The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลัก รายวิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketwalee, 2019-10-24 02:56:17

แผนหลัก รายวิชาภาษาไทย

แผนหลัก รายวิชาภาษาไทย

Keywords: แผนหลัก

๑๓. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ - ท่องจา ๑
ท่องจาและบอกคุณคา่ บท อาขยาน
อาขยานตามที่กาหนดและ - บอก
บทรอ้ ยกรองที่มีคุณคา่ ตาม คุณคา่
ความสนใจและนาไปใช้
อา้ งองิ

หนว่ ย รหัสตัวช้ีวัด/ คาสาคัญ คะแนน จานวนข้อสอบจาแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา รวม จานวนขอ้ สอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key ปลายภาค จานวน จาแนกตามรูปแบบข้อสอบ
Word) ด้านความร(ู้ K)และดา้ นทักษะกระบวนการคดิ

จา เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สร้างสรรค์ ข้อสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๕ ๑๔. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ แตง่ - แตง่ บท ๒๒ ๒ ๖๔ ๒๖

บทร้อยกรอง รอ้ ยกรอง

๖ ๑๕. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ - เขยี น ๕ ๒ ๒๒ ๑๐
เขียนสอื่ สารในรปู แบบตา่ งๆ ส่ือสาร
ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์
โดยใชภ้ าษาเรยี บเรียง
ถกู ต้อง มีข้อมลู และ
สาระสาคัญชดั เจน

๑๖. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ - เขียน ๑๒ ๓๓
เขยี นเรยี งความ เรียงความ ๑ ๑๑

๑๗. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ - เขียนย่อ
เขียนยอ่ ความจากส่ือท่มี ี ความ
รปู แบบ และเนอื้ หา
หลากหลาย

หนว่ ย รหัสตวั ชี้วัด/ คาสาคญั คะแนน จานวนขอ้ สอบจาแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา รวม จานวนข้อสอบ
ท่ี ผลการเรียนรู้ (Key ปลายภาค จานวน จาแนกตามรูปแบบข้อสอบ
Word) ด้านความรู้(K)และดา้ นทักษะกระบวนการคิด

มมี ารยาท จา เขา้ ใจ ประยุกต์ใช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สร้างสรรค์ ข้อสอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๖ ๑๘. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มี ๒ ๒๒
มารยาทในการเขียน

๑๙. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ใช้ - สร้าง ๒ ๒๒
คาและกลมุ่ คาสร้างประโยค ประโยค
ตรงตามวัตถุประสงค์

๗ ๒๐. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ - การ ๓ ๓๑ ๑๑ ๖๖ ๖
ประเมินงานเขยี นของผู้อืน่ ประเมนิ งาน ๒ ๔
แล้วนามาพฒั นางานเขยี น เขยี น
ของตนเอง

๘ ๒๑. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธิบาย
อธบิ ายธรรมชาติของภาษา
พลงั ของภาษา และลกั ษณะ
ของภาษา

หน่วย รหัสตวั ช้ีวัด/ คาสาคัญ คะแนน จานวนขอ้ สอบจาแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา รวม จานวนข้อสอบ
ที่ ผลการเรียนรู้ (Key ปลายภาค จานวน จาแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
Word) ด้านความร(ู้ K)และด้านทักษะกระบวนการคดิ

- ใชภ้ าษา จา เขา้ ใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วเิ คราะห์ ประเมินค่า สร้างสรรค์ ข้อสอบ MC MS CM Rr rr er รวม
เหมาะสม
๘ ๒๒. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ ใช้ ๒ ๒๒
ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส
กาลเทศะ และบุคคล
รวมทงั้ คาราชาศัพท์

๒๓. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ - วิเคราะห์ ๒ ๒ ๒๒ ๔
วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของ ๒ ๒๒
ภาษาต่างประเทศและภาษา ๒ ๒๒
ถนิ่
๙ ๒๔. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธิบาย
อธิบายธรรมชาติของภาษา
พลังของภาษา และลักษณะ
ของภาษา

๒๕. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ ใช้ - ใชภ้ าษา
ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส เหมาะสม
กาลเทศะ และบุคคล
รวมทัง้ คาราชาศัพท์

หนว่ ย รหสั ตวั ชว้ี ดั / คาสาคัญ คะแนน จานวนข้อสอบจาแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา รวม จานวนข้อสอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key ปลายภาค จานวน จาแนกตามรูปแบบข้อสอบ
Word) ดา้ นความร(ู้ K)และด้านทกั ษะกระบวนการคิด

จา เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สรา้ งสรรค์ ขอ้ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม

๑๐ ๒๖. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ - เขยี นผัง ๓ ๖
อ่านเร่อื งตา่ งๆ แลว้ เขียน ความคดิ ๒๒
กรอบแนวคิดผังความคิด - เขียนยอ่
บนั ทกึ ยอ่ ความ และ ความ
รายงาน

๒๗. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - วเิ คราะห์
วเิ คราะห์ แนวคิด การใช้
ภาษา และความน่าเชอ่ื ถือ
จากเรอื่ งที่ฟงั และดูอย่างมี
เหตผุ ล

๒๘. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ - ประเมิน ๑๑
ประเมินเรื่องที่ฟังและดู
แล้วกาหนดแนวทางนาไป
ประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ
ชีวติ

๒๙. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธบิ าย
อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา
พลงั ของภาษา และลกั ษณะ
ของภาษา

หน่วย รหัสตวั ช้วี ดั / คาสาคัญ คะแนน จานวนข้อสอบจาแนกตามกระบวนการทางสตปิ ัญญา รวม จานวนข้อสอบ

ที่ ผลการเรียนรู้ (Key ปลายภาค ดา้ นความรู้(K)และด้านทักษะกระบวนการคิด จานวน จาแนกตามรปู แบบขอ้ สอบ
Word)
๑๐ ๓๐. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ จา เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วเิ คราะห์ ประเมินคา่ สรา้ งสรรค์ ขอ้ สอบ MC MS CM Rr rr er รวม
วิเคราะห์และวจิ ารณ์ - วเิ คราะห์
วรรณคดีและวรรณกรรม - วิจารณ์ ๒ ๒๒
ตามหลักการวิจารณ์
เบอื้ งตน้

๓๑. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ - วิเคราะห์ ๒ ๒๒
วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของ
วรรณคดเี ชื่อมโยงกับการ - รวบรวม
เรยี นรู้ประวตั ิศาสตร์และวิถี - อธบิ าย
ชวี ติ ของสังคมในอดีต
๓๒. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ - ทอ่ งจา
รวบรวมวรรณกรรมพนื้ บา้ น อาขยาน
และอธิบายภูมิปญั ญาทาง - บอก
ภาษา คณุ ค่า
๓๓. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖
ท่องจาและบอกคุณคา่ บท
อาขยานตามท่ีกาหนดและ
บทรอ้ ยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตาม
ความสนใจและนาไปใช้
อา้ งองิ

หมายเหตุ ตวั ชีว้ ัดใดจะออกขอ้ สอบ วดั จา /ใจ/ใช้/ว/ิ ประ/สรา้ ง ให้ดู ผลการวเิ คราะหเ์ ช่อื มโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวดั ดว้ ยข้อสอบแบบใด(MC=แบบคาตอบเดียว/MS=แบบ
หลายคาตอบ/ CM=แบบเชงิ ซ้อน/Rr=แบบกลุ่มคาสมั พันธ/์ rr=แบบจากัดคาตอบ/er=แบบขยายคาตอบหรือไม่จากัดคาตอบ)แบบละกขี่ อ้ ในแตล่ ะตัวชวี้ ดั หรือผลการเรียนรู้

ตารางที่ 9 การออกแบบ/การวางแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู(้ Learning Management Plan)

แผนท่ี ชอื่ หน่วย ตัวชีว้ ดั (Indicator) /ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรยี นร้/ู แนว คาสาคัญ กระบวนการจัดการเรยี นรูแ้ ละ สื่อ/นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรยี นรู้ ทรัพยากร ชั่วโมง

๑-๒ ๑ การอา่ นออก ๑. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ - ใบงาน - อา่ นออก - ครูอธบิ ายเกีย่ วกบั ปัญหาในการ - หนังสอื เรยี น ๒
เสยี ง
เสยี งรอ้ ยแกว้ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและ - ทดสอบการอ่านออกเสยี ง อา่ นออกเสยี งทีเ่ กิดข้ึนในปัจจุบัน ภาษาไทย : หลัก

และรอ้ ยกรอง บทรอ้ ยกรองไดอ้ ย่างถูกต้อง การอ่านออกเสยี ง เป็นการใช้ ภาษาและการใช้

ไพเราะและเหมาะสมกบั เร่ือง ทกั ษะทางภาษาผ่านกระบวนการ ภาษา ม.๕

ท่อี า่ น อา่ นเพ่ือใช้ในการสอ่ื สารระหวา่ งผู้ - แผนผงั รปู ภาพ

ส่งสารและผรู้ บั สารใหเ้ กดิ ความ เร่ือง หลกั การ

เข้าใจระหวา่ งกนั โดยใช้แผนผงั อ่านออกเสียง

รูปภาพ - เอกสาร

- นักเรยี นศกึ ษาความรูเ้ กี่ยวกับ ประกอบการ

หลักการอ่านออกเสยี งจากหนังสอื สอน เรอื่ ง ธรรม

เรียนเพ่มิ เติม มะทอรกั

- นกั เรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญ - เอกสาร

เป็นแผนผังรปู ภาพ และฝึกอา่ น ประกอบการ

บทความจากเอกสาร สอน การอา่ น

- การอ่านออกเสยี งของนักเรียน ออกเสยี งบท

และให้ข้อเสนอแนะในจดุ ทมี่ ีความ รอ้ ยกรอง

บกพร่อง แล้วอา่ นใหน้ ักเรียนฟัง - ใบงานท่ี ๒.๑

เป็นตวั อยา่ ง แบง่ คาตามวรรค

แผนท่ี ตวั ชว้ี ดั (Indicator) /ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนร/ู้ แนว คาสาคัญ กระบวนการจดั การเรยี นร้แู ละ ส่ือ/นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดาห์ ีท่ (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรียนรู้ ทรัพยากร ช่ัวโมง
ช่อื หน่วย (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล

๓ ๒-๓ การอ่านเพ่ือ ๒. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ - ใบงาน - ตคี วาม - นกั เรียนศึกษาความรเู้ ร่ือง การ - หนงั สอื เรยี น
วิเคราะห์ - แปลความ
วจิ ารณ์ ตคี วาม แปลความ และขยาย - การทดสอบยอ่ ย - ขยายความ อา่ นตคี วาม เพ่ิมเติมจากหนังสือ ภาษาไทย :

ความเรอ่ื งทอ่ี า่ น เรยี น หนงั สอื ค้นคว้าเพ่ิมเติม วรรณคดี ม.๕

หรือแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศตาม - บัตรคาศพั ท์

ความเหมาะสม แล้วสรปุ - บัตรภาพพระ

สาระสาคัญสัน้ ๆ จดลงในสมุด เวสสันดร

- ครแู บ่งนกั เรยี น เป็นกลุ่ม กล่มุ กณั ฑ์มทั รี

ละ ๕ คน ใหช้ ่วยกันอ่านตัวบทที่ - ใบงานท่ี ๓.๑

ครูมอบให้ จากนั้นใหท้ าการขยาย แปลความตาม

ความจากเน้ือหาท่ีอา่ นตามความ คาศัพท์

เข้าใจของตนเอง และสุ่มตัวแทน - ใบงานที่ ๓.๒

ออกมานาเสนอหนา้ หอ้ ง โดย ตีความตามบท

นาเสนอครบทุกเนื้อหาทคี่ รูแบง่ ให้ สานวน

- ใบงานท่ี ๓.๓

ขยายความตาม

เนอ้ื หา

- แบบทดสอบ

ยอ่ ยจานวน ๑๐

ขอ้

แผนท่ี ช่อื หนว่ ย ตัวชว้ี ดั (Indicator) /ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรยี นร/ู้ แนว คาสาคัญ กระบวนการจัดการเรยี นรูแ้ ละ สื่อ/นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์ห ีท่ (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกจิ กรรมการเรียนรู้ ทรัพยากร ช่วั โมง

๔-๕ ๔ การอ่านอยา่ ง ๓. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓ - นักเรียนรว่ มอภปิ ราย - วิเคราะห์ - ครยู กตวั อยา่ งการคิดอยา่ งมี - หนงั สือเรียน ๒

มีวิจารณญาณ วิเคราะห์และวจิ ารณ์เร่อื งท่ี วเิ คราะห์การใช้ภาษาโฆษณา - วิจารณ์ วจิ ารณญาณ โดยได้เลา่ นิทานเรื่อง ภาษาไทย :

อ่านในทุกๆ ด้านอยา่ งมี จากส่ือทางโทรทัศน์ ชายนักเดนิ ทางกับกองขีห้ มา วรรณคดี ม.๕

เหตุผล - นกั เรยี นทาใบงานการ - หลงั จากเลา่ นิทานส้นั ๆ จบลง ก็ - นทิ านเรือ่ ง

๔. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ วเิ คราะห์และประเมนิ ค่าเร่ือง - ตอบคาถาม สรุปว่า เราไม่ควรจะเชอื่ อะไรงา่ ย มทั นเสนากบั

ตอบคาถามจากการอ่าน ท่ฟี งั และดู ๆ ต้องมีวจิ ารณญาณ มเี หตุผลมา การเลือกคู่

ประเภทต่างๆ ภายในเวลาท่ี รองรบั อย่าเชื่อโดยไม่ได้คิด - นทิ านเรอ่ื ง

กาหนด ไตรต่ รอง ชายนกั เดินทาง

- ครเู ร่มิ เลา่ นิทานเรอื่ ง “นางมทั น กบั กองข้ีหมา

เสนากบั การเลือกคู่” ใหน้ ักเรียน - ใบงานที่ ๔.๑

ฟงั คิดอย่างมี

- ครใู หน้ ักเรียนทาใบงานที่ ๔.๑ วจิ ารณญาณ

คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ ลงในสมดุ

- ครสู มุ่ นกั เรยี นอา่ นคนทต่ี นเอง

เลือกใหเ้ พือ่ น ๆ ในห้องฟงั

แผนท่ี ช่ือหนว่ ย ตัวช้ีวดั (Indicator) /ผลการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้/แนว คาสาคัญ กระบวนการจัดการเรียนรูแ้ ละ สื่อ/นวตั กรรม/ จานวน
ัสปดา ์ห ีท่ (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมินผล (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรยี นรู้ ทรพั ยากร ชั่วโมง

๖-๘ ๕-๘ มหาเวสสันดร ๖. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อ่าน - นักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษา - เขียนผงั - ครูแสดงแผนผงั รูปภาพเรอื่ ง - หนงั สือเรยี น ๘
ชาดก เรื่องต่างๆ แลว้ เขยี นกรอบ หลักการวิเคราะห์วิจารณ์ ความคดิ
กัณฑ์มัทรี แนวคดิ ผงั ความคิด บนั ทกึ ร่วมกนั เพ่อื เปน็ แนวทางและ - เขียนยอ่ พระเวสสันดรชาดกให้นักเรยี นดู ภาษาไทย :
ยอ่ ความ และรายงาน เปน็ การแลกเปล่ยี นความรู้ ความ
๗. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - นักเรยี นรวมกลมุ่ ศึกษา และ - วิเคราะห์ พร้อมอธบิ ายรายละเอยี ด วรรณคดี ม.๕
วเิ คราะห์ แนวคดิ การใช้ วเิ คราะหว์ รรณคดเี รื่อง พระ
ภาษา และความน่าเชือ่ ถือ เวสสันดรชาดก และมัทน - ประเมิน - ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ - แผนผังรปู ภาพ
จากเรอ่ื งทฟี่ ังและดูอย่างมี พาธา และนาเสนอการ
เหตุผล วิเคราะห์ วจิ ารณ์ - อธิบาย ๕ คน จากน้ันจบั สลากเลือกกัณฑ์ เรอื่ ง หลักการ
๘. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓
ประเมินเร่ืองที่ฟงั และดู แลว้ - วเิ คราะห์ - ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ ไปศกึ ษา วิเคราะห์
กาหนดแนวทางนาไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ กัณฑ์ท่ีตวั เองได้รับ แลว้ จัดทาเปน็ วจิ ารณ์
๙. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑
อธบิ ายธรรมชาติของภาษา แผนผงั รปู ภาพ แสดงการ - ประดิษฐ์
พลงั ของภาษา และลกั ษณะ
ของภาษา วเิ คราะห์ รูปแบบ เนอื้ หา ภาษา ผา้ ผะเหวด
๑๐. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑
วเิ คราะห์และวจิ ารณ์วรรณคดี แนวคดิ ในและกณั ฑ์
และวรรณกรรมตามหลักการ
วจิ ารณเ์ บ้อื งต้น - ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นแต่ละ

กลมุ่ เตรียมนาเสนอในชว่ั โมงถัดไป

กลุ่มละ ๕ นาที

แผนท่ี ช่อื หนว่ ย ตวั ช้วี ัด(Indicator) /ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรยี นร/ู้ แนว คาสาคัญ กระบวนการจัดการเรียนรู้และ สือ่ /นวัตกรรม/ จานวน
สัปดาห์ ี่ท ชว่ั โมง
(Learning Outcome) ทางการวดั ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกจิ กรรมการเรียนรู้ ทรพั ยากร

๑๑. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ - นกั เรยี นอธบิ ายความเปน็ มา - วจิ ารณ์ - ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกัน
เขยี นวเิ คราะห์วิจารณ์กัณฑ์มัทรี
วิเคราะหล์ ักษณะเด่นของ ของวรรณคดีและวรรณกรรม - วิเคราะห์ ตามหลกั การวจิ ารณ์เบอ้ื งตน้ ใน
กระดาษบรฟู๊ โดยครเู ป็นคนต้ัง
วรรณคดีเช่อื มโยงกับการ ไทย ข้อคิดจากวรรณคดี เรื่อง ประเด็นการวิจารณ์ให้แต่ละกลมุ่
เชน่ รปู แบบ ภาพพจน์ แนวคิด
เรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์และวิถี มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑ์มทั โดยแต่ละกลมุ่ ต้องยกตัวบทมา
ประกอบหลกั การวจิ ารณต์ าม
ชวี ติ ของสังคมในอดีต รี และบทละครพดู เรื่อง มัทน หัวข้อนน้ั ๆ
- ครูอธิบายขั้นตอนการทาผ้าเผวด
๑๒. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ พาธาคาฉันท์ รวบรวม - รวบรวม จากเศษวสั ดุ และให้นกั เรยี นลอง
ทา โดยอธิบายถึงการใช้วสั ดุให้
รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บ้าน วรรณกรรมท้องถนิ่ ท่ีรู้จกั - อธิบาย เกดิ ประโยชนห์ ลากหลายดา้ น
- ครูสรปุ ความรู้โดยภาพรวมของ
และอธิบายภูมปิ ัญญาทาง เรื่องมหาเวสสนั ดร กณั ฑม์ ัทรี โดย
ชใ้ี หเ้ ห็นแนวคิดที่สาคัญของกัณฑ์
ภาษา น้ี

๑๓. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ - ท่องจา

ทอ่ งจาและบอกคุณคา่ บท อาขยาน

อาขยานตามท่ีกาหนดและบท - บอกคุณคา่

ร้อยกรองทมี่ ีคณุ ค่าตามความ

สนใจและนาไปใช้อ้างอิง

แผน ี่ท ชอื่ หนว่ ย ตัวชวี้ ัด(Indicator) /ผลการเรยี นรู้ หลักฐานการเรียนร/ู้ แนว คาสาคัญ กระบวนการจัดการเรยี นรูแ้ ละ ส่อื /นวัตกรรม/ จานวน
สัปดาห์ ี่ท (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมินผล (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรยี นรู้ ทรัพยากร ชัว่ โมง

๙ ๙ การแต่งคา ๑๔. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ - นักเรยี นจับเพ่ือนคคู่ ดิ ฝกึ - แตง่ บทรอ้ ย - ครูแจกใบความรเู้ ร่ืองการแต่ง ๒
ประพันธ์ แต่งบทร้อยกรอง อ่านบทอาขยานและอภิปราย กรอง ร่ายยาวให้นักเรยี นศกึ ษา พร้อม
ประเภทรา่ ย ถึงรปู แบบคาประพันธ์ กบั อธบิ ายและยกตวั อย่าง
ยาว - นักเรยี นรว่ มอภปิ รายถึง - ครูนาบทประพนั ธ์ประเภทร่าย
คณุ ค่าของบทอาขยานและ ยาวจากตวั บทวรรณคดีเร่ือง รา่ ย
การนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิต ยาวมหาเวสสนั ดร
จรงิ ชาดก กณั ฑ์มัทรีมาให้นักเรยี นดู
- ทอ่ งจาบทอาขยาน และอ่านพร้อมกนั
- ครูใหน้ ักเรยี นเขียนบทประพันธ์
ดังกล่าวลงในสมุด โดยให้นกั เรยี น
เขียนแบง่ เปน็ วรรคๆ จากนั้นให้
โยงสมั ผัสนอก
ครูแจกใบความร้เู รอ่ื งการแตง่ ราย
ยาวให้นกั เรยี นอา่ นและสรปุ ลงใน
สมดุ จากนัน้ ครสู รุปฉันทลักษณ์
ร่ายยาวให้นกั เรยี นดเู ป็นตวั อย่าง
บนกระดาน กฎเกณฑใ์ นการแต่ง
- ครูใหน้ ักเรยี นไปฝึกแตง่ รา่ ยยาว
ในหวั ขอ้ แนะนาตนเองลงในสมดุ
โดยกาหนดไม่ต่ากว่า
๕ วรรค

แผนท่ี ช่อื หน่วย ตวั ชีว้ ดั (Indicator) /ผลการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรยี นรู/้ แนว คาสาคญั กระบวนการจดั การเรียนรแู้ ละ สื่อ/นวตั กรรม/ จานวน
สัปดาห์ ี่ท (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรียนรู้ ทรพั ยากร ชวั่ โมง

๑๐- ๑๐- การเขยี น ๑๕. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขียน - นักเรียนฝึกการเขยี นย่อ - เขียนสอ่ื สาร - ครูสรปุ เรอ่ื งและแนวคิดจาก - เอกสาร ๖

๑๑ ๑๒ เรียงความและ ส่ือสารในรูปแบบตา่ งๆ ได้ ความจากการอ่านสื่อตา่ ง ๆ เรียงความเรอื่ ง “แม่” และอธบิ าย ประกอบการ

เขยี นรายงาน ตรงตามวตั ถุประสงค์ โดยใช้ ทั้งการฟังและการดู ใหน้ กั เรยี นเห็นถึงพลังของภาษา สอนเรียงความ

เชงิ วชิ าการ ภาษาเรยี บเรียงถูกต้อง มี - นักเรยี นฝกึ เขยี นรายงาน การเลือกใช้คาของผเู้ ขยี นที่มีความ เร่อื ง “ทาไมเรา

ขอ้ มลู และสาระสาคัญชดั เจน การศกึ ษาตามเรอ่ื งทส่ี นใจ ลกึ ซง้ึ คมคาย จงึ รกั พระ

๑๖. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ เขยี น และอา้ งองิ ขอ้ มูลตามรปู แบบ - เขียน - ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ใบ เจา้ อยหู่ วั ”

เรียงความ ทถ่ี ูกต้อง เรียงความ งานที ๑๐.๑ เขยี นบรรยายภาพ ๑ - เอกสาร

หนา้ กระดาษสมุด เพอื่ ทราบถึง ประกอบการ

๑๗. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ เขยี น - เขยี นย่อ พน้ื ฐานการเขยี นของนกั เรียนแต่ สอน เรยี งความ
ย่อความจากส่ือท่ีมรี ูปแบบ
และเนื้อหาหลากหลาย ความ ละคน เรือ่ ง แม่
๑๘. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มี
มารยาทในการเขยี น - ครูแจกใบงานท่ี ๑๐.๒ ฝึกเขียน - ภาพสาหรบั
๑๙. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ใช้คา
และกลมุ่ คาสร้างประโยคตรง - มมี ารยาท จากโครงเร่อื ง ใหน้ ักเรียนศึกษา เขยี นบรรยาย
ตามวตั ถปุ ระสงค์
แล้วพานกั เรยี นทา โดยทาเป็น “สีดา”

- สร้างประโยค ตวั อยา่ ง แลว้ ใหน้ กั เรียนต่อยอด

เอง

- ครรู ว่ มกับนกั เรียนชว่ ยกันวาง

โครงเรอื่ งจากใบงาน โดยใชช้ ื่อ

เรือ่ งวา่ “หยาดเหงื่อของแม่”

ร่วมกัน ทุกคนจะไดโ้ ครงเรื่องแบบ

เดยี วกัน แลว้ ฝกึ เขยี นในแบบ

ตัวเอง

แผนท่ี ตัวชีว้ ดั (Indicator) /ผลการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้/แนว คาสาคัญ กระบวนการจดั การเรยี นรแู้ ละ ส่ือ/นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดาห์ ีท่ ช่ัวโมง
ช่ือหน่วย (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรยี นรู้ ทรพั ยากร

๑๒- ๑๓- การประเมนิ ๒๐. ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ - ผู้เรยี นฝึกปฏิบัติ โดยการ - การประเมนิ - ครูแจกใบความรูเ้ ร่ือง แนว - ใบความรู้ เรอ่ื ง
๑๓ ๑๔ คณุ ค่างาน ประเมินงานเขยี นของผู้อน่ื อา่ นงานเขียน แล้ววเิ คราะห์ งานเขียน
แล้วนามาพฒั นางานเขียน เนือ้ หา ก่อนประเมินงานเขียน ทางการประเมินคณุ ค่างานเขียน แนวทางการ
เขียน ของตนเอง โดยนาผลการประเมินของ
ตนเองมาเป็นแนวทางฝึกฝน ใหน้ กั เรียนศึกษา พร้อม อธบิ าย ประเมินงาน
งานเขียนของตนเอง ในการ
เขียนอีกครั้ง ให้นักเรียนเข้าใจในเน้อื หา ครู เขียน

ยกตัวอยา่ งประกอบ แลว้ ประเมิน - เอกสาร

งานเขยี นเป็นตวั อย่าง ประกอบงาน

- นกั เรยี นสรปุ แนวทางการ สอน เร่อื งสั้น

ประเมนิ งานเขยี นลงในสมดุ พรอ้ ม เร่ือง “แววตา

บอกผลงานดา้ นการเขียนที่ ของเวลา”

นักเรยี นรูจ้ กั มาคนละ ๕ เรอ่ื ง

- นกั เรียนทาใบงาน ประเมินงาน

เขียนจากเรื่องส้ัน เรอ่ื ง “แววตา

ของเวลา” ตามแนวทางการ

ประเมนิ งานเขยี น แลว้ นามพัฒนา

งานเขีนของตน

แผนท่ี ช่อื หน่วย ตวั ช้ีวัด(Indicator) /ผลการเรียนรู้ หลักฐานการเรยี นรู้/แนว คาสาคญั กระบวนการจดั การเรยี นร้แู ละ ส่ือ/นวตั กรรม/ จานวน
ัสปดาห์ ีท่ (Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกจิ กรรมการเรียนรู้ ทรพั ยากร ชั่วโมง

๑๔- ๑๕ วัฒนธรรมกับ ๒๑. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - การทาใบงาน - อธิบาย - ครแู จกใบความรูเ้ ร่ือง - บัตรคาภาษา ๒
๑๕ ภาษา อธบิ ายธรรมชาติของภาษา - การทากิจกรรมกลมุ่ สบื ค้น
พลงั ของภาษา และลักษณะ คาราชาศัพทห์ มวดตา่ งๆ - ใชภ้ าษา ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถ่ิน ถิ่น
ของภาษา และระดบั ภาษาจากส่ือ เหมาะสม
๒๒. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ ใช้ ออนไลน์ - วเิ คราะห์ อธบิ ายเรือ่ งภาษาตา่ งประเทศและ - เอกสาร
ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส - การนาเสนอข้อมูล
กาลเทศะ และบุคคล รวมท้งั - ทาแบบทดสอบ ภาษาถิน่ ประกอบงาน
คาราชาศพั ท์
๒๓. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ - ครูแบง่ นักเรยี นเป็นกุ่ม กลุ่มละ สอน อิทธิพล
วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษา ๕ คน จากนนั้ ครเู ปิดเพลงอสี าน ของภาษา
ถ่นิ
เขยี วให้นกั เรยี นฟัง ให้แตล่ ะกลมุ่ ตา่ งประเทศและ

เขียนภาษาอสี านให้ได้มากทสี่ ดุ ภาษาถิ่น

พร้อมแปลความหมาย - บตั รภาพราชา

- ครูอธบิ ายการใชค้ าราชาศัพท์ ศพั ท์

ผ่านส่อื การสอนเรื่อง คาสภุ าพ

และคาราชาศัพท์

แผนท่ี ตวั ช้วี ัด(Indicator) /ผลการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้/แนว คาสาคญั กระบวนการจัดการเรยี นรู้และ สื่อ/นวตั กรรม/ จานวน
ัสปดาห์ ีท่ (Key Word) แนวทางการกิจกรรมการเรยี นรู้ ทรพั ยากร ชั่วโมง
ช่ือหนว่ ย (Learning Outcome) ทางการวดั ประเมนิ ผล

๑๖- ๑๖- ความคิดกบั ๒๔. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - การทาใบงาน - อธบิ าย - นกั เรียนร่วมกันอภปิ ราย เร่ือง
๑๗ ๑๗ ภาษา อธิบายธรรมชาติของภาษา - การทากจิ กรรมกลมุ่ สืบคน้ พลังของภาษาและลักษณะของ
พลังของภาษา และลกั ษณะ คาราชาศัพทห์ มวดต่างๆ - ใช้ภาษา ภาษา แล้วสรุปตามความเขา้ ใจลง
ของภาษา และระดบั ภาษาจากสื่อ เหมาะสม ในสมุด โดยการสรุปหลกั การและ
๒๕. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ ใช้ ออนไลน์ จดจาหลักการไปใช้ในชีวิตจริง
ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส - การนาเสนอข้อมูล - นกั เรยี นจบั กลมุ่ กัน โดยให้แตล่ ะ
กาลเทศะ และบุคคล รวมทง้ั กลุม่ คิดเหตุการณ์ที่ได้ประสพพบ
คาราชาศัพท์ เจอมา เก่ียวกับภาษาสร้าง
ปาฏหิ ารยิ ์
- ตัวแทนกลุม่ ออกมานาเสนอเรอ่ื ง
“ภาษาสร้างปาฏหิ าริย์”
- นักเรยี น ฝึกทา GAT เชอื่ มโยง

แผนท่ี ตัวช้วี ดั (Indicator) /ผลการเรยี นรู้ หลักฐานการเรียนร/ู้ แนว คาสาคัญ กระบวนการจัดการเรยี นรู้และ สื่อ/นวตั กรรม/ จานวน
ัสปดาห์ ีท่ ชว่ั โมง
ชอ่ื หนว่ ย (Learning Outcome) ทางการวดั ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทรพั ยากร

๑๘- ๑๘- มทั นพาธา ๒๖. ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ อา่ น - นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศกึ ษา - เขยี นผัง - นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเรื่องที่ - หนงั สือเรียน

๒๐ ๒๐ เรอื่ งต่างๆ แล้วเขียนกรอบ หลักการวเิ คราะหว์ ิจารณ์ ความคดิ ฟงั และดู แล้วประเมินคณุ ค่าเรอ่ื ง ภาษาไทย :

แนวคิดผงั ความคิด บันทึก รว่ มกัน เพื่อเป็นแนวทางและ - เขยี นยอ่ ท่ีฟังและดูการฟังและดูสื่อท่ี วรรณคดี ม.๕

ยอ่ ความ และรายงาน เป็นการแลกเปลย่ี นความรู้ ความ หลากหลาย แล้วประเมินเร่อื งทฟี่ งั - บตั รภาพตวั

๒๗. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - นกั เรียนรวมกล่มุ ศึกษา และ - วิเคราะห์ และดอู ย่างมีเหตุผล ละคร

วิเคราะห์ แนวคดิ การใช้ วิเคราะหว์ รรณคดเี รื่อง พระ - นกั เรยี นนาผลการประเมินไป -ประดิษฐห์ ุ่น

ภาษา และความน่าเชื่อถือ เวสสันดรชาดก และมัทน กาหนดแนวทาง หรือประยุกตใ์ ช้ กระตบิ

จากเร่ืองท่ฟี ังและดูอย่างมี พาธา และนาเสนอการ ในชวี ิตประจาวนั

เหตุผล วเิ คราะห์ วจิ ารณ์

๒๘. ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ - ประเมิน

ประเมินเรื่องท่ีฟงั และดู แล้ว

กาหนดแนวทางนาไป

ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ิต

๒๙. ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธิบาย

อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา

พลงั ของภาษา และลกั ษณะ

ของภาษา

๓๐. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ - วเิ คราะห์

วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดี

และวรรณกรรมตามหลักการ

วิจารณเ์ บือ้ งต้น

แผนท่ี ชอ่ื หนว่ ย ตวั ชว้ี ัด(Indicator) /ผลการเรยี นรู้ หลักฐานการเรยี นร/ู้ แนว คาสาคญั กระบวนการจัดการเรยี นรู้และ สื่อ/นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์ห ีท่ ชว่ั โมง
(Learning Outcome) ทางการวัด ประเมนิ ผล (Key Word) แนวทางการกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทรพั ยากร

๓๑. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ - นักเรียนฝึกวเิ คราะห์ - วิจารณ์ - นกั เรียนแต่ละคนออกมา
วเิ คราะห์ลักษณะเด่นของ เบอื้ งต้นจากวรรณกรรมท่วั - วิเคราะห์ นาเสนอตัวบททต่ี นไดค้ ัดเลือก
วรรณคดเี ช่ือมโยงกับการ และฝกึ วิเคราะห์บทร้อยกรอง แล้วอธบิ ายว่าตัวบททน่ี ักเรยี น
เรียนร้ปู ระวตั ิศาสตร์และวิถี ว่ามลี กั ษณะเดน่ อย่างไร - รวบรวม เลอื กน้นั แสดงพลังภาษาในด้าน
ชีวิตของสังคมในอดีต - นักเรียนอ่านตีบทวรรณคดี - อธิบาย ใด สังเกตจากอะไร
๓๒. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ ค้นหาลกั ษณะเด่น หรือ - นักเรียนแตล่ ะคนคน้ หาตวั บทที่
รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บา้ น เนือ้ หาท่ีสะท้อนสงั คม และ - ท่องจา แสดงถงึ พลงั ของภาษาในดา้ นตา่ ง
และอธบิ ายภูมปิ ัญญาทาง ความรทู้ น่ี ่าสนใจ การนา อาขยาน ๆ ตามความสนใจ เช่น ความเศร้า
ภาษา ขอ้ คิดไปประยกุ ต์ใช้ อภปิ ราย - บอกคุณคา่ โศก ความงาม ความหรรษา
๓๓. ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ ความรู้รว่ มกนั ในชั้นเรยี น ความโกรธเกรย้ี ว ฝึกอธิบายความ
ทอ่ งจาและบอกคุณคา่ บท - นกั เรียนรวมกลุ่มวิเคราะห์ ความรู้ ทง้ั การเขยี น และการพดู
อาขยานตามที่กาหนดและบท ลักษณะเดน่ ของวรรณคดที ี่ ถ่ายทอดความรู้
ร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่ ตามความ อ่าน
สนใจและนาไปใช้อา้ งอิง

๒๐ ๒๐ ๑๐ ๒๐ รวม จานวนแผนการจัดการเรียนรู้,จานวนสปั ดาห์,จานวนหนว่ ย,จานวนตวั ช้วี ัดและจานวนชั่วโมง ๔๐

สรุป การวัดและประเมนิ ผล วิชา ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทยพ้ืนฐาน ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕

๑. เป้าหมายการจัดการเรียนรู้
๑.๑ ผูเ้ รยี นมผี ลการเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๙๐
๑.๒ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเฉล่ยี ๒.๗๕

๒. การใหค้ ะแนน 100 คะแนน
๒.๑ อัตราส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐
๒.๒ คะแนนระหว่างเรยี น
๒.๒.๑ ประเมนิ วัดความรู้ ๖๘ คะแนน
๒.๒.๒ ประเมินดา้ นทักษะ ๒๒ คะแนน
๒.๒.๓ ประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑๐ คะแนน
๒.๓ สอบกลางภาค ๒๐ คะแนน
๒.๔ สอบปลายภาค ๓๐ คะแนน

๓. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ที่ประเมนิ คือ
๓.๑ ใฝเ่ รียนรู้
๓.๒ มุง่ ม่ันในการทางาน
๓.๓ รกั ความเป็นไทย
๓.๔ มีมารยาทในการอา่ น
๓.๕ มมี ารยาทในการเขยี น
๓.๖ มีวินัย

๔. สมรรถนะท่ไี ดร้ บั การพฒั นาจากการเรียนรู้รายวชิ าน้คี ือ
๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด

๔.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔.๔ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๔.๕ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

๕. ช้นิ งานสาคญั ที่ขออนมุ ตั ิ ร
๕.๑ การเขียนเรยี งความ
๕.๒ การแต่งคาประพนั ธ์

ลงช่อื .................................ครผู สู้ อน ลงช่ือ.........................................ครูผ้สู อน
(นายภาสกร บาลไธสง) (นางสาวเกศวลี ดาวนั นา)

ลงช่ือ..............................
(นายภาสกร บาลไธสง)
หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ลงช่ือ...................................
(นายชาญ สิว่ ไธสง)

รองผูอ้ านวยการฝ่ายบริหารวิชาการ

ลงช่อื ..............................
(นายประชัย พรสงา่ กลุ )
ผู้อานวยการโรงเรียนพทุ ไธสง


Click to View FlipBook Version