The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนรายวิชาบังคับ รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หนังสือเรียนรายวิชาบังคับ รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

43

บทที่ 3
อาหารและโภชนาการ

สาระสาํ คัญ

มคี วามรคู วามเขาใจถึงปญหา สาเหตแุ ละการปองกันโรคขาดสารอาหาร ตลอดจนสามารถบอก
หลักการปฏิบัติตนตามหลักสุขาภิบาลดานอาหารไดอยางถูกตองเหมาะสมและสามารถจัดโปรแกรม
อาหารทีเ่ หมาะสมได

ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั

1. เขา ใจปญ หา สาเหตุและบอกวิธกี ารปอ งกนั โรคขาดสารอาหารได
2. อธิบายหลักการสขุ าภิบาลอาหารและนําไปปฏบิ ตั ิเปนกิจนิสัย
3. สามารถจดั โปรแกรมอาหารท่เี หมาะสมสาํ หรับบคุ คลกลมุ ตา ง ๆ เชน ผสู ูงอายุ ผปู ว ยไดอยาง
เหมาะสม

ขอบขายเน้อื หา

เรื่องท่ี 1 โรคขาดสารอาหาร
เรอื่ งท่ี 2 การสขุ าภบิ าลอาหาร
เรื่องท่ี 3 การจดั โปรแกรมอาหารใหเ หมาะสมกับบุคคลในครอบครัว

44

เรือ่ งท่ี 1 โรคขาดสารอาหาร

ประเทศไทยแมจ ะไดชอื่ วา เปน ดนิ แดนที่อุดมสมบูรณ มีอาหารมากมายหลากหลายชนดิ นอกจาก
จะสามารถผลติ อาหารพอเลยี้ งประชากรในประเทศไทยแลว ยงั มากพอท่จี ะสงไปจาํ หนา ยตางประเทศได
ปละมาก ๆ อกี ดวย แตก ระนัน้ ก็ตาม ยงั มรี ายงานวา ประชากรบางสวนของประเทศเปนโรคขาดสารอาหาร
อกี จํานวนไมน อ ย โดยเฉพาะทารกและเด็กกอ นวัยเรียน เดก็ เหลานี้อยใู นสภาพรางกายไมเ จรญิ เตบิ โตเตม็ ที่
มีความตา นทานตอโรคตดิ เชอื้ ตํ่า นอกจากน้ีนสิ ยั โดยสวนตวั ของคนไทยเปนสาเหตหุ นึ่งที่ทาํ ให
โรคขาดสารอาหาร ท้ังนเี้ พราะคนไทยเลือกกินอาหารตามรสปาก รบี รอ นกนิ เพือ่ ใหอ มิ่ ทอง หรอื กนิ ตามที่
หามาได โดยไมค ํานงึ ถงึ วามสี ารอาหารที่ใหค ณุ คาโภชนาการตอ รา งกายครบถวนหรือไมพ ฤตกิ รรมเหลา น้ี
อาจทําใหเกิดโรคขาดสารอาการไดโดยไมรูสึกตัว การเรียนรูเก่ียวกับสาเหตุและการปองกันโรคขาด
สารอาหารจะชวยใหเดก็ และเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงเติบโตเปน ผูใหญท ี่สมบูรณตอ ไป

ทัง้ น้ี เม่อื กนิ อาหารเขาสูรางกายแลว และอาหารจะถูกยอยสลายโดยอวัยวะตาง ๆ ภายในรางกาย
ใหเ ปนสารอาหารเพอ่ื นําไปทําหนาทต่ี า ง ๆ ดังนี้

1. ใหพลังงานและความรอนเพ่ือใชในการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ภายใน เชน การหายใจ
การยืดหดของกลามเน้อื การยอ ยอาหาร เปน ตน

2. สรางความเจรญิ เติบโตสําหรับเดก็ และชวยซอมแซมสวนทส่ี กึ หรอหรือชํารดุ ทรดุ โทรมในผใู หญ
3. ชว ยปองกนั และสรา งภูมติ า นทานโรค ทาํ ใหมสี ขุ ภาพแข็งแรงสมบูรณ
4. ชวยควบคุมปฏกิ ริ ิยาตา ง ๆ ภายในรา งกาย
ดังนน้ั ถารางกายของคนเราไดร บั สารอาหารไมค รบถวนหรือปริมาณไมเพียงพอกบั ความตองการ
ของรางกาย จะทําใหเ กดิ ความผดิ ปกตแิ ละเกดิ โรคขาดสารอาหารได
โรคขาดสารอาหารทสี่ ําคัญและพบบอยในประเทศไทย มีดังน้ี
1. โรคขาดโปรตีนและแคลอรี

โรคขาดโปรตีนและแคลอรีเปนโรคที่เกิดจากรางกายไดรับสารอาหารประเภทโปรตีน
คารโ บไฮเดรตและไขมันท่ีมีคณุ ภาพดไี มเ พียงพอ เปนโรคทพ่ี บบอยในเดก็ ทม่ี ีอายุต่ํากวา 6 ป โดยเฉพาะ
ทารกและเด็กกอนวัยเรียน อันเนื่องจากการเล้ียงดูไมเอาใจใส เรงการกินอาหารหรือไมมีความรูทาง
โภชนาการดีพอ ลักษณะอาการของโรคมี 2 รูปแบบ คือ ควาซิออรกอร (Kwashiorkor) และมาราสมัส
(Marasmus)

1.1 ควาซิออรก อร (Kwashiorkor) เปนลกั ษณะอาการท่ีเกิดจากการขาดสารอาหารประเภท
โปรตีนอยางมาก มักเกิดกับทารกทเี่ ลีย้ งดว ยนมขนหวาน นมผงผสมและใหอ าหารเสริมประเภทขาวหรือ
แปง เปน สว นใหญ ทําใหรางกายขาดโปรตนี สําหรบั การเจรญิ เติบโตและระบบตา งๆ บกพรอง ทารกจะมี
อาการซีดบวมทห่ี นา ขา และลําตัว เสน ผลบางเปราะและรวงหลุดงา ย ผิวหนังแหงหยาบ มีอาการซึมเศรา
มีความตา นทานโรคต่ํา ตดิ เชื้องา ยและสติปญญาเส่ือม

45

1.2 มาราสมสั (Marasmus) เปน ลักษณะอาการท่ีเกดิ จากการขาดสารอาหารประเภท โปรตีน
คารโบไฮเดรต และไขมันผูท่ีเปนโรคน้ีจะมีอาการคลายกับเปนควาซิออรกอรแตไมมีอาการบวมที่ทอง
หนาและขา นอกจากนีร้ างกายจะผอมแหง ศีรษะโต พุงโร ผวิ หนงั เหย่ี วยน เหมือนคนแกล อกออกเปน
ช้ันไดแ ละทองเสียบอ ย

อยา งไรกต็ าม อาจมีผปู ว ยท่ีมีลักษณะทัง้ ควาซอิ อรกอรแ ละมาราสมัสในคนเดยี วกนั ได

การปอ งกันและรักษาโรคขาดโปรตีนและแคลอรี
จากการสาํ รวจพบวา ทารกและเดก็ กอนวัยเรยี นในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เปนโรคขาดโปรตีน
และแคลอรีมากที่สุด นอกจากนจ้ี ากรายงานสถานภาพโภชนาการในประเทศไทยของกองโภชนาการ
กรมอนามยั ยังพบอกี วาในหญงิ มคี รรภและหญิงใหนมบุตรโดยเฉพาะในชนบทมีภาวะโภชนาการไมดี
ต้ังแตกอนต้ังครรภ มีอาการต้ังครรภต้ังแตอายุยังนอยและขณะตั้งครรภงดกินอาหารประเภทโปรตีน
เพราะเช่อื วาเปน ของแสลง ทาํ ใหไ ดร บั พลังงานเพยี งรอยละ 80 และโปรตนี รอยละ 62 – 69 ของปริมาณที่
ควรไดรบั
การขาดสารอาหารประเภทโปรตีนเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งของประเทศไทย โดยเฉพาะ
อยา งยง่ิ ในกลมุ ตง้ั แตว ยั ทารกจนถึงวัยรนุ ดวยเหตนุ ี้เพือ่ แกป ญหาดังกลา วจงึ ไดมีการสง เสรมิ ใหเ ลี้ยงทารก
ดวยนมมารดามากข้นึ และสง เสรมิ ใหเด็กดืม่ นมวัว นํา้ นมถั่วเหลืองเพิ่มข้ึน เพราะนํ้านมเปนสารอาหารท่ี
สมบูรณท ีส่ ดุ เนื่องจากประกอบดวยสารอาหารตา ง ๆ ครบทัง้ 5 ประเภท
นอกจากนี้ ในปจ จบุ นั ยงั มีหนว ยงานหลายแหงไดศึกษาคนควาหาวิธีการผลิตอาหารท่ีใหคุณคา
โปรตีน แตมีราคาไมแพงนัก ใหคนท่ีมีรายไดนอยไดกินกันมากขึ้น สถาบันคนควาพัฒนาผลิตภัณฑ
อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดคนควาทดลองผลิตอาหารโปรตีนจากพืชเพ่ือทดแทนโปรตีนจาก
สัตว เชน ใชผลติ ภัณฑจากถ่ัวเหลืองที่เรียกวาโปรตีนเกษตร ท่ีผลิตในรูปของเน้ือเทียมและโปรตีนจาก
สาหรายสีเขยี ว เปนตน

46

2. โรคขาดวติ ามนิ
นอกจากรางกายจะตองการสารอาหารประเภทโปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมันแลว ยัง

ตองการสารอาหารประเภทวิตามินและแรธ าตุอกี ดว ย เพ่ือชวยทําใหรางกายสมบูรณข้ึน คือ ชวยควบคุม
ใหอ วยั วะตา ง ๆ ทําหนา ที่ไดต ามปกติถึงแมรางกายจะตองการสารอาหารประเภทน้ีในปริมาณนอยมาก
แตถา ขาดไปจะทําใหการทํางานของรางกายไมสมบูรณและเกิดโรคตาง ๆ ได โรคขาดวิตามินที่พบใน
ประเทศไทยสวนมากเปนโรคทเ่ี กดิ จากการขาดวติ ามนิ เอ วิตามนิ บีหนง่ึ วิตามนิ บีสอง และวิตามินซี ซึ่งมี
รายละเอยี ดดังน้ี

โรคขาดวติ ามนิ เอ เกิดจากการรบั ประทานอาหารท่มี ไี ขมันตํา่ และมวี ิตามินเอนอยคนที่ขาด
วติ ามินเอ ถา เปนเด็กการเจริญเติบโตหยุดชะงัก สขุ ภาพออ นแอ ผิวหนงั หยาบแหงมีตุมสาก ๆ เหมือนหนงั
คางคก เน่ืองจากการอักเสบบรเิ วณกน แขน ขา ขอศอก เขาและหนาอก นอกจากน้ีจะมีอาการอักเสบใน
ชอ งจมูก หู ปาก ตอ มน้าํ ลาย เยอ่ื บตุ าและกระจก ตาขาวและตาดาํ จะแหง ตาขาวจะเปนแผลเปน ที่เรียกวา
เกล็ดกระด่ี ตาดําขนุ หนาและออ นเหลว ถา เปนรุนแรงจะมีผลทําใหตาบอดได ถาไมถึงกับตาบอดอาจจะ
มองไมเ ห็นในทส่ี ลวั หรอื ปรบั ตาในความมดื ไมได เรยี กวา ตาฟางหรอื ตาบอดกลางคนื

การปอ งกนั และรักษาโรคขาดวิตามินเอ ทาํ ไดโ ดยการกนิ อาหารที่มไี ขมนั พอควรและอาหาร
จําพวกผลไมผ กั ใบเขยี ว ผกั ใบเหลอื ง เชน มะละกอ มะมว งสกุ ผักบงุ คะนา ตาํ ลึง มันเทศ ไข นม สําหรับ
ทารกควรไดกนิ อาหารเสรมิ ทผี่ สมกบั ตับหรอื ไขแดงบด

โรคขาดวิตามินบีหน่ึง เกิดจากการรับประทานอาหารท่ีมีวิตามินบีต่ําและกินอาหารที่ไป
ขดั ขวางการดูดซึมวติ ามินบหี น่งึ คนทข่ี าดวติ ามนิ บหี น่งึ เปน โรคเหน็บชา ซ่ึงจะมีอาหารชาทั้งมือและเทา
กลามเนือ้ แขนและขาไมมกี าํ ลัง ผปู ว ยบางรายอาจมอี าการบวมรวมดวย ถาเปน มากจะมีอาการใจสั่น หัวใจ
โตและเตน เร็ว หอบ เหนอ่ื ยและอาจตายไดถ าไมไ ดร ับการรกั ษาทนั ทวงที

47

การปองกันและรักษาโรคขาดวิตามินบีหน่ึง ทําไดโดยการกินอาหารที่มีวิตามินบีหน่ึงให
เพียงพอและเปนประจํา เชน ขาวซอมมือ ตับ ถั่วเมล็ดแหง และเน้ือสัตว ควรหลีกเล่ียงอาหารท่ีทําลาย
วิตามนิ บีหนงึ่ เชน ปลาราดบิ หอยดบิ หมาก เมย่ี ง ใบชา เปนตน

โรคขาดวิตามินบีสอง เกิดจากการกินอาหารที่มีวิตามินบีสองไมเพียงพอ คนที่ขาด
วติ ามนิ บสี อง มกั จะเปน แผลหรือรอยแตกท่ีมุมปากท้ังสองขางหรือซอกจมูกมีเกล็ดใสเล็ก ๆ ล้ินมีสีแดง
กวา ปกตแิ ละเจ็บ หรือมแี ผลทผ่ี นังภายในปาก รูสึกคันและปวดแสบปวดรอนท่ีตา อาการเหลาน้ีเรียกวา
โรคปากนกกระจอก คนทีเ่ ปน โรคน้จี ะมอี าการ ออ นเพลีย เบ่อื อาหารและอารมณหงดุ หงิด

การปองกันและรักษาโรคขาดวิตามินบีสอง ทําไดโดยการกินอาหารท่ีมีวิตามินบีสองให
เพียงพอและเปน ประจํา เชน นมสด นมปรุงแตง นมถั่วเหลือง นํ้าเตาหู ถ่ัวเมล็ดแหง ขาวซอมมือ ผัก ผลไม
เปน ตน

โรคขาดวิตามินซี เกิดจากการกินอาหารท่ีมีวิตามินซีไมเพียงพอ คนท่ีขาดวิตามินซี
มกั จะเจ็บปวยบอ ย เนอ่ื งจากมคี วามตา นทานโรคตาํ่ เหงอื กบวมแดง เลือดออกงาย ถาเปนมากฟนจะโยก
รวน และมีเลอื ดออกตามไรฟนงา ย อาหารเหลา น้ีเรยี กวาเปน โรคลักปด ลกั เปด

การปอ งกนั และรักษาโรคขาดวติ ามินซี ทาํ ไดโ ดยการกินอาหารที่มวี ิตามนิ ซีใหเพียงพอและ
เปน ประจาํ เชน สม มะนาว มะขามปอม มะเขือเทศ ฝรั่ง ผกั ชี เปน ตน

จากทก่ี ลาวมาจะเหน็ ไดวา โรคขาดวิตามิน สวนมากมักจะเกี่ยวกับการขาดวิตามินประเภท
ละลายไดใ นน้ํา เชน วิตามินบี สาํ หรบั วติ ามนิ ที่ละลายในไขมัน เชน วติ ามนิ อแี ละวติ ามนิ เค มักจะไมคอย
เปนปญ หาโภชนาการ ทั้งนเ้ี พราะวิตามินเหลานี้บางชนิดรางกายของเราสามารถสังเคราะหขึ้นมาเองได
เชน วิตามินดี ผูท่ีออกกําลังกายกลางแจงและไดรับแสงอาทิตยเพียงพอ รังสีอัลตราไวโอเลตจาก
แสงอาทิตยสามารถเปล่ยี นสารทเี่ ปนไขมันชนิดหนงึ่ ใตผิวหนงั ใหเ ปนวติ ามินดไี ด สว นวติ ามินเค รางกาย

48

สามารถสงั เคราะหไ ดจ ากแบคทีเรียในลาํ ไสใ หญ ยกเวน วติ ามนิ เอ (A) ท่ีมีมากในผัก ผลไมสีเหลือง แดง
เขียว ที่มักสูญเสียงา ย เมือ่ ถูกความรอน

3. โรคขาดแรธ าตุ
แรธาตุนอกจากจะเปนสารอาหารท่ีชวยในการควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ

ในรางกายใหทาํ หนาที่ปกตแิ ลว ยงั เปน สว นประกอบทีส่ ําคัญของรางกายอีกดวย เชน เปนสวนประกอบ
ของกระดูกและฟน เลอื ด กลา มเนื้อ เปน ตน ดังที่กลาวแลว ดังน้ัน ถารางกายขาดแรธาตุอาจจะทําใหการ
ทาํ หนาทข่ี องอวัยวะผิดปกติ และทาํ ใหเกดิ โรคตา ง ๆ ไดด งั น้ี

โรคขาดธาตุแคลเซยี มและฟอสฟอรัส เกิดจากการกนิ อาหารทีม่ แี คลเซยี มและฟอสฟอรัสไม
เพียงพอ คนท่ีขาดแคลเซียมและฟอสฟอรสั จะเปนโรคกระดูกออน มักเปนกับเด็ก หญิงมีครรภและหญิง
ใหน มบตุ ร ทาํ ใหข อตอกระดกู บวม ขาโคงโกง กลามเนือ้ หยอน กระดกู ซ่ีโครงดา นหนารอยตอนูน ทําให
หนา อกเปน สนั ท่ีเรียกวา อกไก ในวยั เดก็ จะทาํ ใหการเจรญิ เติบโตชา โรคกระดูดออนนอกจากจะเกิดจาก
การขาดแรธ าตุท้ังสองแลว ยงั เกดิ จากการไดรบั แสงแดดไมเพยี งพออีกดว ย

การปองกันและรักษาโรคขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส ทําไดโดยการกินอาหารที่มี
แคลเซียมและฟอสฟอรสั ใหม ากและเปนประจํา เชน นมสด ปลาท่ีกินไดท้ังกระดูก ผักสีเขียว น้ํามันตับปลา
เปน ตน

โรคขาดธาตเุ หล็ก เกดิ จากการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กไมเพียงพอหรือเกิดจากความผิดปกติ
ในระบบการยอยและการดูดซึม คนที่ขาดธาตุเหล็กจะเปนโรคโลหิตจาง เนื่องจากรางกายสราง
เฮโมโกลบินไดน อยกวา ปกติ ทําใหร างกายออ นเพลยี เบอ่ื อาหาร มคี วามตานทานโรคต่าํ เปลือกตาขาวซีด
ล้ินอักเสบ เลบ็ บางเปราะและสมรรถภาพในการทํางานเส่อื ม

49

การปอ งกนั และรักษาโรคขาดธาตเุ หล็ก ทาํ ไดโดยการกินอาหารท่ีมีธาตุเหล็กและโปรตีนสูง
เปน ประจํา เชน ตับ เครอื่ งในสตั ว เน้อื สตั ว ผกั สเี ขียว เปนตน

โรคขาดธาตุไอโอดีน เกดิ จากการกินอาหารที่มีไอโอดนี ต่ําหรืออาหารท่ีมสี ารขดั ขวางการใช
ไอโอดนี ในรางกาย คนทข่ี าดธาตุไอโอดีนจะเปนโรคคอหอยพอกและตอ มไทรอยดบวมโต ถาเปนต้ังแต
เด็กจะมีผลตอการพัฒนาทางรางกายและจิตใจ รางกายเจริญเติบโตชา เตี้ย แคระแกร็น สติปญญาเส่ือม
อาจเปน ใบหรอื หหู นวกดวย คนไทยภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเปนโรคนี้กันมาก บางที
เรยี กโรคน้วี า โรคเออ

การปองกันและรกั ษาโรคขาดธาตุไอโอดนี ทําไดโดยการกนิ อาหารทะเลใหมาก เชน กุง หอย
ปู ปลา เปน ตน ถา ไมส ามารถหาอาหารทะเลไดค วรบริโภคเกลืออนามัย ซง่ึ เปนเกลือสมทุ รผสมไอโอดนี ที่
ใชในการประกอบอาหารแทนได นอกจากนี้ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน
พชื ตระกูลกะหลํ่าปลี ซึง่ กอนกินควรตม เสยี กอน ไมค วรกนิ ดิบ ๆ

สรปุ การขาดสารอาหารประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลาย ๆ ประเภท นอกจากจะมผี ลทําให
รางกายไมสมบูรณแ ข็งแรงและเปน โรคตาง ๆ ไดแลว ยังทําใหเปนอุปสรรคตอการดํารงชีวิต อีกทั้งยังมี
ผลกระทบตอ สุขภาพของประชากรโดยตรง ซ่ึงจะมผี ลตอ การพัฒนาประเทศในทีส่ ดุ ดงั นนั้ จึงจาํ เปน อยา ง
ย่ิงทที่ ุกคนควรเลือกกินอาหารอยางครบถวนตามหลักโภชนาการ ซึ่งไมจําเปนตองเปนอาหารที่มีราคา
แพงเสมอไป แตค วรกินอาหารใหไ ดสารอาหารครบถวนในปริมาณท่ีพอเพียงกับรา งกายตองการในแตละ
วัน นัน่ คอื หากกินใหด แี ลวจะสงผลถงึ สุขภาพความสมบรู ณแ ขง็ แรงของรางกาย ซ่ึงก็คอื อยูด ีดว ย

อยางไรกต็ าม โรคทเ่ี กี่ยวกับสารอาหารไมใ ชม เี ฉพาะโรคทเ่ี กดิ จากการขาดสารอาหารเทา นั้น
การท่ีรางกายไดรับสารอาหารบางประเภทมากเกินไปทําใหเกิดโรคไดเชนเดียวกัน โรคที่เกิดจากการ
ไดร ับสารอาหารมากเกินความตองการของรางกายมหี ลายโรคทีพ่ บเหน็ บอ ยในปจ จุบนั คือโรคอว น

โรคอวน เปนโรคท่เี กิดจากการกินอาหารมากเกนิ ความตองการของรางกาย ทําใหม ีการสะสมของ
ไขมันภายในรา งกายเกนิ ความจําเปน คนท่ีเปนโรคอวนอาจมีอาการอื่น ๆ ตามมา เชน วิตกกังวล ความ
ตานทานโรคตํา่ เปนสาเหตใุ หเกดิ โรคหวั ใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เปน ตน

50

ปจจุบันสภาวะสงั คมไทยเปลย่ี นแปลงไป โดยเฉพาะในเมืองใหญทุกคนตองทํางานแขงกับเวลา
ประกอบกับการท่คี านิยมการบรโิ ภคอาหารแบบตะวันตก เชน พิซซา แซนดวิส มนั ฝรง่ั ทอด ไกทอด เปนตน
จึงทําใหไดรับไขมันจากสัตวท่ีเปนกรดไขมันอ่ิมตัวและคลอเรสเตอรอลสูง จึงควรเลือกกินอาหารที่มี
ไขมันใหพ อเหมาะเพอ่ื ปองกนั โรคอวน โรคไขมันและคลอเรสเตอรอลในเลือดสูง ซึ่งจะมีผลใหเปนโรค
อื่น ๆ ตอไป นอกจากนี้การออกกําลังกายสม่ําเสมอเปนอีกวิธีหน่ึงที่ชวยปองกันและรักษาโรคอวนได
ถาอวนมาก ๆ ควรปรกึ ษาแพทย อยาใชย า สบู ครมี หรอื เคร่ืองมือลดไขมันตลอดจนการกินยาลดความอวน
ตามคาํ โฆษณา เพราะอาจทําใหเกิดอนั ตรายตอ รา งกายได

เรื่องท่ี 2 การสุขาภบิ าลอาหาร

การสุขาภิบาลอาหาร (Food Sanitation) หมายถึง การดําเนินการดวยวิธีการตางๆ ท่ีจัดการ
เกี่ยวกับอาหารทง้ั ในเรอ่ื งของการปรับปรุง การบาํ รงุ รักษาและการแกไขเพือ่ อาหารท่ีบริโภคเขาไปแลวมี
ผลดีตอ สุขภาพอนามัยโดยใหอาหารมีความสะอาด ปลอดภัยและมคี วามนาบรโิ ภค

อาหาร หมายความวา ของกนิ หรือเครือ่ งคํ้าจนุ ชีวติ ไดแก
1. วัตถทุ กุ ชนิดท่ีคนกนิ ด่มื อม หรอื นําเขา สรู างกายไมวาดวยวิธีใด ๆ หรือในรูปลักษณะใด ๆ
แตไมร วมถึงยา วัตถอุ อกฤทธิ์ตอ จิตและประสาท หรือยาเสพตดิ ใหโทษ
2. วัตถุท่มี ุงหมายสําหรบั ใชหรอื ใชเปนสวนผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร
สี และเครอ่ื งปรงุ แตงกล่ิน - รส
2.1. ความสาํ คัญของการสขุ าภิบาลอาหาร
อาหารเปนปจ จยั สําคัญของมนุษย ทุกคนตอ งบรโิ ภคอาหารเพื่อการเจรญิ เตบิ โตและการดาํ รงชวี ติ
อยไู ด แตก ารบริโภคอาหารน้นั ถา คาํ นงึ ถึงคุณคาทางโภชนาการ ความอรอย ความนาบริโภคและการกิน
ใหอิม่ ถือไดว าเปนการไมเพียงพอและสงิ่ สาํ คญั ทีต่ อ งพิจารณาในการบรโิ ภคอาหารนอกเหนือจากที่กลาว
แลว คอื ความสะอาดของอาหารและความปลอดภยั ตอสขุ ภาพของผูบริโภค ท้ังนี้เพราะวาอาหารที่เราใช
บริโภคนั้น แมวาจะมีรสอรอยแตถาเปนอาหารสกปรกยอมจะมีอันตรายตอสุขภาพของผูบริโภค
กอใหเ กดิ อาการปวดทอ ง อจุ จาระรวง อาเจียน เวยี นศีรษะ หนามดื ตาลาย เปน โรคพยาธทิ ําใหผอม ซบู ซีด
หรือแมแตเกดิ การเจบ็ ปวยในลกั ษณะเปนโรคเรอ้ื รัง โรคทีเ่ กิดน้เี รยี กวา “โรคที่เกิดจากอาหารเปนสื่อนํา”
ลกั ษณะความรนุ แรงของการเปนโรคน้ี ขึ้นอยกู บั ชนิดและปรมิ าณของเช้ือโรค หนอนพยาธิ หรือสารพิษ
บรโิ ภคเขาไป ควรแกป ญ หาดว ยการใหค นเราบรโิ ภคอาหารที่สะอาดปราศจากเชื้อโรค หนอนพยาธิและ
สารพิษ นัน่ คอื จะตอ งมีการจดั การและควบคมุ อาหารใหสะอาด เรียกวา การสขุ าภบิ าล

51

2.2. ปจ จัยทเี่ ปนสาเหตุสําคญั ทาํ ใหอาหารสกปรกและการเส่ือมคุณภาพของอาหาร
ปจ จัยที่เปนสาเหตุสําคญั ทําใหอ าหารสกปรก
อาหารสกปรกไดเนื่องจากมีส่ิงสกปรกปะปนลงสูอาหาร ส่ิงสกปรกที่สําคัญและมีพิษภัยตอ

ผบู รโิ ภค คือ เช้ือโรค หนอนพยาธแิ ละสารพิษ สงิ่ เหลา นส้ี ามารถลงสอู าหารไดโ ดยมสี ื่อนาํ ทําใหป ะปนลง
ไปในอาหาร ในกระบวนการผลิต การขนสง การเตรยี ม การปรุง การเก็บ การจําหนาย การเสิรฟอาหาร เปน
ตน ซ่ึงลักษณะการทาํ ใหอ าหารสกปรกเกดิ ข้นึ ได ดังนี้

1. สง่ิ สกปรก เชน เชอ้ื โรค หนอนพยาธแิ ละสารพษิ
2. ส่อื นํา เชน แมลง สตั ว บุคคล (ผสู มั ผสั อาหาร) ภาชนะและอุปกรณส มั ผสั อาหาร สงิ่ แวดลอม
น้ํา ดนิ ปยุ อากาศ ฝุนละออง ฯลฯ
3. กระบวนการที่เก่ียวของกับอาหาร เชน การผลิต การขนสง การเตรียม การปรุง การเก็บ
การจําหนาย การเสิรฟ ฯลฯ
4. ผบู รโิ ภค
2.3. ปญหาพืน้ ฐานการสขุ าภิบาลอาหาร
อาหารและน้ําดม่ื เปน ส่งิ จาํ เปน สาํ หรบั ชีวิตมนุษยแ ละเปนท่ที ราบกันดีแลววาปจจุบันโรคติดเชื้อ
ของระบบทางเดินอาหารเปนสาเหตุของการปวยและตายที่สําคัญของประชาชนในประเทศไทย เชน
อหิวาตกโรค บิด ไทฟอยดและโรคทองรวงชนิดตาง ๆ ซึ่งนับวาเปนโรคท่ีสําคัญบ่ันทอนชีวิตและ
เศรษฐกิจของประชาชน วิธีที่ดีท่ีสุดท่ีจะแกปญหานี้ก็คือ การปองกันโรค โดยทําการควบคุมการ
สุขาภิบาลอาหารและส่ิงแวดลอม เพ่ือปองกันการแพรโรคท่ีเกิดจากการติดเชื้อ ดังน้ัน จึงควรควบคุม
ปรับปรุงวิธีการลางจานชามภาชนะใสอาหาร ตลอดจนนํ้าดื่มน้ําใช การกําจัดอุจจาระ สิ่งโสโครกและ
ส่ิงปฏิกูลอ่ืน ๆ ใหถูกตองสุขลักษณะในปจจุบัน อัตราการเพิ่มของประชากรไทยคอนขางจะสูงและ
รวดเร็ว โดยเฉพาะในเขตชุมชนใหญ ๆ เชน เขตสุขาภิบาล เขตเทศบาล กําลังวิวัฒนาการกาวหนาขึ้น
เปนลําดับ ประชาชนสวนใหญตองออกไปประกอบอาชีพและรับประทานอาหารนอกบาน
ซ่งึ ถารา นจําหนายอาหารเหลาน้ันไมปรบั ปรงุ ควบคุม หรือเอาใจใสอ ยางเขม งวดในเรอื่ งความสะอาดแลว
อาจกอใหเกดิ การเจบ็ ปวยและการตายของประชากรท่ีมีสาเหตมุ าจากโรคตดิ เช้ือของระบบทางเดินอาหาร
เพ่ิมมากข้ึนตามไปดวย
2.4. โรคทีเ่ กดิ จากการบรโิ ภคอาหารทไ่ี มถกู หลกั โภชนาการและสขุ าภิบาลอาหาร
เพื่อผลประโยชนและความปลอดภัยในการเลือกใชผลิตภัณฑตาง ๆ ในปจจุบัน ผูบริโภค
ทั้งหลาย ควรจะไดศ ึกษาและทําความเขา ใจลกั ษณะธรรมชาตขิ องผลติ ภัณฑท สี่ ําคัญ ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิง
ในเร่ืองของ “อาหาร” เพือ่ เปน แนวทางในการเลือกปฏิบตั ิดังนี้
1. อาหารไมบรสิ ทุ ธ์ิ ตามพระราชบญั ญตั อิ าหาร พุทธศักราช 2522 ไดใ หความหมายของอาหาร
ทไี่ มบ รสิ ทุ ธ์ิ ไวด งั น้ี

52

1) อาหารทีม่ ีส่ิงทนี่ า รังเกยี จหรอื สงิ่ ทีน่ าจะเปนอันตรายแกส ุขภาพเจือปนอยูดว ย
2) อาหารทีม่ ีวตั ถเุ จือปนเปนเหตุใหคุณภาพของอาหารนั้นเส่ือมถอย เวนแตการเจือปนน้ัน
จําเปน ตอกรรมวธิ กี ารผลติ และไดรับอนุญาตจากเจาพนกั งานเจาหนา ที่แลว
3) อาหารที่ไดผสมหรือปรุงแตงดวยวิธีใด ๆ โดยประสงคจะปกปดซอนเรนความชํารุด
บกพรองหรือคุณภาพทีไ่ มดขี องอาหารนัน้
4) อาหารที่ไดผ ลติ บรรจหุ รอื เกบ็ รกั ษาไวโ ดยไมถกู สุขลกั ษณะ
5) อาหารที่ผลติ จากสตั วท เี่ ปน โรคอันอาจตดิ ตอถึงคนได
6) อาหารที่มีภาชนะบรรจปุ ระกอบดวยวัตถุที่นา จะเปน อันตรายตอ สุขภาพ
2. อาหารปลอมปน พระราชบญั ญัตอิ าหารไดก าํ หนดลกั ษณะอาหารปลอมปน ไวดงั นี้
1) อาหารทีไ่ มมีคุณภาพหรือมาตรฐานตามท่ีกําหนดไว
2) อาหารท่ีไดสับเปลี่ยนวัตถุอ่ืนแทนบางสวนหรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณคาออกเสียท้ังหมด
หรอื บางสวน แลว จาํ หนา ยเปน อาหารแทหรือยังใชชอ่ื อาหารนน้ั อยู
3) อาหารทผี่ ลิตขึ้นเทียมอาหารอยา งหนึง่ อยางใดแลว จาํ หนายเปนอาหารแท
4) อาหารที่มีฉลากเพ่ือลวงหรือพยายามลวงผูซื้อใหเขาใจผิดในเรื่องปริมาณ คุณภาพหรือ
ลกั ษณะพิเศษอยางอนื่ ๆ หรือในสถานทีป่ ระเทศที่ผลติ
ปจจุบนั ประเทศไทยมีการผลติ อาหารสําเรจ็ รปู กนั มากขนึ้ รวมทั้งมีผูผลติ จาํ นวนไมนอยท่ีทําการ
ผลิตอาหารไมบริสุทธ์ิและอาหารปลอมปนเพื่อหลอกลวงประชาชนผูบริโภค โดยใชสารเคมีเจือปนใน
อาหารเพราะตองการกาํ ไรและผลประโยชนจ ากผบู ริโภคใหมากขึ้น ถึงแมวากระทรวงสาธารณสุขจะได
ทาํ การควบคุมอาหาร โดยสาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาไดจ ัดใหส ารวตั รอาหารและยาออกตรวจ
สถานที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับอาหาร พรอมทั้งดําเนินการเก็บอาหารที่ผลิตออกจําหนายในทองตลาด
สงไปวิเคราะหคุณภาพเพื่อใหเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั อิ าหารแลว กต็ าม แตยงั มีอาหารที่ไมบรสิ ุทธิ์และ
อาหารปลอมปนซง่ึ ใสสารเคมีในอาหารขายอยูในทองตลาดมากมาย ดังตวั อยา งตอไปน้ี
1. อาหารผสมสี อาหารผสมสีท่ีประชาชนบริโภคกันอยางแพรหลาย เชน หมูแดง แหนม
กุนเชยี ง ไสกรอก ลกู ช้นิ ปลา กงุ แหง ขา วเกรยี บกงุ และซอสสแี ดง กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวง
สาธารณสุขไดเ คยตรวจพบสีท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพถึงรอยละ 90 ซ่ึงสีท่ีใชกันมากน้ันเปนสีท่ีมีตะก่ัว
และทองแดงผสมอยู
2. พริกไทยปน ใชแปงผสมลงไปในพริกไทยที่ปนแลว เพื่อใหไดปริมาณมากขึ้น การซื้อ
พรกิ ไทย จงึ ควรซอื้ พรกิ ไทยเมด็ แลว นาํ มาปนเองจึงจะไดข องแท
3. เนอ้ื สตั วใ สดนิ ประสิว ทําใหมสี แี ดงนารับประทานและทาํ ใหเ น้อื เปอย นยิ มใสใ นปลาเจา หมู
เบคอน เนื้อววั ถาหากรบั ประทานเขา ไปมาก ๆ จะทําใหเปนอันตรายได เนื่องจากพบวา ดินประสิวท่ีใส
ลงไปในอาหารเปน ตวั การอันหนง่ึ ที่ทําใหเ กดิ โรคมะเร็ง

53

4. ซอสมะเขอื เทศ ใชมันเทศตมผสมสีแดง ถาตองการซอสมะเขือเทศควรซื้อมะเขือเทศสด ๆ
มาเค่ียวทําเองจงึ จะไดข องแทแ ละมคี ุณคา ทางอาหารที่ตอ งการ

5. นํา้ สม สายชูปลอม ใชกรดอะซตี ดิ หรือกรดนํ้าสมแลว เติมนํ้าลงไปหรือใชหวั นํา้ สม เติมนาํ้
6. นาํ้ ปลา ใชห นงั หมหู รอื กระดูกหมู กระดูกววั และกระดูกควายนํามาตม แทนปลาโดยใสเกลือ
แตง สี กลิ่น รสของนํา้ ปลา แลวนาํ ออกจําหนา ยเปน นาํ้ ปลา
7. กาแฟและชา ใชเ มลด็ มะขามควั่ ผสมกบั ขา วโพดหรอื ขาวสารคั่วเปน กาแฟสําเร็จรูป สําหรับ
ชาใชใ บชาปนดว ยกากชา แลวใสส ลี งไปกลายเปน ชาผสมสี
8. ลูกช้ินเนื้อวัว ใชสารบอแรกซหรือที่เรียกกันวา นํ้าประสานทอง ผสมลงไปเพื่อใหลูกช้ิน
กรบุ กรอบ กรมวิทยาศาสตรการแพทยไดเคยเกบ็ ตวั อยางลกู ชน้ิ เนื้อววั จากรานจาํ หนายลูกชิน้ กรอบ 8 ราน
พบวา 7 ตวั อยาง ไดผ สมสารบอแรกซ ทําใหอ าหารไมบ ริสทุ ธิแ์ ละไมปลอดภยั แกผ บู รโิ ภค
9. นํ้ามันปรุงอาหาร สวนมากสกัดมาจากเมล็ดยางพาราแลวนําไปผสมกับนํ้ามันถั่ว น้ํามัน
มะพราว น้ํามันดังกลา วจึงเปน อาหารที่ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชบริโภค เพราะมีวัตถุท่ีอาจเปนอันตราย
แกสุขภาพเจอื ปนอยู
10. อาหารใสวัตถุกันเสีย มีอาหารหลายอยาง เชน นํ้าพริก น้ําซอส ขนมเม็ดขนุน ทองหยอด
ฝอยทอง รวมท้ังอาหารสาํ เรจ็ รปู บรรจุกลอ งไดใสวัตถกุ นั เสีย คอื กรดซาลซิ ลี ิก แอซิด (Salicylic Acid) ซงึ่
เปนอันตรายแกสขุ ภาพ วตั ถกุ ันเสียทีก่ ระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหผูผลติ อาหารทมี่ ีความจําเปนตองใช
ไดแ ก โซเดยี มเบนโซเอต (Sodium Benzoate) โดยใชผสมคิดเปน รอยละไมเ กิน 0.1 ของนาํ้ หนกั อาหาร
11. อาหารใสส ารกาํ จดั ศัตรพู ชื มีอาหารบางอยา งท่มี ผี ูนยิ มใสส ารกําจัดศตั รูพืชบางประเภท
เชน ดีดีทผี สมกับน้ําเกลอื แชปลา ใชท ําลายหนอนท่เี กิดขึน้ ในปลาเค็ม เพื่อเก็บรักษาปลาเคม็ ใหอยูไดนาน
ซ่งึ สารกําจัดศตั รูพืชเหลานี้ยอ มเปน อันตรายตอสุขภาพของผบู รโิ ภค
3. อันตรายจากอาหารไมบรสิ ุทธแิ์ ละอาหารปลอมปน
อาหารปลอมปนที่กลา วมาน้ี แมบางอยา งอาจไมม ีอันตรายแตจ ัดวา เปนการหลอกลวง บางอยางมี
อนั ตรายนอย บางอยางมอี นั ตรายมาก ทัง้ นยี้ อ มขน้ึ อยูกับสมบัติและปริมาณของส่ิงที่เจือปนหรือผสมเขา
ไปรวมทงั้ ปรมิ าณท่ีรางกายไดรับดวย ดวยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุขจึงไดดําเนินการควบคุมเก่ียวกับ
เรื่องอาหาร และไดประกาศช้ีแจงใหประชาชนทราบถึงอันตรายเปนระยะ ๆ เก่ียวกับเรื่องอาหารไม
บรสิ ทุ ธิ์และอาหารปลอมปน ซ่ึงพอสรปุ ได ดงั นี้

1) อันตรายจากการใชสารบอแรกซผสมในอาหาร อาหารบางประเภท เชน ลกู ชนิ้ เนอื้ ววั
หมูยอ มักมีสว นผสมของสารบอแรกซอยู ถาบริโภคเปนประจําจะไดรับสารบอแรกซเขาไปมากซึ่งอาจ
เปน อนั ตรายตอรา งกายหรอื ถึงแกช ีวิตได

2) อันตรายจากการใชโซเดียมไซคลาเมต (Sodium Syclamate) หรือ ขัณฑสกรผสมใน
อาหาร โซเดียมไซคลาเมตท่ีใชผสมในอาหารหรือเคร่ืองดื่มเพ่ือใหความหวานแทนนํ้าตาลอาจทําให
ผูบรโิ ภคเปน โรคมะเรง็ ได

54

3) อันตรายจากพษิ ตกคา งของสารกําจัดศัตรูพืช สวนมากมักพบในผัก ผลไม และเน้ือสัตว
เน่ืองจากสารฆาแมลงที่ตกคางอยูในผัก ผลไมและเนื้อสัตวที่คนเราบริโภคเขาไปครั้งละนอย ๆ จะไม
แสดงอาการทนั ที แตถ ามขี นาดมากพอหรอื รับประทานตดิ ตอกันนาน ๆ จะมอี นั ตรายเพมิ่ มากขึ้น บางราย
อาจถึงกับเปนอมั พาต หรอื เปนอันตรายถงึ แกช วี ติ ได

4) อนั ตรายจากการใชโซเดยี มคารบอเนตผสมในอาหาร โซเดยี มคารบอเนตหรือโซดาซักผา
เมอ่ื นาํ ไปใชเปน สวนผสมเพ่ือทาํ ใหเ นอ้ื สดนมุ กอนที่จะนําไปปรุงเปนอาหารรับประทาน อาจกอใหเกิด
อนั ตรายได เพราะโซเดยี มคารบอเนตมฤี ทธ์กิ ัดเยอ่ื ออนของระบบทางเดนิ อาหารทําใหคล่ืนไส
อุจจาระรว ง อาเจียนและอาจรนุ แรงถึงแกช ีวิตไดถารบั ประทานตัง้ แต 30 กรมั ขึ้นไป

สรปุ
การสุขาภิบาลอาหารเปนการดําเนินการดวยวิธีการตาง ๆ ที่จัดการเกี่ยวกับอาหารในดานการ
ปรับปรุง การบํารุงรักษา และแกไขเพ่ือใหอาหารที่บริโภคเขาสูรางกายแลวมีผลดีตอสุขภาพ ท้ังน้ี
เน่ืองจากอาหารมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิต โดยใชในการสรางพลังงาน ชวยใหรางกายเกิดความ
กระปก ระเปรา และชวยใหร า งกายมคี วามแขง็ แรงตานทานโรคภยั ตา งๆ สามารถดาํ เนนิ ชวี ติ ไดอยางปกติสขุ
อาหารแมจะมปี ระโยชนตอรางกายเปนอยางมาก แตถา อาหารนั้นสกปรก ปนเปอ นดวยเช้ือโรคหรือ
สารพิษก็ใหโทษตอรางกายได เชน โรคท่ีเกิดจากจุลินทรียปนเปอนในอาหาร โรคท่ีเกิดจากอาหารมี
หนอนพยาธิ และโรคท่เี กิดจากอาหารท่ีมีสารพิษหรือสารเคมี จะมสี ว นชวยลดการเกดิ โรคจากอาหารเปน
สื่อนาํ ได

เร่ืองที่ 3 การจัดโปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกบั บคุ คลในครอบครวั

1. อาหารสาํ หรบั คนปกติ สารอาหารประเภทตางๆ มคี วามจําเปน ตอรา งกาย โปรตีน คารโบไฮเดรต
และไขมนั เปน สารอาหารทีใ่ หพ ลงั งาน และรางกายมคี วามตอ งการเปนปริมาณมาก สวนวิตามินและแรธาตุ
บางชนดิ ไมใ หพลังงานแตจาํ เปน สําหรบั การทํางานของระบบตา งๆ ในรางกายชว ยปองกนั โรคภัยไขเ จบ็
ทาํ ใหดาํ รงชีวิตอยไู ดอ ยา งมคี วามสขุ มนษุ ยแตละเพศแตละวัย แตละสภาพตองการพลังงานและสารอาหาร
ประเภทตา ง ๆ ในปรมิ าณไมเทา กนั ดงั น้นั ในการเลือกกนิ อาหาร จึงจะควรเลือกใหพอเหมาะกับเพศ วัยและ
สภาพของแตละบุคคลดวยเพอื่ รา งกายจะไดเ ติบโตอยางสมบูรณ

อยางไรก็ตาม อาหารที่คนเรารับประทานกันเปนประจํามีมากมายหลายชนิด แตละชนิด
ประกอบดวยสารอาหารตางประเภทในปริมาณมากนอยตางกัน โดยปกติในแตละวันรางกายของคนเรา
ตอ งการสารอาหารแตล ะประเภทในปรมิ าณตา งกนั ดงั ทแ่ี สดงในตาราง

55

ตารางแสดงปรมิ าณพลังงานและสารอาหารบางอยา งทคี่ นไทยวัยตา งๆ ตอ งการในหนง่ึ วนั

ประเภท อายุ (ป) นาํ้ หนัก (kg) พลงั งาน (kcal) โปรตีน (g) แรธาตุ (mg) วติ ามนิ (mg)
เดก็ แคลเซียม เหลก็ A B1 B2 C
เดก็ ชาย
เดก็ หญิง 7 – 9 20 1,900 24 50 4 1.4 0.8 1.0 20
ชาย 10 – 12 25 2,300 32 60 8 1.9 0.9 1.3 30
13 – 15 36 2,800 40 70 11 2.4 1.1 1.5 30
หญิง 16 – 19 50 3,300 45 60 11 2.5 1.3 1.8 30

หญงิ มคี รรภ 13 – 15 38 2,355 38 60 16 2.4 0.9 1.3 30
หญิงใหนมบุตร 16 – 19 46 2,200 37 50 16 2.5 1.9 1.2 30

20 – 29 54 2,550 54 50 6 2.5 1.0 1.4 30

30 – 39 2,450 54 50 6 2.5 1.0 1.4 30

40 – 49 2,350 54 50 6 2.5 0.9 1.3 30

50 – 59 2,200 54 50 6 2.5 0.9 1.3 30

60 – 69 2,000 54 50 6 2.5 0.8 1.1 30

70+ 1,750 54 50 6 2.5 0.7 1.0 30

20 – 29 1,800 47 40 16 2.5 0.7 1.0 30
30 – 39 1,700 47 40 16 2.5 0.7 0.9 30
40 – 49 1,650 47 40 16 2.5 0.7 0.9 30
50 – 59 1,550 47 40 6 2.5 0.9 0.8 30
60 – 69 1,450 47 40 6 2.5 0.6 0.8 30
70+ 1,250 47 40 6 2.5 0.5 0.7 30

+200 +20 100 26 2.5 0.8 1.1 505

+1,000 +40 120 26 4.0 1.1 1.5 0

อาหารที่เรารับประทานแตละวันน้ัน แตละประเภทใหปริมาณของสารอาหารและใหพลังงาน
แตกตางกัน ฉะน้ันในการเลือกรับประทานอาหารในแตละมื้อแตละวัน ควรเลือกรับประทานอาหาร
สลับกันไป เพ่ือใหรางกายไดรับสารอาหารเพียงพอและถูกสัดสวน ถารางกายไมไดรับสารอาหารตาม
ตอ งการ ทาํ ใหข าดสารอาหารบางอยางได

56

ตารางแสดงสว นประกอบของอาหารและคาพลังงานในอาหารบางชนิดตอมวล 100 กรัม

คา โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต เสน ใย แรธาตุ (mg) วติ ามิน (mg)
พลงั งาน (g) (g) (g) (g) A B1 B2 C
อาหาร (kcal) แคล ฟอส เหล็ก (IU) (mg) (gm) (mg)
เซียม ฟอรัส

ประเภทแปง 88 1.0 0 20.3 - 7 7 0.6 - ** ** 0
กว ยเตี๋ยว (สุก) 155 2.5 0.4 34.2 0.1 5 36 0.6 0 0.02 0.01 0
ขาวเจา (สกุ ) 355 7.0 0.3 81.1 0 12 46 1.3 0 0.06 0.03 0
ขาวเหนยี วขาว

ประเภทเมล็ดและ 316 14.4 26.3 11.4 1.3 45 178 1.5 25 0.56 0.12 5
ผลติ ภัณฑ
ถว่ั ลสิ ง (ตม) 130 11.0 5.7 10.8 1.6 73 179 2.7 30 0.21 0.09 0
ถว่ั เหลือง (สกุ )
มะพรา ว (น้ํากะท)ิ 259 4.6 28.2 1.7 0 11 132 1.4 0 0.05 0.02 1

ประเภทผัก

ตําลึง 28 4.1 0.4 4.2 1.0 126 30 4.6 18.0 0.17 0.13 48

ผกั คะนา 35 3.0 0.4 6.8 1.0 230 56 2.0 7 0.10 0.13 93

มะละกอดบิ 26 1.0 0.1 6.2 0.9 38 20 0.3 5 0.02 0.03 40

ผกั บุง ไทย (ตน แดง) 30 3.2 0.9 2.2 1.3 30 45 1.2 25 0.08 0.09 -

ประเภทผลไม

กลว ยนํา้ วา (สกุ ) 100 1.2 0.3 26.1 0.6 12 32 0.8 - 0.03 0.04 14

แตงโม 21 0.3 0.2 4.9 0.2 8 10 0.2 375 0.03 0.03 6

ฝร่งั 51 0.9 0.1 11.6 6.0 13 25 0.5 233 0.06 0.13 160

มะมว ง (สกุ ) 62 0.06 0.3 15.9 0.5 10 15 0.3 89 0.06 0.05 36

สม เขียวหวาน 44 0.6 0.2 9.9 0.2 31 18 0.8 3,133 0.04 0.05 18

ประเภทเน้ือสัตว 4,000

เนอื้ ไก 302 18.0 25.0 0 0 14 200 1.5 809 0.08 0.16 -

เนื้อหมู (ไมมีมัน) 376 14.1 35.0 0 0 8 151 2.1 - 0.69 0.16 -

ปลาทู 93 21.5 0.6 0.6 0 42 207 1.5 - 0.14 0.18 0

ไขไ ก 163 12.9 11.5 0.8 0 61 222 3.2 1,950 0.10 0.40 0

นมถั่วเหลอื ง(ไมหวาน) 37 2.8 1.5 3.6 0.1 18 96 1.2 50 0.05 0.02 0

นมววั 62 3.4 3.2 4.9 0 118 99 0.1 141 0.04 0.16 1

2. อาหารสําหรับเด็กวัยกอ นเรยี น
เด็กกอ นวยั เรียนควรไดร ับอาหารใหครบทกุ กลมุ คือ ขาว ผกั ผลไม เน้ือสัตวและนม ซ่งึ ในแต

ละกลุมควรฝกใหเด็กกินไดหลายชนิด ไมควรเลือกเฉพาะอยาง การประกอบอาหารควรคํานึงถึงความ
สะอาดและตองเปนอาหารท่ียอยงาย ถาอาหารแข็งหรือเหนียวจนเคี้ยวยาก ควรจะสับหรือตมใหเปอย

57

และทสี่ าํ คัญควรใหเด็กกนิ นา้ํ สวนท่เี หลือจากการตม เน้อื หรอื ผกั ดวย เพราะจะไดรับวิตามนิ และแรธาตทุ ีม่ ี
อยู ซ่งึ ถา เปน เด็กเลก็ อาจใชเปนผกั ตมและน้าํ ผลไมก อน เม่ือเด็กโตข้ึนจึงใหเปนผักและผลไมสดปริมาณ
อาหารทเี่ ด็กกอนวยั เรยี นควรไดรบั ในวนั หน่ึงก็คือ ขา ว หรอื ธญั พชื อ่ืน ๆ 4 – 5 ทัพพี ไข 1 ฟอง,
ผกั ใบเขียวและผักอน่ื ๆ 2 – 3 ทัพพี หรอื อาจเปน 1/2 – 1 ทพั พีในแตละมื้อ, ผลไม 2 – 3 ชิ้น เชน กลวย 1
ผล มะละกอสกุ 1 เสี้ยว, เนอ้ื สัตว 5 – 6 ชอนแกง ควรจะกินไข 1 ฟอง และกินเนื้อสัตวอ่ืน ๆ 3 – 4 ชอน
แกง และควรด่ืมนมเปน ประจาํ วัน หลกั ใหญ ๆ กค็ ือควรจะจัดอาหารใหม กี ารหมนุ เวียนกันหลายชนดิ ดงั ที่
กลาวมาแลว และเสริมดวยตับสัปดาหละหนึ่งคร้ัง เตรียมอาหารใหปริมาณพอเหมาะ รสไมจัดและเคี้ยว
งาย หลกี เล่ียงของขบเค้ียว ขนมหวานจัด ลูกอม น้ําอัดลม และอาหารไขมันสูงมาก ๆ ใหเด็กไดกินรวม
โตะ กับผใู หญ ระหวา งกนิ ไมควรดเุ ด็กหรือบังคบั ใหเ ดก็ กนิ อาหาร เพราะจะทําใหมีปญหาตอไป หากเด็ก
เพ่ิงไปเลนมาไมค วรใหก นิ ทนั ที ควรใหพกั อยา งนอ ย 15 นาทกี อนจงึ จะคอ ยกนิ อาหาร

3. อาหารสําหรบั ผสู งู อายุ
การจัดอาหารใหผูสูงอายุ ควรคํานึงถึงผูสูงอายุเปนรายบุคคล เพราะผูสูงอายุแตละบุคคล

อาจจะชอบอาหารไมเ หมือนกัน บางครง้ั ไมจําเปนวา ทกุ มือ้ จะตองไดรบั สารอาหารครบทุกประเภทอยูใน
ม้ือเดยี ว

1) ในการจดั อาหารนอี้ าจจะตองแบงอาหารใหเปนอาหารม้ือยอย 4 – 5 มื้อ เพื่อลดปญหาการ
แนน ทอ ง

2) อาหารท่ีจัดควรจะเปนอาหารออน ยอยงาย รสไมจัด ถาเปนผักควรจะห่ันเปนชิ้นเล็ก ๆ
นงึ่ หรือวาตมใหน ่มิ

3) พยายามหลีกเลี่ยงอาหารท่ีทาํ ใหเกิดแกส หรือทองอืด เชน ถ่วั บางประเภท เปน ตน
4) อาหารควรเปน อาหารทมี่ คี ณุ ภาพ เชน คารโบไฮเดรตในรูปเชงิ ชอน คอื ไมไ ดผานขบวนการ
ขัดสีและโปรตนี จากปลา เปนตน
5) เนนใหใ ชว ิธกี ารน่ึงมากกวาทอด เพือ่ ลดปรมิ าณไขมันท่ีรา งกายจะไดร บั เกนิ เขา ไป
6) อาหารเสรมิ ทแ่ี นะนาํ ควรเสริมผกั และผลไมใหมากขึ้น เชน ตําลึง ผักบุง คะนา มะเขือเทศ
สมเขยี วหวาน กลวยสกุ มะละกอสกุ เปน ตน จะชวยเพม่ิ ใหผ สู งู อายไุ ดร ับกากใย ชว ยใหระบบขับถา ยดี
7) พยายามกระตุนใหผ สู งู อายุไดท ํากจิ กรรม การไดออกกําลังกาย จะทําใหความอยากอาหาร
เพิม่ ข้นึ
8) การดแู ลทางดา นจิตใจ การใหความเอาใจใสกับผูสูงอายุสม่ําเสมอ ไมปลอยใหทานรูสึกวา
ถกู ทอดทิ้ง หรอื ทา นรสู กึ วาทานหมดความสาํ คัญกับครอบครวั
9) การจดั อาหารใหมสี สี นั นากิน โดยพยายามใชส ีที่เปนธรรมชาติ ปรุงแตงใหอาหารมีหนาตา
นารบั ประทาน อาหารท่ีจดั ใหควรจะอนุ หรือรอนพอสมควร เพ่ือเพ่ิมความอยากอาหารใหมาก
10) ไมค วรใหผ สู ูงอายุรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด จะเกิดอาการปวดมวนทอง หรือทานแลว
เกิดความรูสกึ ไมสบายตัว อาจจะทําใหเกดิ ผลเสียตอทางเดนิ อาหารได

58

สรุปวัยสูงอายุ เร่ืองอาหารเปนเร่ืองที่สําคัญ เราถือวาอาหารเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหผูสูงอายุมี
สขุ ภาพดี เพราะฉะนั้นลกู หลานหรือผดู แู ล หรือแมแตตัวผูสูงอายุเอง ควรเขาใจในการเลือกรับประทาน
อาหารทม่ี ีประโยชนต อ รา งกาย การบริโภคอาหารที่ดเี พือ่ สงเสรมิ สขุ ภาพ เราควรจะตองเตรยี มตวั ตง้ั แตวยั
หนุมสาว เพ่ือเปน ผูส ูงอายุท่ีมีสุขภาพดตี อไป

4. อาหารสาํ หรับผูปว ย
อาหารสําหรับผูปวย คนเราเม่ือเจ็บปวยยอมจะตองดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะ

เรอ่ื งอาหารเปน พิเศษ ผปู วยมลี กั ษณะการเจบ็ ปวยท่แี ตกตา งกัน ยอมตองการบริโภคอาหารที่แตกตางกัน
ดังน้ี

อาหารธรรมดา สําหรับผูปวยธรรมดาที่ไมไดเปนโรครายแรงท่ีตองรับประทานอาหาร
เฉพาะจะเปนอาหารทมี่ ลี กั ษณะและสวนประกอบเชนเดียวกับอาหารปกติ เปนอาหารหลัก 5 หมู ใหได
สารอาหารเพยี งพอกบั ความตอ งการของรา งกาย

อาหารออ น เปน อาหารสาํ หรับผปู ว ยทไี่ มส ามารถเค้ียวไดตามปกติ ผูปวยภายหลังการ
พักฟน หรือผูปวยที่เปนโรคเก่ียวกับทางเดินอาหารอยางเฉียบพลัน เชน ทองรวง บิด เปนตน อาหาร
ประเภทนีจ้ ะเปน อาหารทมี่ เี นื้อนิ่ม มีรสออน ยอยงาย ไมมีกากแข็งหยาบ ไมมันจัด เชน นม ครีม ไขทุก
ชนิดท่ไี มใ ชวิธที อด ปลาน่งึ หรอื ยาง เนอ้ื บด ไกต มหรอื ตนุ ซปุ ใส แกงจดื ผกั ทมี่ ีกากนอ ยและไมม ีกลนิ่ ฉุน
ตม สุกบดละเอียด น้ําผลไมค ้ัน กลว ยสุก เปน ตน

อาหารเหลว เปนอาหารสําหรับผูปวยท่ีพักฟนหลังผาตัดและผูปวยที่เปนโรคเก่ียวกับ
กระเพาะอาหารและลําไส เปน อาหารท่ยี อยงาย ไมม กี าก มี 2 ชนิด คอื

(1) อาหารเหลว เชน นํ้าชาใสมะนาวและนํ้าตาล กาแฟใสน ํ้าตาล ซุปใสท่ีไมม ีไขมนั
นํ้าขาวใส สารละลายน้ําตาลหรือกลูโคส เปนตน ซึ่งจะใหกินทีละนอยทุก 1 – 2 ชั่วโมง เม่ือผูปวยกิน
ไดมากขึ้นจึงคอ ยเพิม่ ปรมิ าณ

(2) อาหารเหลวขน เปน ของเหลวหรือละลายเปนของเหลว เชน น้ําขาวขน ขาวบดหรือเปยก
ซุป นมทกุ ชนดิ เครอ่ื งดืม่ ผสมนม นาํ้ ผลไม นํา้ ตมผกั ไอศกรมี ตับบดผสมซปุ เปนตน

อาหารพิเศษเฉพาะโรค เปนอาหารท่ีจัดขึ้นตามคําส่ังแพทย สําหรับโรคบางชนิดท่ีตอง
ระมัดระวงั หรอื ควบคมุ อาหารเปนพเิ ศษ เชน อาหารจาํ กัดโปรตนี สําหรับผปู ว ยโรคตบั บางอยา งและ
โรคไตเรือ้ รัง อาหารกากนอยสําหรับผูปวยอุจจาระรวงรุนแรง อาหารกากมากสําหรับผูท่ีลําไสใหญไม
ทาํ งาน อาหารแคลอรีต่าํ สาํ หรับผูป วยโรคเบาหวาน อาหารโปรตนี สงู สาํ หรบั ผูปว ยที่ขาดโปรตนี หรอื หลัง
ผา ตดั อาหารจาํ พวกโซเดยี มสําหรับผูปว ยโรคหวั ใจ

การจดั การอาหารสาํ หรบั ผูป ว ยโรคเบาหวาน
1. ทานอาหารใหตรงเวลาและทานครบทกุ มือ้ ในปรมิ าณใกลเ คยี งกนั ไมทานจุกจกิ
2. อาหารที่ควรงด ไดแ ก ขนมหวาน ขนมเช่ือม นํา้ หวาน นาํ้ อดั ลม นมหวาน เหลา เบียร ผลไม

ท่มี ีรสหวานจัด ผลไมกระปอง ผลไมเชอื่ ม ผลไมแ ชอ ิม่ เปน ตน

59

3. อาหารทีค่ วรควบคุมปริมาณ ไดแก อาหารพวกแปง เชน ขาว ขนมปง ขนมจีบ สวนผักท่ีมี
นาํ้ ตาลและแปง เชน ฟก ทองหรอื พวกผลไมท มี่ รี สหวาน เชน ทุเรียน ลาํ ไย เปน ตน

4. อาหารที่ควรรบั ประทาน ไดแ ก โปรตีน เชน ไก, ปู, ปลา, กุง, เน้ือ, หมู และโปรตีนจากพืช
เชน ถว่ั , เตา หู นอกจากน้ี ควรรับประทานอาหารท่ีมีกากใยมาก ๆ เชน ขาวซอมมือ, ถั่วฝกยาว, ถ่ัวแขก
ตลอดจนผกั ทกุ ชนดิ ในคนไขเ บาหวานท่อี ว นมาก ๆ ควรงดอาหารทอด ลดไขมันจากสัตวแ ละพชื
บางชนิด เชน กะท,ิ น้าํ มนั มะพราว, นาํ้ มนั ปาลม

การจัดการอาหารสาํ หรบั ผูปวยไตวายเร้อื รัง
1. ควรไดร บั อาหารประเภทโปรตีนตาํ่ 40 กรัมโปรตนี ตอวัน รว มกบั เสริมกรดอะมโิ น

จาํ เปน 9 ชนดิ หรอื อาหารโปรตนี สงู 60 – 75 กรัมโปรตนี ตอ วนั
2. พยายามใชไขขาวและปลาเปน แหลง อาหารโปรตีน
3. หลกี เลยี่ งเครื่องในสตั ว
4. หลกี เลี่ยงไขมนั สตั ว และกะทิ
5. งดอาหารเคม็ จํากัดน้ํา
6. งดผลไม ยกเวน เชา วันฟอกเลอื ด
7. งดอาหารท่ีมีฟอสเฟตสูง เชน เมลด็ พืช นมสด เนย ไขแ ดง

การจัดอาหารสาํ หรับผูปวยโรคมะเรง็
เน่ืองจากมะเร็งเปนเน้ืองอกรายที่เกิดในเน้ือเยื่อหรือเซลลของอวัยวะตาง ๆ อาการท่ีเกิดขึ้น

โดยท่วั ๆ ไปคอื จะเบือ่ อาหารและนา้ํ หนักตวั ลด แตถ า เกิดขน้ึ ในหลอดอาหาร กระเพาะ หรือลําไส ก็จะมี
ปญหาในการกินไดมากกวามะเรง็ ในอวยั วะอื่น ๆ เมื่อไดรับการวินิจฉัยแลว ผูปวยควรรับการรักษาจาก
แพทยท ่ชี ํานาญดา นมะเร็งและควรปรับจิตใจใหยอมรับวาตองการเวลาในการรักษา ซ่ึงอาจใชเวลานาน
และตอเนือ่ ง การกินอาหารท่ีถกู ตองจะชว ยเสริมการรักษามะเรง็ และทาํ ใหภาวะโภชนาการท่ีดี ถาระบบ
ทางเดนิ อาหารเปน ปกติ ควรเนน การกนิ ขา วซอ มมอื เปนประจํา ควบคกู ับการกนิ ปลา และพชื ผักผลไมเปน
ประจํา โดยเฉพาะอยางย่ิงมะเขือเทศ ผักสีเขียว มะละกอสุก ฝรั่ง เปนตน เพิ่มการกินอาหารที่มาจากถ่ัว
โดยเฉพาะถ่ัวเหลอื ง เชน ถ่วั งอกหัวโต เตา หูข าวและนมถัว่ เหลือง เปนตน ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีไขมัน
อาหารผดั ทอด การปรุงอาหารควรเนน การตม ตนุ หรอื นงึ่ ในกรณีท่ีผูปว ยมะเร็งไมสามารถกินอาหารได
อยา งปกติ อาจจะตองใชอาหารทางการแพทยหรืออาหารท่ีตองใหทางสายยาง ในกรณีเชนนี้ผูปวยหรือ
ญาติควรปรึกษาแพทยหรือนักกําหนดอาหาร เพื่อทําความเขาใจ ศึกษาเอกสารเพื่อใหเขาใจย่ิงข้ึน
จะไดนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดอยา งเหมาะสมตอ ไป ผปู วยมะเรง็ ควรจะตดิ ตามและประเมินผลการรักษา ชง่ั นํา้ หนกั
ตวั เปน ระยะ ถา นา้ํ หนกั ตัวหรอื เปลีย่ นแปลงไมม ากนักแสดงวาไดพ ลังงานเพยี งพอ

5. อาหารสําหรบั ผทู อ่ี อกกําลงั กาย
คนท่อี อกกําลงั กายโดยปกติตอ งใชพ ลงั งานจากรา งกายมาก จึงตองการอาหารท่ีใหพลังงาน

มากกวาปกติ ดงั นนั้ ผทู ีอ่ อกกาํ ลงั กายจึงควรรับประทานอาหารใหเ หมาะสม ดงั นี้

60

1. อาหารกอนออกกาํ ลงั กาย กอ นออกกําลังกายคนเราไมควรรับประทานอาหารเพราะจะทําให
เกิดอาการจกุ เสียด แนนและไมสามารถออกกําลังกายไดต ามแผนที่วางไว กอนการออกกําลังกายควรให
อาหารยอ ยหมดไปกอน ดงั นนั้ อาหารม้อื หลกั ทร่ี บั ประทานควรรบั ประทานกอนการออกกําลังกาย 3 – 4
ชัว่ โมง อาหารวา งควรรบั ประทานกอนออกกาํ ลังกาย 1 – 2 ชั่วโมง อาหารทร่ี บั ประทานควรเปนอาหารท่ี
มีไขมันตํ่า และมีโปรตีนไมมากนัก มีคารโบไฮเดรตคอนขางสูง นอกจากนั้น ควรหลีกเลี่ยงการ
รบั ประทานอาหารทที่ ําใหเ กิดแกส ในกระเพาะอาหาร เชน ของหมักดอง อาหารรสจัด เปนตน

2. อาหารระหวางการออกกําลังกาย ปกติในระหวางการออกกําลังกาย รางกายจะขับเหง่ือ
เพื่อระบายความรอนและของเสียออกจากรางกาย ผูท่ีออกกําลังกายควรด่ืมนํ้าหรือเคร่ืองด่ืมท่ีมีเกลือแร
เพือ่ ทดแทนนา้ํ และเกลือแรท่ีสูญเสยี ไปในระหวา งออกกําลังกาย และไมรับประทานอาหาร เพราะจะทํา
ใหเ กดิ อาการจดุ เสยี ด แนน และอาหารไมยอ ย ซึ่งเปนอุปสรรคในการออกกาํ ลงั กาย

3. อาหารหลังการออกกําลังกาย การออกกําลังกายจะทําใหคนเราสูญเสียพลังงานไป
ตามระยะเวลาและวิธีการออกกําลังกาย หลังการออกกําลังกายจึงควรรับประทานอาหารท่ีใหพลังงาน
เพ่ือชดเชยพลังงานท่ีสูญเสียไป การออกกําลังกายบางประเภทตองการสารอาหารเพ่ือชดเชยพลังงาน
ที่สูญเสียไปและสรางเสริมพลังงานท่ีจะใชในการออกกําลังกายในครั้งตอไปดวย จึงตองรับประทาน
อาหารท่มี ีสารอาหารเหมาะสมในปรมิ าณทเี่ พยี งพอ

4. นํ้า นอกจากอาหารหลัก 5 หมู ท่ีควรรับประทานอาหารใหเหมาะสมท้ังกอน ระหวางและ
หลงั การออกกาํ ลงั กายที่เหมาะสมแลว นํ้าเปนสิ่งที่สําคัญอยางมาก เพราะนํ้าจะชวยใหระบบการขับถาย
ของรางกายเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพและการออกกําลังกายนั้นจะตองมีการสูญเสียนํ้าในปริมาณมาก
จึงจําเปนตอ งด่ืมน้ําใหเพียงพอ เพ่ือใหสามารถชดเชยกับน้ําท่ีสูญเสียไป การออกกําลังกายบางประเภท
ตอ งดมื่ นํ้าในระหวา งออกกาํ ลังกายดว ย

สรปุ
การทคี่ นเราจะมสี ุขภาพรา งกายสมบูรณ แขง็ แรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บนัน้ ข้ึนอยกู บั องคป ระกอบ
สําคัญ ไดแก การเลือกบริโภคอาหารท่ีมีคุณภาพ สด สะอาดปราศจากสารปนเปอนและควรรับประทาน
อาหารใหหลากหลาย แตครบท้ัง 5 หมู ตามหลักโภชนาการ นอกจากนี้ บุคคลยังมีความแตกตางท้ังดานวัย
และสภาพรางกาย ดังนั้น จึงจําเปนตองเลือกบริโภคอาหารใหเหมาะสมและมีสัดสวนพอเหมาะกับความ
ตอ งการของรา งกาย เพ่อื ใหไ ดสารอาหารครบถวน นําไปใชอ ยางเพยี งพอไมม ากหรือนอยเกินไป ซึ่งจะทําให
ดาํ รงชีวิตอยา งมสี ขุ ภาพดีและมคี วามสุข

61

กจิ กรรม
1. แบงผเู รยี นออกเปน กลุม ๆ ละ 5 คน ทํา my mapping ตามความเขาใจ พรอมท้ังรายงานใหเพื่อนฟง/ดูตาม

หวั ขอตอไปนี้
กลมุ ท่ี 1 สารอาหารทําหนา ท่อี ะไรบาง
กลมุ ท่ี 2โรคจากโปรตนี และแคลอรีมีอาการอยา งไร
กลุมท่ี 3 โรคขาดธาตุไอโอดนี มีอาการอยางไร
กลมุ ท่ี 4 โรคขาดวติ ามนิ ซี มีผลอยา งไรกับรางกาย

2. ใหน กั ศกึ ษาเขยี นเมนอู าหารสําหรบั บุคคล ดงั นี้ แลว รายงานหนาชน้ั เรยี น
เมนูอาหารสาํ หรับเด็กกอ นวยั เรียนทั้ง 3 ม้ือ เปนเวลา 3 วนั
เมนอู าหารสาํ หรับผูชรา ทั้ง 3 มื้อ เปนเวลา 3 วัน
เขียนเมนูอาหารสาํ หรับผูปวยโรคเบาหวานทัง้ 3 มื้อ เปนเวลา 3 วัน

62

บทที่ 4
การเสรมิ สรา งสขุ ภาพ

สาระสาํ คัญ

มีความรูใ นเร่ืองการวางแผนพฒั นาและเสริมสรางสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจนรวม
กจิ กรรมเสริมสรางสุขภาพของชุมชนอยางสม่ําเสมอ และสามารถบอกถึงหลักการและรูปแบบของวิธีการ
ออกกาํ ลงั กายของตนเอง ผูอืน่ และชมุ ชนไดอยา งถกู ตอ งเหมาะสม

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั

1. เรียนรูวธิ กี ารวางแผนพฒั นาเสรมิ สรางสุขภาพตนเองและครอบครวั
2. อธิบายหลกั การจดั โปรแกรมการออกกาํ ลังกายสาํ หรับตนเอง และผูอื่นไดถูกตองเหมาะสมกับ
บุคคลและวัยตางๆ

ขอบขา ยเนื้อหา

เร่อื งท่ี 1 การรวมกลมุ เพื่อเสริมสรา งสขุ ภาพในชมุ ชน
เรื่องท่ี 2 การออกกําลังกายเพอื่ สุขภาพ

63

เรื่องท่ี 1 การรวมกลุมเพื่อเสริมสรางสุขภาพในชุมชน

1.1 ความหมายของสขุ ภาพ
มนุษยเกิดมายอมปรารถนาท่ีจะมีชีวิตอยูอยางมีความสุข ความสุขของมนุษยยอมข้ึนอยูกับ

องคป ระกอบตาง ๆ หลายประการ ที่สําคัญคือสภาพความสมบูรณของรางกายและจิตใจ หรือการมีสุขภาพ
กายและสขุ ภาพจิตท่ดี ีน่นั เอง เม่อื มนุษยม รี างกายและจิตใจสมบูรณ จะทําใหมีความสามารถในการปรับตัว
มีความเช่อื มั่นในตนเอง ไรความกงั วล ไมม คี วามเครียด และไมมีความขัดแยงภายใน สามารถใชชีวิตอยูใน
สังคมรวมกับผูอ่ืนได สามารถกระทําตนเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม และมีสมรรถภาพในการทํางาน ดังนั้น
ความหมายของคําวา สุขภาพ (Health) ขององคการอนามัยโลก คือ ภาวะแหงความสมบูรณของรางกาย
จิตใจ และสามารถอยูใ นสงั คมไดอยา งเปน สขุ มิใชเพยี งความปราศจากโรคและความพกิ ารเทา นัน้

1.2 ความสาํ คัญของสุขภาพ
สุขภาพมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษยเปนอยางย่ิง เพราะความสุขหรือความทุกขของ

มนษุ ยข น้ึ อยกู บั สุขภาพเปน สาํ คญั ความสาํ คญั ของสขุ ภาพสรุปไดเปน 3 ระดับ ดังน้ี
1) ความสาํ คัญตอ ตนเอง บคุ คลจะมีความสขุ หรอื ความทุกขย อมข้ึนอยูก ับสขุ ภาพเปนสําคัญ หากมี

สุขภาพกายดี คือมรี า งกายสมบูรณแขง็ แรง ไมมีโรคภัยเบียดเบียนและมีสุขภาพจิตท่ีดี คือไมคิดอิจฉาริษยา
หรืออาฆาตมาดรายตอผูอ่ืน ผูนั้นยอมมีแตความสุขในทางตรงกันขาม หากสุขภาพกายไมดี คือรางกายไม
แขง็ แรง เจ็บไขไดปวยเปนประจําและมีสุขภาพจิตไมดี คือจิตใจฟุงซานไมมีท่ีสิ้นสุด มีความริษยาอาฆาต
มาดรา ยผอู ่นื ผนู ัน้ จะมีแตความทกุ ข สขุ ภาพกายและจติ จะเสอื่ มโทรม หาความสุขในชีวิตไมได

2) ความสําคญั ตอครอบครวั สุขภาพมสี วนสาํ คญั ในการสรางความสําเร็จหรือความลมเหลวใหแก
ครอบครัว เพราะครอบครัวยอมประกอบดวยสมาชิกท่ีเปนพ้ืนฐานสําคัญคือ พอ แม ลูก การที่พอแมลูกมี
สุขภาพกายและจติ ท่ีดยี อ มทําใหครอบครัวมีความสุข ในทางกลับกันหากสมาชิกในครอบครัวมีปญหาทาง
สุขภาพกายหรอื สขุ ภาพจิต ความลมเหลวในชวี ิตครอบครวั ยอมจะเกดิ ขึน้ ได

3) ความสาํ คัญตอสังคมในสงั คมหน่งึ ๆประกอบดว ยสมาชิกจาํ นวนมาก แตล ะคนมีความแตกตางกัน
ทัง้ ทางดานรางกายและจติ ใจ ซง่ึ จะทาํ ใหเ กิดปญหาตา ง ๆ ตามมาอยา งมากมายทั้งปญ หาทเี่ กดิ จากสุขภาพทาง
กายและสขุ ภาพทางจิต อาจเกิดอาการเจ็บไขไดปวย เชน โรคที่เกิดจากความอวนจนเกินไป โรคที่เกิดจาก
ความเครยี ดเพราะสภาพปญ หาทางสังคม เปนตน
1.3 ลักษณะของผทู ่ีมีสขุ ภาพและจติ ทีด่ ี

ผูท ี่มีสขุ ภาพทด่ี จี ะตอ งมีท้ังสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตดี จึงจะสามารถดํารงชวี ิตอยใู นสังคมไดอยาง
มคี วามสุข

คนที่มีสุขภาพกายดี หมายถึง คนที่มีรางกาย ท้ังอวัยวะตาง ๆ และระบบการทํางานอยูในสภาพที่
สมบรู ณ แขง็ แรง และสามารถทํางานไดอยางมปี ระสิทธภิ าพเปนปกติ

64

คนที่มสี ขุ ภาพดีจะมีลักษณะ ดงั น้ี
1. มีรา งกายท่สี มบรู ณ แขง็ แรง สามารถทรงตัวไดอยางม่ันคงและเคลอื่ นไหวไดอ ยางคลองแคลว
2. สามารถทํากจิ กรรมตาง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพไมเ หน่อื ยเร็ว
3. อวยั วะและระบบทกุ สวนของรางกายสมบูรณ แข็งแรงและทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเปน
ปกติ
4. อัตราการเจรญิ เตบิ โตของสว นตาง ๆ ในรา งกายเปนไปตามวยั อยางเหมาะสม
5. ปราศจากโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ และไมมีโรคประจําตัว
6. สามารถพักผอนไดอยางเตม็ ทแ่ี ละมหี นาตาสดชน่ื แจมใส
คนทม่ี สี ขุ ภาพจิตดี หมายถงึ คนท่สี ามารถปรับตัวเขา กบั สิง่ แวดลอมได สามารถควบคุมอารมณ
ทําจติ ใจใหเ บิกบานแจม ใสและสามารถอยใู นสังคมไดอยา งมีความสขุ
คนทีม่ สี ุขภาพจิตดีจะมีลักษณะ ดงั น้ี
1. สามารถปรับตัวเขากับสังคมและส่ิงแวดลอมได ไมวาจะอยูในสภาพแวดลอมใด เชน ที่บาน
ทีโ่ รงเรยี น ทท่ี าํ งาน เปนตน
2. มคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง มีความคิดที่เปนอิสระกลาตัดสินใจดวยตนเองอยางมีเหตุผล ยอมรับ
ฟง ความคิดเหน็ ของคนอืน่ ไมด้อื ร้ันและพรอ มท่ีจะเผชิญกบั ผลทีจ่ ะตามมา
3. สามารถเผชิญกับความเปนจริง โดยแสดงออกไดอยางเหมาะสม ไมวาจะประสบความสําเร็จ
หรอื ลม เหลว
4. สามารถควบคุมอารมณไดดี ไมแ สดงความโกรธ เกลียดหรือรกั เสยี ใจ ผดิ หวัง จนมากเกินไป
5. รูจักรักผูอ่ืนที่อยูใกลชิดหรือผูที่รูจัก ไมใชรักแตตัวเอง มีความปรารถนาและยินดีที่ผูอ่ืนมี
ความสขุ และประสบความสาํ เรจ็
6. มคี วามสุขในการทาํ งานดว ยความตัง้ ใจ ไมย อ ทอและไมเ ปลี่ยนงานบอ ย ๆ
7. มีความกระตือรือรน มคี วามหวังในชีวติ สามารถทนรอคอยในสิง่ ทม่ี ุงหวงั ได
8. มองโลกในแงดี ไมหวาดระแวงและพอใจในสภาพของตนเองท่ีเปน อยู
9. มอี ารมณขนั หาความสขุ ไดจากทุกเร่อื ง ไมเครียดจนเกินไป สามารถพักผอนสมองและอารมณ
ไดเ หมาะสมกบั เวลาและโอกาส
10. รูจ ักผอ นคลายโดยการพกั ผอนในเวลา สถานทีแ่ ละโอกาสทเี่ หมาะสม
1.4 หลักการดูแลรกั ษาสขุ ภาพและสขุ ภาพจติ
การทีบ่ ุคคลจะมสี ุขภาพทางกายและสขุ ภาพทางจิตดี และเปนทรัพยากรทีม่ คี าของสังคมนั้น จะตอง
มคี วามรแู ละสามารถปฏิบัติตามหลกั สุขภาพอนามัยไดอยางถกู ตอง

65

หลกั การดแู ลรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีดงั นี้
1. มพี ฤตกิ รรมการบริโภคท่ดี ี โดยการรบั ประทานอาหารท่ีสะอาด ถกู หลกั อนามัย มีประโยชนตอ
รางกายและใหส ารอาหารครบถว น โดยควรรับประทานผลไมแ ละผกั สดทุกวัน ดื่มนา้ํ ท่สี ะอาดใหเพียงพอใน
แตละวนั ซ่งึ ควรดม่ื นาํ้ อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว ไมค วรด่ืมนํา้ ชา กาแฟ หรอื เสพสารเสพติดประเภทตา ง ๆ
2. รูจักออกกําลังกายใหเ หมาะสม การออกกาํ ลงั กายจะชว ยใหอวยั วะและระบบตาง ๆ ของรางกาย
ทาํ งานไดอ ยา งเต็มประสทิ ธภิ าพ และชวยเสรมิ สรางความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย จึงควรออกกําลัง
กายทุกวัน อยางนอยวันละ 30 นาที การเลือกประเภทของการออกกําลังกายตองคํานึงถึงสภาพรางกาย
วัย สถานทแี่ ละความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของแตละบุคคลดว ย
3. รูจักรักษาความสะอาดของรางกายใหเหมาะสม แตละบุคคลจะมีภารกิจในการทํากิจกรรม
เพ่ือการดาํ รงชีวิตแตกตา งกันและระบบขับถา ยจะขับถายของเสยี ออกจากรา งกายตามอวัยวะตางๆ หากไมทํา
ความสะอาดจะทาํ ใหเกดิ ของเสยี ตางๆ หมักหมมอยแู ละเปนบอเกดิ ของโรคภัยไขเจบ็ ตางๆ ได ดังน้ัน ทุกคน
จึงควรทําความสะอาดรางกาย โดยอาบน้ําอยางนอยวันละ 2 ครั้ง แปรงฟนอยางนอยวันละ 2 คร้ัง สระผม
อยา งนอ ยสัปดาหละ 2 คร้ัง ตัดเล็บมอื เลบ็ เทา ใหสนั้ เสมอ สวมใสเ สอื้ ผา ท่สี ะอาด
4. ขับถายใหเหมาะสมและเปนเวลา ทุกคนควรถายอุจจาระใหเปนเวลา วันละ 1 ครั้ง อยากล้ัน
อุจจาระหรือปส สาวะ เพราะจะทาํ ใหข องเสียหมักหมมและเปนอันตรายตอระบบขับถายได เชน อาจจะเปน
โรครดิ สีดวงทวาร โรคทองผูก หรือโรคทางเดนิ ปสสาวะอักเสบ/เบาขดั ได เปนตน
5. พกั ผอนใหเ พียงพอ การพกั ผอ นจะชว ยใหรูสึกผอนคลาย อวัยวะและระบบตางๆ ในรางกายมี
เวลาพักเพื่อจะเร่ิมทําหนาที่ในวันตอไปอยางสดช่ืน นอกจากรางกายจะไดพักผอนแลวยังทําใหสมองได
พักผอ นอกี ดวย
6. ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม ในชีวิตประจําวันแตละบุคคลตองพบปะกับผูคนมากหนา
หลายตา ท้ังทีบ่ าน ทท่ี ํางาน ท่ีโรงเรียนและสถานท่ีราชการตางๆ การท่ีจะดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางเปน
ปกติสุข บุคคลยอมตองเขาใจและยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล สามารถลดความขัดแยงตาง ๆ ได
ใหค วามเห็นอกเหน็ ใจและเออ้ื อาทรตอ ผูอ ่นื
7. ใชบริการสุขภาพตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม หากเกิดเจ็บปวย บุคคลตองรูจักใชบริการทาง
การแพทยท่เี หมาะสม เพื่อไมใ หค วามเจบ็ ปวยลกุ ลามมากย่ิงขึ้น นอกจากการใชบริการทางสุขภาพเพ่ือรักษา
โรคแลว ยงั สามารถใชบริการทางสขุ ภาพเพอื่ ปอ งกันโรคไดโ ดยการตรวจรา งกายเปนระยะๆ อยางสมํ่าเสมอ
ตามความเหมาะสมกับสภาพรา งกายและวยั

กจิ กรรม
ใหนักศึกษาสํารวจตัวเองดูวาเปนคนท่ีมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีหรือไม มีสวนใดที่จะตอง

ปรับปรงุ แกไ ข และควรทาํ อยางไร โดยใหเขียนตอบ แลว ออกมาอภิปรายใหเพ่อื นไดรับฟง เพือ่ รว มกนั แกไข
ปรับปรงุ แนะนํา

66

1.5 การรวมกลุมเพอ่ื เสริมสรา งสขุ ภาพในชมุ ชน
การดแู ลรกั ษาและเสรมิ สรางสุขภาพกาย สุขภาพจิตของแตละบุคคลเปนส่ิงสําคัญที่ควรปฏิบัติให

เปนกิจนิสัย โดยปฏิบัติใหครอบคลุมทุกองคประกอบที่สําคัญ ไดแก การเลือกบริโภคอาหารใหถูกหลัก
โภชนาการ การพักผอนใหเพียงพอและออกกําลังกายสม่ําเสมอ เปนตน ทั้งนี้หากปฏิบัติไดอยางครบถวน
ถูกตอง เหมาะสมกับสภาพความพรอมของรางกายและสอดคลองกับวิถีชีวิตยอมกอใหเกิดความสมดุล
สามารถดําเนินชวี ติ ไดอ ยางมคี วามสขุ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ

อยา งไรก็ตาม การดแู ลรักษาสขุ ภาพของตนเองเพียงอยางเดียวคงไมเ พียงพอ หากบคุ คลในครอบครัว
มีปญหาสุขภาพยอมสงผลกระทบตอการดําเนนิ ชีวิตของทุกคน เชน เกิดภาวะในการดูแลภาระคาใชจายใน
การรักษา ฟนฟูสุขภาพ เปนตน ท้ังน้ีจึงควรสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัว และเพื่อนสมาชิกในชุมชนมี
ความรูความเขาใจเก่ยี วกับการดูแลรักษาสุขภาพอยางถูกวิธี ตลอดจนเชิญชวน รวมกลุมกันปฏิบัติกิจกรรม
สงเสริมสขุ ภาพตา งๆ ข้ึนในชุมชน อันจะเปนการเสริมสรางสุขภาพกาย สุขภาพจิตและความสัมพันธอันดี
ตอ กนั ซง่ึ กจิ กรรมท่ีจะกอ ใหเ กิดการรวมกลมุ เพ่ือเสริมสรา งสขุ ภาพในชุมชน ไดแก

1. การรวมกลมุ เพือ่ เรียนรูร วมกันเกย่ี วกับแนวปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของกลุมบุคคลวัยตาง ๆ
เชน สตรีมคี รรภ มารดาหลังคลอดเดก็ ทารก วัยรุน ผูส งู อายุ หรือผปู วย เปนตน

2. การรวมกลุมเพื่อออกกําลังและเลนกีฬา ซึ่งปจจุบันชุมชนทองถ่ินตาง ๆ ใหความสนใจ
สนับสนุนสงเสริมกันมาก เชน การรวมกลมุ เตนแอโรบกิ การแขง ขันกีฬาระหวางชุมชน เปน ตน

3. การรวมกลมุ เพ่อื รวมกิจกรรมการพักผอ นและนนั ทนาการ เชน การทอ งเที่ยว การรองเพลง
เลน ดนตรี การบําเพ็ญประโยชน การปลกู ตนไมใ นสถานที่สาธารณะ ฯลฯ ทั้งนี้มุงเนนการปฏิบัติที่ไมหนัก
เกินไป แตส รางความเพลดิ เพลนิ และความสมั พันธอนั ดีในกลมุ สมาชกิ เปนหลกั

4. การรวมกลุมเพ่ือปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา เชน การทําบุญไหวพระ การปฏิบัติศาสนกิจ
การฝกสมาธิ ฯลฯ เปนตน

ท้ังนี้ การรวมกลุมเพ่ือปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ดังกลาวควรครอบคลุมหลักการดูแลสุขภาพกายดาน
อาหารและโภชนาการ การออกกําลังกาย การพักผอน นันทนาการ และการเสริมสรางสุขภาพจิต โดยการ
รวมกลุมสมาชิกในครอบครัว เพ่ือนและคนในชุมชนจะกอใหเกิดความสนุกสนาน กระตือรือรน ไมเบ่ือ
หนาย และเกิดความรูเพ่ิมข้ึน เนื่องจากมีการแลกเปล่ียนประสบการณตอกัน อันจะสงผลใหเกิดพลังความ
เขมแขง็ ทั้งในระดบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน และประเทศ

67

เรือ่ งที่ 2 การออกกาํ ลังกายเพือ่ สขุ ภาพ

การออกกําลงั กายเปน องคประกอบสาํ คญั ท่ีชว ยใหผูเรียนไดพัฒนาดานรางกาย จิตใจ อารมณ และ
สังคม กิจกรรมการออกกําลังกายสามารถทําไดหลายลักษณะดวยกนั ตามวตั ถุประสงค ไดแ ก การ
ออกกาํ ลังกายเพ่ือการนันทนาการ การออกกําลังกายเพอ่ื เสรมิ สรางสมรรถภาพทางดา นรางกาย การ
ออกกําลังกาย เพื่อการแขงขันกีฬา และการออกกําลงั กายเพ่อื การบาํ บดั เปน ตน

หลกั การออกกาํ ลงั กาย ไมวาจะออกกําลังกายเพือ่ จดุ ประสงคใ ดก็ตาม ควรยึดขั้นตอนในการปฏิบัติ
ดงั นี้

ขน้ั ท่ี 1 การเตรยี มความพรอ มของรางกายกอนการออกกําลังกาย แบงลักษณะการเตรียมออกเปน
2 สว น ไดแ ก

1. การเตรยี มสภาพรางกายใหพ รอมกอนออกกําลังกาย มีดงั นี้
- มสี ุขภาพสมบรู ณ รา งกายแขง็ แรงและมกี ารพักผอ นอยา งเพียงพอ
- ไมเ ปนโรคทเี่ ปนอปุ สรรคตอการออกกําลังกาย
- มีการเตรียมพรอมเร่อื งสถานที่และอปุ กรณ
- ไมรับประทานอาหารจนอิม่
- แตง กายพรอมและเหมาะกบั ชนดิ และประเภทของกิจกรรมออกกาํ ลงั กาย
- รจู กั การใชและเลนเครอ่ื งออกกาํ ลังกายอยา งถูกตอง

2. การเตรยี มความพรอมกอนออกกาํ ลงั กาย หมายถึง การอบอุนรางกาย ซึ่งมีแนวทางใน
การปฏิบตั ิดงั น้ี

- บริหารทกุ สวนของรางกายใหพรอมทจี่ ะออกกาํ ลงั กาย
- ใชเ วลาในการบรหิ ารรา งกายประมาณ 5 – 10 นาที และควรบริหารอวัยวะสวนท่ี
จะใชในการออกกาํ ลังกายใหม ากกวา ปกติ
- เรม่ิ บริหารรางกายจากเบา ๆ แลวจึงหนกั ขึ้น
- ควรใหความสําคัญกับการบรหิ ารขอ ตอ ในสว นตาง ๆ เปนพิเศษ
- ควรมกี ารบริหารรา งกายแบบยดื เหยยี ดกลา มเนือ้ และขอตอ (stretching)
- มีความพรอ มทางดานจติ ใจ คอื มคี วามสขุ มีความเต็มใจท่ีจะไดอ อกกําลงั กาย
ผลของการอบอุน รา งกาย จะสง ผลตอ รา งกายดังนี้
- ทําใหสภาพรางกายโดยทวั่ ไปพรอมจะออกกาํ ลงั กาย
- ทําใหระบบตาง ๆ ของรางกายพรอมที่จะทําหนาท่ี โดยเฉพาะการประสานงาน
ระหวา งประสาทกับกลา มเนือ้
- ชว ยปรับระดบั อุณหภมู ขิ องรางกายใหเหมาะสมกับการออกกําลังกาย
- ชวยลดและปอ งกันการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย

68

- ทําใหรางกายสามารถออกกําลังกายไดเต็มประสิทธิภาพหรือเต็มความสามารถ
ไมวา จะดว ยทักษะหรือสมรรถภาพและทางกลไก

ขน้ั ตอนท่ี 2 การออกกําลงั กาย โดยท่ัวไปจะใชระยะเวลาประมาณ 20 นาทขี น้ึ ไป ขีดจํากัดสูงสุดจะ
ใชเ วลาเทาใดนัน้ ขึน้ อยกู ับปจจัยอืน่ คอื รางกายและจิตใจของผนู น้ั กลา วคอื รา งกายไมมีอาการเมื่อยลาหรือ
สงผลตอการบาดเจ็บ สวนสภาพจิตใจมีความพรอมและมีความสนุกเพลิดเพลิน ถือเปนองคประกอบ
สําคัญของการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ โดยท่ัวไปแลวการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพควรจะใชเวลา
ประมาณ 20 – 60 นาทีตอ วนั ข้ึนอยกู ับกิจกรรมท่ีใชใ นการออกกําลังกาย เชน การเดิน การว่ิง การเลนกีฬา
การบริหารรา งกาย การเตนแอโรบกิ เปน ตน

หลกั การในการพจิ ารณาออกกาํ ลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ มีดังน้ี
 ความถี่ของการออกกาํ ลังกาย หมายถึง จาํ นวนวันในการออกกําลังกาย โดยท่ัวไปแลวควร

ออกกาํ ลังกายทุกวันหรอื ยา งนอยวนั เวน วนั
 ความหนักของการออกกาํ ลังกาย หมายถึงความพอเหมาะของการออกกําลังกายของแตละ

บุคคล โดยท่ัวไปมักจะใชอตั ราการเตน ของชีพจรเปนตัวกําหนด
 ความนานในการฝกแตล ะครัง้ หมายถึง ระยะเวลาในการออกกําลังกายแตละครั้งประมาณ

20 – 60 นาที
 รปู แบบการออกกําลังกาย หมายถึง วิธีการออกกําลังกายแบบตาง ๆ ท่ีนํามาใชออกกําลัง

กาย เชน กฬี า กจิ กรรมการออกกําลงั กาย เปน ตน
ขน้ั ตอนที่ 3 การปรับรางกายเขาสูสภาพปกติหลังการออกกําลังกาย เปนข้ันตอนที่มีความจําเปน

อยางย่งิ เพราะขณะท่รี า งกายทาํ งานอยางหนกั แลวหยดุ การออกกาํ ลงั กายทันทีทันใด อาจจะทําใหเกิดผลเสีย
ตอรางกายได เชน เกิดการเจ็บปวดกลามเนื้อ เกิดอาการเปนไขเน่ืองจากรางกายปรับสภาพไมทัน เปนตน
ฉะนน้ั จึงจําเปนตอ งมหี ลกั ปฏิบตั หิ ลงั การออกกําลังกาย ดงั นี้

 อยาหยดุ การออกกาํ ลังกายทันทีทันใด ควรอบอุนรางกายเบา ๆ จนถึงนอยสุดแลวจึงหยุด
เวลาทใี่ ชใ นการอบอนุ รางกายหลงั การออกกาํ ลังกาย (cool down) ประมาณ 10 – 20 นาที

 ไมควรดม่ื นา้ํ จาํ นวนมากหรือรับประทานอาหารทนั ที
 ควรพักใหรางกายมีเวลาปรับสภาพสปู กตพิ อสมควรกอนอาบน้ํา
 หลงั จากการออกกาํ ลงั กายแลว ควรเปลยี่ นชุดเครือ่ งแตงกายใหม เพราะชุดท่ีใชในการ
ออกกาํ ลังกายจะเปย กชมุ และทําใหรา งกายปรับสภาพไดไมด ี อาจจะทําใหเปน ไขไ ด
 ควรใชทาบริหารรางกายแบบยืดเหยียดกลามเนื้อ (stretching) จะชวยใหกลามเนื้อไดผอน
คลาย ชว ยลดอาการตกคา งของของเสยี หลงั การออกกําลังกาย และที่สําคัญคือชวยลดอาการบาดเจ็บจากการ
ออกกําลังกาย

69

ผลการออกกําลงั กายสงผลตอระบบตา ง ๆ ของรางกาย
1. ผลการออกกาํ ลงั กายตอ ระบบกลามเน้อื ไดแ ก

- กลา มเน้อื มขี นาดใหญข น้ึ (เสน ใยกลา มเนอ้ื หนาขึ้น) ทําใหก ลามเนื้อแข็งแรงขึ้น
- กลามเน้ือมีประสิทธิภาพการทํางานดีขึ้น หรือสามารถทํางานใหมากหรือหนักเพิ่มขึ้น
มคี วามทนทานมากขนึ้ หรอื ทํางานไดน านขึ้น
- ระบบการทาํ งานของกลา มเนือ้ จะปรบั ตามลกั ษณะของการใชในการออกกาํ ลังกาย
- กลามเนือ้ สามารถทนความเจ็บปวดไดด ีขน้ึ
2. ผลการออกกาํ ลงั กายตอ ระบบกระดกู และขอตอ ไดแ ก
- กระดกู จะมคี วามหนาและเพ่ิมขนาดมากขึ้นโดยเฉพาะวยั เดก็
- กระดกู มีความเหนียวและแขง็ เพม่ิ ความหนาแนนของมวลกระดูก
3. ผลการฝกตอระบบหายใจ ไดแ ก
- ทาํ ใหประสทิ ธิภาพการหายใจดีขึ้น
- ขนาดของทรวงอกเพิ่มขึน้
- ปอดมขี นาดใหญและมีความจเุ พม่ิ ขึ้น
- อัตราการหายใจลดลงเนื่องจากการหายใจแตละครั้งมีประสิทธิภาพในการสูบฉีดโลหิตตอ
ครงั้ มากขน้ึ (อตั ราการหายใจของคนปกติ 16 – 18 คร้งั ตอนาท)ี
4. ผลการออกกําลังกายตอระบบไหลเวียน ไดแ ก
- การสูบฉีดของระบบไหลเวยี นดขี ึ้น ทําใหอัตราการเตนของหัวใจลดลง
- ขนาดของหัวใจใหญข ้ึน กลา มเนอ้ื หวั ใจแขง็ แรงขนึ้
- หลอดเลอื ดมีความเหนยี ว ยดื หยุน ดีข้ึน
5. ผลการออกกาํ ลังกายตอระบบอ่ืน ๆ

ระบบประสาทอตั โนมัติ ทาํ งานไดส มดลุ กัน (Sympathetic and Parasympathetic) ทําใหการ
ปรับตวั ของอวยั วะใหเ หมาะกบั การออกกาํ ลงั กายไดเร็วกวา การฟน ตวั เร็วกวา

ตอมหมวกไตเจรญิ ขนึ้ มีฮอรโ มนสะสมมากขึ้น
ตับ เพิม่ ปรมิ าณและนาํ้ หนกั ไกลโคเจนและสารท่ีจาํ เปน ตอการออกกําลังกายไปสะสม
มากขน้ึ
6. ชวยปองกันโรคอวน การออกกําลังกายที่ถูกตองและเหมาะสม จะชวยใหรางกายมีการใช
พลังงานท่ไี ดรับจากสารอาหารตา ง ๆ โดยไมมีการสะสมไวเกินความจําเปน แตถาขาดการออกกําลังกายจะ
ทาํ ใหส ารอาหารที่มีอยูในรางกายถูกสะสมและถูกเปลี่ยนเปนไขมันแทรกซึมอยูตามเน้ือเย่ือทั่วรางกาย ซ่ึง
เปนสาเหตหุ นง่ึ ของการเกิดโรคอวน

70

7. ผลตอจติ ใจ อารมณ สตปิ ญญาและสังคม
ดา นจิตใจ การออกกาํ ลงั กายอยางสม่ําเสมอ นอกจากจะทาํ ใหร า งกายแข็งแรงสมบูรณแลว จิตใจ

กร็ า เริงแจม ใส เบกิ บาน ซึ่งจะเกิดขน้ึ ควบคูกัน เนื่องจากเมื่อรางกายปราศจากโรคภยั ไขเ จ็บ ถา ได
ออกกําลังกายรว มกันหลาย ๆ คน เชน การเลนกีฬาเปนทีมจะทําใหเกิดการเอื้อเฟอ มีเหตุผล อดกลั้น สุขุม
รอบคอบและมคี วามยุตธิ รรม รูแ พรชู นะ และใหอภยั กัน

ดานอารมณ มีอารมณเยือกเย็น ไมหุนหันพลันแลน ชวยคลายความเครียดจากการประกอบ
อาชพี ในชวี ิตประจาํ วนั จงึ สามารถทํางานหรอื ออกกาํ ลงั กายไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ

ดานสตปิ ญ ญา การออกกาํ ลงั กายอยางสมํา่ เสมอ ทําใหมีความคิดอา นปลอดโปรง มีไหวพริบ
มีความคิดสรางสรรค คนหาวิธีท่ีจะเอาชนะคูตอสูในวิถีทางของเกมการแขงขัน ซึ่งบางครั้งสามารถ
นาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันไดเปน อยางดี

ดา นสงั คม สามารถปรบั ตวั เขา กับผรู วมงานและผอู น่ื ไดด ี เพราะการเลน กีฬาหรือการ
ออกกาํ ลงั กายรวมกนั เปน หมมู ากๆ จะทาํ ใหเ กดิ ความเขา ใจ และเรียนรพู ฤตกิ รรม มบี ุคลิกภาพที่ดี มีความ
เปนผนู ํา มมี นุษยสัมพนั ธท ี่ดี และสามารถอยูร วมกนั ในสังคมไดอ ยา งมคี วามสขุ

การออกกําลังกายมิใชจะใหประโยชนแตเพียงดานเดียวเทานั้น บางครั้งอาจเกิดโทษได
ถาการออกกําลงั กายหรอื การฝก ฝนทางรา งกายไมเ หมาะสมและไมถกู ตอง ซึง่ เปนสาเหตุแหงการเกิดการ
บาดเจ็บ ดังน้ัน จึงมักพบวา จํานวนของการบาดเจ็บท่ีเกิดขึ้นจากการออกกําลังกาย หรือเลนกีฬานั้นมี
อัตราคอนขางสูง ถึงแมวาจะเปนนักกีฬาท่ีเคยเขามารวมแขงขันในระดับชาติแลวก็ตาม ความรู
ความเขา ใจ ในเร่อื งของการออกกาํ ลงั กายหากมไี มเ พยี งพอแลวยอ มกอ ใหเกดิ การบาดเจ็บในขณะ
ออกกาํ ลงั กายหรือเลน กฬี าได

ขอ แนะนําในการออกกาํ ลงั กาย
1. ควรเรมิ่ ออกกําลังกายอยา งเบาๆ กอน แลวจงึ คอ ยๆ เพ่ิมความหนักของการออกกําลังกายในวัน

ตอๆ ไปใหม ากข้นึ ตามลําดับ โดยเฉพาะอยา งย่งิ สาํ หรับผทู ไ่ี มเคยออกกําลงั กายมากอ น
2. ผูทเี่ พง่ิ ฟน จากไขหรือมโี รคประจาํ ตัว ตองปรกึ ษาแพทยกอนการออกกําลังกาย
3. ผทู ีป่ ระสงคจ ะออกกาํ ลังกายหนกั ๆ โดยเฉพาะผทู ่ีอายุตาํ่ กวา 40 ป จะตองปรึกษาแพทยก อน
4. ในระหวา งการออกกําลงั กาย ถารูสึกผิดปกติ เชน หนามืด หอบมาก และชพี จรเตน เร็ว ตองหยุด

การออกกาํ ลังกายทันที และถา ตองการจะออกกําลังกายใหม ควรไดรับคาํ แนะนาํ จากแพทยเสยี กอน
5. การออกกําลังกายแตละครงั้ ควรเลือกกิจกรรมใหเหมาะสมกับตนเอง
6. การออกกําลงั กายท่จี ะใหไดรบั ประโยชนอ ยางแทจ รงิ ควรตอ งออกแรง โดยใหสวนตาง ๆ ของ

รางกายทุกสวนทํางานมากกวาปกตหิ รอื เพื่อใหรสู ึกเหน่ือย เชน หายใจถ่ีข้นึ ชพี จรเตน เร็วข้ึน เปน ตน
7. ผทู มี่ ีภารกิจประจําวันท่ีไมสามารถแบงเวลาเพื่อการออกกําลังกายได ควรเลือกกิจกรรมที่งาย

และกระทาํ ไดในบรเิ วณบา น ใชเวลาสน้ั ๆ เชน เดนิ เร็ว ๆ กายบรหิ าร วิง่ เหยาะ ๆ กระโดดเชอื ก เปน ตน

71

8. เครือ่ งมอื ท่ีชวยในการออกกําลังกาย เชน เครอ่ื งเขยา ส่นั ดึง ดนั เพื่อใหร า งกายไมต อ ง
ออกแรงกระแทกน้ันมีประโยชนนอยมาก เพราะวาการออกกําลังกายจะมีประโยชนหรือไมเพียงใดนั้น
ขน้ึ อยูกับวา รางกายไดออกกําลังกายแรงมากนอยเพยี งใด

9. การออกกําลังกายควรกระทําใหสมํ่าเสมอทุกวัน อยางนอยวันละ 20-30 นาที เพราะรางกาย
ตองการอาหารเปนประจาํ ทกุ วันฉันใด รา งกายตอ งการออกกาํ ลงั กายเปน ประจาํ ทกุ วันฉนั นัน้

10. เพ่อื ใหการออกกําลังกายมีความสนุกสนาน หรือมีแรงจูงใจมากย่ิงขึ้นควรทําสถิติเก่ียวกับการ
ออกกําลงั กายเปนประจําควบคูไ ปดว ย เชน จบั ชีพจร นบั อัตราการหายใจ เปน ตน

11. การออกกําลังกายควรกระทาํ ใหส ม่ําเสมอทกุ วนั เปนเพียงปจจัยอยางหนึ่งในการปรับปรุงและ
รักษาสขุ ภาพเทา นั้น ถา จะใหไ ดผลดตี อ งมกี ารรับประทานอาหารทด่ี ี และมกี ารพกั ผอนอยางเพียงพอดวย

12. พึงระวังเสมอวา ไมมีวิธีการฝกหรือออกกําลังกายวิธีลัดเพ่ือจะใหไดมาซ่ึงสุขภาพและ
สมรรถภาพทางกาย แตก ารฝกหรือการออกกาํ ลงั กายตองอาศยั เวลาคอยเปน คอยไป

เม่ือใดที่ไมค วรออกกําลงั กาย
การออกกําลังกายจะทําใหสุขภาพแข็งแรงขึ้นท้ังรางกายและจิตใจ ผูที่ออกกําลังกายเปนประจํา

สมํา่ เสมอจะซาบซึ้งในความจรงิ ขอ น้ีเปนอยา งดี บางคนบอกวา การออกกําลังกายเหมือนยาเสพติดชนิดหน่ึง
เพราะถา ประพฤติปฏบิ ัติจนเปนกจิ วัตรหรอื เปนนิสยั แลวหากไมไดออกกาํ ลงั กายสักวัน จะรูสึกไมคอย
สดชน่ื เทาท่คี วร ซึ่งเปนความจรงิ (เพราะรางกายไมไ ดหล่ังสารสุขเอนเดอรฟ น ออกมา)

ขอ ควรระมัดระวงั หรืองดออกกาํ ลงั กายช่ัวคราว ในกรณีตอไปนี้ คอื
1. เจ็บปวยไมสบาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนไขหรือมีอาการอักเสบท่ีสวนใดสวนหนึ่งของ
รา งกาย
2. หลงั จากฟนไขใหม ๆ รางกายยังออนเพลียอยู หากออกกําลังกายในชวงนี้ จะทําใหรางกายย่ิง
ออ นเพลยี และหายชา
3. หลังจากการกินอาหารอิ่มใหม ๆ เพราะจะทําใหเลือดในระบบไหลเวียนถูกแบงไปใชในการ
ยอยอาหาร เพราะฉะนั้นเลือดท่ีจะไปเล้ียงกลามเนื้อสวนท่ีออกกําลังกายจะลดลงทําใหกลามเนื้อหยอน
สมรรถภาพ และเปนตะครวิ ไดง าย
4. ชว งเวลาที่อากาศรอ นจัดและอบอาวมาก เพราะรางกายจะสูญเสียเหงื่อและน้ํามากกวาปกติทํา
ใหรางกายออนเพลีย เหนื่อยงาย หรือเปนลมหมดสติได (ยกเวนนักกีฬามืออาชีพท่ีมีความจําเปนตองออก
กาํ ลงั กาย)
อาการทีบ่ งบอกวาควรหยดุ ออกกาํ ลงั กาย
ในบางกรณีที่รางกายอาจออนแอลงไปชว่ั คราว เชน ภายหลังอาการทองเสีย อดนอน การออกกําลัง
กายทเี่ คยทาํ อยปู กติอาจกลายเปน กจิ กรรมทห่ี นักเกินไปได เพราะฉะน้ันถาหากมีอาการดังตอไปนี้ แมเพียง
อาการนิดเดียวหรอื หลายอาการ ควรจะหยดุ ออกกําลังกายทันที นน่ั คือ

72

1. รูสกึ เหน่ือยผดิ ปกติ
2. มอี าการใจเตน แรงและเร็วผิดปกติ
3. อาการหายใจขดั หรือหายใจไมท ว่ั ทอง
4. อาการเวียนศีรษะ/ปวดศรี ษะ
5. อาการคลื่นไส
6. อาการหนา มืด
7. ชีพจรเตน เรว็ กวา 140 ครั้งตอ นาที (ในผูส งู อาย)ุ หรอื 160 ครงั้ ตอ นาที (สําหรบั หนมุ สาว)
จาํ ไวว า หากมีอาการอยางใดอยา งหนง่ึ เกิดขึ้น ตองหยุดออกกําลังกายทันที แลวนั่งพักหรือนอนพัก
จนหายเหน่อื ย และไมควรออกกําลังกายตอไปอีกจนกวาจะไดไปพบแพทย หรือจนกวารางกายจะมีสภาพ
แข็งแรงตามปกติ
รูปแบบการออกกาํ ลังกายเพื่อสุขภาพ
1. การเดิน เปนการออกกําลังกายที่งายและสะดวกที่สุด แตใหประโยชนและสรางเสริม
สมรรถภาพทางกายไมแพการออกกําลังกายและการเลนกีฬาชนิดอ่ืน ๆ การเดินสามารถทําไดทุกเวลาและ
สถานที่ วิธีการเดนิ ท่คี วรรแู ละปฏบิ ัติตามมดี ังนี้

1.1. ควรเริม่ จากทา ยนื กอ น ปลอ ยตวั ตามสบาย และหายใจปกติ
1.2. ขณะเดินใหเ งยหนา และมองตรงไปใหไกลทีส่ ดุ เพราะหากเดินกมหนาจะทําใหปวดคอ
และปวดหลงั ได
1.3. เดนิ ใหเ ตม็ เทา โดยเหยยี บใหเต็มฝา เทา แลว ยกเทา ขน้ึ ใหหัวแมเทายกขน้ึ จากพื้นเปนสวน
สดุ ทาย
1.4. ในการเดินควรเร่ิมตนจากเดนิ ชา ๆกอนประมาณ 5 นาที แลวจึงคอย ๆ เพิ่มความเร็วจนหัวใจ
เตนถึงอัตราสูงสุดของมาตรฐาน คือ 200 ครั้ง/นาที สําหรับผูที่เริ่มออกกําลังกายอาจเร่ิมเดินคร้ังละ
10 นาที หรือจนกวา จะรูสกึ หอบเหนื่อยเล็กนอย เวนไป 1 – 2 วัน แลวคอย ๆ เพิ่มเวลาเดินแตละคร้ังจน
สามารถเดินติดตอ กันไดอ ยางนอ ย 30 นาที โดยเดนิ สัปดาหละ 3 – 5 ครงั้
1.5. ขณะเดินมือทั้ง 2 ขาง ควรปลอยตามสบายและเหวี่ยงแขนไปท้ังแขนเพื่อเพ่ิมแรงสง
ถาหากเดนิ แลว หวั ใจยังเตนไมเรว็ พอ ใหเพิ่มความเร็วในการเดินหรือแกวงแขนขาใหแรงขึ้น ซึ่งจะชวย
เพิ่มอัตราการเตน ของหัวใจใหเ รว็ ขน้ึ ได
1.6. รองเทาใชใสเดินควรเปนรองเทาท่ีมีพ้ืนกันกระแทกท่ีสนเทาและหัวแมเทา สามารถ
รองรบั น้ําหนกั ไดเปนอยางดีเพือ่ ปองกันการบาดเจบ็ ท่เี ทา
2. การวิ่ง การวิ่งเปนการออกกําลังกายท่ีคนนิยมกันมากซึ่งงายและสะดวกพอ ๆ กับการเดิน
แตก ารวง่ิ มีใหเ ลือกหลายแบบ การท่จี ะเลอื กวิ่งแบบใดน้นั ขึ้นอยูกับความสะดวกและความชอบสวนตัวของ
แตละบุคคล เชน การวิ่งเหยาะ ๆ การวงิ่ เร็ว การวิ่งมาราธอน การว่ิงอยูกับท่ี หรือการวิ่งบนสายพานตาม

73

สถานท่อี อกกาํ ลังกายทว่ั ไป การวิง่ ตอ ครงั้ ควรมรี ะยะทาง 2 – 5 กโิ ลเมตร และสัปดาหหนึ่งไมเกิน 5 คร้ัง
ซง่ึ มเี ทคนิคงา ย ๆ ดงั นี้

2.1. การว่งิ อยกู ับที่ ตอ งยกเทาแตล ะขางใหสงู ประมาณ 8 นิ้ว ซ่ึงมีขอจํากัดที่มีการเคล่ือนไหว
ของขอตาง ๆ นอย ไมม กี ารยดื หรือหดของกลา มเน้อื อยางเต็มท่ี ซ่งึ ถอื เปน ขอดอยกวาการวงิ่ แบบอนื่ ๆ

2.2. การวง่ิ บนสายพาน เปนการวงิ่ ทปี่ ลอดภยั กวาการว่งิ กลางแจง ไมตองเผชญิ กับสภาพที่มี
ฝนตก แดดรอ น หรอื มฝี ุน ละอองตางๆ และถา ใชสายพานชนิดใชไฟฟา จะมรี ะบบตาง ๆ บนจอภาพ ทําให
ทราบวา การว่งิ ของเรานน้ั มีความเร็วอยูในระดับใด ว่ิงไดระยะทางเทาไร และมีอัตราการเตนของชีพจร
เทา ใด เพ่ือใชเ ปนขอมลู เบือ้ งตนในการปรบั โปรแกรมออกกําลังกายในคร้ังตอ ไป การวิง่ บนสายพาน
มีขอเสียคือ ตองเสียคา ใชจ า ยเพราะเครื่องมรี าคาแพง และการใชบ รกิ ารในสถานออกกําลังกายของเอกชน
จะตองเสยี คาบริการ ซ่ึงมรี าคาแพงเชนกนั ดงั นั้นควรใชบริการของภาครัฐที่ใหบริการดานน้ีโดยตรงคือ
สถานท่ีออกกาํ ลังกายทจี่ ัดบรกิ ารโดยเทศบาล องคก ารบริหารสวนจังหวัด สํานักงานพัฒนาการกีฬาและ
นันทนาการจังหวัด การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด และการกีฬาแหงประเทศไทย ซ่ึงประชาชนทุกคน
สามารถเขา ไปใชบรกิ ารได

2.3. การว่งิ กลางแจง เปน การวง่ิ ทที่ ําใหเราไดอากาศบริสุทธ์ิ ถาว่ิงในสวนสาธารณะหรือวิ่ง
ออกไปนอกเมืองจะไดชมทิวทัศน ทําใหไมเบื่อและไมตองเสียคาใชจาย ที่สําคัญตองระมัดระวังเร่ือง
ความปลอดภยั ในกรณที ี่ออกวิง่ เพียงคนเดยี ว

3. การขี่จักรยาน การข่ีจักรยานไปตามสถานที่ตาง ๆ เปนการออกกําลังกายท่ีใหประโยชน
ดานการทรงตัว ความคลอ งแคลว วอ งไว และเปนการฝกความอดทนดวย การขี่จกั รยานในสวนสาธารณะ
หรือในท่ีไมมีมลพิษน้ัน นอกจากจะเกิดประโยชนตอรางกายแลวยังเปนการสงเสริมสุขภาพจากความ
เพลดิ เพลนิ ในการชมทิวทศั นร อบดา นและอากาศทบี่ รสิ ทุ ธ์ิ ซง่ึ แตกตางจากการขี่จักรยานแบบต้ังอยูกับที่
ในบานหรอื สถานทอ่ี อกกําลงั กาย ในการข่จี กั รยานมเี ทคนคิ งาย ๆ ทคี่ วรปฏิบตั ิดังนี้

3.1. ปรบั ท่ีน่ังของจกั รยานใหเ หมาะสม เพราะในการปน ตองมีการโยกตัวรวมดวย
3.2. ในการปน จกั รยานใหป น ดวยปลายเทาตรงบรเิ วณโคนนวิ้
3.3. ถา เปน จกั รยานแบบตัง้ อยูกับท่ี ในชวงแรกของการฝกควรตั้งความฝดใหนอยเพ่ืออบอุน
รางกายประมาณ 3 – 4 นาที แลวจึงคอย ๆ ปรับเพิ่มความฝดของลอมากข้ึนจนหัวใจเตนเร็วถึงอัตราที่
กาํ หนดไวในเปาหมาย แลวจึงคอย ๆ ลดความฝดลงจนเขาสูระยะผอนคลาย เม่ือชีพจรเตนชาลงจนเปน
ปกติจงึ หยุดปน จกั รยานได
4. การเตน แอโรบิก เปนการออกกําลังกายที่ไดรับความนิยมเปนอยางมาก และเปนการออกกําลัง
กายท่ไี ดเคลอ่ื นไหวทกุ สว นของรางกาย ประโยชนจากการเตนแอโรบิก คือ การสรางความแข็งแกรงและ
ความอดทนของกลา มเนอื้ โดยเฉพาะกลามเนอื้ หัวใจเทคนคิ ในการเตนแอโรบิกมีดงั นี้
4.1. ตอ งเคลอ่ื นไหวรา งกายตลอดเวลา เพื่อใหก ารเตนของหวั ใจอยูในระดับท่ีตอ งการ
4.2. ใชเ วลาในการเตน แอโรบิก คร้งั ละ 20 – 30 นาที สปั ดาหล ะ 3 คร้ัง

74

4.3. สถานทีท่ ใ่ี ชใ นการเตนแอโรบิก ควรมีอากาศถายเทไดสะดวก และถาพ้ืนท่ีใชเตนเปน
พ้ืนแข็งผูเตนจะตองใสรองเทาสําหรับเตนแอโรบิกโดยเฉพาะ ซึ่งพ้ืนรองเทาจะชวยรองรับแรง
กระแทกได

4.4. ควรหลกี เล่ียงทา กระโดด เพราะการกระโดดทําใหเ ทา กระแทกกบั พืน้
กจิ กรรมการออกกาํ ลงั กายดงั กลาว เราสามารถเลอื กกจิ กรรมไดตามความเหมาะสมของเวลาและ
สถานที่ ดังนั้นจึงควรหาเวลาวางในแตละวันทํากิจกรรมออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเพื่อสรางเสริม
สมรรถภาพทางกายใหเ ปนผมู สี ุขภาพดที ั้งรา งกายและจิตใจ
นอกจากน้ยี ังมีกจิ กรรมการออกกําลังกายรปู แบบอน่ื ๆ ท่ผี ูเ รียนสามารถเลือกปฏบิ ัติไดตามความ
สนใจและความพรอ มดา นรางกาย เวลา สถานท่ี อปุ กรณ ไดแ ก การวา ยนํ้า กิจกรรมเขาจงั หวะ ลีลาศ รําวง
การรําไมพลอง โยคะ ไทเกก ฯลฯ รวมถึงกีฬาเพื่อสุขภาพอื่น ๆ เชน ฟุตบอล วอลเลยบอล บาสเกตบอล
เปนตน ท้ังนก้ี ิจกรรมการออกกําลังกายและกีฬาท่ีกลาวแลว สามารถเลนเปนกลุมเพ่ือเสริมสรางสุขภาพ
และความสัมพันธในชมุ ชนได

การออกกาํ ลงั กายสําหรับผูป ว ย
ผูที่มีโรคภัยไขเจ็บ เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และผูปวยท่ีมีโรค

ประจาํ ตวั ทกุ โรคที่ยังสามารถเคล่ือนไหวรางกายไดตามปกติ หากไดมีการเคลื่อนไหวรางกายหรือออก
กาํ ลงั กายท่ถี ูกตอ งตามสภาพและอาการของโรคจะชวยใหโรคทเ่ี ปน อยหู ายเร็วขึ้น อยางไรก็ตามการออก
กําลังกายมีทั้งคุณและโทษ หากไมรูจักวิธีท่ีถูกตองอาจเกิดอันตรายไดโดยเฉพาะผูที่มีโรคประจําตัว
จะตอ งคํานงึ ถึงสขุ ภาพความพรอ มของรา งกาย โดยควรปรกึ ษาแพทยเพื่อตรวจรางกายอยางละเอียดและ
ใหค ําแนะนําการออกกําลังกายท่ีเหมาะสม ท้ังน้ี ดร.จรวยพร ธรณินทร ผูเช่ียวชาญดานพลศึกษาไดให
คําแนะนําไวดงั น้ี

หลกั ในการออกกําลงั กายสําหรบั ผปู ว ย
ผปู วยทุกโรคที่ยงั สามารถเคล่ือนไหวไดตามปกติ ควรปฏบิ ตั ติ นดงั ตอไปนี้
1. ควรคอยทําคอยไปเร่ิมตั้งแตนอยไปหามากแลวคอยเพ่ิมปริมาณข้ึนและเพ่ิมความยากข้ึน
ตามลําดับ
2. ควรออกกําลังกายโดยสม่ําเสมอ อยา งนอยสปั ดาหละ 3 วนั วนั ละ 10 – 15 นาที เปน อยางนอ ย
3. ตองใหท ุกสวนของรางกายไดเ คลือ่ นไหว โดยเฉพาะกลามเนื้อบริเวณสําคัญ เชน ทอง แขน
ขา หลงั ลําตวั กลามเนอื้ หวั ใจ และหลอดเลือด ตองทาํ งานหนกั
4. ผูทมี่ คี วามดันเลือดสูง ปรอทวดั ดานบนเกนิ 150 มลิ ลเิ มตรปรอท ดา นลางเกนิ 100 มิลลิเมตร
ปรอท ตอ งใหแ พทยต รวจ และใหค วามดนั ดา นบนลดลงต่าํ กวา 130 มลิ ลิเมตรปรอท และความดันลางต่ํา
กวา 90 มิลลเิ มตรปรอท เสียกอนจงึ ออกกําลังกาย จะโดยวธิ รี บั ประทานยาลดความดันก็ได

75

5. สําหรับผูที่เปนโรคเบาหวาน ท่ีมีระดับน้ําตาลในเลือดสูงเกิน 200 มิลลิกรัมปรอท ตองให
ระดับนาํ้ ตาลในเลือดลดลงตาํ่ กวา 160 มลิ ลกิ รัมปรอทเสยี กอ น จึงคอ ยออกกาํ ลังกาย โดยวธิ รี บั ประทานยา
ที่หมอส่ังกินเปนประจํา หรือลดอาหารพวกแปง และน้ําตาลลงมาก ๆ แลวกินผักและผลไมท่ีไมหวาน
จดั แทน

6. ผูที่ปวยเปนโรคหัวใจทุกชนิด ควรปรึกษาแพทยกอนออกกําลังกาย หรือว่ิงแขงขันประเภท
ตางๆ

7. ผสู งู อายตุ ง้ั แต 60 ปขึน้ ไป และผูมีนํ้าหนักเกนิ มาก ๆ ควรปรึกษาแพทยก อนจะเร่ิมตน
ออกกาํ ลังกาย

8. ผปู วยทุกคนหรอื คนปกตทิ ่ีมีอายุตัง้ แต 30 ปข น้ึ ไป ควรไดร ับการตรวจสขุ ภาพและจติ ใจกอ น
ลงมืออกกําลังกาย เมอ่ื แพทยอนุญาตใหออกกําลงั กาย จึงคอยๆ เร่มิ ไปออกกําลังกายทลี ะนอย ๆ

สาํ หรับผปู ว ยทกุ โรค การออกกาํ ลังกายควรเริ่มตนจากการเดินเปนวิธีท่ีปลอดภัยเปนโอกาสให
รา งกายไดทดลองโดยเร่มิ เดนิ ประมาณ 2 สัปดาหก อ น เพอื่ ใหรา งกายปรบั ตวั ในการที่ตองทํางานหนักข้ึน
ควรสงั เกตตัวเองวาถาออกกําลังกายถูกตองแลวรางกายจะกระปรี้กระเปรา นอนหลับสนิท จิตใจราเริง
มีเรยี่ วแรงมากขึ้น

หลังจากเดินชาใน 2 สัปดาหแรกจึงคอยเดินเร็วใหกาวเทายาว ๆ ขึ้นในสัปดาหท่ี 3 – 4 ถาไม
เจ็บปวยไมม ากนกั พอข้ึนสัปดาหท่ี 5 อาจจะเริ่มว่ิงเบา ๆ สลับกับการเดินก็ได ถามีอาการผิดปกติเตือน
เชน วิงเวียน หัวใจเตนแรงมาก หรือเตนถี่สลับเบา ๆ หายใจขัด รูสึกเหนื่อยผิดปกติหรืออาการหนามืด
คลายจะเปนลม ผทู ี่มอี าการดงั กลาวกค็ วรหยดุ ออกกาํ ลงั กาย การวงิ่ ระยะตน ๆ ควรว่งิ เหยาะ ๆ ชา ๆ วนั ละ
5 – 10 นาที แลว คอยเพิ่มขนึ้ ทีละนอย

การออกกําลังกายท่ีปลอดภัยที่สุดอีกวิธีหน่ึง สําหรับผูปวย คือ กายบริหาร ยืดเสน ยืดสายให
กลา มเน้ือ ขอตอไดอ อกแรงโดยยึดหลกั ดังน้ี

1. กายบรหิ ารวนั ละ 10 นาทีทุกวนั
2. ทาทีใ่ ชฝก ควรเปน 6 – 7 ทา ตอวนั ใน 2 สปั ดาหแรกใหฝ กทาละ 5 – 10 รอบ สัปดาห 3 – 4 รอบ
เพ่ิมเปน 12 รอบ
3. เปลี่ยนทาฝกไมใหเบ่ือหนาย เลือกทาบริหารกลามเนื้อมัดใหญๆ เชน ทอนขา ทอนแขน
ตนคอ หัวไหล เปนตน
4. ทา ซอยเทาอยกู ับทีแ่ ละทากระโดดเชือกถาเลือกทําใหพึงระวังเปนพิเศษ ในผูปวยหนักและ
ผสู งู อายุ
5. ถงึ แมว าจะรูสึกวา แข็งแรง สดชื่นก็ไมค วรฝกหักโหมออกกําลงั กายมากเกินไป ทาบริหารแต
ละทา ไมค วรฝกเกินทา ละ 30 รอบ และไมฝก เกนิ 30 ทา ในแตล ะวัน
6. ตรวจสอบความกาวหนาในการออกกําลังกายโดยการช่ังน้ําหนัก สวนคนที่มีรูปรางได
สัดสว นนํา้ หนกั ไมค วรเปล่ียนแปลงมากนกั

76

7. วัดชีพจรท่ีซอกคอหรือขอมือคนทั่ว ๆ ไป ถาไมเจ็บปวยเปนไข ผูชายเฉลี่ยอัตราการเตนของ
หัวใจหรือชีพจร 70 – 75 คร้ังตอนาที ผูหญิง 74 – 76 ครั้งตอนาที สวนผูปวยท่ีมีพิษไขจะมีชีพจรสูงกวา
ปกติ แตถารางกายสมบูรณแข็งแรงขึ้น ชีพจรควรลดลงอยางนอยจากเดิม 5 – 10 ครั้งตอนาที แสดงวา
หัวใจทาํ งานดขี น้ึ

สรุป
การออกกาํ ลังกายแตล ะประเภทมีลกั ษณะเฉพาะที่ผูออกกาํ ลงั กายตอ งคาํ นึงถึง เชน การขจี่ กั รยาน

มีจุดทคี่ วรระมัดระวงั อยทู หี่ ัวเขา ผทู ่ีขอเขาไมแ ขง็ แรงหรือมกี ารอกั เสบถาออกกําลังกายดวยการขจ่ี ักรยาน
จะทาํ ใหเ กิดการอกั เสบมากย่งิ ขึน้ ฉะนนั้ การเลือกวิธกี ารออกกาํ ลงั กายจะตอ งคํานงึ ถึงขอจํากัดของสภาพ
รางกาย โดยพยายามหลกี เลีย่ งการใชอวัยวะสว นทีเ่ สีย่ งอันตรายของตนเองใหนอยท่ีสุดหรือรักษาใหหาย
เสยี กอน จึงคอ ยออกกาํ ลัง โดยเริม่ จากเบา ๆ แลวเพม่ิ ความหนักทลี ะนอ ย

สวนบุคคลท่มี ีโรคประจําตวั ควรปรกึ ษาแพทยก อนออกกาํ ลงั กายและตอ งสังเกตอาการผิดปกติท่ี
เกิดข้ึนระหวางการออกกําลังกายหรือหลังการออกกําลังกายทุกคร้ัง ท้ังน้ีการออกกําลังกายท่ีถูกตอง
เหมาะสมควรอยใู นการดแู ลของแพทย ยอมกอใหเ กิดประโยชนม ากกวาเปนโทษอยา งแนนอน นอกจากน้ี
พึงระลกึ วาการออกกําลังกายท่เี หมาะสมสาํ หรับคนหนึ่ง อาจไมใชการออกกําลังกายท่ีเหมาะสมสําหรับ
อีกคนหนง่ึ

กิจกรรม
1. ฝกการจบั ชพี จรทคี่ อและขอ มอื
2. ใหชวยกนั วิเคราะหเ พื่อนในกลุมวา บคุ คลใดมีสขุ ภาพแขง็ แรงหรือออนแอ แลว แบง กลมุ
ตามความแข็งแรง
3. จดั โปรแกรมออกกําลงั กายสาํ หรบั เพือ่ นในแตละกลมุ ใหมคี วามเหมาะสมกบั สภาพรา งกาย
และความพรอ มของแตละกลมุ ทแ่ี บง ไวใ นขอ 2
4. สาธติ การออกกําลังกายของทุกกลมุ พรอมอธิบายถึงประโยชนแ ละความเหมาะสมกบั วิธกี าร
ทสี่ าธิตวา เหมาะสมอยางไร มีประโยชนอยา งไร

77

บทที่ 5
โรคท่ถี า ยทอดทางพันธุกรรม

สาระสาํ คัญ

มีความรูและสามารถปฏิบัตติ นในการปองกันโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรมได สามารถแนะนํา
ขอมลู ขาวสาร และแหลงบรกิ ารเพ่อื ปองกนั โรคแกครอบครวั และชมุ ชนได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. อธบิ ายโรคที่ทถี่ ายทอดทางพนั ธกุ รรม สาเหตุ อาการ การปอ งกันและการรกั ษาโรคตาง ๆ
2. อธิบายหลักการและเหตุผลในการวางแผนรวมกับชุมชน เพ่ือปองกันและหลีกเลี่ยงโรค
ทถ่ี า ยทอดทางพันธุกรรม
3. อธิบายผลกระทบของพฤติกรรม สขุ ภาพที่มีตอ การปองกนั โรค

ขอบขา ยเน้อื หา

เรอ่ื งท่ี 1 โรคทถี่ า ยทอดทางพนั ธุกรรม
เรอื่ งที่ 2 โรคทางพนั ธุกรรมท่สี ําคญั

2.1 โรคทาลสั ซีเมยี
2.2 โรคฮโี มฟเ ลีย
2.3 โรคเบาหวาน
2.4 โรคภมู แิ พ

78

เร่ืองท่ี 1 โรคท่ีถายทอดทางพันธุกรรม

โรคตดิ ตอทางพนั ธุกรรมคืออะไร
การท่ีมนุษยเกิดมามีลักษณะแตกตางกัน เชน ลักษณะ สีผิว ดํา ขาว รูปราง สูง ตํ่า อวน ผอม

ผมหยิก หรือเหยียดตรง ระดับสติปญญาสูง ต่ํา ลักษณะดังกลาวจะถูกควบคุมหรือกําหนดโดย
“หนวยพันธุกรรมหรือยีน” ท่ีไดรับการถายทอดมาจากพอและแม นอกจากน้ีหากมีความผิดปกติใด ๆ
ทแ่ี ฝงอยใู นหนวยพันธกุ รรม เชน ความพิการหรอื โรคบางชนดิ ความผิดปกตินนั้ กจ็ ะถูกถายทอดไปยงั
รุนลูกตอ ๆ ไปเรียกวา โรคติดตอ หรือโรคทถี่ ายทอดทางพันธกุ รรม

ความผดิ ปกตทิ แ่ี ฝงอยูในหนวยพันธกุ รรม (ยนี ) ของบิดา มารดา เกดิ ข้ึนโดยไดรบั การถา ยทอดมา
จาก ปู ยา ตา ยาย หรอื บรรพบรุ ษุ รนุ กอน หรอื เกิดข้ึนจากการผา เหลา ของหนวยพนั ธุกรรม ซง่ึ พบในเซลล
ทีม่ กี ารเปล่ียนแปลงผิดไปจากเดมิ โดยมปี จจยั ตาง ๆ เชน การไดรับรังสหี รอื สารเคมบี างชนดิ เปนตน

ท้ังน้ี ความผิดปกติท่ีถายทอดทางพันธุกรรมสามารถเกิดขึ้นไดท้ังสองเพศ บางชนิดถายทอด
เฉพาะเพศชาย บางชนิดถายทอดเฉพาะในเพศหญิง ซ่ึงควบคุมโดยหนวยพันธุกรรมหรือยีนเดน และ
หนวยพันธุกรรมหรือยีนดอ ย บนโครโมโซมของมนุษย

โครโมโซมคอื อะไร
โครโมโซม คอื แหลง บรรจหุ นว ยพนั ธุกรรมหรอื ยนี ซึ่งอยภู ายในเซลลข องมนุษย ความผิดปกติ
ของโครโมโซมจะกอ ใหเ กดิ ความไมส มดุลของยนี ถาหากมคี วามผดิ ปกติมากหรอื เกิดความไมสมดุลมาก
ในขณะตงั้ ครรภจ ะทําใหทารกแทง หรอื ตายหลังคลอดได ถาหากความผดิ ปกตนิ อยลง ทารกอาจคลอด
และรอดชีวิตแตจ ะมอี าการผิดปกติ พกิ ารแตก าํ เนิด หรือสตปิ ญญาตา่ํ เปนตน
โครโมโซมของคนเรามี 23 คู หรอื 46 แทง แบง ออกเปนสองชนดิ คอื
- ออโตโซม (Autosome) คือโครโมโซมรางกาย มี 22 คู หรอื 44 แทง
- เซก็ โครโมโซม(Sex Chromosome) คือโครโมโซมเพศ มี 1 คู หรือ 2 แทง

- โครโมโซมเพศในหญงิ จะเปนแบบ XX
- โครโมโซมเพศในชายจะเปน แบบ XY

ความผดิ ปกติทถี่ ายทอดทางพนั ธกุ รรมในโครโมโซมรางกาย (Autosome)

- เกดิ ข้นึ ไดทกุ เพศและแตละเพศมโี อกาสเกิดข้นึ เทา กัน
- ลกั ษณะทถี่ ูกควบคุมดวยยนี ดอยบนโครโมโซม ไดแก โรคทารสั ซีเมยี ผิวเผือก
เซลลเมด็ เลือดแดงเปน รปู เคียว
- ลกั ษณะที่ควบคมุ โดยยนี เดน บนโครโมโซม ไดแ ก โรคทา วแสนปม นิว้ มือส้ัน คนแคระเปนตน
ความผดิ ปกตทิ ีถ่ ายทอดทางพันธกุ รรมในโครโมโซมเพศ (Sex Chromosome)
- เกิดขึ้นไดทกุ เพศ แตโ อกาสเกดิ ขน้ึ จะมมี ากในเพศใดเพศหนง่ึ

79

- ลักษณะท่คี วบคมุ โดยยนี ดอยบนโครโมโซม X ไดแก หวั ลาน ตาบอดสี พันธุกรรมโรคภาวะ
พรองเอนไซม จ-ี 6- พดี ี (G-6-PD) โรคกลามเนอ้ื แขนขาลบี การเปน เกย เนื่องจากควบคมุ ดว ยยนี ดอยบน
โครโมโซม X จงึ พบในเพศชายมากกวา ในเพศหญิง (เพราะผชู ายมี X ตัวเดียว)
ความผดิ ปกตขิ องพนั ธกุ รรมหรอื โรคทางพนั ธกุ รรมมคี วามรนุ แรงเพียงใด

1. รุนแรงถึงขนาดเสยี ชวี ติ ต้ังแตอยใู นครรภ เชน ทารกขาดนํ้าเนอื่ งจากโรคเลือดบางชนิด เปนตน
2. ไมถ งึ กับเสยี ชีวติ ทันที แตจ ะเสยี ชวี ิตภายหลงั เชน โรคกลามเนือ้ ลีบ เปนตน
3. มรี ะดับสติปญ ญาต่าํ พกิ าร บางรายไมส ามารถชว ยเหลือตนเองได หรือชว ยเหลอื ตัวเองได
นอ ย เชน กลุม อาการดาวนซ นิ โดรม เปน ตน
4. ไมรุนแรงแตจะทําใหมีอุปสรรคในการดํารงชีวิตประจําวันเพียงเล็กนอย เชน ตาบอดสี
ตัวอยา ง ความผิดปกติทางพันธกุ รรมที่พบบอย เชน กลมุ ดาวนซนิ โดรม โรคกลามเนือ้ ลบี มะเรง็
เม็ดเลือดขาวบางชนดิ เปนตน
จะปองกันการกําเนดิ บตุ รที่มคี วามผิดปกตทิ างพันธกุ รรมไดห รือไม
ความผิดปกติทางพันธุกรรมบางชนิด สามารถตรวจพบไดตั้งแต กอนต้ังครรภออน ๆ โดยการ
ตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม และถาหากเปนโรคเลือดทาลัสซีเมีย สามารถตรวจเลือดบิดาและ
มารดาดูวาเปน พาหนะของโรคหรือไม
เมือ่ พบความผดิ ปกตปิ ระการใด จะตองไปพบแพทยท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานเพื่อทําการวางแผน
การมบี ุตรอยางเหมาะสมและปลอดภัย
กรณใี ดบางที่ควรจะไดร บั การวิเคราะหโ ครโมโซม
1. กอ นตดั สินใจมีบุตร ควรตรวจคดั กรองสภาพทางพนั ธกุ รรมของคูสมรส เพื่อทราบระดับความเส่ียง
2. กรณมี ีบตุ รยาก แทงลกู บอย เคยมบี ุตรตายหลังคลอด หรอื เสียชวี ิตหลังคลอดไมน าน เคยมี
บุตรพิการแตก ําเนดิ หรอื ปญญาออน
3. กรณีทม่ี ารดาตั้งครรภท ี่มอี ายตุ งั้ แต 35 ปขน้ึ ไป
4. กรณีที่ไดร บั สารกัมมนั ตรังสีหรอื สารพษิ ท่ีสงสัยวาจะเกดิ ความผิดปกตขิ องโครโมโซม
5. กรณีเดก็ แสดงอาการผดิ ปกติต้งั แตก าํ เนดิ หรือมีภาวะปญ ญาออ น
การตรวจหาความผิดปกตขิ องโครโมโซมสามารถตรวจไดจ ากอะไรบาง
การตรวจความผดิ ปกตขิ องโครโมโซม สามารถตรวจไดจ าก
1. เลอื ด
2. เซลลในน้าํ คร่ํา
3. เซลลของทารก
4. เซลลจากไขกระดูก
5. เซลลอ ่ืน ๆ

80

เร่อื งที่ 2 โรคทางพันธุกรรมท่ีสาํ คัญ

โรคทถี่ า ยทอดทางพนั ธุกรรมทพี่ บโดยท่ัวไป ไดแก โรคธาลัสซีเมีย โรคฮีโมฟเลีย โรคตาบอดสี
โรคคนเผือก โรคเบาหวาน รวมถึงกลุมอาการดาวนซินโดรม (Down’s syndrome) หรือ โรคปญญาออน
เปนตน ซ่งึ โรคตดิ ตอ ท่ีถายทอดทางพันธุกรรมนี้ หากไมมีการตรวจพบหรือคัดกรองกอนการสมรส จะ
เกิดปญ หาตามมามากมาย เชน อาจทาํ ใหเ กิดพกิ าร หรอื เสยี ชีวติ ในที่สุด รวมท้ังเกิดปญหาดานภาวการณ
เล้ียงดูและการรักษา ขนั้ กระทบตอ การดําเนินชีวิตของผปู วยและครอบครัวเปนอยางมาก ดังน้ันจึงควรมี
การตรวจรางกายเพอ่ื หาความผิดปกติของคูสมรส กอนแตงงานหรือกอนตั้งครรภโดยปจจุบันมีแพทยที่
สามารถใหค ําปรกึ ษาและตรวจรักษาไดถ ูกโรงพยาบาล
โรคทีถ่ ายทอดพันธกุ รรมท่สี ําคญั ไดแ ก

2.1 โรคธาลสั ซีเมีย
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เปนโรคเลือดจางท่ีมีสาเหตุมาจากมีความผิดปกติทาง
พนั ธกุ รรม ทาํ ใหม ีการสรางโปรตนี ทีเ่ ปน สวนประกอบสําคัญของเม็ดเลือดผิดปกติ จงึ ทําใหเมด็ เลือดแดง
มีอายุสั้นกวาปกติ แตกงาย ถูกทําลายงาย ผูปวยที่เปนโรคน้ีจึงมีเลือดจาง โรคน้ีพบไดท้ังหญิงและชาย
ปริมาณเทา ๆ กนั ถา ยทอดมาจากพอ และแมท างพนั ธุกรรมพบไดท ัว่ โลก และพบมากในประเทศไทยดวย
เชน กัน
ประเทศไทยพบผูป วยโรคน้ีรอยละ 1 และพบผูท่ีมีพาหะนําโรคถึงรอยละ 30 - 40 คือประมาณ
20 - 25 ลานคน เมื่อคนท่ีเปนพาหะแตงงานกันและพบยีนผิดปกติรวมกัน ก็อาจมีลูกท่ีเกิดโรคน้ีได ซึ่ง
ประมาณการณว าจะมคี นไทยเปน มากถึง 500,000 คน โรคนี้ทําใหเกิดโลหิตจางโดยเปนกรรมพันธุของ
การสรางเฮโมโกลบิน ซงึ่ มสี แี ดงและนาํ ออกซิเจนไปเลยี้ งรางกายสวนตา ง ๆ
ธาลสั ซเี มียเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของการสังเคราะหเฮโมโกลบินที่เกิดจากความ
เปลี่ยนแปลงในอัตราการสรางสายโปรตนี เฮโมโกลบิน การทม่ี ีอัตราการสรา งสายเฮโมโกลบินชนิดหนงึ่ ๆ
หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสรางเฮโมโกลบินและทําใหเกิดความไมสมดุลในการสรางสาย
เฮโมโกลบินชนิดหนึง่ หรือหลายชนิดลดลงจะรบกวนการสรา งเฮโมโกลบินและทําใหเ กิดความไมสมดุล
ในการสรางสายเฮโมโกลบนิ ปกตอิ ืน่
เฮโมโกลบินปกติประกอบดวยสายเฮโมโกลบินสองชนิด (แอลฟาและไมใชแอลฟา) ใน
อัตราสวน 1:1 สายเฮโมโกลบนิ ปกติสว นเกินจะตกคา งและสะสมอยใู นเซลลในรูปของผลผลติ ที่ไมเ สถียร
ทาํ ใหเซลลเ สยี หายไดง าย

81

ชนิดและอาการ
ธาลสั ซีเมีย แบงออกเปน 2 กลมุ ใหญ ไดแ ก แอลฟาธาลสั ซีเมยี และเบตาธาลัสซีเมีย ซึ่งก็คือ ถามี

ความผิดปกติของสายแอลฟา ก็เรียกแอลฟาธาลัสซีเมีย และถามีความผิดปกติของสายเบตาก็เรียก
เบตา ธาลสั ซเี มีย

เบตาธาลัสซีเมีย เบตาธาลัสซีเมียจะเกิดขึ้นเม่ือสายเบตาในเฮโมโกลบินน้ันสรางไมสมบูรณ
ดังนน้ั เฮโมโกลบินจงึ ขนสง ออกซิเจนไดล ดลง ในเบตาธาลสั ซีเมียสามารถแบง ออกไดเ ปน หลายชนิดยอ ย
ข้นึ อยูกบั ความสมบูรณข องยีนในการสรา งสายเบตา

ถา มียีนทส่ี รา งสายเบตา ไดไ มสมบูรณ 1 สาย (จากสายเบตา 2 สาย) ภาวะซดี อาจมคี วามรุนแรงได
ปานกลางถงึ มาก ในกรณนี ีเ้ กิดจากการไดรบั ยีนสท ผ่ี ิดปกตมิ าจากทั้งพอและแม

ถามีภาวะซีดปานกลาง จําเปนตองไดรับเลือดบอย ๆ โดยปกติแลวสามารถมีชีวิตไดจนถึงวัย
ผูใหญ แตถามีภาวะซีดท่ีรุนแรงมักจะเสียชีวิตกอนเน่ืองจากซีดมาก ถาเปนรุนแรงอาการมักจะเร่ิมตน
ตงั้ แตอายุ 6 เดือนแรกหลังเกิด แตถา เดก็ ไดรับเลอื ดอยางสมํ่าเสมอตั้งแตแรกเร่ิมก็มักจะมีชีวิตอยูไดนาน
มากขึน้ แตอยา งไรกต็ ามกม็ กั จะเสียชวี ติ เนอื่ งจากอวัยวะตา ง ๆ ถกู ทําลาย เชน หัวใจ และตบั เปนตน

แหลงระบาดของเบตา ธาลสั ซีเมยี ไดแก เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตและแถบเมดเิ ตอรเ รเนยี น
แอลฟาธาลัสซีเมีย แอลฟาธาลัสซีเมีย เกิดข้ึนเน่ืองจากเฮโมโกลบินในสายแอลฟามีการสราง
ผิดปกติ โดยปกติแลว จะมแี หลงระบาดอยูในแถบตะวันออกเฉียงใตเปนหลัก ไดแก ไทย จีน ฟลิปปนส
และบางสวนของแอฟรกิ าตอนใต
ความผดิ ปกติเก่ยี วกับการสรา งสายแอลฟา โดยปกตแิ ลวสายแอลฟา 1 สายจะกําหนดโดยยีน 1 คู
2 แทง ดังนี้
ถา มีความผดิ ปกตเิ กีย่ วกบั ยนี ในการสรา งสายแอลฟา 1 ยีน จะไมม ีอาการใด ๆ แตจะเปนพาหะท่ี
สงยืนน้ีไปยังลูกหลาน ถามีความผิดปกติเก่ียวกับยีนในการสรางสายแอลฟา 2 ยีน จะมีภาวะซีดเพียง
เลก็ นอ ย แตไ มจ าํ เปน ตอ งไดร บั การรกั ษา ถา มคี วามผิดปกติเก่ียวกับยีนในการสรางสายแอลฟา 3 ยีน จะ
เกิดภาวะซดี ไดต งั้ แตรุนแรงนอ ย จนถึงรุนแรงมาก บางคร้ังเรยี กวาเฮโมโกลบนิ H ซงึ่ อาจจําเปน ตอ งไดร บั
เลือด ถามีความผิดปกติเก่ียวกับยีนในการสรางสายแอลฟา 4 ยีนจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาสั้น ๆ
ภายหลังจากเกิดออกมา เรียกวา เฮโมโกลบินบารด

อาการ
จะมีอาการซดี ตาขาวสีเหลือง ตัวเหลือง ตับโต มามโต ผิวหนังดําคลํ้า กระดูกใบหนาจะเปลี่ยน

รปู มจี มูกแบน กะโหลกศรี ษะหนา โหนกแกมนนู สูง คางและขากรรไกรกวาง ฟน บนยนื่ กระดกู บาง
เปราะ หักงาย รางกายเจริญเติบโตชากวาคนปกติ แคระแกร็น ทองปอง ในประเทศไทยมีผูเปนโรค
ประมาณรอยละ 1 ของประชากรหรอื ประมาณ 6 แสนคน

82

โรคเลือดจางธาลัสซีเมียมีอาการตัง้ แตไ มม ีอาการใด ๆ จนถึงมีอาการรุนแรงมากท่ีทําใหเสียชีวิต
ตงั้ แตอยูในครรภหรอื หลงั คลอดไมเ กนิ 1 วนั ผูทีม่ อี าการจะซีดมากหรือมีเลือดจางมาก ตองใหเลือดเปน
ประจํา หรือมภี าวะติดเชือ้ บอย ๆ หรือมีไขเปนหวัดบอย ๆ ได มากนอยแลวแตชนิดของธาลัสซีเมียซึ่งมี
หลายรปู แบบ ทงั้ แอลฟา - ธาลัสซเี มยี และเบตา - ธาลสั ซเี มยี

ผูทม่ี ีโอกาสเปน พาหะ
- ผูท่ีมญี าตพิ ่นี องเปน โรคน้ีกม็ ีโอกาสท่ีจะเปนพาหะหรือมียนี แฝงสงู
- ผทู ีม่ ลี ูกเปน โรคน้ี แสดงวา ทง้ั คสู ามภี รรยาเปนพาหะหรอื มยี นี แฝง
- ผทู ่มี ีประวตั บิ คุ คลในครอบครวั เปนโรคธาลัสซีเมยี
- ถาผปู ว ยทีเ่ ปน โรคธาลัสซเี มยี และแตง งานกับคนปกตทิ ไ่ี มม ยี นี แฝง ลูกทุกคนจะมียีนแฝง
- จากการตรวจเลอื ดดวยวธิ พี เิ ศษดคู วามผดิ ปกติของเฮโมโกลบนิ

โอกาสเสี่ยงของการมีลูกเปนโรคธาลสั ซีเมีย
ถาท้งั พอ และแมเ ปนโรคธาลัสซเี มีย (ปว ยทัง้ ค)ู

- ในการตั้งครรภแตล ะครง้ั ลูกทุกคนจะปว ยเปน โรคธาลัสซเี มยี
- ในกรณนี ้ีจงึ ไมมลี ูกที่เปนปกติเลย

ถา ทัง้ พอ และแมม ยี นี แฝง (เปน พาหะท้งั ค)ู
- ในการตั้งครรภแ ตละครงั้ โอกาสทล่ี กู จะเปนปกติ เทา กบั รอยละ 25 หรือ 1 ใน 4
- ในการตงั้ ครรภแตละคร้งั โอกาสที่ลูกจะมยี นี แฝง (เปน พาหะ) เทากับ รอยละ 50 หรอื 2 ใน 4
- ในการต้ังครรภแตล ะครงั้ โอกาสทจี่ ะมีลกู จะเปนโรคธาลัสซีเมยี เทากับ
รอยละ 25 หรอื 1 ใน 4

ถา พอ หรอื แมเ ปน ยีนแฝงเพียงคนเดียว (เปนพาหะ 1 คน ปกติ 1 คน)
- ในการต้ังครรภแ ตละครั้งโอกาสท่ีจะมลี ูกปกตเิ ทา กับรอ ยละ 50 หรือ 1 ใน 2
- ในการตั้งครรภแตละคร้งั โอกาสที่ลกู จะมยี ีนแฝงเทา กับรอยละ 50 หรอื 1 ใน 2

ถา พอ หรือแมเ ปน โรคธาลสั ซีเมยี เพียงคนเดยี วและอกี ฝายมยี นี ปกติ (เปน โรค 1 คน ปกติ 1 คน)
- ในการตง้ั ครรภแตล ะครง้ั ลูกทุกคนจะมียีนฝง หรอื เทากบั เปน พาหะรอยละ 100
- ในกรณีนจ้ี งึ ไมม ีลูกทป่ี ว ยเปน โรคธาลัสซเี มีย

83

ถา พอหรอื แมเปน โรคธาลัสซเี มียเพยี งคนเดยี วและอีกฝา ยมยี นี แฝง (เปน โรค 1 คน เปนพาหะ 1 คน)
- ในการมีครรภแตล ะครงั้ โอกาสทีล่ กู จะปว ยเปน โรคเทากับรอ ยละ 50 หรอื 1 ใน 2
- ในการมคี รรภแ ตล ะครง้ั โอกาสทีล่ ูกจะมยี ีนแฝงเทากับรอยละ 50 หรือ 1 ใน 2
- ในกรณนี ้จี ึงไมม ีลูกท่เี ปนปกติเลย

การรกั ษา
1. ใหร ับประทานวิตามนิ โฟลคิ วันละเม็ด
2. ใหเลือดเม่ือผูปวยซดี มากและมอี าการของการขาดเลอื ด
3. ตัดมามเมือ่ ตอ งรบั เลอื ดบอย ๆ และมามโตมากจนมีอาการอึดอดั แนน ทอง กนิ อาหารไดนอ ย
4. ไมค วรรับประทานยาบํารุงเลอื ดทม่ี ีธาตุเหล็ก
5. ผูปวยทอี่ าการรนุ แรงซีดมาก ตอ งใหเ ลอื ดบอ ยมากจะมีภาวะเหล็กเกนิ อาจตองฉีดยาขบั เหลก็

การปลูกถา ยไขกระดูก
โดยการปลูกถายเซลลต นกาํ เนิดของเมด็ เลือด ซึง่ นาํ มาใชในประเทศไทยแลว ประสบความสําเร็จ

เชนเดยี วกับการปลูกถายไขกระดูก ซ่ึงทําสําเร็จในประเทศไทยแลวหลายราย เด็กๆ ก็เจริญเติบโตปกติ
เหมอื นเด็กธรรมดาโดยหลักการ คือ นําไขกระดูกมาจากพ่นี องในพอแมเดียวกัน (ตางเพศก็ใชได) นํามา
ตรวจความเหมาะสมทางการแพทยห ลายประการ และดาํ เนนิ การชวยเหลือ

การเปล่ียนยีน
นอกจากน้ยี ังมเี ทคโนโลยีทันสมัยลา สุดคอื การเปลี่ยนยนี ซ่ึงกําลงั ดําเนินการวจิ ัยอยู

แนวทางการปองกนั โรคธาลสั ซเี มีย
- จัดใหม ีการฝกอบรมบุคลากรทางการแพทย เพอื่ จะไดม ีความรู ความสามารถในการวินิจฉัย

หรือใหคําปรกึ ษาโรคธาลสั ซีเมยี ไดถ ูกวธิ ี
- จัดใหม ีการใหค วามรปู ระชาชน เก่ยี วกับโรคธาลสั ซเี มยี เพอื่ จะไดทาํ การคนหากลุมท่ีมีความ

เส่ยี ง และใหคาํ แนะนําแกผูท่เี ปน โรคธาลัสซีเมียในการปฏบิ ตั ิตัวไดอ ยา งถกู วธิ ี
- จดั ใหม กี ารใหค าํ ปรกึ ษาแกคสู มรส มีการตรวจเลือดคสู มรส เพอื่ ตรวจหาเช้ือโรคธาลัสซีเมีย

และจะไดใหคําปรกึ ษาถงึ ความเสี่ยง ท่จี ะทาํ ใหเ กดิ โรคธาลัสซเี มยี ได รวมถึงการแนะนํา และการควบคุม
กําเนดิ ที่เหมาะสมสาํ หรับรายที่มีการตรวจพบวา เปนโรคธาลัสซเี มียแลว เปน ตน

84

2.3 โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานเปนภาวะท่ีรางกายมีระดับน้ําตาลในเลือดสูงกวาปกติ เกิดเน่ืองมาจากการขาด
ฮอรโ มนอนิ ซูลนิ หรอื ประสทิ ธภิ าพของอินซูลินลดลงเนอื่ งจากภาวะดอ้ื ตอ อินซูลิน ทําใหนา้ํ ตาลในเลือด
สงู ขน้ึ อยเู ปนเวลานานจะเกดิ โรคแทรกซอนตออวัยวะตาง ๆ เชน ตา ไต และระบบประสาท เปนตน
ฮอรโ มนอินซลู นิ มคี วามสาํ คญั ตอรา งกายอยางไร
อินซูลินเปนฮอรโมนสําคัญตัวหนึ่งของรางกาย สรางและหล่ังจากเบตาเซลลของตับออน
ทําหนาทีเ่ ปนตัวพานา้ํ ตาลกลโู คสเขา สเู นอ้ื เย่ือตา ง ๆ ของรางกาย เพ่ือเผาผลาญเปน พลังงานในการดําเนิน
ชีวติ ถาขาดอินซลู ินหรอื การออกฤทธไิ์ มด ี รางกายจะใชน ํ้าตาลไมไ ด จึงทําใหน้ําตาลในเลือดสูงมีอาการ
ตางๆของโรคเบาหวาน นอกจากมีความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารคารโบไฮเดรตแลว ยังมีความ
ผดิ ปกติอ่ืน ๆ เชน มกี ารสลายของสารไขมันและโปรตนี รว มดวย
อาการของโรคเบาหวาน
คนปกตกิ อนรบั ประทานอาหารเชา จะมรี ะดับนา้ํ ตาลในเลอื ดรอ ยละ 10 - 110 มก. หลงั
รับประทานอาหารแลว 2 ชัว่ โมง ระดับนํา้ ตาลไมเ กนิ รอยละ 1 - 40 มก. ผทู ่รี ะดับนํ้าตาลสงู ไมม าก อาจจะ
ไมม ีอาการอะไร การวินจิ ฉัยโรคเบาหวานจะทําไดโดยการเจาะเลอื ด
อาการทพี่ บบอ ย ไดแก
1. การมปี ส สาวะบอ ย ในคนปกติมักไมตองลุกขึน้ ปสสาวะในเวลากลางคนื หรือปส สาวะไมเ กิน
1 คร้ัง เม่ือนํา้ ตาลในกระแสเลือดมากกวา 180 มก. โดยเฉพาะในเวลากลางคืนน้ําตาลจะถูกขับออกทาง
ปสสาวะ ทําใหน้ําถูกขับออกมากข้ึนจึงมีอาการปสสาวะบอยและเกิดสูญเสียนํ้า และอาจพบวาปสสาวะ
มมี ดตอม
2. ผูปว ยจะหวิ นํ้าบอย เน่อื งจากตอ งทดแทนนํ้าที่ถูกขับออกทางปสสาวะ
3. ผปู วยจะกินเกง หวิ เกง แตนํา้ หนักจะลดลงเนื่องจากรางกายนํานา้ํ ตาลไปใชเ ปน พลังงานไมได
จงึ มีการสลายพลังงานจากไขมนั และโปรตนี จากกลา มเน้อื แทน
4. ออ นเพลยี นาํ้ หนกั ลด เกดิ จากรา งกายไมสามารถใชนํา้ ตาลจงึ ยอ ยสลายสวนท่ีเปนไขมัน และ
โปรตีนออกมา
5. อาการอืน่ ๆ ทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ไดแ ก อาการคนั อาการตดิ เชอื้ แผลหายชา

- คนั ตามผิวหนงั มีการตดิ เชอื้ รา โดยเฉพาะบรเิ วณชองคลอดของผูหญิง สาเหตุของอาการคัน
เน่ืองจาก ผิวแหง ไป หรอื มอี าการอักเสบของผวิ หนัง

- เหน็ ภาพไมช ัด ตาพรา มวั ตองเปล่ียนแวน บอย เชน สายตาส้นั ตอ กระจก นํา้ ตาลในเลอื ดสงู
- ชาไมมีความรูสึก เจบ็ ตามแขน ขา บอย หยอ นสรรมภาพทางเพศ เน่ืองจากน้ําตาลสูงนาน ๆ
ทาํ ใหเสน ประสาทเส่ือม
- เกิดแผลทีเ่ ทา ไดงา ย เพราะอาการชาไมร สู ึก เมือ่ ไดรบั บาดเจบ็

85

2.4 โรคภมู แิ พ

โรคภูมิแพ คือ โรคที่เกิดจากปฏิกิริยาภูมิไวเกินตอสารกอภูมิแพ ซึ่งในคนปกติไมมีปฏิกิริยานี้

เกิดขึ้นผูท่ีเปนโรคภูมิแพมีปฏิกิริยาภูมิไวเกินตอ ฝุน ตัวไรฝุน เช้ือราในอากาศ อาหาร ขนสัตว เกสร
ดอกไม เปน ตน สารที่กอ ใหเ กดิ ปฏกิ ริ ิยาภูมิไวเกินน้ีเรียกวา “สารกอภูมิแพ” โรคภูมิแพ สามารถแบงได

ตามอวยั วะทีเ่ กดิ โรคไดเ ปน 4 โรค คือ

- โรคโพรงจมกู อกั เสบจากภูมแิ พ หรือโรคแพอ ากาศ
- โรคตาอกั เสบจากภูมิแพ
- โรคหอบหดื
- โรคผนื่ ภูมิแพผิวหนงั
โรคภูมิแพ จัดเปนโรคที่พบบอยโรคหนึ่งในประเทศไทย จากการศึกษาอัตราความชุกของโรค
ในประเทศไทย มอี ตั ราความชกุ อยรู ะหวาง 15-45% โดยประมาณ โดยพบโรคโพรงจมกู อกั เสบจากภูมแิ พ
มีอัตราชุกสูงสุดในกลุมโรคภูมิแพ น่ันหมายความวา ประชากรเกือบคร่ึงหน่ึงของประเทศ มีปญหา
เก่ยี วกบั โรคภมู ิแพอยู
โรคภมู แิ พส ามารถถายทอดทางกรรมพนั ธุ คือ ถา ยทอดจากพอ และแมมาสูลูก เหมือนภาวะอื่น ๆ
เชน หวั ลา น ความสงู สขี องตา เปน ตน ในทางตรงกันขาม แมวาพอแมของคุณเปนโรคภูมิแพ คุณอาจจะ
ไมมีอาการใด ๆ เลยกไ็ ด
โดยปกติ ถาพอ หรือแม คนใดคนหน่ึงเปนโรคภมู ิแพ ลูกจะมีโอกาสเปนโรคภูมิแพป ระมาณ 25%
แตถาทัง้ พอและแมเ ปนโรคภมู แิ พท้ังคู ลกู ท่เี กดิ ออกมามโี อกาสเปนโรคภมู แิ พสงู ถึง 66% โดยเฉพาะโรค
โพรงจมกู อักเสบจากภมู ิแพ จะมอี ัตราการถายทอดทางกรรมพนั ธสุ งู ท่สี ดุ
โรคภูมิแพ อาจหายไปไดเ องเม่ือผูป วยโตเปน ผูใหญ แตสวนใหญมักไมหายขาด โดยอาการของ
โรคภมู ิแพอ าจสงบลงไปชว งหนึ่ง และมักจะกลบั มาเปน ใหม

สรุป
โรคถายทอดทางพันธุกรรมนับวาเปนปญหาท่ีสําคัญ ซ่ึงอาจทําใหผูปวยเสียชีวิตตั้งแตคลอด

ออกมา หรือไดรับความทรมานจากโรค เม่ือเกิดอาหารแลวไมมีทางรักษาใหหายขาดได มีเพียงรักษา
เพื่อบรรเทาอาการเทาน้ัน หรือควบคุมใหโรคแสดงอาการออกมา ดังนั้น การตรวจสอบโรคทาง
พันธุกรรม และการใหคําปรึกษาทางดานพันธุศาสตรแกคูสมรส รวมท้ังการตรวจสุขภาพกอนการ
แตง งานจงึ มคี วามสาํ คัญอยา งยิง่ เพราะจะเปนการปองกันกอนการตั้งครรภ ซึ่งแพทยตามสถานพยาบาล
สามารถใหค าํ แนะนาํ ปรกึ ษาได

86

กจิ กรรม
ตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ แลว บันทกึ ในแฟมสะสมงานพรอ มอธบิ ายในช้ันเรยี น

1. โรคธาลสั ซีเมียเกิดจากสาเหตอุ ะไรและมีกป่ี ระเภทอะไรบา ง
2. โรคภูมแิ พเกดิ จากสาเหตอุ ะไรและมีอวยั วะใดบา งทเี่ กิดโรคภมู แิ พไ ด
3. สาํ รวจเพ่อื นในกลมุ วา ใครเปน โรคภมู ิแพบ าง เพื่อจะไดอ อกมาอภปิ รายใหท ราบถงึ อาการท่ี
เปน และสันนิษฐานหาสาเหตุ และคน หาวิธกี ารปองกันรวมกัน

87

บทที่ 6
ความปลอดภยั จากการใชย า

สาระสาํ คญั

มคี วามรู ความเขา ใจ เก่ียวกับหลกั การและวิธกี ารใชยาท่ีถกู ตอ ง สามารถจาํ แนกอนั ตรายทเี่ กดิ
จากการใชย าได รวมทั้งวิเคราะหค วามเชอื่ และอนั ตรายจากยาประเภทตาง ๆ เชน ยาบํารุงกําลัง
ยาดองเหลา ตลอดจนการปอ งกนั และชว ยเหลือเมอ่ื เกิดอนั ตรายจากการใชยาไดอ ยา งถกู ตอ ง

ผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง

1. รแู ละเขาใจ หลักการและวิธกี ารใชย าทถ่ี กู ตอง
2. จาํ แนกอนั ตรายจากการใชย าประเภทตา ง ๆ ไดอยา งถกู ตอ ง
3. วิเคราะหผ ลกระทบจากความเชือ่ ท่ีผิดเกย่ี วกบั การใชย าได
4. ปฐมพยาบาลและใหค วามชว ยเหลอื แกผ ูท ไ่ี ดรับอนั ตรายจากการใชยาไดอยา งถกู ตอง

ขอบขา ยเน้ือหา

เรอ่ื งที่ 1 หลักการและวิธีการใชย าท่ีถกู ตอ ง
เรอ่ื งที่ 2 อันตรายจากการใชย า
เรื่องท่ี 3 ความเชอ่ื เกย่ี วกับการใชย า

88

เรื่องท่ี 1 หลกั การและวิธีการใชยาทีถ่ กู ตอ ง

การใชย าท่ีถกู ตอ งมหี ลกั การดังน้ี
1. อานฉลากยาใหละเอียดกอนการใชทุกคร้ัง ซึ่งโดยปกติยาทุกขนาดจะมีฉลากบอกช่ือยา
วธิ กี ารใชยา ขอ หามในการใชยา และรายละเอยี ดอ่นื ๆ ไวดวยเสมอ จงึ ควรอา นใหละเอียดและปฏิบัติตาม
คําแนะนําอยา งเครง ครัด
2. ใชย าใหถ ูกชนิดและประเภทของยา ซ่งึ ถา ผใู ชย าหยบิ ยาไมถ ูกตองจะเปนอันตรายตอผูใชและ
รกั ษาโรคไมหาย เน่อื งจากยาบางชนดิ จะมชี ื่อ สี รปู รา ง หรอื ภาชนะบรรจคุ ลา ยกนั แตต ัวยา สรรพคุณยาท่ี
บรรจภุ ายในจะตา งกนั
3. ใชยาใหถูกขนาด เพราะการใชยาแตละชนิดในขนาดตาง ๆ กัน จะมีผลในการรักษาโรคได
ถาไดร บั ขนาดของยานอยกวา ที่กําหนดหรือไดร บั ขนาดของยาเพียงครึ่งหน่ึง อาจทําใหการรักษาโรคนั้น
ไมไ ดผ ลและเชอื้ โรคอาจดื้อยาได แตหากไดรับยาเกินขนาดอาจเปน อันตรายตอรางกายได ดังนั้น จึงตอง
ใชยาใหถูกตองตามขนาดของยาแตละชนิด เชน ยาแกปวดลดไข ตองใชครั้งละ 1 – 2 เม็ด ทุก ๆ 4 – 6
ชวั่ โมง เปนตน
4. ใชยาใหถูกเวลา เนื่องจากยาบางชนิดตองรับประทานกอนอาหาร เชน ยาปฏิชีวนะพวก
เพนนซิ ลิ ลิน เพราะยาเหลานี้จะดูดซึมไดดีในขณะทองวาง ถาเรารับประทานหลังอาหาร ยาจะถูกดูดซึมได
ไมดี ซง่ึ จะมีผลตอ การรกั ษาโรค ยาบางชนดิ ตองรบั ประทานหลงั อาหาร บางชนิดรับประทานกอนอาหาร
เพราะยาบางประเภทเมือ่ รบั ประทานแลวจะมอี าการงวงซึม รางกายตองการพักผอน แพทยจึงแนะนําให
รบั ประทานกอ นนอนไมค วรรบั ประทานในขณะปฏิบตั งิ านเกยี่ วกับเคร่ืองจักรกล หรือขณะขับข่ีรถยนต
เพราะอาจจะทําใหเกดิ อันตรายได

- ยากอนอาหาร ควรรบั ประทานกอ นอาหารประมาณครึ่งถงึ หนึ่งชั่วโมง
- ยาหลังอาหาร ควรรบั ประทานหลังอาหารทนั ที หรอื ไมค วรจะนานเกนิ 15 นาที หลังอาหาร
- ยากอนนอน ควรรบั ประทานกอนเขานอน เพือ่ ใหร า งกายไดรับการพักผอน
5. ใชยาใหถ กู วธิ ี เชน ยาอมเปน ยาท่ีตองการผลในการออกฤทธิ์ที่ปาก จึงตองอมใหละลายชา ๆ
ไปเรื่อยๆ ถา เรากลืนลงไปพรอ มอาหารในกระเพาะ ยาจะออกฤทธผ์ิ ดิ ที่ ซงึ่ ไมเ ปนทีท่ เ่ี ราตองการใหรักษา
การรักษาน้ันจะไมไดผล ยาทาภายนอกชนดิ อน่ื ๆ ก็เชนกัน เปนยาทาภายนอกรางกาย ถาเรานําไปทาใน
ปากหรือนาํ ไปกินจะไมไดผลและอาจใหโทษตอรางกายได
6. ใชยาใหถูกกับบุคคล แพทยจะจายยาตรงตามโรคของแตละบุคคลและจะเขียนหรือพิมพช่ือ
คนไขไ วหนาซองยาทุกครั้ง ดงั น้ัน จึงไมควรนาํ ไปแบง ใหผ ูอืน่ ใชเ พราะอาจไมตรงกบั โรคและมีผลเสยี ได
เน่อื งจากยาบางชนดิ หา มใชใ นเดก็ คนชรา และหญิงมีครรภ ยาบางชนิดมีขอหามใชในบุคคลที่ปวยเปน
โรคบางอยาง ซ่งึ ถานาํ ไปใชจ ะมีผลขา งเคียงและอาจเปนอนั ตราตอ ผใู ชยาได

89

7. ไมควรใชยาที่หมดอายุหรือเส่ือมคุณภาพ ซ่ึงเราอาจสังเกตไดจากลักษณะการเปล่ียนแปลง
ภายนอกของยา เชน สี กล่ิน รส และลักษณะท่ีผิดปกติไปจากเดิม ไมควรใชยาน้ัน เพราะเส่ือมคุณภาพ
แลว แตถึงแมวา ลกั ษณะภายนอกของยายงั ไมเ ปลี่ยน เรากค็ วรพิจารณาดูวันท่ีหมดอายุกอนใช ถาเปนยาที่
หมดอายแุ ลว ควรนําไปทิ้งทนั ที

ขอควรปฏิบตั ิในการใชยา
1. ยานํา้ ทุกขนาดควรเขยาขวดกอ นรนิ ยา เพ่ือใหตัวยาทตี่ กตะกอนกระจายเขา เปนเนือ้ เดยี วกัน
ไดด ี
2. ยาบางชนิดยังมขี อกําหนดไวไ มใหใ ชรว มกบั อาหารบางชนดิ เชน หามด่ืมพรอมนมหรือน้ําชา
กาแฟ เนื่องจากมฤี ทธิต์ านกนั ซึ่งจะทาํ ใหเ กิดอนั ตรายหรือไมมผี ลตอการรักษาโรคได
3. ไมควรนําตัวอยางเม็ดยา ขวดยา ซองยา หรอื หลอดยาไปหาซื้อมาใชหรือรับประทานเอง หรือ
ใชย าตามคําโฆษณาสรรพคุณยาจากผขู ายหรอื ผูผลิต
4. เมอื่ ใชยาแลว ควรปด ซองยาใหส นิท ปองกันยาชนื้ และไมควรเกบ็ ยาในที่แสงแดดสองถึง หรือ
เกบ็ ในท่ีอบั ชืน้ หรือรอนเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหย าเสือ่ มคุณภาพ
5. เมอื่ ลืมรบั ประทานยาม้อื ใดมื้อหน่ึง หา มนํายาไปรับประทานรวมกับม้ือตอไป เพราะจะทําให
ไดร ับยาเกินขนาดได ใหรบั ประทานยาตามขนาดปกตใิ นแตล ะม้อื ตามเดมิ
6.หากเกิดอาการแพยาหรือใชยาผิดขนาด เชน มีอาการคลื่นไส อาเจียน บวมตามหนาตาและ
รางกาย มผี ่นื ขึ้นหรอื แนนหนาอก หายใจไมออก ใหหยุดยาทันทีและรีบไปพบแพทยโดยดวน พรอมท้ัง
นาํ ยาที่รบั ประทานไปใหแ พทยวนิ ิจฉัยดวย
7. ไมค วรเก็บยารักษาโรคของบคุ คลในครอบครวั ปนกบั ยาอนื่ ๆ ที่ใชกบั สตั วหรือพชื เชน
ยาฆาแมลงหรือสารเคมีอืน่ ๆ เพราะอาจเกิดการหยบิ ยาผดิ ไดงาย
8. ไมค วรเกบ็ ยารักษาโรคไวใกลมือเด็กหรือในที่ท่ีเด็กเอื้อมถึง เพราะเด็กอาจหยิบยาไปใสปาก
ดวยความไมรแู ละอาจเกิดอันตรายตอรา งกายได
9. ควรซ้ือยาสามัญประจําบานไวใชเองในครอบครัว เพื่อใชรักษาโรคทั่ว ๆ ไปท่ีไมรายแรงใน
เบอื้ งตนเน่ืองจากมรี าคาถกู ปลอดภัย และทีข่ วดยาหรอื ซองยาจะมีคาํ อธิบายสรรพคุณและวิธกี ารใชงาย ๆ
ไวทุกชนิด แตถ า หากเม่ือใชยาสามญั ประจาํ บา นแลว อาการไมดขี น้ึ ควรไปพบแพทยเ พือ่ ตรวจรกั ษาตอ ไป

90

เรอ่ื งที่ 2 อันตรายจากการใชย า

ยาทุกชนิดมีทั้งคุณและโทษ ดังน้ัน เพ่ือหลีกเลี่ยงอันตรายจากการใชยาจึงควรใชยาอยาง
ระมัดระวงั และใชเทา ท่จี าํ เปนจริงๆ เทานั้น อนั ตรายจากการใชย ามสี าเหตทุ ่ีสาํ คัญ ดังนี้

1. ผูใชยาขาดความรูใ นการใชย า แบงได ดังนี้
1.1 ใชย าไมถ ูกตอง เชน ไมถูกโรค บคุ คล เวลา วธิ ี ขนาด นอกจากทําใหการใชย าไมไดผ ลใน

การรักษาแลว ยังกอ ใหเกิดอนั ตรายจากการใชย าอกี ดว ย
1.2 ถอนหรอื หยุดยาทันที ยาบางชนิดเมอื่ ใชไดผลในการรักษาแลวตองคอย ๆ ลดขนาดลง

ทีละนอ ยจนสามารถถอนยาได ถาหยุดทันทีจะทําใหเกิดโรคขางเคียงหรือโรคใหมตามมา ตัวอยางเชน
ยาเพรดนิโซโลน ยาเดกซาเมธาโซน ถาใชต ิดตอกันนานๆ แลว หยุดยาทันที จะทําใหเ กิดอาการเบื่ออาหาร
คล่ืนไสอาเจยี น ปวดทอง รา งกายขาดนา้ํ และเกลือ เปนตน

1.3 ใชย ารวมกนั หลายขนาน การใชยาหลายๆ ชนดิ รกั ษาโรคในเวลาเดียวกัน บางคร้ังยาอาจ
เสริมฤทธก์ิ ันเอง ทาํ ใหยาออกฤทธ์ิเกินขนาด จนเกิดอาการพิษถึงตายได ในทางตรงกันขาม ยาอาจตาน
ฤทธ์ิกันเอง ทําใหไมไดผลตอการรักษาและเกิดดื้อยา ตัวอยางเชน การใชยาปฏิชีวนะรวมกันระหวาง
เพนซิ ิลลนิ กบั เตตราซยั คลนี นอกจากน้ี ยาบางอยางอาจเกิดผลเสียถาใชรวมกับเคร่ืองด่ืม สุรา บุหรี่ และ
อาหารบางประเภท ผูทใ่ี ชย ากดประสาทเปน ประจํา ถา ดม่ื สรุ าดว ยจะย่ิงทําใหฤ ทธิก์ ารกดประสาทมากขึ้น
อาจถงึ ขน้ั สลบและตายได

2. คุณภาพยา
แมผ ูใชยาจะมีความรใู นการใชยาไดอ ยา งถูกขนาด ถกู วิธี และถูกเวลาแลว ก็ตาม แตถา ยาท่ใี ชไมมี
คุณภาพในการรกั ษาจะกอใหเ กดิ อนั ตรายได สาเหตทุ ที่ ําใหยาไมม คี ุณภาพ มดี ังนี้

2.1 การเก็บ ยาทผ่ี ลิตไดมาตรฐาน แตเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหยาเส่ือมคุณภาพ เกิดผลเสีย
ตอ ผใู ช ตวั อยา งเชน วคั ซีน ตองเก็บในตเู ย็น ถาเก็บในตธู รรมดายาจะเสอื่ มคุณภาพ แอสไพรินถาถูกความช้ืน
แสง ความรอน จะทําใหเ ปลยี่ นสภาพเปน กรดซาลซิ ัยลกิ ซึ่งไมไดผลในการรกั ษาแลวยังกัดกระเพาะทะลุ
อีกดว ย

2.2 การผลิต ยาท่ีผลิตแลวมีคุณภาพต่ํากวามาตรฐาน อาจเกิดข้ึนเน่ืองจากหลายสาเหตุ คือ
ใชวัตถุดิบในการผลิตท่ีมีคุณภาพตํ่า และมีวัตถุอ่ืนปนปลอม กระบวนการการผลิตไมถูกตอง เชน
อบยาไมแหง ทําใหไ ดย าทเี่ สียเร็ว ขึ้นรางาย นอกจากนี้พบวา ยาหลายชนิดมีการปะปนของเช้ือจุลินทรีย
ตํารับยาบางชนิดท่ใี ชไมเหมาะสม เปนสตู รผสมยาหลาย ๆ ตัวในตํารับเดียว ทําใหยาตีกัน เชน คาโอลิน
จะดูดซมึ นโี อมยั ซนิ ไมใ หออกฤทธ์ิ เปนตน

3. พยาธสิ ภาพของผใู ชยา และองคป ระกอบทางพันธกุ รรม
ผูปว ยทเ่ี ปนโรคเกีย่ วกบั ตบั หรอื ไต จะมีความสามารถในการขับถายยาลดลง จึงตองระวังการใช
ยามากยง่ิ ขนึ้ นอกจากน้ี องคประกอบทางกรรมพันธุจะทําใหความไวในการตอบสนองตอยาของบุคคล

91

แตกตางกนั ตวั อยาง คนนิโกร ขาดเอนไซมที่จะทําลายยาไอโซนอาซคิ ถา รับประทานยาน้ีในขนาดเทากับ
คนเชือ้ ชาตอิ นื่ จะแสดงอาการประสาทอกั เสบ นอนไมหลับ เปนตน

ดงั นั้น ผูใ ชย าควรศึกษาเรื่องการใชยาใหเขาใจอยางแทจริง และใชยาอยางระมัดระวังเทาท่ีจําเปน
จริง ๆ เทานั้น โดยอยูในความดูแลของแพทยหรือเภสัชกรอยางใกลชิด จะชวยขจัดสาเหตุที่ทําใหเกิด
อนั ตรายจากการใชยาไดอ ยา งไรก็ตาม ผใู ชยาควรตระหนักถงึ โทษหรอื อันตรายจากการใชยาท่ีอาจเกิดขึ้นได
ดังตอ ไปน้ี
1. การแพยา (Drug Allergy หรือ Drug Hypersensitivity)

เปนภาวะท่รี างกายเคยไดร ับยาหรอื สารท่มี ีสูตรคลายคลึงกับยาน้ันมากอนแลวยาหรือสารนั้นจะ
กระตนุ ใหร างกายสรา งภูมิคมุ กนั ขน้ึ เรยี กวา “สิ่งตอตาน” (Antibody) โดยใชเวลาประมาณ 7-14 วัน เมื่อ
ไดรับยาหรือสารนั้นอีก จะเกิดปฏิกิริยาไดสารประกอบเชิงซอนเปน “ส่ิงเรงเรา” (Antigen) ใหรางกาย
หล่ังสารบางอยางที่สําคัญ เชน ฮีสตามีน (Histamine) ทําใหเกิดอาการแพข้ึน ตัวอยาง ผูท่ีเคยแพยา
เพนซิ ลิ ลนิ เม่อื รบั ประทานเพนซิ ิลลนิ ซํา้ อกี คร้ังหนึง่ จะถูกเปล่ียนแปลงในรางกายเปนกรดเพนิซิลเลนิก
ซ่ึงทาํ หนาท่เี ปน “สิ่งเรง เรา ” ใหรา งกายหล่ังฮสี ตามีน ทําใหเกิดอาการแพ เปนตน

การแพยาจะมีตั้งแตอาการเล็กนอย ปานกลาง จนรุนแรงมาก ถึงข้ันเสียชีวิต ท้ังนี้ข้ึนอยูกับ
องคป ระกอบตอไปน้ี

1. ชนิดของยา ยาท่ีกระตุนใหเกิดอาการแพท่ีพบอยูเสมอ ไดแก เพนิซิลลิน แอสไพริน
ซลั โฟนาด เซรุมแกบ าดทะยกั ยาชา โปรเคน นํา้ เกลอื และเลอื ด เปน ตน

2. วิธกี ารใชยา การแพยาเกิดข้ึนไดจากการใชยาทุกแบบ แตการรับประทานเปนวิธีที่ทําใหแพ
นอยทสี่ ดุ ขณะทีก่ ารสมั ผสั หรือการใชยาทาจะทําใหเ กิดอาการแพไ ดง า ยทีส่ ุด สวนการฉีด เปนวิธีการให
ยาท่ีทาํ ใหเ กดิ การแพอยา งรวดเร็ว รุนแรง และแกไขไดย าก

3. พนั ธกุ รรม การแพย าเปนลกั ษณะเฉพาะของบุคคล คนที่มีความไวในการถูกกระตุนใหแพยา
หรอื คนท่ีมีประวตั เิ คยเปนโรคภมู แิ พ เชน หืด หวดั เร้อื รงั ลมพษิ ผืน่ คนั จะมโี อกาสแพยามากกวาคนท่ัวไป

4. การไดรับการกระตุนมากอน ผูปวยเคยไดรับยาหรือสารกระตุนมากอนแลวในอดีต โดยจํา
ไมไ ดห รือไมร ตู ัว เมอื่ ไดรบั ยาหรือสารน้ันอีกคร้ัง จงึ เกดิ อาการแพ เชนในรายที่แพเ พนซิ ลิ ลนิ เปนครง้ั แรก
โดยมปี ระวัติวาไมเคยไดรับยาท่ีแพมากอนเลย แทท่ีจริงแลวผูปวยเคยไดรับสารเพนิซิลลินมากอนแลว
ในอดีต แตอาจจําไมไดหรือไมรูตัว เพราะผูปวยใชยาที่ไมทราบวามีเพนิซิลลินอยูดวย หรืออาจ
รับประทานอาหารบางชนดิ ทีม่ ีเช้อื เพนิซลิ เลียมอยดู ว ย

การปองกันและการแกไข การปองกันมิใหเกิดอาการแพยาเปนวิธีท่ีดีท่ีสุด เพราะถาอาการแพ
รุนแรงมาก อาจแกไ ขไมทันการ โดยทั่วไปการปองกนั อาจทําไดด งั น้ี

1. งดใชย า ผูปวยควรสังเกต จดจาํ และงดใชย าท่เี คยแพมากอ น นอกจากนี้ ยังควรหลกี เล่ียงการใช
ยาทีอ่ ยใู นกลุมเดียวกัน หรอื มีสตู รโครงสรางใกลเ คยี งกันดว ย

92

2. ควรระมัดระวังการใชย าทม่ี ักทาํ ใหเกิดอาการแพงา ยบอ ย ๆ เชน เพนซิ ลิ ลิน ซัลโฟนาไมด หรือ
ซาลซิ ยั เลท เปนตน โดยเฉพาะรายทมี่ ีประวัตหิ อบหืด หวดั เร้อื รัง ลมพษิ ผ่ืนคนั แพสารตาง ๆ หรือแพยา
มาแลว ควรบอกรายละเอียดใหแ พทยห รอื เภสัชกรทราบกอ นใชย า

3. กรณีท่ีจาํ เปนจะตองใชยาท่เี คยแพ จะตอ งอยใู นความดแู ลของแพทยอยา งใกลช ดิ โดยแพทยจะ
ใชย าชนิดท่แี พค รง้ั ละนอย ๆ และใหย าแกแพพรอมกนั ไปดว ยเปนระยะเวลาหน่ึง จนกวารางกายจะปรับ
สภาพไดจนไมแพแลว จงึ จะใหยานน้ั ในขนาดปกติได

การแกไ ขอาการแพยา ควรพิจารณาตามสภาพของการแพ ในกรณที ่มี ีอาการแพเ พียงเลก็ นอย เชน
ผน่ื คัน คัดจมูก ควรหยุดใชยา ซ่งึ จะชวยใหอาการตา งๆ ลดลงและหมดไปภายใน 2-3 ชว่ั โมง สาํ หรบั รายที่
มีอาการผ่นื คนั มากอาจจะใหย าแกแ พ (Antihistamine) รวมดวย ถามอี าการแพรนุ แรงมากและเกิดขึ้นควร
ไปพบแพทยทันทีทันใด ควรลดการดูดซึมของยา โดยทําใหอาเจียนหรือใหกินผงถาน (Activated
Charcoal) เพ่ือชวยดดู ซึมยา นอกจากนี้ ควรชวยการหายใจโดยใหอะดรนี าลินเพอื่ ชว ยขยายหลอดลมและ
เพมิ่ ความดนั โลหติ ถามีอาการอักเสบ อาจใชยาแกอกั เสบประเภทสเตอรอยดชว ยบา ง
2. ผลขา งเคียงของยา (Side Effect)

หมายถึง ผลหรืออาการอ่ืน ๆ ของยาอันเกิดขึ้นนอกเหนือจากผลที่ตองการใชในการรักษา
ดังเชน ยาแกแ พม ักจะทําใหเ กิดอาการงวงซึมเปนผลขางเคียงของยา หรือเตตราซัยคลีนใชกับเด็ก ทําให
เกิดผลขางเคียง คือฟนเหลืองอยางถาวร เปนตน ในกรณีท่ีเกิดผลขางเคียงของยาข้ึน ควรหยุดยาและ
หลีกเล่ียงการใชยาน้ันทันที
3. การดอื้ ยา (Drug Resistance)

พบมากที่สดุ มกั เน่อื งมาจากการใชย าปฏิชวี นะไมตรงกับชนิดของเชื้อโรคหรอื ใชไมถ ูกขนาด
หรอื ใชใ นระยะเวลาท่ไี มเ พยี งพอตอ การทําลายเชอ้ื โรค ซึง่ เรยี กวา การดอ้ื ยา เชน การดอื้ ตอ
ยาเตตราซยั คลีน ยาคลอแรมเฟนคิ อล เปนตน
4. การตดิ ยา (Drug Dependence)

ยาบางชนิดถา ใชไมถ กู ตองหรอื ใชตอเนือ่ งกนั ไปชั่วระยะเวลาหนึ่งจะทําใหต ดิ ยาขนานน้ันได
เชน ฝน มอรฟน บารบ ิทเู รต แอมเฟตามนี ยากลอมประสาท เปน ตน
5. พษิ ของยา (Drug Toxicity)

มกั เกดิ ขึน้ เนอ่ื งจากการใชยาเกดิ ขนาด สําหรบั พษิ หรือผลเสียของยาอาจกลา วโดยสังเขป ไดด งั นี้
1. ยาบางชนิดรับประทานแลว เกิดอาการไข ทาํ ใหเขา ใจผิดวาไขเกดิ จากโรค ในรายเชน น้ีเม่ือ
หยดุ ยาอาการไขจะหายไปเอง
2. ความผิดปกตขิ องเม็ดเลอื ดและสว นประกอบของเลอื ด ยาบางอยาง เชน ยาเฟนลิ บิวตาโซน
คลอแรมเฟนคิ อล และยารักษาโรคมะเรง็ จะยบั ยั้งการทาํ งานของไขกระดกู ทําใหเมด็ เลือดขาวและ
เมด็ เลือดแดงลดจํานวนลงกวาระดับปกติ เปนผลใหเ กิดภาวะโลหติ จาง รางกายออนแอ ติดเช้ือไดงายและ
รุนแรง ยาบางขนานที่ใชรักษามาเลเรีย เชน ควินิน พามาควิน และไพรมาควีน จะทําใหเม็ดเลือดแดง


Click to View FlipBook Version