The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนรายวิชาบังคับ รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หนังสือเรียนรายวิชาบังคับ รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

143

ขอ ดี
1. เปด ดําเนนิ การคา 24 ชั่วโมง
2. ดาํ เนินการคา อยางไรพ รมแดนท่ัวโลก
3. ใชงบประมาณลงทนุ นอ ย
4. ตดั ปญ หาดานการเดนิ ทาง
5. งา ยตอ การประชาสัมพนั ธ โดยสามารถประชาสัมพันธไ ดท ่ัวโลก

ขอ เสยี
1. ตองมีระบบรกั ษาความปลอดภยั ทีม่ ีประสิทธภิ าพ
2. ประเทศของผูซ ้ือและผขู ายจาํ เปนตองมกี ฎหมายรองรบั อยา งมีประสิทธภิ าพ
3. การดาํ เนนิ การดานภาษตี อ งชดั เจน
4. ผซู ้อื และผขู ายจาํ เปนตองมคี วามรพู ้นื ฐานในเทคโนโลยีอนิ เทอรเ นต

กระบวนการพืน้ ฐาน เกี่ยวกบั พาณชิ ยอ เิ ล็กทรอนกิ ส
1. ลกู คา เลอื กรายการสนิ คา ของผจู ําหนา ย (Catalog)
2. ลูกคา สง คําสัง่ ซือ้ ใหผจู าํ หนาย (Order)
3. ลูกคา ชําระเงนิ ใหผูจ ําหนา ย (Payment)
4. ลกู คารอรบั สินคาจากผูจาํ หนา ย (Shipping)

เวบ็ ไซทธ ุรกจิ E-Commerce การพาณิชยอ เิ ล็กทรอนิกส
ตัวอยา งเวบ็ ไซทใ นประเทศ เชน www.shop4thai.com, www.chulabook.com, www.tohome.com เปนตน
ตวั อยางเว็บไซทต างประเทศ เชน www.amazon.com , www.alibaba.com, www.ecplaza.net เปน ตน

เรื่องท่ี 9 การบริหารจดั การธุรกิจ

ทุนและแหลง เงินทุน
เงินทนุ หมายถึง เงินตราทอ่ี งคการธุรกิจจดั หามา เพ่ือนํามาใชในการดาํ เนนิ กจิ การ โดยมจี ดุ ประสงค

เพื่อใหไดผลตอบแทนจาการลงทุนอยางคุมคา เงินทุนมีความสําคัญตอธุรกิจ เพราะเปนปจจัยในการ
ดําเนนิ ธุรกจิ ต้ังแตเริม่ ตั้งกิจการ และระหวา งดําเนนิ กิจการ เงินทุนทําใหก ารผลิต การซอ้ื ขายเปนไปอยาง
มปี ระสิทธิภาพและทาํ ใหธุรกจิ ขยายตัวไดอยา งรวดเรว็

144

ประเภทของเงนิ ทนุ เงินทุนท่ใี ชในการดาํ เนินธรุ กจิ แบงไดเ ปน 2 ประเภท คอื
2.1 เงินทุนคงท่ี

เงนิ ทุนคงท่ี หมายถึง เงินทุนที่องคการธุรกิจจัดหาเพ่ือนํามาใชในการจัดหาทรัพยสินถาวร
ทรัพยสนิ ถาวร หมายถึง สินทรัพยท ่อี ายุการใชงานนานเกินกวา 1 ป ดังนั้น เงินทุนคงท่ี องคการธุรกิจจึง
นาํ มาใชใ นการลงทนุ ซื้อที่ดนิ สรางอาคาร ซอื้ เครือ่ งจักร ซื้อเครื่องใชส าํ นกั งาน เปนตน

2.2 เงินทนุ หมนุ เวยี น
เงนิ ทนุ หมุนเวยี น หมายถงึ เงนิ ทนุ ท่ีองคการธุรกิจจัดหา เพื่อนํามาใชในการจัดหาทรัพยสิน

หมุนเวียนหรือใชในการดําเนินกิจการ ทรัพยสินหมุนเวียน หมายถึง สินทรัพยท่ีอายุการใชงานไมเกิน
หน่ึงป ดังน้ัน เงินทุนหมุนเวียน องคการธุรกิจจึงนํามาใชในการซื้อวัตถุดิบ ซ้ือสินคา จายคาแรงงาน
จายคาเบีย้ ประกนั ภัย จา ยคา ขนสง จายคา โฆษณา จา ยคา สาธารณปู โภค เปน ตน

แหลงเงนิ ทนุ
แหลงทม่ี าของเงนิ ทุน

1. แหลงเงนิ ทนุ จากภายในธรุ กิจเอง ไดแ ก เงินทนุ ของเจา ของกิจการ กาํ ไรสะสม และคาเสื่อม
ราคา

2. แหลง เงนิ ทนุ จากภายนอกธรุ กิจ ไดแก เงินทนุ ท่มี าจากการระดมทนุ เงนิ ทนุ จากเจา หนข้ี อง
กจิ การและเงนิ ทุนท่ไี ดร ับจากการสนบั สนนุ

เรอื่ งท่ี 10 การกาํ หนดราคาขาย

ราคา (Price) หมายถงึ “มูลคาของผลิตภัณฑหรือบริการที่แสดงคาออกมาในรูปหนวยเงิน หรือ
หนว ยการแลกเปลย่ี นอน่ื ๆ”

วิธีการขั้นพื้นฐานในการต้ังราคา นิยมกันอยูทั่วไป คือ วิธีการตั้งราคาโดยยึดตนทุนเปนเกณฑ
ราคาขายตอ หนว ย = ตน ทนุ ท้งั หมด + กําไรท่ตี อ งการ

การบญั ชี (Accounting) หมายถงึ การจดบันทกึ รายการคา ตา ง ๆ ที่เก่ยี วกบั การรบั -จา ยเงิน การจัด
หมวดหมสู รุปผลและวิเคราะห ตคี วาม อยา งมีหลกั เกณฑ

ประโยชนและวตั ถุประสงคของการบญั ชี
1. ชวยใหเ จา ของกจิ การสามารถควบคมุ รักษาสนิ ทรพั ยข องกิจการได
2. ชวยใหทราบผลการดําเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึงวา ผลการ
ดําเนินงานท่ผี านมา กจิ การมกี าํ ไรหรือขาดทุนเปนจาํ นวนเทาใด
3. ชว ยใหท ราบฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ วันใดวันหนึ่งวา กิจการในสินทรัพย หนี้สิน และ
ทุน ซงึ่ เปน สว นของเจา ของกจิ การเปน จํานวนเทาใด

145

4. การทําบญั ชเี ปน การรวบรวมสถิติอยางหนึ่งท่ีชวยในการบริหารงาน และใหขอมูลอันเปน
ประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานและควบคุมกิจการใหประสบผลสําเร็จตามความมุงหมาย
เพื่อบันทึกรายการคาท่ีเกิดข้ึนตามลําดบั กอนหลัง และจาํ แนกตามประเภทของรายการคาไว เพอ่ื ใหถูกตอ ง
ตามพระราชบญั ญตั ิวา ดวยการทาํ บญั ชีของกจิ การตา ง ๆ
การบรหิ ารคลังสนิ คา

การวางแผนการบริหารคลังสินคาเพื่อสํารองสินคาคงคลังในปริมาณท่ีเหมาะสม เปนฟนเฟอง
หลักใหธ รุ กจิ สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได

การบริหารคลังสินคาจะจัดการตั้งแตการรับเขาจนถึงการจายออก จะเปนการเมื่อสินคาเขามา
ควรจะนําสินคาไปเก็บไวที่ไหน ใหถูกสุขลักษณะ เนื่องจากมีการจัดเก็บสินคาหลากหลายประเภท
จึงจาํ เปน ตองแบงโซนจดั วางสนิ คา

ตนทุนการบริหารคลงั สนิ คา และสนิ คาคงคลงั ประกอบไปดว ย 2 ประเภทดวยกัน ไดแ ก
1. ตน ทนุ การบริหารคลงั สินคา เกดิ จากการดาํ เนินกิจกรรมการใหบรกิ ารภายในคลงั สินคา
การจัดเกบ็ สนิ คา
2. ตน ทุนในการถอื ครองสนิ คา คือตนทุนในการถือครองสนิ คา หรอื คาเสียโอกาสทเ่ี งินทุนไปจม
อยใู นสินคา

เรือ่ งที่ 11 คุณธรรมในการประกอบอาชีพ

คุณธรรม คอื คณุ งามความดีท่ีเรา แสดงออก เชน
1. ความขยนั หมั่นเพียร มคี วามขยนั ในการปฏบิ ัตงิ าน
2. อดทน การทํางานตอ งมีความ เขม แขง็ อดทนตอสภาพทเี่ กดิ ขน้ึ ทุกขณะ งานจะหนักจะเบาเรา
ตอ งทํา
3. ความซอื่ สตั ย มคี วามซื่อสัตย ตอตนเอง ตอหมูค ณะ เพือ่ นรว มงาน
4. สจุ ริต เปนคนตรงไมเ อารัดเอาเปรยี บบุคคลอ่นื ไมค ดโกง ถือคติ “ซอื่ กนิ ไมหมด คดกนิ
ไมน าน”
5. ความรบั ผิดชอบ มีความรับผิดชอบงานทม่ี อบหมายใหท าํ จนสาํ เรจ็ ถกู ตอง นายจา งพอใจ
6. ความเขาใจตนเองและสังคม คือ เปน คนไวใ จซ่งึ กันและกนั
ปญหาและอปุ สรรค
1. ทกั ษะความรู ความชํานาญในธุรกิจถือเปนปจจัยสําคัญที่บงบอกถึงความสามารถในการทํา
ธุรกจิ ของผปู ระกอบการ ซึ่งจะตองคนหาตัวเองวามี ทักษะความรู ความสามารถท่ีโดดเดนนั้นเพียงพอ
ที่จะชวยขับเคล่ือนธุรกิจนั้นอยูรอดไดหรือไม การท่ีเรามีเงินทุนนั้นก็ไมไดหมายความวาจะประสบ
ความสําเร็จ แตต อ งวดั กันที่ฝม อื อีกดว ย แตห ากวาคนหาแลว ยงั ไมเจออีก มขี อแนะนาํ อยู 2 อยา งก็คือ เลิก

146

ทําธุรกจิ หรอื หาคนท่ีมีคณุ สมบัตดิ ังกลาวมาเขา รวมเปนพันธมิตรกัน เทาที่ผานมามีธุรกิจจํานวนมากที่มี
หุนสวนจํานวนเยอะมาก และแตละคนก็มีความสามารถแตกตางกันไป เชน ความสามารถทางดานคิด
แผนการตลาด การโปรโมทประชาสัมพนั ธ หรือการจดั การภายในองคกร เปนตน อยาลืมวาไมมีใครเกง
ทส่ี ดุ หรอื ดที สี่ ุด แตถาเราเอาความสามารถของแตละคนมาผนึกรวมกัน ก็จะทําใหความเกงกาจในธุรกิจ
น้นั กา วไปถึงความเปน ทีส่ ุดนน้ั ได

2. ขอมูลท่ีจําเปนตอการเตบิ โต เราจะเห็นไดวา ทุก ๆ ธุรกิจในปจจุบันนี้ตองอาศัยขอมูลตาง ๆ
เพอื่ หลอเลย้ี งใหธ ุรกจิ กา วไปอยางม่นั คง ซ่ึงมีความสําคญั ไมแพไปกวาเงนิ ทุนทเ่ี รากําลงั หากันอยู อาทเิ ชน
ขอมูลเรอ่ื งความตองการของผูบรโิ ภค อยา ลมื วาทกุ วนั น้ีมีการแขงขันสูง ลูกคาเปนปจจัยสําคัญที่ชวยให
ธุรกิจเรารอด ดังน้ัน เราจําเปนตองศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคอยางตอเน่ือง หากไมทําเชนน้ันแลว
ธรุ กิจของคุณอาจจะมผี ลกระทบก็เปนได นอกจากนี้แลว วงจรของสนิ คาตอ งมกี ารเปลี่ยนแปลงไปตามยคุ
ตามสมัยดวย น่ันหมายความวาสินคาทุกชนิดจะมีวงจรชีวิตที่ถูกกําหนดโดยผูบริโภค และแนนอนวา
ผูประกอบการจะตอ งมขี อมูลเหลานี้ เพ่อื ใชป รบั แผนเชงิ กลยุทธต า ง ๆ

3. การวางแผนการตลาด หวั ขอนี้สาํ คญั มากตอ ผูประกอบการซ่ึงจะตองคนหาวาแผนการตลาด
ของเรานัน้ มีจุดออนและจดุ แขง็ ตรงไหนบา ง วิธีนี้สามารถทําไดโดยการศึกษาแผนการทํางานของคูแขง
หากเราทาํ แผนมาเปรยี บเทียบกับคูแขงแลว พบวามีจดุ ออนอยู ขอแนะนาํ ใหท บทวนและเปล่ียนการตลาด
ใหมหมด อยาลืมดวยวาทุกวันนี้การทํางานตองศึกษาจากลูกคาและคูแขง บางคร้ังแนวคิดของเราอาจ
ขดั แยงกับความเปนจริงอยบู าง แตยงั ไงกต็ อ งปรบั ปรงุ เพือ่ ใหธรุ กิจนนั้ ไปตลอดรอดฝง

4. มาตรฐานในการผลิต เทา ท่เี ราทราบกนั อยวู า คณุ ภาพที่ดีของสินคา คือ ปจจัยสําคัญตอความ
อยูรอด ควรหม่ันทบทวนเรื่องมาตรฐานของสินคากันอีกครั้ง เพื่อใหรูวาคุณภาพของสินคาเราตรงกับ
ความตองการของผูบ ริโภครึเปลา ดังนนั้ การสรา งมาตรฐานการผลติ คือ สิ่งที่เราตอ งตระหนักและพัฒนา
กันอยา งเรือ่ ย ๆ

เรือ่ งท่ี 12 หนว ยงานสง เสริมและสนับสนนุ ในประเทศไทย

หนว ยงานทสี่ นบั สนุน SMEs
 การลงทนุ
 การเงิน
 การตลาด
 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

147

การลงทนุ
1. ศนู ยบ รกิ ารนกั ลงทนุ ตลาดหลักทรพั ยแ หงประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภเิ ษก เขตคลองเตย

กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2229-2000 โทรสาร (66) 0-26545649 http://www.set.or.th
2. สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การลงทนุ ถนนวิภาวดรี ังสติ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท (66) 0-25378111, 0-2537-8155 โทรสาร (66) 0-537-8177
3. กรมสง เสรมิ อุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศพั ท (66) 0-2220-4414-8, 0-2202-4511 โทรสาร (66) 0-2246-0031 อเี มล [email protected]
http://www.dip.go.th

การเงนิ
1. ศนู ยใหคาํ ปรกึ ษาทางการเงินสําหรบั วิสาหกจิ ขนาดกลาง ขนาดยอ ม และประชาชน (ศงป.
ศูนยกรงุ เทพ ฯ บานมนังคศิลา ถ.หลานหลวง เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร 10600
โทรศพั ท (66) 0-2268-0334, 0-2628-1802-3 โทรสาร (66) 0-2628-0338
อีเมล [email protected] http://www.sfac.or.th

2. ธนาคารแหง ประเทศไทย 273 ถนนสามเสน บางขนุ พรหม กรุงเทพฯ 10200
โทรศัพท (66) 0-2283-5353 โทรสาร (66) 0-2280-0449, 0-2280-0626 http://www.bot.or.th

3. บรรษทั ประกันสนิ เชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม (บสย.) เลขท่ี 2922/243
อาคารชาญอิสสระทาวเวอร II ช้ัน 18 ถนนเพชรบุรตี ัดใหม กรงุ เทพฯ 10320

1 โทรศพั ท (66) 0-2308-2741 (อตั โนมตั ิ 12 เลขหมาย) โทรสาร (66) 0-2308-2749
. อเี มล [email protected] http://www.sicgc.or.th

4. บรรษัทเงนิ ทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม (บอย.) เลขท่ี 475 ชั้น 9 อาคารศิริภญิ โญ
ถนนศรอี ยธุ ยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2201-3700-10
โทรสาร (66) 0-2201-3723-4 อีเมล [email protected] http://www.sifc.co.th/index.asp

การตลาด
1. กรมสง เสริมการสงออก กระทรวงพาณชิ ย 22/77 ถนนรชั ดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร
กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท (66) 0-2511-5066, 0-2512-0093-0104 โทรสาร (66) 0-2512-1079,
0-2513-1917 http://www.depthai.go.th

2. กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
โทรศัพท (66) 0-2222-2212 , (66) 0-2221-4706 โทรสาร (66) 0-2223-1422

148

http://www.dit.go.th

3. กรมการคา ตางประเทศ กระทรวงพาณิชย 44/100 หมทู ี่ 1 ถนนสนามบนิ นํ้า ต.บางกระสอ
อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท (66) 0-2547-4771-8 โทรสาร (66) 0-2547-4792
อีเมล [email protected] http://www.dft.moc.go.th

วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
1. สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย 196 พหลโยธิน จตุจกั ร
กรงุ เทพมหานคร 10900 ประเทศไทย โทรศัพท (66) 0-2579-1121-30, (66) 0-2579-5515,
(66) 0-2579-0160, (66) 0-2579-8533 โทรสาร (66) 0-2561-4771, (66) 0-2579-8533
อีเมล [email protected] http://www.tistr.or.th

2. สํานักงานพฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หงชาติ 73/1 ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2644-8150-99 โทรสาร (66) 0-26448027-9
http://www.nstda.or.th

3. สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี นุ ) (ส.ส.ท.) เลขที่ 5-7 ซอยสขุ มุ วิท 29
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2258-0320-5
โทรสาร (66) 0-2258-6440 อีเมล [email protected] http://www.tpa.or.th

4. สาํ นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ถนนพระราม 6 แขวงทงุ พญาไท เขตราชเทวี
กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2202-3300-4 โทรสาร (66) 0-2202-2415
อเี มล [email protected] http://www.tisi.go.th

5. สถาบันอาหาร 2008 ถนนจรลั สนทิ วงศ ซอย 40 เขตบางยข่ี นั กรงุ เทพฯ 10700
โทรศพั ท (66) 0-2886-8088, โทรสาร (66) 0-2886-8106-7 http://www.nfi.or.th

6. สถาบันพฒั นาอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ซอยตรมี ิตร กลวยนาํ้ ไท ถนนพระราม 4
เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2713-5492-9 โทรสาร (66) 0-2712-1592-3
อเี มล [email protected] http://www.thaitextile.org

149

กิจกรรม

1. จงอธบิ ายวธิ กี ารแปรรูปและถนอมอาหาร พรอมยกตวั อยาง
2. จงยกตวั อยางอาหารสําเรจ็ รูปในชมุ ชนของทาน พรอมนําเสนอชอ งทางการจําหนา ยและ

แนวทางการหาตลาด
3. จงอธบิ ายหลกั การเลอื กผลติ ภณั ฑอาหารสาํ เร็จรปู ตามหลกั สุขาภบิ าลอาหาร
4. จงอธบิ ายวธิ ีการจดั สถานทจ่ี าํ หนา ยและคลงั สินคาตามหลักสุขาภบิ าลอาหาร
5. นําเสนอโครงงานจดั ตั้งธรุ กิจจาํ หนา ยอาหารตามหลักสขุ าภบิ าลอาหารตามท่ที า นสนใจ

150

บรรณานกุ รม

ชศู ักดิ์ เดชเกรียงไกรกุล, นิทศั น คณะวรรณ, ธีรพล แซต้ัง, การตลาดรงุ มุงสัมพนั ธ. กรงุ เทพ :
บรษิ ทั ซเี อ็ด ยเู คชน่ั จํากดั (มหาชน), 2546.

วรี ะพงษ เฉลมิ จิระวฒั น, คณุ ภาพในงานบรกิ าร, กรงุ เทพ : สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี
(ไทย- ญ่ปี นุ ), 2542.

ศิรวิ รรณ เสรรี ตั น, ศภุ กร เสรรี ตั น, องอาจ ปทวานิช, ปริญ ลักษิตานนท, สพุ ีร ลมิ่ ไทย, หลักการตลาด.
กรงุ เทพ : บริษทั ธีระฟลม และไซเท็กซ, 2543.
http://www.ku.ac.th/e-magazine/february44/agri/food.html
www.dcharoenshop.com/.../68-organized-shops-and-product-pla...
www.atii.th.org/html/ecom.html
“การมจี ติ ใจในการบรกิ ารทด่ี ”ี (ออนไลน) . เขา ถงึ เมอื่ 9 กรกฎาคม 2548. จาก

www.cdd.go.th/j4607181.htm

151

152

ท่ีปรกึ ษา คณะผูจ ัดทาํ

1. นายประเสรฐิ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชัยยศ อ่ิมสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
ท่ีปรึกษาดานการพฒั นาหลักสูตร กศน.
3. นายวชั รินทร จําป ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ หนวยศึกษานเิ ทศก
กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ
หนวยศกึ ษานเิ ทศก
ผเู ขยี นและเรียบเรียง โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สิงห สงิ หเสนีย )
กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นางกนกพรรณ สุวรรณพิทกั ษ ขา ราชการบาํ นาญ
ขาราชการบํานาญ
ผบู รรณาธิการ และพฒั นาปรบั ปรุง ขา ราชการบาํ นาญ
ขาราชการบํานาญ
1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช สํานกั งาน กศน เขตบางเชน

2. นางสปุ รารถนา ยกุ หะนันทน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
3 . นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ กั ษ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4 . นางสาวเยาวรตั น คําตรง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน

5. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น

6. นางสาวสรุ พี ร เจรญิ นิช กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

7. นางธญั ญวดี เหลา พาณชิ ย

8. นางเอ้อื จติ ร สมจติ ตช อบ

9. นางสาวชนิตา จิตตธ รรม

10. นางสาวอนงค เชอื้ นนท

คณะทาํ งาน

1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน

2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป

3. นางสาววรรณพร ปท มานนท

4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ

5. นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วัฒนา

ผูพ ิมพต นฉบบั

นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา

ผอู อกแบบปก

นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป

153

ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ 2

คณะท่ปี รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน.
อิม่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
นายประเสริฐ จําป รองเลขาธิการ กศน.
นายชัยยศ จนั ทรโ อกุล ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
นายวชั รนิ ทร ผาตนิ นิ นาท ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นการเผยแพรทางการศกึ ษา
นางวัทนี ธรรมวธิ กี ลุ หัวหนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก
นางชลุ ีพร งามเขตต ผอู ํานวยการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางอญั ชลี
นางศุทธินี

ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2

นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายกติ ติพงศ จนั ทวงศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

นางสาวผณนิ ทร แซอ ้ึง

นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา

154

คณะผปู รับปรุงขอมลู เกย่ี วกับสถาบันพระมหากษัตริยป  พ.ศ. 2560

ท่ีปรกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสุรพงษ สขุ สเุ ดช ปฏบิ ัตหิ นา ท่รี องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสรฐิ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
พวงไพวัลย และการศึกษาตามอัธยาศัย
3. นางตรีนชุ
กศน.เขตพญาไท
ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล

นางสาวชอ แกว

คณะทํางาน

1. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวา ง

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น

8. นางสาวชมพูนท สังขพ ิชัย


Click to View FlipBook Version