The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือลูกเสือต้านภัยยาเสพติด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TEAMCHER, 2021-09-21 10:21:09

คู่มือลูกเสือต้านภัยยาเสพติด สพป.สกลนคร เขต 1

คู่มือลูกเสือต้านภัยยาเสพติด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

ออกแบบจัดพิมพ์ 4 สี Graphic Design

สำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำสกลนคร เขต 1

เนื้อหำต้นฉบับ : สำนักกำรลูกเสือ ยวุ กำชำด และกจิ กำรนักเรียน
สำนกั งำนปลัดกระทรวงศกึ ษำธิกำร

คำนำ

สำนกั งำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำสกลนคร เขต 1 ไดจ้ ัดพิมพ์คูม่ ือกำร
ฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้ำนภัยยำเสพติดของสำนักกำรลูกเสือ ยุวกำชำด และ
กิจกำรนักเรียนสำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร เป็นแบบพิมพ์ท่ีใช้ Graphic
design ตำมควำมเหมำะสมของเน้ือหำ เพ่ือให้คูม่ ือดังกล่ำวเป็นเอกสำรท่ีมีรูปแบบ
สวยงำม กระตุ้นควำมสนใจของผู้อ่ำน และเพื่อเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
ท่ผี ูส้ นใจสำมำรถคน้ หำและนำไปใช้ไดโ้ ดยสะดวก

สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำสกลนคร เขต 1 ขอขอบพระคุณ
สำนักกำรลูกเสือยุวกำชำด และกจิ กำรนักเรียน สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร
ที่อนุญำตให้สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำสกลนคร เขต 1 จัดพิมพ์
คมู่ ือดังกล่ำวในรูปแบบพิมพ์ 4 สี ใช้ Graphic design รวมถึงจดั ทำแบบหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) และขอขอบคุณคณะทำงำนทุกคนที่ให้ควำมร่วมมือ
ดำเนินกำรจนสำเร็จเรียบร้อยเป็นอย่ำงดี หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ คู่มือดังกล่ำวจะเป็น
ประโยชน์แก่หน่วยงำน สถำนศึกษำและผู้บังคับบัญชำ เพื่อใช้เป็นแนวทำงในกำร
ฝึกอบรมลูกเสือที่มีคุณภำพมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของชุมชน สังคม และ
ประเทศชำติสืบไป

กลมุ่ ส่งเสรมิ กำรจดั กำรศกึ ษำ
สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำสกลนคร เขต 1

สิงหำคม 2564



คำนำ (ต้นฉบับ)

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด เป็นแนวทางสาหรับการ
ฝึกอบรมลูกเสือ โดยเน้นกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ความรู้เร่ืองยาเสพติด การสร้าง
อุดมการณ์ต้านภัยยาเสพติด ทักษะชีวิตเพ่ือการป้องกันยาเสพติด กิจกรรมฐาน
ป้องกนั ภัยยาเสพติด การชุมนุมรอบกองไฟ และการจัดทาโครงการตามนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการดารงชีวิตของลูกเสือ ให้มีคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงค์ 3 ดา้ น คือ ยึดมั่นประชาธิปไตย มีคณุ ธรรมความเป็นไทย และหา่ งไกล
ยาเสพติด

ก ร ะ ท ร ว ง ศึก ษ าธิ ก า ร ไ ด้ ก า ห น ด เ ป็ น น โ ย บ า ย ใ ห้ มี โ ค ร ง ก า ร ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง
คุณธรรมในระบบการศึกษาไทย เป็นการจัดการศึกษาที่มีความสาคญั ต่อการพัฒนา
คณุ ภาพของผเู้ รยี น ซ่ึงกระบวนการจัดการศึกษาที่สมบูรณเ์ ปรียบเสมือนเหรยี ญสอง
ด้านคือ ด้านหน่ึงเป็นการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม
หลักสูตรการศึกษาแต่ละช่วงช้ัน เป็นการสร้างองคค์ วามรู้กระบวนการคิดวิเคราะห์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ มีทักษะการดารงชีวิตท่ีเกิด
จากการฝึกหัด สามารถใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนเองและประกอบ
อาชีพ อีกดา้ นหน่ึงคือเป็นการบ่มเพาะ กล่อมเกลา ปลูกฝังและปลุกจติ สานึก เพื่อให้
ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน และ
สงิ่ แวดลอ้ ม เกดิ ความตระหนกั ในบทบาทหนา้ ท่ขี ้ึนในจติ ใจ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถดารง
ตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สถานศึกษาทุกระดับ ทุกสังกัด และ
หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนและร่วมจดั การศกึ ษา จึงมีส่วนสาคัญใน
การจัดการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมท่ีจะส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาผู้เรียน
อย่างเหมาะสม โดยการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้น
ภารกิจ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านประชาธิปไตย (Democracy) ด้านคุณธรรมจริยธรรม
(Decency) และด้านต้านภัยจากยาเสพติด (Drug-Free) ซ่ึงจะเป็นแผนแม่บทใน
การศึกษาของไทย โดยมอบให้แต่ละหน่วยงาน และสถาบันการศึกษาพิจารณาและ
ทบทวนส่งิ ท่ีทาอยแู่ ล้วว่ามอี ะไร และมสี ิ่งใหม่ท่ีจะเสรมิ เตมิ เต็ม โดยดึงเอาหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องมาเป็นเครอื ข่าย จึงเป็นส่ิงจาเป็นยิ่งท่ีต้องเรง่ ปลูกฝังคุณธรรมให้กบั คนใน
ชาติ โดยเรม่ิ ตัง้ แตเ่ ดก็

การลูกเสือเป็นขบวนการทางการศกึ ษา ท่ีมุ่งพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองดีมี
คุณภาพการศึกษา ด้วยวิธีการของลูกเสือ จะช่วยให้เยาวชนมีคณุ สมบัติตามท่ีสังคม
ต้องการ เช่น มีลักษณะของผู้นาท่ีดีเป็นผู้มีประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มี
บคุ ลกิ ภาพและลักษณะนิสัย ที่เหมาะสมกับความต้องการของสังคม กระบวนการและ
วิธีการของลูกเสือท่ีเด็กได้รับ เป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่สอดคล้องกับหลัก
การศึกษาและตรงกบั ความต้องการของเด็ก คือการเรียนปนเล่น การศึกษาด้วยการ
กระทา และการศึกษาเพ่ือจดั ประสบการณซ์ ่ึงเป็นคณุ ลักษณะพิเศษ กิจกรรมลูกเสือ
ควรเป็นเครอื่ งมือสาคญั ยงิ่ ในการสรา้ งความเจรญิ กา้ วหน้า การลูกเสือไม่ใช่การปฏิวัติ
ทางการศกึ ษา การลูกเสอื เป็นเพียงคาแนะนา เป็นการช่วยศกึ ษาในทางปฏิบัติ เพ่ือให้มี
ความสอดคล้องกบั เป้าหมายท่ีต้องการ

จากผลการวิจยั “เรอ่ื ง การศกึ ษาความคดิ เหน็ ของผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือต่อการ
จดั ตงั้ หน่วยลูกเสือประชาธิปไตย หน่วยลูกเสือคุณธรรม และหน่วยลูกเสือต้านภัยยา
เสพติดในสถานศึกษา” ปีพุทธศักราช 2553 โดยการสุ่มตัวอย่างจากผู้อานวยการ
ลูกเสือโรงเรียน และผู้กากับลูกเสือในสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่จัดหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จานวน 2,675
โรงเรยี น ไดก้ ลุ่มตัวอยา่ ง จานวน 353 โรงเรยี น จงึ แยกกลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นกลุม่ บุคคล



ได้แก่ ผู้อานวยการลูกเสือโรงเรียน ผู้กากับลูกเสือโรงเรียนในสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน จากเขตตรวจราชการทั่วประเทศ มีความเห็นด้วย
เก่ียวกับการจัดตั้งหน่วยลูกเสือประชาธิปไตย หน่วยลูกเสือคุณธรรม และหน่วย
ลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพติดในสถานศกึ ษา อยู่ในระดบั มากท่ีสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 95

กระทรวงศกึ ษาธิการขอขอบคณุ คณะทางานและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ที่ไดใ้ ห้
ความรว่ มมือสนบั สนนุ ดา้ นข้อมูล และรว่ มดาเนนิ การจดั ทาคมู่ ือการฝึกอบรมหลักสูตร
ลกู เสือต้านภัยยาเสพติด จนสาเร็จเรยี บรอ้ ยเป็นอย่างดี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการ
ฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือตา้ นภัยยาเสพติดจะเป็นประโยชนแ์ ก่หน่วยงาน สถานศกึ ษา
และผ้บู งั คบั บัญชา เพ่อื ใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมลูกเสือท่ีมีคุณภาพ มีคณุ ลักษณะ
ท่พี ึงประสงคข์ องชุมชน สังคม และประเทศชาตสิ ืบไป

(นายนวิ ัตร นาคะเวช)

ประธานคณะกรรมการจดั ทาหลักสตู รลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพตดิ



คำชี้แจง

คมู่ อื การฝึกอบรมผ้บู ังคบั บัญชาลูกเสือ จัดทาข้ึนเพื่อดาเนินการใหเ้ ป็นไปตาม

นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตของผู้เรยี นให้มี

คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 3 ดา้ น คือ ยึดม่ันประชาธิปไตย มีคณุ ธรรมความเป็นไทย

และห่างไกลยาเสพติด โดยแบ่งเป็น 3 หลักสูตร คือ หลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย

หลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม และหลกั สูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ประกอบดว้ ย 3 ส่วน

คอื

ส่วนที่ 1 หลักสูตรการฝึกอบรม ประกอบด้วยคาอธิบายเน้ือหา

หลักสตู รท้ังหมดในหลักสูตรท่ีเกีย่ วข้อง เพื่อเป็นกรอบ

แนวทางสาหรบั การจดั ฝกึ อบรม

ส่วนท่ี 2 วิชาการฝึกอบรม ประกอบด้วย รายละเอียดเน้ือหาแต่

ละวชิ า ในหลักสูตรในหลักสูตรท่ีเก่ยี วข้อง พร้อมท้ัง

แนวทางการจดั กจิ กรรมและแนวทางการประเมินผลแต่

ละวชิ า

สว่ นท่ี 3 กจิ กรรมเสนอแนะ ประกอบด้วย การดาเนินการเพื่อ

ขอรับเครื่องหมายพิเศษลูกเสือในหลักสูตรท่ีเก่ยี วข้อง

และแนวทางการจดั ต้งั หนว่ ยลูกเสือในสถานศกึ ษา

ผู้จัดอบรมควรศึกษาทาความเข้าใจหลักสูตรและแนวการจัดฝึกอบรมให้ถ่อง
แท้เพ่ือใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้เรยี น รวมถึงควรจดั กิจกรรมการมีส่วนร่วมกับ
สถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน อย่างน้อย 3 กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ
เครอื่ งหมายพเิ ศษลกู เสอื ในเรอ่ื งนั้น ๆ ดว้ ย



ควำมเปน็ มำ

อนุสนธิจากการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายชินวรณ์ บุณย
เกียรติได้มอบนโยบายเม่ือวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เรื่อง ยุทธศาสตรก์ าร
ยกระดบั คุณภาพการศึกษาของลูกเสือไปสู่องคก์ รหลัก สานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอ ก ร ะ บ บ แ ล ะ กา ร ศึก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศัย แ ล ะ ผู้อ า น ว ย ก า ร ส านั ก บ ริห า ร ง า น
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน มีใจความว่า “สืบเน่ืองจากเจตนารมณ์สาคัญของ
กร ะ ท ร ว ง ศึกษ า ธิ ก า ร ใ น ก า ร ย ก ร ะ ดับ คุณ ภ า พ ก าร ศึก ษ า สู่ ม าต ร ฐ า น ส า ก ล
นอกเหนอื จากเรง่ รดั คุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยีแล้ว สิ่งสาคัญประการหน่ึงก็
คือการพัฒนา ส่งเ สริมทั กษะชี วิตและคุณลักษณะท่ี พึงประสงค์ของนักเรีย น
กระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
พจิ ารณาเหน็ ว่า “กจิ กรรมลูกเสือ” เป็นกจิ กรรมอันเหมาะสมที่จะช่วยให้นักเรียนหรือ
เยาวชนมรี ะเบยี บวนิ ัย มคี วามซ่ือสตั ยส์ จุ รติ และมเี กยี รติเชื่อถอื ไดด้ ังพระราชปณิธาน
ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ต้ังกอง
ลูกเสือข้ึน เพราะทรงหวังประโยชน์เพื่อจะฝึกหัดเยาวชนเป็นผู้ประพฤติและเป็น
พลเมืองดขี องชาติบ้านเมอื งในอนาคต

ในปัจจุบัน บทบาทการจดั กจิ กรรมลกู เสอื ลดน้อยลง ไมบ่ รรลุวัตถุประสงคข์ อง
คณะลูกเสือแห่งชาติอย่างแท้จริง กระทรวงศึกษาธิการ จึงขอความร่วมมือมายัง
หน่วยงานของท่าน เพือ่ ช่วยพัฒนาและส่งเสริมวินัยลูกเสือด้วยกระบวนการลูกเสือใน
สถานศกึ ษาที่เกย่ี วขอ้ ง เพื่อถือเป็นโอกาสสาคญั เน่อื งจากใน ปี พ.ศ. 2554 เป็นปีเฉลิม
พระเกยี รติ 84 พรรษา ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติและฉลอง 100 ปีการลูกเสือ
ไทย โดยขอความรว่ มมือ ดงั นี้

1) ให้สถานศึกษาในระบบและนอกระบบดาเนินการจัดต้ังกลุ่ม/กอง
ลูกเสือใหถ้ กู ตอ้ ง ตามข้อบังคบั คณะลูกเสอื แหง่ ชาติ

2) ใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การแต่งต้ังผู้บังคบั บัญชาลูกเสือใหเ้ ป็นไปตาม
ขอ้ บงั คบั คณะลกู เสอื แหง่ ชาติพรอ้ มท้ังสนับสนนุ และส่งเสริมใหผ้ ู้บังคบั บัญชา
ลกู เสือมวี ฒุ ิทางลูกเสือ เพือ่ เป็นการเพ่มิ พนู ความรทู้ กั ษะทางลูกเสือ และการมี
สว่ นรว่ มในการพฒั นากจิ กรรมลกู เสือใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้

3) มอบสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกาหนด
แผนพฒั นากจิ การลกู เสือในเขตท่ีรบั ผดิ ชอบ โดยใหส้ ถานศกึ ษาทั้งในระบบและ
นอกระบบจัดกจิ กรรมลูกเสือตามหลักสูตรของข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
และสง่ เสรมิ ใหม้ ีหนว่ ยลกู เสอื คณุ ธรรม หน่วยลูกเสือประชาธิปไตย และหน่วย
ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ข้ึนในสถานศกึ ษาทั้งในระบบและนอกระบบ

4) มอบสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และสานัก
บริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นหน่วยงานที่กาหนด
นโยบาย วางแผนพัฒนา ดาเนนิ งาน กากับ ติดตาม และส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษา
ท่ีเกย่ี วขอ้ งจดั กจิ กรรมลูกเสอื ใหเ้ ป็นรปู ธรรมอยา่ งจรงิ จงั ”



นอกจากน้ัน กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดนโยบายขับเคล่ือนการปฏิรูป
การศกึ ษาในทศวรรษทส่ี อง มีเป้าหมาย คอื คนไทยไดเ้ รยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ
เพอื่ สรา้ งเดก็ ใหเ้ ป็นคนเกง่ คนดมี ีความสุข มีความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของ
ประเทศ และอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างย่ังยืนบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
โดยเฉพาะอย่างย่ิงการส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (Civic
Education) โดยบูรณาการกบั วิชาการลูกเสือไทยเพ่ือปรบั ปรุงหลักสูตร กระบวนการ
เรยี นการสอน การประเมินผล และการจดั กจิ กรรม

ดงั นนั้ เพือ่ ใหก้ ารขับเคลือ่ นนโยบายดงั กล่าวบงั เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะ
การส่งเสริมทักษะชีวิตของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3 ด้าน คือ ด้าน
ประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกลยาเสพติด โดยมุ่งเน้นให้
สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน ใช้กระบวนการศึกษาเพื่อสร้าง
ความเป็นพลเมือง โดยเฉพาะกลุ่มลูกเสือ เนตรนารีและยุวกาชาด สานักงาน
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยสานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน และ
สานักกิจการพิเศษ ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยประสานงานกับองค์กรหลัก
สถานศกึ ษา และหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง โดยความรว่ มมือของสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ
ในการจดั ทาหลักสูตรและค่มู ือฝึกอบรมลูกเสือตามหลักสูตร ทั้ง 3 ด้าน คอื หลักสูตร
ลูกเสอื ประชาธิปไตย หลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม และหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด
เพื่อให้สถานศึกษา ผู้บังคับบัญชา ตลอดจนผู้สนใจ ใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรม
ลูกเสอื ทุกระดบั เพื่อใหไ้ ดล้ ูกเสือท่ีมีคณุ ภาพ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคต์ ามนโยบาย
ทั้ง 3 ด้าน คอื ยึดมั่นประชาธิปไตย มีคุณธรรม และห่างไกลยาเสพติด โดยผู้ผ่านการ
ฝึกอบรมตามเกณฑท์ ่ีกาหนดสามารถรับวุฒิบัตร สาหรบั ลูกเสือแต่ละหลักสูตร และ
จัดต้ังหน่วยลูกเสือประชาธิปไตย ลูกเสือคุณธรรม และลูกเสือต้านภัยยาเสพติดใน
สถานศกึ ษาต่อไป



คำปณิธำน

“ลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพตดิ ”

ขา้ พเจา้ (ช่ือ-สกลุ ) ........................................................................ ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรม หลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด รุ่นที่.............../.................... ขอต้ังปณิธานต่อ
หน้าสิ่งศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายและพระบรมรูปล้นเกล้ารัชกาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อย่หู วั ว่า

ข้อ 1 ขา้ พเจา้ จะยึดม่ันและปฏบิ ัติตามคาปฏญิ าณของลูกเสือ
ข้อ 2 ข้าพเจ้าจะประพฤติตนและป้องกันตนเอง เพ่ือน ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติให้ห่างไกลจากยาเสพตดิ
ข้อ 3 ข้าพเจ้า จะมุ่ ง ม่ั นธารง ไ ว้ ซ่ึ ง เกี ยรติภูมิ แ ห่ง ลู กเ สื อ และ จะทุ่มเ ทความ รู้
ความสามารถอุทิศตนให้แก่กิจการท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างเต็มกาลัง ตลอดจนรักษา
เอกลักษณข์ องชาตแิ ละความเปน็ ไทยสืบไป

.....................................................
(....................................................)



สำรบญั

คานา หนำ้
คาชี้แจง




ความเปน็ มา จ

คาปณิธาน ช

สารบัญ ซ

สว่ นท่ี 1 โครงสรา้ งหลกั สตู ร 1
โครงสรา้ งหลักสตู รลกู เสอื ตา้ นภัยยาเสพติด 2
การดาเนินงานเพอ่ื ขอรบั เครอื่ งหมายลกู เสอื ตา้ นภยั ยาเสพติด 4
วตั ถุประสงคข์ องการฝกึ อบรม 5
มาตรฐานผผู้ ่านการฝกึ อบรม 5
คณุ สมบัติผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม 5
ระยะเวลาในการฝึกอบรม 5
คาอธิบายหลกั สตู ร 5
กจิ กรรม/รายวิชา 5
วิธกี ารฝึกอบรม 5
การประเมนิ ผล 6
เกณฑก์ ารผ่านหลักสูตร 6
ส่อื การฝึกอบรม 6
เอกสารอา้ งองิ /แหล่งข้อมูล 7
ตารางการฝึกอบรม 9
กาหนดการฝกึ อบรม 10



สำรบญั (ตอ่ )

หน้ำ

ส่วนที่ 2 กจิ กรรม / รายวชิ าและเนื้อหาสาระ 13

ลูกเสือกบั การอย่รู ว่ มกนั อย่างมีความสขุ ในการต้านภัยยาเสพติด 14

ลูกเสอื กบั การเรยี นรูเ้ รอื่ งยาเสพติด 20

ลูกเสือกบั การสรา้ งอดุ มการณต์ า้ นภยั ยาเสพติด 34

ลูกเสือกบั ทักษะชีวิตเพอ่ื การป้องกนั ยาเสพติด 40

ลูกเสอื กบั การป้องกนั ภัยยาเสพตดิ 50

ลูกเสอื กบั การดแู ลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด 80

ลกู เสือกบั การชุมนมุ รอบกองไฟ 90

ลูกเสือกบั การจดั ทาโครงการ/โครงงาน 108

ส่วนที่ 3 กิจกรรมเสนอแนะ 119

แนวทางการจดั ตง้ั หนว่ ยลกู เสอื ต้านภัยยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 120

กาหนดเกณฑก์ ารตง้ั หน่วยลกู เสอื ต้านภัยยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 122

ภาคผนวก 123
เครอื่ งหมายประกอบเครอ่ื งแบบลูกเสือตา้ นภยั ยาเสพติด 124
คณะผูจ้ ดั ทา 126



ส่วนท่ี 1

1

โครงสรำ้ งหลักสูตรลูกเสือตำ้ นภยั ยำเสพตดิ

ลำดับ ชื่อวิชำ/กิจกรรม รูปแบบกำรจัดกิจกรรม เวลำ
(นำท)ี
ลูกเสอื กับกำรอยู่ รูปแบบที่ 1 การบรรยาย 120

1 ร่วมกันอยำ่ งมี รูปแบบที่ 2 การสาธิต 180
ควำมสุขในกำร 120

ต้ำนภยั ยำเสพตดิ รูปแบบท่ี 3 บทบาทสมมติ 120

รูปแบบที่ 4 กจิ กรรมกลุม่ สัมพนั ธ์ 180

ลูกเสือกบั กำร รูปแบบท่ี 1 การบรรยาย

2 เรียนรูเ้ รือ่ งยำ รูปแบบท่ี 2 การอภปิ รายกลมุ่
เสพตดิ

รูปแบบที่ 3 กจิ กรรมกลุ่ม

ลูกเสือกับกำร รูปแบบท่ี 1 บรรยาย

3 สร้ำงอุดมกำรณ์ รูปแบบที่ 2 การสาธติ
ต้ำนภยั ยำเสพ

ติด รูปแบบที่ 3 การฝึกปฏิบัติ

รูปแบบท่ี 4 กจิ กรรมพธิ ีบายศรสี ู่ขวญั

ลูกเสือกับทักษะ รูปแบบที่ 1 กจิ กรรมกล่มุ

ชี วิ ต ก ำ ร ป้ อ ง กั น รูปแบบท่ี 2 การอภปิ รายกลุ่ม
ยำเสพติด

4 (กำรคิดวิเครำะห์กำร

ตัด สิ น ใจ ก ำร ส่ื อ สำ ร
ก ำร ส ร้ ำง สั ม พั น ธ ภ ำ พ
กำรจัดกำรอำรมณ์และ
คว ำ ม เ ค รี ย ด ก ำ ร ใ ห้
คำปรึกษำ)

ลูกเสือกบั กำร กจิ กรรมฐำนเรียนรู้

ป้องกนั ภยั ยำเสพ - แข่งเรอื บก
ตดิ - รวมพลัง
- พรม...วิเศษ
(กจิ กรรมฐำนตำ้ นภัย
ยำเสพตดิ )

- เกลียวเชือกสัมพันธ์

5 - ห่วงเสน่หา

- หย่อนระเบิด

- โยนไข่...โยนใจ

- กระโดดเชือกหมู่

- นําข้นึ ให้รบี ตกั

- พรายกระซิบ

2

โครงสรำ้ งหลักสูตรลูกเสือต้ำนภยั ยำเสพตดิ (ต่อ)

ลำดบั ช่ือวชิ ำ/กิจกรรม รูปแบบกำรจดั กจิ กรรม เวลำ
(นำท)ี
6 ลูกเสอื กับกำร รูปแบบท่ี 1 การบรรยาย
60
ดูแลเยียวยำ รูปแบบที่ 2 การอภปิ รายกลุ่ม
ช่วยเหลือ 120
120
ผเู้ ก่ยี วข้อง กบั รูปแบบที่ 3 รายงานกลุ่ม 60

ยำเสพตดิ รูปแบบท่ี 4 สรปุ รายงาน -

7 ลูกเสอื กบั กำร กจิ กรรมชุมนุมรอบกองไฟ -

ชุมนุมรอบกอง ดา้ นตา้ นภัยยาเสพติด -
ไฟ
1,080
8 ลูกเสือกบั กำร กจิ กรรมกลมุ่ กำรระดมสมอง
จดั ทำโครงกำร/
โครงงำน

9 ภำรกิจลูกเสือ กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์

ต้ำนภยั ยำเสพ รอบคา่ ยทีพ่ กั
ตดิ

10 คำปณิธำน การกล่าวคาปณิธานเพ่ือใหค้ ามัน่ สัญญา
ลูกเสอื ตำ้ นภยั
ยำเสพตดิ

11 กิจกรรมของ ปฏิบัติโครงการ/กจิ กรรม เกยี่ วกบั การต้านภัย

ลูกเสอื ตำ้ นภยั ยาเสพตดิ อยา่ งนอ้ ย 3 กจิ กรรม หลงั จากการ

ยำเสพติด ฝึกอบรมแล้ว

- ตนเอง
- เพ่อื น/สถำนศกึ ษำ
- ครอบครัว/ชุมชน

12 กำรขอรับ
เครื่องหมำย
ลูกเสอื ต้ำนภยั
ยำเสพตดิ

รวม

หมำยเหตุ เวลำสำมำรถปรบั เปล่ียนได้ตำมควำมเหมำะสม

3

กำรดำเนินงำนเพ่ือขอรับเคร่อื งหมำยลูกเสือตำ้ นภยั ยำเสพตดิ

แผนภมู กิ ำรดำเนินงำน

หลักสูตรลูกเสอื ต้ำนภยั ยำเสพติด

1. ลูกเสอื กบั การอยูร่ ว่ มกนั อย่างมคี วามสขุ
ในการต้านภยั ยาเสพตดิ

2. ลกู เสอื กบั การเรยี นรูเ้ รอ่ื งยาเสพติด
3. ลูกเสือกบั การสรา้ งอุดมการณต์ ้านภยั ยาเสพตดิ
4. ลกู เสือกบั ทกั ษะชีวิตการป้องกนั ยาเสพติด
5. ลกู เสอื กบั การป้องกนั ภยั ยาเสพตดิ

(กจิ กรรมฐำนต้ำนภัยยำเสพติด)

6. ลูกเสอื กบั การดแู ลเยยี วยาช่วยเหลอื ผ้เู กยี่ วขอ้ ง
กบั ยาเสพตดิ

7. ลกู เสอื กบั การชุมนมุ รอบกองไฟ
8. ลกู เสือกบั การจดั ทาโครงการ/โครงงาน
9. ภารกจิ ลกู เสือต้านภัยยาเสพติด

(กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์รอบค่ำยที่พัก)

ดำเนินกำรฝึกอบรม เครอื่ งหมำยลกู เสอื
กิจกรรมในสถำนศกึ ษำ ตำ้ นภยั ยำเสพตดิ

กำรนำควำมรู้เร่ืองกำรต้ำนภยั ยำเสพตดิ ไปใช้ ไม่ ่ผำน

ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมอยำ่ งน้อย ภำยใน 3 เ ืดอน

3 กจิ กรรม ่ผำน

ตนเอง เพ่ือน/สถำนศึกษำ ครอบครวั /ชุมชน ประเมินผล

4

วัตถุประสงค์ของกำรฝกึ อบรม
1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ
2. เพือ่ ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมตระหนักถึงโทษและพษิ ภยั ของยาเสพติดและ
รว่ มกนั ต้านภยั ยาเสพติด
3. เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมมที ักษะในการป้องกนั ตนเองใหห้ า่ งไกลจาก
ยาเสพตดิ

มำตรฐำนผู้ผ่ำนกำรฝกึ อบรม

ผู้ผ่านการฝึกอบรม มีคณุ สมบัติท่ีพึงประสงคใ์ นการต้านภัยยาเสพติด รู้จักการ
ป้องกนั ตวั เองใหห้ า่ งไกลจากยาเสพตดิ และสามารถอยู่รว่ มกบั ผูอ้ ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุข

คณุ สมบัติผเู้ ข้ำรบั กำรฝกึ อบรม ระยะเวลำกำรฝกึ อบรม
เป็นลกู เสอื เนตรนารยี ุวกาชาด จานวน 3 วัน 2 คนื
และผบู้ าเพ็ญประโยชน์

คำอธิบำยหลักสตู ร

เป็นการใหค้ วามรแู้ ละฝึกปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั ยาเสพตดิ การอยู่รว่ มกนั อย่างมีความสุข
ในการตา้ นภยั ยาเสพติด การเรียนรูเ้ ร่อื งยาเสพติด การสร้างอุดมการณต์ ้านภัยยาเสพ
ติด ทักษะชีวิตการป้องกันยาเสพติด การป้องกันภัยยาเสพติด การดูแลเยียวยา
ช่วยเหลือผเู้ กยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพติด การชุมนุมรอบกองไฟ การจดั ทาโครงการ/โครงงาน
และภารกจิ ลกู เสอื ต้านภัยยาเสพติด เพื่อใหล้ ูกเสือมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโทษ
และพษิ ภัยของยาเสพติดและมีทักษะในการป้องกนั ตนเองใหห้ า่ งไกลจากยาเสพติด

กจิ กรรม/รำยวชิ ำ
1. ลกู เสอื กบั การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุขในการตา้ นภัยยาเสพตดิ
2. ลูกเสือกบั การเรยี นรเู้ รอ่ื งยาเสพตดิ
3. ลกู เสอื กบั การสรา้ งอดุ มการณต์ ้านภยั ยาเสพติด
4. ลูกเสือกบั ทักษะชีวติ การป้องกนั ยาเสพติด
5. ลกู เสอื กบั การป้องกนั ภยั ยาเสพติด (กิจกรรมฐานต้านภยั ยาเสพตดิ )
6. ลูกเสือกบั การดแู ลเยยี วยาช่วยเหลือผู้เกย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ
7. กบั การชุมนุมรอบกองไฟ
8. ลกู เสือกบั การจดั ทาโครงการ/โครงงาน
9. ภารกจิ ลูกเสือตา้ นภัยยาเสพติด (กิจกรรมบาเพ็ญประโยชนร์ อบค่ายที่พัก)

วิธีกำรฝกึ อบรม

1. กำรบรรยำย
2. กำรสำธิต
3. กำรสอนแบบฐำนเรียนรู้
4. กำรศกึ ษำดงู ำน/ทศั นศกึ ษำ
5. กำรศกึ ษำรำยกรณี
6. กำรสอนแบบจกิ๊ ซอว์ (Jigsaw)
7. กิจกรรมกลุ่ม : กำรระดมสมอง (Brain Storming)
8. กจิ กรรมกลุ่มสัมพันธ์
9. กิจกรรมชุมนุมรอบกองไฟ

5

กำรประเมนิ ผล

ประเมนิ ผลจำกกำรเข้ำรับกำรฝึกอบรมและเข้ำรว่ มกจิ กรรม

1. วธิ ีการวัดผล : สังเกตพฤตกิ รรม ประเมินความรปู้ ระเมนิ ผลงาน

2. เคร่อื งมือวดั ผล : แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

แบบประเมินความรแู้ บบประเมนิ ผลงาน

3. เกณฑก์ ารประเมินผล : ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80

เกณฑก์ ำรผำ่ นหลักสูตร
1. เวลาเขา้ ร่วมการฝึกอบรมไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
2. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินทกุ วิชาไม่ตาํ กวา่ รอ้ ยละ 80
3. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของลกู เสือ เพ่ือขอรบั เครอื่ งหมายลูกเสือ

ตา้ นภยั ยาเสพตดิ อย่างนอ้ ย 3 กจิ กรรม หากไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมินผล ใหป้ ฏบิ ัตกิ จิ กรรมอีกคร้ังภายในระยะเวลา 3 เดอื น

ส่ือกำรฝกึ อบรม

1. สื่อโสตทศั นูปกรณ์
2. ใบควำมรูใ้ บงำน ใบกจิ กรรม ในกำรอภปิ รำยกลุ่ม

กำรศกึ ษำรำยกรณกี ำรแสดงบทบำทสมมติ
3. แผนภมู ิรูปภำพ แผน่ ภำพ ทเ่ี กย่ี วกบั เนือ้ หำวิชำยำเสพตดิ
4. แบบฟอร์มและตวั อยำ่ งกำรเขยี นโครงกำร
5. แบบรำยงำนผลกำรศกึ ษำดงู ำน
6. กระดำษ A4 กระดำษ Flipchart
7. อุปกรณ์เครอ่ื งเขยี น ปำกกำเคมสี ีสำหรับตกแตง่ ภำพ
8. ภำพยนตร์กำรต์ ูน นทิ ำน เกย่ี วกบั ยำเสพตดิ
9. เพลง เกม
10. เครอ่ื งคอมพิวเตอร์โนต้ บกุ๊
11. วดิ ที ศั น์เครือ่ งเล่น DVD
12. เครือ่ งฉำย LCD
13. เคร่ืองเสียง
14. เคร่อื งดนตรีเช่น กลอง ฉงิ่ ฉำบ กรับ ฆอ้ ง ฯลฯ
15. เครื่องแตง่ กำยและอุปกรณป์ ระกอบกำรแสดง
16. บทขบั เสภำ/บทกลอน/บทเพลง
17. ดำ้ ยขำว เชือกปำ่ น สำหรบั ผกู ขอ้ มือ
18. เทยี นไข
19. กองไฟ/กองไฟจำลอง
20. อุปกรณ์อื่นๆ ทเ่ี หมำะสมตำมประเพณนี ยิ ม

6

1. คณะกรรมกำรป้องกันและ
ปรำบปรำมยำเสพตดิ ,
สำนักงำน. เอกสำรควำมรู้
แนวทำงกำรปอ้ งกันและแก้ไข
ปัญหำสำรเสพติด. มปท.

2. ควำมรูแ้ ละแนวทำงกำรปอ้ งกนั
และแก้ไขปัญหำสำรเสพตดิ .
สำนักงำน ป.ป.ส. บริษัท ยเู นยี นอลุ ตรำ้ ไวโอเร็ต. 2552

3. คู่มือกำรฝกึ อบรมผบู้ ังคับบัญชำลูกเสือ ขนั้ ผูช้ ่วยผใู้ ห้กำรฝกึ อบรม
วิชำผู้กำกบั ลูกเสือ คณะกรรมกำรลูกเสอื ฝำ่ ยพัฒนำบคุ ลำกร สำนักงำนลูกเสือแห่งชำติ

4. นโยบำยสถำนศึกษำ และเกณฑม์ ำตรฐำนคุณภำพสถำนศกึ ษำ
ดำ้ นลูกเสือตำ้ นภยั ยำเสพตดิ

5. แนวกำรพัฒนำหลักสตู รกำรจดั กิจกรรมลูกเสอื ในสถำนศกึ ษำ พ.ศ. 2522
6. พระรำชบัญญตั ิยำเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
7. พระรำชบญั ญัตยิ ำเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545
8. ศกึ ษำธิกำร, กระทรวง. คมู่ อื กำรจัดกิจกรรมลูกเสอื ยวุ กำชำดและ

ผู้บำเพ็ญประโยชนเ์ พื่อกำรปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหำสำรเสพติดใน
สถำนศึกษำ. โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.
2553
9. สวุ ัฒน์ชัย ทิพย์จนั ทร์. ค่มู ือพิธีจุดเทียนแห่งปญั ญำ.
กลุ่มงำนพัฒนำทรัพยำกรบคุ คล, ศูนยช์ ่วยเหลือทำงวิชำกำร
พัฒนำชุมชนเขตที่ 4 กรมพฒั นำชุมชน กระทรวงมหำดไทย.
2551.
10. สำรปฏริ ูป ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 37 ประจำเดือน เมษำยน 2544
หนำ้ ท่ี 31

7

11. หนงั สือเกย่ี วกับลูกเสอื เพลง เกมลูกเสือ
12. เวบ็ ไซตบ์ ริษทั วคิ ค์เทรนนง่ิ จำกดั http://www.vicktraining.com
13. เว็บไซต์ศูนย์วชิ ำกำรด้ำนยำเสพตดิ สำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกนั และปรำบปรำม

ยำเสพตดิ http://nctc.oncb.go.th
14. เว็บไซต์สมำคมองค์กรพัฒนำเอกชนเพือ่ กำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพติด

ภำคพ้ืนเอเชีย - แปซิฟคิ www.aspacngo.org
15. เวบ็ ไซตส์ ำนักงำนคณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมยำเสพตดิ www.oncb.go.th
16. เวบ็ ไซต์สำนักกำรลูกเสอื ยวุ กำชำด และกิจกำรนกั เรียน

สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร www.bureausrs.org
17. เวบ็ ไซต์สำนักกิจกำรพเิ ศษ สำนกั งำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร www.skp.moe.go.th
18. เวบ็ ไซต์สำนักงำนลูกเสอื แหง่ ชำติ www.scoutthailand.org
19. แหล่งขอ้ มูลทำง Internet
20. แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน
21. ห้องสมุดในสถำนศึกษำ และนอกสถำนศกึ ษำ

8

9 ตำรำงกำรฝึกอบรม หลักสูตรลูกเสือตำ้ นภัยยำเสพตดิ

หมำยเหตุ
1. ตารางการฝกึ อบรมอาจปรบั เปล่ยี นไดต้ ามความเหมาะสม
2. คาว่า “ลูกเสอื ” หมายรวมถึง ลูกเสือ เนตรนารยี วุ กาชาด และผ้บู าเพ็ญประโยชน์
3. การนัดหมายกจิ กรรมชุมนุมรอบกองไฟ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของพธิ ีกรประจาวนั
4. รบั ประทานอาหารวา่ งและเครอ่ื งดม่ื เวลา 10.30 – 10.45 น. และ 14.30 – 14.45 น.

กำหนดกำรฝกึ อบรม หลักสูตรลูกเสือ

ตำ้ นภยั ยำเสพตดิ

ระหวำ่ งวันที่........เดอื น..................พ.ศ............
ณ................................................................

ัวนท่ีห ่ึนง เวลำ
ของกำรฝึกอบรม
07.30 น. รายงานตวั
08.30 น.
09.00 น. ปฐมนิเทศ

10.00 น. พธิ ีเปิดในหอ้ งประชุม
12.00 น. - ประธานจุดธูป เทยี น บชู าพระรตั นตรยั
13.00 น. และพระบรมรปู รชั กาลท่ี 6
16.00 น. - ถวายราชสดดุ ี
18.00 น. - กลา่ วรายงาน
19.00 น. - ประธานกลา่ วปราศรยั เปิดการฝกึ อบรม
21.00 น.
พิธีเปิดรอบเสาธง
- ชักธงข้นึ
- สวดมนต์
- สงบน่งิ
- ผ้อู านวยการฝึกอบรมกล่าวปราศรยั

ลูกเสือกบั การอยู่รว่ มกนั อย่างมีความสุขในการต้านภัยยาเสพตดิ

รบั ประทานอาหารกลางวนั
ลกู เสือกบั การเรยี นรเู้ รอ่ื งยาเสพตดิ

ประชุมคณะวิทยากร

ชักธงลง รบั ประทานอาหารเยน็

ลูกเสือกบั การสรา้ งอุดมการณต์ า้ นภัยยาเสพตดิ

สวดมนต์ – นอน

10

กำหนดกำรฝึกอบรม

หลักสูตรลูกเสือ ตำ้ นภยั ยำเสพตดิ

ัวนท่ีสอง เวลำ
ของกำรฝึกอบรม
05.30 น. ตื่นนอน กายบรหิ าร ภารกิจส่วนตัว
07.00 น. รบั ประทานอาหารเช้า
08.00 น. พธิ รี อบเสาธง
09.00 น. ลูกเสือกบั ทักษะชีวติ การป้องกนั ยาเสพตดิ
11.00 น. ลกู เสอื กบั การดแู ลเยยี วยาช่วยเหลอื ผูเ้ กย่ี วข้องกบั ยาเสพตดิ
12.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั
13.00 น. ลกู เสอื การป้องกนั ภยั ยาเสพติด
(กจิ กรรมฐานต้านภัยยากบั เสพติด)
16.00 น. ประชุมคณะวิทยากร
18.00 น.
19.00 น. ชักธงลง รบั ประทานอาหารเยน็
21.00 น. ลูกเสอื กบั การชุมนุมรอบกองไฟ (ดา้ นต้านภยั ยาเสพติด)
สวดมนต์ - นอน

11

เวลำ ัวนท่ีสำม
ของกำรฝึกอบรม
05.30 น. ตนื่ นอน กายบรหิ าร ภารกจิ ส่วนตัว

07.00 น. รบั ประทานอาหารเช้า

08.00 น. พิธีรอบเสาธง

09.00 น. ลูกเสือกบั การจดั ทาโครงการ/โครงงาน

11.00 น. ภารกจิ ลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพตดิ

12.00 น. (กจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชนร์ อบค่ายทีพ่ กั )

รบั ประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. - สรุป อภิปราย ซักถามปญหา ั และประเมินผล

- การใหค้ าปณิธานลกู เสือต้านภัยยาเสพตดิ

14.00 น. พธิ ีปิดการฝกึ อบรม

- ผแู้ ทนผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมกล่าวความรสู้ กึ
- ผอู้ านวยการฝึกอบรมประกาศผลการฝึกอบรม
- มอบวุฒิบัตร
- ผอู้ านวยการฝึกอบรมกลา่ วปราศรยั ปิดการฝึกอบรม
- ทบทวนคาปฏญิ าณ
พิธีปิดรอบเสาธง
- สวดมนตส์ งบน่งิ ชักธงลง
- รอ้ งเพลงสามคั คชี ุมนมุ
- จบั มอื ลา

15.00 น. เดนิ ทางกลับ

__________________________________________

หมำยเหตุ

1. ตำรำงกำรฝึกอบรมอำจปรบั เปลี่ยนได้
ตำมควำมเหมำะสม

2. คำว่ำ “ลูกเสือ” หมำยรวมถึง ลูกเสือ เนตรนำรี
ยุวกำชำด และผู้บำเพ็ญประโยชน์

3. กำรนัดหมำยกิจกรรมชุมนุมรอบกองไฟ ให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของพิธีกรประจำวนั

4. รับประทำนอำหำรวำ่ งและเครือ่ งดมื่ เวลำ 10.30 – 10.45 น.
และ 14.30 – 14.45 น.

12

ส่วนท่ี 2

13

บทเรียนท่ี 1

ช่ือวิชำ “

“ ลูกเสือกบั กำรอย่รู ่วมกันอยำ่ งมีควำมสุข
ในกำรตำ้ นภยั ยำเสพตดิ
เวลำ 120 นำที

ขอบข่ำยรำยวชิ ำ

รูปแบบการจดั กจิ กรรมกลมุ่ สัมพันธ์

กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์

ละลำยพฤตกิ รรม เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศในการทางานร่วมกนั
(Ice Break)
เพอ่ื สร้างกระบวนการทางานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่
กระบวนกำรกลุ่ม
(Group Process) เพื่อสร้างทีมงานให้เกิดการยอมรับซ่ึงกันและกัน การปลุกพลังดึง
ศกั ยภาพของแต่ละคนท่ีเป็นสมาชิกในทีม เป็นการเตรียมความพร้อม
กำรสร้ำงทมี งำน และ กบั การแข่งขัน และทาให้สมาชิกในทีมได้มีโอกาสปฏสิ ัมพันธก์ ัน
กำรทำงำนเป็นทมี
เพอ่ื ให้เกิดการยอมรบั ความแตกต่าง พฒั นาทางด้านศกั ยภาพ เปดิ ใจ
(Team Building and Team Work) ยอมรับซ่ึงกนั และกนั เกดิ สัมพันธภาพท่ีดตี ่อเพื่อนรว่ มงาน

กำรพัฒนำศกั ยภำพ
(Golden chain
development)

จุดหมำย

เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมสามารถ
สรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างกนั ได้

วัตถุประสงค์

เม่ือจบบทเรียนนแี้ ลว้ ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถสรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละ
อยูร่ ว่ มกนั ในคา่ ยไดอ้ ย่างมีความสขุ

14

วิธีกำรสอน / กิจกรรม

1. นาเข้าสู่บทเรียนโดยใช้เพลงที่สนุกสนานต่าง ๆ เพ่ือกระตุ้นให้มี
ความพรอ้ มท่ีจะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอ่ ไป

2. จัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพ่ือสร้างความคุ้นเคยโดยใช้เพลง เกม
การจบั กลมุ่ สนทนาซักถามข้อมูลสว่ นตวั ซ่ึงกนั และกนั

3. เพลง เกม ทใ่ี ช้ควรใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมไดเ้ ปล่ยี นพฤตกิ รรม ดังน้ี

- มีการเคลื่อนไหวอวยั วะของรา่ งกายใหม้ ีความสมั พนั ธก์ นั
- เน้นความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ
- มีการทางานรว่ มกนั เป็นทมี
- มีปฏสิ มั พนั ธค์ วามเปน็ มิตรไมตรตี อ่ กนั

4. อภปิ ราย สรุป สิง่ ทีไ่ ดจ้ ากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ สัมพันธ์

สื่อกำรสอน

1. เครือ่ งเสียง
2. เคร่อื งดนตรี เช่น กลอง

ฉ่งิ ฉาบ กรบั ฯลฯ
3. เพลง เกม

กำรประเมินผล

1. วธิ ีการวดั ผล : สงั เกตพฤตกิ รรมในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่มสัมพนั ธ์
2. เครื่องมือวดั ผล : แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
3. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล : ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80

เอกสำรอ้ำงอิง/แหล่งขอ้ มูล เนื้อหำวชิ ำ

1. หนงั สอื เพลง เกมลูกเสือ 1. กล่มุ สมั พนั ธ์
2. หนังสือเกย่ี วกบั ลกู เสือ

15

ใบควำมรูท้ ี่ 1

เรอื่ ง กลุ่มสัมพันธ์

กจิ กรรมที่ 1 ใครชื่ออะไร

อุปกรณ์ รายชื่อสมาชิกทุกคน
กระบวนกำร

1. วิทยากรอ่านรายช่ือสมาชิกและให้ยืน
ข้ึนแสดงตัวทีละคน จนหมดทุกคน แล้วให้ปิด
ปา้ ยชื่อที่ตงั้ บนโตะ๊ (ถ้ามี)

2. วิทยากรเชิญสมาชิกหมายเลข 1 เอ่ย
ชื่อสมาชิก 1 คน และผู้ที่ได้รับการเรียกชื่อ ยืน
แสดงตวั อีกคร้งั

3. สมาชิกที่ไดร้ บั การเรียกช่ือกจ็ ะเรียกชื่อ
คนต่อไป ดาเนินเช่นน้ีต่อไปเร่ือย ๆ โดยไม่มีการ
ซําคน วิทยากรจะคอยขีดหมายเลขบนผังท่ีนั่ง
ออกทีละคนจนหมด

4. ในกรณที จ่ี าช่ือไม่ได้ เรียกไม่ถกู ใหถ้ าม
ช่ือบุคคลน้นั แล้วแนะนาตวั

16

กจิ กรรมท่ี 2 แจ๊กพอตคนโชคดี

อุปกรณ์ สลำกชื่อสมำชิกใส่ในกล่องหรอื กระปอ๋ ง

กระบวนกำร

1. วิทยากรชี้แจงให้สมาชิกทราบว่าในกระป๋องมีสลากช่ือของสมาชิกทุกคน วิทยากร
เรมิ่ หยบิ สลากท่ี 1 คนท่ีหยบิ ได้ต้องแสดงกิจกรรมอย่างหน่ึงให้สมาชิกชม เช่น ร้องเพลง เล่า
นทิ าน แล้วหยอดเหรยี ญ 1 บาท ลงในกระป๋องแล้วสง่ คนต่อไป และปฏบิ ัติเช่นเดยี วกบั คนท่ี 1

2. เมอื่ สมาชิกเข้าใจดแี ลว้ วทิ ยากรเรม่ิ ดาเนนิ การไปเรอื่ ย ๆ จานวนกี่คนกไ็ ดต้ ามความ
เหมาะสม คนสดุ ทา้ ยจะไดร้ บั เงนิ ทัง้ หมดท่ีอยู่ในกระป๋อง

กจิ กรรมท่ี 3 ผูกเชือกสัมพันธ์

อุปกรณ์ เชือกฟำงยำวประมำณ 1 ฟุต จำนวนเทำ่ สมำชิก

กระบวนกำร

1. วิทยากรกล่าวนาเก่ียวกับการต้องการทดสอบพลังกลุ่มโดย
จะมอบงานให้ทา 1 ช้ิน ใหส้ มาชิกของกลุ่มประมาณว่าจะใช้เวลากี่นาที
โดยไมบ่ อกว่าจะทาอะไร

2. วทิ ยากรแจกเชือกคนละ 1 เสน้
3. วิทยากรชี้แจงกติกาว่าเม่ือเรม่ิ จบั เวลาใหท้ ุกคนนาเชือกของ
ตนเองตอ่ กบั เชือกของคนอื่นจนกลายเป็นเสน้ เดยี วกนั และจะต้องดึงไม่
หลุด
4. เม่ือเสรจ็ วิทยากรจบั เวลาและแจง้ ผล
5. วิทยากรทดสอบดึงรอยต่อแต่ละเส้นว่าหลุดหรอื ไม่ ถ้าหลุด
ลบเวลาตาแหนง่ ละ 1 วินาที
6. วทิ ยากรเปิดโอกาสใหส้ มาชิกอภิปรายใน ประเด็นที่ว่า “งำน
ของเรำจะเสร็จสิ้นไดอ้ ยำ่ งเรยี บร้อยและรวดเร็วเพรำะเหตุใด”
7. วิทยากรให้ข้อคดิ เพิ่มเติมเก่ียวกบั ความสามัคคี ปริมาณและ
คณุ ภาพการมอบหมายงานที่แจง้ จุดประสงคช์ ัดเจน

17

กจิ กรรมท่ี 4 ใครเฉยี บ

อุปกรณ:์ ไม่มี

กระบวนกำร
1. วทิ ยากรแบง่ สมาชิกออกเป็น 2 กลมุ่ เท่า ๆ กนั
2. เชิญสมาชิกออกมาทีละคู่ สลับกนั ถามปญั หาอะไรเอ่ย
อีกฝา่ ยจะตอ้ งตอบ เช่น

ตวั ยอ่ ตวั เตม็ อะไร อะไรตรงขา้ มอะไร ส่งิ นั้นสอี ะไร ฯลฯ

3. วิทยากรคอยใหค้ ะแนนฝา่ ยไหนได้แตม้ สงู กวา่ กนั กจ็ ะชนะ
4. วิทยากรเปดิ อภปิ รายกจิ กรรมน้ีใหแ้ งค่ ิดอะไร
5. วิทยากรเสรมิ เน้นเรื่องความตน่ื ตวั อยูเ่ สมอ การแกป้ ัญหาเฉพาะ

หนา้ ยง่ิ ฝกึ ย่งิ แกร่ง

หมำยเหตุ

1. ตวั อย่างกิจกรรมรวบรวมจากหนังสือ 101 กิจกรรมประกอบการฝึกอบรม
ของอาจารย์อนุกูล เย่ียงพฤกษาวัลย์

2. ผู้ดาเนินการกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์สามารถเลือกกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
เนอื้ หาวิชาไดต้ ามความเหมาะสม

18

แบบประเมินกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

ชื่อวิชำ กลุ่มสัมพนั ธ์
ชื่อกลุ่ม_____________________________

ขอ้ รำยกำรประเมิน 4 ระดบั คณุ ภำพ 1
32

1 มกี ารทางานเป็นทีม

2 มีความกระตือรอื รน้

3 มปี ฏสิ มั พันธค์ วามเป็นมติ ร
ไมตรตี อ่ กนั

รวม

.................................................
(...............................................)

ผูก้ ากบั ลกู เสอื

รำยกำรที่ ระดบั คณุ ภำพ
ประเมิน
ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. มีกำร
ทำงำนเปน็ สมาชิกทุกคน สมาชิกไม่ให้ สมาชิกไม่ให้ สมาชิกไม่ให้
ทมี
มีส่วนรว่ ม ความรว่ มมือ 1 คน ความรว่ มมือ 2 คน ความร่วมมือ 3 คนข้ึนไป
2. มีควำม
กระตอื รือร้น ทุกคนมีความ ขาดความ ขาดความ ขาดความ
กระตือรือร้น
3. มี กระตอื รอื ร้น 1 คน กระตอื รือร้น 2 คน กระตือรอื รน้ 3 คนข้นึ ไป
ปฏิสัมพันธ์ ทุกคนมี
ควำมเปน็ ปฏิสัมพันธ์ ขาดการมี ขาดการมี ขาดการมี
มิตรไมตรี ความเป็นมิตร ปฏิสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์
ตอ่ กัน ไมตรตี ่อกัน ความเป็นมิตร ความเป็นมิตร ความเป็นมิตร
ไมตรีต่อกัน ไมตรตี ่อกนั ไมตรตี ่อกนั
3 คนข้นึ ไป
1 คน 2 คน

19

“ บทเรียนที่ 2

“ ช่ือวิชำ
ลูกเสือกบั ควำมรู้เรอ่ื งยำเสพตดิ
เวลำ 180 นำที

ขอบข่ำยรำยวิชำ

สถานการณป์ ัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนทั้งด้าน
บวกและลบ ซ่ึงกอ่ ให้เกิดปัญหาของสังคมโดยเฉพาะปัญหายาเสพติดเพ่ือเป็นการ
สรา้ งภมู ิคุม้ กนั ใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชน การใหค้ วามรู้เรอ่ื งยาเสพตดิ นับเปน็ กระบวนการ
หน่ึงที่สามารถทาใหเ้ ด็กและเยาวชนปลอดภยั จากยาเสพตดิ และลดปญั หาทก่ี ระทบตอ่
ตนเอง ครอบครวั และสงั คมได้

จุดหมำย
เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมมีความรูเ้ ร่ืองยาเสพตดิ

วัตถปุ ระสงค์
เม่ือจบบทเรยี นนแี้ ลว้ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถ

1. มีความรูใ้ นเรอ่ื งยาเสพตดิ
2. อธิบายความหมาย ประเภท โทษ การป้องกนั และสาเหตุการ
ตดิ ยาเสพตดิ ได้
3. มีความตระหนักถึงโทษ พิษภัย ผลกระทบ และการป้องกันยา
เสพตดิ ได้
4. สร้างอุดมการณเ์ พื่อแสวงหาความร่วมมือโดยการเฝ้าระวัง
ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ได้

20

วิธีกำรสอน / กจิ กรรม

1. นาเขา้ สู่บทเรยี น โดยใช้ภาพ วิดที ศั น์ 20 นาที
2. เล่นเกม ตอบปญั หาเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ 15 นาที
3. แบง่ กลุ่มวิเคราะหส์ ภาพปญั หา 45 นาที
4. นาเสนอผลการประชุมกล่มุ 8 กล่มุ ๆ ละ 10 นาที 80 นาที
5. อภปิ ราย สรุปผลรว่ มกนั 20 นาที

ส่ือกำรสอน
1. รูปภาพ ภาพแผ่นพลกิ แผนภมู ิ
2. โสตทัศนปู กรณ์
3. ใบความรูท้ ่ี 2 เนือ้ หาเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ
4. ใบงานที่ 2
5. กระดาษชารท์
6. ปากกาเคมี

กำรประเมนิ ผล
1. วธิ ีการวัดผล : สงั เกต สอบถาม ซักถาม
2. เคร่ืองมือวัดผล : แบบประเมินผลงานกล่มุ
3. เกณฑก์ ารประเมินผล : มีผลการประเมินผ่านเกณฑท์ ก่ี าหนด

21

1. ความรู้และแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด .
สานักงาน ป.ป.ส. บริษัท ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต. 2552

2. ศกึ ษาธิการ,กระทรวง. คู่มือการจดั กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด
และผู้บาเพ็ญประโยชน์เพ่ือการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติดใน
สถานศกึ ษา. โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหงประเทศไทย จากัด.
2553

3. เวบ็ ไซต์
www.oncb.go.th
www.aspacngo.org
http://nctc.oncb.go.th

4. พ.ร.บ.ยาเสพตดิ
5. ป.ป.ส.,สานักงาน. ความรู้แนวทางป้องกันและแกไ้ ขปัญหายา
เสพตดิ . มปท.

22

เอกสำรอ้ำงอิง/แหล่งข้อมูล (ต่อ)

6. ศกึ ษาธกิ าร,กระทรวง. คู่มือการจดั กจิ กรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และ
สมาชิกผู้บาเพ็ญประโยชนเ์ พื่อการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ในสถานศกึ ษา. มปท.
7. พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
8. พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545

เน้อื หำวิชำ

1. รู้ทันยาเสพติด :

สถำนกำรณ์ปจั จุบัน

23

ใบควำมรูท้ ี่ 2

เรอื่ ง รูท้ นั ยำเสพตดิ :
สถำนกำรณป์ ัจจุบัน

1. รู้ทนั ยำเสพติด : สถานการณป์ ัจจุบันจาก
สถิติการบ าบัด รักษ าผู้ติดย าเ สพติด สถิติ
เ ย า ว ช น ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ ย า เ ส พ ติ ด
สภาวการณเ์ ด็กและเยาวชน (Child Watch)
พบว่ามีเยาวชนชายและหญิงที่เสพ/ติด/ค้ายา
โด ยอ ายุเ ริ่ม ใช้ ยา เ สพติด มีแ น วโ น้ม ลด ลง
เ ย า ว ช น ห ญิ ง มี แ น ว โ น้ ม เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ย า เ ส พ ติ ด
เพ่ิมข้นึ ยาบ้ายงั เปน็ ปญั หาหลักในกลมุ่ เดก็ และ
เยาวชน มีการใช้สารระเหย ยาอีไอซ์และโคเคน
ในบางกล่มุ กระท่อมถูกนามาใช้ในวงกว้างมาก
ข้ึนในรูปแบบที่หลากหลาย นอกจากน้ีเยาวชน
ต ก อ ยู่ ใ น ส ภ า ว ะ เ สี่ ย ง ที่ แ ว ด ล้ อ ม ด้ ว ย ปั จ จั ย
เสย่ี ง/พ้ืนท่ีเส่ียงทีเ่ ป็นอนั ตรายและไม่เหมาะสม
เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น มี แ น ว โ น้ ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ
อบายมุขและมีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสม

นอกจากน้ีสถานศกึ ษาสามารถชี้สถานการณ์
ปั ญ ห า เ ชิ ง ลึ ก ไ ด้ โ ด ย ก า ร น า ข้ อ มู ล พ ฤ ติก ร ร ม
นักเรียนจากระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดใน
พื้นท่ีมาใช้ประกอบการวิเคราะห์สถานการณ์
ปญั หา

หมายเหตุ : ขอ้ มูลใหเ้ ปลีย่ นแปลงตามสภาวะที่
เปล่ยี นไป ณ ปจั จุบนั

24

2. ควำมรู้ท่วั ไปเกย่ี วกับยำเสพติด

2.1 ควำมหมำย : ยาเสพติด หมายถึง ยาเสพติดให้โทษ หรือสารเคมีหรือ
วัตถุใดๆซ่ึงเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกาย ๆ ไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วย
ประการใดๆ แล้ว ทาใหเ้ กิดผลต่อร่างกายและจติ ใจในลักษณะท่ีสาคัญ เช่น ตอ้ ง
เพ่ิมขนาดการเสพเร่ือง ๆ มีอาการถอนยาเม่ือขาดยา มีความตอ้ งการเสพติดทั้ง
ร่างกายและจติ ใจอย่างรุนแรงอยูต่ ลอดเวลา และสุขภาพโดยท่วั ไปจะทรุดโทรมลง
รวมตลอดถงึ พืชหรือสว่ นของพชื ท่เี ปน็ หรอื ใหผ้ ลผลติ
เปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษหรืออาจใช้ผลติ เป็นยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ
หรอื สารเคมีทีใ่ ช้ในการผลิต

2.2 ประเภทของยำเสพติด : ยาเสพตดิ แบง่ ตาม
การออกฤทธ์ติ อ่ จติ ประสาทเป็น 4 ประเภท คือ

กดประสำท : ออกฤทธ์ิต่อระบบประสาทส่วนกลางในส่วนท่ีควบคุมความรู้สึก ทาให้
สมองมึนชา ความคิดและปฏิกิริยาตอบสนองช้าลง กดระบบการทางานอวัยวะต่าง ๆ
ระบบการทางานของหัวใจ ทาให้หัวใจเต้นช้าลงและอาจถึงข้ันหยุดทางานหากผู้ใช้มี
ปัญหาดา้ นสุขภาพ ตัวอย่างยาเสพติดประเภทนี้ เช่น ฝ่ ิน มอรฟ์ ีน เฮโรอีน ยานอนหลับ
ยาระงบั ประสาท รวมถึงสารระเหย

กระตุ้นประสำท : ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ กระตุ้นประสาทท่ีส่วนสมอง ทาให้ตื่นตัวอยู่
ตลอดเวลาไม่ง่วง ไม่หิวและเมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจึงเกดิ อันตรายจากภาวะตึง
เครียดเพราะร่างกายและประสาทไม่ได้พักผ่อนตามเวลาที่เหมาะสม เกิดการหลับใน
ประสาทหลอน จนถึงข้ันโรคจิต ประเภททาร้ายตนเองหรือบุคคลอื่นและเป็นความ
เจ็บป่วยท่ีรักษาให้หายขาดได้ยากตัวอย่างยาเสพติดประเภทนี้ เช่น แอม เฟตามีน
(ยาบา้ ) เอ็กซต์ าซี่ (ยาอ)ี คาเฟอนี โคเคน กระท่อม ไอซ์

หลอนประสำท : ออกฤทธิ์ทีร่ ะบบประสาทสว่ นสัมผัสท้ังหา้ คอื การมองเหน็ การได้ยิน
การไดก้ ลิ่น การรบั รรู้ ส และการสมั ผัส ทาให้การรับรู้บิดเบือนไปจากความจรงิ เกดิ ภาพ
ลวงตาที่เป็นไปตามจินตนาการอาจสวยงามหรอื น่ากลัว จนไม่สามารถควบคุมอารมณ์
และความรสู้ ึกไดถ้ ้าใช้ยาบอ่ ยๆ หรอื มากจะทาให้เกิดอาการวิกลจริต ตัวอย่างยาเสพติด
ประเภทน้ี เช่น ยาเค แอลเอสดเี มสคาลีน เหด็ ขค้ี วาย

ผสมผสำน : ออกฤทธ์ิทั้งกระตุ้น กด และหลอนประสาท โดยจะเร่งออกฤทธ์ิกระตุ้น
ประสาททาให้คึกคกั ตื่นตัวหัวใจเต้นเร็ว หลังจากน้ันจะเปลี่ยนไปเป็นฤทธ์ิกดประสาท
ทาใหส้ มองมึนชา คดิ ช้า กดศนู ยก์ ารหายใจทาให้หวั ใจเต้นช้า จากน้ันจะออกฤทธ์ิหลอน
ประสาททาใหเ้ คลิม้ ควบคมุ ตนเองไม่ได้ยาประเภทนี้เป็นอันตราย เพราะทาใหก้ ลไกของ
สมองและระบบต่างๆ ในรา่ งกายทางานหลกั และไมเ่ ป็นไปตามธรรมชาตทิ าให้
รา่ งกายและระบบประสาทเสื่อมเรว็ ตวั อยา่ งยาเสพติด
ประเภทนี้เช่น กญั ชา

25

2.3 โทษของยำเสพตดิ
โทษภยั ตอ่ ครอบครวั
ทาลายค วามสุขในบ้าน ส่งผลกระ ทบต่อสภาพจิตใจของสมาชิกใน
ครอบครัว เป็นเหตุให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาจนอาจทวีความรุนแรงให้
ครอบครัวแตกแยก
สูญเสยี รายได้ของครอบครัว เน่ืองจากมีรายจ่ายเพิ่มข้ึนจากการซ้ือยาเสพ
ตดิ หรือบาบัดรักษาผูท้ ี่ตดิ ยาเสพตดิ
พ่อแม่ผปู้ กครอง ขาดทีพ่ ่ึงในยามเจบ็ ปว่ ยหรอื ชราภาพ
ทาลายช่ือเสยี งวงศต์ ระกลู และเปน็ ทีร่ ังเกยี จของสงั คม
ทาใหค้ รอบครวั เดือดรอ้ น เพราะคนในครอบครัวท่ีมีปัญหายาเสพตดิ มักจะ
กอ่ อาชญากรรม

26

โทษภยั ตอ่ ชุมชนและสงั คม
• กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาอาชญากรรมตา่ ง ๆ ในชุมชน
• เป็นบอ่ เกดิ ใหช้ ุมชนเสือ่ มโทรม สงั คมถูกทาลาย
• ทาลายเยาวชน อนั เป็นกาลังสาคัญในการพฒั นาชุมชนและสังคม
• ทาใหก้ ารพัฒนาชุมชน และสังคมในด้านตา่ ง ๆ เป็นไปอยา่ งเชื่องช้า
• สูญเสยี รายได้ของชุมชนและสังคม
• ทรพั ยส์ นิ ของคนในชุมชนและสงั คมเสียหาย เนือ่ งจากพฤตกิ รรมทาง
จติ ประสาท
• กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาอุบตั เิ หตเุ นือ่ งจากฤทธ์ิของยา
• กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาโรคเอดส์

โทษภยั ตอ่ ประเทศชาติ

• บอ่ นทาลายเศรษฐกจิ และความม่ันคงของประเทศชาติ
• รัฐบาลตอ้ งสญู เสยี กาลงั เจา้ หน้าทแ่ี ละค่าใช้จา่ ยในการปอ้ งกนั

ปราบปรามและรกั ษาผู้ตดิ ยาเสพตดิ จานวนมาก
• สูญเสียทรพั ยากรมนุษยท์ มี่ ีคณุ ภาพสาหรบั การพัฒนาประเทศ
• เพิ่มภาระการเสียภาษขี องประชาชน เพราะรฐั บาลตอ้ งนาภาษีของ

ประชาชนไปใช้จา่ ยในการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ
• การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศเปน็ ไปอยา่ งเชื่องช้า
• สูญเสยี แรงงานในการปฏบิ ตั งิ านทาใหป้ ระเทศขาดรายได้
• ประเทศชาตติ อ้ งเสือ่ มเสยี ชื่อเสยี งและเกยี รตภิ มู ิ

ในสายตาของชาวตา่ งประเทศ
• อาจทาใหเ้ กดิ ข้อขดั แยง้ ทางการเมืองหรอื ความไม่สงบระหวา่ งประเทศ
• ผู้ท่ีไม่ประสงคด์ ีตอ่ ชาตอิ าจใช้ยาเสพตดิ เป็น

เครอื่ งมือในการบอ่ นทาลายความมั่นคง
• ประเทศชาตพิ ฒั นาไปอยา่ งเช่ืองช้า

27

2.4 สำเหตุกำรติดยำเสพติด

สาเหตสุ าคัญท่ที าใหต้ ดิ ยาเสพตดิ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุม่ วยั รุน่ คอื

1) จากการถกู ชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพ่ือนสนิทท่ี
กาลงั ตดิ ยาอยูแ่ ละอยากจะใหเ้ พ่ือนลองบ้าง ปญั หานม้ี ักจะเกดิ กบั เด็กที่มี
ปัญหาท างค รอบค รัวข าด ความอบอุ่น ใจแ ตกเ อาเพ่ือนเ ป็น ที่พ่ึ ง
นอกจากนผี้ ้ทู ่ีอยใู่ นแหลง่ ท่มี ีการซื้อขายยาเสพตดิ กอ็ าจจะได้รบั การชักจูง
ใหเ้ หน็ ถงึ คุณภาพของยาเสพตดิ ว่าดีต่างๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เม่ือ
เสพแล้วจะทาให้ปลอดโปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทางาน การชักจูง
ดังกล่าวอาจจะเกดิ ข้ึนในขณะท่ีผู้ถูกชักจูงกาลังมึนเมาสุรา เท่ียวเตร่กัน
จงึ ทาใหเ้ กดิ การตดิ ยาได้

2) จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาตอิ ยาก
สัมผสั โดยคิดว่าคงจะไม่ติดงา่ ยๆ แต่เม่ือ ทดลองเสพเข้าไปแล้วมักจะติด
เช่น เฮโรอีน จะตดิ งา่ ยมาก แม้เสพเพยี งครง้ั หรือสองครง้ั กจ็ ะตดิ แลว้

3) จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบตา่ ง ๆ มากมาย ผู้ถูก
หลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ตนได้เสพเข้าไปนั้น เป็นยาเสพติดให้โทษ
ร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรงอะไรตามที่ผู้หลอกลวง
แนะนา ผลสดุ ทา้ ย กลายเปน็ ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ไป

4) เหตทุ างกาย ความเจบ็ ป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตดั หรือเป็น
โรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาทได้รับความทรมานทางกายมาก
ผู้ปว่ ยตอ้ งการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแตก่ ็ไม่หาย จึงหันเข้า
หายาเสพตดิ จนตดิ ยาในทส่ี ดุ

5) จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทน้ีคิดว่าตัวเองเป็นคนเก่ง
อยากลองซ่ึงรู้แก่ใจว่ายาเสพติดให้โทษเป็นส่ิงไม่ดีแต่ด้วยความที่คึก
คะนองเป็นวยั รุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ตอ้ งการแสดงความเด่นดัง อวดเพ่ือน
วา่ ข้าน้ีคือพระเอก ขาดความยัง้ คดิ จงึ เสพยาเสพตดิ และตดิ ยาในทส่ี ุด

6) จากส่ิงแวดล้อม เช่น สถานท่ีอยู่
อาศยั แออัด เปน็ แหลง่ สลัม หรือเปน็ แหล่งทมี่ ี
การเสพและค้ายาเสพตดิ ภาวะทางเศรษฐกิจ
บีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพล
เหนือจติ ใจผลกั ดันให้ผู้ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม
ดังกล่าว บางคนหันมาพ่ึงยาเสพติดโดยคิดว่า
จะช่วยให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่าง ๆ ที่

คบั ขอ้ งใจเหลา่ น้ันได้

28

3. กำรปอ้ งกนั

ยำเสพตดิ

แนวทำงกำรปอ้ งกนั ยำเสพตดิ
การปอ้ งกนั ตนเอง
การป้องกันครอบครวั
การป้องกนั ชุมชนและสังคม
การปอ้ งกันประเทศ

NO DRUGS

29

4. หนว่ ยงำนทใี่ ห้คำปรกึ ษำ

สำยดว่ นปัญหำยำเสพตดิ
สายด่วนกรมการแพทยโ์ ทร 1165

สำยดว่ นปรึกษำปญั หำเดก็ และเยำวชน

สำยดว่ นปรกึ ษำเดก็
โทร 1387

สำยดว่ นวยั รุน่
โทร 02-2756993-4 , 02-2765141-5

สำยดว่ นศนู ยป์ ระชำบดี
โทร 1300

สำยดว่ นกรมพัฒนำสังคมและสวัสดกิ ำร
โทร 1507

ศนู ยช์ ่วยเหลือดว่ น 24 ชั่วโมง กรมพัฒนำสังคมและสวัสดกิ ำร

โทร 1507
ศนู ย์พิทักษ์สิทธิเดก็ และครอบครัว กระทรวงศกึ ษำธิกำร

โทร 1579
สำยดว่ นเติมพลังใจใหก้ ัน (สานกั สวสั ดกิ ารสงั คม กรุงเทพหานคร)

โทร 02-6443344

30

5. สถำนบำบัด

รักษำและฟ้ ืนฟู

สมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ

สถำนบำบัดผู้ตดิ ยำเสพติด

สถำบันธัญญำรักษ์

โทรศพั ท์ 0 2531 0080 - 4

ศนู ย์บำบัดรกั ษำยำเสพติดขอนแก่น

โทรศพั ท์ 0 4345 3902

ศนู ย์บำบดั รักษำยำเสพตดิ อุดรธำนี

โทรศพั ท์ 0 4229 5758

ศนู ย์บำบดั รกั ษำยำเสพติดเชียงใหม่

โทรศพั ท์ 0 5329 7976 – 7

ศนู ย์บำบดั รักษำยำเสพตดิ แม่ฮ่องสอน

โทรศพั ท์ 0 5361 3051 - 5

ศนู ย์บำบดั รักษำยำเสพติดสงขลำ

โทรศพั ท์ 0 7446 7453

ศนู ย์บำบดั รักษำยำเสพติดปัตตำนี

โทรศพั ท์ 0 7346 0351 - 5

โรงพยำบำลรำชวถิ ี

โทรศพั ท์ 0 2246 0052 ตอ่ 4302

โรงพยำบำลพระมงกุฎเกล้ำ

โทรศพั ท์ 0 2354 760028 ต่อ 93189

โรงพยำบำล ของรฐั ทัว่ ประเทศ
31

ตวั อย่ำงแบบประเมิน

แบบประเมินผลงำนของกลุ่ม

กลุ่มท_่ี ____________________________

ข้อ รำยกำรประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภำพ 1
32

1 ผลงานเป็นไปตามจุดประสงค์

2 ผลงานเสรจ็ ทันเวลา

3 ผลงานมีความคดิ รเิ รมิ่
สรา้ งสรรค์

4 เนื้อหาสาระของผลงานมีความ
สมบรู ณ์

5 วิธีการนาเสนอผลงาน

รวม

รวมท้ังส้ิน
(ดมี ำก + ดี + พอใช้ + ปรบั ปรุง)

ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยู่ในระดบั .............................................................

เกณฑต์ ดั สนิ คุณภำพ ลงชื่อ.........................................ผปู้ ระเมนิ
(........................................)
ช่วงคะแนน
ระดบั คณุ ภาพ
24 – 30
17 - 23 ดมี าก
10 - 16 ดี
ตาํ กว่า 10
พอใช้
ปรบั ปรุง

32

รำยกำรที่ ระดบั คณุ ภำพ
ประเมิน
ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)
1. ผลงำน
เป็นไปตำม ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
จุดประสงค์ จุดประสงคท์ ุกขอ้ / กบั จุดประสงคเ์ ปน็ กบั จุดประสงคบ์ าง สอดคล้อง
ท่ีกำหนด ส่วนใหญ/่ เกอื บทุก กบั จุดประสงค์
ทกุ ประเด็น ประเด็นสมบูรณ์ ขอ้ /บางประเดน็
2. ผลงำน สมบรู ณ์ สมบูรณ์ ไม่เสร็จ
เสร็จทันตำม
กำหนดเวลำ เสรจ็ กอ่ นเวลา เสรจ็ ตามเวลา เสร็จช้ากวา่ เวลา ผลงานมี
ที่กาหนด ท่ีกาหนด ขอ้ บกพรอ่ งและ
3. ผลงำนมี ผลงานถกู ตอ้ งตาม
ควำมคดิ หลกั วชิ าการและ ผลงานถูกตอ้ งตาม ผลงานถูกตอ้ งตาม ไม่มีแนวคดิ
ริเร่มิ มีแนวคดิ แปลกใหม่ หลกั วชิ าการและ หลกั วิชาการแตย่ งั แปลกใหม่
สรำ้ งสรรค์ มีแนวคดิ แปลกใหม่
และเปน็ ระบบ แตย่ งั ไม่เปน็ ระบบ ไม่มีแนวคิด เนอ้ื หาสาระของ
4.เนื้อหำ แปลกใหม่ ผลงานไม่ถกู ตอ้ ง
สำระของ เน้ือหาสาระของ
ผลงำนมี ผลงานครบถ้วนทกุ เนอ้ื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เป็นส่วนใหญ่
ควำม ผลงานครบถ้วน ผลงานถกู ตอ้ งเป็น
สมบูรณ์ ประเดน็ มีวธิ ีการนาเสนอ
เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเดน็ ผลงานไม่นา่ สนใจ
5. วธิ ีกำร มีวธิ ีการนาเสนอ พดู เสียงเบาออก
นำเสนอ ผลงานทีน่ ่าสนใจ มีวธิ ีการนาเสนอ มีวิธีการนาเสนอ
ผลงำนกลุ่ม พดู เสียงดงั ออก ผลงานทนี่ า่ สนใจ ผลงานทนี่ า่ สนใจ เสยี งอกั ขระ
เสียงอกั ขระชัดเจน พดู เสียงดงั ออก พดู เสยี งดังออก ไม่ชัดเจนและ
เสยี งอักขระชัดเจน ไม่คลอ่ งแคล่ว
คล่องแคลว่ แตไ่ ม่คลอ่ งแคลว่ เสียงอกั ขระ
ไม่ชัดเจนและ
ไม่คลอ่ งแคลว่

33

บทเรยี นท่ี 3 “

“ ชื่อวิชำ
ลูกเสือกบั กำรสรำ้ งอุดมกำรณ์
ต้ำนภยั ยำเสพตดิ
เวลำ 120 นำที

ขอบขำ่ ยรำยวิชำ

1. ความหมายของการสร้างอุดมการณต์ ้านภัย
ยาเสพตดิ

2. การปลุกจติ สานึกในการเฝา้ ระวัง ป้องกนั และ
แกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ

จุดหมำย

เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถสร้างอดุ มการณใ์ นการต้านภยั ยาเสพ

ตดิ ใหเ้ กดิ ข้นึ กบั ลกู เสอื

วัตถปุ ระสงค์

เมื่อจบบทเรียนนแ้ี ลว้ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมสามารถ
1. บอกความหมายของการสร้างอดุ มการณต์ า้ นภยั ยาเสพตดิ ได้
2. อธิบายวิธีการในการปลกุ จติ สานกึ ในการตา้ นภยั ยาเสพตดิ ได้
3. จดั กจิ กรรมรวมพลังกลุม่ ตา้ นภยั ยาเสพตดิ ได้

34

วิธีกำรสอน / กิจกรรม

วงกลม 1. นาเขา้ สู่บทเรียนโดยการสรา้ งบรรยากาศใหส้ อดคล้องกับ
กิจกรรม และให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนั่งเป็นรูปคร่ึง
10 นาที

2. ดาเนินการจัดกจิ กรรม/พิธีการ ประยุกตจ์ ากพิธีบายศรีสู่
ขวญั หรอื ประเพณนี ยิ มอื่นตามทอ้ งถน่ิ 60 นาที

3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมเป็นกลุ่มตามความหมายของอุดมการณ์
(ตามใบความรู้) 30 นาที

4. สรุปกจิ กรรมโดยใช้เพลงลูกเสือไทยป้องกันภัยยาเสพตดิ
20 นาที

สื่อกำรสอน กำรประเมินผล

1. เทียนไข 1. วิธีการวดั ผล : สังเกต สอบถาม ซักถาม
2. บทขบั เสภา/บทกลอน/บทเพลง 2. เครอ่ื งมือวดั ผล : แบบประเมินผลงานกลุ่ม
3. เครอ่ื งดนตรี
4. ด้ายขาว/เชือกป่าน สาหรบั

ผกู ขอ้ มือ
5. อปุ กรณอ์ ืน่ ๆ ท่ีเหมาะสม

ตามประเพณนี ยิ ม

3. เกณฑก์ ารประเมินผล : มีผลการประเมิน

ผา่ นเกณฑท์ ่ีกาหนด

เอกสำรอ้ำงอิง / แหล่งขอ้ มูล

1. พิธีรับน้องศนู ยก์ ารอบรมบา้ นนพคณุ
2. โครงการโรงเรียนพทิ ักษส์ รา้ งชีวติ
3. สุวัฒนช์ ัย ทพิ ยจ์ นั ทร.์ ค่มู ือพธิ ีจุดเทียนแหง่
ปญั ญา. กลมุ่ งานพฒั นาทรัพยากรบุคคล, ศนู ย์
ช่วยเหลือทางวิชาการพฒั นาชุมชนเขตท่ี 4 กรม
พฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. 2551.

เนื้อหำวชิ ำ

1. อดุ มการณ์

35

ใบควำมรูท้ ี่ 3

เรอื่ ง อุดมกำรณ์

ควำมหมำยของคำว่ำ

อุดมกำรณ์

ได้มีผู้ให้ความหมายไว้ ดังน้ี

1. อุดมกำรณ์ คือ ระบบความเชื่อท่ีมี
แบบแผน ซ่ึงก่อให้เกิดการจูงใจให้กลุ่มชนใน
สังค ม ยึด ถือ น าม าใ ช้ เ ป็น แ น ว ท างใน กา ร
ประพฤติปฏิบัติเก่ียวกับการดาเนิน ชีวิตใน
สังคม เพ่อื ใหบ้ รรลุถึงความเป็นอยู่ทีด่ ี

(http://www.scloei.com/home/ind
ex.php?option=com_content&tas
k=view&id=27&Itemid=36)

36

2. อุดมกำรณ์ คือ ความคิด ความใฝ่ฝัน ความมุ่งมั่น ปรารถนา
ในสงิ่ ใดสงิ่ หน่งึ ทง้ั ท่ีเป็นรูปธรรมหรือนามธรรม เมื่อทาไปแลว้ ได้สิ่งนั้น
แล้วก็พอใจ มีความอิ่มเอิบเปรมปรีด์ิมีความสุขเพราะบรรลุผลดีตาม
เปา้ หมายอนั เปน็ อุดมการณแ์ ล้ว

(http://www.ts-ep.com/first.html)

3. อุดมกำรณ์ หมายถึง อุดมคติอันสูงส่งท่ีจูงใจมนุษย์ให้
พยายามบรรลุถึง

(http://www.drwathits.com/maj/Nitinart.pdf)

4. อุดมกำรณ์ หมายถึง การมีทัศนคติและการมีความเช่ือ
(beliefs) และศรัทธา(faith) ต่อเร่ืองราวต่างๆ ต่อสถาบันต่างๆ ใน
สงั คม ตอ่ กระบวนการต่างๆ ซ่ึงบ่งบอกถึงการมีโลกทัศน(์ Worldview)
คือความคิดเห็นต่อความเป็นไปของโลก ผู้ยึดถืออุดมการณ์ย่อมมี
ระดับแหง่ ความยดึ เหนีย่ ว และความผูกพนั

(http://www.oknation.net/blog/print.php?id=125183)

ควำมสำคัญของอุดมกำรณ์
ตำ้ นภยั ยำเสพติด

หัวใจสาคัญของการแก้ไขปัญหายาเสพติด คือ
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ เอกชน ภาค
ธุรกิจเอกชน รวมท้ังภาคประชาชนในการเฝ้าระวังและ
แก้ไขปัญหายาเสพติด การสร้างอุดมการณต์ ้านภัยยา
เสพติด จึงเป็นกระบวนการสาคัญในการสร้างความ
ตระหนัก ปลูกจิตสานึกและการเข้ามามีส่วนร่วมเป็น
พลงั ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ

37

ตวั อย่ำงแบบประเมิน

แบบประเมินผลงำนของกลุ่ม

กลุ่มท_่ี ____________________________

ข้อ รำยกำรประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภำพ 1
32

1 ผลงานเป็นไปตามจุดประสงค์

2 ผลงานเสรจ็ ทันเวลา

3 ผลงานมีความคดิ รเิ รมิ่
สรา้ งสรรค์

4 เนื้อหาสาระของผลงานมีความ
สมบรู ณ์

5 วิธีการนาเสนอผลงาน

รวม

รวมท้ังส้ิน
(ดมี ำก + ดี + พอใช้ + ปรบั ปรุง)

ผลการประเมนิ คณุ ภาพอยู่ในระดบั .............................................................

เกณฑต์ ดั สนิ คุณภำพ ลงชื่อ.........................................ผปู้ ระเมนิ
(........................................)
ช่วงคะแนน
ระดบั คณุ ภาพ
24 – 30
17 - 23 ดมี าก
10 - 16 ดี
ตาํ กว่า 10
พอใช้
ปรบั ปรุง

38

รำยกำรที่ ระดบั คณุ ภำพ
ประเมิน
ดมี ำก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)
1. ผลงำน
เป็นไปตำม ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
จุดประสงค์ จุดประสงคท์ ุกขอ้ / กบั จุดประสงคเ์ ปน็ กบั จุดประสงคบ์ าง สอดคล้อง
ท่ีกำหนด ส่วนใหญ/่ เกอื บทุก กบั จุดประสงค์
ทกุ ประเด็น ประเด็นสมบูรณ์ ขอ้ /บางประเดน็
2. ผลงำน สมบรู ณ์ สมบูรณ์ ไม่เสร็จ
เสร็จทันตำม
กำหนดเวลำ เสรจ็ กอ่ นเวลา เสรจ็ ตามเวลา เสร็จช้ากวา่ เวลา ผลงานมี
ที่กาหนด ท่ีกาหนด ขอ้ บกพรอ่ งและ
3. ผลงำนมี ผลงานถกู ตอ้ งตาม
ควำมคดิ หลกั วชิ าการและ ผลงานถูกตอ้ งตาม ผลงานถูกตอ้ งตาม ไม่มีแนวคดิ
ริเร่มิ มีแนวคดิ แปลกใหม่ หลกั วชิ าการและ หลกั วิชาการแตย่ งั แปลกใหม่
สรำ้ งสรรค์ มีแนวคดิ แปลกใหม่
และเปน็ ระบบ แตย่ งั ไม่เปน็ ระบบ ไม่มีแนวคิด เนอ้ื หาสาระของ
4.เนื้อหำ แปลกใหม่ ผลงานไม่ถกู ตอ้ ง
สำระของ เน้ือหาสาระของ
ผลงำนมี ผลงานครบถ้วนทกุ เนอื้ หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เป็นส่วนใหญ่
ควำม ผลงานครบถ้วน ผลงานถกู ตอ้ งเป็น
สมบูรณ์ ประเดน็ มีวธิ ีการนาเสนอ
เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเดน็ ผลงานไม่นา่ สนใจ
5. วธิ ีกำร มีวธิ ีการนาเสนอ พดู เสียงเบาออก
นำเสนอ ผลงานทีน่ ่าสนใจ มีวิธีการนาเสนอ มีวิธีการนาเสนอ
ผลงำนกลุ่ม พดู เสียงดงั ออก ผลงานทนี่ า่ สนใจ ผลงานทนี่ า่ สนใจ เสยี งอกั ขระ
เสียงอกั ขระชัดเจน พดู เสียงดงั ออก พดู เสยี งดังออก ไม่ชัดเจนและ
เสยี งอักขระชัดเจน ไม่คลอ่ งแคล่ว
คล่องแคลว่ แตไ่ ม่คลอ่ งแคลว่ เสียงอกั ขระ
ไม่ชัดเจนและ
ไม่คลอ่ งแคลว่

39

บทเรียนที่ 4 “

ช่ือวิชำ

“ ลูกเสือกบั ทกั ษะชีวิต
เพือ่ กำรป้องกนั ภยั ยำเสพตดิ
เวลำ 180 นำที

จุดหมำย ขอบขำ่ ยรำยวิชำ

1. ความหมายและองคป์ ระกอบของทักษะชีวิต
เพ่อื การป้องกนั ภยั ยาเสพตดิ
2. กลวธิ ใี นการสร้างทักษะชีวิตในการปอ้ งกนั ภยั
ยาเสพตดิ

เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถนาความรู้ทไี่ ดร้ ับไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตใหป้ ลอดภยั จากยาเสพตดิ

วตั ถปุ ระสงค์

เม่ือจบบทเรียนนแ้ี ลว้ ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถ
1. อธบิ ายความหมายและองคป์ ระกอบของทักษะชีวิตในการปอ้ งกนั
ภยั ยาเสพตดิ ได้
2. บอกกลวิธีการสรา้ งทกั ษะชีวิตในการป้องกนั ภยั ยาเสพตดิ ได้

40


Click to View FlipBook Version