตามพระราชบัญญตั ิปฏิรูปท่ดี ิน
เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 เพ่ือจะได้นาเงินไปใช้ดาเนินการในโครงการพัฒนาพ้ืนท่ี หรือนาไปใช้จัดหา
ท่ีดินทากนิ ให้แก่เกษตรกรทไ่ี ม่มีที่ดินทากินได้เช่าหรือเช่าซื้อต่อไป ท้ังน้ี ควรดาเนินการให้สอดคล้องกบั คา่ เช่า
ตามพระราชบัญญัติการเชา่ ท่ีดนิ เพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. 2524

(3) ควรกาหนดเน้ือที่สูงสุดสาหรบั สมาชกิ แต่ละรายเท่าท่ีจาเป็นต่อการทากินแต่ละประเภท
ตามความเหมาะสม และความอุดมสมบูรณ์ในแต่ละพื้นท่ีของเขตปฏิรูปท่ีดินสาหรับพื้นท่ีส่วนท่ีเกินความจาเป็น
ของสมาชกิ แตล่ ะราย ควรกาหนดเงื่อนไขให้ปลกู ไม้ผลหรือไมย้ นื ตน้ ต่อไป

(4) ให้ ส.ป.ก. กาหนดมาตรการในการติดตามและตรวจสอบการครอบครองทาประโยชน์
ของสมาชิกผู้ได้รับสิทธิแต่ละรายให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เง่ือนไข ตามที่กฎหมายกาหนดไว้อย่างเคร่งครัด
และโดยต่อเนอ่ื งตลอดไป

4) ที่สาธารณประโยชน์ ที่ป่าสงวนแห่งชาติเสื่อมโทรมที่มีผู้บุกรุกครอบครองทาประโยชน์ แต่มิได้
กาหนดเปน็ เขตปฏริ ปู ที่ดนิ ให้ดาเนนิ การตามหลกั เกณฑด์ ังต่อไปน้ี

(1) ให้เช่าหรืออนุญาตให้เข้าทาประโยชน์โดยเสียค่าตอบแทนหรือได้รับเอกสารพิเศษ
ท่ีมีหลักเกณฑ์ทานองเดียวกับเอกสาร ส.ป.ก. ตามจานวนเน้ือที่ท่ีได้บุกรุกครอบครองทาประโยชน์อยู่เดิม
แล้วแต่กรณี แต่ต้องไม่สูงกว่าที่ส่วนราชการท่ีรับผิดชอบพิจารณาเห็นสมควร ทั้งนี้ โดยให้กาหนดค่าเช่า
หรือค่าตอบแทนตามหลักการและวิธกี ารเก่ียวกับค่าเช่า ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
พ.ศ. 2518 กรณีการเช่าในส่วนเกินกว่าจานวนเน้ือท่ีที่ส่วนราชการผู้รับผิดชอบเห็นสมควร ให้คิดค่าเช่า
หรือค่าตอบแทนในอัตราก้าวหน้า โดยคานึงถึงอัตราการเช่า ตามพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม
พ.ศ. 2524 ดว้ ย

(2) องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นผู้เก็บค่าเช่าหรือค่าตอบแทนไว้ โดยให้แบ่งหนึ่งในสาม
เป็นกองทุนพัฒนาชนบทและจังหวัด และอีกสองในสามเป็นกองทุนพิทักษ์ป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่นน้ั ๆ

(3) กาหนดเงื่อนไขให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ในพื้นที่ส่วนที่เกินความจาเป็นต่อการทากินของ
เกษตรกรแต่ละราย ตามความอุดมสมบูรณ์และความเหมาะสมในแต่ละพ้ืนท่ี กรณีท่ีมีความจาเป็นในแง่
การอนุรักษ์หรือการป้องกันการแพร่กระจายดินเค็ม ก็ควรกาหนดเง่ือนไขห้ามใช้พ้ืนที่ทานาหรือทาพืช
หรอื กาหนดมาตรการฟนื้ ฟูทเ่ี หมาะสมต่อไป

5) ให้จัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือการผลิตกล้าไม้ผลไม้ยืนต้นอย่างเพียงพอ
ท่ีจะบริการแก่เกษตรกรในราคาต้นทุน ในทุกพื้นที่ท่ีจะดาเนินการตามข้อ 4) และให้จัดสรรงบประมาณ
สาหรบั โครงการจัดทาแนวเขตพื้นทส่ี งวนหวงห้ามของรฐั ใหช้ ดั เจนและถาวรในทุกโครงการของทุกสว่ นราชการ

6) ในกรณีท่ีมีการดาเนินคดีแก่ผู้บุกรุกท่ีดินของรัฐ และเมื่อคดีถึงท่ีสุดแล้วให้ส่วนราชการท่ีมี
หน้าท่ีรับผิดชอบดาเนินการบังคับคดีโดยทันที พร้อมท้ังให้รายงานกระทรวงต้นสังกัด และ กบร. ทราบด้วย
ห้ามมิให้ละเลย ปล่อยทิ้งเป็นเวลาเนิ่นนาน ทั้งน้ี ควรมอบหมายให้ผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี
และผู้ตรวจราชการของหนว่ ยงานต้นสังกดั ท่เี กีย่ วข้องติดตามการบังคับคดตี อ่ ไปจนเสรจ็ สน้ิ คดี

7) ให้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี และหรือให้แก้ไขกฎหมายที่ไม่สอดคล้องหรือขัดแย้งกับนโยบาย
และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาการบกุ รทุ ่ีดนิ ของรัฐข้างต้น

คู่มอื สนับสนุนการคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 80
คู่มือสนบั สนนุ การคุ้มครองทด่ี ินของรัฐ 81

4. นโยบายเกยี่ วกับการบริหารจดั การทดี่ ินของรัฐ ตามมติ ครม. เมื่อวนั ท่ี 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2547
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวนั ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 เรื่อง การบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ท่ีดินของรัฐ

เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน ได้อนุมัติในหลักการตามท่ีรองนายกรัฐมนตรี (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) ประธาน
กรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐเสนอให้ส่วนราชการที่มีหน้าท่ีดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ท่ีดิน
ของรัฐและจังหวัด รวมทั้งคณะกรรมการฝ่ายจัดหาที่ดินของรัฐด้านอุปทานให้ประชาชนทากิน ดาเนินการ
ตามแนวทางและข้ันตอนการดาเนินงานตามนโยบายและการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐ
เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาความยากจน ดงั น้ี

1) ให้ส่วนราชการที่มีหน้าท่ีดูแลรักษาท่ีดินของรัฐและจังหวัด โดยคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ทด่ี ินของรัฐ (กบร.) จังหวัดจัดทาแผน/โครงการ เพื่อดาเนินงาน ดังนี้ (1) ให้สารวจรังวัดขอบเขตท่ีดนิ ของรัฐ
ทกุ ประเภท (2) ให้จัดทาแผนที่กายภาพแสดงการใช้ประโยชน์ท่ดี ินในเขตที่ดินของรัฐทุกประเภท (3) ให้สารอง
ทด่ี นิ ของรัฐเพอ่ื ใช้ประโยชนใ์ นอนาคต

2) ให้คณะกรรมการฝ่ายจัดหาท่ีดินของรัฐด้านอุปทานให้ประชาชนทากินพิจารณาดาเนินการอนุญาต
จัดสรรให้ประชาชนเข้าทาประโยชน์ในทด่ี นิ ของรฐั ต่อไป เมอ่ื ได้ดาเนนิ การตามข้อ 1) แลว้

3) ให้สานักงบประมาณสนับสนุนงบประมาณสาหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทุกข้ันตอน
และการเร่งรัดติดตามผล โดยให้ตั้งงบประมาณเบิกจ่ายที่สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อม

กบร. เสนอว่า เพื่อให้การบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ท่ีดินของรัฐเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานของคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ คือ คณะกรรมการ
อานวยการและกากับนโยบายการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน
และคณะกรรมการฝา่ ยจัดหาท่ีดนิ ของรัฐดา้ นอปุ ทานให้ประชาชนทากิน ในการจดั หาท่ดี ินของรัฐให้ประชาชน
ทากินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางในการกากับ ติดตามเร่งรัด การดาเนินงานของส่วนราชการ
ทดี่ ูแลรักษาและใชป้ ระโยชน์ทดี่ ินเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั จงึ เหน็ ควรกาหนดให้ส่วนราชการมีหน้าดูแลรักษา
และใช้ประโยชน์ท่ีดินของรัฐและจังหวัด และคณะกรรมการฝ่ายจัดหาที่ดินของรัฐด้านอุปทานให้ประชาชน
ทากินมีการดาเนินการตามขอ้ 1) และข้อ 2)

มติคณะรัฐมนตรีนี้มีวัตถุประสงค์ในเร่ืองการจัดที่ดินให้ประชาชนเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนและ
การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน ซึ่งคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐไดก้ าหนดแนวทางและข้ันตอน
การดาเนินงานไว้ ดังน้ี

1) ทีด่ นิ ของรัฐท่ีจะนามาจัดให้ประชาชน
(1) ที่สาธารณประโยชน์
(2) ทรี่ าชพัสดุประเภทใชเ้ พ่ือประโยชนข์ องแผ่นดนิ โดยเฉพาะ
(3) ท่ปี ่าสงวนแห่งชาติ
(4) ทป่ี า่ ไม้ถาวรตามมติคณะรฐั มนตรี
(5) ทด่ี ินในเขต ส.ป.ก.
(6) ท่ีดนิ ทม่ี อบให้นคิ มสร้างตนเอง แตย่ ังไมไ่ ดด้ าเนนิ การจัดสรร
(7) ทด่ี นิ ที่มอบให้จัดตั้งนิคมสหกรณ์ แต่ยังไม่ไดด้ าเนินการจัดสรร

82 คู่มือสนับสนนุ การคุม้ ครองที่ดินของรัฐ คมู่ ือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 81

2) ข้ันตอนการดาเนินการ ให้หน่วยงานที่ดูแลท่ีดินทั้ง 7 ประเภทดังกล่าวร่วมกับคณะกรรมการแก้ไข
ปญั หาการบกุ รุกที่ดินของรัฐจงั หวดั ดาเนินการ ดังน้ี

(1) สารวจรังวัดและจดั ทาขอบเขตทีด่ นิ ของรัฐทุกประเภท
(2) สารวจรังวัดและจดั ทาแผนทีท่ างกายภาพ (พ้ืนที่ส่วนที่ว่างไมม่ ีการบกุ รุกใหน้ าไปจัดสรร)
(3) สอบสวนสทิ ธิการครอบครอง (รายที่ไม่โต้แย้งสิทธใิ หน้ าทดี่ นิ ไปจดั สรร)
(4) กรณมี รี าษฎรโต้แยง้ สิทธิจะนาไปจดั สรรยงั ไมไ่ ด้ ต้องเสนอเรอ่ื งให้ กบร.จงั หวัดพสิ ูจนส์ ทิ ธิ

ก. หากราษฎรมีสิทธใิ นทดี่ นิ โดยชอบ ให้กนั ท่ีดินใหร้ าษฎรไปออกโฉนดได้
ข. หากราษฎรไม่มีสิทธิในที่ดิน แต่ยอมรับผลการพิสูจน์สิทธิจะได้รับการจัดสรรที่ดินให้ แต่หาก
ไมย่ อมรบั ผลการพิสจู น์สิทธแิ ละไปใช้สิทธิทางศาล ถา้ ต่อมาแพ้คดจี ะไมไ่ ดร้ บั การจัดสรรทีด่ นิ ให้
3) ท่ีดินของรัฐท่ีสามารถนามาดาเนินการจัดให้ประชาชนได้เป็นโครงการแรก คือ ที่ดินของรัฐ
ตามขอ้ 1) (2) และ (3) ส่วนทดี่ นิ ของรฐั ตามข้อ 1) (1) จะนามาจัดให้เป็นโครงการท่ี 2 ตอ่ ไป
4) ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดูแลรักษาท่ีดินของรัฐท้ัง 7 ประเภท มีหน้าที่จัดทาโครงการสารวจรังวัด
และจัดทาแผนท่ีทางกายภาพเฉพาะในที่ดินของรัฐที่มีขอบเขตยังไม่ชัดเจน และยังไม่ได้มีการสารวจคนท่ีอยู่
ในเขตทด่ี ินของรัฐ (สารวจทางกายภาพ)
5) การดาเนินการตามโครงการตามข้อ 4) จะให้ กบร. จังหวัด หรือผู้ว่าราชการจังหวัดรับผิดชอบ
การดาเนนิ การท่ีดนิ ของรฐั ในเขตจังหวดั โดยจะดาเนินการตามโครงการพรอ้ มกนั ทงั้ ประเทศ
6) สป.ทส. โดย สบร. มีหนา้ ที่ ดังน้ี
(1) จดั ทาโครงการ กากบั ดแู ล และเรง่ รัดติดตามผลการปฏิบัตงิ านตามมตคิ ณะรัฐมนตรดี ังกล่าว
(2) จัดทาโครงการอ่านภาพถ่ายทางอากาศเพื่อสนับสนุนการพิสูจน์สิทธิของ กบร.จังหวัด ทั่วไป
ประเทศ
(3) สง่ มอบจานวนท่ีดินของรัฐให้คณะทางานด้านที่ทากินเพื่อการประกอบอาชีพในคณะอนุกรรมการ
จดั สรรทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ การประกอบอาชพี และที่อยู่อาศัยดาเนนิ การตามอานาจหนา้ ทต่ี ่อไป
7) กบร.จะรวบรวมค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานตามโครงการสารวจรังวัดฯ จากหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ี
ดแู ลรักษาที่ดินทง้ั 7 ประเภท เสนอขอสนับสนนุ งบประมาณจากคณะรัฐมนตรี และให้ไปตั้งเบิกจา่ ยไว้ท่ีหน่วยงาน
ทม่ี ีหน้าท่ดี แู ลรักษาท่ีดนิ นน้ั
8) สป.ทส. โดย สบร. มหี น้าทก่ี ากับ เรง่ รัด ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามโครงการข้อ 6)
9) งบประมาณค่าใช้จ่ายเร่ืองการกากับ เร่งรัด ติดตามผลการดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี
และค่าใช้จ่ายด้านการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ คณะอนุกรรมการฯ จะพิจารณาดาเนินการขอสนับสนุน
งบประมาณจากคณะรฐั มนตรีต่อไป และต้งั เบกิ จา่ ยท่ี สป.ทส.
ดังนั้น การดาเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 สป.ทส. ดูแลรับผิดชอบ
เรื่องการกากับ เร่งรัด ติดตามผลการดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี และเร่ืองการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ
เพื่อสนับสนุน กบร.จังหวัด พิสูจน์สิทธิการครอบครองท่ีดินของราษฎรท่ีอยู่ในเขตท่ีดินของรัฐ เป็นไปด้วย
ความเรียบรอ้ ย และมีประสิทธิภาพ ส่วนหน่วยงานอื่นท่ีมีหน้าท่ีดูแลรกั ษาท่ีดินของรัฐท้ัง 7 ประเภท มีหน้าที่
รับผดิ ชอบโครงการสารวจรงั วัดฯ ดงั กล่าวขา้ งต้น13

13 สานักงานแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม, แนวทางและ
วธิ ีการดาเนินการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ดี ินของรัฐ, (กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2549), หน้า 35-37.

คมู่ ือสนับสนุนคู่มกือาสรนคบั มุ้ สคนุนรกอางรทคมุ้ีด่ คินรของอทงี่ดรนิ ฐั ของรฐั 8832
5. การนานโยบายไปใช้ในการแกไ้ ขปัญหาการบกุ รุกทด่ี ินของรฐั

5.1 การปฏบิ ัตติ ามนโยบายในการคุ้มครองปอ้ งกันการบุกรุกท่ีดินของรฐั
กระทรวงมหาดไทยได้นานโยบายในการคุ้มครองปอ้ งกนั การบกุ รุกทดี่ ินของรัฐไปสูก่ ารปฏบิ ัตนิ ั้น

โดยได้พิจารณาเห็นว่าท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ประโยชน์ร่วมกันถูกบุกรุก
ยดึ ถอื ครอบครองเปน็ จานวนมาก ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งในด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง และการปกครอง
ซ่ึงสาเหตุหน่ึงเน่ืองมาจากท่ีดินดังกล่าวยังไม่ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเพ่ือแสดงเขตไว้เป็นหลักฐาน
เป็นผลให้ผู้มีหน้าท่ีดูแลรักษาตลอดจนราษฎรไม่ทราบอาณาเขตที่แน่นอน และก่อให้เกิดปัญหาการบุกรุก
ในท่ีสุด จึงให้กรมท่ีดินจัดทาโครงการเร่งรัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงท่ัวประเทศให้เสร็จภายใน
ระยะเวลา 2 ปี (พ.ศ. 2535 – 2536) และเพ่อื ให้โครงการเร่งรัดออกหนังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวงดังกล่าว
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด จึงขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดถือเป็นนโยบายท่ีสาคัญของกระทรวง
มหาดไทย โดยให้ประชุมชี้แจงหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดท่ีเก่ียวข้อง นายอาเภอ ปลัดอาเภอผู้เป็น
หัวหน้าประจาก่ิงอาเภอ และผู้มีหน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ทั้งที่สาธารณประโยชน์
และท่ีรกร้างว่างเปล่า เช่น นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตาบล เป็นต้น เพ่ือรับทราบและนาไป
ปฏิบัติ พร้อมทั้งขอให้กาชับผู้มีหน้าที่เก่ียวข้องโดยตรง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และสภาตาบลได้ถือปฏิบัติ ดังนี้
(หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0618/ว 1428 ลงวันท่ี 23 มิถนุ ายน 2535)

(1) ให้กวดขัน สอดส่องดูแลอย่าให้มีการบุกรุกท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ท้ังท่ีสาธารณประโยชน์ และที่รกร้างว่างเปล่า โดยเฉพาะกรณีที่เพิ่งเข้าไปบุกรุกขอให้รีบดาเนินการ
โดยเฉียบขาดทันที อย่าปล่อยไว้จะยากต่อการแก้ไขสาหรับกรณีท่ีบุกรุกมานานแล้วจะมีจานวนมากก็ให้
พิจารณาดาเนนิ การตามนโยบาย และระเบยี บของคณะกรรมการจัดทด่ี ินแหง่ ชาติทไ่ี ดแ้ จ้งให้จังหวัดทราบแล้ว

(2) ให้ประชาสัมพันธใ์ ห้ราษฎรทราบถงึ เน้อื ท่ีและอาณาเขตของที่ดินอนั เป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดิน ท้ังท่ีสาธารณประโยชน์และท่ีรกร้างว่างเปล่า รวมท้ังรณรงค์ให้ราษฎรได้ตระหนักและหวงแหนช่วยกัน
ดแู ลรักษาและค้มุ ครองปอ้ งกนั มิให้มกี ารบุกรุก

(3) เน่ืองจากกรมท่ีดินได้จัดการทาโครงการเร่งรัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงทั่วประเทศ
ในระยะเวลา 2 ปี (พ.ศ. 2535 – 2536) ฉะน้ัน จึงขอให้อาเภอและก่ิงอาเภอได้รีบยื่นคาขอออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวง สาหรับที่สาธารณประโยชน์ตามระเบียบโดยด่วน เพื่อทางสานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงาน
ทีด่ ินจังหวดั สาขาแต่ละกรณี จะได้รวบรวมคาขอดังกล่าวส่งให้เจ้าหน้าที่จากสว่ นกลางท่ีจะออกมาดาเนนิ การ
ต่อไป และขอให้ตรวจสอบหาแนวเขตที่ดินให้ถูกต้องและเป็นท่ียุติก่อนที่เจ้าหน้าท่ีจะออกไปทาการรังวัด
ตอ่ ไป

ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี ท่ีได้มีมติเห็นชอบเร่ืองนโยบายและ
แนวทางการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับที่สาธารณประโยชน์ท่ีประชาชนให้ร่วมกัน
(หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0206/ว 6179 ลงวันท่ี 6 พฤษภาคม 2536 ข้อ 2 และ
ขอ้ 4.1) ดังน้ี

(1) รฐั ไม่ควรใหเ้ อกสารสิทธติ ามประมวลกฎหมายทีด่ นิ แก่ผูบ้ ุกรกุ ที่ดินของรัฐ
(2) ให้เช่าหรืออนุญาตให้เข้าทาประโยชน์โดยเสียค่าตอบแทน หรือได้รับเอกสารพิเศษท่ีมีหลักเกณฑ์
ทานองเดียวกันกับเอกสาร ส.ป.ก. ตามจานวนเน้ือที่ที่ได้บุกรุกครอบครองทาประโยชน์อยู่เดิมแล้วแต่กรณี
แต่ต้องไม่สูงเกินกว่าที่ส่วนราชการที่รับผิดชอบพิจารณาเห็นสมควร ท้ังนี้ โดยให้กาหนดค่าเช่าหรือค่าตอบแทน
ตามหลักการและวิธีการเกี่ยวกับค่าเช่าเดิม ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปทีด่ ินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

84 คู่มือสนบั สนุนการคมุ้ ครองทีด่ นิ ของรฐั คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 83

กรณีเช่าในส่วนที่เกินกว่าจานวนเนื้อท่ีท่ีส่วนราชการผู้รับผิดชอบเห็นสมควรให้คิดค่าเช่า หรือค่าตอบแทน
ในอัตรากา้ วหน้า โดยคานงึ ถงึ อัตราการเช่าตามพระราชบัญญตั ิการเชา่ ทดี่ ินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 ดว้ ย

5.2 การปฏบิ ัตติ ามนโยบายในการแกไ้ ขปัญหาการบกุ รุกทดี่ ินของรัฐ
นอกจากรัฐจะมีมาตรการในการควบคุมดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินของรัฐมิให้ตกเป็น

ประโยชน์แกฝ่ า่ ยหน่ึงฝา่ ยใดโดยเฉพาะแล้ว รัฐกม็ หี นา้ ทท่ี ีจ่ ะแก้ไขปัญหาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนในเร่ือง
ทด่ี ินทากนิ ด้วย ดังน้ัน เมื่อปรากฏว่า มีราษฎรบุกรุกเข้าครอบครองทาประโยชน์ในท่ีดินของรัฐจนสภาพท่ีดิน
ไม่อาจที่จะให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันต่อไปได้แล้ว เช่น มีการปลูกสร้างบ้านเรือนเป็นหลักฐานมั่นคง
จนเต็มเน้ือที่ รัฐจะแก้ไขปัญหาน้ีได้อย่างไร นายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งมีหน้าท่ีโดยตรง
ในการดูแลรักษาที่ดินสาหรบั พลเมืองใช้ร่วมกัน จะดาเนินคดีกับผู้บุกรุกโดยไม่คานึงถึงปัญหาความเดือดร้อน
ของประชาชนบางคร้ังอาจไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ เพราะบางกรณีการบุกรุกที่ดินของรัฐก็เกิดจากความ
บกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีรัฐ เช่น ไม่มีหลักเขตหรือปักป้ายแสดงให้เห็นว่าเป็นที่
สาธารณประโยชน์ หรือหลักฐานของทางราชการไมแ่ น่นอน บางกรณีพนักงานเจ้าหน้าทีก่ ป็ ล่อยปละละเลยให้
ราษฎรบุกรุกท่ีดินของรัฐโดยไม่จัดการให้ราษฎรออกไปจากที่ดินต้ังแต่ระยะแรกท่ีมีการบุกรุก การจะมา
ดาเนินการให้เขาออกจากที่ดินในภายหลังท่ีเขาได้สร้างบ้านเรือนเป็นหลักฐานม่ันคงแล้ว ก็คงจะไม่เป็นผลดีใน
ทางการปกครอง หรือในบางกรณีราษฎรผู้บุกรุกไมม่ ีที่ดินอยู่อาศัยและทากินจริง ๆ การให้ราษฎรออกจากท่ีดินจึง
อาจจะเกิดผลเสียหายมากกว่าผลดีเพราะฉะน้ัน ในการแกไ้ ขปัญหาเรื่องราษฎรบุกรุกท่ีดินของรัฐ ในบางครั้งก็
ไม่สามารถนาบทกฎหมายท่ีให้อานาจลงโทษผู้บุกรุกมาแก้ไขได้เสมอไปอาจต้องนาหลักทางรัฐศาสตร์มาใช้ใน
การแก้ไขปัญหาบ้าง แต่อย่างไรก็ดี มิได้หมายความว่ารัฐจะต้องมีหน้าที่แก้ไขปัญหาการบุกรุกของราษฎรด้วย
การให้ความช่วยเหลือเสมอไป เพราะมิเช่นนั้น จะก่อให้เกิดปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐอย่างไม่ส้ินสุด รัฐจึง
ต้องมีมาตรการในการควบคุม ดูแล รักษา และคุ้มครองป้องกันที่ดินของรัฐ โดยเฉพาะท่ีดินสาหรับพลเมืองใช้
รว่ มกันโดยวธิ ีอ่ืนด้วย

การนานโยบายแห่งรัฐไปใช้ในการแก้ไขปัญหาการบุกรกุ ท่ดี ินของรัฐ เป็นอีกช่องทางหน่ึงสาหรับ
การแก้ไขปญั หาความขัดแย้งในสังคม ซง่ึ ได้มีการดาเนินการมานานพอสมควรแล้ว แต่การดาเนินการดังกล่าว
มิได้ใช้เป็นการท่ัวไป จึงดูประหนึ่งว่าเมื่อจะนานโยบายไปใช้แก้ไขปัญหาในกรณีใดกรณีหนึ่งจะเป็นการเลือก
ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม และทาให้เข้าใจว่าเป็นการกระทาที่ฝ่าฝืนกฎหมาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว การนา
นโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัตนิ น้ั จะมีบทบัญญัติของกฎหมายรองรบั การดาเนินการของหน่วยงานของรฐั และ
เจ้าหน้าที่รัฐท้ังส้ิน เน่ืองจากหน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าท่ีรัฐจะกระทาการใด ๆ ให้มีผลกระทบต่อ
สถานภาพสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล จะต้องมีกฎหมายให้อานาจกระทาได้ และจะต้องกระทาการ ภายใน
กรอบท่ีกฎหมายกาหนด เพราะมฉิ ะนั้นแลว้ การดาเนินการดังกล่าวกจ็ ะขาดความชอบด้วยกฎหมาย ตัวอย่าง
ของการแกไ้ ขปญั หาการบุกรกุ ทีด่ ินของรฐั ตามนโยบายของรฐั บาลท่ีได้ดาเนินการให้ความช่วยเหลือแกผ่ บู้ ุกรุก
ที่ดินของรัฐ เช่น การจัดหาท่ีดินแปลงใหม่ให้ราษฎรใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยและทากินทดแทน การถอนสภาพที่ดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินแล้วนาจัดสรรให้ราษฎรได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและทากิน การผ่อนผันให้ผู้บุกรุก
ที่ดินของรัฐได้อยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐเป็นการช่ัวคราว การนาท่ีดินของรัฐไปจัดให้ผู้บุกรุก
ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม และการจัดทาโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์
ในท่สี าธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรกุ เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท ดงั น้ี

1) การจัดหาท่ดี นิ แปลงใหมใ่ ห้ราษฎรใช้เปน็ ที่อยู่อาศัยและทากนิ ทดแทน
ท่ีดินของรัฐท่ีราษฎรบุกรุกนั้น ถ้าหากรัฐยังมีความจาเป็นท่ีจะต้องใช้หรือสงวนไว้ให้ราษฎร

คมู่ อื สนับสนคนุ มู่ กือาสรนคับส้มุ นคุนรกอารงคทมุ้ ่ีดคนิรอขงทอี่ดงนิรขฐั องรฐั 8845
ได้ใช้ประโยชน์ หรือประชาชนยังตอ้ งการใช้ประโยชน์อยู่ เช่น ท่ีดินที่ประชาชนใช้เลี้ยงสัตว์ ต่อมามีราษฎรบุกรุก
เข้าครอบครองทาประโยชน์ ในกรณีเช่นนี้ถ้าหากปรากฏว่า ราษฎรท่ัวไปยังมีความต้องการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
ดังกล่าวเป็นท่ีเล้ียงสัตว์ร่วมกัน และในหมู่บ้านน้ันก็ไม่มีท่ีดินแปลงใดเหมาะสมท่ีจะเป็นที่ใช้เลี้ยงสัตว์ได้ดีเท่า
เม่ือรัฐมีมาตรการจะช่วยเหลือให้ผู้บุกรุกที่ดินทากิน รัฐก็อาจจัดหาท่ีดินรกร้างว่างเปล่าแปลงใหม่ให้ราษฎร
ใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยและทากินต่อไปได้ โดยปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการจัดท่ีดินเพ่ือการครองชีพ
หรือการจัดทีด่ ินตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ

2) การถอนสภาพท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินแล้วนามาจัดให้ราษฎรได้ใช้เป็น
ทอี่ ย่อู าศยั และทากนิ

การถอนสภาพท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการตาม
มาตรา 8 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ส่วนในเร่ืองการจัดที่ดินให้ราษฎรผู้บุกรุกน้ัน มีแนวทางปฏิบัติ
ดงั น้ี

(1) มติคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ คร้ังท่ี 3/2517 เม่ือวันที่ 11 กันยายน 2517
กาหนดหลักการว่าท่ีสาธารณประโยชน์ หรือป่าไม้ท่ีมีผู้บุกรุกเข้าทาประโยชน์เป็นหลักฐานมั่นคงแล้ว หากจาเป็น
จะต้องถอนสภาพกจ็ ะไมใ่ หก้ รรมสิทธ์แิ กผ่ บู้ กุ รุกแตจ่ ะจดั ให้เช่า

(2) มติคณะรฐั มนตรีเมือ่ วันท่ี 4 พฤษภาคม 2536 ในขอ้ 2 กาหนดว่า รฐั ไม่ควรใหเ้ อกสารสิทธิ
ตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ แกผ่ บู้ กุ รกุ ที่ดินของรัฐ

(3) คณะกรรมการประสานการบุกรุกที่ดินของรัฐส่วนกลาง (กปร.ส่วนกลาง) พิจารณา
ในการประชมุ ครั้งท่ี 4/2540 เมอื่ วนั ท่ี 23 พฤษภาคม 2540 มีมติวา่

(3.1) ควรยืนยันหลักการตามมติคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติปี 2517 คือ เม่ือมี
ความจาเป็นจะต้องถอนสภาพที่สาธารณประโยชน์ท่ีมีผู้บุกรุกก็จะไม่ให้กรรมสิทธิ์ แต่จะจัดให้เช่าเน่ืองจาก
สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 4 พฤษภาคม 2536 ที่กาหนดว่า รัฐไม่ควรให้เอกสารสิทธิ
ตามประมวลกฎหมายทด่ี ินแก่ผบู้ กุ รุกทด่ี นิ ของรัฐ

(3.2) ไม่สมควรมีการถอนสภาพเว้นแต่เฉพาะกรณีจาเป็น เพ่ือประโยชน์ราชการและ
เป็นที่ดินทร่ี าษฎรไมใ่ ช้ประโยชนร์ ว่ มกนั ต่อไปแลว้

(3.3) เมื่อถอนสภาพแล้วควรรีบดาเนินการออกเอกสารสิทธิให้เป็นกรรมสิทธ์ิของ
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น และให้ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นน้ันนามาจัดให้เช่า และจัดเก็บค่าเช่าเป็น
รายได้บารุงทอ้ งถนิ่ ของตนเอง

(3.4) การจดั ให้เชา่ ควรให้เฉพาะผบู้ กุ รุกเดิม
(3.5) ควรพิจารณาจัดให้เชา่ ระยะยาวไดโ้ ดยไมต่ ้องถอนสภาพ
3) การผ่อนผันให้ผู้บุกรุกท่ีดินของรัฐได้อยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐเป็นการ
ชวั่ คราว
วธิ ีการนเ้ี ปน็ ผลสืบเนื่องจากการดาเนนิ การกบั ผูบ้ ุกรุกทด่ี ินของรฐั ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
มาตรา 9 และมาตรา 108 ที่ได้แก้ไขโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 (พ.ศ. 2515) รัฐไม่มีความประสงค์
จะเอาความผิดกับผู้บุกรุกที่ดินของรัฐที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 (พ.ศ. 2515)
ใช้บังคับ ทั้งยังมีมาตรการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้บกุ รุกทดี่ ินของรฐั ดงั กล่าวด้วย กล่าวคือผทู้ ี่บกุ รกุ ท่ดี ินของรัฐ
อยู่กอ่ นวันท่ีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 ใช้บงั คับประมวลกฎหมายท่ีดินมาตรา 108 ยังไมถ่ ือว่าผู้บุกรุก
มีความผิด แต่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติตามระเบียบของคณะกรรมการ
จัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515) ว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการแจ้งและออกคาสั่งแก่ผู้ฝ่าฝืนมาตรา 9

86 คู่มอื สนบั สนนุ การค้มุ ครองทด่ี นิ ของรฐั คู่มอื สนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 85

แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินอยู่ก่อนวันท่ีประกาศของคณะปฏิบัติ ฉบับท่ี 9 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2515
ใช้บังคับ โดยให้มาจัดการทาบันทึกไว้เป็นหลักฐานต่อทางราชการภายในเวลาที่กาหนดว่าได้ครอบครองและ
ทาประโยชน์ในท่ีดินเปน็ เน้ือท่เี ท่าใด ต้ังแต่เม่ือใดและจะออกไปจากทด่ี ินนั้นได้เม่อื ใด หรอื ใหม้ าทาความตกลง
เพ่ือเสียค่าตอบแทนตามอัตราและเวลาท่ีทางราชการกาหนดให้ หรือจะผ่อนผันให้อยู่อาศัย หรือใช้ประโยชน์
เปน็ การชว่ั คราวโดยเสยี ค่าตอบแทนหรอื ไมก่ ็ได้

4) การนาทด่ี นิ ของรฐั ไปจัดให้ผู้บุกรุกตามกฎหมายวา่ ด้วยการปฏริ ปู ท่ดี ิน
เป็นการดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 4 พฤษภาคม 2536 ตัวอย่างเช่น ในกรณี

ที่สาธารณประโยชน์ท่ีประชาชนได้เลิกใช้ประโยชน์ร่วมกันแล้ว และได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดเป็นเขตปฏิรูป
ท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งจะมีผลเป็นการถอนสภาพที่สาธารณประโยชน์แปลงดังกล่าวตามมาตรา 26 (1)
แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 หากราษฎรประสงค์จะดาเนินการปฏิรูป
ท่ีดิน และอยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะดาเนินการปฏิรูปที่ดินได้ก็สามารถดาเนินการปฏิรูปที่ดินได้ แต่กรณีดังกล่าว
จะต้องให้กระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาใหค้ วามเห็นก่อน

5) การจัดที่ดินตามนโยบายการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐเพ่ือแก้ไขปัญหา
ความยากจน โดยไมใ่ หก้ รรมสทิ ธ์ิ

เป็นการดาเนนิ การตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วนั ที่ 3 กมุ ภาพันธ์ 2547 ในเร่ืองการจัดท่ีดิน
ให้ประชาชนเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจนและการแปลงสินทรพั ย์เป็นทุน ซ่ึงกาหนดให้หน่วยงานท่ีดูแลท่ีดิน
7 ประเภท ได้แก่ (1) ที่สาธารณประโยชน์ (2) ที่ราชพัสดุประเภทใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
(3) ที่ป่าสงวนแห่งชาติ (4) ที่ป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี (5) ที่ดินในเขต ส.ป.ก. (6) ท่ีดินที่มอบให้นิคม
สร้างตนเอง แต่ยังไม่ได้ดาเนินการจัดสรร และ (7) ท่ีดินที่มอบให้จัดต้ังนิคมสหกรณ์ แต่ยังไม่ได้ดาเนินการจัดสรร
นาท่ีดินท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ และอยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะจัดให้แก่ประชาชนได้ ไปดาเนินการตามนโยบาย
การบริหารจัดการการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ของรฐั เพื่อแก้ไขปญั หาความยากจนแต่ไม่ใหก้ รรมสิทธิใ์ นทีด่ ิน

ในสว่ นของกระทรวงมหาดไทยได้มอบหมายให้กรมท่ีดนิ ดาเนินการตามนโยบายการแกไ้ ขปญั หา
ความยากจน โดยการจัดทาโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก
เพ่อื ขจัดความยากจนและพฒั นาชนบท หรือโครงการจดั ท่ีดินของรัฐขจดั ความยากจน กาหนดแนวทางในการ
ดาเนินการโดยให้อาเภอ/กง่ิ อาเภอ ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ คัดเลือกแปลงที่ดินสาธารณประโยชน์
ทปี่ ระชาชนเลกิ ใชป้ ระโยชน์รว่ มกนั และมผี ูบ้ ุกรกุ เต็มแปลง หรอื บางส่วน ซ่ึงผบู้ กุ รุกดงั กล่าวต้องเปน็ ผู้ยากจน
ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง หรือมีแต่น้อยไม่เพียงพอ และยอมรับการดาเนินการตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด
มาจัดทาโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก เพื่อขจัดความยากจน
และพัฒนาชนบท เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่ออนุมัติจัดทาโครงการและเสนอกรมท่ีดินให้ความเห็นชอบ
และจัดสรรงบประมาณในการดาเนินการ วิธีการจัดท่ีดินให้ตามสภาพเดิมที่ครอบครองอยู่ ครอบครัวละไม่เกิน
15 ไร่ ท้ังน้ี โดยคานึงถึงจานวนสมาชิกในครัวเรือน อาชีพ และความสามารถในการผลิต แล้วดาเนินการ
ออกหนังสอื อนุญาตให้ใชป้ ระโยชน์ในทีด่ นิ ของรัฐ และเสยี คา่ ตอบแทนในอตั ราที่ต่า ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา่ ดว้ ยการอนญุ าตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรฐั พ.ศ. 2547 ประกอบมาตรา 9 และมาตรา 9/1
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ซง่ึ ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายท่ีจะจัดที่ดนิ ทากินในลักษณะแปลงรวม แตไ่ มใ่ ห้กรรมสิทธ์ิ
โดยให้ราษฎรรวมกันเป็นกลุ่ม เช่น กลุ่มสหกรณ์ หรือรูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสม ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และคุณสมบัติที่คณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.) กาหนด กระทรวงมหาดไทยจึงได้ปรับแผน
การดาเนินการเพ่ือให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล โดยจัดทาโครงการจัดที่ดินทากินและท่ีอยู่อาศัย
ในท่ดี ินสาธารณประโยชน์ในรูปแบบแปลงรวมเท่านนั้

คูม่ ือสนับสนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั 86
คู่มอื สนับสนนุ การคุม้ ครองทดี่ นิ ของรัฐ 87

6. หลักการ เง่ือนไข และขั้นตอนการดาเนินการผ่อนผันให้ผู้บุกรุกที่ดินของรัฐได้อยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์
ในทด่ี ินของรฐั เปน็ การชั่วคราว

ผู้บุกรุกที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายท่ีดินมาตรา 9 อยู่ก่อนวันท่ีประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 96
(พ.ศ. 2515) ใช้บังคับ (ก่อนวันที่ 4 มีนาคม 2515) หากประสงค์จะขอเข้าอยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในที่ดิน
ของรัฐเป็นการช่ัวคราวต้องปฏิบัติตามระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2515)
ว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการแจ้ง และออกคาสั่งแก่ผู้ฝ่าฝืนมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินอยู่ก่อนวันท่ีประกาศ
ของคณะปฏบิ ตั ิ ฉบบั ท่ี 96 ลงวนั ท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2515 ใช้บงั คบั ดงั นี้

1) หลักการ (ระเบยี บฯ ข้อ 3 (1), (2) และ ข้อ 4)
(1) ที่ดินท่ีสงวนหรือหวงห้ามไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ของทางราชการ เม่ือทบวงการเมืองซ่ึงมีหน้าท่ี

ดูแลรักษา หรือใช้ประโยชน์ร้องขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งให้ผู้ฝ่าฝืนทราบเพ่ือปฏิบัติการอยา่ งหนึ่งอย่างใด
ดังตอ่ ไปนี้

ก. ใหม้ าจัดการทาบันทึกไว้เป็นหลักฐานต่อทางราชการภายในเวลาที่กาหนดว่าได้ครอบครอง
และทาประโยชนใ์ นทด่ี ินเป็นเนื้อทเี่ ทา่ ใด ตั้งแต่เมอื่ ใดและจะออกไปจากทดี่ ินนนั้ ได้เม่ือใด

ข. ใหม้ าทาความตกลง เพ่อื เสยี คา่ ตอบแทนตามอตั รา และเวลาท่ีทางราชการกาหนดให้
ค. เมื่อมคี วามจาเปน็ อาจส่ังให้ผฝู้ ่าฝืน และบริวารออกไปจากทดี่ ินหรอื รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไป
จากทีด่ ินดว้ ยกไ็ ด้
(2) ทดี่ ินอันเป็นสาธารณสมบตั ขิ องแผน่ ดินท่ีประชาชนใช้ประโยชนร์ ่วมกัน ให้มีคาสง่ั ให้ผู้ฝ่าฝืนออกไป
จากท่ีดิน เว้นแต่กรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็นพิเศษ และไม่เป็นการกระทาให้เส่ือมประโยชน์ในการที่ประชาชน
จะใช้ทด่ี นิ นนั้ จะผอ่ นผันใหอ้ ยู่อาศัยหรอื ใชป้ ระโยชน์เปน็ การชว่ั คราวโดยเสยี ค่าตอบแทนหรอื ไม่ก็ได้
(3) การขอเข้าอยู่อาศัยหรือขอใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรฐั เป็นการชั่วคราว ให้ดาเนินการตามหมวด 3
ว่าด้วยการขออยอู่ าศยั หรือขอใช้ประโยชน์ในท่ดี ินของรัฐเปน็ การชวั่ คราว
2) ข้นั ตอนการยื่นคาขอ (ระเบยี บฯ ข้อ 10)
การขอเขา้ อยู่อาศัยและใชป้ ระโยชนใ์ นที่ดนิ ของรฐั เปน็ การชว่ั คราวใหด้ าเนนิ การ ดงั นี้
(1) ให้ผู้ขอยื่นคาร้องตามแบบท่ีทางราชการกาหนดต่อนายอาเภอ หรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้า
ประจากิ่งอาเภอท้องที่ซ่ึงท่ีดินน้ันตั้งอยู่ และผู้ขอจะต้องเป็นผู้ได้เข้ายึดถือครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
อยู่ก่อนวนั ท่ปี ระกาศของคณะปฏิวัติ ฉบบั ท่ี 96 ลงวนั ท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2515 ใช้บังคบั
(2) เม่ือได้รับคาร้องแล้ว ให้นายอาเภอและปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอท้องที่
หรือข้าราชการท่ีได้รับมอบหมายออกไปตรวจสอบสภาพที่ดิน จานวนเนื้อท่ีที่ครอบครอง และการใช้ประโยชน์
ในทีด่ นิ น้นั
(3) ผู้ได้รับผ่อนผันให้อยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐจะต้องเสียค่าตอบแทนให้แก่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ตามข้อ 11 เว้นแต่กรณีขอยืดเวลาออกไปจากที่ดินตามข้อ 8 จึงไม่ต้องเสีย
คา่ ตอบแทน”
3) การดาเนินการของเจา้ หนา้ ที่
กระทรวงมหาดไทยได้มีคาส่ัง ที่ 761/2515 ลงวันท่ี 20 กันยายน 2515 วางระเบียบเก่ียวกบั การ
อนุญาตให้เข้าอยู่อาศัยหรือใชป้ ระโยชนใ์ นท่ดี นิ ของรัฐเปน็ การช่วั คราวไว้ ดงั นี้
ข้อ 1 การขออนุญาตใหผ้ ู้ขอยืน่ คาขอตามแบบ ท.ด. 77 ท้ายคาส่ังน้ี

88 ค่มู ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรัฐ คมู่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 87

ข้อ 2 เมื่อผู้ขอนาคาขอมาย่ืนให้นายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจาก่ิงอาเภอ
ตรวจดูรายการว่ามีครบถ้วนหรือไม่ ถ้าไม่มีการบกพร่องอย่างใดก็ให้ลงบัญชีรับทาการของอาเภอหรือ
ก่ิงอาเภอ

ข้อ 3 การตรวจสอบสภาพที่ดนิ ให้ใช้แบบ ท.ด.78 ทา้ ยคาส่งั น้ี
ขอ้ 4 การอนญุ าตให้ออกหนงั สืออนุญาตตามแบบ ท.ด.79 ท้ายคาส่ังนี้
4) พนกั งานเจา้ หนา้ ที่
พนกั งานเจ้าหน้าที่ในการดาเนินการตามมาตรา 108 แห่งประมวลกฎหมายทด่ี ิน กระทรวงมหาดไทย
มีคาส่ังท่ี 330/2539 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2539 แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 108 แห่งประมวล
กฎหมายทีด่ ิน คอื
(1) อธบิ ดกี รมท่ดี ินเป็นพนกั งานเจ้าหน้าทใ่ี นเขตกรุงเทพมหานคร
(2) ผูว้ ่าราชการจงั หวัดเปน็ พนกั งานเจ้าหนา้ ทใี่ นเขตทอ้ งทจ่ี งั หวัด
โดยให้ผู้ดารงตาแหน่งตาม (1) และ (2) มีอานาจหรือมอบอานาจให้พนักงานอื่นมีอานาจในการ
ดาเนินการในกรณีท่ีมีการบุกรุกเข้าไปครอบครองทาประโยชน์หรือกระทาโดยประการอื่นใดในท่ีดินของรัฐ
โดยไมไ่ ด้รับอนุญาตอันเป็นการฝ่าฝนื มาตรา 9 แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน
5) เง่อื นไขท่ีผู้ไดร้ ับการผ่อนผันต้องปฏบิ ัติ (ระเบียบฯ ขอ้ 12-13)
การท่ีประมวลกฎหมายที่ดินตามมาตรา 108 บัญญัติยินยอมให้บุกรุกท่ีดินของรัฐขอเข้าอยู่อาศัย
หรือใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ จึงเป็นการให้ความช่วยเหลือผู้บุกรุกในท่ีดินของรัฐ ซึ่งมีเหตุผลและความจาเป็น
เป็นพิเศษในเรื่องที่ดินทากิน ผู้ที่ได้รับอนุญาตจึงต้องปฏิบัติตามระเบียบท่ีคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ
ได้วางไว้ คอื
(1) ต้องชาระค่าตอบแทน ณ สานักงานอาเภอหรือก่ิงอาเภอ ต่อนายอาเภอหรือปลัดอาเภอ
ผู้เปน็ หัวหน้าประจากิง่ อาเภอท้องที่ ตามจานวนและเวลาที่องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดกาหนด
(2) ตอ้ งใชป้ ระโยชนใ์ นที่ดินน้นั ตามประเภทของกจิ การทรี่ ะบุด้วยตนเอง
(3) ตอ้ งประกอบกิจการตามเขตและเนื้อที่ทไี่ ด้รับผ่อนผัน และในการน้ีผู้ได้รับการผ่อนผนั ให้อยู่อาศัย
หรือใช้ประโยชน์ในท่ดี นิ ของรฐั ตอ้ งปักหลกั เขตใหป้ รากฏเป็นหลกั ฐานแนน่ อน
(4) ปฏิบัตติ ามเงอื่ นไขท่ีพนักงานเจา้ หน้าท่ีกาหนดให้ปฏิบัตเิ ป็นการเฉพาะราย
(5) ถ้าไม่ปฏิบัติตามข้อ (1) – (4) ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหนังสือแจ้งให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติ
ใหถ้ ูกต้อง และถ้าเหน็ วา่ ไม่ควรให้อยอู่ าศยั ต่อไป พนกั งานเจา้ หนา้ ทมี่ ีอานาจสง่ั ใหอ้ อกจากท่ีดนิ ได้
กล่าวโดยสรุป ผู้ที่บุกรุกท่ีดินของรัฐอยู่ก่อนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 96 (พ.ศ. 2515)
ใช้บังคับ สามารถย่ืนคาขอเข้าอยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในท่ีดินท่ีบุกรุกได้ ส่วนพนักงานเจ้าหน้าท่ีจะผ่อนผัน
หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับเหตุผลและความจาเป็น เช่น ผู้บุกรุกไม่มีที่ดินใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ ในกรณีน้ีจะต้อง
เสียค่าตอบแทนให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด และการผ่อนผันให้อยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์นั้นเป็นการ
ผอ่ นผันเพยี งช่ัวคราว ทางราชการอาจจะใหผ้ ู้ได้รับการผ่อนผันออกจากทด่ี ินเมื่อใดก็ได้

ค่มู ือสนบั สนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั 88
คมู่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองท่ดี ินของรัฐ 89

7. การดาเนินการจัดท่ีดนิ ตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ดี ินสาธารณประโยชน์ที่มกี ารบุกรุก
เพอื่ ขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท

ในปี พ.ศ. 2546 รัฐบาลมีนโยบายเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาของประเทศท่ีสาคัญ 3 ปัญหา ได้แก่
ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด และปัญหาคอร์รัปชัน โดยเฉพาะปัญหาความยากจน ซึ่งมีปัญหาท่ีดิน
ทากินเป็นปัญหาที่สาคัญประการหน่ึง สานักนายกรัฐมนตรีได้มีคาส่ังท่ี 228/2546 ลงวันท่ี 10 ตุลาคม
2546 แต่งต้ังคณะกรรมการอานวยการและกากับการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ท่ีดินของรัฐ เพื่อแก้ไข
ปัญหาความยากจน (กอ.ชดจ) โดยคณะกรรมการฯ ได้นาเสนอคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 24 มกราคม 2547
ให้ความเห็นชอบข้อเสนอในการนาท่ีดินของรัฐมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยนามาจัดให้ประชาชนเข้าอยู่อาศัย
ทากิน และจัดระเบียบการถือครองที่ดินของรัฐ ซ่ึงได้กาหนดวิธีดาเนินการโดยนาที่ดินของรัฐท่ีเป็นท่ีวา่ งมาจัดให้
ประชาชนอยู่อาศัยทากิน ส่วนท่ีดินของรัฐที่มีการบุกรุกให้นามาจัดระเบียบและออกหนังสืออนุญาตให้ทากิน
ในท่ีดินของรัฐ และได้มอบหมายให้หนว่ ยงานนาท่ีดินของรัฐท่ีอยู่ในความรับผิดชอบไปดาเนินการตามนโยบาย
ดังกล่าว ซึ่งเป็นการดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 3 กุมภาพันธ์ 2547 เรื่อง การบริหารจัดการ
การใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ของรฐั เพ่อื แก้ไขปญั หาความยากจน

ในส่วนของกรมที่ดินได้จัดทาแผนปฏิบัติการตามแนวนโยบายการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์
ในที่ดินของรัฐเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติเม่ือวันท่ี 10
มิถุนายน 2547 ซ่ึงเป็นการนาที่ดินสาธารณประโยชน์ท่ีหมดความจาเป็นใช้ประโยชน์ร่วมกัน ราษฎรได้เลิก
ใช้แล้ว และมีผู้ครอบครองทากินอยู่เป็นเวลานานแล้ว มาจัดระเบียบการถือครองที่ดินให้แก่ราษฎรที่ยากจน
ท่ีไมม่ ีทีด่ ินทากิน หรอื มนี ้อยไมเ่ พียงพอ ตามโครงการบริหารจดั การการใช้ประโยชนใ์ นที่ดินสาธารณประโยชน์
ท่ีมีการบุกรุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทของกรมท่ีดิน เรียกโดยย่อว่า “โครงการจัดท่ีดินของรัฐ
ขจัดความยากจน” เป็นการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชน
ใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 โดยกรมที่ดินได้วางแนวทางในการดาเนินการตามโครงการจัดท่ีดิน
ของรัฐ ขจดั ความยากจนไว้ สรปุ ไดด้ งั น1ี้ 4

ขนั้ ตอนการเตรียมการ
1) ชแ้ี จงทาความเข้าใจราษฎรทอี่ ยใู่ นพ้นื ที่
2) ปรับแนวคิดของเจา้ หน้าที่ทีด่ าเนินการ
3) ประสานหน่วยงานอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เชน่ ปลดั อาเภอ นายอาเภอ ผู้ว่าราชการจงั หวดั
ข้ันตอนการดาเนนิ การจัดท่ีดิน
1) การคดั เลือกแปลงที่ดนิ ทสี่ าธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก โดยคุณสมบตั ิของแปลงทดี่ ินท่ีจะนามาจัด
มีดังนี้

(1) ที่สาธารณประโยชน์ทีป่ ระชาชนใชป้ ระโยชนร์ ่วมกันทม่ี ีผู้บกุ รกุ เตม็ แปลง หรือบางสว่ น
(2) มหี นังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวง (น.ส.ล.) แลว้
(3) ในกรณีไม่มี น.ส.ล. หากสามารถดาเนินการออก น.ส.ล. ได้ ก็ให้นามาจัดทาโครงการได้โดย
จดั ใหม้ ีการออก น.ส.ล. ไปในคราวเดียวกนั
(4) ประชาชนต้องเลกิ ใชป้ ระโยชน์ร่วมกันในแปลงทด่ี ินที่จะนามาจดั ที่ดนิ แล้ว
(5) การบกุ รุกตอ้ งมกี ารทาประโยชน์ชัดเจนถาวรมาเปน็ เวลานาน (กอ่ นตุลาคม 2556)

14 กรมทด่ี นิ , โครงการจัดทดี่ นิ ของรฐั ขจัดความยากจน, (กรงุ เทพมหานคร: กรมทดี่ นิ , 2555), หน้า 13-17.

90 คมู่ ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองท่ดี นิ ของรฐั คูม่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 89

(6) ท่ีดินสาธารณประโยชน์ดังกล่าว จะต้องไม่อยู่ในพื้นท่ีที่มีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูป
ทด่ี นิ เพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือพื้นทีป่ ่าไม้

(7) กรณีที่ดินสาธารณประโยชน์ตั้งอยู่ในพื้นท่ีที่มีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปที่ดิน
เพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ต้องอยู่นอกเขตพนื้ ที่ดาเนินการของ ส.ป.ก. และต้องได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ด้วย
ทงั้ นี้ เขตปฏิรูปท่ีดินดงั กล่าวจะตอ้ งไมใ่ ชพ่ ้นื ทจี่ าแนกออกจากเขตปา่ ไมเ้ พื่อให้ ส.ป.ก. นามาดาเนนิ การ

(8) ผู้ครอบครอง (บุกรุก) จะต้องยอมรับว่า ท่ีดินท่ีครอบครองอยู่ในท่ีสาธารณประโยชน์ และยอมรับ
การดาเนินการตามโครงการจัดท่ีดินของรัฐ ขจัดความยากจนหากไม่ยอมรับก็ต้องกันออกแล้วไปสู่ขั้นตอน
การพสิ ูจน์สทิ ธิ

(8.1) กรณีมีผู้โต้แย้งสิทธิในท่ีดินให้กันที่ดินส่วนนั้นออกจากโครงการจัดที่ดินเพื่อดาเนินการ
พิสูจน์สิทธิตามแนวทางของ กบร. หากพิสูจน์สิทธิแล้วเป็นผู้บุกรุกจริงจะต้องมาขอรับการจัดท่ีดินตามหลักเกณฑ์
และแนวทางข้างต้น หากยังไม่ยอมรับจะต้องพจิ ารณาดาเนินการตามกฎหมาย

(8.2) กรณีท่ีมีผู้คัดค้านแนวเขตที่สาธารณประโยชน์ให้กันพ้ืนท่ีบริเวณน้ันออกจากโครงการ
จัดทด่ี นิ แลว้ ดาเนินการตามแนวทางของ กบร. กฎกระทรวง และระเบยี บ คาส่งั ทเี่ กีย่ วข้องต่อไป

(9)องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาเภอ และจังหวัดเห็นชอบให้นาท่ีดินสาธารณประโยชน์ดังกล่าว
มาดาเนินการตามโครงการจัดทด่ี ินของรัฐ ขจัดความยากจน

(10) อาเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดประชาคมประชุมช้ีแจงราษฎรในพ้ืนที่ดาเนินการ
เพอ่ื ให้ทราบถงึ นโยบายของรัฐบาล และแนวทางดาเนินการตามโครงการจัดทด่ี ินของรัฐ ขจดั ความยากจน

2) การวางผงั แปลงทดี่ ิน
(1) ให้จัดท่ีดินใหต้ ามสภาพเดมิ
(2) ครอบครัวละไม่เกิน 15 ไร่ โดยคานึงถึง จานวนสมาชิกในครัวเรือน อาชีพ ความสามารถ

ในการผลิต หากครอบครองเกิน 15 ไร่ ให้พิจารณาจัดให้ครอบครัว ที่ 2 หรือ ที่ 3 ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนด
ในการลงทะเบียนฯ

(3) ถ้าดาเนินการแล้วยังคงมที ี่ดินที่ครอบครองเกินอยู่อีกให้ส่งมอบคืน เพื่อนาไปจัดให้ราษฎรผยู้ ากจน
ท่ีลงทะเบียนไว้แล้ว และอยู่ในพ้ืนท่ีดังกล่าวเป็นลาดับแรก การรังวัดวางผังแปลงที่ดินหากสานักงานท่ีดินใด
มีชา่ งรังวัดไมเ่ พยี งพอใหด้ าเนินการขอให้ทางกรมทด่ี ินสง่ ช่างรังวัดจากส่วนกลางมาชว่ ยได้

3) การจดั ทาสาธารณปู โภค
(1) จดั ใหม้ ีพ้ืนท่เี พ่อื การสาธารณปู โภคตามความเหมาะสม เช่น ถนน แหล่งน้าหรืออื่น ๆ โดยในกรณีที่

จาเป็นจะต้องขยาย หรือจัดให้มีพ้ืนท่ีเพื่อการสาธารณูปโภคเพ่ิมข้ึนจะทาความตกลงกับราษฎรผู้ครอบครอง
เพื่อขอกนั พื้นทที่ คี่ รอบครองมาดาเนนิ การ

(2) ในการจัดทา ปรับปรุง หรือพัฒนาส่ิงสาธารณูปโภคตาม 3(1) จะพิจารณาดาเนินการตาม
ความจาเป็นและเหมาะสมแก่สภาพท้องถน่ิ

4) การคดั เลอื กบุคคล
(1) คุณสมบตั ขิ องผู้ไดร้ ับการคัดเลือก
(1.1) เป็นผู้ยากจน มีสัญชาติไทย บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว และได้ลงทะเบียน

แสดงความประสงค์ขอท่ีดนิ ทากินตามนโยบาย
(1.2) ไม่มีท่ีดนิ ทากินเป็นของตนเอง หรอื มแี ต่ไมเ่ พียงพอ การจะตรวจสอบวา่ บุคคลใดยากจน

จริงใหท้ าโดยวิธีการประชาคมให้เป็นท่ียอมรับกันเอง
(1.3) ครอบครองทาประโยชน์ในทสี่ าธารณประโยชนด์ ังกล่าวอยา่ งชัดเจนมาเป็นเวลานาน

คมู่ อื สนบั สนนุ การคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 90
คูม่ อื สนบั สนุนการค้มุ ครองทด่ี ินของรัฐ 91

(1.4) เป็นผู้มีภูมิลาเนาอยู่ในท้องท่ีที่จะดาเนินการ เว้นแต่ หากมีท่ีดินเหลือเพียงพอจะได้พิจารณา
จดั ใหบ้ คุ คลต่างท้องทตี่ ามลาดบั ความเหมาะสม

(2) ให้ อาเภอ/อ.ป.ท. ตรวจสอบคณุ สมบัติราษฎรผู้บกุ รุกวา่ เป็นผู้อยู่ในหลกั เกณฑ์โดยจัดทาประชาคม
เพอ่ื ตรวจสอบวา่ บุคคลดังกลา่ วยากจน และไมม่ ที ่ดี นิ ทากินหรอื มแี ต่ไม่เพยี งพอ

(3) หากปรากฏในภายหลังวา่ บุคคลท่ีไดร้ ับการจดั ทดี่ ินขาดคุณสมบตั ิ ใหอ้ าเภอเสนอผู้วา่ ราชการจงั หวัด
ยกเลิกการอนุญาต และนาไปจัดใหแ้ ก่ผู้ลงทะเบยี นท่ีอยใู่ นหลกั เกณฑ์ขา้ งตน้ ต่อไป

5) การจัดทาโครงการ
เม่ือคัดเลือกแปลงที่สาธารณประโยชน์ได้แล้ว ให้อาเภอ/ก่ิงอาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทา

โครงการจัดท่ีดินเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาอนุมัติส่งโครงการให้กรมที่ดินตรวจสอบเพ่ือ โอนเงิน
งบประมาณ

การอนญุ าต
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้มีอานาจในการอนุญาต แต่กระทรวงมหาดไทยมีคาสั่ง
ท่ี 106/2538 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2538 มอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ดาเนินการพิจารณา
อนุญาตให้ผู้ที่อยู่ในหลักเกณฑ์เข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่สาธารณประโยชน์โดยออกหนังสืออนุญาต
ตามแบบที่กาหนดในระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ
พ.ศ. 2547
แต่กรณีการขอใช้ท่ีดินของเอกชน หน่วยงานของรัฐ องค์การบริหารส่วนตาบลขอใช้ท่ีดินตามมาตรา 9
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน เป็นการขอใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ทั่วไปจะใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2547 และก่อนที่อนุญาตจะต้อง
เสนอให้กระทรวงมหาดไทย เห็นชอบก่อนแล้วจึงจะให้ผู้ว่าราชการจังหวัดออกใบอนุญาตได้ แต่ถ้าเป็นโครงการ
จัดที่ดินไม่ต้องเสนอกระทรวงมหาดไทยก่อน ถือว่ากระทรวงมหาดไทยอนุมัติในหลักการไว้แล้วเน่ืองจาก
คณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการจดั ท่ดี นิ แห่งชาตมิ มี ติเห็นชอบแลว้ จึงจะดาเนินโครงการจดั ที่ดินได้
ข้ันตอนการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ ตามโครงการจัดท่ีดินของรัฐขจัด
ความยากจน
1) คัดเลือกคุณสมบัติบุคคลตามหลักเกณฑ์ โดยผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติคนยากจน จากการจัดทา
ประชาคมแล้วให้อาเภอ/อปท. แสดงความประสงค์ พร้อมแผนงาน โครงการ แผนผัง การแบ่งแปลง และรายชื่อ
ของผ้ทู ่ีได้รับการคดั เลอื ก
2) สานักงานที่ดินจังหวัดสรุปเร่ืองราวความเป็นมา เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการประชุมคณะกรรมการ
พิจารณาเพ่ืออนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ และนัดหมายวันประชุมคณะกรรมการพิจารณา
เพ่อื อนญุ าตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ ภายใน 15 วัน นับแตว่ ันรับคาขอ
3) คณะกรรมการฯ พิจารณาตามหลักเกณฑ์การอนุญาต (หมวด 3) ข้อ 10 ทั้งนี้ จานวนเน้ือท่ีที่อนุญาต
ตอ้ งไม่เกินครอบครัวละ 15 ไร่ ถ้าเกินให้ปรับลดส่วนที่เกินให้ผู้ขอใช้ประโยชน์รายอื่นต่อไป โดยมีระยะเวลา
อนุญาตคราวละ 5 ปี
4) คณะกรรมการฯ มีมติอนญุ าต ให้ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดดาเนินการออกใบอนญุ าตภายใน 7 วนั นับแต่
วันท่มี มี ติ
5) กาหนดวันให้ผู้รับอนุญาตมารับใบอนุญาตลงชื่อรับทราบเงื่อนไขในการอนุญาตผู้รับอนุญาต
รับใบอนุญาต รบั เง่ือนไขใบอนุญาต และเสียคา่ ตอบแทนตามมาตรา 9 ทวิ

92 คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองทด่ี นิ ของรัฐ คมู่ ือสนบั สนุนการค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 91

การเสยี ค่าตอบแทน
ผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐจะต้องเสียค่าตอบแทนตามความในมาตรา 9/1
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ตามวิธีการและอัตราตามที่กาหนดไว้ในข้อบัญญัติจังหวัด แต่ต้องไม่เกินอัตรา
ตามบัญชีท้ายประมวลกฎหมายที่ดิน (ไร่ละไม่เกินหนึ่งพันบาทต่อปี) หากจะไม่เสียค่าตอบแทนเลยไม่ได้
เพราะเป็นข้อบัญญัติของท้องถิ่น และมีกฎหมายบัญญัติให้เก็บค่าตอบแทน ค่าตอบแทนท่ีเก็บได้ก็จะนาส่ง
เปน็ รายได้ขององคก์ ารบริหารสว่ นตาบล เพื่อนามาบารุงทอ้ งถิน่ ต่อไป
งบประมาณ
เม่ือจัดทาโครงการจัดท่ีดินเสร็จแล้วก็ให้ของบประมาณไปท่ีกรมที่ดนิ สาหรับใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการรงั วัด
ตรวจสอบหนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวง..คา่ ใชจ้ า่ ยในการรังวัดวางผงั แปลงท่ีดนิ และการจดั ทาสาธารณูปโภค
การปรับปรุงโครงการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ
(คทช.) กาหนด
สืบเน่ืองจาก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เม่ือวันท่ี 12 กันยายน 2547 นโยบาย ข้อ 9 การรักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุล
ระหวา่ งการอนรุ ักษก์ ับการใช้ประโยชนอ์ ย่างยั่งยืน ขอ้ 9.3 “...เร่งรัดการจัดสรรที่ดินใหแ้ ก่ผู้ยากไรโ้ ดยไม่ต้อง
เป็นกรรมสิทธิ์แต่รับรองสิทธิรว่ มในการจัดการท่ีดินของชุมชน...” รฐั บาลจึงได้ดาเนินการตามนโยบายดังกล่าว
โดยจัดให้มีคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ (คทช.) เพื่อจัดทานโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดิน
และทรัพยากรดินของประเทศ รวมถึงการกาหนดแนวทางหรือมาตรการเพื่อให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ปฏิบัติตามนโยบายและแผนการบริหารจัดการท่ีดิน และทรัพยากรดินอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
โดยกระทรวงมหาดไทยได้มอบหมายให้กรมที่ดินพิจารณาปรับแผนดาเนินการตามโครงการบริหารจัดการ
การใช้ประโยชนใ์ นที่ดินสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบกุ รุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทของกรมท่ีดิน
หรือโครงการจัดที่ดินของรัฐ ขจัดความยากจน เป็นการดาเนินการตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์
ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก เพ่ือขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย
รัฐบาลในเรื่องจัดที่ดินทากินให้ชุมชนในลักษณะแปลงรวม โดยมิให้กรรมสิทธ์ิ แต่อนุญาตให้เข้าทาประโยชน์
ในทดี่ นิ ของรฐั เปน็ กลมุ่ หรือชุมชน ตามหลักเกณฑแ์ ละเง่ือนไขทค่ี ณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แหง่ ชาติ (คทช.) กาหนด
ในรูปแบบสหกรณ์ หรือรูปแบบอื่นท่ีเหมาะสม โดยได้ปรับปรุงรูปแบบการดาเนินการจากการอนุญาตให้บุคคล
ใช้ประโยชน์ในที่ดินรายบุคคล เป็นการอนุญาตในรูปแบบแปลงรวมตามนโยบาย คทช. ดังกล่าว และได้กาหนด
คณุ สมบัติบคุ คลทจ่ี ะได้รบั การคัดเลือก ดังนี้
1) บุคคลสญั ชาติไทย
2) เปน็ ผยู้ ากไร้ไม่มีทท่ี ากิน และ/หรือที่อยู่อาศัย หรอื มรี ายได้ต่อปีไม่เกนิ 30,000 บาท/คน
3) บรรลนุ ติ ิภาวะแลว้ หรอื เป็นหัวหนา้ ครอบครัว
4) มถี ่นิ ทอ่ี ยู่ในทอ้ งทีท่ ี่จะจดั ท่ีดินหรอื ใกล้เคียง
5) มคี วามสามารถทาประโยชน์ในทดี่ ินได้
6) ไม่เป็นคนวิกลจรติ หรือจติ ฟนั่ เฟือนไม่สมประกอบ
7) ยินยอมปฏบิ ัตติ ามระเบียบ ข้อบงั คบั ขอ้ กาหนด และเงอ่ื นไขที่กาหนด
8) ปจั จบุ นั ยงั ไม่ไดร้ บั การช่วยเหลอื ในการจัดท่ีดินจากทางราชการ
9) กรณีท่ีคณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณาถึงความจาเป็น เพ่ือประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ
สังคม และความสงบเรียบร้อย โดยคานึงถึงลักษณะพ้ืนที่สภาพการใช้ประโยชน์ ทาประโยชน์ คณะอนุกรรมการ
นโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จงั หวดั ) จะผอ่ นผันการปฏบิ ัตติ ามหลักเกณฑ์เปน็ การเฉพาะรายก็ได้

คมู่ ือสนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 92
คู่มือสนบั สนนุ การค้มุ ครองทด่ี นิ ของรฐั 93

การดาเนินการดังกล่าวยังคงถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการอนุญาตให้ประชาชน
ใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 โดยให้จังหวัดปรับแผนการดาเนินการตามโครงการบริหารจัดการ
การใช้ประโยชนใ์ นท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท ให้สอดคลอ้ ง
กับนโยบายของรัฐบาล ในเรื่องการจัดที่ดินทากินให้ชุมชนในลักษณะแปลงรวม และมติของคณะกรรมการ
นโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) สาหรับโครงการท่ีจังหวัดส่งให้กรมท่ีดินภายหลังวันท่ี 19 มีนาคม 2558..
ตามนัยหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0511.4/ว 3351 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2558
เรื่อง การปรับแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ กรณี มีการบุกรุกที่ดินสาธารณประโยชน์ เพ่ือแก้ไข
ปัญหาความยากจน และตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ท่ี มท 0511.4/ว 6014 ลงวันที่ 9
ตุลาคม 2558 เร่ือง การจัดทาโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก
เพ่ือขจดั ความยากจนและพัฒนาชนบท ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559
8. ปญั หาขอ้ หารือและแนวทางการแก้ไขปัญหา

8.1 หารือการดาเนินการจัดที่ดินตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
สาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท กรณีที่สาธารณประโยชน์
อยใู่ นเขตปฏิรูปทด่ี นิ

1) ขอ้ เท็จจริง
สืบเน่ืองจากกระทรวงมหาดไทยมีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0511.4/ว 5905 ลงวันที่ 12

ตลุ าคม 2561 แจ้งเวียนให้จังหวัดคัดเลอื กแปลงที่ดินสาธารณประโยชน์ทีป่ ระชาชนเลิกใช้ประโยชน์ร่วมกัน
มาดาเนินการจัดทาโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก เพ่ือขจัด
ความยากจนและพฒั นาชนบท ในทดี่ ินสาธารณประโยชน์ แปลง “โคกพลวงสาธารณประโยชน์” หมทู่ ี่ 2,8,9
ตาบลโคกย่าง และหมู่ท่ี 1,3,6 ตาบลประทัดบุ อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
เลขท่ี 9274 เนื้อท่ีประมาณ 2,735-1-26 ไร่ มีผู้บุกรุกประมาณ 300 ราย ราษฎรได้เข้าไปครอบครอง
ทาประโยชน์อย่างชัดเจนมานาน อีกทั้งทางราชการไม่มีความจาเป็นจะหวงห้ามไว้ใช้ประโยชน์ร่วมกันอีกต่อไป
และจากการตรวจสอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรากฏว่าท่ีดินสาธารณประโยชน์แปลงดังกล่าวไม่อยู่ในเขตป่าไม้
แต่อย่างใด แต่อยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปที่ดิน (อาเภอประโคนชัย) ปี พ.ศ. 2534
แต่ตั้งอยู่นอกเขตดาเนินการปฏิรูปท่ีดิน ซึ่งหลักเกณฑ์ในการนาที่สาธารณประโยชน์ดังกล่าวมาดาเนินการ
กาหนดให้ท่ีดนิ สาธารณประโยชน์แปลงน้ัน ๆ จะต้องไม่อยู่ในพน้ื ที่ทม่ี ีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรปู ที่ดิน
เพือ่ เกษตรกรรมหรอื พ้ืนทป่ี ่า ทาให้เกดิ ผลกระทบต่อการดาเนินการตามโครงการฯ ได้

2) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนังสอื เวียน
2.1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในทด่ี ินของรัฐ

พ.ศ. 2547
2.2) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0511.3/ว 349 ลงวันท่ี 1

กุมภาพันธ์ 2548 เร่ือง ซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้
ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรฐั พ.ศ. 2547

94 คูม่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองท่ีดินของรัฐ คู่มือสนับสนนุ การคุม้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 93

2.3) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0511.4/ว 719 ลงวันท่ี 10 มีนาคม
2548 เร่ือง การจัดท่ีดินสาธารณประโยชน์ตามนโยบายแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ
เพ่ือแกไ้ ขปญั หาทดี่ นิ ทากิน

3) ความเหน็ กรมทดี่ ิน
เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหา กรมท่ีดินจึงได้หารือทางปฏิบัติต่อสานักงานการปฏิรูปท่ีดิน

เพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ได้รับแจ้งว่า ในท้องท่ีอาเภอท่ีมีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปที่ดินครอบคลุม
ทง้ั อาเภอ หากมีที่ดินสาธารณประโยชน์ท่ียงั ไม่มีการเลกิ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน และ ส.ป.ก. ยังไม่มีการนามาดาเนินการ
ก็ยังเป็นท่ีดินท่ีอยู่ในอานาจหน้าท่ีและการดูแลของหน่วยงานที่มีอานาจโดยตรง ส.ป.ก. จึงไม่ขัดข้องในการท่ี
กรมทีด่ นิ จะดาเนินการ ดังนั้น เพื่อให้การดาเนินการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารฯ สัมฤทธผ์ิ ลและเปน็ ไปตามเป้าหมาย
ท่ีกาหนด ให้จังหวัดสารวจแปลงท่ีดินสาธารณประโยชน์ซ่ึงต้ังอยู่ในท้องท่ีที่มีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขต
ปฏิรูปท่ีดิน แต่อยู่นอกเขตพ้ืนที่ดาเนินการเป็นการเพ่ิมเติม (ทั้งนี้ เขตปฏิรูปท่ีดินดังกล่าวจะต้องมิใช่พ้ืนที่
จาแนกออกจากเขตป่าไม้ เพื่อให้ ส.ป.ก. นามาดาเนินการ) หากที่ดินสาธารณประโยชน์แปลงใดมีความเหมาะสม
ท่ีจะนามาดาเนนิ การให้รายงานการสารวจพร้อมกับจัดทาประมาณการต่าง ๆ ส่งใหก้ รมทด่ี ินตอ่ ไป

8.2 หารอื การต่ออายุหนังสอื อนญุ าตให้ประชาชนใชป้ ระโยชน์ในที่ดนิ ของรฐั
1) ขอ้ เท็จจรงิ
จังหวัดลพบุรีหารือการต่ออายุหนังสืออนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ

ที่ดินสาธารณประโยชน์ แปลง “ทุ่งเลี้ยงสัตว์โคกมะขามป้อม” ตามหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
เลขท่ี ลบ 0006 ตาบลม่วงค่อม อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เก่ียวกับระยะเวลาอนุญาตและการต่ออายุ
หนังสืออนุญาตฯ ว่าเนื่องจากระยะเวลาการอนุญาตท่ีสาธารณประโยชน์ แปลง “ทุ่งเล้ียงสัตว์โคกมะขามป้อม”
สิ้นสุด เม่ือวันท่ี 31 ธันวาคม 2553 และจะต่ออายุหนังสืออนุญาตฯ เป็นต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม 2554
ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2558 ซ่ึงปัจจุบันเลยระยะเวลาแล้วจะสามารถให้ต่ออายุหนังสืออนุญาตในช่วงเวลา
ดังกล่าวเป็นการย้อนหลังได้หรือไม่ และจะเป็นการชอบด้วยระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาต
ให้ประชาชนใชป้ ระโยชนใ์ นที่ดนิ ของรฐั พ.ศ. 2547 หรอื ไม่

2) ขอ้ กฎหมาย/ระเบยี บ/หนงั สือเวยี น
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ

พ.ศ. 2547
3) ความเห็นกรมทด่ี ิน
กรมท่ีดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ในการพิจารณาต่ออายุหนังสืออนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์

ในที่ดินของรัฐจะต้องต่อเนื่องจากหนังสืออนุญาตฉบับเดิม เพื่อให้สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐเป็นไป
อย่างต่อเนอื่ ง ส่วนกรณีเหตแุ ห่งความล่าชา้ ในการดาเนินการน้ัน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ
อนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2547 ข้อ 6 (1) และข้อ 13 ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
คณะกรรมการพิจารณาเพ่ืออนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ หากคณะกรรมการฯ พิจารณา
แล้วเห็นว่า มีเหตุอันสมควรก็สามารถพิจารณาอนุญาตให้ต่ออายุหนังสืออนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์
ในที่ดินของรฐั ยอ้ นหลังได้

ค่มู ือสนับสนนุ การคุ้มครองท่ีดินของรฐั 94
คูม่ อื สนบั สนุนการคุ้มครองท่ดี นิ ของรฐั 95

8.3 หารือหลักเกณฑ์การคดั เลือกบคุ คลเพือ่ อนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีสาธารณประโยชน์
แปลง “ทที่ าเลเล้ยี งสตั ว์โคกอีเต้ีย” จังหวัดบุรีรัมย์

1) ขอ้ เทจ็ จริง
จังหวัดบุรีรัมย์หารือหลักเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลเพื่ออนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ี

สาธารณประโยชน์ แปลง “ท่ที าเลเลย้ี งสตั ว์โคกอเี ต้ีย” ตาบลนคิ ม อาเภอสตกึ จงั หวัดบุรรี มั ย์ รวม 2 ประเดน็ ดังนี้
1.1) ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0511.4/ว 3264 ลงวันที่ 30

กนั ยายน 2547 กาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาท่ีดินสาธารณประโยชน์ที่จะนามาดาเนินโครงการจะต้อง
เป็นที่สาธารณประโยชน์ที่มีผู้บุกรุกเต็มท้ังแปลงหรือบางส่วน (ซ่ึงเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐก่อนวันที่ 1
ตุลาคม 2546 เท่านั้น ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2547) หมายถึง การพิจารณาคัดเลือก
คุณสมบัติของแปลงที่สาธารณประโยชนท์ ่ีจะนามาจัดทาโครงการฯ วา่ จะตอ้ งมีผู้บุกรกุ มาก่อนวันท่ี 1 ตุลาคม
2546 มิใช่กาหนดคุณสมบัติผู้ได้รับอนุญาตว่าจะต้องเป็นผู้บุกรุกมาก่อนวันท่ี 1 ตุลาคม 2546 ดังนั้น บุคคล
ทีจ่ ะได้รบั การจดั ทด่ี ินไม่จาเป็นต้องเป็นผู้บุกรุกรายแรกหรือต้องบุกรุกครอบครองอยกู่ ่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2546

1.2) การจัดท่ีดินทากินให้กับประชาชนตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาต
ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. 2547 ปัจจุบันได้ปรับแผนการดาเนินงานตามแนวทางของรฐั บาล
ภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดนิ แห่งชาติ (คทช.) ซึ่งมีการกาหนดหลักเกณฑ์คุณสมบัติของผู้ท่ีจะได้รับการ
จดั ทด่ี ินใหม่โดยมิได้กาหนดเง่ือนเวลาในการครอบครองท่ีดินว่าจะต้องครอบครองมาก่อนวันท่ี 1 ตุลาคม 2546
อีกท้ังยังให้จังหวัดสามารถพิจารณาผ่อนผันการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เป็นการเฉพาะราย หากได้พิจารณา
ถึงความจาเป็นและประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบร้อย ดังนั้น จังหวัดจะสามารถนา
หลักเกณฑ์ดังกล่าวมาพิจารณาให้แก่ผู้ท่ีเข้าร่วมโครงการในการจัดที่ดินเป็นรายปัจเจกตามหลักเกณฑ์เดิม
ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร

2) ข้อกฎหมาย/ระเบียบ/หนังสือเวยี น
2.1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในทดี่ ินของรัฐ

พ.ศ. 2547
2.2) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0511.4/ว 3264 ลงวันท่ี 30 กันยายน

2547 เร่ือง การจัดที่ดินสาธารณประโยชน์ตามนโยบายแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ
เพื่อแก้ไขปัญหาทด่ี นิ ทากนิ

2.3) หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ท่ี มท 0511.4/ว 207 ลงวนั ท่ี 23 มกราคม
2552 เรื่อง ซักซ้อมความเขา้ ใจเก่ียวกับแนวทางการดาเนินงานตามโครงการบรหิ ารจัดการการใช้ประโยชน์
ในท่ีดนิ สาธารณประโยชนท์ ม่ี ีการบกุ รกุ เพื่อขจัดความยากจนและพฒั นาชนบท

2.4) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0511.4/ว 3351 ลงวันท่ี 16 มิถุนายน
2558 เรื่อง การปรับแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ กรณีมีการบุกรุกที่ดินสาธารณประโยชน์เพ่ือแก้ไข
ปัญหาความยากจน


Click to View FlipBook Version