The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปความเห็นทางกฎหมายของคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ที่เกี่ยวข้องกับการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน พ.ศ. 2531-2560) (ปี 2562)

สำนักกฎหมาย (KM ปี 2562)

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

คำนำ

กรมที่ดินมีภารกิจสาคัญเก่ียวกับการคุ้มครองสิทธิในท่ีดินของบุคคลและจัดการที่ดินของรัฐ
โดยการรังวัดและทาแผนที่ การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน การให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เก่ยี วกับอสังหาริมทรัพย์ การส่งเสรมิ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และการจัดการข้อมลู สารสนเทศที่ดนิ เพ่ือใหบ้ ุคคล
มีความมั่นคงในการถือครองที่ดินและได้รับบริการที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการบริหารจัดการท่ีดินของรัฐ
ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการท่ีบัญญัติไว้ใน
ประมวลกฎหมายที่ดนิ อนั เปน็ กฎหมายหลกั ทีส่ าคัญและกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งตอ่ การปฏิบัตงิ านของกรมที่ดนิ

แตอ่ ย่างไรก็ตามในการปฏบิ ัติงานก็มปี ัญหาทแี่ ตกตา่ งกันไปและบางครง้ั หาขอ้ ยตุ ิไม่ได้ จึงตอ้ ง
ส่งเรื่องให้ “คณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน” ซ่ึงประกอบด้วยผู้บริหารของกรมที่ดิน
รวมถึงที่ปรึกษาจากหน่วยงานต่าง ๆ ซ่ึงล้วนแล้วแต่มีความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างสูง เป็นผู้พิจารณา
วินิจฉัยปัญหาดังกล่าว และยังได้เป็นแนวบรรทัดฐานให้พนักงานเจ้าหน้าที่ใช้ประกอบการปฏิบัติหน้าท่ี
ให้เป็นไปโดยถูกต้อง รวดเร็ว และเกิดความเป็นธรรมแก่ประโยชน์มหาชนและประโยชน์ของเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง
จึงได้รวบรวมและประมวลความเห็นของคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดินที่ผ่านความเห็นชอบ
ของกรมท่ีดิน ท่ีเกี่ยวกับการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเป็นองค์ความรู้เร่ือง “สรุปความเห็นทางกฎหมาย
ของคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ที่เกี่ยวข้องกับการออกหนังสือแสดงสิทธิ
ในที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๖๐” ซ่ึงเป็นการดาเนินการจัดการความรู้ตามแผนจัดการความรู้ของกรมท่ีดิน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ท้ังน้ี เพ่ือความสะดวกสาหรับศึกษา ค้นคว้า และอ้างอิงในการปฏิบัติงาน
ของพนักงานเจ้าหน้าที่กรมที่ดิน หรือผู้สนใจที่จะทาความเข้าใจถึงสิทธิและหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
รวมทง้ั เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการบรหิ ารราชการแผ่นดินให้เกดิ ประสิทธิภาพ โปรง่ ใส และเป็นธรรม

กรมที่ดินหวังเป็นอย่างย่ิงว่าการรวบรวมและประมวลความเห็นของคณะกรรมการพิจารณาปัญหา
ข้อกฎหมายของกรมที่ดินในโอกาสนี้ จะอานวยประโยชน์ในการนาไปใช้ศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติงาน ตลอดจน
อ้างอิงในการให้บริการประชาชนได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติงานตามภารกิจสาเร็จลุล่วงไปได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพส่งผลใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ต่อประชาชนผรู้ ับบริการ

กรมทีด่ นิ กระทรวงมหาดไทย
สานักกฎหมาย
กองฝึกอบรม



สำรบัญ

เรื่อง หนำ้

๑. ขอให้ตรวจสอบหนังสอื รับรองการทาประโยชน์ ๑
ท่ถี ูกเขตชลประทานโครงการแมม่ าน จงั หวดั แพร่

๒. ร้องเรียนกรณเี พิกถอน น.ส. ๓ ก. บางส่วน ๔
๓. การออกหนงั สือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) ในเขตปา่ ปากช่องหมูสี

(ขอ้ เท็จจรงิ จากการสอบสวนตา่ งกับข้อเทจ็ จรงิ ใน ส.ค. ๑) ๖
๔. นางพะยอม ร้องเรียนขอใหเ้ พิกถอนใบแทนโฉนดทดี่ ิน
๕. การรบั โอนการครอบครองทีด่ ินทมี่ ีใบจองโดยทางอ่นื นอกจากการตกทอดทางมรดก ๘

จะนาทาการเดินสารวจเพื่อออกโฉนดท่ีดนิ ได้หรือไม่ ๑๐
๖. ศาลมคี าพพิ ากษาเป็นอย่างอ่ืน ตามมาตรา ๖๓ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายทีด่ นิ ๑๑
๗. การแจ้งคาสัง่ สอบสวนเปรยี บเทยี บตามมาตรา ๖๐ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายทีด่ ิน ๑๒
๘. อานาจสอบสวนเปรียบเทียบของเจา้ พนกั งานทีด่ ิน ตามมาตรา ๖๐ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ ๑๓
๙. หารอื การเปล่ยี น น.ส.๓ เปน็ น.ส.๓ ก. รายนายวาสิต ๑๔
๑๐. กรณที ่ีเจ้าพนักงานที่ดนิ สอบสวนเปรยี บเทยี บและมีคาสง่ั ออกโฉนดที่ดนิ ใหแ้ กผ่ ู้คัดค้าน ๑๕
๑๑. หารือการนา น.ส. ๓ บางส่วนทย่ี งั ไม่ได้ออกโฉนดท่ีดนิ มาขอออกโฉนดที่ดนิ เฉพาะราย ๑๖
๑๒. การรับคาคัดค้านภายหลงั วนั ครบกาหนดประกาศ ๑๗
๑๓. การรงั วดั ออกโฉนดท่ดี นิ ราย การรถไฟแหง่ ประเทศไทย
๑๔. การออกโฉนดทด่ี ินในเขตพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขตหวงหา้ มทด่ี ิน พ.ศ. ๒๔๘๑ ๑๘
๑๕. กรณีที่ถอื ว่า น.ส. ๓ ฉบับสานักงานทดี่ นิ และฉบับผู้ถือชารดุ ๑๙

ตามมาตรา ๖๔ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ ๒๐
๑๖. รอ้ งเรียนการทจุ รติ ในการออกเอกสารสทิ ธิ (ป่าเขาไมแ้ กว้ อาเภอบางละมงุ ) ๒๑
๑๗. หารือการจดทะเบียนประเภทได้มาโดยการครอบครอง ๒๒
๒๔
โดยไม่ได้ น.ส.๓ ก. ฉบบั ผูถ้ ือมา
๑๘. น.ส.๓ ก. เดินสารวจในเขตป่าไม้ถาวร
๑๙. ขอออกใบแทน น.ส.๓ ในกรณีทศี่ าลมีคาพิพากษาถึงทีส่ ดุ
๒๐. ขอความเป็นธรรมเก่ยี วกบั แนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ
๒๑. การรงั วัดเปลีย่ นโฉนดตราจองเป็นโฉนดทด่ี ินโดยไมต่ ้องดาเนินการประกาศแจกโฉนดท่ีดิน

สารบญั

เรือ่ ง หนา

๒๒. การออก น.ส.๓ ก. ในหมูบานตวั อยาง ๒๖
๒๓. เจา ของกรรมสิทธริ์ วมเพยี งบางคนยนื่ คาํ ขอออกใบแทนโฉนดท่ดี ิน ๒๗
๒๔. นําใบจองมาเปนหลกั ฐานในการออกหนังสอื แสดงสิทธิในที่ดนิ ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน ๒๘
๒๕. การขอออกใบแทนเพื่อจดทะเบียนภาระจํายอมตามคําพิพากษา ๒๙
๒๖. หารือการออกโฉนดทีด่ นิ เฉพาะราย ตามมาตรา ๕๙ ทวิ แหงประมวลกฎหมายทด่ี นิ ๓๑
๒๗. การแกไขพระราชบัญญัตกิ ารนคิ มอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ ๓๔

(การนคิ มฯ จะออกโฉนดหรอื น.ส.๓ ไดห รอื ไม) ๓๕
๒๘. ทบทวนขอ หารือการออกโฉนดทดี่ ินสบื เน่อื งจาก ส.ป.ก. ๔-๐๑ ๓๖
๒๙. รงั วัดตรวจสอบ น.ส.๓ เพื่อเปลี่ยนเปน น.ส.๓ ก. ในเขตปา สงวนแหงชาติ ๓๗
๓๐. ขอออกใบแทนเพ่ือจดทะเบยี นการไดมาซง่ึ สิทธิครอบครอง (รายนางกอง จังหวัดอทุ ัยธานี) ๓๘
๓๑. ประเภทที่ดนิ ของศาลเจา ที่ไมมีสภาพเปนศาลเจา และไมไ ดขึน้ ทะเบียนท่ีดนิ ศาลเจาไว ๓๙
๓๒. การจัดสง โฉนดทด่ี ินและสารบบทีด่ ิน กรณีมีการแบงเขตการปกครอง ๔๐
๓๓. ท่ีดินในเขตประทานบตั รทําเหมอื งแรที่หมดอายุจะมีสถานะเปน ทด่ี นิ ประเภทใด ๔๑
๓๔. หารือทางปฏิบัติในการดาํ เนินการเพิกถอนโฉนดทดี่ นิ ตามคําพพิ ากษา ๔๒
๓๕. หารือการนําคาํ พิพากษาศาลฎกี าประกอบการออกโฉนดท่ีดนิ ๔๓
๓๖. หารือการออกใบแทนโฉนดท่ีดินเพือ่ จดทะเบียนลงชอ่ื รว มในโฉนดท่ดี นิ ๔๔
๓๗. ประกาศกําหนดวันแจกโฉนดทดี่ ิน ตามมาตรา ๕๘ ตรี แหงประมวลกฎหมายทด่ี ิน ๔๕
๓๘. หารอื เร่อื งหนังสอื แสดงสิทธิในทีด่ ินทอ่ี อกบรเิ วณที่มีความลาดชนั เกิน ๓๕ % ๔๖
๓๙. หารือการรองเรยี นขอความเปนธรรม กรณีนําทด่ี นิ ของโรงเรียนไปออก
๔๘
หนงั สือรับรองการทาํ ประโยชนโดยมชิ อบ ๔๙
๔๐. ราษฎรเรยี กรอ งใหทางราชการออกเอกสารสิทธทิ ด่ี นิ ในเขตสุขาภิบาลซงึ่ อยูในเขตปฏริ ูปที่ดิน ๕๐
๔๑. การออกโฉนดทีด่ ินทับท่ีดนิ ในเขตสมั ปทานบัตร ๕๑
๔๒. การเดนิ สาํ รวจออกโฉนดที่ดินในเขตโครงการจัดรูปทด่ี ินเพื่อเกษตรกรรม ๕๓
๔๓. ผนู ําเดินสาํ รวจขายท่ดี นิ ใหแกผูอ่นื ๕๔
๔๔. การนาํ ส.ค. ๒ มาขอออกหนงั สือแสดงสทิ ธใิ นที่ดนิ ตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ ๕๖
๔๕. การออกโฉนดทด่ี นิ โดยอาศยั หลักฐาน กสน. ๕
๔๖. แตง ต้ังคณะกรรมการตรวจพิสูจนทด่ี นิ กรณขี อออก

หนงั สือรับรองการทําประโยชน (น.ส.๓ ก.) ในเขตปา สงวนแหงชาติ

สารบัญ

เรือ่ ง หนา

๔๗. การคัดคานการรงั วัดสอบเขตโฉนดท่ดี ิน ๕๗

๔๘. วดั แหลมพอขอรังวดั ออกโฉนดท่ดี ินในทีเ่ กาะโดยมิไดแจงการครอบครอง ๕๘

๔๙. ขอออกโฉนดท่ีดินเฉพาะรายโดยมิไดแ จงการครอบครองในเขตนคิ มสหกรณพ ราว ๕๙

๕๐. การดาํ เนินการตามบนั ทึกขอตกลงระหวา งกรมท่ีดินกับสํานกั งานการปฏริ ปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ๖๐
เรอ่ื ง วิธีปฏิบตั ิเก่ียวกบั การออกเอกสารสิทธใิ นท่ีดนิ ในเขตปฏริ ูปทด่ี ิน พ.ศ. ๒๕๔๑

๕๑. การฟองศาลตามมาตรา ๖๐ หรอื มาตรา ๘๑ แหง ประมวลกฎหมายทีด่ ิน ๖๑

๕๒. น.ส. ๓ ก. ทีถ่ กู ยกเลกิ ตามมาตรา ๕๘ ตรี แหง ประมวลกฎหมายที่ดิน ๖๒

๕๓. ผมู สี ทิ ธิในทด่ี ินจากการขายทอดตลาดตามคาํ สง่ั ศาล ๖๓

๕๔. การตง้ั คณะกรรมการตามกฎกระทรวงออกตามความในมาตรา ๖๑ ๖๔
แหงประมวลกฎหมายท่ดี นิ และกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)
ออกตามความในพระราชบัญญตั ิใหใ ชประมวลกฎหมายทดี่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗

๕๕. การออกหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ไปโดยไมชอบดวยกฎหมาย ๖๖

๕๖. ผมู ีสิทธขิ อออกใบแทนหนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทีด่ นิ ๖๗

๕๗. “ที่เกาะ” ตามนัยขอ ๑๔ (๓) แหงกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๓ ออกตามความในพระราชบัญญัติ ๖๘
ใหใชป ระมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗

๕๘. การออกหนังสือแสดงสิทธใิ นท่ดี นิ ตามแบบแจงการครอบครองทด่ี นิ (ส.ค. ๑) ๖๙

๕๙. ขอใหพจิ ารณาทบทวนและตรวจสอบเก่ยี วกบั การออกโฉนดทด่ี ิน ๗๐
ในบริเวณโครงการกําจัดน้ําเสียเขตควบคมุ มลพิษ จงั หวัดสมทุ รปราการ

๖๐. การขอออกใบแทนเพอ่ื จดทะเบียนภาระจํายอมตามคําพิพากษา ๗๑

๖๑. การเพิกถอนหนงั สือแสดงสิทธใิ นทีด่ นิ ๗๒

๖๒. เจา พนกั งานบงั คบั คดขี ออกใบแทนโฉนดท่ีดิน ๗๓

๖๓. การออกโฉนดทดี่ นิ ในเขตพระราชกฤษฎกี ากาํ หนดเขตปฏริ ูปท่ีดิน ๗๔

๖๔. หนังสอื รบั รองการทาํ ประโยชน (น.ส. ๓) ไมม ีเลขทีจ่ ะเปนการออกไป ๗๕
โดยชอบดวยกฎหมายหรือไม

๖๕. การจาํ หนายโฉนดท่ดี ินที่โอนกลบั เปน ทีส่ าธารณประโยชน ๗๖

๖๖. ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งเสร็จที่ ๕๓๕/๒๕๔๙ เรอื่ ง การออกโฉนดทีด่ ิน ๗๗
ในเขตหา มลา สตั วปา ตามกฎหมายวาดว ยการสงวนและคุมครองสัตวปา สง ผลกระทบ
ตอการเดินสาํ รวจออกโฉนดตามโครงการแปลงสินทรพั ยเ ปนทนุ ในพน้ื ท่ี
เขตหามลาสัตวป าที่ไดด าํ เนินการไปแลวหรอื

สารบัญ

เรอื่ ง หนา

๖๗. การนําใบจองมาใชเปน หลักฐานในการออก น.ส. ๓ ก. ในทอ งท่ีอําเภอครบุรี จ.นครราชสมี า ๗๘

๖๘. หารอื แนวทางปฏบิ ตั ิการออกโฉนดทดี่ ินตามโครงการเดนิ สํารวจฯ ในเขตหา มลาสัตวป า ๗๙
๖๙. การเพิกถอนโฉนดท่ีดนิ บรเิ วณโครงการจดั การน้าํ เสียเขตควบคมุ มลพิษ ๘๐

จงั หวดั สมทุ รปราการ

๗๐. การแกไขโฉนดท่ดี ินตามคําพิพากษา ๘๒
๗๑. การพิจารณาหนังสือรบั รองการทาํ ประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ท่อี อกในเขตปาไมถาวร ๘๓
๗๒. การนาํ ใบไตสวนทอ่ี อกกอนวันท่ปี ระมวลกฎหมายทีด่ นิ ใชบังคับมาเปนหลักฐาน ๘๔

ในการขอออกโฉนดทด่ี นิ เฉพาะราย ๘๕
๗๓. การเพิกถอนหนังสือรับรองการทาํ ประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ๘๗
๗๔. คา ปวยการของผปู กครองทอ งที่ ตามขอ ๔ (๓) แหง กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๘ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
๘๘
ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใ ชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
๗๕. การเดนิ สาํ รวจออกหนังสือรบั รองการทาํ ประโยชน (น.ส. ๓ ก.)

ในเขตพ้ืนท่ีปา ไมตามมติคณะรฐั มนตรี เม่ือวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๑๕๐๔

๗๖. แนวทางปฏิบัติในการออกหนังสือรบั รองการทาํ ประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ๘๙
กรณีความเหน็ ของคณะกรรมการกฤษฎกี าแตกตา งกับคําวินิจฉยั ของศาลปกครองสงู สุด

๗๗. หารือการออกโฉนดที่ดนิ ในเขตนิคมกสิกรรมและนิคมเกลอื ในรปู สหกรณ ๙๐

๗๘. หารอื เพ่ิมเติมเรื่อง การออกโฉนดทด่ี นิ ในเขตนคิ มกสิกรรมและนิคมเกลือในรูปสหกรณ ๙๑
๗๙. หารือการระวงั ชี้แนวเขตและลงชื่อรับรองแนวเขตท่ดี นิ และคา ปว ยการของผปู กครองทอ งท่ี ๙๒
๘๐. หารือกรณีผูมสี ทิ ธจิ ดทะเบยี นภาระจํายอมตามคําพิพากษาขอออกใบแทน ๙๓

๘๑. การออกใบแทนโฉนดที่ดิน ๙๔
๘๒. การออกโฉนดท่ดี ินหรอื หนังสือรบั รองการทําประโยชนใ นเขตปฏริ ูป ๙๕

(นายวัชรินทร ขอออกหนงั สอื รับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.))

๘๓. หารอื การออกโฉนดที่ดนิ ของกระทรวงการคลังจะดาํ เนินการสอบสวนเปรียบเทยี บไดหรือไม ๙๗
๘๔. หารอื การออกโฉนดท่ีดินซ่งึ อยใู นเขตปาไม ๙๘
๘๕. สํานกั งานการปฏริ ปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมและบุคคลทีจ่ ะขอออกหนังสอื แสดงสทิ ธิในที่ดนิ ๑๐๐

๘๖. หารือกรณผี ูมสี ทิ ธจิ ดทะเบียนภาระจาํ ยอมตามคําพิพากษาขอออกใบแทน ๑๐๒

๘๗. แนวทางปฏิบตั ิในการออกโฉนดทด่ี ิน กรณีความเหน็ ของคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๐๓
ขดั แยงกับคําพพิ ากษาศาลฎีกา

๘๘. การแกไ ขเลขที่ดนิ เลขหนาสาํ รวจ และเลขโฉนดทดี่ นิ เนอื่ งจากมีการเปลีย่ นแปลงเขตการปกครองใหม ๑๐๕

สารบัญ

เรื่อง หนา

๘๙. การดําเนินการกับโฉนดที่ดินรายบริษัท อาชาแลนด จํากดั ๑๐๖
ตามมาตรา ๖๑ แหง ประมวลกฎหมายทดี่ ิน
๑๐๘
๙๐. ท่ดี ินของรฐั ซง่ึ อยูในเขต ส.ป.ก. สามารถนาํ มาออกโฉนดท่ีดินไดหรือไม ๑๐๙
๙๑. การขอออกโฉนดท่ีดินในท่ีดินของรัฐในเขตปฏิรปู ๑๑๐
๙๒. การเพิกถอนหนังสอื รับรองการทาํ ประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขท่ี ๑๒๘๑

ต.หลอ ยงู อ.ตะกวั่ ปา จ.พังงา

ภาคผนวก

ความเหน็ คณะกรรมการกฤษฎกี าท่เี ก่ียวของ

- เร่ืองเสรจ็ ที่ ๔๐๒/๒๕๓๐ ๑๑๕
- เรื่องเสรจ็ ที่ ๑๔๒/๒๕๓๓ ๑๒๐
- เรอื่ งเสร็จที่ ๑๑๗/๒๕๓๔ ๑๒๔
- เรือ่ งเสร็จท่ี ๖๙๔/๒๕๓๖ ๑๓๕
- เร่ืองเสรจ็ ที่ ๒๐๗/๒๕๓๗ ๑๔๐
- เรื่องเสรจ็ ท่ี ๕๓๕/๒๕๔๙ ๑๔๗

หนงั สอื เวียนที่เก่ยี วของ

- ที่ มท. ๐๖๐๘/ว. ๖๖๕๒ ลงวนั ที่ ๑๖ มนี าคม ๒๕๑๔ ๑๕๗
เร่อื ง ขอออกใบแทนโฉนด

- ที่ มท. ๐๖๐๖/๙๕๒๔ ลงวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๒๐ ๑๕๘
เรื่อง ปญหาขอกฎหมายกรณีออกใบแทนโฉนดทด่ี ิน

- ท่ี มท ๐๖๐๙/๓/ว. ๒๐๑๕๓ ลงวันที่ ๒๔ กนั ยายน ๒๕๒๔ ๑๕๙
เร่ือง การออกโฉนดที่ดนิ หรือหนงั สอื รับรองการทําประโยชนในเขตปฏิรปู

- ที่ มท ๐๖๐๙/ว. ๒๔๕๔๓ ลงวันท่ี ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๒๕ ๑๖๐
เร่ือง ตอบขอ หารือการเรยี กเกบ็ คาธรรมเนียมในการเปล่ยี น น.ส. ๓ เปน น.ส. ๓ ก.

- ท่ี มท ๐๗๐๗/ว. ๑๐๗๕๓ ลงวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๗ ๑๖๒
เรอ่ื ง หารอื เกย่ี วกบั การออกโฉนดทด่ี นิ ในเขตโครงการจดั รปู ท่ีดินจงั หวดั พิจติ ร

- ที่ มท ๐๗๑๒/๑๒๑๗๒ ลงวนั ที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๒๘ ๑๖๕
เร่ือง การเพิกถอนหนงั สือรบั รองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ในเขตปาไมถาวร
(เวยี นโดยหนังสอื กรมท่ีดิน ที่ มท ๐๗๑๒/ว ๑๓๕๙๔ ลงวนั ที่ ๕ มิถนุ ายน ๒๕๒๘)

- ที่ มท ๐๗๑๒/ว. ๐๑๒๗๕ ลงวันท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๓๐๑๖๗เร่อื ง การออกใบแทนโฉนดท่ดี ินเพื่อจด
ทะเบยี นโอนตามคําพิพากษาของศาล

สารบญั หนา

เรือ่ ง ๑๖๙

- ท่ี มท ๐๗๑๙/ว ๑๐๖๖ ลงวนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๔๐ ๑๗๑
เร่อื ง การบุกรุกที่ดินในเขตปาชายเลน
๑๗๓
- ท่ี มท ๐๗๑๙/ว ๑๑๑๐ ลงวนั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๔๐
เรื่อง ใหส อบผปู กครองทองที่กอ นออกโฉนดทีด่ นิ ๑๗๕

- ท่ี มท ๐๗๑๙/ว ๑๘๓๓๓ ลงวนั ที่ ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๔๐ ๑๗๗
เร่ือง การแกไ ขปญหาการออกเอกสารสทิ ธิในเขตปฏริ ูปทดี่ ิน
๑๗๙
- ท่ี มท ๐๗๑๙/ว ๓๔๑๖๖ ลงวนั ที่ ๖ ตลุ าคม ๒๕๔๒
เรือ่ ง แนวทางปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับเอกสารสิทธิท่ีออกในเขตปาไม ๑๘๐

- ที่ มท ๐๗๑๙/ว ๔๑๒๐๔ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ๑๘๒
เร่ือง การแกไขปญหาการออกเอกสารสิทธใิ นเขตปฏิรูปทด่ี ิน
๑๘๗
- ท่ี มท ๐๗๒๙.๒/ว ๔๗๙๐ ลงวนั ท่ี ๑๑ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๕
เร่ือง การฟอ งศาลตามมาตรา ๖๐ แหงประมวลกฎหมายท่ีดนิ ๑๙๐

- ท่ี มท ๐๗๒๙.๒/ว ๒๗๑๑๐ ลงวนั ที่ ๕ กนั ยายน ๒๕๔๕ ๒๐๕
เรือ่ ง การฟอ งศาลตามมาตรา ๖๐ แหง ประมวลกฎหมายท่ีดนิ ๒๐๙
๒๑๑
- ท่ี มท ๐๕๑๖.๒/ว ๓๕๗๒๘ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๕ ๒๑๙
เรือ่ ง แนวทางปฏิบัติกรณีมีผโู ตแยงคัดคา นการออกหนังสอื แสดงสทิ ธิในทีด่ ิน ๒๒๐
ตามมาตรา ๖๐ แหง ประมวลกฎหมายทด่ี นิ ๒๒๕
๒๒๘
- ที่ มท ๐๕๑๖.๒/ว ๘๕๙๑ ลงวนั ท่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๗ ๒๓๖
เร่ือง การฟอ งศาลตามมาตรา ๖๐ แหงประมวลกฎหมายท่ีดนิ ๒๔๒

- ที่ มท ๐๕๑๖.๕/ว ๑๒๖๔๖ ลงวนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖
เร่ือง หารอื กรณผี ูมสี ทิ ธิจดทะเบียนภาระจํายอมตามคาํ พิพากษาขอออกใบแทน

คาํ พิพากษาศาลฎกี าและคาํ สั่งศาลปกครองทเ่ี กี่ยวขอ ง

- คําพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๓๗๑/๒๔๗๔
- คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๑๒๕๓/๒๕๐๐
- คําพิพากษาศาลฎกี าที่ ๘๐๐/๒๕๐๒
- คาํ พิพากษาศาลฎกี าที่ ๖๑๕/๒๕๐๔
- คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๕๐๘/๒๕๐๖
- คาํ พิพากษาศาลฎกี าท่ี ๘๕๖ – ๘๕๗/๒๕๐๘
- คําพิพากษาศาลฎกี าที่ ๑๙๗/๒๕๐๙
- คําพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๑๐๑๓/๒๕๐๙
- คาํ พิพากษาศาลฎีกาท่ี ๑๗๕๘/๒๕๑๓

สารบัญ หนา

เรือ่ ง ๒๔๘
๒๕๓
- คําพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๒๐๖๗/๒๕๑๘ ๒๕๘
- คําพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๑๙๑๘/๒๕๒๙ ๒๖๑
- คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๑๒๕๔/๒๕๓๐ ๒๖๔
- คาํ พิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๒๘๗/๒๕๓๒ ๒๖๗
- คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๒๕๒๖/๒๕๓๖ ๒๖๙
- คําพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๖๗๑๑/๒๕๓๗ ๒๗๒
- คาํ พิพากษาศาลฎกี าที่ ๑๘๓๔/๒๕๔๕
- คาํ สัง่ ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี ๖๔/๒๕๔๔



-- ๑1- -

เรื่องท่ี ๑ ขอใหต้ รวจสอบหนังสือรับรองการทาประโยชนท์ ่ีถูกเขตชลประทานโครงการแม่มาน จังหวดั แพร่
เรอ่ื งเสร็จท่ี ๑๗/๒๕๓๑
ประเดน็ พจิ ารณา

สานักงานชลประทานท่ี ๒ จังหวดั ลาปาง ขอให้กรมท่ีดนิ ตรวจสอบ น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๑๕๑๗,
๑๕๑๙, ๑๕๒๐, ๑๕๒๑ และ ๑๕๒๔ ตาบลหัวฝาย อาเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ว่าออกโฉนดท่ีดินชอบด้วย
กฎหมายหรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๗/๒๕๓๑ เม่ือวันที่ ๒๓
มิถนุ ายน ๒๕๓๑

น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๑๕๑๗, ๑๕๑๙, ๑๕๒๐, ๑๕๒๑ และ ๑๕๒๔ ตาบลหัวฝาย อาเภอสูงเม่น
จานวน ๕ แปลง ออกจากหลักฐานการแจ้งการครอบครอง (ส.ค.๑) เมื่อปรากฏว่าท่ีดินดังกล่าวถูกเขต
คลองส่งนาชลประทานโครงการแม่มานตัดผ่าน และปจั จุบันท่ีดินบริเวณดงั กลา่ วมีสภาพเป็นอ่างเก็บนาไปแล้ว
ดังนัน ไมว่ ่า น.ส. ๓ ก. จะถูกเพิกถอนหรอื ไมก่ ็ตาม เจา้ ของทดี่ ินทัง ๕ ราย ก็ชอบท่ีจะได้รบั เงินคา่ ทดแทนท่ีดิน
เพราะเหตุถูกคลองชลประทานตัดผ่าน ซึ่งจังหวัดได้แจ้งว่ากรณีนีพนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนสทิ ธิและนิติกรรม
ให้ได้ จงึ ควรใหด้ าเนนิ การได้ และแจ้งกรมชลประทานทราบด้วย

กองวชิ าการ (กองนิตกิ าร) พิจารณาแล้วเหน็ ว่า
๑. ท่ีดินดังกล่าวได้มีการแจ้งการครอบครอง (ส.ค.๑) ไว้แล้ว ก่อนมีการจาแนกเป็นเขตป่าไม้ถาวร
ดังนัน เจ้าของท่ีดินจึงเป็นบุคคลผู้ได้มาซึ่งสิทธิครอบครองในท่ีดินก่อนวันท่ีประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับ
ย่อมไดร้ ับการคมุ้ ครอง ตามมาตรา ๔ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ ตามนัยคาพพิ ากษาศาลฎีกา ที่ ๘๕๖-๘๕๗/๒๕๐๘
๒. เมื่อได้มีการออก น.ส. ๓ ก. ไปแล้ว ในเบืองต้นก็ต้องสันนิษฐานว่าเป็นการออกโดยชอบ
หากผใู้ ดเหน็ ว่าเปน็ การออกโดยไมช่ อบ ผ้นู นั กค็ วรเป็นผพู้ ิสูจน์ใหไ้ ด้ความว่าไม่ชอบ
๓. เรื่องนีหากเพิกถอน น.ส. ๓ ก. ดังกล่าวแล้วและจะให้ผู้ครอบครองมาขอออกเฉพาะรายอีก
กย็ ่อมทาไม่ได้ เพราะสภาพพนื ทีเ่ ป็นอา่ งเก็บนาไปแลว้
กองวิชาการจึงเห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของ
กรมที่ดิน โดยแจ้งกรมชลประทานตามนัยดังกล่าว จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาหากเห็นชอบด้วยจะได้แจ้ง
กองหนงั สือสาคญั เพ่อื ดาเนนิ การตอ่ ไป

ความเหน็ กรมทีด่ นิ เห็นชอบดว้ ยตามข้อ ๑ และข้อ ๒

--๒2- -

เรอ่ื งที่ ๒ ร้องเรยี นกรณเี พิกถอน น.ส. ๓ ก. บางสว่ น
เรอื่ งเสรจ็ ที่ ๒๑/๒๕๓๑
ประเดน็ พิจารณา

นายทวีศักดิ์ ได้ร้องเรียนต่อกรมที่ดินวา่ น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๒๘๑๙ ตาบลเมืองแก อาเภอท่าตูม
ซึ่งผู้ ร้อ งเป็ น เจ้าข อ งถู กเพิ กถ อ น บ างส่ วน ต าม ค าสั่ งขอ งจั งห วัด สุ ริน ท ร์ เน่ื องจากอ อ ก ทั บ ท่ี
หนองสาธารณประโยชน์ (หนองแวง) บางสว่ น

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๕/๒๕๓๑ เมื่อวันที่ ๑๒
เมษายน ๒๕๓๑

๑. ที่ดินของนายจันทร์ ตาม น.ส. ๓ เดิมเลขที่ ๒๐ นัน ปรากฏว่าตามหลักฐาน ส.ค.๑
แจ้งไว้ว่า ทิศตะวันออกจดหนองแวง และระยะด้านทิศเหนือยาว ๑๐ เส้น (มีรอยขีดฆ่าใหม่เป็น ๕ เส้น) ด้านทิศใต้
ยาว ๑๐ เส้น (มีรอยขีดฆ่าใหม่เป็น ๕ เส้น ๕ วา) เมื่อครังนามาออก น.ส. ๓ เลขท่ี ๒๐ ปรากฏว่าด้านทิศตะวันออก
จดท่ีดินของนายจันทร์เองและระยะด้านทิศเหนือยาว ๔ เส้น ๓ วา ทิศใต้ยาว ๔ เส้น ๓ วา ซ่ึงแตกต่างกับ
ระยะใน ส.ค.๑ ประกอบกับข้างเคียงก็แตกต่างกันด้วย จึงเป็นเหตุให้มีข้อสงสัยว่า ที่ดินตาม น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๒๕๒๔
ซ่ึงอยู่ทางทิศตะวันออก (ของที่ดินตาม น.ส. ๓ เลขที่ ๒๐) นัน จะเป็นที่สาธารณประโยชน์หรือเป็นที่ดินของ
นายจนั ทร์ ซ่งึ ยงั มเี หลอื อย่จู ากการออก น.ส. ๓ เลขท่ี ๒๐ ข้อเทจ็ จรงิ ในเร่อื งยังไม่อาจพิจารณาวินจิ ฉยั ได้

๒. เมื่อท่ีดินตาม น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๒๕๒๔ นีนายอ้าย ได้เป็นผู้นาพนักงานเจ้าหน้าท่ีทาการ
เดินสารวจออก น.ส. ๓ ก. เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๑๘ แล้วต่อมานายอ้าย ได้ไปแจ้งความจานงและ
บันทึกไว้เป็นหลักฐานต่อนายอาเภอท่าตูม ยกท่ีดินดังกล่าวให้กับทางราชการเพ่ือใช้เป็นที่สาธารณประโยชน์
เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๒๕ ดังนี ท่ีดินแปลงนีจึงตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินตังแต่วันที่ยกให้เป็นต้นมา
แม้จะยังไม่ได้จดทะเบียนยกให้ก็ตาม ดังนัน จึงควรให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีบันทึกไว้ใน น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๒๕๒๔
เพอ่ื เปน็ หลกั ฐานวา่ ทีด่ ินแปลงนเี ป็นสาธารณสมบัติของแผน่ ดินแลว้

๓. เรื่องท่ีศาลจังหวัดสุรินทร์ได้มีหนังสือท่ี ยธ ๐๓๐๐.๓๐๗/๒๒๕๑ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๒๖
ยนื ยันตามหนงั สอื ท่ี ๑๐๓๒/๒๕๒๖ ลงวันท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๒๖ ขอให้อาเภอจดทะเบียนตามคาพิพากษาตามยอม
ระหวา่ ง นายทวีศักด์ิ กับนายอา้ ย ตามที่นายอ้าย ได้ทาสญั ญาประนีประนอมยอมความยกท่ีดินตาม น.ส. ๓ ก.
เลขที่ ๒๕๒๔ ตาบลเมืองแก อาเภอทา่ ตมู ให้แก่นายทวีศกั ด์ิ นนั

ทีป่ ระชมุ มีความเหน็ เป็น ๒ ฝา่ ย ดงั นี
ฝา่ ยท่ี ๑ เห็นว่า ก่อนจดทะเบียนโอนตามคาพิพากษา ควรบันทึกให้นายทวศี ักดิ์ ทราบไวด้ ้วยว่า
ทดี่ ินแปลงนีเป็นที่สาธารณประโยชน์แล้ว หากนายทวีศักดิ์ ยนื ยันให้จดทะเบียนโอนตามคาพิพากษาดังกล่าวก็
จดได้ เนือ่ งจากการจดทะเบยี นไมม่ ผี ลแต่อยา่ งใด
ฝ่ายที่ ๒ เห็นว่า เม่ือที่ดินแปลงนีตกเป็นท่ีสาธารณประโยชน์แล้ว ตามข้อ ๒ พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ก็ไมอ่ าจจดทะเบยี นโอนตามคาพพิ ากษาได้ เพราะประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๐๕ บัญญตั ิว่า
“ทรัพย์สินซ่ึงเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนันจะโอนแก่กันมิได้ เว้นแต่อาศัยอานาจแห่งบทกฎหมายเฉพาะ
หรือพระราชกฤษฎกี า”

-- ๓3- -

กองวิชาการ (กองนิติการ) พิจารณาแล้วเห็นว่า ที่ดินดังกล่าวนายอ้าย ได้ยกให้กับทางราชการ
เพื่อให้เป็นท่ีสาธารณประโยชน์ แม้จะยังมิได้จดทะเบียน ที่ดินดังกล่าวก็ตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดนิ แล้ว
ตามนัยคาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๕๕/๒๕๑๐ ซึ่งเรื่องนีจังหวัดสุรินทร์ได้ส่งเรื่องให้อัยการจังหวัดพิจารณาแล้ว
มีความเห็นตามนัยดังกล่าว นอกจากนันจังหวัดยังได้รายงานเพิ่มเติมมาอีกว่า ที่ดินดังกล่าวน่าเชื่อว่าเป็น
ท่ีสาธารณประโยชน์ซ่ึงประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกันมาก่อนท่ีนายอ้าย จะออก น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๒๕๒๔ ทังนี
ตามหนังสือจังหวัดสุรินทร์ ท่ี สร ๐๐๒๐/๒๑๓๕๘ ลงวันท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๒๙ เม่ือเป็นเช่นนีพนักงานเจ้าหน้าท่ี
ก็ไมอ่ าจจดทะเบยี นตามคาพิพากษาตามยอมได้ ประกอบกับคาพิพากษาตามยอมไม่มีผลผูกพันพนักงานเจ้าหน้าที่
ซ่ึงเป็นบุคคลภายนอกคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๔๕ เห็นควรให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี
บันทึกไว้ใน น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๒๕๒๔ ว่าท่ีดินดังกล่าวเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ (ตามความเห็นของ
คณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน) เสร็จแล้วแจ้งให้ศาลทราบว่าท่ีดินแปลงนีเป็นท่ี
สาธารณประโยชน์ จงึ ไมอ่ าจจดทะเบยี นได้

ความเหน็ กรมทด่ี ิน

แม้จะผา่ นการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดินมาแล้วก็ตาม
ยังมีอีกประเด็นหน่ึงซึ่งคณะกรรมการฯ ยังไม่ได้พิจารณาและน่าสนใจ กล่าวคือ ท่ีดินนอก น.ส. ๓ เลขท่ี ๒๐
ของนายจันทร์เดิม ตามรูปแผนท่ีสังเขป การยึดทรัพย์ขายทอดตลาดของศาลนัน แม้มิได้จดทะเบียนพร้อมกับ
น.ส. ๓ เลขท่ี ๒๐ ด้วยก็ตาม แต่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๓๐ บัญญัติว่า สิทธิของผู้ซือ
ไดจ้ ากการขายทอดตลาดไม่เสียไป แม้ทรัพย์นนั จะมิใชข่ องจาเลยก็ตามขอให้ช่วยพิจารณาอีกครงั

ความเห็นกองวิชาการ (กองนิติการ)

เห็นว่า ท่ีดินนอก น.ส. ๓ ไม่อาจนามาจดทะเบียนได้ ส่วนประเด็นอื่นนันที่ประชุม
คณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดินได้พิจารณาแล้ว จึงขอส่งเร่ืองทังหมดคืนกองหนังสือ
สาคญั เพื่อดาเนนิ การต่อไป

--๔4- -

เรอ่ื งท่ี ๓ การออกหนังสือรบั รองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) ในเขตป่าปากช่องหมสู ี

(ขอ้ เทจ็ จรงิ จากการสอบสวนต่างกับข้อเทจ็ จรงิ ใน ส.ค.๑)

เรอื่ งเสรจ็ ที่ ๒/๒๕๓๒
ประเดน็ พิจารณา

นายจานง ได้ยื่นคาขอออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) รวม ๗ แปลง
ที่ดินตังอยู่หมู่ที่ ๔/๘ ตาบลมิตรภาพ (สีคิว) อาเภอสีคิว จังหวัดนครราชสีมา และอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
“ป่าปากช่องหมูสี” อาเภอได้ดาเนินการพิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ในท่ีดินตามระเบียบ และคณะกรรมการ
ตามบันทึกข้อตกลงระหว่างกรมท่ีดินกับกรมป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้ตรวจสอบแล้วมีความเห็นว่าควรออก น.ส. ๓ ก.
ใหแ้ ก่ผู้ขอไดต้ ามท่ีได้นารังวดั และเจ้าหน้าท่ีคานวณเนือที่ได้ จังหวัดจงึ ส่งเรอ่ื งทงั หมดมาให้กรมทดี่ นิ พิจารณา

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๒/๒๕๓๒ เมื่อวันที่ ๕
เมษายน ๒๕๓๒

เมื่อการแจ้ง ส.ค.๑ ระบุว่า ได้ที่ดินมาโดยก่นสร้างเองตังแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ ถือว่าผู้แจ้งได้เข้า
ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินภายหลังประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับแล้ว ส.ค.๑ ดังกล่าวไม่ชอบ
ด้วยกฎหมายเพราะขัดกับมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ไม่อาจนา
ส.ค.๑ มาใช้เป็นหลักฐานในการออก น.ส. ๓ ก. ได้ ถึงแม้การสอบสวนผู้ขอและพยานจะได้ความว่าได้เข้า
ครอบครองทาประโยชน์ในท่ีดินดังกล่าวเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖ ก็ตาม ก็ควรถือตามข้อเท็จจริงที่ระบุไว้ในหลักฐาน
เอกสารคือ ส.ค.๑ นนั

ความเหน็ กรมท่ดี นิ เหน็ ชอบ

- ๕5- -

เรื่องที่ ๔ นางพะยอม ร้องเรยี นขอให้เพิกถอนใบแทนโฉนดทีด่ นิ
เรอื่ งเสร็จที่ ๓/๒๕๓๔
ประเด็นพจิ ารณา

นางพะยอม ร้องเรยี นขอให้กรมที่ดินเพกิ ถอนใบแทนโฉนดท่ดี นิ เลขท่ี ๕๑๔๓ เขตพระโขนง

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งท่ี ๒/๒๕๓๔ เมื่อวันที่ ๑๙
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๔

กรณีเป็นการออกใบแทนโฉนดท่ีดินแล้วแจกให้ผู้จัดการมรดกของผู้ได้มาโดยการครอบครอง
โดยมิได้จดทะเบียนต่อไปในทันที จึงไม่เข้าองค์ประกอบของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ข้อ ๘ (๔)
ใบแทนโฉนดท่ดี ินทแี่ จกใหน้ ายวเิ ชียร ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จงึ ต้องเพิกถอนใบแทนโฉนดทีด่ ินฉบับนี โฉนดท่ีดิน
ฉบับเดมิ นนั ยังคงใชไ้ ด้ตอ่ ไป
ความเหน็ กรมทด่ี นิ เหน็ ชอบ

--๖6- -

เรื่องท่ี ๕ การรบั โอนการครอบครองทดี่ ินท่มี ีใบจองโดยทางอ่ืนนอกจากการตกทอดทางมรดก จะนา

ทาการเดนิ สารวจเพื่อออกโฉนดทีด่ ินไดห้ รือไม่

เรือ่ งเสร็จที่ ๑๔/๒๕๓๕
ประเด็นพจิ ารณา

บุคคลท่ีได้รับโอนการครอบครองท่ีดินที่มีใบจองโดยทางอื่นนอกจากการตกทอดทางมรดก
จะนาทาการเดินสารวจเพอื่ ออกโฉนดทด่ี นิ ไดห้ รือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งที่ ๘/๒๕๓๕ เมื่อวันที่ ๒๗
สิงหาคม ๒๕๓๕

ที่ประชมุ พิจารณาแลว้ มีความเห็นเป็น ๒ ฝ่าย
ฝ่ายท่ี ๑ (มี ๔ เสียง) เห็นว่า บุคคลที่รับโอนการครอบครองท่ีดินตามใบจองโดยทางอ่ืน
นอกจากการตกทอดทางมรดก แม้จะถือว่าเปน็ การไม่ถกู ตอ้ งตามกฎหมายแต่บุคคลผรู้ บั โอนก็เป็นผ้คู รอบครอง
และทาประโยชน์ในท่ีดินภายหลังวันที่ประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับ สามารถนาทาการเดินสารวจเพื่อออก
หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๓) แห่งประมวลกฎหมายท่ีดินได้ แต่ก่อนที่จะออก
หนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินให้แก่ผู้นาเดินสารวจฯ จะต้องดาเนินการตามมาตรา ๓๒ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
สาหรับการออกใบจองตามมาตรา ๓๐ หรอื ดาเนินการตามระเบียบของคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ ว่าด้วย
การจัดท่ีดินเพื่อประชาชน ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๔๙๘ ข้อ ๑๙ และข้อ ๒๒ สาหรับใบจองท่ีออกตามมาตรา ๓๓
เสียก่อน
ฝ่ายที่ ๒ (มี ๓ เสียง) เห็นว่า บุคคลท่ีรับโอนการครอบครองท่ีดินตามใบจองโดยทางอื่น
นอกจากการตกทอดทางมรดก ไม่สามารถนาเดินสารวจเพ่ือออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินได้ เน่ืองจากเป็นการขัด
กับนโยบายของรัฐท่ีดาเนินการจัดท่ีดินให้แก่ประชาชนตามมาตรา ๓๐, ๓๓ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และทาให้
การจัดท่ีดินไม่ได้ประโยชน์เท่าท่ีควร อีกทังหากยินยอมให้บุคคลดังกล่าวนาเดินสารวจฯ ก็จะทาให้มีการออก
หนงั สือแสดงสทิ ธทิ ับกับท่ีดินท่มี ใี บจอง
ความเหน็ กองนติ กิ าร
ตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๓) แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ได้บัญญัติให้ผู้ซ่ึงครอบครอง
และทาประโยชน์ในท่ีดินภายหลังวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ สามารถนาทาการเดินสารวจเพื่อออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ได้ ทังนี มิได้มีข้อจากัดว่าบุคคลดังกล่าวจะได้สิทธิในที่ดินมาอย่างไร
นอกจากนีตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคส่ี และวรรคห้า ยงั ไดบ้ ญั ญัตใิ หอ้ อกโฉนดท่ีดนิ และหนงั สือรับรองการทาประโยชน์
แก่บุคคลตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๓) ได้ไม่เกินห้าสิบไร่ถ้าเกินห้าสิบไร่จะต้องได้รับอนุมัติจาก
ผู้ว่าราชการจังหวัดตามระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ และภายในกาหนดสิบปีนับแต่วันท่ีได้รับโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรบั รองการทาประโยชน์ยังห้ามมิให้บุคคลดังกล่าวโอนที่ดินนันให้แกผ่ ู้อื่น ซง่ึ เป็นบทบัญญัติทานองเดียวกัน
กับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ท่ีได้ออกสืบเน่ืองมาจากใบจองตามมาตรา ๓๐ และ
มาตรา ๓๓ (มาตรา ๓๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน) ดังนัน การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์
ให้แก่บุคคลตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๓) จึงถือได้ว่าเป็นวิธีการท่ีรัฐได้จัดท่ีดินให้แก่ประชาชนอีกวิธีหน่ึง

-- ๗7--

ด้วยเหตุผลดังกล่าว กองนิติการจึงเห็นด้วยกับมติท่ีประชุมของคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของ
กรมที่ดนิ ฝ่ายทหี่ น่ึง

ความเหน็ กรมที่ดิน เห็นชอบ

--๘8- -

เร่ืองท่ี ๖ ศาลมคี าพิพากษาเปน็ อย่างอ่ืน ตามมาตรา ๖๓ วรรคสอง แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ
เรอื่ งเสร็จที่ ๙/๒๕๓๕
ประเดน็ พจิ ารณา

การท่ีศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษาถึงท่ีสุดยืนตามคาพิพากษาศาลชันต้นว่าให้นายชัยวัฒน์
จาเลยไปถอนคาขอออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์พร้อมเอกสารที่เก่ียวข้องทังหมดต่อนายอาเภอแม่สาย
หากจาเลยไม่ปฏิบัติตามให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจาเลยนัน ถือว่าศาลได้มีคาพิพากษา
เป็นอย่างอื่นตามนัยมาตรา ๖๓ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน และใบแทนได้ถูกยกเลิกไปโดยผลของ
คาพพิ ากษาแลว้ หรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งท่ี ๖/๒๕๓๕ เม่ือวันท่ี ๕
มถิ ุนายน ๒๕๓๕

การที่ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษาถึงที่สุดยืนตามคาพิพากษาศาลชันต้นว่า ให้นายชัยวัฒน์
ไปถอนคาขอออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ฉบับท่ี ๓๖๑๘/๒๕๒๗ พร้อมเอกสารท่ีเกี่ยวข้องทังหมด
ตอ่ นายอาเภอแม่สาย หากจาเลยไม่ปฏิบัติตามให้ถอื เอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจาเลย ถอื ว่าศาล
ได้มีคาพิพากษาหรอื คาสั่งเป็นอย่างอ่ืนตามนัยมาตรา ๖๓ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ใบแทน น.ส. ๓
เลขที่ ๓๓๔ จงึ ถกู ยกเลิกตามคาพพิ ากษาดงั กล่าว เมอ่ื ใบแทน น.ส. ๓ เลขท่ี ๓๓๔ ถูกยกเลกิ น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๓๗๖๘
ตาบลโป่งผา กถ็ ูกยกเลกิ ไปโดยปรยิ าย

ความเห็นกรมที่ดนิ เห็นชอบ

- ๙9- -

เร่ืองท่ี ๗ การแจง้ คาส่ังจากการสอบสวนเปรียบเทียบตามมาตรา ๖๐ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
เร่อื งเสร็จที่ ๕/๒๕๓๕
ประเด็นพิจารณา

เม่ือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดได้มีคาส่ังให้ออกโฉนดท่ีดินให้แก่ผู้ขอและได้ส่งคาส่ังเป็นหนังสือ
ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับให้คู่กรณีทราบตามมาตรา ๖๐ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน แต่ผู้คัดค้าน
ไมย่ อมรับหนงั สอื แจ้งคาส่ังฯ จะถอื วา่ เจ้าพนักงานทดี่ นิ จังหวัดได้แจง้ คาสั่งให้คกู่ รณีทราบแล้วหรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๔/๒๕๓๕ เมื่อวันท่ี ๙
เมษายน ๒๕๓๕

ตามมาตรา ๖๐ วรรคสอง แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน บัญญัตวิ ่า เม่ือเจ้าพนักงานทดี่ ินจงั หวัด
หรอื เจา้ พนักงานที่ดินจังหวดั สาขาสั่งประการใดแล้วให้แจง้ เป็นหนังสือต่อคู่กรณีเพอ่ื ทราบและให้ฝ่ายทไ่ี ม่พอใจ
ไปดาเนินการฟ้องต่อศาลภายในกาหนดหกสิบวันนับแต่วันทราบคาสั่ง ดังนี การท่ีเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด
ได้แจ้งคาส่ังเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับให้คู่กรณีแล้ว แม้ผู้คัดค้านจะไม่ยอมรับหนังสือ
แจ้งคาส่ังดงั กล่าว ก็ถือว่าเจ้าพนกั งานที่ดนิ จังหวัดได้แจ้งคาส่ังเป็นหนงั สือใหค้ ู่กรณีทราบตามนัย มาตรา ๖๐ แล้ว
(เทียบตามนัยคาพิพากษาศาลฎีกา ที่ ๖๑๕/๒๕๐๔ ซ่ึงวินิจฉัยว่า กรณีผู้ให้เช่าส่งคาบอกกล่าวเลิกสัญญาเช่า
โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับแล้วถูกส่งกลับคืนมาโดยสลักหลังว่า “ผู้รับไม่อยู่ไม่มีใครรับแทน” ดังนี
ถอื ว่ามีคนรับแตไ่ มม่ ีใครรับแทน และการจัดการส่งคาบอกกล่าวเชน่ นี ถือวา่ ได้ปฏิบัตกิ ารตามสมควรท่ีจะกระทาได้แล้ว
เทียบได้กับวิธีส่งคาคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๗๙ เมื่อผู้เช่าหลีกเลี่ยง
ไมย่ อมรับคาบอกกล่าว ตอ้ งถอื วา่ ได้รับทราบคาบอกกล่าวแลว้ )

ความเหน็ กรมทดี่ ิน เห็นชอบ

--๑1๐0- -

เรือ่ งท่ี ๘ อานาจสอบสวนเปรยี บเทียบของเจ้าพนักงานท่ีดิน ตามมาตรา ๖๐ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน
เร่ืองเสร็จที่ ๒/๒๕๓๕
ประเด็นพิจารณา

กรณี นางสาวทรัพย์มณี กับพวก ขอรังวัดออกโฉนดที่ดินตาม น.ส. ๓ เลขที่ ๓๗ หมู่ที่ ๕
ตาบลไผ่จาศีล อาเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ซ่ึงนายอาเภอวิเศษชัยชาญได้คัดค้านการออกโฉนดท่ีดิน
โดยอ้างว่า ผขู้ อนารังวัดทับถนนสาธารณประโยชน์ จึงมีปัญหาต้องพิจารณาว่า พนักงานเจ้าหน้าทจ่ี ะใช้อานาจ
ตามมาตรา ๖๐ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี ิน ทาการสอบสวนเปรยี บเทยี บได้หรือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๒/๒๕๓๕ เมื่อวันท่ี ๒๕
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๕

พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือเจ้าพนักงานท่ีดินไม่อาจใช้อานาจตามมาตรา ๖๐ แห่งประมวล
กฎหมายท่ีดิน ทาการสอบสวนเปรียบเทียบในกรณีท่ีนายอาเภอในฐานะผู้ดูแลรักษาท่ีสาธารณประโยชน์โต้แย้งว่า
ผู้ขอได้นารังวัดออกโฉนดที่ดินทับที่สาธารณประโยชน์ เน่ืองจากการโต้แย้งสิทธิตามมาตรา ๖๐ แห่งประมวล
กฎหมายทด่ี ิน จะต้องเป็นการโต้แยง้ ระหวา่ งบุคคล ๒ ฝา่ ย ซงึ่ ต่างอ้างว่าตนมีสทิ ธิในที่ดนิ และท่ีดินนันตอ้ งเป็น
ท่ีดินที่อาจออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินได้ (ตามนัยหนังสือสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ท่ี นร. ๐๖๐๑/๓๓๖
ลงวันท่ี ๑๗ เมษายน ๒๕๓๓ เร่อื งเสรจ็ ท่ี ๑๔๒/๒๕๓๓) แตท่ ่ีดินท่ีโต้แย้งกนั นีนายอาเภอวิเศษชยั ชาญ คดั ค้าน
ว่าเปน็ ทางสาธารณประโยชน์ นายอาเภอจงึ มีอานาจเพียงดแู ลรักษา ตามพระราชบัญญตั ิลักษณะปกครองทอ้ งที่
พ.ศ. ๒๔๕๗ เท่านัน ไม่มีอานาจท่ีจะตกลงยกสิทธิในที่ดินสาธารณประโยชน์ให้แก่ผู้ใดได้ ประกอบกับทาง
สาธารณประโยชน์ที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน ต้องห้ามมิให้ออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ตามข้อ ๘ (๑)
แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน
พ.ศ. ๒๔๙๗

ความเหน็ กรมที่ดิน เห็นชอบ

- ๑1๑1- -

เร่ืองที่ ๙ หารอื การเปลี่ยน น.ส. ๓ เป็น น.ส. ๓ ก. รายนายวาสิต
เรอื่ งเสร็จท่ี ๑/๒๕๓๕
ประเด็นพิจารณา

การเปลยี่ น น.ส. ๓ เปน็ น.ส. ๓ ก. รายนายวาสิต

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งท่ี ๑/๒๕๓๕ เมื่อวันที่ ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๓๕

๑. แม้จะปรากฏชื่อท่ีดินทีส่ าธารณประโยชนบ์ ้านสวนดอกคาในทะเบียนท่ีสาธารณประโยชน์
เน่ืองจากการดาเนินการคัดลอกมาจากบัญชีหวงห้าม ตามนัยหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ ๔๗๓/๒๔๘๖
ลงวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๔๘๖ ก็ตาม แต่เมื่อไม่ปรากฏว่าได้มีการตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา ตามนัยมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามท่ีดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๗๘ ซ่ึงใช้บังคับอยู่ในขณะนนั จึงเป็นการดาเนินการขึนทะเบียนโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ไม่มีผลทาให้ที่ดินกลายเป็นท่ีสาธารณประโยชน์เพราะการขึนทะเบียนดังกล่าวและก็ปรากฏว่าไม่เคย มีราษฎร
เข้าไปใช้ประโยชน์ร่วมกันในที่ดินดังกล่าว จึงไม่ทาให้ท่ีดินแปลงนีเป็นที่สาธารณประโยชน์โดยสภาพการใช้
(ตามนัยคาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๒๕๔/๒๕๓๐)

๒. ที่ดินแปลงนีไม่อาจถือว่าเป็นทรัพย์สินส่วนจังหวัด เน่ืองจากไม่ปรากฏว่าเป็นทรัพย์สิน
ท่ีจังหวัดหามาได้โดยตรง หรือได้มีกฎหมายระบุไว้ว่าเป็นทรัพย์สินส่วนจังหวัดตามนัยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๔๙๘ และองค์การบริหารส่วนจังหวัดเองไม่เคยเข้าไปครอบครอง
ใชป้ ระโยชน์ในท่ดี ินแปลงนแี ต่อยา่ งใด

ดงั นัน เม่ือทีด่ ินแปลงนีไม่ใช่ที่ดินสาธารณประโยชนห์ รือทรัพย์สินส่วนจังหวัดแล้วจงึ เป็นท่ีดิน
รกร้างว่างเปล่า การท่ีราษฎรจะมีสิทธิในที่ดินบริเวณท่ีดินแปลงนีหรือไม่ เพียงใด ย่อมขึนอยู่กับการได้มา
ซึ่งที่ดินของราษฎรว่า ได้มาโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เพียงใด ซ่ึงเป็นข้อเท็จจริงที่จังหวัดจะต้องพิจารณา
เป็นรายแปลงไป

ความเห็นกรมท่ีดนิ เหน็ ชอบ

-- ๑1๒2- -

เรอื่ งที่ ๑๐ กรณที เี่ จ้าพนกั งานท่ดี นิ สอบสวนเปรยี บเทียบและมีคาสงั่ ให้ออกโฉนดท่ีดินให้แก่ผู้คัดค้าน
เรื่องเสรจ็ ที่ ๒๓/๒๕๓๕
ประเดน็ พจิ ารณา

กรณีที่เจ้าพนักงานท่ีดินสอบสวนเปรียบเทียบและได้มีคาสั่งให้ออกโฉนดที่ดินให้แก่ผู้คัดค้าน
ในกรณีที่ไม่ได้มีการฟ้องร้องต่อศาลหรือกรณีท่ีได้มีการฟ้องต่อศาลและศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งถึงท่ีสุด
ให้ทดี่ ินเปน็ ของผูค้ ดั คา้ น กรมที่ดินยังไม่เคยวางแนวทางปฏิบัติไว้วา่ จะต้องดาเนินการอย่างใด

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๑๒/๒๕๓๕ เมื่อวันท่ี ๑๑
พฤศจิกายน ๒๕๓๕

กรณีท่ีเจ้าพนักงานท่ีดินทาการสอบสวนเปรียบเทียบตามมาตรา ๖๐ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
เห็นว่าผู้คัดค้านมีสิทธิในที่ดินและสั่งการให้ออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ให้แก่
ผคู้ ัดคา้ น หรือในกรณีท่ีศาลได้มคี าพพิ ากษาหรือคาสง่ั ถึงที่สุดให้ผู้คดั คา้ นเป็นผมู้ ีสทิ ธิในท่ีดิน และท่ดี นิ นนั อยใู่ น
หลักเกณฑ์ที่สามารถออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ให้แก่ผู้คัดค้านได้ กรณีเช่นนี หากผู้คัดค้าน
ประสงคจ์ ะนาหลักฐานการรังวดั ตามคาขอของผู้ขอเดิม กใ็ ห้พนักงานเจ้าหนา้ ท่ีดาเนินการให้แกผ่ ู้คัดค้านได้

ความเห็นกรมทดี่ ิน เห็นชอบ

- ๑1๓3- -

เรื่องที่ ๑๑ หารือการนา น.ส. ๓ บางส่วนทีย่ งั ไม่ได้ออกโฉนดทดี่ นิ มาขอออกโฉนดทีด่ นิ เฉพาะราย
เรื่องเสรจ็ ท่ี ๒๒/๒๕๓๕
ประเด็นพจิ ารณา

น.ส. ๓ เลขที่ ๗๘ บางส่วนออกโฉนดไปแล้ว คือ โฉนดท่ีดินเลขท่ี ๑๓๑๕๘ และ ๑๓๖๕๑
โดยการนาเดินสารวจ แต่บางส่วนยังไม่ได้ออกโฉนด ผู้ขอจะนา น.ส. ๓ ฉบับนันมาขอออกโฉนดท่ีดินในส่วนที่
ยงั ไมไ่ ดอ้ อกโฉนดทดี่ นิ ไดห้ รอื ไม่ และถา้ ไดจ้ ะควรใหท้ ายาทมาจดทะเบียนลงใน น.ส. ๓ ก่อน หรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งที่ ๑๒/๒๕๓๕ เมื่อวันท่ี ๑๑
พฤศจิกายน ๒๕๓๕

การที่นายตา ได้นา น.ส. ๓ เลขที่ ๗๘ หมู่ที่ ๓ ตาบลหัวเรือ อาเภอเมืองอุบลราชธานี
มานาเดินสารวจออกโฉนดที่ดินแต่เพียงบางส่วน นางทองสุข ซ่ึงเป็นทายาทของนายตา จึงสามารถนา น.ส. ๓
ฉบับดังกล่าวมาขอออกโฉนดท่ีดินในส่วนท่ียังไม่ได้ออกโฉนดท่ีดินได้ กรณีจะนามาตรา ๕๙ เบญจ แห่งประมวล
กฎหมายท่ีดนิ ซ่งึ เป็นเรื่องการออกโฉนดท่ดี ินตามหนังสือแสดงสิทธิเดิมเตม็ ทังแปลง และมีผลให้หนังสอื แสดงสิทธิ
ในที่ดนิ เดมิ เปน็ อันยกเลิกมาใชก้ บั กรณีนไี ม่ได้

อย่างไรก็ตาม ก่อนท่ีจะออกโฉนดท่ีดินให้แก่นางทองสุข สายแวว นางทองสุขฯ จะต้องจดทะเบียน
โอนมรดกใน น.ส. ๓ ใหเ้ ป็นช่ือนางทองสุข ตามนัยมาตรา ๔ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ

ความเห็นกรมทดี่ นิ เห็นชอบ

--๑1๔4- -

เรื่องที่ ๑๒ การรบั คาคัดคา้ นภายหลงั วันครบกาหนดประกาศ
เร่ืองเสรจ็ ที่ ๑๘/๒๕๓๕
ประเดน็ พจิ ารณา

กรณกี ารรบั คาคัดค้านภายหลังวันครบกาหนดประกาศ

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังท่ี ๑๑/๒๕๓๕ เม่ือวันที่ ๒๐
ตุลาคม ๒๕๓๕

เนื่องจากกฎหมายได้กาหนดระยะเวลาเพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทาการโต้แย้งคัดค้านไว้แล้ว
การรับคาขอคัดค้านไว้ภายหลังวันครบกาหนดประกาศเท่ากับเป็นการขยายระยะเวลาประกาศออกไปอีก
ดังนัน พนักงานเจ้าหน้าที่จึงไม่อาจรับคาขอคัดค้านเพ่ือทาการเปรียบเทียบตามกฎหมายภายหลังวันครบกาหนด
ประกาศดังกล่าวได้

ความเหน็ กรมทดี่ นิ เห็นชอบ

- ๑1๕5- -

เร่ืองที่ ๑๓ การรังวัดออกโฉนดที่ดนิ ราย การรถไฟแห่งประเทศไทย
เร่ืองเสร็จท่ี ๘/๒๕๓๖
ประเดน็ พจิ ารณา

กรณกี ารรงั วดั ออกโฉนดทด่ี ิน ราย การรถไฟแหง่ ประเทศไทย

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังท่ี ๓/๒๕๓๖ เม่ือวันท่ี ๑๖
มนี าคม ๒๕๓๖

เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าท่ีดินท่ีการรถไฟแห่งประเทศไทยขอรังวัดออกโฉนดท่ีดินเพื่อโอน
ให้แก่กรมทางหลวงในท้องที่แขวงบางเขน เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เป็นที่ดินที่กรมทางหลวงใช้สร้างทาง
สายวิภาวิดีรังสิต ที่ดินท่ีขอออกโฉนดท่ีดินนีย่อมเป็นท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภทพลเมือง
ใช้ประโยชน์ร่วมกันไม่สามารถออกโฉนดท่ีดินแปลงนีให้แก่การรถไฟแห่งประเทศไทยได้เนื่องจากขัดกับ
กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน
พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๘ (๑) ดังนัน เมื่อที่ดินแปลงดังกล่าวไม่สามารถออกโฉนดท่ีดินแก่การรถไฟแห่งประเทศไทยได้
ก็ไม่จาเป็นต้องพิจารณาในประเด็นแรกท่ีว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยจะนาพระบรมราชโองการฯ มาเป็น
หลักฐานประกอบคาขอรงั วดั ออกโฉนดทด่ี ินได้หรือไม่อกี

ความเห็นกรมที่ดนิ เห็นชอบ

--๑1๖6- -

เรอ่ื งที่ ๑๔ การออกโฉนดทีด่ นิ ในเขตพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงหา้ มท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๘๑
เรือ่ งเสรจ็ ที่ ๔/๒๕๓๖
ประเดน็ พิจารณา

สัญญาซือขายที่จดทะเบียนต่อนายอาเภอตามมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน
(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๔๗๘ ซ่ึงทาขึนภายหลังท่ีได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงห้ามที่ดิน พ.ศ. ๒๔๘๑ แล้ว
จะถือเปน็ หลกั ฐานทีแ่ สดงวา่ มหี ลกั ฐานการครอบครองมาก่อนประกาศเขตหวงหา้ มดังกลา่ วไดห้ รือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน คร้ังที่ ๓/๒๕๓๖ เม่ือวันที่ ๑๖
มนี าคม ๒๕๓๖

คณะกรรมการฯ พิจารณาแล้วเห็นว่า ข้อหารือของจังหวัดสมุทรปราการนันมีทังปัญหา
ขอ้ กฎหมายและปญั หาข้อเท็จจรงิ

ปัญหาข้อกฎหมาย คือ ท่ีดินในเขตพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามที่ดินซ่ึงออกโดยอาศัยอานาจ
ตามความในพระราชบญั ญตั ิหวงหา้ มท่ีดินรกรา้ งว่างเปลา่ อนั เป็นสาธารณสมบัติแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๔๗๘ นัน ตกเปน็ ทด่ี ิน
หวงห้ามทังหมดหรือตกเป็นที่หวงห้ามเฉพาะท่ีดินที่เป็นท่ีรกร้างว่างเปล่าอยู่ในประกาศใชพ้ ระราชกฤษฎกี าหวงห้ามฯ
เท่านัน

ปัญหาข้อเท็จจริง คือ ปัญหาที่ดินแปลงดังกล่าวอยู่ในประกาศทาประโยชน์อยู่ก่อนวัน
ประกาศใช้พระราชกฤษฎกี าหวงหา้ มฯ หรอื ไม่

คณะกรรมการฯ เห็นว่าคณะกรรมการฯ มีหน้าท่ีพิจารณาเฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย
ซ่ึงพิจารณาแล้วมีมติวา่ ตามพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามฯ ให้หวงห้ามท่ีดินรกร้างว่างเปล่า ดังนัน ท่ีดินแปลงใด
ที่ได้มีการครอบครองทาประโยชน์อยู่ก่อนวันประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาหวงห้าม สามารถนามาขอออก
หนังสือแสดงสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินได้ จึงเห็นควรตอบข้อหารือของจังหวัดโดยแจ้งข้อกฎหมายดังกล่าว
ให้ทราบและแจ้งว่าปัญหาท่ีว่าที่ดินแปลงดังกล่าวได้มีการครอบครองทาประโยชน์มาก่อนวันประกาศใช้
พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงห้ามท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๘๑ หรือไม่นันเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ท่ีเจ้าพนักงานท่ีดิน
สามารถพิจารณาวินิจฉัยเองได้ และการพิจารณาวินิจฉยั นันต้องพิจารณาจากหลักฐานทังหมดที่นามาแสดงมใิ ช่
ยดึ ถือหลักฐาน ส.ค.๑ เพียงอยา่ งเดียว และควรสอบถามความเหน็ จากกรมสง่ เสริมสหกรณเ์ พอ่ื ประกอบการพจิ ารณา
วินิจฉยั ดว้ ย

ความเห็นกรมทีด่ ิน เหน็ ชอบ

- ๑1๗7- -

เร่อื งที่ ๑๕ กรณที ี่ถอื ว่า น.ส. ๓ ฉบับสานักงานและฉบบั ผู้ถือชารดุ ตามมาตรา ๖๔ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน
เรอื่ งเสรจ็ ท่ี ๒/๒๕๓๖
ประเด็นพจิ ารณา

หารอื ทางปฏิบัติเกี่ยวกับการออก น.ส. ๓ ก. ไปโดยมชิ อบ

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งที่ ๑/๒๕๓๖ เมื่อวันท่ี ๘
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๖

เมื่อข้อเท็จจริงเร่ืองนีปรากฏว่า น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๓๔ ตาบลทุ่งโพ อาเภอหนองฉาง จังหวัด
อุทัยธานี ซ่ึงได้ออกให้แก่นายหล่า มีการขูดลบช่ือ นายหล่า ออกแล้วพิมพ์ช่ือนางพรม ลงไปแทนโดยไม่ปรากฏว่า
ไดม้ ีการจดทะเบียนโอนจาก นายหล่า มาเป็นของนางพรม โดยถกู ต้องตามกฎหมาย การที่นางพรม นา น.ส. ๓
เลขที่ดังกล่าวมาขอออก น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๕๑๒ จึงเป็นการออกไปโดยคลาดเคล่ือนไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ต้องดาเนินการเพิกถอน น.ส. ๓ ก. เลขท่ีดังกล่าวและแปลงซึ่งแบ่งแยกจากแปลงนีด้วยตามนัยมาตรา ๖๑
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน สาหรับกรณี น.ส. ๓ เลขท่ี ๓๔ เม่ือปรากฏว่ามีการขูดลบแก้ไขชื่อจากนายหล่า
มาเป็นช่ือของ นางพรม ประกอบกับมีการหมายเหตุการเปล่ียนเป็น น.ส. ๓ ก. ใน น.ส. ๓ เลขที่ ๓๔ ยอ่ มถือได้ว่า
เป็นสาเหตหุ นึ่งท่ที าให้ น.ส. ๓ เลขท่ี ๓๔ ชารุด ซึ่งปรากฏวา่ ชารุดทงั ฉบับท่ีว่าการอาเภอและฉบบั ผถู้ ือ กรณีนี
จงึ ควรดาเนนิ การสร้าง น.ส. ๓ ขึนใหม่ตามนยั มาตรา ๖๔ แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ

ความเห็นกรมทดี่ นิ เห็นชอบ

--๑1๘8- -

เร่อื งท่ี ๑๖ ร้องเรียนการทุจริตในการออกเอกสารสทิ ธิ (ปา่ เขาไม้แก้ว อาเภอบางละมุง)
เรอ่ื งเสรจ็ ท่ี ๒๑/๒๕๓๖
ประเด็นพิจารณา

ส.ค.๑ เลขที่ ๓๑๖ และ ๓๑๗ ตาบลเขาไม้แก้ว อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ได้แจ้ง
การครอบครองเมื่อวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๔๙๘ หลังจากท่ีได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้ท่ีดินบริเวณดังกล่าว
เป็นป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ. ๒๔๘๑ ส.ค.๑ ดังกล่าวจะออกโฉนดที่ดิน
ได้หรือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๘/๒๕๓๖ เมื่อวันที่ ๒๔
พฤศจิกายน ๒๕๓๖

เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏตาม ส.ค.๑ เลขท่ี ๓๑๖ และ ๓๑๗ ตาบลเขาไม้แก้ว อาเภอบางละมุง
จังหวัดชลบุรี ซ่ึงเจ้าของที่ดินเดิมได้แจ้งการครอบครองไว้เม่ือวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๔๙๘ โดยระบุว่าได้ที่ดิน
มาโดยการครอบครองเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๖ อันเป็นเวลาภายหลังจากที่มีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้ที่ดินบริเวณ
ดังกล่าวเป็นป่าคมุ้ ครองตามพระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองและสงวนป่า พ.ศ. ๒๔๘๑ แล้ว ดงั นนั เมอื่ พระราชบญั ญัติ
ให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ มาตรา ๕ วรรคท้าย บัญญัติว่าการแจ้งการครอบครองตามความ
ในมาตรานีไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึนใหม่แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด ส.ค.๑ ทังสองแปลงดังกล่าวจึงไม่สามารถนามาเป็น
หลกั ฐานในการออกหนงั สือรับรองการทาประโยชน์ได้

ความเห็นกรมทีด่ ิน เหน็ ชอบ

-- ๑1๙9- -

เร่ืองท่ี ๑๗ หารือการจดทะเบยี นประเภทไดม้ าโดยการครอบครองโดยไม่ได้ น.ส. ๓ ก. ฉบบั ผถู้ ือมา
เรื่องเสรจ็ ท่ี ๑/๒๕๓๖
ประเด็นพจิ ารณา

การจดทะเบียนประเภทได้มาโดยการครอบครองโดยไม่ได้ น.ส. ๓ ก. ฉบับผู้ถือมาเจ้าพนักงานที่ดิน
จะออกใบแทนได้หรือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน คร้ังที่ ๑/๒๕๓๖ เม่ือวันท่ี ๘
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๖

การท่ีเจ้าพนักงานที่ดินจะดาเนินการออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ให้กับผู้ขอได้นัน
จะตอ้ งได้ความตามนัย มาตรา ๖๓ แห่งประมวลกฎหมายท่ดี ิน กล่าวคือ หนงั สือรับรองการทาประโยชนจ์ ะต้อง
เป็นอันตรายชารุด หรือสูญหายด้วยประการใด ๆ ดังนัน เมื่อข้อเท็จจริงของเรื่องนีไม่ปรากฏว่า น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๒๗๙๘
ตาบลโนนแดง อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นอันตรายชารุด สูญหาย ซึ่งอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะ
สามารถดาเนินการออกใบแทนตามนัยดังกล่าวได้ การที่เจ้าพนักงานที่ดินได้ดาเนินการออกใบแทน น.ส. ๓ ก.
ดังกล่าวจึงไม่ชอบ เมื่อผู้ขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗ แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มิได้ยื่นคาขอพร้อมด้วยหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน เจ้าพนักงานท่ีดินจึงไม่อาจจดทะเบียนดังกล่าว
ใหผ้ ขู้ อได้

ความเห็นกรมทดี่ ิน เห็นชอบ

--๒2๐0- -

เรอื่ งท่ี ๑๘ น.ส. ๓ ก. เดนิ สารวจในเขตปา่ ไมถ้ าวร
เรอ่ื งเสร็จท่ี ๑๘/๒๕๓๗
ประเด็นพจิ ารณา

การเดินสารวจออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ตามมาตรา ๕๘ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
ในขณะท่ียังมิได้มีการขีดเขตพืนท่ีดังกล่าวเป็นเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี แต่ต่อมาได้มีการขีดเขต
ป่าไม้ถาวรแล้วปรากฏว่าบริเวณท่ีได้มีการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ดังกล่าวอยู่ในเขตป่าไม้ถาวร
ทังหมดหรือบางส่วน และภายหลังข้อเท็จจริงปรากฏว่าบริเวณที่ได้ออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์นัน
เป็นพืนที่ท่ีได้กันออกจากเขตป่าไม้ถาวรแล้วตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ กรณีดังกล่าว
จะถอื ได้หรือไม่ว่าขณะที่ได้มีการเดินสารวจออกหนงั สอื รับรองการทาประโยชนพ์ นื ท่ดี งั กล่าวมใิ ช่เขตปา่ ไม้ถาวร

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งท่ี ๒/๒๕๓๗ เม่ือวันที่ ๔
มีนาคม ๒๕๓๗

เมอ่ื ข้อเท็จจริงในเรื่องนีปรากฏวา่ พืนทีท่ ่ีได้มกี ารออกหนังสอื รับรองการทาประโยชนด์ ังกลา่ ว
เป็นพืนท่ีท่ีได้กันออกจากเขตป่าไม้ถาวรแล้วตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๓ จึงไม่มีเหตุ
ที่จะดาเนินการเพิกถอนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ดังกล่าวได้ ผู้มีสิทธิในหนังสือรับรองการทาประโยชน์
ย่อมนาหนงั สือรับรองการทาประโยชนม์ าเป็นหลกั ฐานในการออกโฉนดทีด่ นิ ต่อไปได้

ความเห็นกรมที่ดิน เหน็ ชอบ

- ๒2๑1- -

เรอื่ งที่ ๑๙ ขอออกใบแทน น.ส. ๓ ในกรณีท่ศี าลมีคาพิพากษาถงึ ท่ีสดุ
เร่ืองเสร็จท่ี ๘/๒๕๓๘
ประเดน็ พิจารณา

เมื่อคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ถึงที่สุดโดยวินิจฉัยว่านายศุภกร (โจทก์) ไม่ใช่เจ้าของและ
ไม่มีสิทธิครอบครองในท่ีพิพาท ไม่มีอานาจฟ้องขับไล่จาเลยทังส่ี ศาลชันต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ จะถือว่า
ศาลอทุ ธรณ์ไดว้ นิ จิ ฉยั ถงึ ความเปน็ ผมู้ สี ิทธใิ นทดี่ นิ ของจาเลยทงั สแ่ี ล้วหรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังที่ ๑/๒๕๓๘ เม่ือวันท่ี ๑๖
มีนาคม ๒๕๓๘

เมือ่ คาพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีแพ่งหมายเลขแดง ที่ ๕๗๔๒/๒๕๓๔ ลงวันท่ี ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๓๔
ถึงทสี่ ดุ โดยวนิ จิ ฉัยวา่ “...นางสมจติ ร จาเลยที่ ๒ นายมนัส โดยเดก็ หญิงสุรติ า เด็กหญิงสุดใจ เดก็ หญงิ มาลี และ
เด็กชายมาโนช บุตรผู้เยาว์ โดยนางเฉลียว ในฐานะมารดาผู้แทนโดยชอบธรรมผู้เข้าเป็นคู่ความแทน จาเลยท่ี ๓
และนายสมชาย จาเลยที่ ๔ ได้คัดค้านโต้แย้งสิทธิของนางลินจี่ นางกัน และนางบรรจง มารดาโจทก์
ในที่ดินพิพาทและถือว่าจาเลยทังสามแย่งสิทธิครอบครองในท่ีดินแปลงพิพาทของนางลินจี่ นางกันและนางบรรจง
มารดาโจทก์ท่ีรับโอนต่อ ๆ กันมาเกินกว่า ๑ ปีแล้ว สิทธิของนางลินจี่ นางกัน และนางบรรจง มารดาโจทก์
จะฟ้องรอ้ งเพือ่ เอาคนื ซ่งึ สิทธคิ รอบครองในที่ดนิ แปลงพิพาทยอ่ มสินไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๓๗๕ บุคคลทังสามไม่มีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทที่จะโอนให้หรือขายให้ นายศุภกร (โจทก์)
ได้เพราะผู้รับโอนย่อมไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน นายศุภกร (โจทก์) ไม่ใช่เจ้าของและไม่มีสิทธิครอบครองในท่ีพิพาท
จึงไม่มีอานาจฟ้องขับไลจ่ าเลยทังสี่ศาลชันต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ชอบแล้ว...” เช่นนีย่อมถือได้ว่าจาเลยทังสี่
เป็นผู้มีสิทธิในท่ีดิน ชอบที่จะขอออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓) เลขที่ ๑๘๖/๒๕๐๐ หมูท่ ่ี ๓
ตาบลคลองสวน (นาเกลือ) อาเภอพระสมุทรเจดีย์ เมืองสมุทรปราการ ซึ่งเป็นท่ีดินแปลงพิพาทเพื่อดาเนินการ
จดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง ตามมาตรา ๑๓๖๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และระเบียบ
ข้อบังคับของทางราชการต่อไป ทังนี โดยอนุโลมตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความ
ในพระราชบญั ญตั ิให้ใชป้ ระมวลกฎหมายทีด่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอ้ ๑๒ ประกอบขอ้ ๑๗ (๓)

ความเห็นกรมท่ดี ิน เห็นชอบ

-- ๒2๒2- -

เรอื่ งท่ี ๒๐ ขอความเป็นธรรมเกี่ยวกับแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ
เรอื่ งเสร็จท่ี ๖/๒๕๓๘
ประเด็นพจิ ารณา

หนังสือรับรองการทาประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๗๔๒ ตาบลดงเจน อาเภอพะเยา จังหวัด
พะเยา (เชียงราย) ท่ีออกสืบเนื่องจากการเดินสารวจโดยไม่ได้แจ้งการครอบครองในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
โดยผู้นาทาการเดินสารวจอ้างว่าไม่มีหลักฐาน แต่ปรากฏต่อมาภายหลังว่าที่ดินดังกล่าวมีหลักฐานการแจ้ง
การครอบครอง (ส.ค.๑) จะตอ้ งถูกเพกิ ถอนตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายทด่ี นิ หรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังที่ ๓/๒๕๓๘ เมื่อวันท่ี ๑๓
มิถนุ ายน ๒๕๓๘

หากจังหวัดสอบสวนข้อเท็จจริงแล้วเช่ือว่า ท่ีดินตามหลักฐานหนังสือรับรองการทาประโยชน์
(น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๗๔๒ ตาบลดงเจน อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (เชยี งราย) เป็นทีด่ ินอยู่ในเขตป่าสงวน
แห่งชาติ และเป็นที่ดินแปลงเดียวกันกับที่ดินตามหลักฐานการแจ้งการครอบครอง (ส.ค.๑) เลขท่ี ๓๙ หมู่ที่ ๑
ตาบลดงเจน อาเภอพะเยา จังหวัดเชียงราย ก็ถือได้ว่าผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินแปลงดังกล่าว
มีสิทธิครอบครองในที่ดินที่จะได้รับการรับรองคุ้มครองตามประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา ๔ และพระราชบัญญัติ
ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ มาตรา ๑ วรรคท้าย ดังนัน การท่ีผู้นาทาการเดินสารวจได้แจ้งในแบบบันทึก
การสอบสวนสิทธิและพิสูจน์การทาประโยชน์เพ่ือออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ฯ (น.ส. ๓ ก.) ว่าท่ีดิน
แปลงนีไม่มีหลักฐาน การออก น.ส. ๓ ก. แปลงนีจึงเป็นการออกไปโดยผิดพลาดคลาดเคลื่อนพนักงานเจ้าหน้าที่
ชอบที่จะดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องตามความเป็นจริงได้ตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และให้
ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บคณะกรรมการจดั ทด่ี ินแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒) วา่ ดว้ ยเงอื่ นไขการออกโฉนดท่ีดิน
หรอื หนังสอื รบั รองการทาประโยชน์ ลงวนั ท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๕๓๒ โดยเครง่ ครดั

อนึ่ง ก่อนท่ีจะดาเนินการตามนัยดังกล่าว จังหวัดควรจะตรวจสอบข้อเท็จจริงให้เป็นที่ยุติ
ก่อนว่า ที่ดินตามหลักฐาน น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๗๔๒ ตาบลดงเจน อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (เชียงราย)
เป็นที่ดินท่ีอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาตแิ ละเป็นที่ดินแปลงเดียวกนั กับที่ดินตามหลักฐานการแจ้งการครอบครอง
(ส.ค.๑) เลขที่ ๓๙ หมทู่ ่ี ๑ ตาบลดงเจน อาเภอพะเยา จงั หวดั เชียงราย หรือไม่ อยา่ งไร

ความเห็นรองอธบิ ดีกรมท่ีดิน (นายอรรถพร ทองประไพ)

เน่ืองจากการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ แต่เดิมจะต้อง
ปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงระหว่างกรมท่ีดินกับกรมป่าไม้ว่าด้วยการตรวจพิสูจน์ที่ดินเพ่ือออกโฉนดท่ีดินหรือ
หนังสือรับรองการทาประโยชน์ซึ่งเกี่ยวกับเขตป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่ึงต่อมาได้ถูกยกเลิกและให้ใช้ข้อตกลง
ระหว่างกรมท่ีดินและกรมป่าไม้ว่าด้วยการตรวจพิสูจน์เพ่ือออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์
ซ่ึงเก่ียวกับเขตป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๓๔ แทน ซึ่งกาหนดให้นายอาเภอแต่งตังคณะกรรมการไปทาการรังวัดตรวจ
พิสูจน์ท่ีดิน ต่อมาได้มีการนาสาระสาคัญของบันทึกข้อตกลงดังกล่าวไปบัญญัติไว้ในกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓

-- ๒2๓3- -

(พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ซ่ึงกาหนดให้
ผวู้ า่ ราชการจังหวดั เปน็ ผู้ตังคณะกรรมการออกไปตรวจพสิ ูจนท์ ดี่ นิ

ความเห็นกรมที่ดนิ เหน็ ชอบ

--๒2๔4- -

เรื่องท่ี ๒๑ การรงั วดั เปล่ียนโฉนดตราจองเปน็ โฉนดทดี่ นิ โดยไม่ต้องดาเนนิ การประกาศแจกโฉนดทด่ี ิน
เรอื่ งเสร็จที่ ๑๘/๒๕๓๘
ประเด็นพิจารณา

การรงั วดั เปล่ียนตราจอง (รูปลอย) โฉนดตราจองหรอื ตราจองที่ตราว่า “ได้ทาประโยชน์แลว้ ”
เป็นโฉนดที่ดินโดยไมต่ อ้ งประกาศแจกโฉนดทดี่ ินมีกาหนด ๓๐ วนั จะกระทาไดห้ รือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังที่ ๗/๒๕๓๘ เม่ือวันท่ี ๒๒
พฤศจิกายน ๒๕๓๘, มีความเห็นเปน็ ๒ ฝ่าย ดงั นี้

ฝ่ายที่หนึ่ง (มี ๔ เสียง) เห็นว่า ในการออกโฉนดท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดินพนักงาน
เจา้ หน้าท่ีชอบที่จะตอ้ งพิจารณาดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา ๕๖
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ดังนัน เมื่อกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ให้ใช้ประมวลกฎมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ มิได้กาหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการออกโฉนดท่ีดิน ตามมาตรา ๕๘ ทวิ
และมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ ให้กับผูค้ รอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินโดยมีหลักฐานโฉนดตราจอง
หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แลว้ ” ให้แตกต่างไปจากการออกโฉนดท่ีดินให้กับผู้ซ่ึงมีหลักฐานสาหรับ
ท่ีดินประเภทอ่ืนแล้ว การออกโฉนดที่ดินให้กับบุคคลดังกล่าวพนักงานเจ้าหน้าท่ี จึงต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวงดังกล่าวทานองเดียวกับผู้ท่ีมีหลักฐานสาหรับที่ดินประเภทอ่ืนด้วย กล่าวคือ
ก่อนแจกโฉนดที่ดินพนักงานเจ้าหน้าท่ีจะต้องประกาศการแจกโฉนดที่ดินตามท่ีกาหนดในข้อ ๑๕ (๓)
ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ และหากมผี ู้โต้แย้งคดั คา้ นหรือโต้แย้งสทิ ธิในที่ดนิ พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ก็ตอ้ งทาการสอบสวนเปรียบเทยี บ ตามมาตรา ๖๐ แหง่ ประมวลกฎหมายทีด่ ิน

ฝ่ายท่ีสอง (มี ๕ เสียง) เห็นว่า โฉนดตราจอง หรือตราจองที่ตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว”
เป็นหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิท่ดี ินที่กฎหมายให้การรับรองดงั เช่นโฉนดที่ดิน การที่ผู้ครอบครองและทาประโยชน์
ในที่ดินนาโฉนดตราจอง หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว” มาขอออกเป็นโฉนดท่ีดินตามมาตรา ๕๘ ทวิ
และมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน จึงมีลักษณะเป็นการเปล่ียนประเภทหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิท่ีดิน
เท่านัน หาใช่เป็นการสร้างโฉนดท่ีดินอันเป็นหลักฐานทางทะเบียนขึนใหม่แต่อย่างใดไม่ การทาการรังวัดกรณี
ดังกล่าวจึงเป็นการรังวัดสอบเขตท่ีดิน หากมีการโต้แย้งสิทธิในที่ดินพนักงานเจ้าหน้าท่ีก็ชอบที่จะดาเนินการ
สอบสวนไกล่เกลี่ยตามนัยมาตรา ๖๙ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ส่วนการที่บทบัญญัติในมาตรา ๕๘ ทวิ
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ได้บัญญัติให้ผู้ซ่ึงมีหลักฐานโฉนดตราจอง หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว”
สามารถนามาขอออกโฉนดท่ีดินได้นันก็เป็นเพียงการกาหนดประเภทของเอกสารสาหรับที่ดินที่จะนามาขอ
เปลี่ยนเปน็ โฉนดที่ดนิ เท่านนั ดังนัน การนาโฉนดตราจอง หรือตราจองที่ตราวา่ “ได้ทาประโยชน์แล้ว” มาทาการรังวัด
เปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดินจึงไม่ต้องดาเนินการประกาศการแจกโฉนดท่ีดิน ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ
แต่อยา่ งใด

- ๒2๕5- -

ความเห็นกองนิติการ
กองนติ กิ ารเห็นดว้ ยกบั ความเห็นฝา่ ยท่ีสอง โดยมเี หตุผลดงั นี
๑. โฉนดตราจอง หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว” เป็นหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิ
ทด่ี ินประเภทหน่ึง ซงึ่ ประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา ๑ ได้บัญญัติให้โฉนดท่ีดินหมายความรวมถึงโฉนดตราจอง
หรือตราจองที่ตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว” ดังนัน การรังวัดเปล่ียนโฉนดตราจองหรือตราจองที่ตราว่า
“ไดท้ าประโยชน์แล้ว” เป็นโฉนดท่ีดินจึงมิใช่การรังวดั เพ่ือออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือแสดงกรรมสิทธโ์ิ ดยท่ัว ๆ ไป
ตามมาตรา ๕๘ หรือมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน แต่เป็นการรงั วัดสอบเขตทีด่ ินตามมาตรา ๖๙ ทวิ
แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ เพอื่ เปลีย่ นแปลงประเภทหนงั สือแสดงกรรมสทิ ธแ์ิ ละเพื่อใหท้ ราบทต่ี ังแนวเขตที่ดนิ เท่านนั
๒. เมื่อพิจารณาบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗๓ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว
จะเห็นได้ว่า “ทะเบยี นท่ีดิน” หมายถึง ทด่ี ินที่มีหลกั ฐานเปน็ โฉนดที่ดนิ แล้วเท่านัน ผู้มชี ่ือในโฉนดท่ีดนิ จงึ ได้รับ
ประโยชน์จากข้อสันนิษฐานตามกฎหมายว่าเป็นผู้มีสิทธิครอบครองในท่ีดินแปลงนัน ผู้ใดกล่าวอ้างว่าผู้มีช่ือใน
โฉนดท่ีดินมิได้มีสิทธิครอบครองผู้นันจะต้องนาสืบหักล้างข้อสันนิษฐานตามกฎหมายดังกล่าว (คาพิพากษาศาลฎีกา
ท่ี ๒๖๗๓/๒๕๑๙) ดังนัน ในการรังวัดเพื่อเปลี่ยนโฉนดตราจอง หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว”
เป็นโฉนดท่ีดินหากมีผู้โต้แย้งสิทธิในท่ีดิน พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะใช้อานาจทาการสอบสวนเปรียบเทียบ
ตามมาตรา ๖๐ แห่งประมวลกฎหมายทดี่ ิน เพ่ือสั่งให้ผ้คู ัดคา้ นเปน็ ผู้มีสิทธิในท่ีดินดังกลา่ วย่อมไมอ่ าจกระทาได้
ทังนี เน่ืองจากผู้มีชื่อในโฉนดตราจอง หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว” ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐาน
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว กรณีเช่นนีเจ้าพนักงานที่ดินชอบท่ีจะดาเนินการตามมาตรา ๖๙ ทวิ วรรคห้า
แห่งประมวลกฎหมายท่ดี นิ
๓. การที่กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๑๕ (๓) กาหนดให้มีการประกาศแจกโฉนดที่ดิน ทังนีก็โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์เพื่อหาผู้คัดคา้ นหรือโตแ้ ย้งสิทธิในท่ีดิน ฉะนัน เมื่อการดาเนินการออกโฉนดตราจอง หรือตราจอง
ที่ตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว” ได้มีการขออนุญาตจับจองและมีการประกาศหาผู้โต้แย้งสิทธิตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กาหนดในกฎข้อบังคับที่ ๑ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ร.ศ. ๑๒๑ (ต่อมาได้มีประกาศเม่ือวันที่ ๓๑
มีนาคม ร.ศ. ๑๒๔ เปล่ียนนามพระราชบัญญัติออกตราจองท่ีดินชั่วคราว ร.ศ. ๑๒๑ เป็นพระราชบัญญัติ
ออกโฉนดตราจอง) และตามพระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๔๗๙ ซง่ึ เป็นกฎหมายที่ใชบ้ งั คับ
ในขณะนันมาแล้ว การนาโฉนดตราจอง หรือตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว” มาทาการรังวัดเปลี่ยนเป็น
โฉนดที่ดนิ จงึ ไมจ่ าตอ้ งดาเนินการประกาศการแจกโฉนดที่ดนิ เพื่อหาผคู้ ัดค้านหรือโตแ้ ย้งสิทธใิ นท่ีดินอีกแต่อย่างใด
ความเหน็ กรมทีด่ ิน เห็นชอบ

--๒2๖6- -

เรอ่ื งที่ ๒๒ การออก น.ส. ๓ ก. ในหม่บู ้านตัวอยา่ ง
เร่อื งเสรจ็ ท่ี ๑๓/๒๕๓๘
ประเดน็ พจิ ารณา

การที่นายสมบูรณ์ ผู้มีช่ือตามใบจองเลขท่ี ๒๔ หมู่ที่ ๖ ตาบลเหล อาเภอกะปง จังหวัดพังงา
นาที่ดินตามใบจองดังกล่าวมาเวนคืนให้แก่รัฐ ตามมาตรา ๕ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน เป็นการชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังท่ี ๑/๒๕๓๘ เมื่อวันท่ี ๑๖
มนี าคม ๒๕๓๘

การท่ีนายสมบูรณ์ ผู้มีชื่อตามใบจองเลขท่ี ๒๔ หมู่ท่ี ๖ ตาบลเหล อาเภอกะปง จังหวัดพังงา
นาที่ดินตามใบจองดงั กลา่ วมาเวนคนื ใหแ้ ก่รัฐ ตามมาตรา ๕ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดนิ เป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ทังนีเน่ืองจากท่ีดินตามโครงการจัดท่ีดินท่ีจัดให้ประชาชนอยู่อาศัยหรือทามาหาเลียงชีพนัน โดยปกติยังคงเป็นท่ีดิน
ของรัฐอยู่ ดังจะเห็นได้จากการที่รัฐได้จัดให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดิน
ตามโครงการจัดที่ดินแล้ว บุคคลนันยังคงจะต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ และเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการจัดท่ีดิน
แห่งชาติกาหนดตามมาตรา ๓๐ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน แต่ถ้าบุคคลผู้เข้าครอบครองในท่ีดินรายใดไม่ปฏิบัติ
ตามระเบียบ ข้อบังคับและเง่ือนไขดังกล่าว อธิบดีมีอานาจส่ังให้บุคคลนันออกไปจากที่ดินและขาดสิทธิอันจะพึงได้
ตามระเบียบข้อบังคับทังหลาย ตามนัยมาตรา ๓๒ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน เม่ือพนักงานเจ้าหน้าที่นาที่ดิน
ดังกล่าวมาดาเนินการจัดท่ีดินและออกใบจองเลขที่ ๙๑ หมู่ที่ ๖ ตาบลเหล อาเภอกะปง จังหวัดพังงา ให้แก่
นางเจื่อง โดยไม่ปรากฏว่าอธิบดีได้มีคาสั่งให้ผู้มีช่ือตามใบจองเลขท่ี ๒๔ ขาดสิทธิอันจะพึงได้ตามนัยมาตรา ๓๒
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน และข้อเท็จจริงปรากฏว่าใบจองเลขที่ ๙๑ ได้ออกภายหลังที่กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ได้ออกกฎกระทรวงกาหนดให้ท่ีดินบริเวณโครงการจัดท่ีดินผืนใหญ่ เป็นป่าสงวนแห่งชาติ ประกอบกับ
การออกใบจองเลขที่ ๙๑ ก็มิได้มีการดาเนินการตามกระบวนการหรือขันตอนของการจัดที่ดินให้ประชาชนอยู่อาศัย
หรือทามาหาเลียงชีพตามระเบียบว่าด้วยการจัดท่ีดินเพื่อประชาชน ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๔๙๘ ดังนัน ใบจอง
เลขที่ ๙๑ ตาบลเหล อาเภอกะปง จังหวัดพังงา ท่ีออกให้แก่ นางเจื่อง จึงออกไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
พนักงานเจ้าหน้าที่จึงไม่อาจนาใบจองเลขท่ีดังกล่าวมาเป็นหลักฐานในการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์
(น.ส. ๓ ก.) ใหแ้ กผ่ ูข้ อได้

ความเห็นกรมทดี่ นิ เหน็ ชอบ

-- ๒2๗7- -

เรอ่ื งที่ ๒๓ เจา้ ของกรรมสิทธริ์ วมเพยี งบางคนยนื่ คาขอออกใบแทนโฉนดที่ดิน
เร่ืองเสร็จท่ี ๙/๒๕๓๙
ประเด็นพิจารณา

เจ้าของกรรมสิทธ์ิรวมในท่ีดินมาย่ืนคาขอออกใบแทนโฉนดท่ีดินเพียงบางคน เจ้าพนักงานที่ดิน
สอบสวนเฉพาะผู้ทย่ี น่ื คาขอแลว้ จะออกใบแทนโฉนดท่ีดินใหแ้ ก่ผู้ขอได้หรือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๖/๒๕๓๙ เม่ือวันท่ี ๑
สิงหาคม ๒๕๓๙ (วาระที่ ๔.๑)

มาตรา ๖๓ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน บัญญัติให้เจ้าของมาขอรับใบแทนโฉนดท่ีดินได้
ในกรณีโฉนดท่ีดินของผู้ขอเป็นอันตราย ชารุด สูญหายนัน หมายความว่า เจ้าของรวมคนหน่ึง ๆ สามารถย่ืนคาขอ
ออกใบแทนโฉนดที่ดินต่อเจ้าพนักงานที่ดินได้ แต่เจ้าพนักงานที่ดินจะออกใบแทนโฉนดที่ดินให้แก่ผู้ขอได้
ก็ต่อเมื่อสอบสวนพยานหลักฐานต่าง ๆ จนเป็นท่ีเช่อื ถือไดว้ ่าโฉนดทด่ี ินเปน็ อนั ตราย ชารดุ หรือสญู หายไปจรงิ

ความเห็นกรมทด่ี นิ เห็นชอบ

-- ๒2๘8- -

เรือ่ งท่ี ๒๔ นาใบจองมาเปน็ หลกั ฐานในการออกหนังสอื แสดงสิทธใิ นท่ีดนิ ตามประมวลกฎหมายทด่ี ิน
เรอ่ื งเสรจ็ ที่ ๑๔/๒๕๓๙
ประเด็นพจิ ารณา

ทด่ี ินท่ีอยู่ในเขตพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขตปฏริ ูปท่ีดินแต่อยู่นอกเขตดาเนินการของ ส.ป.ก.
เป็นท่ีดินที่ไม่อยู่ในแผนงานและโครงการการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมและ ส.ป.ก. ไม่ประสงค์นามา
ดาเนนิ การปฏิรปู ท่ีดนิ กรมท่ดี ินจะนาท่ีดินดังกลา่ วมาจดั ให้ประชาชนอยู่อาศัยไดห้ รือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน ครั้งที่ ๗/๒๕๓๙ เมื่อวันท่ี ๑๑
ตลุ าคม ๒๕๓๙ (วาระท่ี ๕)

เมื่อที่ดินที่อยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปที่ดินแต่อยู่นอกเขตดาเนินการของ
ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่ไม่อยู่ในแผนงานและโครงการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม และ ส.ป.ก. ไม่ประสงค์นามา
ดาเนินการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม กรมที่ดินย่อมมีอานาจนาที่ดินดังกล่าวมาจัดให้ประชาชนเข้าอยู่อาศัย
หรือประกอบการทามาหาเลียงชีพตามที่ประมวลกฎหมายท่ีดินบัญญัติให้อานาจไว้ ทังนีเนื่องจากการจัดท่ีดิน
ต าม ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม าย ที่ ดิ น แ ล ะ ก า ร ป ฏิ รู ป ท่ี ดิ น เพ่ื อ เก ษ ต ร ก ร ร ม ต า ม พ ร ะ ร าช บั ญ ญั ติ ก า ร ป ฏิ รู ป ท่ี ดิ น
เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๑๙ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ ต่างก็มีวัตถุประสงค์เป็นการจัดระบบเก่ียวกับสิทธิและการถือครองที่ดิน
ให้แก่ราษฎรผู้ไม่มีท่ีดินเป็นของตนเองหรือมีอยู่แล้วแต่ไม่เพียงพอแก่การครองชีพ โดยรัฐได้มอบหมาย
ให้กรมที่ดินและ ส.ป.ก. ซ่ึงเป็นหน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ดังนัน
การท่ีพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดาเนินการออกใบจองเลขที่ ๓๘๐ ตาบลฝายแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดน่าน
ให้แก่นางอรศรี ในเขตปฏิรูปที่ดินแต่อยู่นอกเขตดาเนินการของ ส.ป.ก. และใบจองนันได้มีการดาเนินการ
ตามกระบวนการหรือขันตอนของการจดั ท่ีดินตามประมวลกฎหมายที่ดินและระเบยี บข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดที่ดิน
เพ่ือประชาชนแล้ว พนักงานเจ้าหน้าท่ีย่อมสามารถนาใบจองนันมาเป็นหลักฐานในการออกหนังสือแสดงสิทธิ
ในท่ีดินให้แก่ราษฎรตามประมวลกฎหมายที่ดินต่อไปได้ อย่างไรก็ตามการดาเนินการตามนัยดังกล่าวพนักงาน
เจ้าหน้าที่จะต้องถือปฏิบัติตามหนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๖๐๙/๓/ว ๒๐๑๕๓ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๒๔
โดยเคร่งครดั

ความเหน็ กรมท่ดี ิน เห็นชอบ

-- ๒2๙9- -

เรื่องที่ ๒๕ การขอออกใบแทนเพ่อื จดทะเบยี นภาระจายอมตามคาพิพากษา
เรอื่ งเสร็จที่ ๑๖/๒๕๓๙
ประเด็นพิจารณา

ก ร ณี เจ้ า ข อ งที่ ดิ น แ ป ล ง ส า ม ย ท รั พ ย์ จ ะ ข อ อ อ ก ใบ แ ท น โฉ น ด ที่ ดิ น แ ป ล ง ภ า ร ย ท รั พ ย์
เพ่ือจดทะเบยี นภาระจายอมตามคาพิพากษาของศาลไดห้ รือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน คร้ังท่ี ๙/๒๕๓๙ เม่ือวันที่ ๒๖
ธนั วาคม ๒๕๓๙ (วาระท่ี ๔.๒)

เมือ่ ศาลอุทธรณ์ไดม้ ีคาพิพากษาถงึ ที่สุดยืนตามศาลชันต้นให้ท่ีดินโฉนดเลขที่ ๑๙๔ ตาบลวดั ท่าพระ
(เกาะท่าพระ) อาเภอบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ของบริษัท ไทยเอเชียการเคหะ จากัด (จาเลย) ตกอยู่ใน
ภาระจายอมโดยอายุความแก่ที่ดินของโจทก์ตามมาตรา ๑๔๐๑ ประกอบกับ มาตรา ๑๓๘๒ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และให้จาเลยจดทะเบียนภาระจายอมเพื่อประโยชน์แก่ท่ีดินของโจทก์ หากไม่ไป
ให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจาเลยในการจดทะเบียนภาระจายอม ย่อมถือได้ว่านางสิริพร
เจ้าของท่ีดินแปลงสามยทรัพย์เป็นผู้มีสิทธิจดทะเบียนตามคาพิพากษาของศาล ดังนัน เมื่อนางสิริพร ไม่สามารถ
นาโฉนดท่ีดินเลขที่ ๑๙๔ ของบรษิ ัท ไทยเอเชียการเคหะ จากัด มาจดทะเบยี นภาระจายอมต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้
เพราะบริษัทไม่ยอมนาส่งโฉนดที่ดินดังกล่าวให้ นางสิริพร ก็ย่อมอาศัยอานาจตามข้อ ๑๗ (๓)
แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
พ.ศ. ๒๔๙๗ ออกใบแทนโฉนดที่ดินของบริษัทฯ (แปลงภารยทรัพย์) เพื่อจดทะเบียนภาระจายอมตามคาพิพากษา
ของศาลดงั กล่าวต่อไปได้

นิติกรผู้รับผิดชอบและหัวหน้ากลุ่มงานร่างกฎหมายและให้คาปรึกษาพิจารณาแล้ว
มคี วามเหน็ ดังน้ี

๑. การออกใบแทนโฉนดท่ีดินต้องเป็นไปตามบทบัญญัติในมาตรา ๖๓ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
ซ่ึงบัญญัติไว้ชัดเจนว่า “.....ให้เจ้าของมาขอรับใบแทน.....” ส่วนหลักเกณฑ์และวิธีการออกใบแทนเป็นไปตาม
กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ฯ ซ่ึงถือวา่ เป็นกฎหมายลาดบั รอง

๒. หลักเกณฑ์และวิธีการออกใบแทนตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗)ฯ ข้อ ๘ (๔) ก็ดี
ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ข้อ ๑๗ ก็ดี จะเห็นได้ว่านอกจากจะขอออกใบแทนในกรณี
หนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินเป็นอันตราย ชารุด หรือสูญหายแล้ว การออกใบแทนจะออกให้เฉพาะกรณีท่ีมี
การเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของทรัพย์เท่านัน เช่น การได้มาโดยการครอบครอง การขายทอดตลา ด
การจาหนา่ ยท่ดี ินของอธบิ ดกี รมท่ีดิน เป็นต้น

๓. การทจี่ ะให้เจ้าของทดี่ ินแปลงสามยทรพั ย์สามารถออกใบแทนโฉนดท่ีดินแปลงภารยทรพั ย์
ได้โดยศาลมิได้มคี าส่ังหรือคาพิพากษาในกระบวนพิจารณา หากพนักงานเจ้าหน้าทดี่ าเนินการออกใบแทนโฉนดที่ดิน
ให้ย่อมมีผลกระทบต่อสิทธิในท่ีดินของเจ้าของที่ดินแปลงภารยทรัพย์และบุคคลภายนอกผู้สุจริต เช่น ธนาคาร
หรือสถาบันการเงินผูร้ ับจานองที่ดนิ แปลงภารยทรพั ย์ ผรู้ ับซอื ฝากทดี่ นิ หรือผู้เช่าทดี่ ิน เป็นต้น

--๓3๐0- -

๔. การออกใบแทนโฉนดที่ดินจะมีผลสมบูรณ์เป็นใบแทนตามกฎหมายจะต้องมีการแจกใบแทน
ให้ผู้ขอ (เจ้าของท่ีดิน) รับไปแล้ว ฉะนันใบแทนโฉนดที่ดินที่จัดสร้างขึนมีสาระสาคัญครบถ้วนตามแบบที่
กฎหมายกาหนด ตราบใดท่ียังไมไ่ ด้ส่งมอบให้แก่ผู้ขอรับไป และยังอยู่ในความครอบครองของทางราชการก็เป็น
เพียงเอกสารของทางราชการที่อยู่ในระหว่างดาเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ ไม่ถือว่าได้ออกใบแทนโฉนดท่ีดิน
ไปแล้วตามกฎหมาย (หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๖๐๖/ว ๑๐๕๑๗ ลงวันท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๒๐) นอกจากนี
ศาลฎีกาได้วินิจฉัยถึงความสมบูรณ์ของการออกโฉนดท่ีดินไว้ทานองเดียวกันว่า “....เมื่อยังไม่ได้ส่งมอบโฉนด
ให้แก่โจทก์ ถือไม่ได้ว่าท่ีดินรายนีได้ออกโฉนดแล้วและโฉนดรายนียังเป็นเอกสารท่ีอยู่ในความยึดถือหรือ
ในความรับผิดชอบของพนักงานเจ้าหน้าที่ และถือได้ว่ายังอยู่ในระหว่างดาเนินการของเจ้าหน้าที่เม่ือมีเหตุ
เปล่ียนแปลง....” (คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๑๙๗/๒๕๐๙) ดังนัน เมื่อใบแทนโฉนดท่ีดินยังมิได้มีการแจกให้กับผู้ขอ
(เจ้าของที่ดิน) ก็ถือไม่ได้ว่าที่ดินแปลงนันได้มีการออกใบแทนโฉนดท่ีดินไปแล้วตามกฎหมาย และไม่อาจ
จดทะเบยี นสิทธแิ ละนิตกิ รรมในแบบพิมพ์ใบแทนโฉนดท่ดี นิ ดงั กล่าวให้มีผลบังคบั ตามกฎหมายไดแ้ ต่อย่างใด

๕. การได้ภาระจายอมมาโดยอายุความไม่จาต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ (คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๑๙๑๘/๒๕๒๙) และสามารถใช้ยันบุคคลภายนอกผู้รับโอนกรรมสิทธิ์
ในภารยทรพั ย์โดยสจุ ริตและเสยี คา่ ตอบแทนได้ (คาพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๘๐๐/๒๕๐๒ และที่ ๒๕๒๖/๒๕๓๖)

๖. การแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์และวิธีการออกใบแทน ตามข้อ ๑๗ (๓) แห่งกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ตามร่างเดิมของกรมท่ีดินมิได้มีการแก้ไข กรณีดังกล่าวได้เพ่ิมเติมหลักการในชัน
พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ทังนี เพื่อให้สอดคล้องกับคาวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
เร่ืองนายพิชัย ร้องทุกข์ขอให้เจ้าพนักงานที่ดินจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมตึกแถวให้แก่ผู้ร้องทุกข์
ซึ่งกรมที่ดินได้แจ้งให้จังหวัดต่าง ๆ ถือปฏิบัติตามหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๗๑๒/ว ๐๑๒๗๕ ลงวันท่ี ๑๖
มกราคม ๒๕๓๐

๗. ภาระจายอมเป็นเพียงทรัพยสิทธิที่ตัดทอนอานาจกรรมสิทธ์ิโดยที่กรรมสิทธ์ิยังคงอยู่กับ
เจ้าของที่ดิน ประกอบกับเหตุผลตาม ๑ - ๖ ดังกล่าวข้างต้น การท่ีจะให้เจ้าของที่ดินแปลงสามยทรัพย์อาศัย
อานาจตามความในข้อ ๑๗ (๓) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ พ.ศ. ๒๕๓๗ฯ ขอออกใบแทนโฉนดที่ดินแปลง
ภารยทรัพย์โดยท่ีตนเองมิได้เป็นเจ้าของท่ีดิน ย่อมเป็นการขัดต่อบทบัญญัติในมาตรา ๖๓ แห่งประมวล
กฎหมายท่ดี นิ พนักงานเจ้าหน้าท่จี ึงไม่อาจดาเนินการออกใบแทนโฉนดทด่ี ินในกรณดี ังกลา่ วได้

ความเห็นกองนิติการ เห็นด้วยกับมติที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมาย
ของกรมท่ดี นิ

ความเห็นกรมท่ดี ิน

คาว่า “สิทธิจดทะเบียนตามคาพิพากษา” ในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ ข้อ ๑๗ (๓) นัน
หมายถึง “สิทธจิ ดทะเบียนเป็นเจ้าของท่ีดิน” ตามมาตรา ๖๓ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน กฎหมายกาหนดให้
เจ้าของมารับใบแทนไป ฉะนัน คนที่ไมใ่ ชเ่ จ้าของทีด่ นิ จงึ มาขอรบั ใบแทนไม่ได้

เห็นด้วยกับความเห็นของนิติกรผู้รับผิดชอบและหัวหน้ากลุ่มงานร่างกฎหมายและให้
คาปรึกษาพิจารณา

- ๓3๑1- -

เร่ืองท่ี ๒๖ หารือการออกโฉนดทด่ี นิ เฉพาะรายตามมาตรา ๕๙ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดนิ
เรอ่ื งเสรจ็ ท่ี ๑๗/๒๕๓๙
ประเดน็ พิจารณา

กรณีใบไต่สวนทีอ่ อกก่อนวนั ที่ประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับ พนกั งานเจ้าหน้าท่ีจะนามาเป็น
หลกั ฐานในการออกโฉนดทด่ี นิ ในเขตปฏิรปู ทด่ี นิ ตามมาตรา ๕๙ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดนิ ไดห้ รือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังที่ ๙/๒๕๓๙ เมื่อวันที่ ๒๖
ธนั วาคม ๒๕๓๙ (วาระที่ ๔.๔)

การที่ราษฎรเข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินมาแล้วก่อนพระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน
(ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๔๗๙ แม้ว่าจะไม่ได้รับอนุญาตก็มีสิทธิครอบครองท่ีดินนันตลอดมาจนใช้ประมวล
กฎหมายท่ีดินซึ่งอาจขอออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ได้ตามประมวลกฎหมายที่ ดิน
(ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๗) เรื่อง ปัญหาการออกหนังสือรับรองการ
ทาประโยชน์และการแจ้งการครอบครองท่ีดินในเขตอุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล) ดังนัน แม้ท่ีดินที่
นายอังกูร ขอออกโฉนดที่ดินจะอยู่ในเขตปฏิรูปท่ีดินและมิได้มีการแจ้งการครอบครองท่ีดิน (ส.ค.๑) ก็ตาม
แตเ่ ม่ือท่ีดนิ แปลงดังกลา่ วนางชื่น นางจิบ และนายสัง เจา้ ของเดมิ ไดเ้ คยนาเดินสารวจไวต้ ามหลกั ฐานใบไต่สวน
ฉบับลงวันที่ ๑ มิถนุ ายน ๒๔๘๑ (แต่มิได้แจกโฉนดที่ดนิ เกินสิบป)ี และได้มีการครอบครองทาประโยชน์มากอ่ น
วันท่ีพระราชบัญญัติออกโฉนดทีด่ ิน (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๔๗๙ ใช้บังคับ นางชนื่ นางจิบ และนายสงั รวมทงั นายอังกรู
ผู้รับโอนย่อมมีสิทธิครอบครองในท่ีดินและมีสิทธิขอรับโฉนดท่ีดิน ตามนัยมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ พนักงานเจ้าหน้าที่จึงชอบท่ีจะดาเนินการออกโฉนดท่ีดินให้แก่นายอังกูร
ตามนัยมาตรา ๕๙ แหง่ ประมวลกฎหมายท่ดี ิน

นิติกรผู้รับผิดชอบและหัวหน้ากลุ่มงานร่างกฎหมายและให้คาปรึกษาพิจารณาแล้ว
มีความเหน็ ดังนี้

ผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน (ฉบับที่ ๖)
พุทธศักราช ๒๔๗๙ ใช้บังคับ ที่ยังไม่มีหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธ์ิท่ีดิน ถ้ามิได้แจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.๑)
ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ย่อมถือได้ว่าเป็นผู้มีสิทธิ
ครอบครองในท่ีดินอันอาจจะขอออกโฉนดที่ดินตามนัยมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยมีเหตุผล
ดังตอ่ ไปนี

๑. บทบัญญัติตามมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
มิใช่บทยกเว้นมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ แต่เป็นบทบัญญัติ
กาหนดวิธีการขอรับโฉนดที่ดินของบุคคลดังกล่าวไว้ ดังนัน ผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
พระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน (ฉบับท่ี ๖) พุทธศักราช ๒๔๗๙ ใช้บังคับ ย่อมมีหน้าท่ีต้องแจ้งการครอบครองที่ดิน
ตามนัยมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ เช่นกัน หากบุคคลดังกล่าว
ไม่แจ้งการครอบครองที่ดินย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นผู้มีสิทธิครอบครอง และการท่ีกฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิ
ในการขอออกโฉนดที่ดินไวม้ ิได้หมายความว่ากฎหมายบัญญัติรับรองวา่ บุคคลเช่นวา่ นันเป็นผู้มีสิทธิครอบครองท่ีดิน
แตอ่ ยา่ งใด

--๓3๒2- -
๒. มาตรา ๕ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
(ยกเลิกโดยข้อ ๑ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๙๖ (พ.ศ. ๒๕๑๕)) บัญญัติว่า “....ให้ถือว่าบุคคลนัน
เจตนาสละสิทธิครอบครองที่ดิน รัฐมีอานาจจัดท่ีดินดังกล่าวตามบทแห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน...” ซ่ึงคาว่า
“ให้ถือ” นันเป็นที่เข้าใจในการบัญญัติกฎหมายว่ากรณีดังกล่าวกฎหมายสันนิษฐานโดยเด็ดขาดให้บุคคลท่ีมี
หน้าท่ีแจ้งการครอบครองที่ดินแต่ไม่แจ้งการครอบครองท่ีดินมีเจตนาสละการครอบครองท่ีดิน อันมีผลทาให้
ท่ีดินดังกล่าวตกเป็นของรัฐและรัฐสามารถนาที่ดินนันมาจัดให้แก่ราษฎรตามประมวลกฎหมายที่ดินต่อไปได้
หากตีความว่าผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันพระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับท่ี ๖)
พุทธศักราช ๒๔๗๙ ใช้บังคับ แม้มิได้แจ้งการครอบครองที่ดนิ (ส.ค.๑) ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบญั ญัตใิ หใ้ ช้
ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิครอบครองท่ีดินเช่นนีแล้ว ก็ไม่มีเหตุผลใดท่ีจะต้อง
บัญญัติรับรองสิทธิในการออกโฉนดที่ดินของบุคคลดังกล่าวไว้ในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ อกี ทังนี เน่ืองจากมาตรา ๔ แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ ิน ได้บัญญัติรบั รองสิทธิของ
ผู้ได้มาซึ่งสิทธิครอบครองในท่ีดินก่อนวันประมวลกฎหมายท่ีดินใช้บังคับว่าให้สิทธิครอบครองสืบไปและให้
คมุ้ ครองตลอดถงึ ผูร้ ับโอนไวอ้ ยู่แลว้
๓. การครอบครองท่ีดินก่อนวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดินมี ๒ ระยะ คือ ก่อนวันใช้
พระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๔๗๙ และระยะตังแต่วันใช้พระราชบัญญัติดังกล่าว
จนถึงวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน แม้การครอบครองท่ีดินก่อนวันที่พระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน (ฉบับที่ ๖)
พุทธศักราช ๒๔๗๙ โดยไม่ได้รับอนุญาตให้จับจองสามารถครอบครองและทาประโยชน์ในที่ดินต่อไปได้ก็ตาม
แต่การท่ีจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ ตามมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๙๖ ลงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕ บุคคลดังกล่าวต้องแจ้ง
การครอบครองท่ีดินด้วย ดังนัน ไม่ว่าก่อนใช้พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๔๗๙
หรือตังแต่วันใช้พระราชบัญญัติดังกล่าวจนถึงวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน ท่ีดินสองจาพวกนีต้องแจ้ง
การครอบครองท่ีดิน ถ้าไม่แจ้งการครอบครองที่ดินหรือไม่ได้รับผ่อนผันการแจ้งการครอบครองที่ดินจาก
ผู้ว่าราชการจังหวัด ก็ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ ตามมาตรา ๕๙ แห่งประมวล
กฎหมายท่ีดินไม่ได้ เพราะผลของการไม่แจ้งการครอบครองท่ีดิน ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ถือได้ว่าบุคคลเหล่านีสละสิทธิครอบครองท่ีดิน รัฐมีอานาจจัดที่ดิน
ดังกล่าวตามประมวลกฎหมายท่ีดินได้ (ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะท่ี ๗)
เร่ือง หารือเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ในเขตป่าไม้ ตามมาตรา ๕๙ ทวิ
แหง่ ประมวลกฎหมายท่ีดิน)
๔. เม่ือพิจารณาความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะท่ี ๗)
เรื่อง ปัญหาการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์และการแจ้งการครอบครองที่ดินในเขตอุทยานแห่งชาติ
ตะรุเตา จังหวัดสตูล โดยละเอียดแล้วเห็นว่า การท่ีกรรมการร่างกฎหมาย คณะท่ี ๗ ให้ความเห็นว่า
ผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติออกโฉนดท่ีดิน (ฉบับท่ี ๖) พุทธศักราช ๒๔๙๗
ใช้บังคับ แม้ว่าจะไม่ได้รับอนุญาตก็มีสิทธิครอบครองตลอดมาจนใช้ประมวลกฎหมายที่ดินก็เน่ืองมาจาก
ขอ้ เท็จจริงเร่อื งนีบุคคลดังกล่าวได้มีการแจ้งการครอบครองท่ีดินไว้ นอกจากนีกรรมการรา่ งกฎหมาย คณะที่ ๗
ก็ไม่ได้ให้ความเห็นว่าเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ แล้ว
บคุ คลประเภทนยี ังคงมสี ทิ ธคิ รอบครองในท่ีดนิ นนั ตลอดไปโดยไมต่ ้องแจ้งการครอบครองทีด่ ิน (ส.ค.๑) แต่กลับ
เห็นว่าบุคคลประเภทนีจะมีสิทธิในท่ีดินและอาจขอออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดินได้ จะต้องมี
การแจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ทังนี

-- ๓3๓3- -

จะเห็นได้จากความตอนหนึ่งในบันทึกความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๗) ข้อ ๒
ว่า “...ดังนัน ถ้าผู้ครอบครองหรือทายาทได้แจ้งการครอบครองแล้ว ผู้ครอบครองหรือทายาทนันย่อมเป็น
ผู้ครอบครองโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ซง่ึ อาจดาเนินการออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ ได้”

จากเหตุผลดังกล่าวจึงเห็นว่า ผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดินก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติ
ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับท่ี ๖)ฯ ใช้บังคับซึ่งยังไม่มีหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธ์ิในที่ดิน ถ้ามิได้มีการแจ้งการ
ครอบครองที่ดินตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ก็ถือไม่ได้ว่า
บุคคลดังกล่าวเป็นผู้มีสิทธิครอบครองในที่ดิน อันอาจจะขอออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์
ตามนัยมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และเมื่อข้อเท็จจริงเรื่องนีปรากฏว่าที่ดินท่ีนายอังกูร ขอออก
โฉนดท่ีดินเจ้าของเดิมมิได้แจ้งการครอบครองท่ีดิน นายอังกูรผู้ครอบครองและทาประโยชน์ในท่ีดิน
ต่อเนื่องมาจากเจ้าของเดิมจึงชอบท่ีจะดาเนินการออกโฉนดท่ีดินตามนัยมาตรา ๕๙ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน
อย่างไรกต็ ามเม่ือท่ีดินดังกล่าวเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปทด่ี ิน พนักงานเจ้าหน้าที่
จึงไม่อาจดาเนินการออกโฉนดท่ีดินให้แก่นายอังกูรได้ ทังนี ตามท่ีคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ ๗) ให้ความเห็นไว้

กรมท่ีดนิ ความเห็นกองนิติการ เหน็ ด้วยกับมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของ

ความเหน็ กรมทดี่ นิ เหน็ ชอบด้วยกับความเหน็ ของนติ กิ รและหัวหนา้ กลุ่มงานร่างกฎหมายและใหค้ าปรึกษา

--๓3๔4- -

เร่อื งท่ี ๒๗ การแก้ไขพระราชบัญญัตกิ ารนิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒

(การนิคมฯ จะออกโฉนดหรอื น.ส. ๓ ได้หรือไม่)

เรอ่ื งเสร็จท่ี ๑/๒๕๔๐
ประเดน็ พิจารณา

ที่ดินท่ีการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้มาซึ่งกรรมสิทธ์ิในท่ีดินตามพระราชบัญญัติ
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๙ จะสามารถนามาขอออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์
ตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ ไดห้ รอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งท่ี ๓/๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๑๗
มนี าคม ๒๕๔๐ (วาระที่ ๔.๗)

การได้มาซ่ึงกรรมสิทธ์ิในที่ดินของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตามมาตรา ๓๖ ทวิ
แห่งพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
การนคิ มอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๙ ถือได้ว่าเป็นการได้มาตามกฎหมายอน่ื ตามนัย
มาตรา ๓ (๒) แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ดังนัน การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยย่อมมีสิทธิท่ีจะขอ
ออกโฉนดท่ดี ินหรือหนังสอื รบั รองประโยชนไ์ ด้ ตามมาตรา ๕๙ แหง่ ประมวลกฎหมายทด่ี นิ

ความเห็นกรมที่ดิน เห็นชอบ

-- ๓3๕5- -

เรอื่ งที่ ๒๘ ทบทวนขอ้ หารือการออกโฉนดที่ดนิ สบื เน่ืองจาก ส.ป.ก. ๔-๐๑
เรอ่ื งเสร็จท่ี ๔/๒๕๔๐
ประเดน็ พิจารณา

สานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จะนาหลักฐาน ส.ป.ก. ๔-๐๑ มาขอออก
โฉนดท่ดี ินได้หรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน คร้ังที่ ๔/๒๕๔๐ เม่ือวันที่ ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๔๐ (วาระท่ี ๔.๔)

การได้มาซ่ึงท่ีดินของสานักงานการปฏิรูปท่ีดนิ เพือ่ เกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ตามกฎหมายว่าด้วย
การปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมหรือโดยประการอ่ืน ที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประโยชน์ในการปฏิรูปท่ีดิน
เพ่ือเกษตรกรรม มาตรา ๓๖ ทวิ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘
ซงึ่ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัติการปฏิรูปทด่ี ินเพ่ือเกษตรกรรม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๒ บัญญัตใิ ห้ ส.ป.ก.
เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นการได้มาซ่ึงกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายอื่นตามมาตรา ๓ (๒) แห่งประมวล
กฎหมายท่ีดิน ดังนัน เมื่อ ส.ป.ก. ร้องขอให้ออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน พนักงานเจ้าหน้าท่ี ตามประมวล
กฎหมายท่ีดนิ จึงมีอานาจดาเนินการใหไ้ ด้ตามนัยมาตรา ๓๖ ทวิ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดิน
เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการปฏิรปู ท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๓๒ ประกอบกับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน สาหรับ ส.ป.ก. ๔-๐๑ หาได้เป็นเอกสาร
หลกั ฐานแสดงการไดม้ าซ่ึงสิทธใิ นท่ีดนิ ของ ส.ป.ก. ไม่

ความเหน็ กรมทด่ี นิ เห็นชอบ

-- ๓3๖6- -

เรือ่ งท่ี ๒๙ รงั วัดตรวจสอบ น.ส. ๓ เพื่อเปลีย่ นเปน็ น.ส. ๓ ก. ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ
เรื่องเสรจ็ ท่ี ๖/๒๕๔๐
ประเด็นพจิ ารณา

การเปลี่ยน น.ส. ๓ เป็น น.ส. ๓ ก. จะถือว่าเป็นการออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์
หรือไม่ และ น.ส. ๓ ท่ีออกสืบเนื่องจาก ส.ค.๑ ที่จดเขตป่าก่อนมีมติคณะรัฐมนตรีกาหนดเป็นป่าไม้ถาวร
เมื่อนามาเปลี่ยนเป็น น.ส. ๓ ก. จะต้องปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒)
หรือไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งที่ ๒/๒๕๔๐ เม่ือวันท่ี ๓
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ (วาระที่ ๔.๓)

กรมท่ีดินไวว้ างแนวทางปฏิบตั ิไว้ตามหนังสือ ที่ มท ๐๖๐๙/ว ๒๔๕๔๓ ลงวันท่ี ๑๓ ตุลาคม ๒๕๒๕
วา่ การเปลี่ยน น.ส. ๓ เป็น น.ส. ๓ ก. เป็นการตรวจสอบเนือที่ไมใ่ ช่เป็นการออกหนังสอื รบั รองการทาประโยชน์
ดงั นัน หากขอ้ เท็จจรงิ ฟงั เป็นที่ยตุ ิว่าการดาเนินการออก น.ส. ๓ จากหลักฐาน ส.ค.๑ ท่รี ะบุว่ามีขา้ งเคียงจดป่า
ได้ดาเนินการไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนันแล้ว แม้ต่อมาท่ีดินดังกล่าวจะถูก
กาหนดให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ การเปลี่ยน น.ส. ๓ ดังกล่าวให้เป็น น.ส. ๓ ก. ก็ไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบ
คณะกรรมการจัดท่ีดนิ แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ขอ้ ๑๐ (๓)
อีกแต่อย่างใด

ความเห็นกรมท่ดี นิ เหน็ ชอบ

- ๓3๗7- -

เรอื่ งที่ ๓๐ ขอออกใบแทนเพื่อจดทะเบยี นการได้มาซ่ึงสทิ ธิครอบครอง (รายนางกอง จงั หวดั อุทยั ธานี)
เรือ่ งเสรจ็ ที่ ๗/๒๕๔๐
ประเดน็ พิจารณา

ผู้ได้สิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ ตามคาพิพากษา
ของศาล แต่ไม่ได้หนังสือรับรองการทาประโยชน์มา จะขอออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ และ
เจ้าพนักงานท่ีดินจะออกใบแทนให้เพื่อจดทะเบียนประเภทได้มาโดยการครอบครอง ตามมาตรา ๑๓๖๗
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้หรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมท่ีดิน คร้ังที่ ๒/๒๕๔๐ เมื่อวันที่ ๓
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ (วาระท่ี ๔.๒)

ทป่ี ระชุมมีความเหน็ เป็นสองฝ่าย ดงั นี
ฝา่ ยที่หน่ึง (๗ เสยี ง) เห็นว่าการท่ีศาลจังหวัดอุทัยธานีมีคาพิพากษาถึงท่ีสุด คดีหมายเลขแดง
ที่ ๕๓๐/๒๕๓๗ เมื่อวันท่ี ๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๗ ให้นางกอง เป็นผู้มีสิทธิครอบครองในท่ีดิน น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๕๐๘
ตาบลหนองจอก (ทัพหลวง) อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ตามมาตรา ๑๓๖๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ ถือได้ว่านางกองเป็นผู้มีสิทธิจดทะเบียนตามคาพิพากษาของศาล ดังนัน เม่ือนางกองมีความประสงค์
จะขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง แต่ไม่ได้ น.ส. ๓ ก. ฉบับดังกล่าวมาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี
นางกองก็ย่อมอาศัยอานาจตามข้อ ๑๗ (๓) ประกอบกับข้อ ๑๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)
ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ออกใบแทน น.ส. ๓ ก. เพื่อดาเนินการ
จดทะเบยี นตอ่ ไปได้
ฝ่ายที่สอง (๒ เสียง) เห็นว่าการท่ีศาลจังหวัดอุทัยธานีมีคาพิพากษาให้นางกอง (จาเลยร่วม)
มีสิทธิครอบครองในท่ีดิน น.ส. ๓ ก. เลขท่ี ๕๐๘ ตาบลหนองจอก (ทัพหลวง) อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
ตามมาตรา ๑๓๖๗ แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ยอ่ มไมม่ ผี ลผูกพันบุคคลภายนอกซ่ึงมิได้เปน็ คูค่ วาม
ในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษา ดังนัน เม่ือข้อเท็จจริงเร่ืองนีปรากฏว่านางหลวย (โจทก์) ได้จดทะเบียน
ขายที่ดิน น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๕๐๘ ให้แก่ พ.ต.ท. วิสูตร ก่อนศาลมีคาพิพากษาให้นางกองมีสิทธิครอบครอง
ในท่ีดินแปลงดงั กลา่ วคาพิพากษาของศาลจึงไม่มผี ลผูกพัน พ.ต.ท. วิสตู ร บุคคลภายนอก ประกอบกับการไดม้ า
โดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๖๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายไม่ได้บังคับให้ต้อง
จดทะเบียนเหมือนกับกรณีการได้กรรมสิทธ์ิตามมาตรา ๑๓๘๒ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ทังนี เนื่องจากการมีสิทธิครอบครองในท่ีดินมือเปล่าขึนอยู่กับข้อเท็จจริงว่าผู้ใดเป็นผู้ครอบครองทาประโยชน์
ในท่ีดิน นอกจากนีข้อเท็จจริงเรื่องนีก็ไม่ปรากฏว่า น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๕๐๘ ตาบลหนองจอก (ทัพหลวง) อาเภอ
บ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เป็นอันตราย ชารุด หรือสูญหายด้วยประการใด ๆ อันอยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะสามารถ
ดาเนินการออกใบแทนได้ ตามนัยมาตรา ๖๓ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน การที่นางกองอาศัยอานาจตาม
ข้อ ๑๗ (๓) ประกอบกบั ข้อ ๑๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอออกใบแทน น.ส. ๓ ก. เลขที่ดังกล่าวเพื่อดาเนินการจดทะเบียน
ได้มาโดยการครอบครองจึงไม่อาจกระทาได้ทานองเดียวกับมติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมาย
ของกรมที่ดิน ในคราวประชุมครังที่ ๑/๒๕๓๖ เมื่อวันท่ี ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖ เรื่องหารือการจดทะเบียน
ประเภทไดม้ าโดยการครอบครองโดยไมไ่ ด้ น.ส. ๓ ฉบบั ผู้ถือมา

ความเห็นกรมท่ีดนิ เห็นชอบดว้ ยกบั ฝา่ ยทีส่ อง

--๓3๘8- -

เรือ่ งท่ี ๓๑ ประเภททด่ี ินของศาลเจ้าที่ไม่มีสภาพเปน็ ศาลเจา้ และไม่ได้ขนึ ทะเบยี นศาลเจ้าไว้
เร่ืองเสรจ็ ที่ ๙/๒๕๔๐
ประเดน็ พจิ ารณา

ท่ีศาลเจ้าที่ไม่มีสภาพเป็นศาลเจ้าและไม่ได้ขึนทะเบียนที่ดินศาลเจ้าไว้ เป็นท่ีราชพัสดุ
ตามมาตรา ๔ วรรคแรก แห่งพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ หรือเป็นท่ีสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ประเภทใช้เพือ่ ประโยชน์ของแผน่ ดินโดยเฉพาะหรือไม่ อยา่ งไร

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน คร้ังท่ี ๕/๒๕๔๐ เม่ือวันที่ ๘
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ (วาระท่ี ๔.๕)

ที่ดินท่ีเป็นท่ีตังศาลเจ้าดังกล่าวมิใช่ที่ราชพัสดุและมิใช่ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภท
ใช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ทังนี เทียบเคียงคาพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๓๗๑/๒๔๗๔,๑๒๕๓/๒๕๐๐
และ ๑๕๐๙/๒๕๐๓ ประกอบกับหนังสือกรมการปกครอง ที่ มท ๐๓๑๓/ว ๓๙๗๘ ลงวันท่ี ๙ กนั ยายน ๒๕๒๓

ความเห็นกรมทีด่ นิ เห็นชอบ

- ๓3๙9- -

เร่ืองที่ ๓๒ การจัดสง่ โฉนดทดี่ ินและสารบบท่ดี ิน กรณีมีการแบ่งเขตการปกครอง
เร่อื งเสร็จท่ี ๑๐/๒๕๔๐
ประเดน็ พจิ ารณา

โฉนดที่ดินท่ีออกไปโดยชอบด้วยกฎหมายแล้วต่อมามีการแบ่งเขตการปกครองทาให้พืนที่
บางส่วนของโฉนดที่ดินดังกล่าวขึนอยู่กับกรุงเทพมหานคร และบางส่วนขึนอยู่กับจังหวัดนนทบุรีหากมีการ
จดทะเบียนแบ่งแยกและจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมอ่ืน ๆ เกี่ยวกับโฉนดที่ดินดังกล่าวโดยเจ้าพนักงานท่ีดิน
สานักงานท่ีดนิ กรงุ เทพมหานคร กรณเี ช่นนจี ะต้องดาเนนิ การเพกิ ถอนหรือแก้ไขอย่างไรหรอื ไม่

มติคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน ครั้งที่ ๕/๒๕๔๐ เมื่อวันท่ี ๘
กรกฎาคม ๒๕๔๐ (วาระท่ี ๔.๒ – ๔.๓)

หากขอ้ เท็จจริงรับฟังเปน็ ทย่ี ุตวิ ่าโฉนดทดี่ ินก่อนมีการแบ่งแยกไดอ้ อกไปโดยชอบด้วยกฎหมาย
แม้ต่อมาจะมีการเปล่ียนแปลงเขตพืนที่การปกครองทาให้โฉนดที่ดินดังกล่าวมีพืนท่ีครอบคลุมในเขตของสองจังหวัด
ก็ไม่เป็นเหตุใหโ้ ฉนดทด่ี ินซง่ึ ออกโดยชอบดว้ ยกฎหมายแล้วกลายเปน็ โฉนดท่ีดนิ ออกไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ดังนัน เม่ือความปรากฏว่าโฉนดท่ีดินแปลงที่แยกออกไปตังอย่ใู นเขตพืนท่ขี องจงั หวัดนนทบุรี ก็ใหส้ ่งโฉนดที่ดิน
สารบบที่ดิน และเอกสารอื่นที่เก่ียวข้องไปให้จังหวัดนนทบุรี และหากมีผู้มาขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เกี่ยวกบั ท่ีดนิ แปลงดังกล่าวก็ใหเ้ จ้าพนกั งานที่ดินพิจารณาดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีต่อไป ทังนี ใหส้ านกั งานที่ดิน
กรงุ เทพมหานครแจง้ ให้เจ้าของท่ีดนิ ที่เกยี่ วข้องทราบดว้ ย

ความเหน็ กรมท่ีดนิ เหน็ ชอบ


Click to View FlipBook Version