The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลัก รายวิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketwalee, 2019-10-24 02:56:17

แผนหลัก รายวิชาภาษาไทย

แผนหลัก รายวิชาภาษาไทย

Keywords: แผนหลัก

แผนหลกั เพอ่ื การจดั การเรียนรู้ (Master plan for Learning Management)

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วิชา (Courses)ภาษาไทย รหสั วชิ า (Courses Code) ท๓๒๑๐๑

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕

โดย
๑. นายภาสกร บาลไธสง ตาแหน่ง ครู
2. นางสาวเกศวลี ดาวันนา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย

โรงเรยี นพทุ ไธสง
อาเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บุรีรัมย์
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 32
(The Secondary Educational Service Office 32)

จดุ หมายหลักสูตร (Goals)

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ คนดี มีปัญญา มีความสุข มศี กั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจดุ หมายเพื่อให้เกดิ กับ
ผู้เรยี น เม่ือจบการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ดงั นี้

1. มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสขุ นสิ ยั รักการออกกาลงั กาย
4. มคี วามรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวถิ ีชวี ิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข
5. มจี ติ สานึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย และการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจติ สาธารณะทมี่ ุ่งทาประโยชน์และสร้างสง่ิ ท่ีดีงามในสังคม และอยรู่ ว่ มกนั
ในสังคมอยา่ งมีความสุข

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desired Characteristics)
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มุง่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะ
เป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ (Love of nation, religion and the King)
2. ซ่ือสตั ย์สุจริต (Honesty and integrity)
3. มวี ินยั (Self-discipline)
4. ใฝเ่ รยี นรู้ (Avidity for learning)
5. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง (Observance principles of Sufficiency Economy Philosophy in one’s of life)
6. มุง่ มั่นในการทางาน (Dedication and commitment to work)
7. รักความเป็นไทย (Cherishing Thai nationalism)
8. มีจิตสาธารณะ (Public - mindedness)

คณุ ภาพผูเ้ รียน (Learners Quality) เมื่อเรยี นจบชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ของกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (Learning Areas Of Thai Major)

อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถกู ต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเรือ่ งท่ีอา่ นได้ วิเคราะห์วิจารณเ์ รื่องท่ีอ่าน
แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้งและเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอยา่ งมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องทีอ่ ่าน เขียนกรอบแนวความคิด บนั ทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่ง
ที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความร้คู วามคดิ จากการอา่ นมาพฒั นาตน พัฒนาการเรยี น และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ และ นาความรู้ความคิดไปประยุกตใ์ ชแ้ ก้ปัญหาใน
การดาเนนิ ชีวติ มมี ารยาทและมีนิสัยรกั การอา่ น

เขยี นสอ่ื สารในรูปแบบตา่ งๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ย่อความจากส่อื ที่มรี ปู แบบและเนื้อหาท่ีหลากหลาย เรยี งความแสดงแนวคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์
โดยใชโ้ วหารต่างๆ เขียนบันทกึ รายงานการศึกษาคน้ คว้าตามหลกั การเขยี นทางวิชาการ ใชข้ อ้ มูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลติ ผลงานของตนเองในรปู แบบตา่ งๆ ทง้ั สารคดีและ
บนั เทงิ คดี รวมทัง้ ประเมินงานเขยี นของผูอ้ ่นื และนามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง

ตง้ั คาถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เรอ่ื งทฟ่ี ังและดู มวี จิ ารณญาณในการเลือกเรื่อง ที่ฟงั และดู วิเคราะห์วตั ถุประสงค์ แนวคิด การใชภ้ าษา ความน่าเช่ือถือ
ของเร่ืองท่ีฟงั และดู ประเมนิ สิง่ ทีฟ่ งั และดแู ล้วนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชีวิต มีทักษะการพูดในโอกาสต่างๆ ทงั้ ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยใชภ้ าษาท่ถี ูกต้อง พูดแสดง
ทรรศนะ โตแ้ ยง้ โนม้ นา้ ว และเสนอแนวคดิ ใหม่อยา่ งมีเหตุผล รวมทงั้ มมี ารยาทในการฟงั ดู และพูด

เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา อิทธพิ ลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยคไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ แตง่ คาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง
ร่ายและฉันท์ ใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและใช้คาราชาศัพทแ์ ละคาสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคาในภาษาไทย อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทยและภาษาถน่ิ วเิ คราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจากสอื่ ส่ิงพมิ พ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

วิเคราะห์วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณว์ รรณคดเี บื้องต้น รูแ้ ละเขา้ ใจลกั ษณะเด่นของวรรณคดี ภมู ิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพนื้ บา้ น
เชือ่ มโยงกับการเรียนร้ทู างประวัติศาสตรแ์ ละวิถีไทย ประเมนิ คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ และนาข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน (Learners’ key Competencies)

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ม่งุ พฒั นาผ้เู รยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่งึ การพฒั นาผ้เู รยี นให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรทู้ ี่กาหนดนัน้ จะช่วยใหผ้ ู้เรยี น
เกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการส่ือสาร (Communication Capacity) เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ
ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลย่ี นข้อมูลขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหา
ความขดั แย้งตา่ งๆ การเลือกรบั หรอื ไมร่ ับขอ้ มูลขา่ วสารนนั้ ด้วยหลกั เหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี ารสอื่ สารท่มี ีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีมีต่อตนและ
สงั คม

๒. ความสามารถในการคดิ (Thinking Capacity) เปน็ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นาไป
ส่กู ารสร้างองค์ความร้หู รือสารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา (Problem – solving capacity) เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชญิ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของ
หลกั เหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณต์ ่างๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแก้ไขปญั หา
และมีการตดั สินใจที่มีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขึ้น ต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต (Capacity for Applying Life skills) เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆไปใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรียนร้ดู ้วย
ตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทางานและการอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งตา่ งๆ อย่างเหมาะสม
การปรบั ตวั ใหท้ นั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรูจ้ กั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี (Capacity for Technological Application) เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยดี ้านต่างๆและมที ักษะกระบวนการ
เทคโนโลยี เพ่อื การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม

ตารางท่ี 1 ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐาน ตัวชวี้ ัดหรือผลการเรยี นรู้กับพทุ ธิพสิ ยั ทักษะพิสยั และจิตพิสัย

สาระที่ (Strand) ๑ การอา่ น พทุ ธพิ สิ ัย Cognitive Domain)/ ทักษะพสิ ัย จิตพสิ ยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ คาสาคญั ความรู้/มติ ิของกระบวนการทางสติปัญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคิดของบลมู ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ Domain)
ตัวชีว้ ดั (Indicator) หรือ (Key Word) Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning (Revised Bloom’s Taxonomy) ทักษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะ
Outcome) (Process skill)
การจา การเขา้ ใจ การประยกุ ตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ 
อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ - อ่านออก
บทรอ้ ยกรองได้อย่างถูกต้อง เสียง 
ไพเราะและเหมาะสมกับเร่ือง
ที่อา่ น

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ - ตีความ    
  
ตคี วาม แปลความ และขยาย - แปลความ  

ความเรอ่ื งท่ีอา่ น - ขยายความ

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓ - วเิ คราะห์
วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรอ่ื งที่ - วิจารณ์
อา่ นในทุกๆ ด้านอยา่ งมี
เหตผุ ล

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ - จับใจความ
ตอบคาถามจากการอ่าน - ตอบคาถาม
ประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่
กาหนด

มาตรฐาน (Standard) และ พทุ ธิพิสยั Cognitive Domain)/ ทักษะพสิ ัย จติ พิสยั
ตัวชว้ี ัด(Indicator) หรือ (Psychomotor (Effective
ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสตปิ ัญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลูมฉบับปรบั ปรุงใหม่ Domain)
Outcome) (Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคุณลกั ษณะ
(Process skill)
การจา การเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสรา้ งสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ - เขยี นผงั  
อ่านเรื่องตา่ งๆ แลว้ เขยี น ความคดิ
กรอบแนวคิดผงั ความคิด - เขียนยอ่
บันทกึ ยอ่ ความ และรายงาน ความ

ท.๑.๑ ม.๔-๖/๙ มีมารยาทใน มมี ารยาท  
การอา่ น

ตารางท่ี 1 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั หรือผลการเรยี นรู้กบั พุทธิพสิ ยั ทกั ษะพสิ ยั และจิตพิสัย

สาระที่ (Strand) ๒ การเขยี น พุทธิพสิ ยั Cognitive Domain)/ ทักษะพสิ ัย จติ พสิ ยั
(Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และ คาสาคญั ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ัญญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลูมฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ Domain)
ตัวช้ีวัด(Indicator) หรอื (Key Word) Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning (Revised Bloom’s Taxonomy) ทักษะกระบวนการ ดา้ นคุณลกั ษณะ
Outcome) (Process skill)
การจา การเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating)

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ - เขียนส่ือสาร  

เขยี นส่อื สารในรปู แบบตา่ งๆ

ได้ ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดย

ใชภ้ าษาเรยี บเรียงถกู ตอ้ ง มี

ข้อมลู และสาระสาคัญชดั เจน

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ เขยี น  
เขียนเรยี งความ เรียงความ  

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ - เขยี นยอ่
เขยี นยอ่ ความจากส่ือท่มี ี ความ
รปู แบบ และเนื้อหา
หลากหลาย

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ - การประเมนิ      

ประเมินงานเขยี นของผู้อ่นื งานเขียน

แล้วนามาพฒั นางานเขียนของ

ตนเอง

มาตรฐาน (Standard) และ คาสาคญั พุทธพิ สิ ัย Cognitive Domain)/ ทักษะพิสยั จติ พสิ ัย
ตัวช้วี ัด(Indicator) หรอื (Key Word) (Psychomotor (Effective
ผลการเรยี นรู้ (Learning ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลมู ฉบับปรับปรงุ ใหม่ Domain)
Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy)

Outcome) การจา การเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะ
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) (Process skill)
(Attribute)
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ - เขยี น    
เขยี นรายงานการศึกษา รายงาน 
ค้นควา้ เร่ืองทส่ี นใจตาม
หลักการเขยี นเชิงวิชาการ
และใชข้ ้อมูลสารสนเทศ
อ้างองิ อย่างถูกต้อง

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มมี ารยาท  
มีมารยาทในการเขยี น

ตารางท่ี 1 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วดั หรือผลการเรยี นรู้กบั พทุ ธพิ สิ ัย ทกั ษะพสิ ยั และจติ พสิ ัย

สาระที่ (Strand) ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธิพิสยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพสิ ัย จติ พิสยั
ตวั ชวี้ ดั (Indicator) หรอื (Psychomotor (Effective
ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสติปญั ญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลูมฉบับปรบั ปรุงใหม่ Domain)
Outcome) (Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Process skill)
การจา การเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - วเิ คราะห์ 
วเิ คราะห์ แนวคิด การใช้
ภาษา และความน่าเช่อื ถือ
จากเร่ืองทีฟ่ ังและดู อยา่ งมี
เหตผุ ล

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ประเมิน - ประเมิน  
เร่อื งที่ฟงั และดู แล้วกาหนด
แนวทางนาไปประยกุ ต์ใช้ใน
การดาเนนิ ชวี ิต

ตารางท่ี 1 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั หรอื ผลการเรียนรู้กบั พทุ ธพิ ิสัย ทกั ษะพิสยั และจิตพิสัย

สาระที่ (Strand) ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธพิ ิสัย Cognitive Domain)/ ทกั ษะพสิ ัย จิตพสิ ยั
ตัวช้วี ัด(Indicator) หรอื (Psychomotor (Effective
ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสติปญั ญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคิดของบลูมฉบับปรบั ปรุงใหม่ Domain)
Outcome) (Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ทักษะกระบวนการ ด้านคุณลกั ษณะ
(Process skill)
การจา การเข้าใจ การประยกุ ต์ใช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า การสรา้ งสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธบิ าย 
อธิบายธรรมชาติของภาษา
พลังของภาษา และลักษณะ
ของภาษา

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ - สร้าง  
 
ใช้คาและกลุ่มคาสรา้ ง ประโยค

ประโยคตรงตามวัตถุประสงค์

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ - ใช้ภาษา 
ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส เหมาะสม
กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้ง
คาราชาศพั ทอ์ ย่างเหมาะสม

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ - แตง่ บทร้อย   
แตง่ บทร้อยกรอง กรอง

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธิพสิ ัย Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสยั จติ พสิ ัย
ตวั ช้วี ัด(Indicator) หรอื (Psychomotor (Effective
ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั ความรู้/มิติของกระบวนการทางสติปญั ญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลูมฉบับปรบั ปรงุ ใหม่ Domain)
Outcome) (Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Process skill)
การจา การเข้าใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ - วเิ คราะห์ 
วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของ
ภาษาต่างประเทศและภาษา
ถ่ิน

ตารางท่ี 1 ตารางวิเคราะหม์ าตรฐาน ตวั ชี้วัดหรือผลการเรียนรู้กบั พุทธพิ สิ ัย ทักษะพสิ ยั และจติ พิสัย

สาระที่ (Strand) ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน (Standard) และ พุทธพิ สิ ยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสัย จติ พสิ ยั
ตวั ช้วี ดั (Indicator) หรือ (Psychomotor (Effective
ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา(Cognitive Processes Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลมู ฉบบั ปรับปรุงใหม่ Domain)
Outcome) (Key Word) Domain)
(Revised Bloom’s Taxonomy) ทักษะกระบวนการ ด้านคณุ ลักษณะ
(Process skill)
การจา การเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) 

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ - วิเคราะห์  

วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี - วิจารณ์

และวรรณกรรมตามหลักการ

วิจารณ์เบอ้ื งตน้

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ - วเิ คราะห์   
วิเคราะหล์ ักษณะเด่นของ  
วรรณคดเี ชอ่ื มโยงกับการ - รวบรวม 
เรยี นรูท้ างประวตั ิศาสตรแ์ ละ - อธิบาย
วถิ ีชวี ิตของสังคมในอดตี
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕
รวบรวมวรรณกรรมพนื้ บา้ น
และอธบิ ายภูมิปญั ญาทาง
ภาษา

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ - ทอ่ งจา        
ท่องจาและบอกคุณคา่ บท อาขยาน
อาขยานตามท่ีกาหนดและบท - บอกคุณค่า
ร้อยกรองทีม่ ีคณุ ค่าตามความ

สนใจและนาไปใชอ้ ้างอิง

ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ช้ีวดั หรือผลการเรียนรู้ กบั พฤติกรรมการเรยี นรู้

สาระที่ (Strand) ๑ การอา่ น

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตัวชี้วดั (Indicator)
หรือผลการเรียนรู้ (Learning คาสาคญั แกนกลาง (Core ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
(Key Word) (Attribute) ( A)
Outcome) Content) /สาระการ (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (เปน็ คนอย่างไร)
เรียนรู้ (Content) (รูอ้ ะไร) (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด)
- ผู้เรยี นมมี ารยาททางสงั คม
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ - บทร้อยแก้ว - บอกมารยาทในการอา่ นได้ - มีมารยาทในการอ่าน - ความสามารถในการ และสามารถแสดงออกอยา่ ง
เหมาะสม
อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว - อา่ นออก ประเภทตา่ งๆ เชน่ สือ่ สาร

และบทร้อยกรองได้อย่าง เสียง บทความ นวนยิ าย - ความสามารถในการ

ถกู ต้อง ไพเราะและ และความเรยี ง คดิ

เหมาะสมกบั เรอื่ งที่อา่ น - บทร้อยกรอง เชน่

โคลง ฉนั ท์ กาพย์

กลอน ร่าย และลลิ ิต

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ - ตีความ ขา่ วสารจากส่อื - เข้าใจและอธบิ าย - ตีความ แปลความ และ - ความสามารถในการ - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษา
ตีความ แปลความ และ - แปลความ ขยายความจากเร่ืองท่ี สือ่ สาร ในการฟัง ดู พูด อ่าน และ
ขยายความเร่ืองที่อา่ น - ขยายความ ส่งิ พมิ พ์ สือ่ ความหมายของการตคี วาม อ่านได้ - ความสามารถในการ เขียนได้อย่างถูกต้อง

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และ แปลความ และขยายความ คดิ - มีความมงุ่ ม่นั ฝกั ใฝ่ใน
- ความสามารถในการ การเรียนรู้และปฏิบัติ
แหลง่ เรียนรูต้ า่ ง ๆ ได้
ใชเ้ ทคโนโลยี
ในชมุ ชน

- บทความ

- นิทาน

- เร่ืองส้นั

- นวนยิ าย

- วรรณกรรมพื้นบา้ น

- วรรณคดใี น

บทเรียน

ฯลฯ

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตวั ชี้วดั (Indicator) แกนกลาง (Core
หรอื ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคัญ Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Key Word) เรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอยา่ งไร)
(รู้อะไร)
(ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด)

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓ - วิเคราะห์ ข่าวสารจากสอื่ - อธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ - สามารถอา่ นอยา่ งมี - ความสามารถในการ - ใฝเ่ รยี นรู้
วเิ คราะห์และวจิ ารณเ์ รือ่ ง - วิจารณ์ สิง่ พิมพ์ ส่ือ และวิจารณไ์ ด้ วจิ ารณญาณ รจู้ กั สอ่ื สาร - มงุ่ มัน่ ในการทางาน
ท่ีอา่ นในทุกๆ ด้านอยา่ งมี อเิ ล็กทรอนกิ ส์และ วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดง
เหตผุ ล แหล่งเรยี นร้ตู ่าง ๆ ความคิดเห็นอย่างมี - ความสามารถในการ
ในชุมชน หลักการและเหตผุ ล คดิ
- บทความ ประกอบ
- นทิ าน
- เรือ่ งส้นั
ฯลฯ

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ - จบั ใจความ ข่าวสารจากส่อื - จบั ใจความสาคญั จากเร่ือง - สามารถตอบคาจาก - ความสามารถในการ - ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาใน
ตอบคาถามจากการอ่าน - ตอบคาถาม สง่ิ พมิ พ์ สอื่ สือ่ สาร การฟัง ดู พดู อา่ น และ
ประเภทต่างๆ ภายใน ทอ่ี า่ นได้ เรอื่ งที่อ่านได้ - ความสามารถในการคดิ เขยี นได้อยา่ งถูกต้อง
เวลาท่ีกาหนด อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละ - มคี วามมุ่งมัน่ ฝกั ใฝ่ใน
แหลง่ เรียนรูต้ ่าง ๆ การเรยี นรู้และปฏิบตั ิ
ในชมุ ชน
- บทความ
- นทิ าน
- เรื่องสั้น
ฯลฯ

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตัวช้วี ัด(Indicator) คาสาคญั แกนกลาง (Core
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning (Key Word) Content) /สาระการ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลกั สตู ร ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เรียนรู้ (Content) (Attribute) ( A)
(Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอยา่ งไร)
ข่าวสารจากส่อื
Outcome) ส่ิงพมิ พ์ สื่อ (ร้อู ะไร) (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาใน
อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ การฟงั ดู พูด อา่ น และ
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ - เขยี นผัง แหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ - เขา้ ใจและอธบิ ายการเขยี น - เขียนเขยี นผงั ความคดิ - ความสามารถในการ เขียนได้อย่างถูกต้อง
ในชุมชน - มีความมุ่งมัน่ ฝักใฝ่ในการ
อา่ นเรือ่ งต่างๆ แลว้ เขียน ความคิด - บทความ ผังความคิดได้ ได้ ส่ือสาร
- นิทาน เรียนรู้และปฏิบตั ิ
กรอบแนวคิดผงั ความคิด - เขียนยอ่ - เร่อื งส้นั - เขา้ ใจและอธิบายหลกั การ - เขียนบนั ทกึ ย่อ - ความสามารถในการคิด
ฯลฯ
บันทึก ยอ่ ความ และ ความ เขียนบันทึก ย่อความ และ ความ และรายงานได้

รายงาน รายงานได้

ท.๑.๑ ม.๔-๖/๙ มี - มีมารยาท มารยาทในการอ่าน - บอกมารยาทในการอา่ นได้ - มีมารยาทในการอา่ น - ความสามารถในการใช้ - ผเู้ รยี นมีมารยาททางสงั คม
มารยาทในการอา่ น ทกั ษะชวี ิต และสามารถแสดงออกอยา่ ง
เหมาะสม

ตารางท่ี 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ช้ีวดั หรือผลการเรียนรู้ กับพฤตกิ รรมการเรยี นรู้

สาระท่ี (Strand) ๒ การเขียน

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ชีว้ ัด(Indicator) แกนกลาง (Core
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคัญ Content) /สาระการ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสูตร ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
(Key Word) เรียนรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอยา่ งไร)
การเขียนสอ่ื สารใน (รอู้ ะไร)
รูปแบบตา่ งๆ เชน่ (ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) - ผู้เรยี นสามารถใช้
- อธบิ าย - อธบิ ายการเขียนสื่อสารใน ภาษาในการฟัง ดู พดู อ่าน
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ - เขยี นสอ่ื สาร - บรรยาย รปู แบบตา่ ง ๆ ได้ - เขียนสื่อสารไดต้ รง - ความสามารถในการ และเขยี นได้อย่างถูกตอ้ ง
- พรรณนา
เขยี นส่ือสารในรูปแบบ - แสดงทรรศนะ - อธบิ ายส่วนประกอบ ตามวัตถุประสงค์ สอ่ื สาร - มคี วามมงุ่ มน่ั ฝักใฝ่ใน
- โตแ้ ยง้ หลักการเกี่ยวกบั การเขยี น การเรยี นรู้และปฏิบัติ
ตา่ งๆ ได้ ตรงตาม - โน้มนา้ ว เรียงความได้ - เขียนบรรยายอยา่ ง - ความสามารถในการ
ฯลฯ - ผู้เรียนสามารถใช้
วตั ถุประสงค์ โดยใช้ภาษา การเขียนเรียงความ สร้างสรรค์ได้ คิด ภาษาในการฟัง ดู พูด อา่ น
และเขยี นไดอ้ ย่างถูกต้อง
เรยี บเรยี งถกู ต้อง มีขอ้ มลู - ความสามารถในการ
- มีความมุง่ มน่ั ฝกั ใฝ่ใน
และสาระสาคัญชัดเจน ใชเ้ ทคโนโลยี การเรยี นรู้และปฏิบตั ิ

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ - เขยี น - บอกประเภทของเขียน - เขยี นเรยี งความได้ - ความสามารถในการ
เขียนเรียงความ เรียงความ ส่อื สาร
สอ่ื สารในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ ถูกต้องครบถว้ นตาม
- ความสามารถในการ
- อธิบายการเขียนส่อื สาร องคป์ ระกอบ คดิ

ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ - เขียนบรรยายอย่าง - ความสามารถในการ
ใชเ้ ทคโนโลยี
- อธิบายส่วนประกอบ สรา้ งสรรค์ได้

หลักการเกย่ี วกบั การเขยี น

เรยี งความได้

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตวั ชีว้ ัด(Indicator) แกนกลาง (Core
หรอื ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
(Key Word) เรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เปน็ คนอยา่ งไร)
การเขยี นย่อความ (รอู้ ะไร)
จากสอ่ื ต่างๆ เช่น (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษา
- กวีนิพนธ์ และ - บอกหลกั การและรูปแบบ ในการฟัง ดู พูด อ่าน และ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓ - เขยี นยอ่ วรรณคดี การเขยี นย่อความท่ดี ไี ด้ - เขยี นยอ่ ความจาก - ความสามารถในการ เขยี นได้อย่างถูกต้อง
- เรอื่ งสน้ั สารคดี
เขยี นย่อความจากส่ือท่มี ี ความ นวนยิ าย บทความ ส่ือท่มี รี ปู แบบ และ สื่อสาร - มคี วามมุ่งมน่ั ฝกั ใฝ่ใน
ทางวิชาการ และ การเรยี นรู้และปฏิบัติ
รูปแบบ และเนื้อหา วรรณกรรมพ้ืนบ้าน เนอ้ื หาหลากหลาย - ความสามารถในการ

หลากหลาย คดิ

- ความสามารถในการ

ใช้ทกั ษะชีวิต

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕ - การประเมนิ การประเมินคณุ ค่า - บอกหลกั การประเมิน - วเิ คราะห์เน้อื หางาน - ความสามารถในการ - ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาใน
เบื้องตน้ เขียน สรปุ การประเมนิ สอ่ื สาร การฟัง ดู พูด อ่าน และ
ประเมินงานเขยี นของผูอ้ ืน่ งานเขียน งานเขยี นในดา้ น และสามารถนาผลการ เขียนได้อยา่ งถูกต้อง
ประเมนิ มาเป็นแนว - ความสามารถในการ
แล้วนามาพัฒนางานเขียน ตา่ งๆ เชน่ ทางการพฒั นางานเขยี น คิด - มีความมงุ่ มน่ั ฝักใฝ่ใน
ของตนเองในการเขียน การเรียนรู้และปฏิบัติ
ของตนเอง - แนวคดิ ของผู้เขยี น ครั้งต่อไป - ความสามารถในการ
ใช้ทกั ษะชวี ิต
- การใชถ้ อ้ ยคา

- การเรยี บเรยี ง

- สานวนโวหาร

- กลวธิ ีในการเขียน

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
แกนกลาง (Core
และตวั ชี้วัด(Indicator) คาสาคัญ Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
เรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
หรือผลการเรียนรู้ (Learning (Key Word) (Process) (P) (Competencies) (C) (เปน็ คนอยา่ งไร)
- การเขยี นรายงาน (รูอ้ ะไร)
Outcome) เชงิ วชิ าการ (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) - ผู้เรยี นสามารถใช้ภาษา
- การเขยี นอา้ งองิ - บอกหลกั การเขยี น ในการฟัง ดู พดู อ่าน และ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖ - เขยี น ขอ้ มลู สารสนเทศ รายงานเชิงวชิ าการ และ - เขียนรายงานการศึกษา - ความสามารถในการ เขยี นได้อยา่ งถูกต้อง
อ้างองิ ข้อมูลตามรูปแบบที่
เขียนรายงานการศกึ ษา รายงาน ถูกต้องได้ ค้นควา้ ที่สนใจไดถ้ ูกตอ้ ง สือ่ สาร - มคี วามมงุ่ มัน่ ฝกั ใฝ่ใน
การเรียนรู้และปฏิบัติ
คน้ คว้า เรื่องทสี่ นใจตาม ตามรูปแบบ และอา้ งอิง - ความสามารถในการ

หลักการเขียนเชงิ วิชาการ ขอ้ มูลอย่างถูกต้อง คดิ

และใชข้ ้อมลู สารสนเทศ - ความสามารถในการ

อา้ งอิงอย่างถูกต้อง ใช้ทกั ษะชวี ติ

ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มมี ารยาท - มารยาทในการ - บอกมารยาทในการเขยี นได้ - มีมารยาทในการเขียน - ความสามารถในการใช้ - ผู้เรียนมมี ารยาททาง
มมี ารยาทในการเขยี น เขียน ทกั ษะชีวิต สงั คมและสามารถ
แสดงออกอย่างเหมาะสม

ตารางท่ี 2 ตารางวิเคราะหค์ วามเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ช้ีวดั หรือผลการเรียนรู้ กบั พฤติกรรมการเรยี นรู้

สาระที่ (Strand) ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้

และตวั ชว้ี ัด(Indicator) คาสาคญั แกนกลาง (Core ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สตู ร ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
(Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
หรือผลการเรียนรู้ (Learning (Key Word) Content) /สาระการ (Process) (P) (Competencies) (C) (เปน็ คนอยา่ งไร)
(รอู้ ะไร)
Outcome) เรียนรู้ (Content) (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) - ผเู้ รยี นสามารถใชภ้ าษา
- อธบิ ายหลกั การวิเคราะห์ ในการฟัง ดู พดู อ่าน และ
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - วิเคราะห์ - การวิเคราะห์ แนวคดิ การใชภ้ าษาและ - วิเคราะหแ์ นวคดิ การใช้ - ความสามารถในการ เขยี นได้อยา่ งถูกต้อง
ความน่าเชือ่ ถือจากเรอื่ งท่ี
วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ แนวคิด การใช้ภาษา ฟังและดไู ด้ ภาษาและความนา่ เชื่อถือ สอ่ื สาร - มคี วามมุ่งมนั่ ฝกั ใฝ่ใน
การเรยี นร้แู ละปฏบิ ตั ิ
ภาษา และความน่าเช่ือถือ และความน่าเช่ือถือ ของเร่ืองที่ฟงั และดู - ความสามารถในการคดิ

จากเร่อื งทีฟ่ งั และดู อยา่ ง จากเรือ่ งทฟี่ งั และดู

มีเหตผุ ล - การเลือกเรื่องท่ีฟัง

และดูอย่างมี

วจิ ารณญาณ

- การประเมินเรื่องท่ี

ฟงั และดเู พื่อกาหนด

แนวทางนาไป

ประยกุ ต์ใช้

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ - ประเมิน - การวเิ คราะห์ - บอกแนวทางการประเมิน - ประเมนิ เรอ่ื งทฟ่ี ังและดู - ความสามารถใน - ผู้เรยี นสามารถใช้
ประเมินเรื่องท่ีฟังและดู แนวคิด การใช้ภาษา เรือ่ งที่ฟงั และดูเบื้องตน้ ได้ ภาษาในการฟัง ดู พูด อ่าน
แล้วกาหนดแนวทางนาไป และความนา่ เช่ือถือ ได้ การสือ่ สาร และเขยี นได้อย่างถูกต้อง
ประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ จากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู
ชีวติ - การเลอื กเรอ่ื งที่ฟงั - กาหนดแนวทางโดย - ความสามารถใน - มีความม่งุ ม่นั ฝักใฝ่ใน
และดอู ย่างมี การเรยี นรู้และปฏบิ ัติ
วจิ ารณญาณ ประยุกตจ์ ากผลกร การคดิ

ประเมินเร่ืองที่ฟังและดู - ความสามารถใน

ได้ การใช้ทกั ษะชีวิต

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตวั ชี้วัด(Indicator) แกนกลาง (Core
หรือผลการเรียนรู้ (Learning คาสาคญั Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลกั สตู ร ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
(Key Word) เรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอย่างไร)
- การประเมินเรื่องที่ (รู้อะไร)
ฟงั และดเู พ่ือกาหนด (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด)
แนวทางนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้

ตารางท่ี 2 ตารางวิเคราะหค์ วามเช่ือมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วดั หรือผลการเรียนรู้ กบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้

สาระที่ (Strand) ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ชวี้ ดั (Indicator) แกนกลาง (Core
หรือผลการเรียนรู้ (Learning คาสาคัญ Content) /สาระการ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
(Key Word) เรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอยา่ งไร)
(รู้อะไร)
(ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธิบาย ธรรมชาตขิ องภาษา - อธบิ ายธรรมชาติ พลงั ของ - ใช้ภาษาไทยได้ถกู ต้อง - ความสามารถในการ - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษา
อธบิ ายธรรมชาตขิ อง พลังของภาษา ภาษา และลักษณะของ ตามลกั ษณะของภาษา สอ่ื สาร ในการฟัง ดู พดู อ่าน และ
ภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา ภาษาผา่ นตวั บทวรรณคดีได้ เขียนได้อย่างถูกต้อง
และลกั ษณะของภาษา - เสยี งในภาษา -จาแนกสว่ นประกอบ - ความสามารถในการ
- สว่ นประกอบของ - เขา้ ใจและสามารถ ของพยางค์และคาได้ คิด - มคี วามมุ่งมั่น ฝักใฝ่
ภาษา เชื่อมโยงวรรณกรรมพ้ืนบา้ น ในการเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิ
- องค์ประกอบของ และอธิบายภมู ิปัญญาทาง
พยางค์และคา ภาษาได้

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ - สร้าง การใช้คาและกลมุ่ คา - อธิบายความหมายของคา - เลอื กใชค้ า กลุม่ คาสรา้ ง - ความสามารถในการ - ผเู้ รียนสามารถใช้ภาษาใน
ใชค้ าและกลุ่มคาสร้าง ประโยค สร้างประโยค และกล่มุ คา การฟัง ดู พูด อา่ น และ
ประโยคตรงตาม - คาและสานวน ประโยคตรงตาม ส่ือสาร เขียนได้อยา่ งถูกต้อง
วตั ถุประสงค์ - การร้อยเรียง
ประโยค วัตถุประสงค์ - ความสามารถในการ - มคี วามมุ่งมนั่ ตงั้ ใจใน
- การเพม่ิ คา การเรียนรู้และปฏิบัติ มี
- การใช้คา - กาหนดคาและ คดิ ความมนั่ ใจ กลา้ แสดงออก
- การเขียนสะกดคา
กล่มุ คานาไปสร้าง

ประโยค

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตัวชี้วัด(Indicator) แกนกลาง (Core
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คาสาคัญ Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
(Key Word) เรียนรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอย่างไร)
(รอู้ ะไร)
(ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓ - ใช้ภาษา - ระดับของภาษา - อธิบายระดับภาษาและคา - ใชภ้ าษาได้เหมาะสม - ความสามารถในการ - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาใน
ใช้ภาษาเหมาะสมแก่ เหมาะสม - คาราชาศัพท์ ราชาศัพท์ กับกาลเทศะและบุคคล สอ่ื สาร การฟัง ดู พดู อา่ น และ
โอกาส กาลเทศะ และ เขยี นได้อยา่ งถูกต้อง
บุคคล รวมทงั้ คาราชา - ใช้คาราชาศัพท์ได้ - ความสามารถในการ
ศัพท์อย่างเหมาะสม ถูกต้อง คดิ - มคี วามมุง่ มัน่ ฝกั ใฝใ่ น
การเรยี นรแู้ ละปฏิบตั ิ
- สืบค้นคาราชาศพั ท์ - ความสามารถในการ
จากส่อื ตา่ งๆ ใช้ทกั ษะชวี ติ

- ความสามารถการใช้
เทคโนโลยี

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔ - แต่งบทรอ้ ย - กาพย์ โคลง ร่าย ผ้เู รียนจะไดเ้ รยี นร้เู ร่ือง ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบัติ โดยการ เกิดสมรรถนะตามหลักสูตร ผู้เรยี นสามารถใช้ภาษาใน
แตง่ บทร้อยกรอง กรอง และฉนั ท์ ฉันทลักษณ์ของร่าย ฝกึ การแต่งร่ายสภุ าพ ฝึก ดงั น้ี การฟัง ดู พดู อา่ น และ
โดยเฉพาะรา่ ยสุภาพ คณะ อา่ นออกเสยี ง โยงสัมผัส - ดา้ นการสอื่ สาร เขียนได้อยา่ งถูกต้อง
ของร่ายสุภาพ การส่งสมั ผสั - ดา้ นการคดิ มคี วามมุ่งมน่ั ตั้งใจในการ
การแตง่ ร่ายสุภาพ และการ เรยี นร้แู ละปฏบิ ตั ิ
อา่ นออกเสียง

ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕ - วเิ คราะห์ - อิทธพิ ลของ - อธบิ ายธรรมชาติ พลงั ของ - ใชภ้ าษาไทยได้ - ความสามารถในการ - ผู้เรยี นสามารถใช้ภาษา
วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของ ภาษาต่างประเทศ สอื่ สาร ในการฟัง ดู พูด อ่าน และ
ภาษาตา่ งประเทศและ และภาษาถิน่ ภาษา และลกั ษณะของ ถกู ต้องตามลักษณะของ เขยี นได้อย่างถูกต้อง
ภาษาถน่ิ - ความสามารถในการ
ภาษาได้ ภาษา คิด - มคี วามมุ่งมนั่ ฝักใฝ่ใน
การเรยี นรู้และปฏิบัติ
- อธิบายความหมายของ -จาแนกภาษ

ภาษาตา่ งประเทศและภาษา ตา่ งประเทศได้

ถนิ่ ได้

ตารางที่ 2 ตารางวิเคราะหค์ วามเช่ือมโยงของมาตรฐานและตวั ช้ีวดั หรือผลการเรยี นรู้ กบั พฤติกรรมการเรียนรู้

สาระที่ (Strand) ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรียนรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ช้ีวดั (Indicator) แกนกลาง (Core
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคัญ Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
(Key Word) เรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เปน็ คนอยา่ งไร)
(รู้อะไร)
(ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) - ผู้เรยี นสามารถใช้
ภาษาในการฟัง ดู พูด อ่าน
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ - วเิ คราะห์ - หลักการวเิ คราะห์ - อธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ - วิเคราะห์ วจิ ารณ์ - ความสามารถใน และเขยี นได้อย่างถูกตอ้ ง

วเิ คราะห์และวิจารณ์ - วจิ ารณ์ และวิจารณ์วรรณคดี วิจารณไ์ ด้ แนวคิด การใช้ภาษา การส่อื สาร - มีความมงุ่ มัน่ ฝักใฝ่ใน
การเรียนรู้และปฏบิ ัติ
วรรณคดีและวรรณกรรม และวรรณกรรม - อธบิ ายรสวรรณคดไี ด้ ลักษณะเด่น และประเมิน - ความสามารถใน
- รู้จกั ทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่
ตามหลักการวจิ ารณ์ เบอื้ งตน้ เรอื่ งท่ีฟงั และดอู ย่างมี การคดิ ได้ มีวนิ ยั มคี วามรบั ผิดชอบ

เบ้อื งต้น - จดุ มุง่ หมายการแตง่ เหตผุ ลได้ - ความสามารถใน

วรรณคดแี ละ - เขียนผังความคดิ การแก้ปัญหา

วรรณกรรม สรุปเร่ืองได้ - ความสามารถใน

- การพิจารณา การใช้ทักษะชวี ิต

รปู แบบของวรรณคดี - ความสามารถใน

และวรรณกรรม การใชเ้ ทคโนโลยี

- การพจิ ารณาเนื้อหา

และกลวธิ ใี นวรรณคดี

และวรรณกรรม

- การวิเคราะห์และ

การวจิ ารณ์วรรณคดี

และวรรณกรรม

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรยี นรู้

และตัวชว้ี ัด(Indicator) คาสาคญั แกนกลาง (Core ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
Content) /สาระการ (Knowledge) ( K) (Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning (Key Word) เรยี นรู้ (Content) (ทาอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) (เปน็ คนอยา่ งไร)
(รอู้ ะไร)
Outcome) - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาใน
การฟงั ดู พดู อ่าน และ
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ - วิเคราะห์ การวิเคราะห์ลักษณะ - อธบิ ายรสวรรณคดีจกเรอ่ื ง - วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์ - ความสามารถใน เขยี นได้อย่างถูกต้อง

วเิ คราะหล์ กั ษณะเด่นของ เด่นของวรรณคดแี ละ ทอี่ า่ นได้ ลักษณะเดน่ ของวรรณคดี การสือ่ สาร - มคี วามม่งุ ม่นั ฝักใฝ่ใน
การเรยี นรู้และปฏบิ ัติ
วรรณคดีเช่อื มโยงกับการ วรรณกรรมเก่ียวกบั - บอกสภาพสังคมและ วรรณคดีเร่อื ง มหา - ความสามารถใน

เรียนรูท้ างประวตั ศิ าสตร์ เหตกุ ารณ์ วัฒนธรรมท่ปี รากฏในบท เวสสันดรชดก และ มัทน การคดิ

และวถิ ชี วี ิตของสงั คมใน ประวัติศาสตร์และวถิ ี วรรณคดีเร่ือง มหาเวสสนั ดร พาธา โดยเชือ่ มโยงกับ - ความสามารถใน

อดีต ชวี ิตของสงั คมในอดีต ชดก และ มัทนพาธา ได้ เหตกุ ารณท์ าง การแก้ปัญหา

ประวัตศิ าสตรแ์ ละวิถีชวี ติ - ความสามารถใน

ของสังคมในอดีตได้ การใชท้ กั ษะชวี ิต

- เขียนผงั ความคิดสรปุ - ความสามารถใน

ได้ การใช้เทคโนโลยี

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ - รวบรวม - การสังเคราะห์ - อธิบายภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ - รวบรวมวรรณกรรม - ความสามารถในการ - ผู้เรยี นสามารถใช้ภาษา
รวบรวมวรรณกรรม - อธิบาย วรรณคดีและ ทางภาษาได้ ท้องถน่ิ สอ่ื สาร ในการฟัง ดู พูด อ่าน และ
พน้ื บ้านและอธิบายภมู ิ วรรณกรรม เขยี นได้อยา่ งถูกต้อง
ปัญญาทางภาษา - บอกช่ือและอธิบาย - วเิ คราะห์กุศโลบาย - ความสามารถในการ
วรรณกรรมพ้นื บ้านทรี่ ู้จกั ได้ ทางภาษา คิด - มคี วามมุง่ มนั่ ฝกั ใฝ่ใน
การเรียนรู้และปฏบิ ตั ิ
- สงั เคราะห์ข้อคิดจาก - ความสามารถในการ
วรรณคดไี ด้ แก้ปญั หา - รจู้ ักทางานรว่ มกับผ้อู ื่น
ได้ มีวนิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ
- ความสามารถในการ
ใชท้ กั ษะชีวติ

- ความสามารถในการ
ใชเ้ ทคโนโลยี

มาตรฐาน (Standard) สาระการเรยี นรู้ พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตัวชีว้ ดั (Indicator) แกนกลาง (Core
หรอื ผลการเรยี นรู้ (Learning คาสาคญั Content) /สาระการ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
(Key Word) เรียนรู้ (Content) (Knowledge) ( K) (Attribute) ( A)
Outcome) (Process) (P) (Competencies) (C) (เป็นคนอย่างไร)
(รอู้ ะไร)
(ทาอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ - ทอ่ งจาบท บทอาขยานและบท - บอกความหมาย คาศัพท์ - ทอ่ งจาบทอาขยานท่ี - ความสามารถในการ - ผู้เรยี นสามารถใชภ้ าษา
รอ้ ยกรองท่มี ีคุณค่า และรูปแบบคาประพันธข์ อง กาหนดจากเรื่อง พระ สื่อสาร ในการฟัง ดู พดู อ่าน และ
ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบท อาขยาน - บทอาขยานตามท่ี บทอาขยานได้ เวสสนั ดรชาดก และมัทน - ความสามารถในการคิด เขียนได้อยา่ งถูกต้อง
กาหนด พาธา - ความสามารถในการ
อาขยานตามท่ีกาหนดและ - บอกคุณคา่ - บทร้อยกรองตาม แก้ปัญหา - มีความม่งุ มัน่ ฝักใฝ่ใน
ความสนใจ - นาบทอาขยาน ไป การเรียนรู้และปฏบิ ตั ิ
บทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่า อา้ งองิ ในงานเขยี นหรือ
การพดู - รู้จักทางานรว่ มกับผอู้ น่ื
ตามความสนใจและ ได้ มีวินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ

นาไปใช้อา้ งองิ

คาอธบิ ายรายวิชา(Course description)ภาษาไทย รหัสวิชา(Courses Code) ท๓๒๑๐๑

คาอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต

............................................................................................................................. ...................................................

ศึกษาการอ่านพิจารณาคณุ ค่าวรรณกรรม การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ ประเภทบทความ ความเรยี งและเรื่องสั้น อ่านรอ้ ยกรอง ประเภทร่าย อ่านจบั ใจความจากสื่อ
ต่างๆ มมี ารยาทและนิสยั รักการอา่ น ท่องจาบทประพันธท์ ่ีมีคุณค่า เขยี นเรยี งความ เขียนโครงการ รายงานการประชมุ การกรอกแบบรายการต่างๆ มีมารยาทและนิสัยรักการ
เขียน วเิ คราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และความเชือ่ ถอื จากการเร่ืองที่ฟงั และดู การเลือกเรือ่ งท่ีฟงั และดู อย่างมวี ิจารณญาณ การประเมนิ เรื่องที่ฟงั และดู การพดู ตอ่ ท่ปี ระชุมชน มี
มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ในโอกาสต่างๆ การใช้คาและกลุม่ คาสรา้ งประโยค แตง่ บทประพนั ธ์ประเภทร่าย อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถนิ่ ประเมินการใช้
ภาษาจากส่อื สิง่ พมิ พ์และสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมเบ้ืองต้น วิเคราะหล์ กั ษณะเดน่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์
ประวัติศาสตร์และวถิ ชี วี ติ ของสงั คมในอดตี ศึกษาคุณคา่ ภูมปิ ัญญาทางภาษาของไทย ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ พิจารณาวรรณคดสี มยั อยุธยา โดยใช้
กระบวนการกลมุ่ การอ่าน การเขียน การคดิ วเิ คราะห์ การฝกี ปฏิบตั ิ การสบื คน้ ข้อมลู และการอภิปราย แสดงความคดิ เหน็ เพ่ือให้มีความสามารถในการสื่อสาร ความคิด การ
แกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยีตลอดจนเหน็ คณุ ค่าการนาความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ตระหนักในคุณคา่ ของวรรณกรรมและวรรณคดีไทย มีความรกั ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มวี นิ ัย รกั ความเป็นไทย ภาคภมู ใิ จในภูมปิ ัญญาไทย ใฝ่หาความรอู้ ยา่ งสม่าเสมอ และมีจติ สาธารณะช่วยเหลอื สังคม

รหัสตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๕
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖

รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชี้วัด

ตารางท่ี ๓ กาหนดหนว่ ยการเรียนรู้ (Unit)

วชิ า (Course ) ภาษาไทย รหัสวิชา (Course Code) ท ๓๒๑๐๑

ช่อื หน่วยการเรียนรู้(Unit ) ตัวช้วี ัด(Indicator) สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนช่ัวโมง

๑. การอ่านออกเสียงรอ้ ยแกว้ และ ท ๑.๑ - หลกั การอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ ทีเ่ ป็นบทบรรยาย ๑
ร้อยกรอง ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดอ้ ยา่ ง และบทร้อยกรอง ๑

(๒ ชั่วโมง) ถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกบั เร่อื งที่อา่ น

๙. มมี ารยาทในการอา่ น - อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ บทรอ้ ยกรอง
- มารยาทในการอา่ น

๒. การอา่ นเพอ่ื วเิ คราะห์ วิจารณ์ ท ๑.๑ - การอ่านตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่อง ๔
พระเวสสันดร กณั ฑม์ ทั รี
(๔ ชว่ั โมง) ๒. ตคี วาม แปลความ และขยายความเรื่องทอี่ ่าน ๑

๓. การอ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ ท ๑.๑ - การอา่ นและการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
(๒ ช่วั โมง) ๓. วเิ คราะห์และวจิ ารณ์เร่ืองทอี่ ่าน ในทุกๆ ด้านอย่างมี
เหตผุ ล

๖. ตอบคาถามจากการอา่ นประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ - การอ่านและการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ
กาหนด

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้(Unit ) ตัวชีว้ ัด(Indicator) สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนช่วั โมง

๔. มหาเวสสันดรชาดก กณั ฑม์ ัทรี ท ๑.๑ - หลกั การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์เบื้องตน้ ๔
(๘ ช่ัวโมง) ๗. อ่านเรื่องตา่ งๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผงั ความคิด
- สรุปเนือ้ หาเรอ่ื ง พระเวสสันดรชาดก กัณฑ์มทั รี ๒
บันทกึ ยอ่ ความ และรายงาน - การประดษิ ฐผ์ ้าผะเหวดจากวัสดใุ นท้องถน่ิ
ท ๓.๑
- พลงั ของภาษา
๒. วเิ คราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเช่ือถือ - ลกั ษณะของภาษาในวรรณคดเี รอื่ ง มหาเวสสันดร
จากเรอื่ งที่ฟงั และดูอยา่ งมเี หตุผล ชาดก กัณฑม์ ัทรี
- ท่องจาบทอาขยาน
๓. ประเมินเรือ่ งท่ีฟังและดู แล้วกาหนดแนวทางนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิต
ท ๔.๑

๑. อธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา และ
ลักษณะของภาษา
ท ๕.๑

๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมตาม
หลักการวจิ ารณเ์ บื้องต้น

๒. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเช่ือมโยงกบั การ
เรียนรู้ทางประวัตศิ าสตรแ์ ละวิถีชวี ิตของสงั คมในอดีต

๕. รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บ้านและอธิบายภูมิปัญญา
ทางภาษา

๖. ทอ่ งจาและบอกคณุ ค่าบทอาขยานตามทกี่ าหนดและ
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง

ชอื่ หน่วยการเรียนรู้(Unit ) ตวั ชี้วดั (Indicator) สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนชว่ั โมง

๕. การแต่งคาประพันธ์ ท ๔.๑ - การแตง่ คาประพนั ธป์ ระเภทร่ายยาว
ประเภทรา่ ยยาว ๔. แต่งบทรอ้ ยกรอง ๓
(๒ ชว่ั โมง) ๓

๖. การเขยี นเรยี งความ และการ ท ๒.๑ - การอ่านเรียงความ
เขียนรายงานเชิงวิชาการ ๑. เขยี นสือ่ สารในรปู แบบต่างๆ ได้ ตรงตาม - การเขียนบรรยาย
- การเขียนโครงเรอ่ื งเรยี งความ
(๖ ชั่วโมง) วตั ถุประสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรยี งถกู ต้อง มีข้อมูล และ - มารยาทในการเขียน
สาระสาคญั ชัดเจน
- หลักการเขยี นเรียงความ
๒. เขียนเรียงความ - ฝึกเขียนเรยี งความ
๓. เขียนยอ่ ความจากสอ่ื ที่มีรูปแบบ และเนื้อหา - ทดสอบยอ่ ยเร่ือง การเขียนเรียงความ
หลากหลาย
๘. มมี ารยาทในการเขียน
ท ๔.๑
๒.ใชค้ าและกล่มุ คาสรา้ งประโยคตรงตามวัตถุประสงค์

ช่อื หน่วยการเรียนรู้(Unit ) ตวั ช้ีวดั (Indicator) สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนช่ัวโมง

๗. การประเมนิ คุณค่างานเขียน ท ๒.๑ - แนวทางการประเมนิ คุณคา่ งานเขยี น ๒
(๔ ชัว่ โมง) ๕. ประเมินงานเขยี นของผ้อู ืน่ แล้วนามาพัฒนางาน
- ประเมินคณุ คา่ งานเขยี น สารคดี ๑
เขียนของตนเอง - ประเมนิ คณุ คา่ งานเขยี น กวีนพิ นธ์ ๑

๘. วัฒนธรรมกับภาษา ท ๔.๑ ๒
( ๒ ชัว่ โมง) ๑. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา และ - อทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถ่นิ

๙. ความคดิ กับภาษา ลกั ษณะของภาษา
( ๔ ชั่วโมง) ๓. ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ และบุคคล - คาสภุ าพ คาราชาศัพท์

รวมทั้งคาราชาศัพท์
๕. วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่นิ

ท ๔.๑ - อ่านและวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
๑. อธบิ ายธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา และ

ลกั ษณะของภาษา - ภาษาแสดงเหตุผล ๒
๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ และบุคคล - การใช้คาได้อยา่ งเหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส

รวมท้งั คาราชาศัพท์

ชื่อหน่วยการเรียนรู้(Unit ) ตัวชว้ี ัด(Indicator) สาระการเรียนรู้ (Content) จานวนช่วั โมง

๑๐. บทละครพดู เร่ืองมัทนะพาธา ท ๑.๑ - เร่ืองย่อ มัทนพาธา ๒
- ตอบคาถามจากเร่ือง มัทนพาธา
(๖ ชว่ั โมง) ๗. อา่ นเรอ่ื งต่างๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิดผงั ความคิด ๒
- การอ่านและวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีจากตวั บท
บนั ทกึ ยอ่ ความ และรายงาน เรอ่ื ง มทั นพาธา

ท ๓.๑ - แสดงละคร วิเคราะห์ลักษณะเดน่ ของวรรณคดี
- ท่องจาและบอกคุณคา่ บทอาขยาน
๒. วเิ คราะห์ แนวคิด การใชภ้ าษา และความนา่ เชื่อถือ - รวบรวมวรรณกรรมพื้นบา้ น

จากเรอ่ื งที่ฟังและดูอยา่ งมีเหตผุ ล

๓. ประเมินเรอื่ งท่ีฟังและดู แลว้ กาหนดแนวทางนาไป

ประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชวี ติ

ท ๔.๑

๑. อธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของภาษา และ

ลักษณะของภาษา

ท ๕.๑

๑. วิเคราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตาม

หลักการวิจารณเ์ บื้องต้น

๒. วเิ คราะหล์ กั ษณะเด่นของวรรณคดีเช่ือมโยงกับการ

เรยี นรู้ทางประวตั ศิ าสตร์และวถิ ีชวี ิตของสังคมในอดตี

๕. รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บา้ นและอธบิ ายภมู ิปัญญา
ทางภาษา

๖. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามทีก่ าหนดและ
บทรอ้ ยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิง

หน่วยท่ี ๑๐ ผงั มโนทศั น(์ Mind Map) ของการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๒
บทละครพูดเรือ่ ง มัทนพาธา กรอ่านเพอื่ วิเคราะห์ วิจารณ์
วิชา (Course ) ภาษาไทย ท๓๒๑๐๑
จานวน ๖ ช่วั โมง จานวน ๔ ชว่ั โมง
หน่วยที่ ๑
การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง

จานวน ๒ ชัว่ โมง

หนว่ ยที่ ๙ ผังหน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๓
ความคดิ กบั ภาษา และจานวนชั่วโมง การอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ
จานวน ๖ ชวั่ โมง วชิ าภาษาไทย รหัส ท๓๒๑๐๑
จานวน ๒ ชัว่ โมง
หน่วยที่ ๘
วฒั นธรรมกับภาษา หนว่ ยที่ ๔
จานวน ๒ ชั่วโมง มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑ์มัทรี

จานวน ๘ ชั่วโมง

หนว่ ยที่ ๗ หนว่ ยท่ี ๖ หนว่ ยท่ี ๕
การประเมนิ คุณคา่ งานเขยี น การเขยี นเรยี งความและการเขียน การแต่งคาประพนั ธ์ประเภทร่ายยาว

จานวน ๔ ช่ัวโมง รายงานเชงิ วิชาการ จานวน ๒ ช่ัวโมง
จานวน ๖ ช่วั โมง

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ (Learning Assessment Plan)

หลกั ฐานการเรยี นรู(้ Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning

หนว่ ย ตัวชี้วัด(Indicator) Assessment) หลกั ฐานการเรียนรู/้ แนวทางการวดั วิธกี ารและเคร่ืองมือการวัด
ที่ ประเมินผล (ข้อความใน Columนีใ้ หค้ ดั ลอก ประเมนิ ผล
คาสาคญั

(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู้(คดั ลอกมาจากตาราง 2)

ไปใส่ตารางท9ี่ )

๑ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ - อ่านออก ดา้ นความรู้ (K) - ใบงาน - แบบประเมนิ คุณภาพผลงาน

อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ เสยี ง - บอกหลักการอ่านบทร้อยแกว้ และบทร้อย - ทดสอบการอ่านออกเสียง นักเรียน

และบทร้อยกรองได้อย่าง กรองได้ - แบบประเมนิ ใบงาน

ถูกต้อง ไพเราะและเหมาะสม ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - แบบประเมินการอา่ นบทรอ้ ย

กับเรื่องทอ่ี า่ น - อ่านออกเสียงได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและ กรอง ชนดิ รบู ิคสกอร์ ๓ ระดับ ๕

เหมาะสมกับเรื่องท่ีอา่ น รายการ ๑๕ คะแนน
- อา่ นบทรอ้ ยกรองได้อย่างถกู ต้องตามฉนั ท -

ลักษณ์
- มมี ารยาทในการอ่าน

ด้านสมรรถนะตามหลกั สตู ร (C)
เกิดสมรรถนะตามหลกั สตู ร ดังนี้
- ดา้ นการส่อื สาร
- การคิด

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
- เห็นความสาคัญของการอ่านออกเสยี งบท

รอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง รวมถงึ มีมารยาทใน
การอา่ น

- สามารถใชภ้ าษาในการฟัง ดู พูด อา่ น และ
เขยี นได้อย่างถูกต้อง

- มีความมุง่ ม่ันตงั้ ใจในการเรียนรู้และปฏบิ ัติ

หลักฐานการเรียนรู(้ Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธกี ารและเคร่ืองมือการวัดและประเมินผล(Learning

หน่วย Assessment)
ท่ี
ตวั ชีว้ ดั (Indicator) คาสาคญั หลกั ฐานการเรยี นร/ู้ แนวทางการวดั วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวัด

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ข้อความใน Columนี้ให้คัดลอก ประเมินผล

ไปใส่ตารางท9่ี )

๑ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙ - มีมารยาท ด้านความรู้ (K) - นกั เรียนรว่ มอภปิ รายมารยาทของการอ่าน - สังเกตพฤติกรรม การให้ความ
มีมารยาทในการอา่ น
- บอกมารยาทในการอา่ นได้ โดยใหน้ ักเรียนบอกมารยาทการอา่ นมาให้ รว่ มมือในการระดมความคิดบอก

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) มากทส่ี ุด แล้วหลอมรวมเป็นข้อมลู มารยาท มารยาทการอ่านของนักเรยี น

- มมี ารยาทในการอ่าน การอา่ น

ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร (C)

- ความสามารถในการส่อื สาร

- ความสามารถในการคิด

ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)

- ผู้เรียนมีมารยาททางสังคมและสามารถ

แสดงออกอย่างเหมาะสม

๒ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒ - ตีความ ดา้ นความรู้ (K) - ใบงาน - แบบประเมนิ การเขยี นแปล
ความ ตคี วาม และขยายความ
ตคี วาม แปลความ และขยาย - แปลความ - เข้าใจและอธิบายความหมายของการตีความ - การทดสอบย่อย ชนิดรบู ิคสกอร์ ๓ ระดบั ๕
รายการ ๑๕ คะแนน
ความเรื่องที่อ่าน - ขยาย แปลความ และขยายความได้ - การทดสอบย่อยจานวน ๑๐ ขอ้

ความ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

- ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่องที่

อา่ นได้

หลักฐานการเรยี นรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเครื่องมือการวัดและประเมินผล(Learning

หน่วย ตวั ชี้วดั (Indicator) Assessment) หลักฐานการเรียนร้/ู แนวทางการวดั วิธีการและเคร่ืองมือการวัด
ท่ี ประเมนิ ผล(ข้อความใน Columนใ้ี หค้ ดั ลอก ประเมนิ ผล
คาสาคญั

(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู้(คัดลอกมาจากตาราง 2)

ไปใสต่ ารางท9ี่ )

ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร (C)

- ความสามารถในการส่อื สาร
- ความสามารถในการคดิ
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
- ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาในการฟงั ดู พดู
อา่ น และเขยี นได้อย่างถูกต้อง
- มีความมุง่ ม่ัน ฝักใฝ่ในการเรยี นรู้และปฏบิ ัติ

๓ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓ - วิเคราะห์ ด้านความรู้ (K) - ใบงาน - แบบประเมนิ ผลงานนกั เรียน
ชนดิ รบู คิ สกอร์ ๓ ระดับ ๕
วิเคราะห์และวจิ ารณ์เรือ่ งท่ี - วจิ ารณ์ - อธบิ ายหลักการวเิ คราะหแ์ ละวิจารณไ์ ด้ รายการ ๑๕ คะแนน

อ่านในทุกๆ ด้านอยา่ งมี ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

เหตผุ ล - สามารถอ่านอยา่ งมวี ิจารณญาณ รู้จกั

วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมี

หลักการและเหตผุ ลประกอบ

ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร

- ความสามารถในการคดิ

ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

- ใฝเ่ รยี นรู้

- มงุ่ มั่นในการทางาน

หน่วย ตัวชว้ี ดั (Indicator) หลกั ฐานการเรียนร้(ู Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเครื่องมือการวัดและประเมนิ ผล(Learning
ที่ คาสาคญั Assessment)

(Key Word) หลกั ฐานการเรียนรู/้ แนวทางการวัด วิธีการและเครื่องมือการวัด

พฤติกรรมการเรยี นรู้(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ข้อความใน Columนใ้ี ห้คดั ลอก ประเมินผล

ไปใสต่ ารางท9่ี )

๓ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖ - ตอบ ด้านความรู้ (K) - ผเู้ รยี นรว่ มกนั ตอบคาถามและแสดงความ - แบบทดสอบ

ตอบคาถามจากการอ่าน คาถาม - จับใจความสาคัญจากเร่ืองท่ีอา่ นได้ คิดเหน็ จากเรื่องที่อ่าน - การสังเกต

ประเภทต่างๆ ภายในเวลาท่ี ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - ผู้เรยี นแลกเปล่ียนเรยี นรดู้ ว้ ยการอภิปราย

กาหนด - สามารถตอบคาจากเรือ่ งท่ีอ่านได้ ในหอ้ ง โดยแสดงเหตผุ ลอยา่ งเหมาะสม

ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร

- ความสามารถในการคิด

ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

- ผู้เรยี นสามารถใชภ้ าษาในการฟัง ดู พูด

อ่าน และเขียนได้อยา่ งถูกต้อง

- มีความม่งุ มั่น ฝกั ใฝ่ในการเรียนรู้และปฏิบัติ

๔ ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ - เขียนผงั ด้านความรู้ (K) - นกั เรียนอา่ นวรรณคดี แลว้ แบ่งกลุม่ จดั ทา - แบบประเมนิ ใบงาน

อา่ นเร่อื งต่างๆ แลว้ เขียน ความคดิ - เข้าใจและอธิบายการเขยี นผังความคิดได้ แผนผงั ความคิดสรุปเร่ือง พร้อมนาเสนอหน้า - แบบประเมินคุณภาพผลงาน

กรอบแนวคิดผงั ความคิด - เขียนยอ่ - เขา้ ใจและอธบิ ายหลักการเขยี นบนั ทกึ ย่อความ ชัน้ เรยี น นกั เรียนชนดิ รูบิคสกอร์ ๓ ระดับ

บันทึก ย่อความ และรายงาน ความ และรายงานได้ - นกั เรียนเขียนบันทึก เขียนย่อความ และ ๕ รายการ ๑๕ คะแนน

รายงานจากเร่ืองท่ีอา่ น

หลักฐานการเรยี นรู(้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ กี ารและเคร่อื งมือการวัดและประเมนิ ผล(Learning

หน่วย Assessment)
ท่ี
ตัวชวี้ ดั (Indicator) คาสาคญั หลักฐานการเรยี นร้/ู แนวทางการวัด วธิ กี ารและเครื่องมือการวัด

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ข้อความใน Columนใี้ ห้คดั ลอก ประเมนิ ผล

ไปใส่ตารางท9่ี )

๔ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

- เขียนเขียนผงั ความคดิ ได้

- เขียนบันทึก ยอ่ ความ และรายงานได้

ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สูตร (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร

- ความสามารถในการคิด

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

- ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการฟงั ดู พูด

อ่าน และเขยี นได้อยา่ งถูกต้อง

- มคี วามมุง่ ม่ัน ฝักใฝ่ในการเรียนรู้และ

ปฏบิ ัติ

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - วเิ คราะห์ ด้านความรู้ (K) - นักเรยี นรว่ มอภปิ รายวเิ คราะหก์ ารใชภ้ าษา - สังเกตพฤติกรรม
วเิ คราะห์ แนวคิด การใช้
ภาษา และความน่าเชื่อถือ - อธิบายหลกั การวิเคราะห์วรรณกรรมและ โฆษณาจากส่ือทางโทรทัศน์ - ตรวจใบงาน
จากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู อยา่ งมี
เหตผุ ล วรรณคดีทั่วไปได้ - นักเรยี นทาใบงานการวเิ คราะห์และประเมิน

ด้านทักษะกระบวนการ (P) ค่าเรอื่ งทฟ่ี งั และดู

- วเิ คราะห์เรือ่ งที่อ่านได้

ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สูตร (C)

- ความสามารถในการสอ่ื สาร

หลักฐานการเรยี นรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธีการและเครื่องมือการวดั และประเมินผล(Learning

หน่วย Assessment)
ที่
ตวั ชวี้ ดั (Indicator) คาสาคญั หลักฐานการเรียนร้/ู แนวทางการวดั วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวดั

(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู้(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ข้อความใน Columน้ีให้คดั ลอก ประเมินผล

ไปใส่ตารางท9่ี )

๔ - ความสามารถในการคิด

ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

- ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาในการฟัง ดู พูด

อ่าน และเขยี นได้อย่างถูกต้อง

- มีความมุ่งมนั่ ฝักใฝ่ในการเรียนรู้และ

ปฏบิ ัติ

ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒ - วเิ คราะห์ ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นรว่ มอภิปรายวิเคราะหก์ ารใช้ภาษา - สังเกตพฤติกรรม
วเิ คราะห์ แนวคดิ การใช้
ภาษา และความน่าเชอื่ ถือ - อธิบายหลกั การวเิ คราะหแ์ นวคิด การใช้ โฆษณาจากสื่อทางโทรทศั น์ - ตรวจใบงาน
จากเร่ืองทฟี่ งั และดู อย่างมี
เหตผุ ล ภาษาและความน่าเช่อื ถือจากเร่อื งที่ฟงั และดูได้ - นกั เรยี นทาใบงานการวเิ คราะห์และประเมิน

ทักษะกระบวนการ (P) คา่ เรื่องที่ฟงั และดู

- วิเคราะห์แนวคดิ การใช้ภาษาและความ

น่าเช่อื ถือของเรือ่ งทฟ่ี ังและดู

ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สูตร (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร

- ความสามารถในการคดิ

ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

- ผ้เู รียนสามารถใชภ้ าษาในการฟัง ดู พดู

อ่าน และเขยี นได้อยา่ งถูกต้อง

- มคี วามมงุ่ ม่ัน ฝกั ใฝใ่ นการเรยี นรูแ้ ละปฏบิ ัติ

หลักฐานการเรยี นรู(้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ ีการและเครื่องมือการวดั และประเมินผล(Learning

หนว่ ย ตัวช้วี ัด(Indicator) Assessment) หลกั ฐานการเรยี นร/ู้ แนวทางการวัด วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวดั
ที่ ประเมินผล(ข้อความใน Columนี้ให้คัดลอก ประเมนิ ผล
คาสาคญั

(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู้(คัดลอกมาจากตาราง 2)

ไปใสต่ ารางท9ี่ )

๔ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓ - ประเมิน ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเรื่องทีฟ่ ังและดู - สงั เกตพฤติกรรม

ประเมนิ เร่ืองท่ีฟังและดู แล้ว - กาหนด - บอกแนวทางการประเมินเรอ่ื งท่ีฟงั และดู แลว้ ประเมนิ คุณคา่ เรื่องที่ฟงั และดูการฟังและ - ตรวจใบงาน

กาหนดแนวทางนาไป แนวทาง เบอื้ งตน้ ได้ ดูสือ่ ทหี่ ลากหลาย แล้วประเมินเรอ่ื งที่ฟังและ

ประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ติ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ดูอยา่ งมเี หตผุ ล

- ประเมนิ เรอื่ งที่ฟงั และดูได้ - นกั เรียนนาผลการประเมนิ ไปกาหนด

- กาหนดแนวทางโดยประยุกต์จากผลกร แนวทาง หรอื ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั

ประเมินเรื่องที่ฟงั และดไู ด้

ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สตู ร (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร

- ความสามารถในการคิด

- ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

- ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการฟัง ดู พูด

อ่าน และเขยี นได้อยา่ งถูกต้อง

- มีความมุง่ มนั่ ฝกั ใฝ่ในการเรียนรู้และ

ปฏบิ ตั ิ

หลักฐานการเรยี นร้(ู Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวัดและประเมินผล(Learning

หน่วย Assessment)
ท่ี
ตวั ชว้ี ัด(Indicator) คาสาคญั หลักฐานการเรยี นร/ู้ แนวทางการวดั วธิ กี ารและเครื่องมือการวัด

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมนิ ผล(ข้อความใน Columนี้ใหค้ ดั ลอก ประเมนิ ผล

ไปใสต่ ารางท9่ี )

๔ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ - อธบิ าย ด้านความรู้ (K) - นักเรียนแตล่ ะคนออกมานาเสนอตวั บททีต่ น - แบบประเมินใบงาน
อธบิ ายธรรมชาติของภาษา
พลงั ของภาษา และลักษณะ - อธบิ ายธรรมชาติ พลงั ของภาษา และ ได้คดั เลือก แล้วอธบิ ายว่าตวั บทท่นี ักเรยี น - แบบประเมนิ การนาเสนอ
ของภาษา
ลักษณะของภาษาผา่ นตัวบทวรรณคดไี ด้ เลือกน้ัน แสดงพลงั ภาษาในด้านใด สังเกต

- เขา้ ใจและสามารถเชื่อมโยงวรรณกรรม จากอะไร

พนื้ บ้านและอธบิ ายภูมิปัญญาทางภาษาได้ - นักเรียนแตล่ ะคนคน้ หาตวั บทท่แี สดงถึงพลงั

ทกั ษะกระบวนการ (P) ของภาษาในดา้ นต่าง ๆ ตามความสนใจ เชน่

- ใชภ้ าษาไทยได้ถูกต้องตามลักษณะของ ความเศร้าโศก ความงาม ความหรรษา ความ
ภาษา โกรธเกร้ียว ฝึกอธบิ ายความความรู้ ทง้ั การ
เขียน และการพูดถา่ ยทอดความรู้
-จาแนกส่วนประกอบของพยางค์และคาได้
ด้านสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร

- ความสามารถในการคิด

ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

- ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาในการฟงั ดู พดู
อา่ น และเขียนได้อยา่ งถูกต้อง

- มีความมงุ่ มัน่ ฝักใฝ่ในการเรียนรู้และ
ปฏิบัติ

หลกั ฐานการเรียนร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธีการและเครื่องมือการวดั และประเมินผล(Learning

หน่วย ตวั ช้ีวดั (Indicator) Assessment) หลักฐานการเรยี นรู้/แนวทางการวัด วธิ ีการและเครื่องมือการวัด
ที่ ประเมินผล(ข้อความใน Columนีใ้ ห้คดั ลอก ประเมนิ ผล
คาสาคญั

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้(คดั ลอกมาจากตาราง 2)

ไปใส่ตารางท9ี่ )

๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑ - วเิ คราะห์ ด้านความรู้ (K) - นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษาหลักการวิเคราะห์ - แบบประเมินคุณภาพผลงาน

วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดี - วิจารณ์ - อธบิ ายหลักการวิเคราะห์วจิ ารณไ์ ด้ วิจารณร์ ว่ มกนั เพ่ือเปน็ แนวทางและเป็นการ นักเรยี น

และวรรณกรรมตามหลกั การ - อธบิ ายรสวรรณคดีได้ แลกเปลย่ี นความรู้ - แบบประเมินใบงาน

วจิ ารณเ์ บ้ืองตน้ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - นักเรยี นรวมกลุ่มศึกษา และวิเคราะห์ - แบบประเมนิ การนาเสนอ

- วิเคราะห์ วิจารณ์ แนวคิด การใช้ภาษา วรรณคดเี รื่อง พระเวสสนั ดรชาดก และมัทน

ลกั ษณะเดน่ และประเมนิ เร่ืองที่ฟงั และดูอย่างมี พาธา และนาเสนอการวเิ คราะห์ วิจารณ์

เหตุผลได้

- เขยี นผงั ความคดิ สรปุ เรื่องได้

ดา้ นสมรรถนะตามหลกั สูตร (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร

- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
- ผู้เรยี นสามารถใช้ภาษาในการฟัง ดู พูด
อ่าน และเขยี นได้อยา่ งถกู ต้อง
- มีความมุง่ มั่น ฝกั ใฝ่ในการเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิ
- รู้จกั ทางานรว่ มกับผอู้ ื่นได้ มวี นิ ยั มคี วาม
รบั ผดิ ชอบ

หลกั ฐานการเรียนรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเครอื่ งมือการวดั และประเมินผล(Learning

หนว่ ย ตวั ชว้ี ดั (Indicator) Assessment) หลกั ฐานการเรียนรู้/แนวทางการวดั วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวดั
ที่ ประเมินผล(ข้อความใน Columนใี้ ห้คัดลอก ประเมนิ ผล
คาสาคญั

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้(คัดลอกมาจากตาราง 2)

ไปใส่ตารางท9ี่ )

๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ - วเิ คราะห์ ด้านความรู้ (K) - นักเรยี นฝึกวเิ คราะห์เบ้ืองต้นจาก - แบบประเมินใบงาน

วิเคราะห์ลักษณะเดน่ ของ - อธบิ ายรสวรรณคดีจกเร่ืองท่ีอ่านได้ วรรณกรรมทั่ว และฝกึ วิเคราะหบ์ ทร้อยกรอง

วรรณคดเี ชื่อมโยงกับการ - บอกสภาพสังคมและวัฒนธรรมท่ีปรากฏใน ว่ามีลกั ษณะเด่นอย่างไร

เรียนรทู้ างประวตั ศิ าสตรแ์ ละ บทวรรณคดีเร่ือง มหาเวสสันดรชดก และ มัทน - นักเรยี นอ่านตีบทวรรณคดี ค้นหาลกั ษณะ

วถิ ีชีวติ ของสังคมในอดีต พาธา ได้ เดน่ หรือ เนอื้ หาท่สี ะท้อนสงั คม และความรู้

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ทน่ี า่ สนใจ การนาข้อคิดไปประยกุ ต์ใช้

- วเิ คราะห์และวิจารณล์ ักษณะเด่นของ อภปิ รายความรรู้ ว่ มกนั ในช้ันเรยี น

วรรณคดีวรรณคดีเร่ือง มหาเวสสันดรชดก และ - นกั เรยี นรวมกลุม่ วิเคราะหล์ ักษณะเด่นของ

มทั นพาธา โดยเช่ือมโยงกบั เหตกุ ารณ์ทาง วรรณคดีที่อ่าน
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวถิ ชี วี ิตของสังคมในอดีตได้

- เขียนผงั ความคิดสรปุ ได้
ด้านสมรรถนะตามหลกั สตู ร (C)

- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแกป้ ญั หา
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
- ผู้เรยี นสามารถใชภ้ าษาในการฟัง ดู พดู
อ่าน และเขียนได้อยา่ งถกู ต้อง
- มคี วามมุ่งมนั่ ฝกั ใฝ่ในการเรยี นรู้และปฏิบัติ

หลกั ฐานการเรยี นร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ ีการและเครื่องมือการวัดและประเมินผล(Learning

หน่วย Assessment)
ที่
ตวั ชว้ี ัด(Indicator) คาสาคญั หลกั ฐานการเรยี นร/ู้ แนวทางการวดั วิธกี ารและเครื่องมือการวดั

(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู้(คดั ลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ข้อความใน Columนีใ้ หค้ ดั ลอก ประเมินผล

ไปใสต่ ารางท9่ี )

๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ - รวบรวม ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นอธบิ ายความเป็นมาของวรรณคดี - ตรวจใบงาน
รวบรวมวรรณกรรมพนื้ บ้าน
และอธิบายภมู ิปัญญาทาง - อธิบาย - อธบิ ายภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทางภาษาได้ และวรรณกรรมไทย ข้อคิดจากวรรณคดี เรอ่ื ง
ภาษา
- บอกชอ่ื และอธบิ ายวรรณกรรมพื้นบา้ นที่ มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑ์มทั รี และบทละคร

รจู้ ักได้ พดู เรอ่ื ง มัทนพาธาคาฉนั ท์ รวบรวม

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) วรรณกรรมท้องถน่ิ ท่ีรจู้ กั

- รวบรวมวรรณกรรมท้องถ่ิน
- วิเคราะห์กุศโลบายทางภาษา
- สงั เคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดีได้
ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร (C)

- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปญั หา
- ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
- ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
- ผู้เรยี นสามารถใชภ้ าษาในการฟงั ดู พดู
อ่าน และเขยี นได้อยา่ งถูกต้อง
- มีความมงุ่ มั่น ฝกั ใฝ่ในการเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิ
- รจู้ ักทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้ มวี นิ ัย มคี วาม
รบั ผดิ ชอบ

หลกั ฐานการเรยี นรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธีการและเครื่องมือการวดั และประเมินผล(Learning

หน่วย Assessment)
ที่
ตัวชวี้ ดั (Indicator) คาสาคญั หลักฐานการเรียนร้/ู แนวทางการวดั วิธกี ารและเคร่ืองมือการวดั

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้(คัดลอกมาจากตาราง 2) ประเมินผล(ข้อความใน Columนีใ้ ห้คดั ลอก ประเมนิ ผล

ไปใส่ตารางท9่ี )

๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖ - ท่องจาบท ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนจบั เพอ่ื นค่คู ดิ ฝึกอา่ นบทอาขยาน - สงั เกตพฤติกรรม

ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบท อาขยาน - บอกความหมาย คาศัพท์และรปู แบบคา และอภปิ รายถึงรปู แบบคาประพนั ธ์ - ทดสอบการท่องจาบทอาขยาน
- นักเรยี นรว่ มอภิปรายถงึ คุณค่าของบท
อาขยานตามท่ีกาหนดและบท - บอกคุณคา่ ประพนั ธข์ องบทอาขยานได้ อาขยานและการนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
- ทอ่ งจาบทอาขยาน
ร้อยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความ - นาไปใช้ ทกั ษะกระบวนการ (P)

สนใจและนาไปใชอ้ ้างอิง - ท่องจาบทอาขยานที่กาหนดจากเรื่อง พระ

เวสสนั ดรชาดก และมัทนพาธา

- นาบทอาขยาน ไปอา้ งอิงในงานเขยี นหรือ

การพูด

ด้านสมรรถนะ (C)

- ความสามารถในการสอื่ สาร

- ความสามารถในการคิด

- ความสามารถในการแก้ปญั หา

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

- ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาในการฟัง ดู พูด

อา่ น และเขยี นได้อยา่ งถูกต้อง

- มคี วามมุ่งมั่น ฝักใฝ่ในการเรียนรู้และปฏบิ ัติ

- รูจ้ ักทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ มวี ินัย มคี วาม

รับผิดชอบ

หน่วย ตัวชวี้ ัด(Indicator) หลกั ฐานการเรียนรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธีการและเคร่ืองมือการวดั และประเมนิ ผล(Learning
ที่ คาสาคญั Assessment)


Click to View FlipBook Version