The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดินของรัฐตามภารกิจของกรมที่ดิน (ปี 2562)

สำนักจัดการที่ดินของรัฐ (KM ปี 2562)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

146 คู่มือสนับสนุนการคุม้ ครองทด่ี ินของรฐั คมู่ อื สนบั สนุนการคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 143

ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๓๕ การแก้ไขปัญหากรณีนี้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 4 พฤษภาคม
2536

(2) ที่สาธารณประโยชน์ท่ีมีผู้บุกรุกครอบครองทาประโยชน์ แต่มิได้กาหนดเป็นเขตปฏิรูปท่ีดิน
สามารถดาเนินการถอนสภาพที่ดินแล้วนาไปจัดหาประโยชน์ตามประมวลกฎหมายท่ีดินโดยการให้เช่าได้
ตามนัยมาตรา 8 มาตรา 10 และมาตรา 11 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยถือปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการถอนสภาพ การจัดข้ึนทะเบียน และการจัดหาผลประโยชน์
ในที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๕๐ การแก้ไขปัญหากรณีนี้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี
เมือ่ วันท่ี 4 พฤษภาคม 2536

(3) ให้ใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์เป็นการชั่วคราวตามระเบียบคณะกรรมการ
จัดท่ีดินแห่งชาติ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ซึ่งเป็นการผ่อนผันให้อยู่อาศัยทากินเป็นการชั่วคราวโดยเสีย
ค่าตอบแทนระยะเวลาสั้น ๆ โดยจะต้องมีเหตุผลและความจาเป็นพิเศษและไม่เป็นการกระทาให้เส่ือมเสีย
ประโยชน์ในการที่ประชาชนจะใช้ที่ดินน้ัน ท่ีสาคัญต้องอยู่มาก่อนวันท่ีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๙๖
ลงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๕ ใช้บังคับ การแก้ไขปัญหากรณีนี้เป็นไป ตามนัยมาตรา 108
แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดิน

(4) การจัดทาโครงการจัดที่ดินของรัฐ ขจัดความยากจน ซึ่งเป็นการจัดระเบียบการถือครอง
ท่ีดินในท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีราษฎรเลิกใช้แล้ว โดยดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการอนุญาตให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๗ ซ่ึงปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบาย
ท่ีจะจัดที่ดินทากินในลักษณะแปลงรวมแต่ไม่ให้กรรมสิทธิ์ โดยให้ราษฎรรวมกันเป็นกลุ่ม เช่น กลุ่มสหกรณ์
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและคุณสมบตั ิที่คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) กาหนด การแก้ไขปัญหา
กรณีน้ีเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2547 เรื่อง การบริหารจัดการการใช้ประโยชน์
ที่ดินของรัฐเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน และนโยบายของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ซึง่ ได้แถลงนโยบายต่อสภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาติ เมอ่ื วันที่ 12 กนั ยายน 2547

(5) ขอสนับสนุนความช่วยเหลือการแก้ไขปัญหาเรื่องท่ีอยู่อาศัยและทากินตามนโยบายแห่งรัฐ
ซ่ึงอาจดาเนินการในรูปแบบอื่น เช่น การดาเนินการในรูปแบบของสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน (องค์การ
มหาชน) หรือการดาเนินการของสถาบนั พัฒนาองคก์ รชมุ ชน (องค์การมหาชน) เปน็ ตน้
3. ปัญหาข้อหารอื และแนวทางการแก้ไขปัญหา

๓.1 ปัญหาแนวเขตท่ีสาธารณประโยชน์ แปลง “ทุ่งเล้ียงสัตว์ทุ่งเคล็ด” จังหวัดเพชรบุรี
ทบั ท่ีสงวนหวงห้ามของกรมราชทณั ฑ์

๑) ข้อเท็จจรงิ
กรมราชทัณฑ์หารือขอให้เพิกถอน น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๓๒๖๐ ตาบลวัดจันทร์ (วังไคร้)

อาเภอแก่งกระจาน (ท่ายาง) จังหวัดเพชรบุรี ของราษฎรซ่ึงออกทับที่ดินราชพัสดุของกรมราชทัณฑ์
(ทัณฑสถานเปิดเขากล้ิง) ตาบลวังจันทร์ อาเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แต่สานักมาตรฐานการออก
หนังสือสาคัญพิจารณาแล้วเห็นว่า ที่ราชพัสดุแปลงทัณฑสถานเปิดเขากลิ้งต้ังอยู่ในเขตที่สาธารณประโยชน์
“ทุ่งเล้ียงสัตว์ทุ่งเสม็ด” ท่ีได้ดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแล้ว และยังมีเน้ือท่ีสาธารณประโยชน์
บางส่วนอยู่นอกเขตหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงอีก จึงมีปัญหาว่าพื้นที่ท้ังหมดของท่ีสาธารณประโยชน์

คมู่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองที่ดินของรฐั 144
คูม่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองทดี่ นิ ของรฐั 147

“ทุ่งเล้ียงสัตว์ทุ่งเคล็ด” มีอาณาเขตครอบคลุมแค่ไหน เพียงใด สถานะที่ดินสงวนหวงห้ามของกรมราชทัณฑ์
และการออก น.ส.๓ ก. เลขที่ ๓๒๖๐ ดงั กล่าว ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนงั สือเวยี น
(๑) ประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา ๘ วรรคสอง (๑), มาตรา ๘ ตรี
(๒) ระเบยี บกรมทดี่ นิ วา่ ด้วยการออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ทห่ี ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ้ ๓ และข้อ ๔
(๓) คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๔๒๘/๒๕๑๑ ท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดินแม้จะหมดสภาพ

ตราบใดทย่ี ังไม่มพี ระราชกฤษฎีกาถอนสภาพยังคงเปน็ สาธารณสมบัติของแผ่นดนิ
๓) ความเหน็ กรมที่ดิน
เมื่อทางราชการได้สงวนหวงห้ามท่ีสาธารณประโยชน์ “ทุ่งเลี้ยงสัตว์ทุ่งเคล็ด” ไว้ตั้งแต่

พ.ศ. ๒๔๗๔ เนื้อที่ประมาณ ๑,๑๒๕ ไร่ แต่ได้มีการประกาศสงวนหวงห้ามเพื่อใช้ประโยชน์ในราชการ
ของกรมราชทัณฑ์ ๖๐๐ ไร่ โดยสงวนหวงห้ามทับซ้อนในท่ีสาธารณประโยชน์ “ทุ่งเล้ียงสัตว์ทุ่งเคล็ด”
และกรมราชทัณฑ์ได้เข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินแล้ว โดยใช้เป็นที่ต้ังทัณฑสถานเปิดเขากล้ิง ต่อมาเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๓๕ ทางราชการได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เลขที่ พบ ๐๐๓๙ แปลง “ทุ่งเลี้ยงสัตว์ทุ่งเคล็ด”
เน้ือท่ี ๒,๑๔๙ – ๐ – ๒๐ ไร่ โดยรวมที่ดินที่เป็นที่ตั้งของทัณฑสานเปิดเขากล้ิงด้วย แต่เม่ือราษฎรขอรังวัด
ตรวจสอบ น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๓๒๖๐ และกรมราชทัณฑ์คัดค้านจนกระท่ังมีการสารวจตรวจสอบ ความจึงปรากฏว่า
ท่ีดินท่ีกรมราชทัณฑ์ใช้เป็นท่ีตั้งทัณฑสถานเปิดเขากล้ิงอยู่ในเขตหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เลขที่ พบ ๐๐๓๙
ประมาณ ๕๑๖ – ๐ –๙๓ ไร่ และอยู่นอกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงดังกล่าวประมาณ ๗๕ – ๐ – ๕๙ ไร่
การใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์ “ทุ่งเล้ียงสัตว์ทุ่งเคล็ด” ของกรมราชทัณฑ์
เป็นกรณีท่ีมีการสงวนหวงห้ามเป็นที่สาธารณประโยชน์ก่อนท่ีจะมีการสงวนหวงห้าม เพื่อให้กรมราชทัณฑ์
ใช้ประโยชน์ในราชการที่ดินบริเวณดังกล่าว จึงยังเป็นท่ีดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมือง
ใช้ประโยชนร์ ว่ มกนั ซ่งึ จะต้องดาเนินการถอนสภาพตามมาตรา ๘ วรรคสอง (๑) แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน

สาหรับกรณีท่ีดินสาธารณประโยชน์ “ทุ่งเลี้ยงสัตว์ทุ่งเคล็ด” ส่วนที่ยังไม่ได้ออกหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวงประมาณ ๗๕ – ๐ – ๕๔ ไร่ น้ัน หากข้อเท็จจริงปรากฏว่า กรมราชทัณฑ์เข้าใช้ประโยชน์แล้ว
ก็เห็นควรถอนสภาพไปในคราวเดียวกัน โดยไม่จาเป็นต้องออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงประเภทพลเมือง
ใช้ประโยชน์ร่วมกันอีก กรณี น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๓๒๖๐ ตาบลวัดจันทร์ (วังไคร้) อาเภอแกง่ กระจาน จังหวดั เพชรบุรี
ออกโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากบางส่วนออกทับที่ดินของกรมราชทัณฑ์ (ทัณฑสถานเปิดเขากลิ้ง)
จะตอ้ งดาเนนิ การแก้ไข น.ส. ๓ ก. ดังกลา่ วตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน

(หนังสือกรมทีด่ นิ ที่ มท ๐๕๑๑.๔/๒๕๗๙๖ ลงวนั ท่ี ๗ กนั ยายน ๒๕๔๙)

148 คู่มอื สนับสนนุ การคุม้ ครองทด่ี ินของรฐั คูม่ อื สนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 145

๓.2 ปัญหาการขอรังวัดตรวจสอบที่ดินสาธารณประโยชน์ประเภทประชาชนใช้ร่วมกันเป็น
อานาจหน้าที่ของหน่วยงานใดเน่ืองจากไม่มีกฎหมายหรือระเบียบกาหนดให้หน่วยงานใดมีอานาจหน้าที่
ในการขอรังวดั ตรวจสอบ

๑) ขอ้ เทจ็ จรงิ
จังหวัดอานาจเจริญหารอื แนวทางปฏิบัติกรณี การขอรังวัดตรวจสอบทีด่ นิ สาธารณประโยชน์

ประเภทประชาชนใช้ร่วมกันว่าเป็นอานาจหน้าที่ของหน่วยงานใด เนื่องจากไม่มีกฎหมายหรือระเบียบ
กาหนดให้หน่วยงานใดมีอานาจหน้าท่ีในการขอรังวัดตรวจสอบ แต่โดยที่อานาจหน้าที่ในการดูแลรักษาที่ดิน
สาธารณประโยชน์สาหรับประชาชนใช้ร่วมกันเป็นอานาจหน้าท่ีของนายอาเภอ จังหวัดมีความเห็นว่า ในการ
ขอรังวัดตรวจสอบท่ีสาธารณประโยชน์ ควรเป็นอานาจของนายอาเภอ ตามนัยพระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ ประกอบพระราชบัญญตั ิกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ
ให้แกอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงหารือวา่ ความเหน็ ของจงั หวดั ดังกลา่ วถูกต้องหรือไม่ อย่างไร

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนังสอื เวียน
(๑) พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ แก้ไขมาตรา ๑๒๒

แห่งพระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช ๒๔๕๗“มาตรา ๑๒๒ นายอาเภอมีหน้าทรี่ ่วมกับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณ สมบัติ
ของแผ่นดินท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันและส่ิงซึ่งเป็นสาธารณประโยชน์อื่นอันอยู่ในเขตอาเภอ นายอาเภอ
และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่มีอานาจใช้หรือยินยอมให้บุคคลอ่ืนใช้ที่ดินตามวรรคหนึ่ง เว้นแต่จะได้รับ
ความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดและปฏิบัติตามประมวลกฎหมายที่ดินและกฎหมายอ่ืนที่เกี่ยวข้อง
ในกรณีที่มีข้อพิพาทหรือคดีเกี่ยวกับท่ีดินตามวรรคหน่ึง นายอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะร่วมกัน
ดาเนินการหรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงจะเป็นผู้ดาเนินการก็ให้มีอานาจกระทาได้ ทั้งนี้ กระทรวงมหาดไทยจะวาง
ระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์เป็นแนวปฏิบัติด้วยก็ได้ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามวรรคหน่ึงและวรรคสาม
ให้จา่ ยจากงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด”

(๒) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็น
สาธารณสมบัตขิ องแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๔๔

(ปัจจุบันระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดถ้ ูกยกเลิกโดยระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแล
รักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณ สมบัติของแผ่นดิน สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
พ.ศ. ๒๕๕๓)

๓) ความเห็นกรมทดี่ ิน
การตรวจสอบที่สาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่เก่ียวกับการดูแลรักษาและคุ้มครอง

ป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ซึ่งมาตรา ๑๒๒ แห่งพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่
(ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา) บัญญัติให้นายอาเภอร่วมกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน อันเป็นอานาจ
ในการจัดการดูแลรักษาร่วมกัน ถึงแม้พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗
มาตรา ๖๗ (๘) จะกาหนดให้องค์การบริหารส่วนตาบลมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดิน
อนั เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ในลักษณะเดียวกัน ก็ยังคงถูกกาหนดให้มีการใช้อานาจในการจัดการดูแล
รักษาร่วมกัน ซึ่งกระทรวงมหาดไทยก็ได้ วางระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครอง
ป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๔ ให้อาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

คู่มือสนบั สนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 146
คมู่ ือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองทีด่ ินของรัฐ 149

มีอานาจดูแลร่วมกันตามข้อ ๕ (๒) ไว้แล้ว ดังนั้น ประเด็นตามข้อหารือของจังหวัดอานาจเจริญจึงแยก
พิจารณาได้เป็น ๒ กรณี ดังนี้

(๑) การรงั วัดตรวจสอบทีด่ ินสาธารณประโยชน์ทมี่ หี นังสือสาคญั สาหรับที่หลวงแล้วเน่ืองจาก
ผลข องการรังวัด อาจก ระท บ กระเทื อ น ต่ อส ถาน ะขอ งรูป แผน ท่ี ข อบ เขต แล ะจาน วน เน้ื อ ท่ี
ตามหลักฐานหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงท่ีได้ออกไปแล้วตามท่ีนายอาเภอซึ่งได้รับมอบหมายจาก
กระทรวงมหาดไทยได้เป็นผู้นาทาการรังวดั ไว้ ดังนั้น แมว้ ่ากระทรวงมหาดไทยจะมิไดม้ อบหมายให้นายอาเภอ
เป็นผู้ยื่นคาขอรังวัดตรวจสอบหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้โดยชัดแจ้งดังเช่น การมอบหมายให้ย่ืนคาขอ
รังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง นายอาเภอก็สามารถย่ืนคาขอรังวัดตรวจสอบหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่ี ห ล วงได้ ทั้ งน้ี โด ย อาศั ย อาน าจห น้ าท่ี ใน ก าร ดู แล รัก ษ าแล ะด าเนิ น การคุ้ ม ค รอ งป้ องกั น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้กาหนดให้ไว้ตามความในข้อ ๕ แห่งระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๔๔

(๒) การรังวัดตรวจสอบที่ดินสาธารณประโยชน์ที่ยังไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
เนื่องจากกรมท่ีดินได้วางแนวทางปฏิบัติไว้ตามหนังสือ ท่ี มท ๐๖๐๖/ว ๓๐๗๔๓ ลงวันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน
๒๕๓๙ ว่าให้ผู้มีหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินสาธารณประโยชน์แจ้งเป็นหนังสือขอความร่วมมือไปยังสานักงานท่ีดิน
เพื่อให้จัดส่งช่างออกไปทาการรังวัดตรวจสอบแนวเขตท่ีดิน โดยถือเอาหนังสือขอความร่วมมือดังกล่าวเป็นคาขอ
และในการดาเนินการรงั วดั ผู้มีหน้าท่ีดูแลรกั ษาจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเชน่ เดียวกับการรงั วดั สอบเขตดว้ ย
ซ่ึงแนวทางดังกล่าวมิได้เป็นการผูกมัดหรือเจาะจงว่าจะต้องเป็นการดาเนินการของนายอาเภอเท่าน้ัน ดังนั้น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถแจ้งขอความร่วมมือในการรังวัดตรวจสอบแนวเขตที่สาธารณประโยชน์
ที่ไม่มีหนังสือสาคัญสาหรบั ท่ีหลวงและพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ชอบที่จะดาเนินการโดยถือปฏิบัติ ตามนัยหนังสือ
กรมท่ดี ินดังกล่าวได้

(ปัจจบุ ันปฏิบัติตามหนังสือกรมทีด่ ิน ที่ มท ๐๕๑๑.๔/ว ๗๑๘๒ ลงวันท่ี ๑๖ มนี าคม ๒๕๕๒)
๓.๓ หารือการย่ืนคาขอออกหนงั สอื สาคญั สาหรบั ท่ีหลวงท่ีสาธารณประโยชน์

๑) ขอ้ เทจ็ จรงิ
จังหวัดสกลนครหารือ กรณีองค์การบริหารส่วนตาบลอุ่มจานยื่นคาขอรังวัดออกหนังสือ

สาคัญสาหรับท่ีหลวงแปลงท่ีสาธารณประโยชน์ “ดอนโนนตูม หรือ โนนตูม” หมู่ท่ี ๒ ตาบลอุ่มจาน อาเภอ
กสุ ุมาลย์ จังหวัดสกลนคร ซึ่งจังหวัดสกลนครเห็นว่าตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการออกหนังสือ
สาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ข้อ ๔ กาหนดให้ทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาท่ีดินอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันหรือใช้เพ่ือแผ่นดินโดยเฉพาะ แสดงความประสงค์
เป็นหนังสือราชการถึงอธิบดีกรมท่ีดิน ผ่านทางสานักงานที่ดินจังหวัดหรอื สานักงานท่ีดินจังหวัดสาขาซ่ึงที่ดิน
แปลงนั้นอยู่ในเขต ดังน้ัน ผู้ย่ืนคาขอรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแปลงท่ีสาธารณประโยชน์
“ดอนโนนตูม หรือ โนนตูม” จะต้องเป็นนายอาเภอกสุ ุมาลย์ในฐานะผดู้ ูแลรักษาตามพระราชบญั ญัติลักษณะ
ปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ แต่เน่ืองจากปัจจุบันพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี
(ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ กาหนดให้นายอาเภอมีหน้าท่ีร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการดูแล
รักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และสิ่งซึ่งเป็น
สาธารณประโยชน์อ่ืนอันอยู่ในเขตอาเภอ จึงเห็นว่าองค์การบริหารส่วนตาบลอุ่มจานสามารถยื่นคาขอ
ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน

150 คมู่ ือสนบั สนุนการคุม้ ครองทดี่ นิ ของรัฐ คู่มอื สนบั สนนุ การคมุ้ ครองท่ีดินของรฐั 147

และมอบหมายผู้แทนนาทาการรังวัดในฐานะผู้ขอซ่ึงเป็นผู้มีหน้าท่ีดูแลรักษา ตามพระราชบัญญัติลักษณะ
ปกครองท้องที่ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้โดยไม่ต้องแจ้งอาเภอกุสุมาลย์มาย่ืนคาขอออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงใหม่

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบยี บ/หนังสือเวียน
(๑) พระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๗ มาตรา ๑๒๒
(๒) พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖๒
(๓) พระราชบญั ญัติลกั ษณะปกครองท้องท่ี (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๓
(๔) ประมวลกฎหมายทีด่ นิ มาตรา ๑ มาตรา ๘ ตรี
(๕) กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล

กฎหมายที่ดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอ้ ๑
(๖) ระเบยี บกรมทดี่ ิน ว่าด้วยการรงั วดั ออกหนงั สอื สาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ข้อ ๔
(๗) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครอง

สว่ นทอ้ งถน่ิ ชว่ ยเหลือในการดาเนินการออกหนงั สือสาคัญสาหรบั ทห่ี ลวง พ.ศ. ๒๕๔๓
(๘) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็น

สาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๔ ข้อ ๕
(๙) คาส่ังกระทรวงมหาดไทย ที่ ๙๔๘/๒๕๑๖ ลงวนั ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๖ เร่ือง มอบหมาย

การดาเนินการขอออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมือง
ใชร้ ่วมกนั

๓) ความเห็นกรมที่ดนิ
การออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง มาตรา ๘ ตรี วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน

บัญญัติว่า แบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการให้เป็น ไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ซึ่งกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖)ฯ ข้อ ๑ กาหนดให้ทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาเป็นผู้แสดง
ความประสงค์ในการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงต่ออธิบดี และในกรณีท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดนิ สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน กระทรวงมหาดไทยในฐานะท่ีเป็นทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าทีด่ ูแลรักษา
ได้มีคาส่ัง ที่ ๙๔๘/๒๕๑๖ ลงวันที่ ๒ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๖ มอบหมายให้นายอาเภอท้องที่
ที่ท่ีดินต้ังอยู่เป็นผู้ดาเนินการแทน ดังนั้น ในการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงท่ีดินอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน นายอาเภอจึงเป็นผู้ย่ืนคาขออันเป็นการสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ ซ่ึงใช้บังคับอยู่ในขณะน้ัน ปัจจุบัน
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๓ บัญญัติให้ยกเลิกความใน
มาตรา ๑๒๒ แห่งพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ เป็นผลให้องค์กรปกครอง
ส่วน ท้ องถ่ิน มีอาน าจห น้ าที่ ดูแลรักษ า ที่ ดิน อัน เป็ น สาธารณ สมบั ติข องแผ่น ดิ น ที่ ป ระช าช น
ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ดังน้ัน การออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงนอกจากนายอาเภอจะเป็นผู้แสดง
ความประสงค์แทนกระทรวงมหาดไทยแล้ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีสถานะเป็น “ทบวงการเมือง”
ตามคานิยามในมาตรา ๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ก็สามารถแสดงความประสงค์ขอออกหนังสือสาคัญ
สาหรบั ทหี่ ลวงไดเ้ ช่นเดยี วกนั

(หนังสือกรมที่ดิน ด่วนมาก ที่ มท ๐๕๑๑.๔/๗๔๘๓ ลงวันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๒ และหนังสือ
ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๗๑๘๒ ลงวนั ท่ี ๑๖ มนี าคม ๒๕๕๒)

ค่มู ือสนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 148
คู่มอื สนบั สนุนการคุ้มครองท่ดี นิ ของรัฐ 151

๓.4 ปัญหาการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง แปลง “หนองระแหง” ในส่วนท่ีมี
การคดั คา้ น

๑) ขอ้ เท็จจรงิ
จังหวัดชัยนาทหารือ การรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง แปลง “หนองระแหง”

ตาบลบ้านกล้วย อาเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ผลการรังวัดได้เนื้อท่ี ๙๘ – ๑ – ๕๑ ไร่ มีผู้คัดค้าน
๓ ราย เน้ือท่ี ๓ – ๑ – ๐๘ ไร่ ได้มีการประกาศและดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในส่วนท่ีไม่มี
การคดั ค้านเปน็ หนังสือสาคญั สาหรบั ท่ีหลวงเลขท่ี ชน ๐๕๓๔ เนอ้ื ท่ี ๙๕ – ๐ – ๔๓ ไร่ ในสว่ นท่ีมกี ารคดั ค้าน
ได้อ้างหลักฐาน ส.ค. ๑ สอบสวนข้อเท็จจริงปรากฏว่า ส.ค. ๑ แจ้งการครอบครองไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ว่าราชการจังหวัดมีคาสั่งจาหน่าย ส.ค. ๑ ออกจากทะเบียนการครอบครองตามคาส่ังกรมท่ีดิน ที่ ๒๓/๒๕๒๓
ลงวันท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๑๓ แล้ว จังหวัดเห็นว่า ในส่วนที่มีการคัดค้านน่าจะถือคาขอเดิมของอาเภอเมือง
ชัยนาทเป็นคาขอต่อเน่ืองที่จะดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในส่วนท่ีคัดค้าน และใช้รูปแผนท่ี
และเนื้อท่ีท่ีได้รังวัดทาแผนที่พิพาทเป็นรูปแผนท่ีและเนื้อที่ที่จะออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในส่วนที่
คัดค้าน โดยไม่ต้องยื่นคาขอและทาการรังวัดใหม่ และให้จังหวัดทาการประกาศออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่ีหลวงมีกาหนด ๓๐ วัน หากไม่มีผู้ใดคัดค้านก็ดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงต่อไป ตามนัย
กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ประกอบกับระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ทห่ี ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนงั สือเวียน
(๑) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล

กฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความ
ในพระราชบญั ญัติใหใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายท่ดี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๒ วรรคสอง

(๒) ระเบยี บกรมทด่ี นิ วา่ ด้วยการออกหนงั สอื สาคญั สาหรับทหี่ ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗
๓) ความเห็นกรมทดี่ ิน

กรณีตามข้อหารือเป็นการดาเนินการตามระเบียบและข้ันตอนท่ีกาหนดในข้อ ๒ (๒)
แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖) แล้ว ดังน้ัน พนักงานเจ้าหน้าท่ีจึงชอบที่จะดาเนินการออก
หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในส่วนท่ีเหลืออยู่ (ส่วนท่ีมีการคัดค้าน) ซึ่งได้ทาการรังวัดและทาแผนที่ไว้แล้ว
จานวนเน้ือที่ ๓ – ๑ – ๐๘ ไร่ ต่อไปได้ โดยไม่ต้องยื่นคาขอหรือประกาศออกหนังสือสาคญั สาหรับทีห่ ลวงอีก
แตอ่ ย่างใด

(หนงั สือกรมท่ดี ิน ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/๓๔๓๙๒ ลงวนั ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒)
๓.๕ ปัญหาการทับซ้อนกันระหว่างที่ดิน สาธารณ สมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมือง
ใชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั กับท่รี าชพสั ดุ

๑) ขอ้ เท็จจริง
จังหวัดระนองหารือกรณีที่ดินราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียน ท่ี รน 229 ตาบล

กาพวน อาเภอสุขสาราญ จังหวัดระนอง ทับซ้อนกับที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมือง
ใช้ร่วมกัน (ทุ่งสงวนเล้ียงสัตว์) ตามหลักฐานหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เลขที่ 13662 เน่อื งจากหน่วยงาน
สังกั ด ก ระท รว งก ารค ลั ง แล ะห น่ ว ยงาน สั งกั ด ก ระท รวงม ห าด ไท ย มี ค วาม เห็ น ขั ด แ ย้ งกั น
จนไม่สามารถหาข้อยุติได้ว่าที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินของรัฐประเภทใด และอยู่ในความรับผิดชอบ
ของหนว่ ยงานใด

152 คมู่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองทดี่ นิ ของรฐั ค่มู ือสนับสนนุ การคุม้ ครองที่ดินของรฐั 149

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนงั สอื เวยี น
(1) ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 1304, 1305 และ 1307
(2) คาพิพากษาฎกี าที่ 770/2516, 453/2512
(3) ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎกี า เรอื่ งเสร็จที่ 6/2527 เปน็ ไป ตามนยั มาตรา 1305,

1307 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และเทียบเคียงคาวินิจฉัยคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จ
ท่ี 6/2527 เรื่อง ขอหารือเรื่องที่ราชพัสดุ (ท่ีดินบริเวณโรงแรมบางแสน โรงแรมเขาใหญ่ เขตสนามกอล์ฟบางพระ
เป็นท่รี าชพัสดุตามพระราชบัญญตั ิทรี่ าชพสั ดุ พ.ศ. 2518 หรอื ไม่)

๓) ความเหน็ กรมทดี่ นิ
ท่ีดินสาธารณประโยชน์แปลงดังกล่าวนายอาเภอกะเปอร์ ได้ประกาศสงวนหวงห้ามไว้

เมื่อวันท่ี 17 พฤษภาคม 2469 เพ่ือใช้เป็นท่ีสาธารณประโยชน์ (ท่ีเลี้ยงสัตว์) ก่อนการประกาศใช้
พระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พุทธศักราช 2478
การหวงห้ามดงั กล่าวจงึ เป็นการสงวนหวงหา้ มโดยชอบด้วยกฎหมาย สง่ ผลให้ท่ีดินดังกล่าวเปน็ สาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ประโยชน์ร่วมกันตามมาตรา 1304 (2) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เทียบเคียงคาพิพากษาศาลฎีกา ท่ี 770/2516 แม้ต่อมาจะได้มีการออกหนังสือรบั รองการทาประโยชนแ์ ละ
รฐั บาลได้มีคาส่ังยึดท่ีดินดังกล่าว ให้ตกเป็นท่ีราชพัสดุก็ตาม ย่อมไม่มีผลทาให้สถานะของท่ีดินแปลงดังกล่าว
เปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด ยังคงสถานะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ประโยชน์ร่วมกันอยู่
ประกอบกับท่ีดินตามหลักฐานหนังสือรับรองการทาประโยชน์แปลงดังกล่าว ผู้ว่าราชการจังหวัดได้พิจารณา
เพิกถอน ตามนัยมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินแล้ว เนื่องจากออกทับท่ีสาธารณประโยชน์ ซึ่งกรมที่ดิน
ได้เคยพิจารณาแล้วว่าท่ีดินดังกล่าวเป็นท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันซ่ึงอยู่ในความ
ดูแลของกระทรวงมหาดไทย การออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงจะต้องออกในนามกระทรวงมหาดไทย
ดังนั้น กรณีประเด็นปัญหาดังกล่าวจึงไม่มีความจาเป็นต้องหารือคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่อย่างใด แต่หาก
กรมธนารักษ์ มีความประสงค์จะขอใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ประโยชน์
ร่วมกันแปลงดงั กลา่ ว ก็สามารถดาเนนิ การไดต้ ามประมวลกฎหมายที่ดินต่อไป

(ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0511.4/2669 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2553
ตอบจังหวัดระนอง)

๓.๖ ปัญหาการโอนกรรมสิทธ์ิท่ีดินให้กับการประปาส่วนภูมิภาคจะต้องได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดิน
ตามมาตรา 122 แหง่ พระราชบญั ญตั ิลกั ษณะปกครองท้องที่ พระพทุ ธศกั ราช 2457 หรือไม่

๑) ขอ้ เท็จจริง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินขอหารือกรมที่ดิน กรณีเทศบาลตาบลละแม ได้โอนกิจการ

ประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาค ประกอบด้วยท่ีดินซึ่งเป็นที่ต้ังของกิจการประปาและสินทรัพย์อ่ืน ๆ
โดยทาบันทึกส่งมอบทรัพย์สินเมื่อวันท่ี 14 กันยายน 2547 แต่ปัจจุบันเทศบาลตาบลละแม ยังมิได้ทาการ
โอนกรรมสทิ ธท์ิ ่ีดินอันเปน็ ที่ตั้งของกจิ การประปาดังกล่าว ตามโฉนดท่ีดินเลขที่ 6204 ตาบลละแม อาเภอละแม
จังหวัดชุมพร ให้แก่การประปาส่วนภูมิภาค กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินเห็นว่าที่ดินโฉนดเลขที่ 6204
เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันตามมาตรา 1304 (2) แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ เม่ือการประปาส่วนภูมิภาครับมอบกิจการประปา ไปดาเนินการต่อไม่ต้องทาการจดทะเบียน
โอนกรรมสิทธท์ิ ี่ดิน แต่การประปาส่วนภูมภิ าคจะต้องได้รับอนุญาตให้ใช้ทด่ี ิน ตามมาตรา 122 แหง่ พระราชบัญญัติ

คมู่ อื สนับสนุนการคุม้ ครองที่ดนิ ของรฐั 150
คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองทด่ี นิ ของรัฐ 153

ลกั ษณะปกครองทอ้ งที่ พระพุทธศักราช 2457 กล่าวคือตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากผวู้ ่าราชการจงั หวดั และ
ปฏบิ ัติตามประมวลกฎหมายท่ดี นิ และกฎหมายอน่ื ทีเ่ กยี่ วข้อง จึงหารือว่าความเห็นดงั กล่าวถูกตอ้ งหรอื ไม่

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนงั สอื เวยี น
(1) ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1304 และมาตรา 1305
(2) ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 695/2548 เร่ือง การขายอสังหาริมทรัพย์

ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่
๓) ความเหน็ กรมท่ดี ิน
ที่ดินโฉนดเลขท่ี 6204 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัดชุมพร เทศบาลตาบลละแมได้มา

จากการจดทะเบียนแบ่งให้ที่ดินโฉนดเลขท่ี 4606 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ของผู้ให้ท่ีประสงค์
จะอุทิศทดี่ ินของตนบางส่วนให้เทศบาลตาบลละแม เพ่ือใช้ก่อสร้างระบบประปาสุขาภิบาล (ใหม่) ที่ดินแปลง
ดังกล่าวจึงเป็นทรัพย์สิน ใช้เพื่อประโยชน์ของเทศบาลโดยเฉพาะ เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับ
ทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ตามมาตรา 1304 (3) แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ไม่สามารถโอนให้แก่กันได้ เว้นแต่อาศัยอานาจแห่งบทกฎหมายเฉพาะหรือพระราชกฤษฎีกา
ตามมาตรา 1305 แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ (เทียบเคียงคาวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกา
เรอ่ื งเสรจ็ ท่ี 695/2548)

(หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท 0511.4/18540 ลงวันท่ี 18 กรกฎาคม 2556 แจ้งกรมส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถิ่น)

๓.๗ ปัญหาสถานะของทด่ี ินซ่งึ กรมมหาดไทยเปน็ ผูแ้ จ้งการครอบครอง
๑) ขอ้ เท็จจรงิ
สานักงานเทศบาลตาบลกังแอน ขอหารือปัญหาท่ีดินตามหลักฐาน ส.ค.1 เลขที่ 701 หมู่ท่ี 1

ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ซ่ึงกรมมหาดไทยเป็นผู้แจ้งการครอบครอง เทศบาลตาบลกังแอน
ได้ครอบครองและจัดเก็บผลประโยชน์มาต้ังแต่ยังมีฐานะเป็นสุขาภิบาลกังแอน ต่อมาเทศบาลตาบลกังแอน
ได้ก่อสร้างอาคารสานักงานเทศบาลข้ึนในที่ดินแปลงน้ีด้วย ธนารักษ์พื้นที่สุรินทร์ จึงมีหนังสือแจ้งให้เทศบาล
ตาบลกังแอนยื่นความประสงค์ขอใช้ที่ดิน เนื่องจากเห็นว่าท่ีดินตาม ส.ค.1 เลขท่ีดังกลา่ วเป็นที่ราชพัสดุ ซึ่งมี
ประเด็นว่า ระหว่างสานักงานเทศบาลตาบลกังแอนหรือสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่สุรินทร์ (กระทรวงการคลัง)
หน่วยงานใดจะเป็นผู้มีสิทธิในที่ดิน และเทศบาลตาบลกังแอน จะดาเนินการเพ่ือออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่ีหลวงได้หรือไม่ จังหวัดเห็นว่ากรณีดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมายของส่วนราชการ ประกอบกับความเห็น
ของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ให้หารือไปยังกรมท่ีดินและกรมธนารักษ์ก่อน จึงส่งเร่ืองให้กรมที่ดิน
พจิ ารณาตามข้อหารือ

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบียบ/หนังสอื เวียน
(1) พระราชบญั ญัตทิ ี่ราชพสั ดุ พ.ศ. 2518 มาตรา ๔ มาตรา ๕ และมาตรา ๑๑
(2) ประมวลกฎหมายท่ดี นิ มาตรา 8 ตรี
(3) กฎกระทรวง ฉบับท่ี 26 (พ.ศ. 2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล

กฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. 2497
(4) หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0711/ว 19914 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2529 เรื่อง การออก

หนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวงในทีด่ ินราชพสั ดุ

154 คมู่ ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองทีด่ นิ ของรฐั คูม่ ือสนับสนนุ การค้มุ ครองท่ีดนิ ของรฐั 151

๓) ความเห็นกรมท่ีดนิ
(1) กรณีระหว่างเทศบาลตาบลกังแอนและสานักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีสุรินทร์ (กระทรวงการคลัง)

ซ่ึงมีประเด็นว่าหน่วยงานใดจะมีสิทธิในที่ดิน นั้น เม่ือข้อเท็จจริงปรากฏว่า ท่ีดินตามหลักฐาน ส.ค. 1 เลขท่ี
7 0 1 หมู่ที่ 1 ตาบ ลกังแอน อาเภ อปราสาท กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้แจ้งการครอบครอง
เมื่อปี พ.ศ. 2498 ระบุการได้ที่ดินมาโดยราษฎรยกให้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2479 เพื่อใช้เป็นท่ีดิน
สาหรับปลูกสร้างท่ีพักของข้าราชการ โดยอาเภอปราสาทเป็นผู้ครอบครองใช้ประโยชน์ในขณะนั้น
ที่ดินแปลงดังกล่าวย่อมตกเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินนับต้ังแต่วันที่รับให้มา ต่อมาปี พ.ศ. 2499
ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตั้งสุขาภิบาลกังแอนขึ้นและสุขาภิบาลกังแอนได้ครอบครองท่ีดิน
แปลงดังกล่าว โดยจัดเก็บผลประโยชน์ต่อเนื่องจนปัจจุบัน แม้ต่อมาจะมีการยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลกังแอน
และได้ปลูกสร้างอาคารสานักงานเทศบาลในท่ีดินแปลงนี้ด้วย ก็ไม่อาจอ้างสิทธิในท่ีดินในความครอบครอง
ใช้ประโยชน์ของกระทรวงมหาดไทยได้แต่ประการใด ดังน้ัน เม่ือได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ
พ.ศ. 2518 ซึ่งมาตรา 4 ได้บัญญัติให้ที่ราชพัสดุ หมายความว่า “อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของ
แผ่นดินทุกชนิด เว้นแต่สาธารณสมบัติของแผ่นดินดังต่อไปนี้...” ที่ดินแปลงพิพาท ซ่ึงเป็นทรัพย์สินของ
แผ่นดินอยู่ในความปกครองดูแลของกระทรวงมหาดไทยแต่เดิม จึงอยู่ในความหมายของที่ราชพัสดุ ประกอบ
กับมาตรา 5 บัญญัติว่า “ให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ท่ีราชพัสดุ...” และมาตรา 11 บัญญัติว่า
“บรรดาท่ีราชพัสดุที่กระทรวง ทบวง กรม ได้มาโดยกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์หรือโดยการ
เปลี่ยนกรรมสิทธิ์กับเอกชนหรือโดยประการอ่ืนก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้โอนมาเป็นของ
กระทรวงการคลัง" ดังนั้นเม่ือพระราชบัญญัตทิ ี่ราชพสั ดุ พ.ศ. 2518 มีผลบังคับใช้ ท่ีดินแปลงพิพาทจึงเป็นที่
ราชพสั ดุ และอยใู่ นอานาจการปกครอง ดูแลของกระทรวงการคลงั ตามกฎหมายว่าดว้ ยที่ราชพสั ดุ

(2) กรณีการขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงซึ่งมีประเด็นว่าหน่วยงานใดจะเป็น
ผู้ย่ืนคาขอ เนื่องจากกฎกระทรวง ฉบับที่ 26 (พ.ศ. 2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. 2497 ข้อ 1 กาหนดให้ทบวงการเมอื งซ่ึงผูม้ ีอานาจในการดูแลรักษาที่ดินเป็นผู้ยืน่ คาขอ
เมื่อได้พิจารณาตาม (1) แล้วว่าท่ีดินดังกล่าวเป็นที่ราชพัสดุ การขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงจึงเป็น
อานาจหน้าท่ีของกระทรวงการคลัง (กรมธนารักษ์) อย่างไรก็ดี ท่ีดินดังกล่าวจะต้องมีลักษณะเป็นที่ดินที่ใช้
เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะด้วย เช่น เป็นที่ต้ังสานักราชการบ้านเมือง เป็นต้น ตามนัยมาตรา 8 ตรี
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดนิ แต่หากใช้เป็นทต่ี ง้ั บ้านพักข้าราชการ กม็ ีสถานะเปน็ ทรพั ย์สนิ ของแผ่นดินธรรมดา
แม้จะเป็นท่ีราชพัสดุแต่ก็ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ท่ีจะขอออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้ (ตามนัยหนังสือ
กรมที่ดิน ท่ี มท 0711/ว 19914 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2529) ซึ่งเป็นเรื่องของข้อเท็จจริงที่กระทรวงการคลัง
(กรมธนารักษ์) จะได้พจิ ารณาดาเนินการไปตามอานาจหน้าที่

๓.๘ ปญั หาการอุทิศทดี่ ินใหเ้ ปน็ ท่ีสาธารณประโยชน์
๑) ข้อเท็จจรงิ
จังหวัดสงขลาขอหารือกรณีผู้ถือสิทธิการครอบครองท่ีดินตามหลักฐาน น.ส.3 ก.

เลขท่ี 6532, 6535 และ6536 ผู้จะซ้ือ ได้ชาระค่าที่ดินบางส่วน และกาหนดจดทะเบียนโอนขาย
และจะส่งมอบการครอบครองกันในวันทาสัญญา ซึ่งเคยให้ถ้อยคาว่ามีความประสงค์จะยกที่ดินส่วนท่ีอยู่ใน
ท่ีดินสาธารณประโยชน์ แปลง “ทุ่งป่าเสม็ดงาม” ให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ การแสดงเจตนาอุทิศท่ีดิน
ดังกล่าวทาให้ที่ดินตกเป็นที่สาธารณประโยชน์ แม้ว่ายังไม่ได้ดาเนินการจดทะเบียนโอนให้ปรากฏ
ในหนงั สอื แสดงสิทธใิ นท่ีดินหรอื ไม่

คู่มือสนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 152
คมู่ อื สนับสนุนการคุม้ ครองทด่ี นิ ของรฐั 155

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบียบ/หนังสือเวียน
(๑) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304
(2) คาพพิ ากษาศาลฎีกาที่ 384/2522
(3) คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 4567/2528
(4) คาพิพากษาศาลฎกี าที่ 6113/2550

๓) ความเหน็ ของกรมทดี่ ิน
แม้วา่ ผู้จะซื้อได้เข้าครอบครองท่ีดินตามสัญญาจะซื้อจะขายและได้แสดงเจตนาอุทิศให้ที่ดิน

ดังกล่าวตกเป็นที่สาธารณประโยชน์ตามมาตรา 1304 (2) แล้วก็ตาม ผู้จะซ้ือยังมิใช่เป็นเจ้าของที่ดิน
เนื่องจากมาตรา 1373 แห่งประมวลกฎหมายแ พ่งและพาณิชย์ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคล
ผู้มีช่ือในทะเบียนเป็นผู้มีสิทธิครอบครอง (เทียบเคียงคาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 384/2522, 4567/2528
และ 6113/2540) ดังนั้น กรณีจังหวดั หารือว่าการให้ถ้อยคาดังกล่าวของผู้จะซื้อ ได้แสดงเจตนาอุทิศท่ีดิน
ให้เป็นที่สาธารณประโยชน์แล้ว ที่ดินดังกล่าวจะตกเป็นที่สาธารณประโยชน์แล้วหรือไม่ น้ัน เห็นว่า เม่ือผู้จะซื้อ
ไดน้ ารังวัดกันเขตหนังสือสาคัญสาหรบั ทห่ี ลวง (น.ส.ล.) แปลง “ทงุ่ ปา่ เสม็ดงาม” ออกจากหลักฐาน น.ส.3 ก.
เลขที่ 6531 ตาบลน้านอ้ ย อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และพนักงานเจ้าหน้าท่ี ได้ดาเนินการแก้ไขเนื้อท่ี
ตามหลักฐาน น.ส.3 ก. ฉบับดังกล่าวให้ถูกตรงกับความเป็นจริงแล้ว ตามมาตรา 69 ทวิ แห่งประมวล
กฎหมายที่ดิน ประกอบกับผู้จะซื้อ ได้ให้ถ้อยคาว่ามีความประสงค์ท่ีจะยกท่ีดิน น.ส.3 ก. เลขที่ 6532,
6535 และ 6536 ตาบลนา้ นอ้ ย อาเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา ในส่วนท่ีอยู่ในท่ีสาธารณประโยชน์ ให้เป็น
ท่ีสาธารณประโยชน์ตามความประสงค์เดิม ที่ดินดังกล่าวจึงตกเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ของแผ่นดินสาหรับ
พลเมอื งใช้ร่วมกนั ตามมาตรา 1304 (2) แหง่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์โดยการอทุ ิศแล้ว

(หนังสือกรมท่ีดนิ ที่ มท 0511.4/4877 ลงวันที่ 21 กมุ ภาพันธ์ 2556 แจง้ จงั หวัดสงขลา)
๓.9 ปญั หาการผอ่ นผนั ให้ราษฎรขอเขา้ ใช้ในทดี่ นิ ของรฐั เป็นการชว่ั คราว

๑) ข้อเท็จจริง
จังหวัดปราจีนบุรีหารือ กรณี ประชาชนหมู่ที่ 4 ตาบลบ่อทอง อาเภอกบินทร์บุรี ร้องเรียน

ว่าได้รับความเดือดร้อนเนื่องจากไม่มีไฟฟ้าใช้มานานกว่า 52 ปี เพราะอยู่ในท่ีสาธารณประโยชน์ ซ่ึงกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถ่ินแจ้งว่า หากองค์การบริหารส่วนตาบลจะดาเนินการขยายเขตไฟฟ้า ในที่สาธารณประโยชน์
ซ่ึงประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน จะต้องพิจารณาดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบหรือกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
ว่ามีระเบียบ หลักเกณฑ์ หรือแนวทางปฏิบัติอย่างไรบ้าง ท่ีจะผ่อนผันให้ราษฎรขอเข้าใช้ในที่ดินของรัฐได้
เป็นการชั่วคราว หรอื มีระเบยี บ หลักเกณฑ์ วธิ ีปฏิบัติอ่ืนใดทเ่ี กย่ี วข้องกบั กรณดี ังกลา่ ว

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบียบ/หนงั สือเวียน
(1) มาตรา 9 แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ
(2) ระเบยี บของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2515)
(3) หนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0503/ว 109 ลงวันท่ี 21 เมษายน

2546
(4) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ที่ มท 0511.4/ว 3010 ลงวันท่ี 15 กันยายน

2552

156 คูม่ อื สนบั สนนุ การคุ้มครองทีด่ ินของรฐั คู่มอื สนับสนุนการค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 153

๓) ความเห็นกรมทีด่ ิน
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้กาหนดแนวทางปฏิบัติไว้ตามหนังสือสานักเลขาธิการ

คณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0503/ว 109 ลงวันที่ 21 เมษายน 2546 ว่า หากประชาชนผู้ได้รับทะเบียนบ้าน
ช่ัวคราวมาขออนญุ าตใช้บริการ จะอนญุ าตได้ต่อเมื่อได้รบั ความยินยอมเป็นลายลักษณอ์ ักษรจากสว่ นราชการ
ท่ีถือกรรมสิทธ์ิในท่ีดินที่บ้านในทะเบียนบ้านชั่วคราวตั้งอยู่ ในกรณีนี้เป็นท่ีดินสาธารณประโยชน์ซ่ึงอยู่ใน
อานาจหน้าที่การดูแลรักษาของนายอาเภอและองค์การบรหิ ารส่วนตาบล หากนายอาเภอและองค์การบริหาร
สว่ นตาบลอนุญาตใหป้ ระชาชน อยู่อาศยั ในที่สาธารณประโยชน์ได้ก็อาจประสานงานกบั การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค
เพอื่ พิจารณาใหบ้ รกิ ารกบั ประชาชนดังกล่าวได้ สาหรับการอนุญาตให้อยอู่ าศยั นั้นอาจทาได้ 3 วิธี คือ

(1) ถ้าอยู่ก่อนวันท่ีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2515
ใช้บงั คับ อาจให้อยชู่ ัว่ คราวตามระเบียบของคณะกรรมการจดั ที่ดนิ แหง่ ชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2515)

(2) การอนุญาตตามมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายทดี่ ิน
(3) การจัดทาโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีมีการบุกรุก
เพ่ือขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท หากจังหวัดพิจารณาเห็นสมควรอนุญาตให้ผู้ร้องอยู่อาศัยตามหลักเกณฑ์
ข้อใดข้อหนึ่งดังกล่าวข้างต้นแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็สามารถพิจารณาดาเนินการแกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อน
ของประชาชนได้
(ตามนัยหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0503/ว 109 ลงวันท่ี 21 เมษายน
2546)
๓.๑0 มติของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกทด่ี ินของรฐั จังหวัด (กบร.จังหวดั ) จะมผี ล
ผูกพันหรอื ไม่ และหากจังหวัดไมด่ าเนินการตามมติ กบร.จังหวดั จะชอบหรือไม่
๑) ข้อเท็จจริง
จังหวัดอุบลราชธานีหารือกรมที่ดิน กรณีการประชุมคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหา
การบุกรุกที่ดินของรัฐ จังหวัดอุบลราชธานี (กบร.จังหวัดอุบลราชธานี) คร้ังท่ี ๖/๒๕๕๔ เม่ือวันที่ ๑๙
กันยายน ๒๕๕๔ ได้พิจารณากรณีราษฎรเรียกร้องขอเอกสารสิทธิที่ดินที่อยู่อาศัยบริเวณชุมชนบุ่งกาแซว
ตาบลในเมือง อาเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี โดยมติที่ประชุมรับทราบผลการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงจากการอ่าน แปล ภาพถ่ายทางอากาศ ว่า ท่ีดินจานวน ๑๘ แปลง อยู่ในสัญลักษณ์ U๑
(ตัวเมืองย่านการค้า) ไม่ได้มีการสงวนหวงห้ามหรือขึ้นทะเบียนเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ จึงมอบสานักงาน
ที่ดินจังหวัดอุบลราชธานี อาเภอเมืองอุบลราชธานี และเทศบาลนครอุบลราชธานีดาเนินการตามอานาจ
หน้าท่ี ตอ่ มาในการประชุม กบร.จังหวดั อุบลราชธานี ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๕ มมี ตเิ ห็น
ว่าที่ดินบริเวณท่ีราษฎรครอบครอง จานวน ๑๖ แปลง อยู่ในท่ีสาธารณประโยชน์ “บุ่งกาแซวสาธารณ
ประโยชน์”ตามหนังสือสาคัญ สาหรับที่หลวง เลขท่ี อบ. ๒๔๒๗ ส่วนอีก ๒ แปลงอยู่นอกเขต
ท่ีสาธารณประโยชน์ จึงให้ชลอการออกโฉนดท่ีดินให้แก่ราษฎร จานวน ๑๘ แปลง และมอบสานักงาน
เทศบาลนครอุบลราชธานีดาเนินการยื่นคาขอตรวจสอบหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เลขท่ี อบ. ๒๔๒๗
เพือ่ กันเขตท่ีดนิ ของราษฎรออกจากหนงั สือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง แต่สานักงานท่ีดินจังหวัดอบุ ลราชธานเี ห็นว่า
หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เลขท่ี อบ. ๒๔๒๗ ออกโดยชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากมีหลักฐานการ
ข้ึนทะเบียน ในการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงไม่มีผู้คัดค้าน ซึ่งอาเภอเมืองอุบลราชธานี และ
เทศบาลนครอุบลราชธานีเห็นด้วยกับความเห็นของจังหวัดอุบลราชธานีว่า หนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวงแปลงดังกล่าวออกไปโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ และไม่เห็นด้วยกับมติของ กบร.จังหวัด

ค่มู ือสนับสนุนการคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 154
คมู่ ือสนบั สนนุ การค้มุ ครองทีด่ ินของรฐั 157

อุบลราชธานี จึงขอหารือว่ามติของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐจังหวัดอุบลราชธานี
จะมีผลผูกพันในการแก้ไขเนื้อท่ีในหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงหรือไม่ และหากจังหวัดอุบลราชธานีไม่
ดาเนนิ การตามมติ กบร.จังหวดั ฯ จะชอบหรอื ไม่

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนงั สอื เวยี น
(๑) ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง

พ.ศ. ๒๕๒๙
(๒) มาตรการของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ เร่ือง การพิสูจน์สิทธิการ

ครอบครองท่ีดนิ ของบุคคลในเขตท่ีดนิ ของรัฐ
(๓) คาส่ังศาลปกครองสูงสดุ ที่ ๕๙๔/๒๕๔๖ ลงวันท่ี ๑๙ ธนั วาคม ๒๕๔๖

๓) ความเห็นกรมที่ดิน
มาตรการของคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ เรื่อง การพิสูจน์สิทธิการ

ครอบครองที่ดินของบุคคลในเขตที่ดินของรัฐ เมื่อได้พิสูจน์สิทธิการครอบครองที่ดินแล้ว ปรากฏว่า
มีการครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินมาก่อนการเป็นที่ดินของรัฐ ให้ กบร.จังหวัด แจ้งผลการพิสูจน์สิทธิ
ดังกล่าวให้บุคคลท่ีครอบครองที่ดินทราบภายในกาหนด ๓๐ วันทาการ และแจ้งให้หน่วยงานของรัฐ
ท่ีมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินของรัฐดาเนินการ โดยกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐดังกล่าวไม่เห็นด้วยกับมติของ
กบร.จังหวัด ให้พิจารณาดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ประกอบกับศาลปกครองสูงสุดได้มีคาส่ัง
ที่ ๕๙๔/๒๕๔๖ ลงวันท่ี ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๖ วินิจฉัยกรณีคณะกรรมการประสานการแก้ไขปัญหา
การบุกรุกที่ดินของรัฐ ส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่มติของคณะกรรมการฯ และ
การแจ้งให้เจ้าพนักงานที่ดินดาเนินการตามมติดังกล่าว เป็นการประสานงานระหว่างหน่วยราชการ
ท่ีเกี่ยวข้อง จึงอยู่ในข้ันตอนการดาเนินการพิจารณาภายในฝ่ายปกครอง ยังไม่มีผลตามกฎหมาย
ท่ีจะบังคับให้คู่กรณีกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐต้องปฏิบัติตาม จึงมิใช่คาส่ังทางปกครอง ดังน้ัน ความเห็น
ข อ ง จั ง ห วั ด ท่ี ว่ า ก า ร อ อ ก ห นั ง สื อ ส า คั ญ ส า ห รั บ ท่ี ห ล ว ง ได้ ด า เนิ น ก า ร ไป โด ย ช อ บ ด้ ว ย ก ฎ ห ม า ย แ ล้ ว
และการแก้ไขเน้ื อที่ใน ห นั งสือสาคัญ สาห รับ ท่ีห ล วงจะดาเนิ น การได้ต้องเป็ น ไป ตามระเบี ย บ กรมท่ีดิน
วา่ ด้วยการเพกิ ถอนหรอื แกไ้ ขหนังสือสาคญั สาหรบั ท่หี ลวง พ.ศ. ๒๕๒๙ ขอ้ ๓

(หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท 0511.4/23413 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 แจ้งจังหวัด
จังหวัดอุบลราชธาน)ี

๓.๑1 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินหารือว่า ผู้อุทิศที่ดินให้เทศบาลฯ จะเรียกคืนการให้ได้
หรือไม่ และหากผู้อุทิศสามารถกระทาได้ เทศบาลฯ จะต้องดาเนินการอย่างไร ที่ดินท่ีผู้อุทิศได้อุทิศให้
เทศบาลฯ เป็นทีด่ ินประเภทใด

๑) ขอ้ เท็จจริง
ก ร ม ส่ ง เส ริ ม ก า ร ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถ่ิ น ห า รื อ แ น ว ท า ง ป ฏิ บั ติ ก า ร โ อ น อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์

ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินคืนให้แก่เอกชน กรณี เทศบาลเมือง ก. ได้รับอุทิศท่ีดินจากราษฎร
เพื่อก่อสร้างบ่อขยะมูลฝอยรวม โดยมีเง่ือนไขต้องดาเนินการทาสัญญาก่อ สร้างในที่ดินดังกล่าว
ภายในกาหนด ๑๘๐ วัน นับแต่วันท่ีอุทิศท่ีดินให้ หากพ้นกาหนดระยะเวลาดังกล่าวผู้อุทิศขอเพิกถอน
การให้ทาประโยชน์ แต่เทศบาลฯ ไม่สามารถดาเนินการตามเงื่อนไขได้ จึงได้ยุติโครงการก่อสร้างบ่อขยะมูลฝอย
และประสงค์จะคนื ท่ีดนิ ท่ีไดร้ ับการอุทิศใหแ้ ก่เจา้ ของที่ดนิ

158 คมู่ อื สนับสนุนการค้มุ ครองทด่ี นิ ของรัฐ คูม่ ือสนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 155

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนงั สือเวียน
(๑) พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖
(๒) พระราชบญั ญตั ทิ ่รี าชพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔ วรรคสอง
(๓) คาวินิจฉัยอัยการ เลขรับที่ ห ๙๕/๒๕๒๓ เร่ือง การบริจาคท่ีดินให้กรมสามัญศึกษา

กรณีผู้ยกที่ดินให้ทางราชการใช้เพ่ือใช้ก่อสร้างโรงเรียน แต่ทางราชการได้ยกเลิกโครงการก่อสร้างโรงเรียน
ในท่ีดินดังกล่าวจนเวลาล่วงเลยมาหลายปี ถือว่าทางราชการไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข ผู้ให้ย่อมมีสิทธิยกเลิกการ
ให้และเรียกท่ีดินคืนได้ (ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ ๔๙๓/๒๕๔๘ และเร่ืองเสร็จ
ท่ี ๗๐๑/๒๕๕๑)

๓) ความเหน็ กรมทีด่ นิ
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ บัญญัติว่า เทศบาลอาจมีรายได้ดังต่อไปน้ี...

(๘) เงินและทรัพย์สินอย่างอ่ืนที่มีผู้อุทิศให้ ดังนั้น เทศบาลจึงสามารถรับให้ท่ีดินได้โดยที่ดินน้ันไม่ตกเป็น
ท่ีราชพัสดุ ตามพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔ แต่จะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
สาหรับพลเมืองใช้ประโยชน์ร่วมกันหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงของแต่ละกรณี สาหรับกรณีราษฎรอุทิศ
ที่ดินให้เทศบาลเพ่ือเป็นท่ีก่อสร้างระบบกาจัดขยะมูลฝอย เป็นหน้าที่ท่ีเทศบาลต้องทาตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๐ (๓) และมาตรา ๕๓ (๑) และระบบกาจัดขยะมูลฝอยดังกล่าวไม่ใช่สาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน สาหรับกรณี ท่ีนาย ก. ยกท่ีดินให้แก่เทศบาลเมือง ก. โดยมีเงื่อนไขว่า
เทศบาลจะต้องดาเนินการทาสัญญาก่อสร้างบ่อขยะมูลฝอยในท่ีดินดังกล่าวภายใน ๑๘๐ วัน นับตั้งแต่วันที่
อุทิศให้ ซ่ึงกรณีทานองเดียวกันนี้กรมอัยการได้เคยวินิจฉัย ตามเลขรับที่ ห ๙๘/๒๕๒๓ เร่ือง การบริจาค
ให้กรมสามัญศึกษา กรณีผู้ยกท่ีดินให้ทางราชการใช้เพื่อก่อสร้างโรงเรียน แต่ทางราชการได้ยกเลิกโครงการ
ก่อสร้างโรงเรียนในที่ดินดังกล่าวจนเวลาล่วงเลยมาหลายปี ถือว่าทางราชการไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไข ผู้ให้ย่อม
มีสิทธยิ กเลิกการให้และเรยี กทด่ี นิ คนื ได้

(บันทึกสานักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน ท่ี มท ๐๕๑๕.๑/๕๐๓ ลงวนั ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน
๒๕๔๗)

๓.๑2 เทศบาลตาบลหนองไผ่ ขออนุญาตใช้ท่ีดินสาธารณประโยชน์เป็นการช่ัวค ราว
ตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ เพอื่ เปน็ สถานทกี่ ่อสร้างบ้านม่ันคงชุมชนวงั หกู วาง

๑) ข้อเทจ็ จริง
โครงการขอใช้และขอถอนสภ าพท่ี ดินส าธารณ ป ระโยชน์ที่ ดินต ามข้อหารือ

เป็นโครงการของเทศบาลตาบลหนองไผ่ ร่วมกับสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) กระทรวงพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ซึง่ เปน็ หน่วยงานเจ้าของงบประมาณ มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ท่ีดนิ สาธารณประโยชน์
แปลง “หนองแปน” เป็นสถานท่ีก่อสร้างบ้านม่ันคงชุมชนวังหูกวาง สาหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
ความเป็นอยู่ของประชาชน โดยให้ประชาชนผู้ไม่มีท่ีดินเป็นของตนเอง ผู้มีรายได้น้อยมีฐานะยากจน
เป็นครอบครัวขยาย ท่ีผ่านหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการให้เข้าอยู่อาศัยในบ้านม่ันคงชุมชนวังหูกวาง
จานวน ๑๒๐ ครอบครัว ได้มีท่ีอยู่อาศัยเป็นของตนเอง โดยใช้งบประมาณของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในการดาเนินการ ไม่ได้กาหนดค่าตอบแทนการเข้าใช้ประโยชน์
ในทด่ี ิน

คู่มอื สนบั สนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 156
คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองทด่ี นิ ของรัฐ 159

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนังสือเวียน
(1) ประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา 8 , 9 , 9/1 และมาตรา 11
(2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการอนุญาต

ตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ.๒๕๔๓
๓) ความเหน็ กรมที่ดนิ
โครงการขอใช้และขอถอนสภาพที่ดินสาธารณประโยชน์ของเทศบาลหนองไผ่ดาเนินการ

ในท่ีสาธารณประโยชน์ แปลง “หนองแปน” ตามหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เลขที่ 4980 หมู่ที่ 4 ตาบล
หนองไผ่ อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ซ่ึงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
มีวัตถุประสงค์เพื่อก่อสร้างบ้านม่ันคงชุมชนวังหูกวาง ให้ประชาชนผู้ไม่มีท่ีดินเป็นของตนเองได้มีท่ีอยู่อาศัย
เป็นของตนเอง โดยใช้งบประมาณของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ การดาเนินการดังกล่าวมีลักษณะเป็นการให้ราษฎรท่ีผ่านหลักเกณฑ์เข้าไปยึดถือครอบครองท่ีดิน
ของรัฐ โดยไม่มีกาหนดระยะเวลา และไม่ได้กาหนดค่าตอบแทนในการเข้าใช้ประโยชน์ในท่ีดินแต่การขอใช้
ท่ีดินของรัฐตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน จะต้องดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเก่ียวกับการอนุญาตตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ.๒๕๔๓
ซ่ึงได้กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตไว้ตาม ข้อ ๒๓ (๑) ว่าผู้ขอจะต้องประกอบกิจการด้วยตนเอง
และต้องเสียค่าตอบแทนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา ๙/๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
โดยมีกาหนดระยะเวลาการอนุญาตคราวละไม่เกนิ 5 ปี

๓.๑3 กรณีการขอต่ออายุใบอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐตามความในมาตรา 9
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน จะตอ้ งดาเนินการขออนญุ าตแผว้ ถางป่าต่อพนกั งานเจ้าหน้าท่ตี ามมาตรา 54
แหง่ พระราชบัญญตั ิปา่ ไม้ พุทธศกั ราช 2484 หรอื ไม่

๑) ขอ้ เทจ็ จริง
ในปี พ.ศ. 2550 สานักราชเลขาธิการได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ

ตามความในมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน แต่ไม่ได้ดาเนินการขออนุญาตแผ้วถางป่าตามมาตรา 54
แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ฯ ต่อมาสานักราชเลขาธิการประสงค์ขอต่ออายุใบอนุญาต จังหวัดอ่างทองพิจารณา
แล้วเห็นว่า เม่ือกระทรวงมหาดไทยได้กาหนดแนวทางปฏิบัติในการขออนุญาตใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ
ตามมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ให้ผู้ได้รับอนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ในท่ีดินของรัฐจะต้องขออนุญาต
แผ้วถางป่า ดังน้ัน การพิจารณาอนุญาตการขอต่ออายุ ใบอนุญาตน้ี สานักราชเลขาธิการก็จะต้องขออนุญาต
แผ้วถางปา่ ตอ่ พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม ขอ้ กาหนดของระเบยี บกระทรวงมหาดไทยดงั กลา่ วด้วย

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนังสือเวียน
(๑) ประมวลกฎหมายท่ดี นิ มาตรา ๙
(๒) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0511.3/ว 0688 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559

เร่ือง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ การขุดลอกแหล่งน้าสาธารณ ประโยชน์ท่ีตื้นเขิน การขออนุญาต
ใชป้ ระโยชน์ในท่ีดนิ ของรัฐตามมาตรา 9 และการขอสัมปทานตามมาตรา 12 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน

160 คมู่ ือสนับสนนุ การคุม้ ครองท่ีดนิ ของรัฐ คมู่ ือสนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 157

๓) ความเห็นกรมทด่ี ิน
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0511.3/ว 0688 ลงวันท่ี 3 กุมภาพันธ์ 2559

เป็นการแจ้งความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 921/2558 ว่าที่ดินสาธารณประโยชน์
ที่ยังมิได้มีบุคคลใดได้มาตามประมวลกฎหมายท่ีดิน ซ่ึงทบวงการเมืองจะขอใช้ประโยชน์ตามมาตรา 9
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และท่ีดินของรัฐที่มิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง ซ่ึงรัฐมนตรีมีอานาจ
ให้สัมปทาน หรือให้ใช้ในระยะเวลาอันจากัดตามมาตรา 12 แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน อยู่ในความหมาย
ของคาวา่ “ป่า” ตามมาตรา 4 (1) แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 ที่ดินดังกล่าวยังอยู่ภายใต้
ความคุ้มครองของกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ ผู้ได้รับอนุญ าตให้เข้าทาประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ หรือ
ผู้ได้รับสัมปทานในท่ีดินของรัฐ จะต้องขออนุญาตแผ้วถางป่าตามมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้
พุทธศักราช 2484 นอกเหนือจากการขออนุญาตตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วยการน้ัน เมื่อข้อเท็จจริง
ทจี่ ังหวัดหารือปรากฏวา่ ผู้ขอได้รับใบอนุญาตตามประมวลกฎหมายที่ดนิ แล้ว แต่ผู้ขอยังไม่ทราบว่าจะต้องไป
ดาเนินการขออนุญาตตามกฎหมายป่าไม้ด้วย ในการต่อใบอนุญ าตจังหวัดจึงมีหน้าที่ต้องแจ้ง
ให้ผู้ขอทราบว่า จะต้องไปดาเนินการขออนุญาต แผ้วถางป่าต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 54
แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 นอกเหนือจากการขออนุญาตตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
ตามทีก่ ระทรวงมหาดไทยได้วางแนวทางปฏิบตั ิไว้ ความเห็นของจังหวัดถูกตอ้ งแล้ว

(หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท 511.3/30978 ลงวันท่ี 1 ธันวาคม 2559 ตอบข้อหารือจังหวัด
อา่ งทอง)

3.14 ปัญหาการพิจารณากาหนดความเหมาะสม หรือเปล่ียนแปลงความเหมาะสมของการใช้
ประโยชน์ในทด่ี นิ สาธารณประโยชน์

1) ขอ้ เท็จจรงิ
จังหวัดกาญจนบุรหี ารือกรณีที่ดินสาธารณประโยชนซ์ ึ่งได้กาหนดความเหมาะสม (Zoning)

การใช้ประโยชน์ไว้ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันตลอดไป วา่ จะสามารถนาที่ดินแปลงดังกล่าวมาพิจารณา
เป ลี่ ย น แ ป ล ง กา ห น ด ค ว า ม เห ม าะ ส ม ข อง ก าร ใช้ ป ร ะโย ช น์ จ า ก เพื่ อ ให้ ป ร ะ ช า ช น ใช้ ป ร ะโย ช น์ ร่ว ม กั น
เป็นเพอ่ื ไวใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นราชการได้หรือไม่ และท่ีดินสาธารณประโยชนแ์ ปลงทย่ี งั ไม่ได้กาหนดความเหมาะสม
ของการใช้ประโยชน์ในท่ีดินไว้ จะสามารถนามากาหนดความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์เพิ่มเติม
เปน็ เพื่อไวใ้ ช้ประโยชน์ในราชการได้หรอื ไม่

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนังสือเวียน
(1) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0723/ว 3443 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2544

ระเบยี บและเร่อื ง มาตรการเกี่ยวกบั การอนุมัติให้สว่ นราชการใชท้ ่ดี นิ สาธารณประโยชน์
(2) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0511.3/ว 591 ลงวันท่ี 19 กุมภาพันธ์ 2547

เร่ือง มาตรการเก่ยี วกบั การอนมุ ัตใิ หส้ ว่ นราชการใช้ทดี่ ินสาธารณประโยชน์
(3) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0511.3/ว 1833 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม

2549 เรือ่ ง มาตรการเก่ยี วกับการอนมุ ัติให้สว่ นราชการใช้ที่ดนิ สาธารณประโยชน์
(4) หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0511.3/3788 ลงวนั ท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2551 ตอบข้อหารือ

กรณีจังหวัดขอนแก่น ขอหารือการขอแก้ไขความเหมาะสมการใช้ประโยชน์ในที่ดินสาธารณประโยชน์ที่ได้
กาหนดไว้แลว้ จาก “ใหใ้ ช้ประโยชนร์ ว่ มกนั ” เปน็ “ให้ใชป้ ระโยชน์ในราชการ”

คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 158
คมู่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองทด่ี ินของรฐั 161

3) ความเห็นกรมทดี่ นิ
การกาหนดให้ทุกจังหวัดถือปฏิบัติตามมาตรการเก่ียวกับการอนุมัติให้ส่วนราชการ

ใช้ที่ดินในที่ดินสาธารณประโยชน์ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงแก้ไขการใช้ประโยชน์ในท่ีดินสาธารณประโยชน์ตามที่
ได้กาหนดไว้แล้วนั้น กระทรวงมหาดไทยได้มอบหมายให้อยู่ในดุลพินิจของจังหวัดโดยมีคณะกรรมการ
หรือคณะทางานกาหนดความเหมาะสมการใช้ท่ีดินสาธารณประโยชน์ ซ่ึงต้องมีผังเมืองจังหวัดร่วมเป็น
คณะทางานหรอื คณะกรรมการเป็นผู้พจิ ารณาด้วย ดังนั้น หากจังหวดั พิจารณาแลว้ เห็นว่า สภาพแวดลอ้ มของ
การบริหารจัดการการใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์ไดเ้ ปลีย่ นแปลงไป จาเป็นต้องมีการแก้ไขความเหมาะสมของ
การใช้ประโยชน์ในที่ดินตามท่ีจังหวัดได้เคยกาหนดไว้แล้ว หรือมีที่ดินสาธารณประโยชน์ที่ยังไม่ได้กาหนด
ความเหมาะสมของการใช้ประโยชนใ์ นทด่ี ิน การเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือการกาหนดความเหมาะสมของการใช้
ประโยชน์เพม่ิ เตมิ ใหอ้ ยู่ในดลุ พนิ จิ ของจงั หวดั ทจี่ ะพจิ ารณาดาเนนิ การได้

(หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท 0511.3/29407 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2560 ตอบข้อหารือ
จงั หวัดกาญจนบรุ ี)

3.15 หารือแนวทางปฏิบัติกรณีกระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จัดหาผลประโยชนใ์ นท่ดี นิ ของรัฐ

1) ขอ้ เทจ็ จริง
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหารือกรณีกระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศให้องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นจัดหาผลประโยชน์ในท่ีดินของรัฐ โดยให้ราษฎรท่ีได้รับความเดือดร้อนจากภัยธรรมชาติไม่มี
ที่อยู่อาศัยเช่าอยู่อาศัย แต่เน่ืองจากปัจจุบันมีราษฎรจานวนหน่ึงไม่มีการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยหรือพักอาศัยจริง
ในท่ีดิน ซึ่งไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของประกาศ อีกท้ังผู้เช่าบางส่วนยื่นคาร้องขอให้เปลี่ยนตัวผู้เช่า
และบางส่วนส่งมอบการครอบครองทด่ี นิ กันเอง จะสามารถกระทาได้หรอื ไม่ อยา่ งไร

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบยี บ/หนังสือเวยี น
(๑) ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๑๐ และ ๑๑
(๒) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา ๕๔๔

3) ความเหน็ กรมท่ีดิน
พระราชกฤษฎีกาถอนสภาพและประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว ไม่ได้กาหนด

หลักเกณฑ์และเง่ือนไขว่าหากผู้มีสิทธิเช่าท่ีดินของรัฐไม่ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของการจัดหาผลประโยชน์
แล้วจะมีผลอย่างไร แต่เมื่อพิจารณาตามสัญญาเช่าท่ีดินซ่ึงองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินคู่สัญญาได้ระบุไว้
ชัดเจนว่า ถ้าผู้เช่าไม่ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ท่ีระบุไว้ภายใน ๑ ปี นับแต่วันทาสัญญาให้ถือว่า
ผู้เช่าผิดสัญญานี้ ผู้ให้เช่ามีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาเช่าท่ีดินได้ สาหรับกรณีราษฎรผู้เช่าขอให้เปล่ียนตัวผู้เช่า และ
บางกรณีมีการส่งมอบการครอบครองกันเอง เห็นว่าสัญญาเช่าเป็นสิทธิเฉพาะตัวองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิ่นในฐานะผู้ให้เช่าต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติของผเู้ ช่าท่ีดนิ เป็นสาคัญเพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของการจัดหาผลประโยชน์ ผู้เช่าไม่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เช่าหรือส่งมอบการครอบครองกันเองได้ ประกอบกับ
ในสัญญาเช่าระบุว่าห้ามผู้เช่านาท่ีดินท่ีเช่าอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างในที่ดินที่เช่าท้ังหมดหรือบางส่วนไปให้เช่า
ช่วงโอนสิทธิการเช่า ยอมให้ผู้อ่ืนใช้ประโยชนห์ รือใช้ประโยชน์อ่นื นอกจากเพ่ือวัตถุประสงค์ในการเช่า เวน้ แต่
จะได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ให้เช่าก่อน ซ่ึงสอดคล้องกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๕๔๔

162 คมู่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองทด่ี นิ ของรัฐ ค่มู อื สนับสนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั 159

๓.16 ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ได้เนื้อที่น้อยกว่าบัญชีสารวจที่ดิน
สาธารณประโยชน์

๑) ข้อเท็จจรงิ
จงั หวดั สกลนครหารอื การรังวัดออกหนงั สอื สาคญั สาหรบั ทหี่ ลวงทด่ี นิ แปลง“ท่ีสาธารณประโยชน์

บ้านเหล่าสามัคคี” หมู่ที่ ๑๐ ตาบลบึงทวาย อาเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ตามบัญชีสารวจท่ีดินสาธารณประโยชน์
เน้ือท่ีประมาณ ๓๐๔–๐–๐๐ ไร่ เป็นการดาเนินการตามโครงการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ในท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุก เพ่ือขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท ผลการรังวัดได้เน้ือที่ ๒๓๐–๑–๐๕ ไร่
น้อยกวา่ บัญชีสารวจ ๗๓–๒–๙๕ ไร่ เม่ือเสนอลงนามผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนครเห็นว่า การออกหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวงมีเหตุขดั ข้องเน่อื งจากรังวัดได้เนอื้ ท่นี ้อยไปจากหลักฐานเดิม โดยปรากฏว่ามีผบู้ ุกรุก ตามข้อ ๘
ของระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ชว่ ยเหลือ
ในการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓ จังหวัดเห็นว่า “หลักฐานเดิม”ตามระเบียบ
ดังกล่าว ข้อ ๘ หมายความถึง หลักฐานการข้ึนทะเบียนตามทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์ไม่รวมบัญชี
สารวจที่ดินสาธารณประโยชน์ดังกล่าว และในกรณี “โดยไม่ปรากฏว่ามีผู้บุกรุก” หมายความถึง การบุกรุก
จากข้างเคียงรอบแปลงทสี่ าธารณประโยชน์อนั เป็นเหตใุ ห้ท่ีสาธารณประโยชน์เนื้อที่ลดลงไม่ใช่ผู้ท่ีครอบครอง
บกุ รุกและยอมรบั ว่าทด่ี ินดงั กลา่ วเป็นทส่ี าธารณประโยชน์แต่อยา่ งใด

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบยี บ/หนงั สือเวยี น
(๑) ประมวลกฎหมายที่ดนิ มาตรา ๘ ตรี
(๒) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้

ประมวลกฎหมายทีด่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
(๓) ระเบียบกรมทด่ี ิน วา่ ด้วยการออกหนงั สอื สาคญั สาหรบั ทห่ี ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ข้อ ๔
(๔) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถ่ินช่วยเหลือใน การดาเนินการออกหนังสือสาคัญ สาหรับที่หลวง พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๕
และ ข้อ ๘

(๕) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุด ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๔๐๑๔ ลงวันท่ี ๒๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๘ เร่ือง การจัดที่ดินตามแผนปฏิบัติการบริหารจัดที่ดินของรัฐ กรณีมีการบุกรุกที่ดิน
สาธารณประโยชน์ เพอื่ แก้ไขปญั หาความยากจน ปงี บประมาณ ๒๕๔๙

๓) ความเห็นกรมทีด่ นิ
(๑) ตามประมวลกฎหมายท่ีดินมาตรา ๘ ตรี หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นหนังสือสาคัญ

ของทางราชการใช้เป็นหลักฐานแสดงเขตท่ีดินของรัฐ กรณีที่ไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เขตของที่ดิน
ให้เป็นไปตามหลักฐานของทางราชการ และระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
พ.ศ. ๒๕๑๗ ข้อ ๔ กาหนดให้ทบวงการเมืองแจ้งความประสงค์ให้มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พร้อมด้วย
หลักฐานของที่ดินแปลงนั้น เช่น สาเนาทะเบียนที่ดินสาธารณะ บัญชีสารวจ หรือประกาศ หรือหลักฐาน
การสงวนหวงห้าม ฯลฯ และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นช่วยเหลือในการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๕
ได้กาหนดให้จังหวัดส่ังอาเภอทาการสารวจที่ดินสาธารณประโยชน์ในเขตท้องท่ีตนที่ยังไม่มีหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงตามแบบสารวจฯ ท้ายระเบียบ โดยอาจขอให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รว่ มมือช่วยเหลือในการสอบสวนประวตั ิ นาชี้อาณาเขตท่ีสงสัยได้ ดังน้ัน บัญชีสารวจที่ดินสาธารณประโยชน์

ค่มู ือสนับสนนุ การค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 160
ค่มู ือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ดี ินของรฐั 163

จึงเป็นเอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นและเป็นหลักฐานของทางราชการอย่างหนึ่ง ท่ีสามารถใช้เป็นหลักฐาน
ประกอบการขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงได้ จึงเป็น “หลักฐานเดิม” ตามนัยข้อ ๘ ของระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินช่วยเหลือในการ
ดาเนนิ การออกหนงั สือสาคญั สาหรับทีห่ ลวง พ.ศ. ๒๕๔๓

(๒) กรณี “ไม่ปรากฏว่ามีผู้บุกรุก” ตามข้อ ๘ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยฯ ดังกล่าวนั้น
“ผู้บุกรุก” หมายความรวมท้ังกรณีเป็นผู้บุกรุกจากข้างเคียงรอบแปลง และผู้บุกรุกเข้าครอบครองในท่ี
สาธารณประโยชน์ด้วย แต่เงื่อนไขดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
ตามผลการรังวัดดงั กล่าวไปก่อนได้ โดยไม่มผี ลกระทบกบั ผู้บกุ รุก หรือผ้คู ัดค้านการออกหนังสือสาคญั สาหรับ
ทหี่ ลวง ซึ่งจะต้องดาเนินการ ตามนัยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ และเพ่ือป้องกันมิให้เกิดความ
เสียหายแก่ราชการ เมื่อได้ออกหนังสือสาคญั สาหรบั ท่ีหลวงตามผลการรังวัดดังกล่าวไปกอ่ นแลว้ จึงกาหนดให้
นายอาเภอสอบสวนข้อเท็จจริงว่าท่ีดินสาธารณประโยชน์แปลงน้ันน้อยไปเพราะเหตุใด มีจานวนเน้ือท่ีเท่าใด
โดยขอความเห็นต่อสภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือประกอบการพิจารณา หากสภาตาบลหรือ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ไมม่ ีความเห็นเปน็ อย่างอ่ืนภายในสามสบิ วันให้ดาเนินการต่อไป

(๓) การขอรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงตามข้อหารือเป็นการดาเนินการ
ตามโครงการบริหารจัดการการใชป้ ระโยชน์ในท่ีดนิ สาธารณประโยชน์ที่มีการบุกรุกเพ่ือขจัดความยากจนและ
พัฒนาชนบท ซึ่งตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนท่ีสุดท่ี มท ๐๕๑๑.๔/ว ๔๐๑๔ ลงวันท่ี ๒๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ได้กาหนดเง่ือนไขของการตรวจสอบแปลงท่ีดินสาธารณประโยชน์ ตามข้อ ๑ (๒)
ในกรณีที่ไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง หากสามารถดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้
ก็ให้นามาจัดทาโครงการได้ โดยจัดให้มีการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไปในคราวเดียวกันด้วย ดังน้ัน
การรังวัดเพ่ือออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงดังกล่าว จึงเป็นการดาเนินการเพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขของ
โครงการฯ จังหวัดจึงชอบที่จะดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงตามผลการรังวัดไปก่อนได้
เสร็จแล้วให้แจ้งอาเภอเต่างอยสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีรังวัดได้เนื้อที่น้อยกว่าเดิม ตามข้อ ๘ แห่งระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นช่วยเหลือในการดาเนนิ การ
ออกหนังสือสาคญั สาหรบั ทห่ี ลวง พ.ศ. ๒๕๔๓

(หนงั สือกรมทด่ี ินท่ี มท ๐๕๑๑.๔/๒๗๕๗๑ ลงวนั ที่ ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๖๐)
๓.17 ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง “ที่ดินสาธารณประโยชน์” ซ่ึงอยู่ในท้องที่
ที่ถกู ประกาศให้เป็นเขตสารวจเพ่อื กาหนดเปน็ เขตโครงการจัดรูปที่ดินตามพระราชบัญญัติจัดรูปทด่ี ินเพื่อ
เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๗

๑) ขอ้ เท็จจริง
สานักงานท่ีดินจังหวัดพิษณุโลกได้หารือประเด็นการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับ

ที่หลวง ท่ีสาธารณประโยชน์ แปลง “หนองหัวหล่ม” ต้ังอยู่หมู่ท่ี ๑ ตาบลดอนทอง อาเภอเมืองพิษณุโลก
จังหวัดพิษณุโลก ซ่ึงอยู่ในท้องที่ที่ถูกประกาศให้เป็นเขตสารวจเพื่อกาหนดเป็นเขตโครงการจัดรูปท่ีดินตาม
พระราชบัญญตั ิจัดรูปท่ดี ินเพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๗

164 คู่มือสนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรัฐ คูม่ อื สนับสนุนการคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 161

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบียบ/หนังสอื เวยี น
(๑) ประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาตรา ๘ ตรี
(๒) หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๗๑๘/๐๒ ๗๑๘ ลงวันที่ ๒ ๗ มกราคม ๒ ๕ ๔ ๒

เร่ือง การรังวัดออกหนงั สือสาคัญสาหรบั ท่หี ลวงในเขตพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขตโครงการจดั รูปท่ีดนิ
๓) ความเหน็ กรมทีด่ ิน
ที่ดินที่อธิบดีอาจจัดให้มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงตามมาตรา ๘ ตรีแห่งประมวล

กฎหมายที่ดินได้นั้น จะต้องเป็นท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หรือใช้เพื่อ
ประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๒) และ (๓) ซึ่งเป็น
ข้อเท็จจริงท่ีจังหวัดจะต้องตรวจสอบให้เป็นที่ยุติ โดยสอบสวนพยานหลักฐานและสอบถามข้อมูลหน่วยงาน
ท่ี เก่ียวข้องเพ่ื อยืน ยัน สถาน ะข องท่ี ดิน จากการตรวจสอบ ข้ อเท็ จจริงตาม ที่ สานั กงาน ท่ี ดิ น
จังหวัดแจ้งให้ทราบยังไม่ปรากฏข้อมูลชัดเจนว่าท่ีดินสาธารณประโยชน์แปลงดังกล่าวเป็นท่ีสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันหรือไม่ มีหลักฐานและประวัติความเป็นมาอย่างไร ประกอบกับท่ีดิน
ดังกล่าวอยู่ในท้องที่ท่ีถูกประกาศให้เป็นเขตสารวจเพ่ือกาหนดเป็นเขตโครงการจัดรูปท่ีดิน (พ.ศ. ๒๕๕๖)
ซึ่งสานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดพิษณุโลกยังมิได้ยืนยันเก่ียวกับสถานะของท่ีดิน ดังนั้น จึงควรสอบถาม
หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษา และสานักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดพิษณุโลกให้ได้ความชัดเจนว่า
ท่ีดินแปลงดังกล่าวยังคงเป็นท่ีดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่หรือไม่ หรือได้จัดที่ดินแปลงอื่นภายในเขต
จัดรูปที่ดินนั้นให้เป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันแทนแล้ว หากปรากฏว่า
ยังคงเป็นท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันอยู่และคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินจังหวัด
ไม่ประสงคจ์ ะใช้ท่ีดนิ สว่ นน้นั ในการจัดรูปทีด่ นิ ก็สามารถออกหนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวงได้

(หนงั สือกรมทีด่ นิ ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/๑๕๐๕ ลงวันท่ี ๒๒ มกราคม ๒๕๖๑)

คมู่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 162
คู่มือสนับสนุนการค้มุ ครองทด่ี ินของรัฐ 165

3.18 ปัญหาการพิจารณาสถานะทดี่ นิ ราชพัสดุบริเวณเกาะกลางแมน่ ้ากก จังหวัดเชียงราย
๑) ขอ้ เท็จจริง
จงั หวัดเชยี งรายขอให้กรมธนารักษ์พิจารณาดาเนินการเพิกถอนท่ีราชพัสดุบริเวณเกาะกลาง

ลาน้ากก แปลงท่ี ชร. ๑๑๙๔ - ชร. ๑๒๐๒ ตาบลเวียง อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จานวน ๙ แปลง
เนื่องจากเห็นว่าไม่มีสถานะเป็นที่ราชพัสดุ ซ่ึงกรมธนารักษ์ได้พิจารณาสถานะท่ีราชพัสดุดังกล่าวแล้วปรากฏว่า
ท่ีราชพัสดุแปลงที่ ชร. ๑๑๙๗ แขวงการทางจังหวัดเชียงรายครอบครองใช้ประโยชน์ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๖
ท่ีดินบางส่วนถูกน้าตัดขาดจากแปลงที่ดินเดิม ทาให้มีสภาพเป็นเกาะ ส่วนที่ราชพัสดุ แปลงท่ี ชร. ๑๑๙๔ –
ชร. ๑๑๙๖ และ ชร. ๑๑๙๘ - ชร. ๑๒๐๒ จานวน ๘ แปลง ไม่ปรากฏหลักฐานว่า มีการใช้ประโยชน์
ในราชการมาก่อน และสภาพข้อเท็จจริงบางแปลงไม่มีสภาพเป็นเกาะแล้ว ซึ่งเป็นการขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ
โดยผิดพลาดคลาดเคล่ือนโดยสาคัญผิดในข้อเท็จจริง จึงได้เพิกถอนรายการที่ราชพัสดุแปลงดังกล่าวออกจาก
ทะเบียนที่ราชพัสดุ เม่ือไม่มีสถานะเป็นท่ีราชพัสดุ กรมธนารักษ์ จึงไม่มีอานาจในการบริหารจัดการตาม
กฎหมายว่าด้วยท่ีราชพัสดุ หากปรากฏข้อเท็จจริงว่าท่ีดินดังกล่าวยังคงสภาพเป็นเกาะ และยังไม่ได้มี
ประชาชนเข้าใช้ประโยชน์ร่วมกัน ท่ีดินบนเกาะคงมีสถานะเป็นท่ีรกร้างว่างเปล่า ตามมาตรา ๑๓๐๔ (๑)
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และอยู่ในอานาจหน้าที่ ของกรมที่ดิน ตามมาตรา ๘ วรรคแรก
แห่งประมวลกฎหมายทด่ี นิ

๒) ขอ้ กฎหมาย/หนงั สือเวยี นท่เี กย่ี วข้อง
(๑) ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔
(๒) ประมวลกฎหมายทด่ี ิน มาตรา ๘ วรรคแรก
(๓) หนงั สือสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ สร ๐๖๐๑/๑๘๗๔ ลงวันท่ี ๔ กรกฎาคม

๒๕๒๓ เรือ่ ง การข้ึนทะเบยี นเกาะ
(๔) หนังสือกรมที่ดิน ด่วนมาก ที่ มท ๐๗๑๘/ว ๐๗๘๕๐ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๑

เร่ือง มอบหมายให้ทบวงการเมืองอ่ืนมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็น
สาธารณสมบัตขิ องแผ่นดนิ หรือเปน็ ทรพั ย์สินของแผน่ ดนิ

๓) ความเห็นกรมทดี่ นิ
ตามนัยมาตรา ๘ วรรคแรก แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินบัญญัติว่า “บรรดาท่ีดินทั้งหลาย

อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือทรัพย์สินของแผ่นดินน้ัน ถ้าไม่มีกฎหมายกาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน
ให้อธิบดีมีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกันได้ตามควรแก่กรณี อานาจหน้าท่ีดังว่าน้ี
รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้ใช้ก็ได้...” ซ่ึงที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือทรัพย์สิน
ของแผ่นดินที่ไม่มีกฎหมายกาหนดอานาจหน้าท่ีดูแลรักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกันไว้โดยเฉพาะ
มเี พียงประเภทเดียว คอื ท่ีดินรกร้างว่างเปล่าและที่ดินซ่ึงมีผ้เู วนคืน หรือทอดท้ิง หรอื กลับมาเป็นของแผ่นดิน
โดยประการอ่ืนตามกฎหมาย ตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๑) เท่าน้ัน และ
ปัจจุบันรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้มีคาสั่งท่ี ๕๐๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
มอบหมายให้อยู่ในอานาจหน้าท่ีดูแลรักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกันขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดังนั้น อธิบดีกรมที่ดิน จึงไม่มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษา และดาเนินการคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินอีกต่อไป ท้ังน้ี ตามนัยหนังสือกรมที่ดิน ด่วนมาก ท่ี มท ๐๗๑๘/ว ๐๗๘๕๐ ลงวันท่ี ๑๖
มีนาคม ๒๕๔๑ ประกอบกับความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะกรรมการร่างกฎหมายคณะที่ ๒)
เรื่อง การข้ึนทะเบียนท่ีราชพัสดุบริเวณเกาะ ตามนัยหนังสือ ท่ี สร ๐๖๐๑/๑๘๗๔ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม

166 คูม่ ือสนบั สนนุ การคมุ้ ครองที่ดินของรฐั คูม่ อื สนบั สนุนการคุม้ ครองที่ดินของรฐั 163

๒๕๒๓ มีความเห็นว่า “เนื่องจากบนเกาะแต่ละเกาะมีท่ีดินอยู่หลายส่วนหลายประเภท การท่ีจะพิจารณาว่า
เกาะใดเกาะหนึ่งเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือที่ราชพัสดุ จึงต้องพิจารณาจากสภาพและการใช้
ประโยชน์ที่ดินบนเกาะนั้น ซึ่งขน้ึ อยู่กบั ข้อเท็จจริงเป็นราย ๆ ไปว่าเข้าลกั ษณะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
หรือท่ีราชพัสดุ” ดังนั้น กรณีเก่ียวกับสถานะของที่ดินจะเป็นท่ีรกร้างว่างเปล่าตามมาตรา ๑๓๐๔ (๑)
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือไม่นั้น จึงเปน็ ข้อเท็จจรงิ ทจี่ ะต้องตรวจสอบในพน้ื ที่โดยผู้มีอานาจ
หน้าทต่ี ามกฎหมาย

(หนงั สอื กรมท่ีดนิ ที่ ๐๕๑๑.๔/๒๒๗๕๔ ลงวนั ที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๑)

3.19 ประเดน็ ปญั หา การเพกิ ถอนหนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวงตามคาพิพากษา
๑) ข้อเทจ็ จรงิ
สานักงานอัยการจังหวัดนครศรีธรรมราชแจ้งผลคดีช้ันฎีกา กรณี กรมที่ดินได้ส่ง

ใบแต่งทนายความของกรมที่ดิน เพ่ือแต่งต้ังพนักงานอัยการเข้าเป็นทนายความดาเนินคดีแพ่ง หมายเลขดา
ท่ี 1075/2551 ของศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช เรื่อง ท่ีดิน เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง รับรอง
แนวเขตออกโฉนดที่ดิน ว่า ศาลฎีกาได้มีคาพิพากษาท่ี 3103-3105/2561 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2561
ให้เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเลขที่ นศ.0119 หมู่ท่ี 6 และหมู่ที่ 8 ตาบลไทยบุรี อาเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช เฉพาะส่วนที่ออกทับท่ีดินของโจทก์ท้ังสาม ให้จาเลยที่ 1 ถึงที่ 3 เพิกถอนคาร้อง
คัดค้านการออกโฉนดท่ีดินของโจทก์ทั้งสามและรับรองแนวเขตท่ีดินและให้จาเลยท่ี 4 ออกโฉนดที่ดินให้แก่
โจทกท์ ้งั สาม ห้ามจาเลยทงั้ หา้ และบรวิ ารเข้าเกย่ี วขอ้ งและรบกวนการครอบครองท่ีดินของโจทก์ท้ังสาม

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนังสือเวียน
(๑) ระเบียบกรมที่ดิน ที่ 3/2516 ลงวันที่ 19 มกราคม 2516 เร่ือง วิธีการเพิกถอน

หรือแก้ไขโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ หรือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการจด
แจง้ เอกสารรายการจดทะเบยี น ในกรณที ศี่ าลมีคาพพิ ากษาหรอื คาส่ังถึงท่สี ุดให้เพิกถอนหรือแก้ไข

(๒) ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยวิธีการเพิกถอนหรือแก้ไขโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทาประโยชน์ หรอื การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการจดแจง้ เอกสารรายการจดทะเบยี นที่ดนิ ในกรณีที่
ศาลมีคาพพิ ากษาหรือคาสั่งถึงทสี่ ดุ ให้เพิกถอนหรอื แก้ไข ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2522)

(๓) ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. 2529
“ข้อ 4 ถ้าอธิบดีกรมท่ีดินได้พิจารณาแล้ว เห็นสมควรว่าจะต้องเพิกถอนหรือแก้ไขก่อนมีคาสั่งให้ดาเนินการ
ดังนี้ (1) ให้อธิบดีกรมที่ดินแจ้งให้ทบวงการเมืองหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาท่ีดิน
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นทราบ เพ่ือให้คัดค้านภายในกาหนด 30 วัน นับแต่วันท่ีได้รับแจ้ง
(2) การเพิกถอนหรือแก้ไขรูปแผนที่ นอกจากจะต้องดาเนินการตาม (1) แล้วให้อธิบดีกรมที่ดินส่ังไปยัง
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา ประกาศการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวงให้ประชาชนทราบมีกาหนด 30 วัน โดยปิดไว้ในที่เปิดเผย ณ สานักงานท่ีจังหวัดหรือ
สานักงานที่ดินจังหวัดสาขา 1 ฉบับ ณ ที่ว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องท่ีหรือท่ีทาการเขต 1 ฉบับ
ที่ทาการกานัน 1 ฉบับ ในบริเวณท่ีดินน้ัน 1 ฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาลหรือใน
เขตกรุงเทพมหานครให้ปิดไว้ ณ ศาลาว่าการอีก 1 ฉบับ ถ้าเป็นการแก้ไขรูปแผนท่ีแสดงแนวเขตท่ีดินเดิม
และที่จะแกไ้ ขใหม่ทา้ ยประกาศดว้ ย”

(๔) คาสั่งกรมที่ดิน ท่ี 2185/2542 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2546 เรื่อง มอบอานาจของ
อธิบดีกรมท่ีดนิ ให้ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แบบบรู ณาการปฏิบตั ิราชการแทน

คู่มือสนับสนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั 164
คมู่ อื สนับสนุนการคุม้ ครองที่ดินของรฐั 167

(๕) หนังสือกรมท่ีดิน ด่วนท่ีสุด ท่ี มท 0511.4/29320 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2550
ตอบข้อหารือจังหวัดมหาสารคามเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติในการดาเนินการเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับ
ทห่ี ลวงบางส่วนตามคาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ

(๖) หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0511.4/14744 ลงวันท่ี 6 สิงหาคม 2557 แจ้งจังหวัด
สุราษฎร์ธานี ดาเนินการเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเลขท่ี 41918 ตาบลหน้าเมือง อาเภอเกาะสมุย
จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ตามคาพิพากษาศาลปกครองนครศรธี รรมราช

(๗) หนังสือกรมท่ดี ิน ที่ มท 0511.4/14023 ลงวนั ท่ี 13 มิถุนายน 2559 แจ้งจังหวัด
นครพนม ดาเนินการแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรบั ทห่ี ลวงเลขท่ี 40972 ตามคาพพิ ากษาของศาลฎีกา

(๘) หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท 0511.4/9207 ลงวันที่ 5 เมษายน 2560 แจ้งจังหวัด
นครสวรรค์ ดาเนินการเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเลขท่ี นว 0075 ตาบลเขาดิน อาเภอเก้าเล้ียว
จงั หวัดนครสวรรค์ เฉพาะส่วนท่ีทบั กับทดี่ ินของโจทกต์ ามแผนที่พิพาททง้ั สามแปลง ตามคาพิพากษาศาลฎกี า

3) ความเห็นกรมที่ดนิ
เม่ือศาลฎีกามีคาพิพากษาให้เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เลขท่ี นศ.0119

ตาบลไทยบุรี อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรธี รรมราช เฉพาะส่วนที่ออกทับทดี่ ินของโจทก์ทั้งสามแตเ่ นือ่ งจาก
ระเบยี บกรมทด่ี นิ ว่าด้วยการเพิกถอนหรอื แกไ้ ขหนงั สอื สาคญั สาหรับที่หลวง พ.ศ. 2529 ไมไ่ ด้กาหนดวธิ กี าร
ดาเนินการในกรณีที่ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังถึงท่ีสุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้
จึงให้ดาเนินการเพิกถอนหนังสอื สาคัญสาหรบั ท่ีหลวง โดยให้นาระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยวิธีการเพกิ ถอนหรือ
แก้ไขโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ หรือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการจดแจ้ง
เอกสารรายการจดทะเบียนที่ดินในกรณีท่ีศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไข ฉบับท่ี 2
(พ.ศ. 2522) มาใช้ปฏิบัติโดยอนุโลม ซึ่งข้อเท็จจริงในกรณีน้ีเป็นเร่ืองที่ศาลฎีกาได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอน
หนงั สือสาคัญสาหรับที่หลวงเป็นบางส่วน ดังน้ัน จึงตอ้ งดาเนินการเพกิ ถอนที่ดนิ เฉพาะส่วนทอ่ี อกทับทีด่ นิ ของ
โจทก์ทั้งสามตามคาพิพากษาดังกล่าว โดยไม่ต้องออกเป็นคาส่ังและไม่ต้องดาเนินการตามระเบียบกรมที่ดิน
ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ. 2529 ข้อ 4(1) และ (2) เท่าท่ีไม่ขัดหรือ
แยง้ กับระเบียบดงั กล่าว

(หนังสอื กรมทีด่ นิ ด่วนทสี่ ุด ที่ มท 0511.4/26014 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2561)

3.20 ปัญหาการขอให้ออกหนังสอื สาคัญสาหรบั ที่หลวงในท่ดี ินราชพสั ดุ
๑) ขอ้ เทจ็ จรงิ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอให้กรมท่ีดินดาเนินการในกรณี

ท่ีสานกั งานคดีล้มละลาย สานกั งานอัยการสงู สดุ มีความเห็นในเร่ืองท่ี นางสาวพรรณวดี เลาหวานิช เจ้าของกรรมสิทธ์ิ
ในโฉนดท่ีดินเลขท่ี ๔๒๘ ตาบลโพรงอากาศ อาเภอบางน้าเปร้ียว จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้อุทิศท่ีดินแปลงดังกล่าว
ด้วยวาจาใหแ้ กท่ างราชการ เพื่อสร้างอาคารโรงเรียนบางน้าเปรี้ยววิทยา โดยมิได้ทาเปน็ หนังสือและจดทะเบยี น
ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ว่าที่ดินแปลงดังกล่าวย่อมตกเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของ
แผ่นดินโดยเฉพาะแล้ว แม้ภายหลังผู้อุทิศให้ถึงแกค่ วามตายและศาลมีคาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดก็ไม่อาจเป็น
ทรัพย์มรดกของผู้อุทิศให้ที่จะตกทอดแก่ทายาท โดยขอให้อธิบดีกรมที่ดินออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
พร้อมท้ังจดแจ้งในโฉนดท่ีดินแปลงดังกล่าว วา่ เจ้าของกรรมสิทธ์ิได้อุทศิ เป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดนิ และ
ได้ขึ้นทะเบยี นเป็นทร่ี าชพสั ดุ

168 คูม่ ือสนบั สนนุ การค้มุ ครองท่ดี นิ ของรัฐ คมู่ อื สนบั สนนุ การคุม้ ครองท่ีดินของรฐั 165

๒) ระเบียบขอ้ กฎหมาย และคาพพิ ากษาศาลฎีกา
(๑) ประมวลกฎหมายทดี่ ิน มาตรา ๗๑ มาตรา ๗๒ และมาตรา ๗๔
(๒) กฎกระทรวงฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล

กฎหมายทด่ี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
(๓) ระเบียบกรมท่ดี นิ วา่ ดว้ ยการออกหนังสือสาคัญสาหรับทหี่ ลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ขอ้ ๒๙
(๔) คาพิพากษาศาลฎีกา ที่ ๓๗๖๐/๒๕๔๕
(๕) คาพิพากษาฎกี าท่ี ๔๑๒๙/๒๕๔๐

๓) ความเห็นกรมที่ดนิ
3.1 กรมท่ีดินพจิ ารณาแล้วมีความเหน็ ดงั น้ี
(๑) ที่ดนิ โฉนดเลขที่ ๔๒๘ ตาบลโพรงอากาศ อาเภอบางน้าเปรี้ยว จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

เน้ือที่ ๘๐ ไร่ ๑ งาน – ตารางวา ซึ่งโรงเรียนบางน้าเปรี้ยววิทยาอ้างว่า นางสาวพรรณวดี เลาหวานิช อุทิศ
ด้วยวาจาให้เป็นที่ตั้งโรงเรียน เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๒ มีช่ือนางสาวพรรณวดี เลาหวานิช ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกับ
นางสาวกิมกี แซ่เล้า ดังน้นั นางสาวพรรณวดีฯ จึงมิใช่ผถู้ ือกรรมสิทธ์ิในทดี่ ินแต่ผูเ้ ดียว ทั้งปรากฏตามสารบัญ
การจดทะเบียนหลังจาก พ.ศ. ๒๕๐๒ นางสาวพรรณวดีฯ ยังได้นาโฉนดท่ีดินเลขท่ี ๔๒๘ ไปดาเนินการ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ได้แก่ กรรมสิทธ์ิรวม, แบ่งกรรมสิทธ์ิรวม, แบ่งหักเป็นทางสาธารณะ
และการจานอง, ข้ึนเงินจานอง, ไถ่ถอนจานอง อีกหลายรายการเรื่อยมาจนถึงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๓๖
จึงได้จดทะเบียนโอนมรดกเฉพาะส่วนของนางสาวกิมกีฯ ให้แก่นางสาวพรรณวดีฯ มีผลให้นางสาวพรรณวดีฯ
มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิในท่ีดินแต่ผู้เดียว ซึ่งขณะน้ันที่ดินแปลงนี้คงเหลือเนื้อท่ีเพียง ๑๑ ไร่ ๓ งาน ๕๒ ตารางวา
อย่างไรก็ตามนางสาวพรรณวดีฯ ยังคงใช้สิทธิแสดงความเจ้าของ โดยนาท่ีดินแปลงน้ีไปจดทะเบียนจานองและไถ่
ถอนจานองเร่ือยมาจนถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ กรณีจึงไม่อาจฟังเป็นที่ยุติได้ว่าที่ดินแปลงดังกล่าว
ตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตามที่มีการกล่าวอ้างหรือไม่ แม้ท่ีดินแปลงดังกล่าวจะอ้างว่าได้ข้ึนทะเบียน
เป็นท่ีราชพัสดุแล้วก็ตาม แต่หากเป็นการข้ึนทะเบียนท่ีราชพัสดุโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว ท่ีดินดังกล่าว
ย่อมไม่ใช่ท่ีราชพัสดุ (คาพิพากษาฎีกา ท่ี ๓๗๖๐/๒๕๔๕) ศาลมีอานาจส่ังเพิกถอนท่ีดินออกจากทะเบียน
ทร่ี าชพสั ดุได้ (คาพิพากษาฎกี า ท่ี ๔๑๒๙/๒๕๔๐)

(๒) กรณีที่ศาลล้มละลายได้มีคาส่ังพิทักษ์ทรัพย์ของนางสาวพรรณวดีฯ ซึ่งรวมถึง
ท่ดี ินแปลงน้ไี ว้แล้ว หากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานเห็นว่า ที่ดินแปลงนี้เป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินหรือที่ราชพัสดุ ก็ควรต้องไปพิสูจน์ในชั้นศาลและขอให้ศาลล้มละลายมีคาสั่งปล่อยทรัพย์ออกมา
เพราะไม่ใช่ทรัพย์ของนางสาวพรรณวดีฯ ผู้ล้มละลาย มิฉะน้ันจะกลายเป็นว่ากรมท่ีดิน ไปดาเนินการ
ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในที่ดินของผู้ล้มละลายตามคาสั่งของศาลที่ยึดไว้แล้ว และยังมีช่ือผู้ล้มละลาย
เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์อยู่ แต่อย่างไรก็ดีหากข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติในชั้นศาลได้ว่าท่ีดินแปลงดังกล่าวตกเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ไม่ใช่ของผู้ล้มละลายแล้ว การท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ขอให้จดแจ้งในโฉนดท่ีดินเลขที่ ๔๒๘ ฉบับสานักงานที่ดิน ว่าเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้อุทิศเป็นท่ีสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินและได้ขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุ และออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง โดยระบุเลขที่ ลงวันที่
ไว้ด้วยน้ัน ตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ ข้อ ๒๙ กาหนด
เพียงว่า “เมื่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ไปแล้วจะเรียกโฉนดเดิมมาหมายเหตุ
ด้วยตัวอกั ษรสีแดงว่าท่ีดินแปลงน้ีไดอ้ อกหนังสือสาคญั สาหรับท่ีหลวงให้ไปแล้วตามหนังสอื สาคัญสาหรบั ท่ีหลวง
เลขท.ี่ ..” แล้วให้เจ้าพนักงานท่ดี ินลงช่ือและวนั เดือน ปี กากับไว้เป็นหลักฐานแล้วเกบ็ เข้าสารบบของทีด่ ินแปลงนั้น
สาหรับโฉนดของสานักงานท่ีดินให้ตัดออกจากเล่มและดาเนินการเช่นเดียวกัน ดังน้ัน พนักงานเจ้าหน้าที่

คูม่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 166
คมู่ ือสนบั สนุนการคุม้ ครองทดี่ นิ ของรฐั 169

จึงมีอานาจดาเนินการหมายเหตุได้ ต่อเมื่อโฉนดท่ีดินน้ันมีชื่อของหน่วยราชการเป็นเจ้าของและมีการ
ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงแล้วเท่าน้ัน ขอให้สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ไปดาเนิน
กระบวนการทางศาลให้เป็นท่ียุติต่อไป (หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๕๑๑.๔/๘๐๗ ลงวันที่ ๑๓ มกราคม
๒๕๕๗ แจง้ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน)

3.๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีหนังสือ ที่ ศธ ๐๔๐๐๙/๔๒๕ ลงวนั ที่ ๒๖
พฤษภาคม ๒๕๕๘ แจ้งความเห็นของพนักงานอัยการ สานักงานคดีแรงงานภาค ๒ ผู้รับผิดชอบคดีว่า
ท่ีดินดังกล่าวตกเป็นที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ประเภททรัพย์สินที่ใชเ้ พื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๓) เป็นกรรมสิทธ์ิของกระทรวงการคลัง โดยผลของ
พระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔ ไม่จาเป็นต้องขอให้ศาลมีคาสั่งแสดงกรรมสิทธ์ิ อีกทั้ง
ไม่มีกฎหมายให้อานาจฟ้องบังคับให้ผู้มีช่ือถือกรรมสิทธิ์ที่ดินในโฉนดโอนที่ดินให้แก่ผู้รับยกให้ได้ ข้อเท็จจริง
ท่ีปรากฏก็ไม่มีผู้ใดโต้แย้งว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของพ้ืนท่ีท่ีตั้งโรงเรียนบางน้าเปร้ียววิทยาเป็นพื้นที่นอกเขต
ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน กรณีจึงไม่มีเหตุจาเป็นท่ีจะต้องใช้สิทธิทางศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา ๕๕ จึงไม่รับดาเนินคดี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเห็นฟ้องกันความเห็น
สานกั งานอยั การผู้รบั ผดิ ชอบคดดี ังกล่าว

๓.๓ กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า เม่ือข้อเท็จจริงปรากฏว่าธนารักษ์พ้ืนที่ฉะเชิงเทรา
ได้นาท่ีดินตามโฉนดเลขที่ ๔๒๘ ข้ึนทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียนท่ี ฉช ๑๐๐
ตาบลโพรงอากาศ อาเภอบางน้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อใช้เป็นที่ตั้งโรงเรียนบางน้าเปรี้ยววิทยา
ประกอบกับพนักงานอัยการ สานักงานคดีแรงงานภาค ๒ ผู้รับผิดชอบคดี มีความเห็นว่าที่ดินดังกล่าวตกเป็น
ทสี่ าธารณสมบัตขิ องแผ่นดินสาหรับทรัพย์สินที่ใช้เพอ่ื ประโยชนข์ องแผ่นดินโดยเฉพาะ ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๔ (๓) เป็นกรรมสิทธ์ิของกระทรวงการคลังโดยผลของพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔ ไม่จาเป็นต้องขอให้ศาลมีคาส่ังแสดงกรรมสิทธ์ิ อีกท้ังไม่มีกฎหมายให้อานาจฟ้องบังคับ
ให้ผู้มีช่ือถือกรรมสิทธ์ิที่ดินในโฉนดโอนที่ดินให้แก่ผู้รับยกให้ได้ ข้อเท็จจริงท่ีปรากฏก็ไม่มีผู้ใดโต้แย้งว่าส่วนหนึ่ง
ส่วนใดของพ้ืนท่ีท่ีตั้งโรงเรียนบางน้าเปรี้ยววิทยาเป็นพ้ืนที่นอกเขตสาธารณสมบัติของแผ่นดิน กรณีน้ีจึงไม่มี
เหตุจาเป็นท่ีจะต้องใช้สิทธิทางศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๕๕ แต่เน่ืองจาก
การที่จะพิจารณาว่าที่ดินแปลงใดเป็นที่ราชพัสดุหรือไม่ เป็นไปตามพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘
ซ่ึงกาหนดให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิ กระทรวงการคลังจึงเป็นหน่วยงานท่ีมีอานาจหน้าท่ี
ในการพิจารณาความเป็นท่ีราชพัสดุตามกฎหมาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในฐานะ
ผู้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินจึงชอบท่ีจะประสานงานกับกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง (ธนารักษ์พื้นท่ี) เพื่อพิจารณา
สถานะของท่ีดิน ว่าท่ีดินดังกล่าวเป็นที่ราชพัสดุหรือไม่ อย่างไร หากพิจารณาแล้วเห็นว่าท่ีดินดังกล่าวเป็น
ที่ราชพัสดุสามารถยื่นคาขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ณ สานักงานท่ีดินท้องท่ีที่ที่ดินตั้งอยู่ได้
ตามมาตรา ๘ ตรี แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน โดยอาศัยหลักฐานการข้ึนทะเบียนดังกล่าว โดยถือปฏิบัติตาม
ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ. ๒๕๑๗ หากมีผู้โต้แย้งคัดค้านก็สามารถ
ดาเนินการได้โดยถือปฏบิ ัตติ ามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบญั ญัติใหใ้ ช้
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗

(หนงั สือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๕๑๑.๔/๓๕๒ ลงวนั ที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑)

170 คู่มอื สนบั สนนุ การคุม้ ครองท่ดี นิ ของรัฐ คมู่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ีดินของรฐั 167

3.2๑ ประเด็นปญั หา การพิจารณาอทุ ธรณค์ าสัง่ ทางปกครอง
๑) ขอ้ เทจ็ จรงิ
จังหวัดสุรินทรไ์ ด้ส่งเรื่องให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยเพื่อพิจารณาอุทธรณ์ กรณีเจ้าพนักงานที่ดิน

จังหวัดสุรินทร์ ปฏิบตั ริ าชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ แจ้งผลการตรวจสอบโฉนดทดี่ ินและหนังสือรับรอง
การทาประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) ของผู้คัดค้านการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงที่สาธารณประโยชน์
แปลง “ป่าโคกสาโรง” ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๒, ๘ (๑, ๒, ๓, ๔) ตาบลเพ้ียราม อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
จานวน ๑๑ ราย ๑๙ แปลง ว่าเอกสารสิทธิของผู้คัดค้านออกโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เน่ืองจากออกทับท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ดังกล่าว ผู้คัดคา้ นจงึ ได้อุทธรณค์ าส่ังดังกล่าวตอ่ เจ้าพนกั งานทดี่ ินจังหวัดสุรนิ ทร์ ซ่ึงจังหวัด
พิจารณาอุทธรณแ์ ลว้ ฟังไม่ขึ้น

๒) ข้อกฎหมาย/ระเบยี บ/หนงั สอื เวยี น
(๑) มาตรา ๘ ตรี และมาตรา ๖๑ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดนิ
(๒) กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล

กฎหมายท่ดี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
(๓) คาส่ังกรมที่ดิน ท่ี ๒๑๘๕/๒๕๔๖ ลงวันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ เรื่อง มอบอานาจของ

อธบิ ดีกรมทด่ี ินให้ผู้ว่าราชการจังหวดั แบบบรู ณาการปฏบิ ตั ิราชการแทน
(๔) พระราชบญั ญตั ิวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
(๕) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ

ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
๓) ความเห็นกรมทด่ี นิ
การที่จังหวัดมีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบสิทธิในท่ีดินและแจ้งผลการตรวจสอบ

ให้ผู้คัดค้านการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ท่ีสาธารณประโยชน์แปลง “ป่าโคกสาโรง” ทราบ นั้น
เป็นกระบวนการพิจารณาดาเนินการตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖) แก้ไขเพิ่มเติม โดยกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔๕ (พ.ศ.๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๒ (๒)
และกรมท่ีดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๗๑๘/ว ๒๙๕๒๘ ลงวันท่ี ๒๒ กันยายน ๒๕๔๐ ซ้อมความเข้าใจ
และวางแนวทางให้เจ้าหน้าท่ีถือปฏิบัติว่า หากตรวจสอบแล้วข้อเท็จจริงปรากฏว่า เอกสารสิทธิดังกล่าว
ออกไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย จะต้องดาเนินการเพิกถอนตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
เน่ืองจากที่ดินแปลงเดียวจะมีเอกสารสาคัญสาหรับท่ีดิน ๒ ประเภท ซ้อนกันอยู่ในคราวเดียวกันไม่ได้จึงต้อง
ทาการเพิกถอนหลักฐานแสดงสิทธิในท่ีดินท่ีออกไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายก่อน แล้วจึงออกหนังสือสาคัญ
สาหรบั ที่หลวง ดงั น้ัน การแจ้งผลการพิจารณาดังกล่าวเป็นเพียงการดาเนินการตามระเบียบกฎหมาย เป็นวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครองในการเตรียมการเพ่ือจัดให้มีคาส่ังทางปกครอง ได้แก่ คาสั่งออกหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวง ตามนัยมาตรา ๘ ตรี แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และคาส่ังเพิกถอนเอกสารสิทธิท่ีออกโดย
ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ตามนยั มาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน จึงไม่มีผลเป็นคาสัง่ ทางปกครองตามมาตรา ๕
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และไม่เกิดสิทธิในการอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
ตามนัยมาตรา ๔๔ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แก่ผู้คัดค้านแต่อย่างใด
เมื่อการดาเนินการของเจ้าหน้าท่ีเป็นเพียงการเตรียมการและการดาเนินการเพื่อจัดให้มีคาส่ังทางปกครอง
จงึ ไมม่ ีกรณีท่จี ะตอ้ งพจิ ารณาอทุ ธรณ์คาส่ังตามพระราชบัญญัตวิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

(หนงั สอื กรมทดี่ นิ ดว่ นมาก ที่ มท ๐๕๑๑.๔/๒๒๙๗๙ ลงวนั ที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๕๕๙)

คู่มือสนบั สนค่มู นุ อื กสานรบั คสน้มุ นุ คกราอรคงุม้ ทค่ีดรอินงขท่ีดอินงขรอัฐงรฐั 116781

บรรณานกุ รม

กรมที่ดนิ . คู่มือการปฏิบัติงานเก่ียวกับการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดนิ . กรงุ เทพมหานคร : กรมทด่ี ิน, 2550

กรมท่ดี นิ . โครงการจดั ทีด่ ินของรัฐ ขจดั ความยากจน.
กรุงเทพมหานคร : กรมทด่ี นิ , 2555

กรมที่ดนิ . สานักจัดการท่ีดินของรัฐและกองฝึกอบรม คู่มือการปฏิบัติงานเก่ียวกับการรังวัดเพ่ือออก
หนงั สอื สาคญั สาหรบั ท่หี ลวง. กรุงเทพมหานคร : กรมทด่ี ิน, 2560

สานักงานปลดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม (สานักงานแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ดี นิ ของรฐั ).
แนวทางและวิธกี ารดาเนินการแก้ไขปญั หาการบุกรุกท่ดี ินของรัฐ. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์
สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2549

ภาสกร ชุณอุไร. คาอธบิ ายประมวลกฎหมายที่ดนิ .
กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พ์นติ ิบรรณการ, 2536

บุญแสง พละศกึ . การดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกนั ท่ีดนิ อนั เปน็ สาธารณสมบตั ิของแผ่นดนิ .
กรงุ เทพมหานคร : กรมทีด่ นิ , 2529

มานติ ย์ จุมปา. คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าดว้ ยทรัพยส์ ิน พ.ศ. 2548.
กรุงเทพมหานคร : สานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2548

ศาสตราจารย์บัญญัติ สุชวี ะ. คาอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยทรพั ย์ พ.ศ. 2515.
กรุงเทพมหานคร : 2515.

ศิริ เกวลินสฤษด์ิ. คาอธิบายประมวลกฎหมายทีด่ นิ .
กรุงเทพมหานคร : บริษทั บพธิ การพิมพ์ จากดั , 2531

แสวง ปานทอง. การดูแลรักษาและคุม้ ครองป้องกันทด่ี ินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน.
กรงุ เทพมหานคร : กรมทดี่ นิ , 2529

ศาลฎกี า. (2562). http://www.supremecourt.or.th
ศาลปกครอง. (2562). http://www.admincourt.go.th
สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2562). http://www.krisdika.go.th

172 คู่มือสนับสนุนการค้มุ ครองท่ดี นิ ของรฐั คู่มอื สนบั สนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 169

ภาคผนวก

1. ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8, 8 ทว,ิ 8 ตร,ี 9, 9/1, 10,
11, 12, 108, 108 ทวิ,

2. กฎกระทรวงฉบับท่ี 26 (พ.ศ. 2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ทด่ี นิ พ.ศ. 2497

3. กฎกระทรวงฉบับท่ี 45 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน พ.ศ. 2497

4. ระเบยี บของคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515) วา่ ด้วยวธิ ีปฏิบตั ิในการแจ้ง
และออกคาส่ังแก่ผู้ฝ่าฝืนมาตรา 9 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบบั ที่ 96 ลงวันที่ 29 กมุ ภาพันธ์ พทุ ธศกั ราช 2515 ใช้บงั คับ

5. ระเบยี บกรมท่ดี ิน ว่าด้วยการออกหนงั สอื สาคญั สาหรับทีห่ ลวง พ.ศ. 2517
6. ระเบยี บกรมท่ดี นิ วา่ ดว้ ยการเพกิ ถอนหรือแก้ไขหนงั สือสาคัญสาหรับท่หี ลวง พ.ศ. 2529
7. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ชว่ ยเหลือในการดาเนินการออกหนังสือสาคญั สาหรับท่ีหลวง พ.ศ. 2543
8. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการสอบสวนเก่ียวกับการบุกรุกที่ หรือทางสาธารณประโยชน์

พ.ศ. 2539
9. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็น

สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดนิ สาหรบั พลเมอื งใชป้ ระโยชนร์ ่วมกัน พ.ศ. 2553
10.ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี วา่ ด้วยการแกไ้ ขปญั หาการบกุ รุกทดี่ ินของรฐั พ.ศ. 2545
11.คาสั่งคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกทีด่ ินของรัฐ ท่ี 1/2553 เรอื่ ง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ

แกไ้ ขปัญหาการบุกรุกทด่ี ินของรฐั จงั หวัดทุกจังหวัด
12.คาส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๑๕๘/๒๕๐๑ เรื่อง ระเบียบปฏิบัติในการรังวัดทาแผนท่ีและการ

ระวังแนวเขตท่ีดิน อนั เป็นสาธารณสมบตั ิของแผ่นดินสาหรบั พลเมืองใชร้ ว่ มกันซึ่งเกิดข้ึนโดยสภาพ
13.คาส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี 109/2538 เร่ือง แต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าที่ตามความในมาตรา 9

แห่งประมวลกฎหมายทีด่ ิน
14.คาสง่ั กระทรวงมหาดไทย ท่ี 505/2552 เรื่อง มอบหมายให้ทบวงการเมืองอ่ืนทีม่ อี านาจหนา้ ที่

ดูแลรักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือทรัพย์สิน
ของแผ่นดนิ ที่ไม่มกี ฎหมายกาหนดไว้เป็นอยา่ งอน่ื
15. หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0604/ว 197 ลงวนั ที่ 18 เมษายน 2510 เรอื่ ง การดูแล
รักษาและดาเนินการคุ้มครองป้องกันท่ีดินอนั เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดนิ

คูม่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 170
ค่มู ือสนับสนุนการคุ้มครองที่ดนิ ของรัฐ 173

16.หนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0409/ว 1394 ลงวันท่ี 25 ตุลาคม 2528 เร่ือง กาหนด
มาตรการป้องกนั การบกุ รกุ ทด่ี นิ สาธารณประโยชน์

17.หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๖๐๖/ว ๓๐๗๔๓ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ เรื่อง การรังวัด
ตรวจสอบทสี่ าธารณประโยชน์ท่ีไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง

18.หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๗๑๘/ว ๒๙๕๒๘ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๐ เร่ือง ซ้อมความ
เข้าใจเกี่ยวกับทางปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๕ (พ.ศ.๒๕๓๗) ออกตามความใน
พระราชบญั ญตั ิใหใ้ ช้ประมวลกฎหมายทด่ี นิ พ.ศ.๒๔๙๗

19.หนังสือกรมท่ดี ิน ที่ มท 0719/ว 39814 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2540 เรือ่ ง การออกหนังสือ
แสดงสทิ ธใิ นท่ีดินในเขตทดี่ ินของรฐั

20.หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๗๒๖/ว ๐๗๒๘๒ ลงวันที่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๔๔ เรื่อง ซอ้ มความเข้าใจ
การรังวัดตรวจสอบทสี่ าธารณประโยชนท์ ่ีไมม่ หี นงั สือสาคัญสาหรับทหี่ ลวง

21.หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ท่ี มท 0511.4/ว 2434 ลงวนั ท่ี 21 กรกฎาคม 2546
เรอื่ ง การแก้ไขปัญหาการบุกรุกทด่ี นิ ของรฐั

22.หนังสือกรมทดี่ ิน ที่ มท 0511.4/ว 7182 ลงวนั ท่ี 16 มนี าคม 2552 เร่ือง การออกหนังสือ
สาคัญสาหรบั ทหี่ ลวงในที่ดินอนั เปน็ สาธารณสมบัติของแผน่ ดนิ สาหรบั พลเมืองใชร้ ว่ มกนั

23. แบบตรวจสอบเรอ่ื งร้องเรียนเกีย่ วกบั ท่สี าธารณประโยชน/์ ทีร่ าชพสั ดุ
24. บันทึกรายงานผลการสารวจแนวเขตที่ดินสาธารณประโยชน์ “ทุ่งเขาพระ” อาเภอหนองบัว

จงั หวัดนครสวรรค์
(ตามคาส่ังสานักนายกรัฐมนตรี ที่ 20/2526 ลงวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2526 และคาสั่งที่
105/2526 ลงวันท่ี 10 มิถุนายน 2526)

174 คู่มือสนบั สนนุ การคุ้มครองท่ดี นิ ของรัฐ คมู่ ือสนบั สนุนการคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 171

ประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา ๘ บรรดาที่ดินท้ังหลายอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือเป็นทรัพย์สินของ
แผน่ ดนิ นน้ั ถา้ ไม่มกี ฎหมายกาหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอืน่ ให้อธิบดีมีอานาจหน้าทด่ี แู ลรกั ษา และดาเนินการคุ้มครอง
ป้องกนั ไวต้ ามควรแกก่ รณี อานาจหนา้ ทด่ี ังวา่ นี้ รัฐมนตรจี ะมอบหมายใหท้ บวงการเมืองอ่ืนเป็นผู้ใชก้ ็ได้
ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันหรือใช้เพื่อประโยชน์ของ
แผ่นดินโดยเฉพาะ หรือเป็นท่ีดินท่ีได้หวงห้ามหรือสงวนไว้ตามความต้องการของทบวงการเมืองอาจถูกถอน
สภาพ หรือโอนไปเพอ่ื ใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งอนื่ หรือนาไปจัดเพื่อประชาชน ได้ในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ที่ดินสาหรบั พลเมืองใช้ร่วมกัน ถ้าทบวงการเมือง รัฐวสิ าหกจิ หรือเอกชนจัดหาท่ีดินมาให้
พลเมืองใช้ร่วมกันแทนแล้ว การถอนสภาพหรือโอนให้กระทาโดยพระราชบัญญัติ แต่ถ้าพลเมืองได้เลิกใช้
ประโยชน์ในที่ดินนั้น หรือที่ดินนั้นได้เปลี่ยนสภาพไปจากการเป็นที่ดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และมิได้ตก
ไปเป็นกรรมสิทธิข์ องผูใ้ ดตามอานาจกฎหมายอน่ื แลว้ การถอนสภาพให้กระทาโดยพระราชกฤษฎกี า
(๒) ทด่ี นิ ที่ใชเ้ พ่ือประโยชน์ของแผน่ ดินโดยเฉพาะหรอื ทีด่ นิ ที่ไดห้ วงห้ามหรือสงวนไว้ตามความ
ต้องการของทบวงการเมืองใด ถ้าทบวงการเมืองนั้นเลิกใช้ หรือไม่ต้องการหวงห้ามหรือสงวนต่อไป เม่ือได้มี
พระราชกฤษฎีกาถอนสภาพแล้ว คณะรัฐมนตรีจะมอบหมายให้ทบวงการเมืองซ่ึงมีหน้าท่ีเป็นผู้ใช้หรือจัดหา
ประโยชน์ก็ได้ แต่ถ้าจะโอนต่อไปยังเอกชน ให้กระทาโดยพระราชบัญญัติ และถา้ จะนาไปจัดเพื่อประชาชนตาม
ประมวลกฎหมายนีห้ รือกฎหมายอ่ืน ให้กระทาโดยพระราชกฤษฎีกา
การตราพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง ให้มีแผนท่ีแสดงเขตที่ดิน
แนบท้ายพระราชบัญญตั หิ รอื พระราชกฤษฎีกานน้ั ด้วย
(ความเดิมถูกยกเลิกและให้ใช้ความท่ีพิมพ์ไว้แทนโดยข้อ ๑ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบบั ที่ ๓๓๔ (พ.ศ. ๒๕๑๕))
มาตรา ๘ ทวิ ท่ีดินของรัฐซ่ึงมิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง หรือที่ดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
ซึ่งได้ถอนสภาพตามมาตรา ๘ (๑) แล้ว รัฐมนตรีมีอานาจท่ีจะจัดข้ึนทะเบียนเพื่อให้ทบวงการเมือง
ใช้ประโยชน์ในราชการได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง๑ .ก่อนท่ีจะจัดข้ึนทะเบียนตาม
วรรคหนง่ึ ใหม้ ีการรังวัดทาแผนที่ และให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัดท้องทปี่ ระกาศการจดั ขึ้นทะเบยี นให้ราษฎรทราบ
มีกาหนดสามสิบวัน ประกาศให้ปิดในที่เปิดเผย ณ สานักงานท่ีดิน ที่ว่าการอาเภอหรือท่ีว่าการก่ิงอาเภอ
ท่ที าการกานนั และในบรเิ วณท่ีดนิ นั้น
การจัดข้ึนทะเบียนตามวรรคหน่ึง ให้รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา และให้มีแผนท่ี
แนบทา้ ยประกาศด้วย
(มาตรา ๘ ทวิ เพ่ิมเตมิ โดยขอ้ ๒ แหง่ ประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบับที่ ๓๓๔ (พ.ศ. ๒๕๑๕))
มาตรา ๘ ตรี ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หรือใช้เพ่ือ
ประโยชน์ของแผน่ ดนิ โดยเฉพาะ อธิบดอี าจจัดให้มีหนังสอื สาคัญสาหรับทีห่ ลวงเพอื่ แสดงเขตไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน
แบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการออกหนงั สือสาคัญสาหรับทีห่ ลวง ให้เปน็ ไปตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง
ที่ดินตามวรรคหน่ึงแปลงใดยงั ไมม่ ีหนังสอื สาคัญสาหรบั ที่หลวง เขตของท่ดี ินดังกล่าวให้เปน็ ไป
ตามหลกั ฐานของทางราชการ
(มาตรา ๘ ตรี เพิ่มเติมโดยข้อ ๒ แห่งประกาศคณะปฏวิ ัติ ฉบับที่ ๓๓๔ (พ.ศ. ๒๕๑๕))

คูม่ อื สนับสนคู่มุนอื กสานรับคสนุ้มุนคกราอรคงมุ้ ทค่ดีรอนิ งขที่ดอินงขรอัฐงรฐั 117725

มาตรา ๙ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการเหมืองแร่และการป่าไม้ ที่ดินของรัฐน้ัน ถ้ามิได้มี
สิทธิครอบครอง หรือมไิ ดร้ บั อนญุ าตจากพนักงานเจา้ หน้าทแ่ี ลว้ ห้ามมิใหบ้ คุ คลใด

(๑) เขา้ ไปยดึ ถอื ครอบครอง รวมตลอดถึงการก่นสร้าง หรือ เผาป่า
(๒) ทาด้วยประการใด ให้เป็นการทาลาย หรือทาให้เส่ือมสภาพที่ดิน ที่หิน ที่กรวดหรือ
ทท่ี ราย ในบริเวณที่รฐั มนตรีประกาศหวงหา้ มในราชกิจจานเุ บกษา หรอื
(๓) ทาส่ิงหนึ่งส่ิงใดอนั เป็นอันตรายแกท่ รัพยากรในทด่ี นิ
มาตรา ๙/๑ ให้ผู้รับอนุญาตตาม มาตรา ๙ ต้องเสียค่าตอบแทนเป็น รายปีให้แก่เทศบาล
องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่น ที่มีกฎหมาย
จัดต้ังที่ดินท่ีได้รับอนุญาตต้ังอยู่ ยกเว้น องค์การบริหารส่วนจังหวัด ทั้งน้ี ตามวิธีการและอัตราที่กาหนดใน
ขอ้ บัญญตั ทิ อ้ งถ่ินนัน้ แต่ต้องไม่เกินอตั ราตามบญั ชีท้ายประมวลกฎหมายนี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดแบ่งค่าตอบแทนที่ได้รับตามวรรคหนึ่งให้แก่องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดเป็นอัตราร้อยละส่ีสิบของค่าตอบแทนท่ีได้รับภายในกาหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ
เพ่ือเป็นรายได้ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด และให้ค่าตอบแทนส่วนท่ีเหลือตกเป็นรายได้ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีที่ดินท่ีได้รับอนุญาตต้ังอยู่ ในกรณีท่ีที่ดินดังกล่าวไม่ได้ต้ังอยู่ในเขตขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวดั ใหค้ า่ ตอบแทนทไี่ ดร้ บั ตามวรรคหนึง่ ตกเป็นรายไดข้ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นน้ันท้ังหมด
(มาตรา ๙/๑ แก้ไขตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายท่ีดิน
(ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑)
มาตรา ๑๐ ท่ีดินของรัฐที่มิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครองและมิใช่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
อันราษฎรใช้ประโยชน์ร่วมกันน้ัน ให้อธิบดีมีอานาจจัดหาผลประโยชน์ ในการจัดหาผลประโยชน์ให้รวมถึง
จดั ทาให้ที่ดนิ ใช้ประโยชน์ได้ ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้เชา่ และใหเ้ ช่าซื้อ
หลักเกณฑ์และวิธีการจัดหาผลประโยชน์ ให้กาหนดโดยกฎกระทรวง แต่สาหรับการขาย
การแลกเปล่ียน และการให้เชา่ ซื้อทดี่ ินตอ้ งได้รบั อนุมตั ิจากรัฐมนตรี
การดาเนินการจัดหาผลประโยชน์ตามความใน มาตรานี้ ให้คานึงถึง การท่ีจะสงวนท่ีดินไว้ให้
อนุชนรุ่นหลังดว้ ย
มาตรา ๑๑ การจัดหาผลประโยชน์ซ่งึ ท่ดี ินของรัฐ ตามนัยดงั กลา่ ว มาในมาตราก่อนน้ี รัฐมนตรี
จะมอบหมายให้ทบวงการเมืองอื่นเป็นผู้จัดหาผลประโยชน์สาหรับรัฐ หรือบารุงท้องถิ่นก็ได้ ทั้งน้ี ให้เป็นไป
ตามหลกั เกณฑ์ และวิธกี ารท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๒ ที่ดินของรัฐซึ่งมิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง รัฐมนตรีมีอานาจให้สัมปทาน
ให้ หรอื ใหใ้ ช้ในระยะเวลาอันจากดั ทงั้ น้ีให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการทกี่ าหนดในกฎกระทรวง
บทบญั ญตั ิในมาตรานีไ้ ม่กระทบกระเทือนถึงกฎหมายวา่ ดว้ ยการเหมืองแรแ่ ละการป่าไม้
มาตรา ๑๐๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๙ อยู่ก่อนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับน้ีใช้บังคับ๓
พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจากพนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติ
ตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกาหนด๔ ถ้าผู้ฝ่าฝืนเพิกเฉยหรือไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบ ให้พนักงาน

176 คมู่ อื สนบั สนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั คู่มือสนับสนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั 173

เจ้าหน้าทมี่ ีคาสั่งเปน็ หนงั สือให้ผูฝ้ ่าฝืนออกจากที่ดินและหรอื รอื้ ถอนสง่ิ ปลูกสร้างในท่ีดินนัน้ ภายในระยะเวลา
ท่ีกาหนด ถ้าไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของพนักงานเจ้าหน้าท่ี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกิน
หา้ พันบาท หรือทัง้ จาท้ังปรบั

ในการกาหนดระเบียบตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการจะกาหนดให้ผู้ฝา่ ฝืนต้องเสียค่าตอบแทน
ในการใช้ทด่ี ินนั้นใหแ้ ก่รัฐหรอื ราชการบรหิ ารสว่ นทอ้ งถ่ินด้วยก็ได้

(ความเดิมถูกยกเลิก และให้ใช้ความที่พิมพ์ไว้แทนโดยข้อ ๑๑ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบบั ท่ี ๙๖ (พ.ศ. ๒๕๑๕))

มาตรา ๑๐๘ ทวิ นับตั้งแต่วันท่ีประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ใช้บังคับ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๙
ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหนึง่ ปหี รือปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พันบาท หรือทง้ั จาทงั้ ปรบั

ถ้าความผิดตามวรรคห นึ่ งได้กระท าแก่ท่ี ดิน ซ่ึงเป็ น สาธ ารณ สมบั ติของแผ่นดิน
ที่ประชาชนใช้ร่วมกัน หรือท่ีใช้เพื่ อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
สามปหี รือปรบั ไมเ่ กินหนงึ่ หมืน่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ

ถ้าความผิดตามวรรคสองได้กระทาเป็นเนือ้ ทีเ่ กินกวา่ หา้ สบิ ไร่ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหา้ ปี
หรอื ปรับไมเ่ กินสองหมืน่ บาทหรอื ทง้ั จาทง้ั ปรบั

ในกรณีที่คาพิพากษาว่าผู้ใดกระทาความผิดตามมาตราน้ี ศาลมีอานาจส่ังในคาพิพากษา
ให้ผู้กระทาความผิด คนงาน ผรู้ ับจ้าง ผู้แทน และบริวารของผูก้ ระทาความผิดออกไปจากท่ีดินนน้ั ดว้ ย

บรรดาเคร่ืองมือ เครื่องใช้ สัตว์พาหนะ ยานพาหนะ หรือเคร่ืองจักรกลใด ๆ ซึ่งบุคคลได้ใช้
ในการกระทาความผิด หรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทาความผิดดังกล่าวให้ริบเสียทั้งสิ้น
ไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคาพพิ ากษาหรือไม่

คู่มือสนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 177

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖)
ออกตามความในพระราชบัญญัตใิ ห้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน

พ.ศ. ๒๔๙๗
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ แหง่ พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
และมาตรา ๘ ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๓๓๔
ลงวนั ที่ ๑๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑5 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ดงั ต่อไปนี้
ข้อ ๑. ทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
สาหรบั พลเมอื งใช้รว่ มกันหรอื ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ประสงค์จะให้มีหนังสือสาคัญสาหรับท่หี ลวง
สาหรบั ท่ีดนิ แปลงใด ให้แสดงความประสงค์ต่ออธิบดี
ขอ้ ๒.๑ เมื่อได้รับคาขอตามข้อ ๑ ให้อธิบดีจัดให้มกี ารสอบสวนและรังวดั ทาแผนท่ีตามวิธกี าร
รังวัดเพื่อออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดนิ และประกาศการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ประชาชนทราบ
มีกาหนดสามสบิ วัน โดยปิดไว้ในทเ่ี ปิดเผย ณ สานักงานทด่ี นิ จงั หวัด หรือสานกั งานที่ดินสาขาหนง่ึ ฉบับ ณ ที่ว่าการ
อาเภอหรือก่ิงอาเภอท้องท่ีหรือท่ีทาการเขตหน่ึงฉบับ ณ ที่ทาการกานันหนึ่งฉบับ และในบริเวณท่ีดินนั้น
หนึ่งฉบับ สาหรับในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับด้วย ในประกาศดังกล่าวให้มีแผนที่
แสดงแนวเขตที่ดินที่จะออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง และกาหนดระยะเวลาที่ผู้มีส่วนได้เสียจะคัดค้าน
ไว้ด้วย ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วันประกาศ ถ้าไม่มีผู้คัดค้าน ให้ดาเนินการออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่หี ลวงต่อไป
ในกรณีท่ีมผี ู้คัดคา้ น ใหอ้ ธบิ ดีรอการออกหนงั สอื สาคญั สาหรบั ท่หี ลวงไวแ้ ลว้ ดาเนินการ ดงั นี้
(๑) ในกรณี ที่ผู้คัดค้านไม่มีหลักฐานแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ ดิน
และไม่ไปใช้สิทธิทางศาลภายในหกสิบวันนับแต่วันที่คัดค้าน ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้
หากผู้คัดค้านไปใช้สิทธิทางศาลให้รอการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเฉพาะส่วนท่ีคัดค้านจนกว่าจะได้มี
คาพิพากษาถงึ ทีส่ ดุ ของศาลแสดงวา่ ผู้คดั ค้านไม่มีสิทธใิ นท่ีดนิ น้ัน
(๒) ในกรณีที่ผู้คัดค้านมีหลักฐานแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดินให้รอการออก
หนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวงเฉพาะส่วนทคี่ ัดค้านไว้ก่อน และให้ผู้วา่ ราชการจังหวัดตรวจสอบสิทธิในท่ีดินของ
ผู้คัดค้านว่าได้มาโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ถ้าปรากฏว่าได้มาโดยไม่ชอบ ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวงและแจ้งให้ผู้คัดค้านทราบภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ทราบผลการตรวจสอบ และถ้าปรากฏว่า
ได้มาโดยชอบ ใหแ้ จ้งผคู้ ัดคา้ นทราบโดยเร็ว แล้วระงบั การออกหนงั สือสาคญั สาหรับท่หี ลวงเฉพาะส่วนน้ัน
ขอ้ ๓. หนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวงให้ใชแ้ บบ ส.ธ. ๑ ท้ายกฎกระทรวงน้ี
ข้อ ๔. หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ทาขึ้นสามฉบับมอบให้ผู้ดูแลรักษาถือไว้หน่ึงฉบับและ
เก็บไว้ ณ สานักงานที่ดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดินสาขาหนึ่งฉบับและเก็บไว้ ณ กรมที่ดินหน่ึงฉบับ สาหรับ
ฉบับทเ่ี ก็บไว้ ณ สานักงานทด่ี นิ หรือกรมทด่ี ินจะจาลองเปน็ รูปถ่ายก็ได้ และใหถ้ ือเสมือนเป็นต้นฉบับ
________________________________________________________________________

1 ความในข้อ ๒ เดิม ถกู ยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗) และให้ใช้ความท่พี มิ พไ์ วแ้ ทน

178 คูม่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองทด่ี ินของรัฐ คู่มอื สนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 176

ขอ้ ๕. ถ้าหนงั สือสาคัญสาหรบั ทหี่ ลวงชารดุ หรอื สญู หายให้อธบิ ดีออกใบแทนให้
ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๖
(ลงชอ่ื ) จอมพล ป. จารุเสถียร
(ประภาส จารเุ สถียร)
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

(ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๙๐ ตอนที่ ๑๐๖ ลงวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๑๖)

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ เนื่องจากมาตรา ๘ ตรี แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๓๓๔ ลงวันท่ี ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ บัญญัติว่า แบบ หลักเกณฑ์และวิธีการออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ทีห่ ลวง ให้เป็นไปตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงฉบับน้ี

คู่มอื สนับสนนุ การคมุ้ ครองที่ดนิ ของรฐั 177

คู่มือสนับสนุนการค้มุ ครองทด่ี นิ ของรัฐ 179

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๔๕ (พ.ศ. ๒๕๓๗)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ใิ ห้ใชป้ ระมวลกฎหมายทด่ี นิ

พ.ศ. ๒๔๙๗
อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗
และมาตรา ๘ ตรี วรรคสอง แหง่ ประมวลกฎหมายท่ดี นิ ซง่ึ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศของคณะปฏวิ ัติ ฉบับท่ี ๓๓๔
ลงวันที่ ๑๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปน้ี
ให้ยกเลิกความในข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ให้ใชป้ ระมวลกฎหมายท่ดี ิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแี้ ทน
"ข้อ ๒ เมื่อไดร้ บั คาขอตามขอ้ ๑ ให้อธิบดีจดั ให้มกี ารสอบสวนและรังวัดทาแผนท่ีตามวธิ ีการรังวัด
เพื่อออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน และประกาศการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ประชาชนทราบ
มีกาหนดสามสิบวัน โดยปิดไว้ในที่เปิดเผย ณ สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานท่ีดินสาขาหนึ่งฉบับ
ณ ที่ว่าการอาเภอหรือก่ิงอาเภอท้องที่หรือที่ทาการเขตหนึ่งฉบับ ณ ที่ทาการกานันหน่ึงฉบับ และในบริเวณ
ที่ดินนั้นหน่ึงฉบับ สาหรับในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาลอีกหน่ึงฉบับด้วย ในประกาศดงั กล่าว
ให้มีแผนท่ีแสดงแนวเขตที่ดินที่จะออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง และกาหนดระยะเวลาท่ีผู้มีส่วนได้เสีย
จะคัดค้านไว้ด้วย ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วันประกาศ ถ้าไม่มีผู้คัดค้าน ให้ดาเนินการออกหนังสือ
สาคญั สาหรบั ทห่ี ลวงตอ่ ไป

ในกรณีทมี่ ีผ้คู ดั คา้ น ให้อธิบดีรอการออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ท่ีหลวงไวแ้ ลว้ ดาเนนิ การดงั นี้
(๑) ในกรณีท่ีผู้คัดค้านไม่มีหลักฐานแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมายที่ดินและไม่ไปใช้
สิทธิทางศาลภายในหกสิบวันนับแต่วันที่คัดค้าน ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงได้ หากผู้คัดค้านไปใช้
สิทธิทางศาลให้รอการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเฉพาะ ส่วนท่ีคัดค้านจนกว่าจะได้มี
คาพิพากษาถงึ ทีส่ ุดของศาลแสดงว่าผคู้ ดั คา้ นไมม่ สี ิทธใิ นทด่ี นิ นั้น
(๒) ในกรณีท่ีผู้คัดค้านมีหลักฐานแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายท่ีดิน ให้รอการออก
หนงั สอื สาคัญสาหรับทห่ี ลวงเฉพาะสว่ นท่คี ัดคา้ นไว้ก่อน และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตรวจสอบสิทธใิ นท่ีดินของ
ผู้คัดค้านว่าได้มาโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ถ้าปรากฏว่าได้มาโดยไม่ชอบ ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่ีหลวงและแจ้งให้ผู้คัดค้านทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีทราบผลการตรวจสอบ และถ้าปรากฏว่าได้มา
โดยชอบ ให้แจ้งใหผ้ ู้คดั คา้ นทราบโดยเร็ว แลว้ ระงับการออกหนังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวงเฉพาะสว่ นนน้ั "

ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๗
(ลงชอื่ ) พลเอกชวลิต ยงใจยทุ ธ
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

(ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๑๑ ตอนที่ ๕๗ ก ลงวนั ที่ ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๓๗)

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายทีด่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้ไม่เหมาะสม สมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์
และวิธกี ารดงั กลา่ วให้เหมาะสมยิง่ ขึน้ จึงจาเปน็ ตอ้ งออกกฎกระทรวงน้ี

180 คูม่ อื สนบั สนนุ การคมุ้ ครองท่ีดินของรัฐ ค่มู ือสนบั สนุนการค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 177

ระเบียบของคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕)
ว่าด้วยวิธีปฏบิ ัติในการแจง้ และออกคาส่ังแก่ผฝู้ า่ ฝืนมาตรา ๙
แห่งประมวลกฎหมายทดี่ นิ อยกู่ ่อนวนั ที่ประกาศของคณะปฏิวตั ิ

ฉบับที่ ๙๖ ลงวันท่ี ๒๙ กุมภาพนั ธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๕ ใช้บังคับ
____________________

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๐ และมาตรา ๑๐๘ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๙๖ ลงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๕
คณะกรรมการจดั ทด่ี ินแห่งชาติ กาหนดระเบียบไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี

หมวด ๑
บททั่วไป
____________________
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการแจ้งและออกคาสั่งแก่ผู้ฝ่าฝืนมาตรา ๙
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินอยู่ก่อนวันท่ีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๙๖ ลงวันท่ี ๒๙ กุมภาพันธ์
พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ ใช้บังคบั ”๑
ข้อ ๒ ให้ใชร้ ะเบียบน้ตี ัง้ แตว่ ันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ การแจ้งแก่ผู้ฝ่าฝืนมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน อยู่ก่อนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบบั ที่ ๙๖ ลงวนั ท่ี ๒๙ กุมภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ ใชบ้ ังคบั ให้พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ดาเนินการดงั น้ี
(๑) ที่ดินที่สงวนหรือหวงห้ามไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ของทางราชการ เมื่อทบวงการเมืองซ่ึงมีหน้าที่
ดูแลรักษาหรือใช้ประโยชน์ร้องขอ ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าทแ่ี จ้งให้ผู้ฝ่าฝืนทราบเพื่อปฏิบัติการอยา่ งหนึ่งอย่างใด
ดังตอ่ ไปนี้
ก. ให้มาจัดการทาบันทึกไว้เป็นหลักฐานต่อทางราชการภายในเวลาท่ีกาหนด ว่าได้
ครอบครองและทาประโยชน์ในทด่ี นิ เป็นเนื้อทเี่ ท่าใด ตั้งแต่เมอื่ ใดและจะออกไปจากทด่ี ินนน้ั ไดเ้ มื่อใด
ข. ใหม้ าทาความตกลง เพ่อื เสียค่าตอบแทนตามอตั ราและเวลาท่ีทางราชการกาหนดให้
ค. เมื่อมีความจาเป็นอาจส่ังให้ผู้ฝ่าฝืนและบริวารออกไปจากที่ดินหรือร้ือถอนสิ่งปลูก
สรา้ งออกไปจากท่ดี นิ ดว้ ยกไ็ ด้

________________________________________________________________________

๑ ประกาศคณะปฏบิ ตั ิ ฉบบั ที่ ๙๖ ลงวนั ที่ ๒๙ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๕ เรมิ่ ใช้บงั คับต้งั แต่วนั ที่ ๔ มีนาคม ๒๕๑๕

คู่มอื สนบั สนนุ การคุม้ ครองท่ีดินของรฐั 178
ค่มู อื สนับสนุนการค้มุ ครองท่ีดินของรฐั 181

(๒) ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน ให้มีคาสั่ง
ให้ผู้ฝ่าฝืนออกไปจากที่ดิน เว้นแต่กรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็นเป็นพิเศษ และไม่เป็นการกระทาให้เสื่อม
เสียประโยชน์ในการทปี่ ระชาชนจะใชท้ ี่ดินนน้ั จะผ่อนผันให้อยอู่ าศัยหรือใช้ประโยชน์เป็นการชั่วคราวโดยเสีย
คา่ ตอบแทนหรือไม่ก็ได้

(๓) ท่ีดินท่ีทางราชการมีโครงการจะจัดให้ประชาชนเข้าอยู่อาศัยและประกอบอาชีพ ให้แจ้ง
ให้ผฝู้ ่าฝนื ไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าท่ีในการจัดที่ดิน เพ่ือขอรับคาวินิจฉัยเกย่ี วกับสิทธใิ นทีด่ ิน และเพือ่ ปฏิบัติ
ตามระเบยี บ ข้อบังคับ ข้อกาหนด และเงอื่ นไขในการจดั ทด่ี นิ ตามโครงการจดั ทดี่ นิ น้ันต่อไป

(๔) ที่ดินที่มีทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้นว่า ที่หิน ท่ีกรวด หรือท่ีทราย ไม่ว่าที่ดินนั้นรัฐมนตรี
จะได้ประกาศหวงห้ามไวต้ ามมาตรา ๙ (๒) แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี ินแล้วหรือไมก่ ็ตาม ถา้ มีผ้ฝู ่าฝนื เข้าไปทา
ด้วยประการใด ๆ ให้เป็นการทาลายหรือทาให้เสื่อมสภาพหรือเป็นอันตรายแก่ทรัพยากรในที่ดิน ให้แจ้งให้
ผู้บุกรุกระงับการกระทาหรือส่ังให้ออกไปจากที่ดินนั้น และถ้าการกระทาน้ัน ก่อให้เกิดความเสียหายแก่
สาธารณชน ใหผ้ ู้ฝ่าฝืนแกไ้ ขการกระทาน้นั ใหก้ ลบั คนื สูส่ ภาพเดมิ ด้วย

ข้อ ๔. การขอเข้าอยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐเป็นการชั่วคราวให้ดาเนินการตามหมวด ๓
ว่าด้วยการขอเขา้ อยู่อาศัยหรอื ขอใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ของรัฐเป็นการชัว่ คราว

หมวด ๒
การแจ้งและมีคาส่งั ให้ผู้ฝา่ ฝืนออกจากทด่ี ินของรฐั

________________
ข้อ ๕. การแจ้งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายจากพนักงานเจ้าหน้าที่
ใหแ้ จ้งเป็นหนงั สอื มีสาระสาคัญ ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ช่ือและช่ือสกุลของผู้ฝา่ ฝนื
(๒) ตาแหนง่ ที่ดนิ ทีเ่ ขา้ ไปบุกรกุ ยดึ ถือครอบครอง หรือใช้ประโยชน์
(๓) กาหนดวธิ กี าร เง่อื นไข และระยะเวลาที่จะให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติ
ข้อ ๖. การกาหนดระยะเวลาท่ีจะแจ้งให้ผู้ฝ่าฝืนออกจากท่ีดิน หรือรื้อถอนส่ิงปลูกสร้างออกจาก
ทดี่ ินของรฐั ใหพ้ จิ ารณาดังน้ี
(๑) ในกรณีท่ีผู้ฝ่าฝืนได้เข้าบุกรุก ยึดถือครอบครอง ได้ปลูกไม้ล้มลุกหรือธัญชาติไว้ ให้กาหนด
เวลาแจง้ ใหอ้ อกจากทดี่ ินไม่น้อยกวา่ สามสิบวนั หลังจากการเกบ็ เก่ียวพืชผลในท่ดี นิ น้นั เสร็จแลว้
(๒) ในกรณีเป็นการบุกรุกยึดถือครอบครอง ตามข้อ ๓ (๔) ให้แจ้งให้ออกจากที่ดินท่ีบุกรุก
หรือแจง้ ใหร้ ือ้ ถอนสง่ิ ปลกู สร้างโดยเร็ว แต่ต้องไม่นอ้ ยกว่าเจด็ วัน นบั แตว่ นั ได้รบั หนังสือแจง้
(๓) การบุกรุกยึดถือครอบครองในกรณีอื่นนอกจาก (๑) และ (๒) ให้แจ้งให้ออกไปจากที่ดินน้ัน
ภายในกาหนดที่แจ้ง แตต่ ้องไม่น้อยกวา่ เก้าสิบวนั นบั แตว่ นั ที่ได้รับหนังสอื แจ้ง
ข้อ ๗. การส่งหนังสือแจ้ง ให้ส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ เว้นแต่ท้องที่ใดไม่สะดวก
ในการส่งทางไปรษณยี ต์ อบรับกใ็ หจ้ ัดเจ้าหน้าท่นี าไปส่ง
ในกรณที ่ีเจา้ หน้าที่นาไปส่งใหป้ ฏิบัติดังน้ี
(๑) ให้ผฝู้ ่าฝนื หรือผู้ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว ซึ่งอยู่อาศัยในครอบครัวเดยี วกนั กับผู้ฝ่าฝนื น้ันลงช่ือ
รบั หนังสือแจง้ ในใบรับ แล้วเก็บเข้าเรื่องไว้เป็นหลักฐาน

182 คมู่ ือสนบั สนนุ การค้มุ ครองทีด่ ินของรฐั คมู่ ือสนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 179

(๒) ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวตาม (๑) ไม่ยอมลงช่ือ ก็ให้เจ้าหน้าท่ีผู้นาส่งหนังสือแจ้งบันทึก
เหตุการณ์และเหตุผลในการไม่ยอมรับหนังสือแจ้งไว้ และให้พยานอย่างน้อย ๒ คน ลงช่ือรับรองไว้ในบันทึก
น้ันดว้ ย เม่ือผู้นาส่งหนงั สือแจง้ ได้ปฏบิ ัตกิ ารดงั กล่าวนั้นแลว้ ให้ถอื วา่ ผู้ฝา่ ฝืนไดร้ บั หนังสอื แจง้ แล้ว

ข้อ ๘. ผู้ฝ่าฝืนผู้ใดมีความจาเป็นไม่อาจจะปฏิบัติตามหนังสือแจ้งของพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ ให้ยื่น
คาร้องขอผ่อนผันล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ก่อนครบกาหนดตามระยะเวลาข้อ ๖ ถ้าพนักงานเจ้าหน้าท่ี
หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นสมควร ก็ให้มีอานาจผ่อนผันได้ตามความจาเป็น แล้วแต่
กรณี

ข้อ ๙. ในกรณีท่ีผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามหนังสือแจ้ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมาย
จากพนักงานเจ้าหน้าท่ีมีคาส่ังเป็นหนังสือส่งไปยังผู้ฝ่าฝืนและกาหนดให้ผู้ฝ่าฝืนออกไปจากที่ดินนั้นภายใน
กาหนดสามสิบวัน นับแตว่ นั ได้รับคาส่งั จากพนักงานเจา้ หนา้ ที่ หากผนู้ ้นั ยงั ฝา่ ฝนื อยู่อกี ก็ให้ดาเนินคดีตอ่ ไป

การมีคาสั่งและการส่งคาสั่งให้นาความในข้อ ๕ และขอ้ ๗ มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม
หมวด ๓

การขอเข้าอยูอ่ าศัยหรือใชป้ ระโยชน์ในที่ดนิ ของรัฐ
เป็นการชั่วคราวและการเสียคา่ ตอบแทน
________________

ขอ้ ๑๐. การขอเขา้ อย่อู าศยั และขอใชป้ ระโยชนใ์ นท่ีดนิ ของรัฐเป็นการช่ัวคราวให้ดาเนนิ การดังนี้
(๑) ใหผ้ ู้ขอยื่นคาร้องตามแบบที่ทางราชการกาหนดต่อนายอาเภอ หรือปลัดอาเภอผเู้ ป็น

หัวหน้าประจากิ่งอาเภอซ่ึงที่ดินน้ันตั้งอยู่ และผู้ขอจะต้องเป็นผู้ได้เข้ายึดถือครอบครองหรือใช้ประโยชน์
ในทดี่ ินก่อนวนั ท่ปี ระกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ท่ี ๙๖ ลงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พทุ ธศักราช ๒๕๑๕ ใช้บงั คบั

(๒) เม่ือได้รับคาร้องแล้ว ให้นายอาเภอหรือปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจา
กิ่งอาเภอท้องท่ีหรือข้าราชการที่ได้รับมอบหมายออกไปตรวจสอบสภาพท่ีดินจานวนเน้ือที่ท่ีครอบครองและ
การใชป้ ระโยชน์ในที่ดินนนั้

(๓) ผู้ได้รับผ่อนผันให้อยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐจะต้องเสียค่าตอบแทน
ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดตามข้อ ๑๑ เว้นแต่กรณีขอยืดเวลาออกไปจากที่ดินตามข้อ ๘ จึงไม่ต้องเสีย
คา่ ตอบแทน

ข้อ ๑๑. ค่าตอบแทนในการเข้าอยู่อาศัยและการใช้ประโยชน์ในท่ีดินของรัฐให้องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดเป็นผู้กาหนด โดยถือตามอัตราค่าเช่าปานกลาง ซึ่งมีการเช่าอยู่ในท้องที่นั้นในวันยื่นคาขอ
ตามขอ้ ๑๐ (๑)

ขอ้ ๑๒. ผไู้ ด้รบั ผ่อนผันให้เขา้ อยอู่ าศยั หรอื ใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ จะต้องปฏิบตั ิดังนี้
(๑) ต้องชาระค่าตอบแทน ณ สานักงานอาเภอ หรือกิ่งอาเภอ ต่อนายอาเภอหรือปลัดอาเภอ

ผู้เป็นหวั หน้าประจาก่ิงอาเภอท้องท่ี ตามจานวนและเวลาทีอ่ งคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั กาหนด
(๒) ต้องใช้ประโยชน์ทีด่ ินนั้นตามประเภทของกิจการดว้ ยตนเอง
(๓) ต้องประกอบกิจการตามเขตและเนื้อท่ีที่ได้รับผ่อนผัน และในการน้ีผู้ได้รับผ่อนผัน

ใหอ้ ย่อู าศยั หรือใชป้ ระโยชน์ในที่ดนิ ของรฐั ต้องปักหลักเขตให้ปรากฏเป็นหลกั ฐานแนน่ อน
(๔) ปฏบิ ตั ิการอน่ื ใดตามเงอื่ นไขทพี่ นักงานเจา้ หนา้ ที่กาหนดใหป้ ฏบิ ตั ิเป็นการเฉพาะราย

คู่มอื สนบั สนุนการคุม้ ครองที่ดนิ ของรฐั 181

คมู่ ือสนบั สนนุ การค้มุ ครองที่ดนิ ของรฐั 183

ข้อ ๑๓. ในกรณีท่ีผู้ได้รับผ่อนผันให้เข้าอยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์ท่ีดินไม่ปฏิบัติตามข้อ ๑๒ ไม่ว่า
จะเป็นกรณีหน่ึงกรณีใด เม่ือพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นสมควรให้มีหนังสือแจ้งให้ปฏิบัติให้ถูกต้อง และถ้าเห็นว่า
ไมส่ มควรจะให้อยู่อาศัยหรอื ใชป้ ระโยชน์ในท่ีดนิ นั้นตอ่ ไปแล้ว ให้นาความในข้อ ๕ ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ และข้อ ๙
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม

ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๑๕
(ลงชือ่ ) พ่วง สุวรรณรัฐ

(นายพว่ ง สวุ รรณรัฐ)
ปลดั กระทรวงมหาดไทย ผู้ใช้อานาจของ

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย
ประธานคณะกรรมการจัดที่ดินแหง่ ชาติ

(ประกาศราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๘๙ ตอนท่ี ๖๔ (ฉบับพเิ ศษ) ลงวนั ท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๑๕)

184 คู่มอื สนบั สนุนการค้มุ ครองทดี่ นิ ของรัฐ คู่มือสนบั สนนุ การคุม้ ครองที่ดินของรฐั 181

ระเบียบกรมทดี่ ิน
วา่ ด้วยการออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ที่หลวง

พ.ศ. 2517
___________
โดยท่ีได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 334 ลงวนั ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ใหแ้ ก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา 8 ตรี แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยได้ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 26
(พ.ศ. 2516) ลงวันที่ 3 สงิ หาคม 2516 กาหนดแบบ หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการออกหนังสือสาคัญสาหรับทีห่ ลวง
ฉะนั้น เพื่อให้การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ดาเนินการไปตามกฎหมายดังกล่าว กรมที่ดินจึงวาง
ระเบยี บไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ 1. ระเบยี บน้เี รยี กว่า “ระเบียบวา่ ดว้ ยการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่หี ลวง พ.ศ. 2517”
ขอ้ 2. ใหใ้ ช้ระเบียบนต้ี ง้ั แตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป
ท่ีดนิ ท่ีจะออกหนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง
ข้อ 3. ท่ีดนิ ท่จี ะออกหนงั สอื สาคัญสาหรบั ท่หี ลวง คือ
3.1 ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันเป็นต้นว่าทุ่งเลี้ยงสัตว์
สาธารณะ หนองสาธารณะ บึงสาธารณะ เว้นแต่ที่สาธารณะโดยสภาพมีแนวเขตธรรมชาติอยู่แล้ว เช่น ที่ชายตล่ิง
ทางบก ทางน้า ลากระโดง ลารางสาธารณะ ทางระบายนา้ แมน่ า้ ลาคลอง ฯลฯ
3.2 ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
เช่น ที่ดนิ ท่ีได้สงวนหวงห้ามหรือขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมือง ท่ดี ินที่ถูกเวนคืนมาเป็นของรัฐ ท่ีดนิ ที่รัฐ
ซื้อหรอื มีผู้อทุ ศิ ให้รฐั เปน็ ตน้
ผขู้ อและการยนื่ คาขอ
ข้อ 4. เมื่อทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับ
พลเมืองใช้ประโยชน์ร่วมกัน หรือใช้เพื่อประโยชนข์ องแผ่นดินโดยเฉพาะมีความประสงค์จะให้มีหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงสาหรับที่ดินแปลงใด ให้ทบวงการเมืองนั้นแสดงความประสงค์เปน็ หนังสือราชการถงึ อธิบดีกรมที่ดิน
แจ้งความประสงค์และสภาพของท่ีดินแปลงที่จะให้มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พร้อมด้วยหลักฐานของ
ที่ดินแปลงน้ัน เชน่ สาเนาทะเบียนที่ดินสาธารณะ บัญชีสารวจ หรือประกาศ หรือหลักฐานการสงวนหวงห้าม
ฯลฯ โดยยื่นผ่านทางสานักงานที่ดินจังหวัดหรือสานักงานท่ีดินสาขา ซ่ึงท่ีดินแปลงน้ันอยู่ในเขต กรณีที่ที่ดิน
ตั้งอยู่คาบเกี่ยวหลายจังหวัด ให้แสดงความประสงค์ผ่านทางสานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานท่ีดินสาขา
ทม่ี ีท่ีดนิ ส่วนใหญ่ต้ังอยู่ กรณีเชน่ น้ีให้สานักงานท่ีไดร้ ับแจ้งความประสงค์เป็นผูพ้ ิจารณาดาเนินการต่อไป และ
เมอื่ ออกหนงั สอื สาคัญสาหรับทหี่ ลวงแล้ว ให้จาลองรปู ถ่ายสง่ ใหจ้ งั หวัดทเ่ี กีย่ วข้องจังหวัดละ 1 ฉบับ

คมู่ อื สนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 182
คู่มอื สนับสนนุ การคมุ้ ครองท่ดี นิ ของรัฐ 185

ข้อ 5. ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินสาขา แล้วแต่กรณีตรวจพิจารณาว่า ที่ดิน
แปลงที่ขอน้ันอยู่ในลักษณะท่ีจะออกหนังสือสาคญั สาหรับท่ีหลวงให้ได้หรือไม่ ถ้าจะออกใหไ้ ม่ได้ ก็ให้รายงาน
ให้กรมที่ดินทราบเพ่ือแจ้งให้ทบวงการเมืองน้ันทราบ ถ้าจะออกให้ได้ก็ให้ส่ังเจ้าหน้าท่ีลงบัญชีรับเรื่องในบัญชี
รายวันรบั ทาการ (บ.ท.ด.2) และลงบญั ชีเรื่องการรงั วัด (บ.ท.ด.11) แล้วพิจารณาสงั่ ให้ดาเนนิ การต่อไป

การรงั วัด
ข้อ 6. การรังวดั ออกหนังสือสาคัญสาหรบั ทห่ี ลวงให้ดาเนินการ ดังนี้

6.1 ที่ดินบริเวณที่มีระวางแผนท่ีแล้วให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดและ
การลงรูปแผนท่ีในระวางแผนท่ี กรณีออกโฉนดท่ีดินเฉพาะราย พ.ศ. 2527 ลงวันท่ี 12 กันยายน พ.ศ. 2527
โดยอนุโลม

6.2 ที่ดินซึง่ อยหู่ ่างจากเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่ของกรมท่ีดินหรือกรมแผนท่ีทหาร
ไมเ่ กนิ 2 กิโลเมตร ให้ทาการวางโครงหมุดหลักฐานแผนท่ีออกจากหมุดหลักฐานแผนท่ีดงั กล่าว และให้ปฏิบัติ
ตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการสร้างและซ่อมแซมหมุดหลักฐานโครงงานแผนท่ี พ.ศ. 2526 ลงวันที่ 1
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526

6.3 ท่ีดินซึ่งอยู่ห่างจากหมุดหลักฐานแผนที่เกินกว่า 2 กิโลเมตร ให้ทาการวางโครงหมุด
หลักฐานแผนท่ีบรรจบตัวเอง (รูปลอย) เพ่ือทาการรังวัดโยงยึดหลักเขต โดยใช้กล้องธิโอโดไลท์และใช้หมุด
หลักฐานแผนที่ตามแบบของกรมที่ดินเท่านั้น ท่ีดินแปลงใดอยู่ใกล้กับส่ิงถาวรที่สังเกตได้ง่าย เช่น เจดีย์
สะพาน หลักกิโลเมตร เสาไฟฟ้า เสาโทรเลข ให้ยึดโยงเข้ากับหลักเขตที่ดิน หรอื หลักเขตที่สาธารณประโยชน์
ว่าตัง้ อยู่ทใ่ี ด

6.4 การเก็บหลกั ฐานแผนท่ีใหป้ ฏิบัติ ดงั นี้
6.4.1 กรณีมีระวางแผนท่ีให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการควบคุมต้นร่าง

แผนที่ รายการรังวัด รายการคานวณ และระวางแผนที่ในสานักงานท่ีดิน พ.ศ. 2523 และฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2525)

6.4.2 กรณไี ม่มีระวางแผนที่ใหเ้ กบ็ รวมไว้เป็นแปลง ๆ
6.5 ในบริเวณที่มีระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศสาหรับออกโฉนดท่ีดินอยู่แล้วให้ใช้ระวาง
แผนทีร่ ปู ถ่ายทางอากาศออกหนังสือสาคัญสาหรับท่หี ลวงได้ โดยดาเนินการรังวัดเชน่ เดียวกับการออกโฉนดท่ีดนิ
6.6 ถ้ามีระวางรปู ถ่ายทางอากาศเพ่ือออก น.ส. 3 ก. ใช้อยู่ท่ีอาเภอน้ัน ๆ ให้นารูปแผนท่ี
การรังวัดออกหนงั สือสาคญั สาหรับทหี่ ลวงลงระวางรปู ถา่ ยทางอากาศด้วย
6.7 การรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในบริเวณประกาศการเดินสารวจและสอบเขต
ทั้งตาบล ให้เจ้าหน้าที่เดินสารวจและสอบเขตท้ังตาบลเป็นผู้ดาเนินการตามระเบียบน้ีโดยอนุโลม และให้ทาการ
รังวัดวธิ ีเดยี วกันกับการรังวัดเดินสารวจและสอบเขตท้งั ตาบล
6.8 บริเวณท่ีดาเนินการออกโฉนดท่ีดิน โดยนาหลักฐานเก่ียวกับระวางรูปถ่ายทางอากาศ
ที่ใช้กับหนังสือรับรองการทาประโยชน์มาปรับแก้ตามหลักวิชาการแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ โดยไม่ต้องทาการ
สารวจรงั วัด ให้นารูปแปลงหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงท่ีได้ลงระวางรูปถ่ายทางอากาศไว้แลว้ มาลงในระวาง
แผนที่ดว้ ย
6.9 ให้ช่างรังวัดส่งเร่ืองที่ทาการรังวัดแล้วเสร็จ พร้อมกับใบสาคัญค่าใช้จ่ายต่อผู้ควบคุม
สายรังวัด ผู้มีหน้าที่ควบคมุ การรังวัดตามระเบียบนี้ในท้องที่นั้น ๆ ทุก ๆ เดือนถา้ ไม่มีผู้ควบคุมสายรงั วัดให้สง่ ต่อ
หัวหน้าฝ่ายรังวัดสานักงานที่ดิน เพ่ือเสนอต่อเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
ดาเนินการตอ่ ไปเปน็ ประจาทกุ ๆ เดือน ห้ามเก็บรอไว้เป็นอนั ขาด

186 คูม่ ือสนับสนุนการคุม้ ครองท่ีดินของรัฐ คู่มือสนบั สนนุ การคุ้มครองที่ดินของรฐั 183

6.10 กรณีกรมที่ดินส่งช่างรงั วัดจากส่วนกลางไปทาการรังวัดให้ดาเนินการในสนามให้แล้ว
เสร็จกอ่ นวันเดินทางกลับพอสมควร เพ่ือจะได้มีเวลาแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ของเร่ืองราวการออกหนังสือสาคัญ
สาหรับทีห่ ลวงให้เรียบรอ้ ย

(ความในมาตรา 6 เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมที่ดิน ฉบับท่ี 5 พ.ศ. 2530 ประกาศ ณ วันที่ 8
มกราคม พ.ศ. 2530)

ข้อ 7. การปกั หลกั หมายเขตที่ดนิ และแผน่ ปา้ ยบอกชอื่ ท่สี าธารณะ
7.1 ให้ใช้หลักเขตท่ีดินตามแบบที่กรมท่ีดินกาหนด แต่ถ้าทบวงการเมืองท่ีขอออกหนังสือ

สาคญั สาหรับทีห่ ลวงจะหาหลกั เขตมาเองก็ให้ทาได้ แต่หลักเขตนั้นต้องเปน็ ไปตามแบบของกรมที่ดนิ และให้มี
เลขหมายประจาหลกั เขตด้วย โดยขอเลขหมายจากกรมที่ดิน

7.2 สาหรับที่ดินสาธารณประโยชน์ให้ปักหลักเขตท่ีสาธารณะด้วย การปักหลักเขต
ที่สาธารณะ ให้ปักเฉพาะมุมเขตท่ีสาคัญ ๆ เท่านั้น มุมย่อยอื่นให้ใช้หลักเขตที่ดินปัก การเขียนหรอื แสดงหลักเขต
ท่สี าธารณะใหเ้ ขยี นวงกลมหลกั เขตทดี่ นิ ไว้ แลว้ ครอบดว้ ยรูปสเี่ หล่ียม (แทนหลักเขตทดี่ ินสาธารณประโยชน)์

7.3 หลักเขตทสี่ าธารณประโยชน์เป็นหลักคอนกรีตเสริมเหล็ก ลักษณะสเี่ หล่ียม 12 x 12 ซม.
ยาว 1 เมตร ปลายแหลมเป็นรูปจั่วมีฐานหนา 10 ซม. ออกไปรอบข้าง ๆ ละ 12 ซม. สว่ นบนของหลกั ด้านหน่ึง
เขยี นด้วยอกั ษรสเี ขียวลึกลงไปในเน้ือหลักว่า “เขตที่สาธารณะ”ตามแบบทา้ ยระเบียบนี้

(ความในขอ้ 7.3 เดิม ถูกยกเลกิ โดยระเบียบกรมท่ีดิน ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2520) ประกาศ ณ วนั ท่ี 18
ตุลาคม พ.ศ. 2520)

7.4 แผ่นป้ายบอกชื่อทสี่ าธารณประโยชน์ใหท้ าด้วยไม้บุสงั กะสี ขนาด 0.80 x 2.00 เมตร
พ้นื ทาสีเขียว ตัวอักษรทาสีขาว บอกชื่อทสี่ าธารณะ ตาบล อาเภอ เช่น หนองยาวสาธารณประโยชน์ ตาบลดาตาเสา
อาเภอวังน้อย หรือจะใช้อะลูมิเนียมฉลุเป็นตัวอักษรตรึงติดกับแผ่นป้ายก็ได้ เสาป้ายมี 2 เสา ใช้ไม้ขนาด
7.50 x 7.50 ซม. ยาว 3 เมตร ทาสีขาวปกั ดินให้ลึกประมาณ 70 ซม. และใช้ไม้ขนาด 2.50 x 7.50 ซม.
ยาว 3 เมตร 2 ท่อน เปน็ เสาค้ากนั ปา้ ยเอน

(ความในข้อ 7.4 ใช้ข้อความเพ่ิมเติม ตามระเบียบกรมท่ีดิน ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2522)
วา่ ดว้ ยการออกหนงั สือสาคัญสาหรับที่หลวง ประกาศ ณ วนั ท่ี 18 ตุลาคม พ.ศ. 2522)

7.5 แผ่นป้ายบอกช่ือทส่ี าธารณประโยชนใ์ หจ้ ดั ทาขน้ึ อีกแบบหนง่ึ มลี กั ษณะ ดังน้ี
7.5.1 แผ่นป้ายใช้แผ่นเหล็กหนา 1/16 นิ้ว (1.58 ม.ม.) ขนาด 1.20 x 0.60 เมตร

ทาสีกันสนิมรองพ้ืนท้ังด้านหน้าและด้านหลังทับ 2 คร้ัง เฉพาะด้านหน้าทาสีเขียวทับ และที่ขอบทาสีขาว
โดยรอบ ขนาด 2.5 ซม. เขียนชื่อที่สาธารณประโยชน์ด้วยสีขาวตัวอักษรขนาดสูง 8 ซม. ส่วนชื่อตาบลและ
อาเภอ ตวั อักษรขนาดสูง 6 ซม. และเจาะรูสาหรับนอ้ ตยึดไมน่ ้อยกว่า 2 รู ขนาด 9 ม.ม. ยาวตามความหนา
ของเสาป้ายแต่ละแบบ

7.5.2 เสาปา้ ยทาสีขาวปกั ลกึ ลงไปในดินประมาณ 70 ซม. มี 2 แบบ คอื
แบบท่ี 1 ใช้เสาคอนกรีตอัดแรงสาเร็จรูป คุณภาพเทียบของ CPAC ขนาด 0.08 x
0.08 x 2.70 เมตร มีรูสาหรับยดึ ป้าย ขนาด 9 ม.ม. ไม่น้อยกวา่ 2 รู ตามแบบ
แบบท่ี 2 ใช้เสาคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 0.10 x 0.10 x 2.70 เมตร เสริมเหล็ก
เส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. จานวน 4 เส้น เหล็กปลอกเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. ระยะ 0.15 เมตร ส่วนผสม
คอนกรตี 1/2/4 (โดยปรมิ าตร) เจาะรปู ดิ แผ่นปา้ ยตน้ ละ 2 รู ขนาด 9 มม. ตามแบบท้ายระเบยี บน้ี

คมู่ อื สนบั สนุนการคุ้มครองท่ีดินของรฐั 184
คูม่ ือสนบั สนนุ การคุ้มครองทดี่ นิ ของรัฐ 187

ข้อ 8. การเขยี นรปู แผนท่ีลงในหนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวง ใหย้ อ่ หรือขยายรูปแผนท่ีลงใหพ้ อเหมาะ
กับเน้ือท่ีสาหรับลงรปู แผนทใ่ี นหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง และให้เขียนมาตราส่วนซึ่งย่อหรือขยายนัน้ ไวด้ ว้ ย
กรณีรูปแผนที่ซึ่งสามารถย่อให้เล็กลงได้ท่ีสุดแล้วน้ัน ยังใหญ่และไม่สามารถจาลองลงในเนื้อท่ีสาหรับ
ลงรูปแผนท่ีก็ให้จาลองรูปแผนที่น้ันในใบต่อได้ โดยให้หมายเหตุด้วยอักษรสีแดงไว้ในที่สาหรับลงรูปแผนท่ีว่า
“รูปแผนที่อยู่ในใบต่อ” และถ้าหากใบต่อมีหลายแผ่นให้บอกแผ่นท่ีไว้ที่มุมบนขวามือของแต่ละแผ่น
โดยเรียงลาดับแผ่นตามลักษณะรูปแผนท่ีแล้วให้เย็บรูปแผนท่ีใบต่อกับหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเรียง
ตามลาดบั จากแผ่นน้อยไปหามาก

ข้อ 9. การรังวัดให้ถือเขตตามท่ีปรากฏในหลักฐานหรือทะเบียนเดิมของทางราชการแต่ถ้าเขตระยะ
และข้างเคียงเปลี่ยนแปลงไปจากหลักฐานหรือทะเบียนเดิม ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ทาการรังวัดสอบสวน
บันทึกถ้อยคาผู้นาทาการรังวัด ผู้ปกครองท้องที่ และผู้สูงอายุท่ีเช่ือถือได้ในท้องถิ่นนั้นดี และเคยใช้ประโยชน์
รว่ มกันสัก 3-4 คน ถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงไว้เป็นหลักฐาน หากปรากฏว่า ได้เน้ือที่น้อยกว่าหลักฐาน
หรือทะเบียนเดิมมากและข้างเคียงเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือไม่อาจทราบได้ว่าเขตและเน้ือที่ควรจะอยู่แค่ไหน
เพียงใด หรือผู้นาทาการรังวัดหรือผู้ขอไม่สามารถชี้เขตให้ถูกต้อง ให้เจ้าพนักงานท่ีดินแจ้งให้นายอาเภอทราบ
เพื่อให้สภาตาบลพิจารณาตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลมีส่วนช่วยเหลือ
ควบคุมการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง พ.ศ. 2519 ตอ่ ไป

ในการรังวัดหากมีผู้คัดค้าน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ทาการรังวัด รังวัดทาแผนท่ีโดยสังเขป แสดงเขต
เป็นเส้นประและเน้ือท่ีท่ีมีการคัดค้านแต่ละรายไว้ในแผนท่ีต้นร่างและกระดาษบาง โดยจดแจ้งข้อความไว้
ในแปลงที่มีการคัดค้านว่า “(ช่ือผู้คัดค้าน) คัดค้าน” และให้ดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเฉพาะ
สว่ นไมม่ ีผคู้ ดั ค้านไปกอ่ น การรับรองเขตด้านท่ีมีการคัดค้านให้บนั ทกึ ถอ้ ยคาผนู้ าทาการรังวัด หรือผนู้ าชี้เขตไว้
เป็นหลักฐาน โดยไม่ต้องให้ผู้คัดค้านลงชื่อรับรองเขต หากมีผู้บุกรุกแต่ไม่คัดค้าน หรือยอมรับว่าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์
ให้บันทึกถ้อยคาผู้บุกรุกว่าได้เข้าทาประโยชน์อะไร แต่เมื่อใด เป็นจานวนเนื้อที่เท่าใด โดยไม่ต้องรังวัดแสดง
รายละเอยี ด เช่น กรณีที่มกี ารคัดคา้ น

(ความในข้อ 9 เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมท่ีดิน ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2520) ประกาศ ณ วันท่ี 18
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2520)

ข้อ 10. กรณีที่มีทางสาธารณประโยชน์ที่รถยนต์เดินไม่ได้ หรือมีห้วยลาน้า ซ่ึงอยู่ในความดูแลของ
นายอาเภอ อยู่ในบริเวณที่ดินท่ีขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง จะพิจารณาออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่ีหลวงเป็นแปลงเดียวก็ได้ ทั้งน้ี ต้องบันทึกถ้อยคายินยอมของผู้ดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์นั้น ๆ
และบันทึกคารับรองของผู้ขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้ด้วยว่า จะไม่ทาให้เสียหายแก่การใช้
ทสี่ าธารณประโยชน์นน้ั ๆ และใหแ้ สดงเขตทาง หรอื หว้ ยลานา้ นัน้ ๆ เป็นเสน้ ประไวใ้ นรูปแผนที่

ถ้ามีคลองสาธารณประโยชน์อยู่ในบริเวณท่ีขอออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้กันเขตคลอง
สาธารณประโยชนอ์ อก และออกหนังสือสาคญั สาหรบั ทหี่ ลวงเปน็ แปลง ๆ

(ความในข้อ 10 เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมท่ีดินฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2530) ประกาศ ณ วันท่ี 8
มกราคม 2530)

188 คูม่ อื สนับสนนุ การคุ้มครองที่ดนิ ของรฐั คมู่ อื สนบั สนุนการคุม้ ครองที่ดนิ ของรฐั 185

การสอบสวน
ข้อ 11. ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทาการสอบสวนผู้ขอหรือตัวแทนซึ่งได้นาเจ้าพนักงานทาการรังวัด
ถึงท่ี ต้ั ง จาน วน เน้ื อท่ี ป ระวั ติ แล ะอ าณ าเข ต ที่ ดิน แ ป ลงท่ี ขอ ตาม แบ บ บั น ทึ ก การสอ บ ส วน
เพอ่ื ออกหนังสอื สาคญั สาหรบั ทหี่ ลวง (แบบ ส.ธ. 2)

การประกาศ
ข้อ 12. เมื่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ทาการรังวดั และสอบสวนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เจ้าพนักงานท่ีดิน
จงั หวดั หรือเจ้าพนักงานท่ดี ินสาขา ประกาศการออกหนังสอื สาคญั สาหรบั ท่หี ลวงให้ประชาชนทราบมีกาหนด
30 วนั โดยปิดไวใ้ นท่ีเปิดเผย ณ สานักงานทด่ี ินจังหวัดหรือสานักงานที่ดนิ สาขา 1 ฉบบั ณ ที่วา่ การอาเภอ
หรือกิ่งอาเภอท้องที่หรือที่ทาการเขต 1 ฉบับ ท่ีทาการกานัน 1 ฉบับ และในบริเวณท่ีดินน้ัน 1 ฉบับ ในเขต
เทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาล หรือในเขตกรุงเทพมหานครให้ปิดไว้ ณ ศาลาว่าการอีก 1 ฉบับ
ในประกาศดังกล่าวให้ลงตาแหน่งที่ตั้งและประเภทของที่ดินให้ทราบด้วยว่า อยู่ในความดูแลของทบวง
การเมืองใดและให้มีรูปแผนที่แสดงแนวเขตที่ดินท่ีออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง และกาหนดระยะเวลา
ให้ผู้มีส่วนได้เสยี คัดคา้ นภายในกาหนด 30 วัน นับแต่วนั ประกาศ
ข้อ 13. เมื่อประกาศครบกาหนด ไม่มีผู้คัดค้าน ให้สร้างหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงและ
ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินสาขา ตรวจสอบเอกสารและความเรียบร้อยพร้อมกับลงชื่อ
ในบรรทัดเจ้าพนักงานท่ีดิน ด้านหลังหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแล้วส่งเร่ืองไปกรมท่ีดินเพ่ือให้เจ้าหน้าท่ี
ตรวจสอบและเสนออธิบดลี งนามประทับตราประจาตาแหนง่ และต่อเลขหนังสือสาคัญสาหรบั ทห่ี ลวงต่อไป
ข้อ 14. เม่ืออธิบดีกรมที่ดินลงนามประทับตราประจาตาแหน่ง และต่อเลขในหนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวงแล้ว ให้เจ้าหน้าที่จาลองหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นรูปถ่ายตามจานวนที่จาเป็นตามระเบียบนี้
แล้วส่งเรื่องราวทั้งหมดพร้อมกับหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงท้ังต้นฉบับและฉบับจาลองเป็นรูปถ่ายเท่าที่
จาเป็นต้องเก็บรักษาไปยังจังหวัดเจ้าของเร่ือง เพ่ือสั่งให้เจ้าหน้าท่ีเก็บเอกสารและแจกหนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวงให้แก่ผู้ขอและผเู้ กย่ี วข้องต่อไปโดยใหผ้ ้ขู อลงชื่อรับไวเ้ ปน็ หลักฐานด้วย
ข้อ 15. ในระหว่างประกาศถ้ามีผู้คัดค้านทั้งแปลงให้รอการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้
จนกว่าจะได้มีคาพพิ ากษาถึงทีส่ ุดของศาลแสดงวา่ ผคู้ ดั ค้านไมม่ ีสทิ ธใิ นที่ดนิ นั้นหรอื พจิ ารณาดาเนนิ การไปตาม
คาพพิ ากษาหรือคาสงั่ ศาลต่อไป หากเปน็ การคดั คา้ นเพียงบางสว่ นให้ดาเนนิ การตามข้อ 9 วรรค 2
(ความในข้อ 15 เดิม ถกู ยกเลิกโดยระเบียบกรมท่ีดินฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2520) ประกาศ ณ วันท่ี 18
กมุ ภาพนั ธ์ 2520)

การจัดทาทะเบยี นที่ดนิ สาธารณประโยชน์
ข้อ 16. แบบพิมพ์ทะเบียนให้ใช้แบบพิมพ์ที่กรมที่ดินจัดพมิ พข์ ้ึน โดยให้อาเภอหรอื กงิ่ อาเภอละ 1 เล่ม
แยกเป็นตาบล แปลงหนึ่ง ๆ ให้เว้น 6 บรรทัด ถ้าที่ดินแปลงใดมีอาณาเขตคาบเกี่ยวหลายตาบลให้ลงไว้
ทุกตาบลที่ที่ดินต้ังอยู่ แล้วให้หมายเหตุในช่องหมายเหตุด้วยว่าที่แปลงนั้นคาบเกี่ยวกับตาบลใด ๆ บ้าง
ถ้าตั้งอยู่ในท้องที่หลายอาเภอ ก็ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับคาบเก่ียวตาบล การกรอกรายการลงในแบบพิมพ์
ให้กรอกให้ครบถ้วนทุกช่อง โดยคัดรายการจากหลักฐานเดิมกรอกลงในแบบพิมพ์ทะเบียนอย่างใหม่เสียก่อน
เม่ือปรากฏว่ารายการใดที่คัดมากรอกไว้นี้ผิดพลาดคลาดเคล่ือนจากการรังวัดใหม่ ก็ให้ขีดฆ่ารายการ
ที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนน้ันด้วยหมึกแดง ลงนามกากับไว้ตามระเบียบราชการ แล้วกรอกรายการที่ถูกต้อง
ลงไปและหมายเหตุการแก้ไขไว้ให้ทราบในช่องหมายเหตุด้วย ช่อง “สภาพและประวัติความเป็นมา” ให้ลง
ใหช้ ัดเจนว่าไดค้ ัดลอกมาจากหลักฐานใด เชน่ บัญชีสารวจท่ีดนิ หวงห้าม บัญชสี ารวจหนองสาธารณประโยชน์
หรือทะเบยี นทด่ี ินสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ลาดบั แปลงท่ีเท่าใดไดน้ าขึ้นทะเบียนไว้ตั้งแต่เมอ่ื ใดผู้ใดเป็นผู้หวงห้าม

คูม่ ือสนับสนุนการคมุ้ ครองที่ดินของรฐั 186
ค่มู ือสนับสนุนการคุ้มครองทดี่ ินของรัฐ 189

เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดประชาชนได้ใช้ประโยชน์อย่างใด แต่เม่ือใด ถ้าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ซึ่งได้สารวจ
รังวัดขึ้นทะเบียนใหม่ (ยังไม่มีทะเบียนหรือบัญชีเดิม) ให้ลงให้ชัดเจนวา่ ได้สารวจเม่ือใด ตั้งแต่เม่ือใด ในการ
จัดทาทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์น้ีให้อาเภอหรือก่ิงอาเภอจัดทาขึ้น 3 ชุดเก็บไว้ท่ีอาเภอหรือก่ิงอาเภอ
และจงั หวดั แห่งละ 1 ชุด ส่งกรมทดี่ นิ หนง่ึ ชุด

หนังสือสาคัญสาหรบั ท่ีหลวง
ขอ้ 17. หนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ใชแ้ บบ สธ. 1
ข้อ 18. หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ทาขึ้น 3 ฉบับ มอบให้ผู้ดูแลรักษาถือไว้ 1 ฉบับ เก็บไว้
ณ สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดินสาขา 1 ฉบับ และเก็บไว้ ณ กรมท่ีดิน 1 ฉบับ กรณีที่ดินต้ังอยู่
คาบเกี่ยว หลายจังหวัดให้จัดทาเพ่ิมขนึ้ ตามจังหวัดท่ีเก่ียวขอ้ ง

ใบแทนหนังสือสาคญั สาหรบั ท่ีหลวง
ข้อ 19. ถ้าหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงฉบับผู้ดูแลรักษาชารุดหรือสูญหายให้ผู้ดูแลรักษา
แจง้ ความประสงค์ขอรบั ใบแทนต่ออธบิ ดีกรมทดี่ ิน โดยยื่นผา่ นสานักงานทด่ี นิ จงั หวดั หรอื สานักงานทด่ี ินสาขา
ข้อ 20. เม่ือเจ้าพนักงานท่ีดินได้รับคาขอแล้ว ให้ทาการสอบสวนตามควรแก่กรณีโดยไม่ต้อง
ประกาศ
ข้อ 21. เม่ือได้ดาเนินการตามข้อ 13 ไม่มีการขัดข้องแล้ว ให้เจ้าพนักงานท่ีดินสร้างใบแทนหนังสือ
สาคัญสาหรับท่ีหลวงข้ึนใหม่ตามจานวนท่ีชารุดสูญหาย และส่งเรื่องท้ังหมดไปกรมที่ดิน เพื่อให้อธิบดีลงนาม
ในใบแทน
ข้อ 22. แบบใบแทนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ให้ใช้แบบ สธ. 1 โดยประทับตราสีแดงว่า
“ใบแทน” ไว้ท่ีด้านหน้าหน้าคาว่า “หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง” ด้านใต้รูปแผนที่ให้หมายเหตุด้วยอักษร
สีแดงว่า “หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงได้ออกให้เมื่อวันที่ .............เดือน....................... พ.ศ. .......” และ
ให้เจ้าพนกั งานที่ดินลงลายมอื ชอ่ื พรอ้ มวัน เดือน ปี กากบั ไว้ด้วย
ข้อ 23. ถ้าหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงฉบับที่เก็บไว้ ณ สานักงานที่ดินหรือกรมที่ดินชารุดสูญหาย
ให้เจ้าพนักงานท่ีดินเรียกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงฉบับใดฉบับหนึ่งมาจาลองเป็นรูปถ่ายเก็บไว้เป็น
หลักฐานได้

การเกบ็ เอกสาร
ข้อ 24. การเก็บหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ให้ใช้ปกหรือแฟ้มเก็บเช่นเดียวกับโฉนดที่ดิน โดยเก็บ
เปน็ เล่ม ๆ ละ 50 ฉบับ เรียงตามลาดับเลขทีจ่ ากน้อยไปหามาก
ข้อ 25. การเก็บเอกสารเกย่ี วกบั การออกหนงั สือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ให้ปฏบิ ัติเชน่ เดียวกับการเก็บ
สารบบท่ดี นิ โดยแยกไว้เป็นอาเภอและให้เกบ็ ไว้ตา่ งหากไมร่ วมกบั สารบบทด่ี ิน

คา่ ธรรมเนยี มและค่าใช้จ่าย
ขอ้ 26. ในการออกหนงั สอื สาคัญสาหรับทห่ี ลวง ไม่ตอ้ งเสียคา่ ธรรมเนยี มใด ๆ ทัง้ สิน้
ข้อ 27. ค่าใชจ้ ่ายใหว้ างเป็นเงินมดั จาไดแ้ ก่

27.1 ค่าหลกั เขตทีด่ นิ ในกรณที ่ีผู้ขอไมน่ าหลักเขตมา
27.2 ค่าพาหนะเดินทางของพนักงานเจ้าหน้าท่ี และคนงานที่ไปทาการรงั วัดให้จ่ายเท่าท่ี
จาเป็นและจา่ ยไปจริง
27.3 ค่าเบี้ยเล้ียงของพนักงานเจ้าหน้าท่ี ค่าเช่าที่พัก และค่าจ้างคนงานที่จ้างไปทาการ
รังวดั ใหเ้ รยี กตามระเบยี บและอตั ราของทางราชการทใี่ ช้อยใู่ นขณะนั้น

190 คมู่ ือสนับสนนุ การคุม้ ครองที่ดนิ ของรัฐ คมู่ ือสนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 188

27.4 ค่าป่วยการของเจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ให้เป็นไปตามท่ีกฎกระทรวงกาหนด
คนหนึ่งวันละ 50 บาท

การเปลี่ยนอานาจหน้าทผ่ี ู้ดแู ลรักษา
ข้อ 28. ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงไปแล้ว หากมี
การเปล่ียนแปลงอานาจหน้าท่ีผู้ดแู ลรักษาจากทบวงการเมืองหนึ่งไปยังอกี ทบวงการเมืองหน่ึงให้มอบหนังสือ
สาคญั สาหรับทหี่ ลวงกนั ได้โดยไม่ตอ้ งแก้ไขช่อื และทาการรังวดั ใหม่

การเปล่ียนหนังสอื สาคญั แสดงกรรมสทิ ธิเ์ ปน็ หนังสือสาคญั สาหรบั ทห่ี ลวง
ข้อ 29. ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพ่ือประโยชน์ของทางราชการแปลงใด
หากปรากฏวา่ ได้มีหนังสอื สาคัญแสดงกรรมสิทธย์ิ ึดถอื อยูแ่ ละผดู้ แู ลรกั ษาประสงค์จะเปลี่ยนเป็นหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวงก็ให้ดาเนินการได้โดยเมื่อออกให้ไปแล้วให้เรียกโฉนดเดิมมาหมายเหตุด้วยตัวอักษรสีแดงว่า
ท่ีดินแปลงนี้ได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ไปแล้วตามหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเลขที่............
แล้วให้เจ้าพนักงานที่ดินลงช่ือ วัน เดือน ปี กากับไว้เป็นหลักฐาน แล้วเก็บเข้าสารบบของที่ดินแปลงน้ัน
สาหรับโฉนดของสานกั งานท่ีดนิ ให้ตดั ออกจากเลม่ และดาเนินการเช่นเดยี วกัน

การออกหนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวงกรณเี ปลย่ี นประเภททดี่ นิ
ข้อ 30. ท่ีดนิ ท่ีไดอ้ อกหนงั สือสาคัญสาหรับทีห่ ลวงให้ไปแล้ว หากาายหลงั มกี ารเปลี่ยนประเาทท่ีดิน
และผู้ดูแลรักษาประสงค์จะขอเปล่ียนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงใหม่ เพ่ือให้ตรงกับสาาพที่ดินก็ให้ออก
หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ใหม่ได้ โดยไม่ต้องประกาศและทาการรังวัดใหม่ เมื่อออกให้แล้วให้เรียก
หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเดิมมาหมายเหตุด้วยตัวอักษรสีแดงว่า “ได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ให้ใหม่แลว้ ตามหนงั สือสาคัญสาหรับทห่ี ลวงเลขท.่ี .....”แล้วให้เจา้ พนกั งานทดี่ นิ ลงชือ่ และวัน เดอื น ปี กากับไว้
เป็นหลักฐาน แล้วเก็บเข้าสารบบของที่ดินแปลงนั้น สาหรับฉบับที่เก็บไว้ ณ จังหวัดและกรมที่ดินก็ให้
ดาเนนิ การเชน่ เดียวกัน
ขอ้ 31. ใหย้ กเลิกคาส่งั หรือระเบียบการอนื่ ใด เฉพาะในสว่ นทข่ี ัดหรอื แย้งกบั ระเบียบนเ้ี สยี ท้งั สนิ้

ประกาศ ณ วนั ที่ 19 กุมาาพันธ์ พ.ศ. 2517
(ลงชอื่ ) อรรถ วสิ ูตรโยธาาิบาล
(นายอรรถ วิสูตรโยธาาิบาล)
อธบิ ดีกรมทด่ี ิน

คมู่ อื สนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 189

คมู่ อื สนบั สนนุ การค้มุ ครองทด่ี ินของรฐั 191

ระเบยี บกรมทด่ี นิ
วา่ ด้วยการเพกิ ถอนหรือแก้ไขหนังสอื สาคญั สาหรับทห่ี ลวง

พ.ศ. ๒๕๒๙
______________
โ ด ย ที่ ข ณ ะ น้ี ยั ง ไ ม่ มี ร ะ เ บี ย บ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร เ พิ ก ถ อ น ห รื อ แ ก้ ไ ข ห นั ง สื อ ส า คั ญ ส า ห รั บ ที่ ห ล ว ง
ทอ่ี อกไปโดยผดิ พลาดคลาดเคลื่อน ฉะน้ันจงึ กาหนดวิธีการเพิกถอนหรอื แกไ้ ขไวด้ ังน้ี
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับ
ทห่ี ลวง พ.ศ. ๒๕๒๙”
ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ีให้ใชบ้ งั คับต้ังแตบ่ ดั นเ้ี ป็นต้นไป
ขอ้ ๓ เมอ่ื ปรากฏว่าไดอ้ อกหนังสือสาคญั สาหรับทหี่ ลวงไปโดยผดิ พลาดคลาดเคล่อื น เปน็ ตน้ วา่
(๑) ออกไปผดิ แปลง หรอื ทบั ทบ่ี คุ คลอ่นื
(๒) แนวเขตผิดพลาดคลาดเคลื่อน เช่น เดิมรังวัดตามทะเบยี นท่ีดินสาธารณประโยชน์ตอ่ มาพบ
ประกาศหวงหา้ มและปรากฏวา่ อาณาเขตไม่ตรงกนั
(๓) จาลองรูปแผนทหี่ รอื คานวณเนื้อที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อน
ให้จังหวัดสอบสวนพยานหลักฐาน สรุปช้ีแจงเหตุท่ีผิดพลาดคลาดเคลื่อน พร้อมส่งหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวงฉบับท่ีเก็บไว้ ณ สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานท่ีดินจังหวัดสาขา และฉบับผู้ดูแลรักษา
ไปยงั กรมท่ีดิน
ถ้าจะต้องมีการรังวัดตรวจสอบเพื่อให้ทราบว่า รูปแผนที่หรือเน้ือที่ผิดพลาดคลาดเคล่ือนหรือไม่
ให้อธิบดีกรมท่ีดินสงั่ รังวัดตรวจสอบ หรือให้ทบวงการเมืองผู้ดูแลรักษาท่ีดินอนั เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดนิ น้ัน
แสดงความประสงค์ขอรังวัดตรวจสอบต่ออธิบดีกรมท่ีดิน โดยย่ืนผ่านสานักงานที่ดินจังหวัด หรือสานักงาน
ที่ดินจังหวัดสาขา ซ่ึงท่ีดินนั้นต้ังอยู่ในเขต ส่วนวิธีการรังวัดให้อนุโลมปฏิบัติเช่นเดียวกับการรังวัดสอบเขต
โฉนดท่ีดนิ
ข้อ ๔ ถ้าอธิบดีกรมที่ดินได้พิจารณาแล้ว เห็นสมควรว่าจะต้องเพิกถอนหรือแก้ไขก่อนมีคาสั่ง
ให้ดาเนนิ การ ดังนี้
(๑) ให้อธิบดกี รมท่ีดนิ แจ้งให้ทบวงการเมืองหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษา
ท่ดี นิ อนั เป็นสาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดินนัน้ ทราบ เพอ่ื ให้คัดคา้ นภายในกาหนด ๓๐วัน นับแต่วนั ท่ไี ด้รบั แจ้ง
(๒) การเพิกถอนหรือแก้ไขรูปแผนท่ี นอกจากจะต้องดาเนินการตาม (๑) แล้วให้อธิบดีกรมที่ดิน
ส่ังไปยังเจ้าพนักงานท่ีดินท่ีจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา ประกาศการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือ
สาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ประชาชนทราบ มีกาหนด ๓๐ วัน โดยปิดไว้ในท่ีเปิดเผย ณ สานักงานที่ดินจังหวัด
หรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา ๑ ฉบับ ณ ที่ว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องท่ีหรือท่ีทาการเขต ๑ ฉบับ
ที่ทาการกานัน ๑ ฉบับ ในบริเวณที่ดินน้ัน ๑ ฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาลหรือในเขต
กรงุ เทพมหานครให้ปดิ ไว้ ณ ศาลาว่าการอกี ๑ ฉบบั ถ้าเปน็ การแกไ้ ขรูปแผนท่ี ใหม้ ีแผนทแ่ี สดงแนวเขตทดี่ นิ เดมิ
และทจี่ ะแกไ้ ขท้ายประกาศดว้ ย

192 คมู่ ือสนบั สนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั ค่มู ือสนบั สนุนการคุม้ ครองที่ดินของรฐั 190

(๓) ถา้ มีการคัดค้าน ใหอ้ ธบิ ดกี รมทด่ี นิ เสนอเรอ่ื งให้กระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาสง่ั การ
ข้อ ๕ เม่ืออธิบดีกรมที่ดินมีคาสั่งให้เพิกถอนหรือแก้ไขแล้ว ให้ผู้อานวยการกองสารวจและควบคุม
ท่ีดินของรฐั กรมที่ดิน เป็นผหู้ มายเหตุการเพกิ ถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงท้ังสามฉบับให้ถูกตอ้ ง
ตรงกัน โดยปฏิบัติดังน้ี

(๑) กรณีเพิกถอน ให้หมายเหตุด้วยวธิ ีขีดเส้นคู่ขนานด้วยหมึกสีแดงบนด้านหน้าของหนังสือ
สาคญั สาหรับทห่ี ลวง แล้วเขยี นดว้ ยอกั ษรสแี ดงวา่ “หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ฉบบั นี้ไดเ้ พกิ ถอนตามคาส่ัง
อธิบดีกรมท่ีดินท.ี่ ..........ลงวนั ท.่ี ........เดอื น................พ.ศ. ..........” แลว้ ลงนามพรอ้ มวนั เดอื น ปี กากบั ไว้

(๒) กรณแี กไ้ ข ให้ขีดฆา่ ส่วนที่คลาดเคลื่อนออกด้วยหมึกสแี ดง แล้วแก้ไขใหถ้ ูกตอ้ งตามคาส่ัง
และหมายเหตดุ ้วยอักษรสีแดงว่า “ได้แก้ไขตามคาส่ังอธิบดกี รมที่ดินท่ี..................ลงวันท่ี.........เดือน..............
พ.ศ. ............” แล้วลงนามพรอ้ มวนั เดอื น ปี กากบั ไว้

ข้อ ๖ ให้เจ้าหน้าท่ีหมายเหตุการเพิกถอนหรือแก้ไขทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์ให้สอดคล้อง
กบั การเพิกถอนหรอื การแก้ไข ตามข้อ ๕ โดยให้ลงนามพร้อม วัน เดอื น ปี กากบั ไว้ดว้ ย

ข้อ ๗ เม่ือได้มีการเพิกถอนหรือแก้ไขแล้ว ให้อธิบดีกรมที่ดินแจ้งให้ทบวงการเมืองพนักงาน
เจา้ หนา้ ท่ีผู้มอี านาจหนา้ ท่ดี แู ลรักษาทีด่ นิ อนั เป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินนัน้ ทราบอกี ครัง้ หนง่ึ

ข้อ ๘ หนงั สือสาคญั สาหรับท่หี ลวงทไ่ี ด้ดาเนินการเพิกถอนแลว้ ใหเ้ กบ็ ไว้ในกรมท่ดี ิน
ข้อ ๙ การแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง เนื่องจากเขียนหรือพิมพ์ข้อความผิดพลาด
คลาดเคล่ือนโดยมีหลักฐานชัดแจ้ง รวมท้ังการแก้ไขรายละเอียดในหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงที่เปล่ียนแปลงไป ซึ่งมิใช่การแก้ไขรูปแผนท่ีหรือเน้ือที่ เป็นต้นว่าเครื่องหมายท่ีดิน
ขา้ งเคียง เม่ือทบวงการเมืองหรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ผูม้ ีอานาจหนา้ ทด่ี แู ลรักษาที่ดินอันเปน็ สาธารณสมบัติของ
แผ่นดินนั้นยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก้ไข ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด
สาขามีอานาจแกไ้ ขแล้วให้รายงานไปยังกรมทด่ี ินเพ่อื แก้ไขหลักฐานใหถ้ ูกต้องตรงกัน

สาหรับการหมายเหตุการแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงฉบับเก็บไว้ ณ กรมท่ีดิน
ให้ผอู้ านวยการกองสารวจและควบคุมทดี่ นิ ของรฐั กรมทีด่ นิ เป็นผดู้ าเนนิ การ

ขอ้ ๑๐ ใหผ้ ู้อานวยการกองสารวจและควบคุมท่ีดนิ ของรัฐรกั ษาการตามระเบียบน้ี
ประกาศ ณ วันท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๒๙
(ลงชือ่ ) ศริ ิ เกวลินสฤษดิ์
(นายศิริ เกวลินสฤษด)์ิ
อธบิ ดกี รมท่ีดนิ

(หมายเหตุ เวยี นโดยหนังสือเวยี นกรมทีด่ ิน ที่ มท ๐๗๑๑/๒๔๐๙๓ ลงวันท่ี ๑๗ ตุลาคม 25๒๙)

ค่มู ือสนบั สนคมู่ นุ อื กสานรับคสนมุ้ ุนคกราอรคง้มุ ทค่ดีรอินงขที่ดอินงขรอฐั งรฐั 1903
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรอื องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ช่วยเหลอื
ในการดาเนนิ การออกหนงั สือสาคัญสาหรับทหี่ ลวง

พ.ศ. 2543
-----------------------------------------
ด้วยกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควร ปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้
สภาตาบลช่วยเหลือควบคุมการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ. 2519 ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 โดยให้ครอบคลุมถึง
กรุงเทพมหานคร องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล เมืองพัทยา และราชการส่วนท้องถ่ินอื่นที่มีกฎหมาย
จดั ตัง้ ขนึ้ ด้วย กระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว้ ดังตอ่ ไปน้ี
ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ชว่ ยเหลอื ในการดาเนินการออกหนงั สือสาคญั สาหรับท่ีหลวง พ.ศ. 2543”
ขอ้ 2 ระเบยี บน้ใี หใ้ ช้บังคับตั้งแตว่ ันถดั จากประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลกิ
(1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลมีส่วนช่วยเหลือควบคุม
การดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง พ.ศ. 2519
(2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลมีส่วนช่วยเหลือควบคุม
การดาเนนิ การออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ทีห่ ลวง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537
ขอ้ 4 ในระเบยี บน้ี
“สภาตาบล” หมายถึง สภาตาบลตามกฎหมายว่าด้วยสภาตาบลและองค์การบรหิ ารส่วนตาบล
“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายถึง กรุงเทพมหานคร องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
เมืองพัทยา องค์การบรหิ ารส่วนตาบล และราชการส่วนท้องถิ่นทม่ี กี ฎหมายจดั ต้ังขน้ึ
“ผู้บริหารท้องถิ่น” หมายถึง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
นายกเทศมนตรี นายกเมืองพัทยา และประธานกรรมการองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล
“สภาท้องถ่ิน” หมายถึง สภากรุงเทพมหานคร สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาเทศบาล
สภาเมอื งพทั ยา และสภาองค์การบริหารส่วนตาบล
“นายอาเภอ” ให้หมายความรวมถึง ผู้อานวยการเขต ปลัดอาเภอ ผู้เป็นหวั หน้าประจาก่งิ อาเภอ
ข้อ 5 ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ให้จังหวัดส่ังอาเภอทุกอาเภอในเขตจังหวัด ทาการสารวจท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ในเขตท้องท่ีของตนว่ายังไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นจานวนเท่าใด สมควร
ดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงไว้เป็นหลักฐานหรือไม่ เพียงใด พร้อมทั้งเหตุผล แล้วรายงานให้
จังหวดั ทราบเพือ่ รายงานกรมทด่ี นิ ตามแบบทา้ ยระเบยี บนี้
ในการสารวจนี้ อาเภออาจขอให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินร่วมมือช่วยเหลือในการ
สอบสวนประวัติ นาช้ีอาณาเขตที่สงสัยและปฏิบัติการอื่น ๆ เท่าท่ีสภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถจะทาได้

194 คู่มือสนบั สนนุ การค้มุ ครองท่ีดินของรฐั คู่มือสนบั สนุนการคุม้ ครองท่ีดนิ ของรฐั 191

เม่ือท้องท่ีอาเภอใดได้ออกหนังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวงครบถ้วนหมดในปีใดแล้ว ปีต่อไปให้อาเภอนั้น
งดการสารวจตามขอ้ นไ้ี ด้

ข้อ 6 หลังจากทาการสารวจแล้ว เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ออกไปทาการรังวัดเพื่ออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวง ณ ท้องท่ีใด ให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้ความร่วมมือและช่วยเหลือประสานงาน
กับเจา้ หนา้ ทด่ี ังกลา่ ว ดังน้ี

(1) ชแี้ จงและประกาศใหร้ าษฎรในทอ้ งทท่ี ราบ
(2) ให้ความอนุเคราะห์และให้ความสะดวกแก่เจ้าหน้าท่ีในเรื่องท่ีพัก ความปลอดภัย
การติดตอ่ นัดหมายกบั เจ้าของท่ดี ินขา้ งเคียง
(3) ช่วยแกไ้ ขปัญหาอุปสรรค และขอ้ ขดั ข้องต่าง ๆ หากจะเกิดมีขน้ึ
(4) ปฏิบัติการอ่ืน ๆ ตามที่เห็นสมควร เพื่อให้การดาเนินการได้เสร็จเรียบร้อย
สมความมงุ่ หมาย
ข้อ 7 เพื่อให้การรังวัดในการออกหนังสือสาคัญ สาหรับที่ หลวงได้เป็นไปโดยถูกต้อง
ได้เน้ือที่และขอบเขตท่ีแท้จริง เม่ือเจ้าหน้าท่ีจะไปทาการรังวัดเพื่ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงแปลงใด
ใน ท้ อ งที่ ใด น า ย อ าเภ อ จ ะ ได้ แ จ้ งให้ ส ภ า ต าบ ล ห รื อ อ งค์ ก ร ป ก ค ร อ งส่ ว น ท้ อ งถ่ิ น ท ร า บ
ให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมายผู้แทนไปช่วยควบคุมดูแลการรังวัดของเจ้าหน้าท่ี
หากเห็นว่า เป็นการไม่ถูกต้องด้วยประการใด ให้ประธานสภาตาบลหรือผู้บริหารท้องถ่ินแจ้งให้นายอาเภอ
ทราบดว้ ย
เม่ือเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งจากประธานสภาตาบลหรือผู้บริหารท้องถ่ินตาม ความในวรรคห นึ่งแล้ว
ให้ระงับการรังวัดและการดาเนนิ การไวก้ อ่ นจนกวา่ จะได้รบั คาส่งั จากนายอาเภอ
ข้อ 8 ในกรณีที่ปรากฏว่า การรังวัดเพ่ืออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงแปลงใดได้เน้ือท่ีน้อยไปจาก
หลักฐานเดิม โดยไม่ปรากฏว่ามีผู้บุกรุก ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงตามผลการรังวัดดังกล่าวไปก่อน
เสร็จแล้วให้นายอาเภอสอบสวนข้อเท็จจริงว่า ท่ีดินสาธารณประโยชน์แปลงนั้นน้อยไปเพราะเหตุใด มีจานวน
เน้ือที่เท่าใด โดยขอความเห็นต่อสภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือประกอบการพิจารณา
หากสภาตาบลหรอื องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินไมม่ ีความเห็นเป็นอย่างอื่นภายในสามสิบวัน ใหด้ าเนนิ การตอ่ ไป
ขอ้ 9 ในกรณีท่ีมีปัญหาว่า ที่ดินสาธารณประโยชน์แห่งใดสมควรจะคงสภาพเพื่อทาการออกหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวงไว้เป็นหลักฐาน หรือสมควรจะถอนสภาพเพ่ือนามาจัดสรรให้ราษฎรทากิน หรือจัด
ประโยชน์อยา่ งอ่ืน หรอื กรณีที่มผี ู้บกุ รุกสมควรจะดาเนินการขับไล่หรือไม่ เม่ือนายอาเภอร้องขอ ให้สภาตาบล
หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินนัดประชุมพิจารณาให้ความเห็น โดยให้ประชาชน ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา
หน่วยงานของรัฐหรือองค์การเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจร่วมกับสภาตาบลหรือสภาท้องถิ่นด้วย
เสร็จแล้วส่งผลการประชมุ ให้นายอาเภอเพื่อดาเนนิ การตอ่ ไป
ข้อ 10 ในการมอบหมายให้ผู้ใดเป็นผู้แทนสภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามข้อ 7
การประชุมให้ความเห็นชอบตามข้อ 8 และการพิจารณาให้ความเห็นตามข้อ 9 ให้สภาตาบลหรือองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถ่ิน ทารายงานการประชมุ ไว้เป็นหลักฐานทุกคร้ัง

คมู่ อื สนับสนุนการคุ้มครองท่ีดนิ ของรฐั 193

คมู่ อื สนบั สนุนการคุ้มครองท่ดี ินของรฐั 195

ข้อ 11 ในการที่สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้ให้ความช่วยเหลือในการรังวัด
เพอื่ ออกหนังสือสาคญั สาหรับท่ีหลวงแก่ทางราชการตามระเบียบนี้ สภาตาบลหรือองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
อาจไดร้ บั การช่วยเหลอื คา่ ใช้จ่ายเก่ียวกับค่าตอบแทน ค่าจ้าง และค่าเบ้ียเลี้ยงตามอัตราที่กรมท่ีดนิ จะกาหนด
โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั

ประกาศ ณ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2543
(ลงชอ่ื ) วฒั นา อศั วเหม
(นายวัฒนา อัศวเหม)

รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการฯ ปฏบิ ัติราชการแทน
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

(ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาฉบับประกาศทวั่ ไป เล่ม 117 ตอนพิเศษ 43 ง วันที่ 8 พฤษภาคม 2543)


Click to View FlipBook Version