The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนรายวิชาบังคับ รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หนังสือเรียนรายวิชาบังคับ รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

93

สลายตัวไดงายกวาปกติ นอกจากนี้ ยังพบวายาอะมิโนพัยรินและไดพัยโรน มีผลตอสวนประกอบของ
เลอื ดอยางมาก

3. ความเปน พษิ ตอ ตบั ถึงแมต ับจะเปนอวยั วะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุดในการกําจัดยา แตมันก็ถูก
กับตัวยาในความเขมขนที่สูง จึงอาจเปนอันตรายจากยาดวยเหตุน้ีก็ได ยาบางขนานท่ีอาจเปนอันตรายตอ
เซลลของตบั โดยตรง เชน ยาจําพวก Chlorinated hydrocarbons ยาเม็ดคมุ กําเนดิ ยาปฏิชวี นะจําพวก
โพลิมกิ ซนิ และวิตามนิ เอ ในขนานสงู มากๆ อาจทาํ ใหต บั หยอ นสมรรถภาพได

4. ความเปนพิษตอไต ไตเปนอวยั วะที่สําคัญท่ีสุดในการขับถายยาออกจากรา งกาย ยาจาํ พวก
ซัลฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทําใหไตอักเสบเวลารับประทานยาพวกนี้จึงควรดื่มนํ้ามาก ๆ
นอกจากน้ี ยงั มยี าทอ่ี าจทาํ ใหเกดิ พษิ โดยตรงตอไตได เชน ยานีโอมยั ซนิ เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจําพวก
เพนิซิลลิน หรือการใหวิตามินดีในขนาดสูงมากและเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดพิษตอไต ไตหยอน
สมรรถภาพ จนถึงขัน้ เสียชีวติ ได

5. ความเปนพษิ ตอ เสน ประสาทของหู ยาบางชนดิ เปน พิษตอเสน ประสาทของหู ทาํ ใหอาการ
หูอ้อื หูตึง และหหู นวกได เชน ยาสเตร็ปโตมยั ซิน นีโอมัยซนิ กานามัยซนิ ควินิน และยาจําพวก
ซาลิซัยเลท เปน ตน

6. ความเปนพิษตอประสาทสวนกลาง ยาบางขนานทําใหมีอาการทางสมอง เชน การใช
แอมเฟตามีน ทําใหสมองถูกกระตุนจนเกิดควรจนนอนไมหลับ ปวดหัว กระวนกระวาย อยูไมสุข และ
ชักได สวนยากดประสาทจําพวกบารบิทูเรต ถาใชไปนาน ๆ จะทําใหเกิดอาการงวง ซึมเศรา จนถึงขั้น
อยากฆาตัวตาย

7. ความเปน พษิ ตอ ระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด มักเกิดจากยากระตุน หัวใจ ยาแกหอบหืด
ไปทําใหหัวใจเตน เร็วผิดปกติ

8. ความเปน พิษตอ กระเพาะอาหาร ยาบางชนิด เชน แอสไพริน เฟนลิ บิวตาโซน เพรดโซโลน
อนิ โดเมธาซนิ ถารับประทานตอนทองวางและรบั ประทานบอยๆ จะทําใหก ระเพาะอาหารอกั เสบและเปน
แผลได

9. ความเปนพษิ ตอทารกในครรภ มียาบางชนิดที่แมไ มค วรรบั ประทานระหวางต้ังครรภ เชน
ยาธาลโิ ดไมลช ว ยใหนอนหลับและสงบประสาท ยาฟโนบารบิตาลใชรักษาโรคลมชัก ยาไดอะซีแพมใช
กลอมประสาท และยาแกคลื่นไสอาเจียน เนื่องจากอาจเปนอันตรายตอตัวมดลูกและตอทารกในครรภ
เปนผลใหเ ด็กท่ีคลอดออกมามคี วามพิการ เชน บางรายอาจมอื กุด ขากุด จมูกโหว เพดานและรมิ ฝ
ปากแหวง หรอื บางคนศรี ษะอาจยุบหายไปเปนบางสวน ดังนน้ั แมใ นระหวา งตั้งครรภค วรระมัดระวงั การ
ใชยาเปน อยา งย่ิง

94

การใชยาผดิ และการตดิ ยา (Drug Abuse and Drug Dependence)
การใชยาผิด หมายถึง การใชยาท่ีไมตรงกับโรค บุคคล เวลา วิธี และขนาด ตลอดจน

จุดประสงคข องการใชย าน้ันในการรกั ษาโรค เชน การใชย าบารบ ทิ ูเรต (เหลา แหง ) เพื่อใหนอนหลบั สบาย
โดยอยูภายใตก ารดแู ลของแพทย ถอื วาเปน การใชย าถกู ตอ ง แตถาใชยาบารบ ิทเู รต (เหลา แหง ) จํานวนเดิม
เพอ่ื ใหเคลบิ เคลมิ้ เปน สขุ (Euphoria) ถอื วา เปนการใชยาผิด

การติดยา หมายถึง การใชยาติดตอกันไปชั่วระยะเวลาหน่ึง แลวอวัยวะของรางกายโดยเฉพาะ
อยา งย่ิงระบบประสาท ไดยอมรบั ยาขนานน้นั เขา ไวเปนสิ่งหน่ึงท่ีจําเปน สําหรับเมตาบอลิซึมของอวัยวะน้ัน ๆ
ซึง่ ถาหากหยุดยาหรือไดร ับยาไมเพยี งพอจะเกิดอาการขาดยา หรืออาการถอนยา (Abstinence or Withdrawal
Syndrome) ซึง่ แบง ไดเ ปน อาการทางกาย และอาการทางจติ ใจ
สาเหตทุ ่ที าํ ใหเกิดการใชย าผิดหรอื การตดิ ยา อาจเนอ่ื งมาจาก

1. ความเชอ่ื ทวี่ า ยาน้ันสามารถแกโรคหรอื ปญหาตา งๆ ได
2. สามารถซ้อื ยาไดง ายจากแหลงตา งๆ
3. มีความพงึ พอใจในฤทธ์ขิ องยาที่ทาํ ใหร ูสกึ เคลบิ เคลิ้มเปน สขุ
4. การทาํ ตามอยา งเพอื่ น เพอ่ื ใหเ ขากับกลุมได หรือเพ่อื ใหร สู กึ วาตนเองทันสมยั
5. ความเชือ่ ทว่ี ายาน้นั ชวยใหม คี วามสามารถและสติปญ ญาดีขนึ้
6. ความไมพ อใจในสภาพหรือสังคมท่เี ปน อยู หรอื ความรูส กึ ตอตานวัฒนธรรม
7. การหลงเชอื่ คาํ โฆษณาสรรพคณุ ของยานัน้
การใชย าผดิ แบงตามลกั ษณะการใชโดยสังเขปไดเปน 2 ประการ คอื
1. ใชผ ิดทาง ไมเปน ไปเพ่อื การรักษาโรค เชน ใชยาปฏชิ วี นะเสมอื นหนึ่งเปน การลดไข ชาวนา
ใชข ี้ผึง้ เพนิซิลลินทาแทนวาสลิน เพื่อกันผิวแตก ซ่ึงอาจทําใหเกิดอาการแพจนถึงแกชีวิตได โดยท่ัวไป
แพทยจะใหนา้ํ เกลอื และยาบาํ รงุ เขา เสน ตาง ๆ เฉพาะผูที่ปวยเทาน้ัน แตผูท่ีมีสุขภาพดีกลับนําไปใชอยาง
กวา งขวาง ซ่ึงนอกจากจะไมใหป ระโยชนแลวยงั เปนอนั ตรายถึงชีวิตได
2. ใชพร่ําเพร่ือ เปนระยะเวลานานๆ จนติดยา เชน การใชยาลดไขแกปวด ซ่ึงมีสวนผสมของ
แอสไพริน และเฟนาเซติน เพื่อรกั ษาอาการปวดเม่อื ยหรือทําใหจ ิตใจเปน สขุ ถาใชต ดิ ตอกันนาน ๆ ทําให
ติดยาและสขุ ภาพทรดุ โทรม นอกจากนี้ การใชย านอนหลับ ยาระงบั ประสาท ยากลอมประสาท กญั ชา โคเคน
แอมแฟตามนี โบรไมด การสูดกาวสารทาํ ใหเ กิดประสาทหลอนตดิ ตอ กันเปน เวลานานจะทาํ ใหต ิดยาได
ขอควรระวังในการใชสมนุ ไพร
เมื่อมีความจําเปน หรือความประสงคท่ีจะใชสมุนไพรไมวาจะเพ่ือประสงคอยางไรก็ตาม
ใหร ะลกึ อยเู สมอวา ถาอยากมสี ุขภาพที่ดี หายจากการเจ็บปวย สิง่ ที่จะนําเขาไปสูในรางกายเราก็ควรเปน
สง่ิ ทีด่ ี มปี ระโยชนตอรา งกายดว ย อยา ใหความเช่อื แบบผดิ ๆ มาสง ผลเสยี กับรา งกายเพ่ิมขึ้น หลายคนอาจ
เคยไดย ินขาวเกี่ยวกับหมอนอย ซ่ึงเปน เด็กอายเุ พยี ง 3 ป 7 เดอื น ท่ีเปนขา วในหนา หนังสอื พมิ พเ มื่อป 2529
ท่ีสามารถรกั ษาโรคไดทุกชนิดใชเพียงกงิ่ ไมใ บไมอ ะไรกไ็ ดแ ลวแตจ ะช้ีไป คนเอาไปตมรับประทานดวย

95

ความเช่ือ ซ่ึงความจริงการเลือกใชสมุนไพรจะตองมีวิธีการ และความรูที่ถูกตอง การใชจึงจะเกิด
ประโยชน

ขอควรระวงั ในการใชอยางงายๆ และเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความปลอดภัยใน
การใชส มนุ ไพร คือ

- ใชใหถูกตน สมุนไพรบางชนิดอาจมีลักษณะคลายกัน หรือมีช่ือพองกัน การใชผิดตน
นอกจากไมเ กดิ ผลในการรักษาแลว ยังอาจเกิดพิษข้นึ ได

- ใชใหถกู สวน ในแตละสว นของพชื สมนุ ไพร เชน ใบ ราก ดอก อาจมีสรรพคุณไมเหมือนกัน
และบางสวนอาจมพี ษิ เชน เมลด็ ของมะกล่ําตาหนูเพยี งเม็ดเดียว ถา เค้ียวรับประทานอาจตายได ในขณะที่
สวนของใบไมเ ปนพิษ

- ใชใ หถ กู ขนาด ปรมิ าณการใชเปน สวนสาํ คัญทท่ี าํ ใหเกิดพษิ โดยเฉพาะ ถา มีการใชในปรมิ าณ
ที่มากเกินไป หรือถานอ ยเกนิ ไปก็ไมเ กิดผลในการรกั ษา

- ใชใหถ กู โรค สมนุ ไพรแตละชนิดมีสรรพคุณไมเ หมอื นกนั เปนโรคอะไรควรใชส มุนไพรท่ีมี
สรรพคณุ รกั ษาโรคนั้นๆ และสง่ิ ที่ควรคาํ นงึ คอื อาการเจ็บปวย บางอยางมคี วามรุนแรงถึงชวี ิตได ถา ไมได
รับการรักษาทันทวงทีในกรณีเชนน้ีไมควรใชยาสมุนไพร ควรรับการรักษาจากแพทยผูเช่ียวชาญจะ
เหมาะสมกวา

การรับประทานยาสมุนไพรจากท่ีเตรียมเอง ปญหาท่ีพบบอยคือ ไมทราบขนาดการใชท่ี
เหมาะสมวา จะใชป รมิ าณเทาใดดี ขอแนะนาํ คอื เริ่มใชแ ตนอยกอ นแลวคอ ยปรับปริมาณเพิม่ ขนึ้ ตามความ
เหมาะสมทีหลัง (มีศัพทแ บบพน้ื บานวา ตามกําลงั ) ไมควรรับประทานยาตามคนอน่ื เพราะอาจทําใหรับยา
มากเกินควร เพราะแตละคนจะตอบสนองตอยาไมเหมือนกัน สําหรับยาที่ซื้อจากรานควรอานฉลาก
วธิ กี ารใชอยางละเอยี ดและใหเขาใจกอนใชทกุ คร้งั

การหมดอายขุ องยาจากสมนุ ไพรเชนเดียวกันกับยาแผนปจจุบัน โดยทั่วไปสมุนไพรเมื่อเก็บ
ไวน านๆ ยอมมกี ารผุพัง เกดิ ความชื้น เช้อื รา หรอื มีแมลงวันมากัดกิน ทําใหอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมท่ี
จะนําไปใช และมกี ารเส่ือมสภาพลงแตก ารจะกําหนดอายุทแี่ นน อนน้นั ทาํ ไดยาก จึงควรนับตั้งแตวันผลิต
ยาสมุนไพรหรือยาจากสมุนไพรไมควรใชเม่ือมีอายุเกิน 2 ป ยกเวนมีการผลิตหรือเก็บบรรจุที่ดี และถา
พบวา มเี ชื้อรา มกี ลนิ่ หรอื สีเปลยี่ นไปจากเดมิ ก็ไมควรใช
ขอ สงั เกตในการเลือกซือ้ สมนุ ไพร และยาแผนโบราณ

ดงั นัน้ ยาแตล ะชนดิ ทางกฎหมายมขี อ กําหนดท่แี ตกตางกนั ในการเลือกซอ้ื หรอื เลอื กใชจงึ ตอ ง
รคู วามหมาย และขอกาํ หนดทางกฎหมายเสียกอ น จงึ จะรวู า ยาชนดิ ใด จะมคี ุณสมบัติอยางไร มีวิธีการใน
การสงั เกตอยางไร เพื่อที่จะไดบอกไดวายานั้น ควรที่จะใชหรือนาที่จะมีความปลอดภัยตอการใช ส่ิงท่ี
นา จะรหู รอื ทําความเขา ใจ คอื ความหมายของยาชนดิ ตาง ๆ ดังน้ี

ยาสมนุ ไพร คือ ยาท่ีไดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แรธาตุ ซึ่งมไิ ดผสมปรงุ หรอื แปรสภาพ

96

ยาแผนโบราณ คอื ยาท่ีมุงหมายใชในการประกอบโรคศลิ ปะแผนโบราณ ซ่ึงอยูในตาํ รา
แผนโบราณท่รี ัฐมนตรปี ระกาศ หรือยาทไ่ี ดรับอนุญาตข้ึนทะเบียนเปน ยาแผนโบราณ

หรอื ใหเ ขา ใจงายๆ คือ ยาท่ีไดจ ากสมุนไพรมาประกอบเปนตํารับตามทร่ี ะบุไวใ นตาํ รายาหรือ
ท่ีกําหนดใหเ ปนยาแผนโบราณ ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณนั้นกําหนดวา ใหใชวิธีท่ีสืบทอด
กนั มาแตโบราณโดยไมใ ชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เชน การนําสมุนไพรมาตมรับประทาน หรือทํา
เปนผงละลายนาํ้ รับประทาน แตใ นปจ จุบันมขี อกําหนดเพม่ิ เตมิ ใหยาแผนโบราณมีการพัฒนารูปแบบให
สะดวกและทันสมยั ขึ้นเชน เดยี วกับยาแผนปจจบุ นั เชน ทําเปนเม็ด เม็ดเคลือบน้ําตาลหรือแคปซูล โดยมี
ขอ สังเกตวาที่แคปซลู จะตองระบุวา ยาแผนโบราณ

เรอื่ งท่ี 3 ความเช่อื เก่ยี วกับการใชยา

ปจ จบุ นั แมวา ความกา วหนา ทางแพทยส มยั ใหมร วมท้ังวิถีชีวติ ท่ไี ดร บั อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก จะทํา
ใหคนทั่วไปเม่อื เจ็บปว ยหนั ไปพึง่ การรกั ษาจากบุคลากรทางการแพทยซ ึง่ มงุ เนนการใชย าแผนปจจุบันใน
การรกั ษาอาการเจบ็ ปว ยเปนหลกั โดยใหค วามสาํ คญั ความเชื่อถอื ในยาพน้ื บา น ยาแผนโบราณลดนอยลง
ทําใหภมู ิปญญาพ้ืนบา นรวมถึงตาํ หรับยาแผนโบราณสูญหายไปเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยงั ขาดความ
ตอ เนอ่ื งในการถายทอดองคความรูใ นการดูแลรกั ษาตนเองเบือ้ งตนดวยวธิ ีการและพชื ผัก สมนุ ไพร ท่ีหา
ไดงายในทอ งถิ่น

โดยองคความรูท่ีถา ยทอดจากรนุ สูรนุ นน้ั ไดผา นการวิเคราะหและทดลองแลววาไดผลและไมเ กดิ
อันตรายตอสุขภาพ อยางไรก็ตามยังคงมีความเชื่อบางประการเกี่ยวกับการใชยาเพ่ือเสริมสุขภาพ และ
สมรรถภาพเฉพาะดาน ซึ่งยังไมไดรับการพิสูจนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการแพทย วามี
สรรพคุณตามคําโฆษณา อวดอาง หรือบอกตอ ๆ กัน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายหรือผลขางเคียงหากใช

97

จํานวนมากและตอ เนอ่ื งเปนเวลานาน ไดแก ยาดองเหลา ยาฟอกเลือด ยาชงสมุนไพร ยาที่ทําจากอวัยวะ
ซากพืชซากสัตว เปน ตน รวมถึงยาชดุ ตาง ๆ ท่มี กั มกี ารโฆษณาชวนเชื่ออวดอาง สรรพคุณเกินจริง ทําให
คนบางกลุมหลงเช่ือ ซอื้ หามารบั ประทาน ยาบางชนิดมีราคาแพงเกนิ ปกตโิ ดยอางวาทาํ จากผลิตภัณฑท่ี
หายาก สรรพคุณครอบจกั รวาล สามารถรกั ษาไดส ารพดั โรค ซ่งึ สรรพคุณท่ีมกั กลาวอา งเกนิ จรงิ อาทิเชน

- กินแลวจะเจริญอาหาร ทําใหรับประทานอาหารไดมากข้ึน เชน ยาดองเหลา ยาสมุนไพร
บางชนดิ

- กนิ แลวจะทาํ ใหมกี าํ ลงั สามารถทาํ งานไดทนนาน
- กินแลวทําใหมีพลังทางเพศเพิ่มขึ้น เชน ยาดองเหลา ยาดองอวัยวะซากสัตว อุงตีนหมี
ดงี ูเหา ฯลฯ
- กินแลวจะทําใหเ ลือดลมไหลเวยี นดี นอนหลบั สบาย ผิวพรรณผอ งใส เชน ยาฟอกเลือด ยาสตรี
ยาขับระดู ฯลฯ
- กินแลวทําใหเ ปนหนมุ เปนสาว อวยั วะบางสวนใหญข้ึน เชน เขากวาง และกวาวเครือแดง เสริม
ความหนมุ กวาวเครอื ขาวเสรมิ ทรวงอก และความสาว เปน ตน
- กินแลวจะชวยชะลอความแกหรือความเสื่อมของอวัยวะ เชน รังนกซึ่งทําจากนํ้าลายของ
นกนางแอน หูฉลามหรือครีบของฉลาม หรอื โสม ซึง่ สว นใหญม รี าคาแพงไมคุมคากับประโยชนท รี่ า งกาย
ไดรบั จริง ๆ
- กนิ แลวรกั ษาอาการปวดเม่ือย ไขขอ อกั เสบเรอ้ื รงั เชน ยาชุดตาง ๆ ยาแกกระษัยไตพิการ ซึ่งมัก
ผสมสารหนู ที่เปนอันตรายตอรางกายมาก เพราะผูใชอาจมักติดยาตองรับประทานเพิ่มขึ้นจึงเกิดการ
สะสมพษิ เมือ่ เกดิ อนั ตรายมกั มีอาการรุนแรงยากแกการรักษา
ทง้ั น้ี การใชยาดังกลา วสวนใหญเกิดจากความเชื่อผิด ๆ หรือเชื่อในคําโฆษณาเกินจริง ที่แฝงมา
ดว ยภยั เงยี บที่กอใหเกดิ อนั ตรายตอ รา งกายหากใชอยางตอ เนื่องและใชในจาํ นวนมาก นอกจากน้ียังทําให
เสียคา ใชจา ยคอนขางสงู แตไมเกดิ ประโยชนตอ รางกายไมมีผลในการรกั ษาอาการตาง ๆ ตามสรรพคุณท่ี
กลาวอาง ดังน้ัน กอนจะซ้ือหายาหรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพมาใช ควรศึกษาสรรพคุณ สวนประกอบ
แหลงผลิต วันหมดอายุ และความนาเชื่อถือของผูผลิตโดยพิจารณาจากมีเลขทะเบียนถูกตองหรือไม
มตี รา อย. หรือมีใบอนุญาตการผลติ ใบประกอบโรคศลิ ปะแพทยแ ผนโบราณ เปนตน
ความเชื่อและขอ ควรระวังในการใชย าชดุ ยาดองเหลา และยาชงสมนุ ไพร
1. ยาชุด

ยาชดุ หมายถงึ ยาท่ผี ูข ายจดั รวมไวใหก ับผซู อ้ื สําหรับใหกนิ ครง้ั ละ 1 ชุด รวมกันหมด โดยไม
แยกวา เปนยาชนดิ ใด ควรจะกนิ เวลาไหน โดยทัว่ ไปมกั จะมียา ต้งั แต 3 – 5 เมด็ หรืออาจมากกวาและอาจ
จดั รวมไวในซองพลาสตกิ เล็กๆ พิมพฉ ลากบงบอกสรรพคุณไวเ สร็จ

98

สรรพคุณท่พี มิ พไวบนซองยาชดุ มกั โออ วดเกนิ ความจรงิ เพ่ือใหขายไดมาก ช่ือท่ีตั้งไวจะเปน
ชื่อท่ีดึงดูดความสนใจหรือโออวดสรรพคุณ เชน ยาชุดกระจายเสน ยาชุดประดงขุนแผน ยาชุดแก
ไขมาลาเรยี เปน ตน

เนอื่ งจากผจู ดั ยาชุดไมม ีความรเู ร่อื งยาอยางแทจริง และมักจะมุง ผลประโยชนเปนสําคัญ ดังนั้น
ผใู ชย าชดุ จึงมโี อกาสไดรบั อันตรายจากยาสงู มาก

อนั ตรายจากการใชยาชดุ
1. ไดรับตัวยาซํ้าซอน ทําใหไดรับตัวยาเกินขนาด เชน ในยาชุดแกปวดเมื่อย ในยาชุดหน่ึงๆ
อาจมยี าแกปวด 2-3 เม็ด ก็ได ซึ่งยาแกป วดน้จี ะอยใู นรปู แบบตางกัน อาจเปนยาคนละสีหรือขนาดเม็ดยา
ไมเ ทากัน แตมีตัวยาแกป วดเหมอื นกัน การทไี่ ดรับยาเกินขนาดทําใหผ ูใ ชยาไดร บั พิษจากยาเพิ่มข้นึ
2. ไดร ับยาเกนิ ความจําเปน เชน ในยาชุดแกหวัดจะมียาแกปวดลดไข ยาปฏิชีวนะยาลดน้ํามูก
ยาทําใหจมูกโลง ยาแกไอ แตจริงๆ แลว ยาปฏิชีวนะจะใชรักษาไมไดในอาการหวัดที่เกิดจากเช้ือไวรัส
และอาการหวัดของแตละคนไมเ หมอื นกัน ถาไมปวดหัวเปน ไข ยาแกป วด ลดไขไ มจําเปน ไมมีอาการไอ
ไมควรใชยาแกไอ การรกั ษาหวดั ควรใชบ รรเทาเฉพาะอาการท่ีเกิดขึ้นเทาน้ันไมจําเปนตองกินยาทุกชนิดที่
อยใู นยาชุด
3. ในยาชุดมักมียาเส่ือมคุณภาพ หรือยาปลอมผสมอยู การเก็บรักษายาชุดที่อยูในซองพลาสติก
จะไมสามารถกันความชื้น ความรอน หรือแสงไดดีเทากับท่ีอยูในขวดที่บริษัทเดิมผลิตมา ทําใหยาเส่ือม
คุณภาพเรว็ นอกจากนนั้ ผูจ ัดยาบางชดุ บางรายตองการกาํ ไรมากจึงเอายาปลอมมาขายดว ย ซึง่ เปนอนั ตรายมาก
4. ในยาชุดมักใสย าอนั ตรายมากๆ ลงไปดว ย เพ่อื ใหอาการของโรคบรรเทาลงอยา งรวดเร็ว เปน
ท่พี อใจของผูซ้ือทงั้ ผขู ายโดยทย่ี าจะไปบรรเทาอาการแตไมไดแกสาเหตุของโรคอยางแทจริง อาจทําให
โรคเปน มากขนึ้

ยาท่ีมีอันตรายสูงมากและจัดอยูในยาชุดเกือบทุกชนิด คือ ยาสเตียรอยด หรือที่เรียกวายา
ครอบจกั รวาล นิยมใสในยาชุด เพราะมีฤทธ์ิบรรเทาอาการไดมากมายหลายอยาง ทําใหอาการของโรค
ทเุ ลาลงเรว็ แตจ ะไมรักษาโรคใหห าย ยาสเตียรอยด เชน เพรดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ทาํ ใหเกดิ อนั ตราย
ตอผูใชสูงมากทําใหเกิดอาการบวมนํ้า ความดันโลหิตสูง หัวใจทํางานหนัก หนาบวม กลมเหมือน
พระจันทร ทาํ ใหก ระดูกพรุน เปราะหกั งา ย กระเพาะอาหารเปนแผล ความตานทานโรคลดลงและทําให
เกิดความผิดปกตดิ า นประสาทจิตใจ

5. ผทู ใ่ี ชยาชดุ จะไดยาไมค รบขนาดรกั ษาทพ่ี บบอ ยคอื การไดร ับยาปฏชิ วี นะเพราะการใชย า
ปฏชิ วี นะตองกนิ อยางนอย 3-5 วนั วนั ละ 2-4 ครัง้ แลว แตชนดิ ของยา แตผซู อ้ื ยาชุดจะกนิ ยาเพียง 3-4 ชุด
โดยอาจกนิ หมดในหนงึ่ วนั หรือกนิ วันละชดุ ซ่งึ ทําใหไ ดร บั ยาไมครบขนาด โรคไมห ายและกลับดอ้ื ยา
อกี ดวย

99

การใชย าชุดจึงทําใหเ สียคณุ ภาพ การใชย าไมถกู โรค ทําใหโ รคไมหายเปน มากขน้ึ ผปู วยเสี่ยง
อันตรายจากการใชยาโดยไมจ ําเปนสิน้ เปลืองเงนิ ทองในการรกั ษา

2. ยาดองเหลา และยาเลือด
หลายคนอาจเคยเหน็ และเคยรับประทานยาชนดิ นี้มาบางแลว แตเดิมยากลมุ นจี้ ะใชใ นกลุมสตรี

เพ่อื บํารงุ เลอื ด ระดูไมป กติ และใชในกลุมสตรีหลังการคลอดบุตร เพ่ือใชแทนการอยูไฟ สวนประกอบ
ของตวั ยาจะมีสมนุ ไพรทีม่ รี สเผ็ดรอ นหลายชนดิ เชน รากเจตมูลเพลิงแดง กระเทียม พริกไทย เทียนขาว
เปลือกอบเชยเทศ ขิง และสวนผสมอ่ืนๆ แลวแตชนิดของตํารับ มีขายทั้งที่เปนช้ินสวนสมุนไพรและท่ี
ผลิตสําเรจ็ รูปเปนยาผงและยาน้าํ ขาย สวนใหญย าในกลมุ น้ียากท่จี ะระบถุ งึ สรรพคณุ ท่แี ทจรงิ เน่ืองจากยัง
ขาดขอมูล ผลของการทดลองทางคลินิกเทาท่ีทราบมีเพียงสวนประกอบของตัวยาซึ่งสวนใหญเปนสาร
น้ํามันหอมระเหยและสารเผ็ดรอนหลายชนิด เม่ือรับประทานเขาสูรางกายจะรูสึกรอน กระตุนการ
ไหลเวียนโลหิต สมุนไพรหลายชนิดในตํารับ เชน เจตมูลเพลิงแดง และกระเทียม มีรายงานวาสามารถ
กระตุนการบบี ตวั ของกลา มเน้ือมดลูก และมีรายงานการทดลองในหนูเพศเมยี เมื่อไดรับยาจะทาํ ใหล ดการ
ตงั้ ครรภได จงึ เปน ขอทคี่ วรระวังในผูท่ตี ้ังครรภไ มควรรับประทานยากลุมน้ีอาจทําใหแทงได และหลาย
ตํารับจะมีการดองเหลาดวย เม่ือรับประทานทําใหเจริญอาหารและอวนข้ึน การอวนมักเกิดจาก
แอลกอฮอล (เหลา ) ทไ่ี ปลดการสรางพลังงานท่ีเกิดจากกรดไขมัน (Fatty acid) จึงมีการสะสมของไขมัน
ในรา งกาย และอาจเกิดตบั แขง็ ไดถ ารบั ประทานในปรมิ าณมาก ๆ และติดตอ กนั ทุกวัน นอกจากนี้การดื่ม
เหลาอาจทําใหเด็กทารกท่อี ยูในครรภเ กิดการพกิ ารได ในเร่อื งยาเลือดนอี้ าจมีความเชื่อและใชกันผิดๆ คือ
การนํายาเลือดสมุนไพรไปใชเปนยาทําแทง ซึ่งเปนส่ิงท่ีไมควรอยางยิ่งโดยเฉพาะเมื่อการตั้งครรภเกิน
1 เดอื น เน่ืองจากไมค อยไดผล และผลจากการกระตุน การบีบตัวและระคายเคืองตอผนังมดลูกที่เกิดจาก
การใหย าอาจทาํ ใหเกิดการทาํ ลายของเยื่อบุผนังมดลูกบางสว นเปนเหตุใหทารกเกิดมาพิการได

3. ยาชงสมนุ ไพร
การใชย าสมุนไพรเปนทีน่ ยิ มกันในหลายประเทศ ท้ังทางประเทศยุโรปและเอเชียในประเทศ

ไทยปจจุบันพบมาก มีการเพิ่มจํานวนชนิดของสมุนไพรมาทําเปนยาชงมากข้ึน เชน ยาชงดอกคําฝอย
หญาหนวดแมว หญา ดอกขาว เปนตน

ขอ ดขี องยาชงคอื มักจะใชส มนุ ไพรเดี่ยวๆ เพยี งชนดิ เดยี ว เม่ือใชก นิ แลวเกดิ อาการอันไม
พึงประสงคอยางไรกต็ ามสามารถรูวาเกิดจากสมนุ ไพรชนิดใดตางกับตํารายาผสมท่เี ราไมส ามารถรูไดเลย
ในตางประเทศมรี ายงานเรอื่ งความเปน พิษทีเ่ กดิ จากยาชงสมุนไพรท่ีมขี ายในทอ งตลาดกนั มาก และเกดิ ได
หลายอาการ

สําหรับประเทศไทย รายงานดา นนยี้ ังไมพ บมากนกั เนือ่ งจากสวนใหญมีการเลือกใชสมุนไพร
ท่ีคอนขา งปลอดภัย แตท คี่ วรระวังมีชาสมนุ ไพรทีม่ สี วนผสมของใบหรอื ฝกมะขามแขก ใชประโยชนเ ปน
ยาระบายทอง บางยห่ี อระบเุ ปนยาลดความอวนหรอื รบั ประทานแลว จะทาํ ใหห นุ เพรียวข้ึน อาการที่เกดิ คือ
สาเหตจุ ากมะขามแขกซงึ่ เปน สารกลุมแอนทราควิโนน (Antharquinone) จะไปกระตนุ การบีบตวั ของ

100

ลําไสใ หญ ทาํ ใหเ กดิ การขบั ถาย การรับประทานบอยๆ จะทําใหรางกายไดรับการกระตุนจนเคยชิน เม่ือ
หยดุ รับประทานรางกายจึงไมส ามารถขับถา ยไดเ องตามปกติ มีอาการทองผูกตองกลับมาใชยาระบายอีก
เรื่อย ๆ จงึ ไมค วรใชยาชนิดน้ีติดตอกันนานๆ และหากจําเปนควรเลือกยาที่ไปเพ่ิมปริมาณกากและชวย
หลอ ล่นื อุจจาระโดยไมดูดซึมเขาสูรางกาย เชน สารสกัดจากหัวบุกจะปลอดภัยกวา แตการรับประทาน
ตดิ ตอ กนั นาน ๆ อาจทําใหร างกายไดร บั ไขมันนอ ยกวา ความตองการก็ได เพราะรา งกายเราตองการไขมัน
ตอการดํารงชีพดวย

สารกลมุ แอนทราควิโนน

101

บทที่ 7
ผลกระทบจากสารเสพตดิ

สาระระสาํ คัญ

มคี วามรู ความเขาใจ สามารถวเิ คราะหป ญ หา สาเหตแุ ละผลกระทบจากการแพรระบาดของ
สารเสพติดได มสี วนรว มในการปองกันส่ิงเสพตดิ ในชมุ ชน และเผยแพรความรูดา นกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ
กับสารเสพติดแกผอู ื่นได

ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง

1. วเิ คราะหปญ หา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรร ะบาดของสารเสพติดได
2. ปฏิบตั ิตนในการหลกี เลยี่ งและมคี วามรวมมอื ในการปอ งกนั สงิ่ เสพติดในชุมชน
3. เผยแพรความรูดา นกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ งกับส่งิ เสพตดิ แกผ อู ่นื ได

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรื่องท่ี 1 ปญหาการแพรระบาดของสารเสพติดในปจ จุบนั
เรือ่ งที่ 2 แนวทางการปอ งกนั การแพรระบาดของสารเสพตดิ
เรื่องท่ี 3 กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกับสารเสพติด

102

เรอ่ื งท่ี 1 ปญหาการแพรร ะบาดของสารเสพติดในปจจุบนั

ปจจบุ ันปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดนับวา รุนแรงมากยงิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะในกลุมเด็กและ
เยาวชน จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข พบวา จํานวนผูเสพและผูติดยาเสพติดในกลุมเด็กนักเรียน
เพม่ิ มากข้ึนจนหนา เปน หวง ซง่ึ การท่เี ด็กวัยเรยี นมีการเสพตดิ ยอมสงผลกระทบตอสุขภาพ สติปญญาและ
สมาธิในการเรียนรูทําใหคุณภาพประชากรลดลง เปนปญหาตอการพัฒนาประเทศ และการแขงขันใน
ระดับโลกตอ ไปในอนาคต

ทง้ั น้ีจงึ ควรปอ งกันและแกปญ หาอยา งเรงดวนทั้งในครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และประเทศ
ปจจุบันมีส่ิงเสพติดอยูมากมายหลายประเภท ซึ่งออกฤทธิ์ตอรางกายในลักษณะตาง ๆ กัน
แบง ไดเปน 3 ประเภท ดังนี้
1. ประเภทออกฤทธ์กิ ดประสาท ส่งิ เสพตดิ ประเภทน้ีจะทาํ ใหสมองอยูในสภาวะมนึ งง
มีการงวงซึม ไดแ ก ฝน มอรฟ น เฮโรอนี และจาํ พวกยานอนหลบั ยากลอมประสาท เชน เหลา แหง เปน ตน
2. ประเภทออกฤทธ์ิกระตุนประสาท ส่ิงเสพติดประเภทนี้จะทําใหเกิดต่ืนเตน ประสาท
ถูกกระตุน ไมใหมีอาการงวงหรือหลับใน เชน ยาบา ยาขยัน โคเคน ยามา แอมเฟตามีน กาแฟ และสาร
คาเฟอีน บุหร่ี กระทอ ม และยาลดความอว น เปนตน
3. ประเภทออกฤทธิห์ ลอนประสาท สิง่ เสพตดิ ประเภทนีจ้ ะทาํ ใหเกิดประสาทหลอน ภาพลวงตา
หแู วว หวาดกลัวโดยไมม สี าเหตุ อาจทาํ อันตรายตอตนเองและผูอ่ืน เชน แอล เอส ดี กวาวซีเมนต กัญชา
ไอระเหยของเบนซนิ ทินเนอร กาวตา ง ๆ ฯลฯ
นอกจากนี้ ปจจุบันไดมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารเสพติดออกมามากมาย ทั้งท่ีเปนเม็ด
เปนน้ํา และผสมในเครื่องดื่ม ขนม หรอื อาหารประเภทตางๆ ซ่ึงยากที่จะติดตามตรวจสอบ จึงนับวาเปน
อนั ตรายตอ เด็ก และเยาวชนเปนอยางย่งิ
1.1 สาเหตขุ องการตดิ สารเสพติด

ปญ หาการตดิ สารเสพตดิ มสี าเหตจุ ากสามปจจยั ตอไปนี้
1. ปจจยั ภายในตวั บุคคล ไดแ ก
วัยของบคุ คล มกั พบวา ผเู สพยาสว นใหญจะเร่มิ ตน ในชว งอายุเขา สวู ัยรุน กําลังอยูใน

วัยคะนอง อยากลอง อยากรู อยากเห็นในสง่ิ ทแ่ี ปลกใหม
- ความรู เจตคติ และความคิดเกยี่ วกับสารเสพตดิ ความรนุ แรง เชน เชื่อวา การใชก าํ ลัง

หรอื ใชคาํ พดู รุนแรงทําใหค นอน่ื เชอ่ื ฟง ทาํ ตาม การตลี กู ทําใหลกู ไดด ี ผมู ศี กั ดิศ์ รีใครมาหยามตอ งตอสูกัน
ใหแ พชนะ ฯลฯ

- ขาดทักษะที่จําเปนในการอยูรวมกับผูอ่ืน เชน ทักษะการสื่อสาร การจัดการกับ
อารมณและความเครยี ด การจดั การกับความโกรธ การแสดงออกท่ีเหมาะสม เปน ตน

- การใชยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล ทําใหคนขาดสติยับยั้ง ควบคุมตัวเอง
ไมไ ด

103

- เคยเห็นการกระทํารุนแรงหรือเคยเห็นเหย่ือกระทํารุนแรง เม่ือเกิดอารมณโกรธ
ทาํ ใหก อ ความรนุ แรงไดง าย

2. ปจ จัยจากการเลย้ี งดูของครอบครวั
- ขาดความรัก ความเขาใจ และการสนับสนุนจากครอบครัว เชน เม่ือมีปญหาขาด

ผูใหญคอยดูแลใหค ําแนะนําชว ยเหลอื เปนตน
- เตบิ โตในบานท่ีใชความรุนแรง ทําใหเ หน็ แบบอยา ง และคิดวา ความรนุ แรงเปน เรื่อง

ปกติในสงั คม
- การถกู ลงโทษและเปน เด็กที่เคยถูกทําราย
- มพี อ แมหรอื พนี่ อ งทม่ี พี ฤติกรรมเก่ียวขอ งกับอาชญากรรม

3. ปจ จัยจากสภาพแวดลอ ม
- ความไมเ ทาเทียมกันทางสงั คม เศรษฐกจิ สังคมเมือง และความแออัดทําใหค น

แขง ขนั สูง และเกิดความเครียด
- การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ อยางรวดเร็ว และมีการวา งงานสงู ในกลุมประชากร

อายุนอ ย
- อทิ ธพิ ลจากสอ่ื เชน ภาพยนตร โทรทศั น หนงั สือพมิ พ ทแี่ สดงภาพความรนุ แรง

ตา งๆ
- มาตรฐานทางสงั คมทส่ี นับสนนุ พฤตกิ รรมความรุนแรง เชน การทค่ี นมีพฤตกิ รรม

ความรุนแรงไมไดรับการลงโทษ ความรนุ แรงเปน เร่ืองปกติในสังคม
- อยูในพน้ื ท่ที ่สี ามารถหายาเสพตดิ ไดงาย

1.2 โทษ ภัย และผลกระทบของสารเสพตดิ
โทษและภยั อันเกดิ จากการใชสารเสพตดิ นอกจากจะมีผลโดยตรง กอใหเกิดตอรางกายและ

จติ ใจของผเู สพเองแลว ยังกอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอระบบครอบครัว ระบบสังคม และประเทศชาติ ดังนี้
1. โทษและภัยตอ ตัวผูเ สพ ฤทธ์ขิ องสารเสพตดิ จะมีผลตอระบบประสาทและระบบอวัยวะตางๆ

ของรา งกาย ตลอดจนจิตใจของผูท ่เี สพเสมอ ดังน้ัน จะพบวา สุขภาพรางกายของผูท่ีเสพยาจะทรุดโทรม
ท้ังรายกายและจิตใจ เชน มีรูปรางผอม ซูบซีด ผิวคล้ํา ไมมีแรง ออนเพลียงาย สมองเสื่อมและความจํา
สับสน เปนโรคติดเช้ืออ่ืน ๆ ไดงาย เชน โรคตับอักเสบ ไตอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ
โรคมะเร็ง ภูมิตานทานในรางกายจะลดลง มีสภาวะทางจิตใจไมปกติ สภาพจิตใจเส่ือมลง อารมณ
แปรปรวนงา ย ซึมเศรา วติ กกังวล ความรูสึกฟุงซาน ซ่ึงจากผลรายทเี่ กดิ ข้ึนดงั กลาว จะผลกั ดันใหผ เู สพ
ยาเสพติดเปนบุคคลที่ไรสมรรถภาพทั้งรางกายและจิตใจในการดําเนินชีวิตในสังคม ขาดความเชื่อม่ัน
สญู เสียบคุ ลิกภาพ ไมสนใจตนเอง ไมส นใจการงานหรือการเรียน และผเู สพบางรายอาจประสบอุบัติเหตุ
ถึงข้ันพกิ าร เชน พลัดตกจากท่ีสูงขณะทํางาน หกลม อันเนื่องมาจากฤทธิ์ของยาเสพติดท่ีมีผลตอระบบ
ประสาทและสมอง

104

2. โทษและภัยตอครอบครัว การตดิ สารเสพติดนอกจากจะทาํ ใหเ ส่ือมเสียชื่อเสียงของตนเอง
และครอบครัวแลว ยังทําใหผูเสพกลายเปนบุคคลที่ขาดความรับผิดชอบตอครอบครัวไมหวงใยดูแล
ครอบครวั ทาํ ใหค รอบครวั ขาดความอบอุน ตองสญู เสียเศรษฐกิจและรายไดของครอบครัว เนื่องจากตอง
นาํ เงนิ มาซื้อสารเสพติด บางรายอาจตองสญู เสียเงินจํานวนไมนอยเพ่ือรักษาตนเองจากโรครายแรงตาง ๆ
อันเกิดจากการใชสารเสพติด กลายเปนภาระของครอบครัวในท่ีสุด อีกท้ังนําไปสูปญหาครอบครัว
เกดิ การทะเลาะวิวาทกันบอ ยๆ เกิดความแตกแยกภายในครอบครัว เปน ตน

3. โทษและภยั ตอ สงั คมและเศรษฐกิจ ผูที่เสพสารเสพติด นอกจากจะเปนผูที่มีความรูสึกวา
ตนเองดอยโอกาสทางสังคมแลว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมท่ีนําไปสูปญหาสังคมสวนรวมได
เชน กอ ใหเ กดิ ปญ หาอาชญากรรม เชน ปลน จ้ี ทาํ รา ยรา งกายผอู ืน่ เพ่ือชิงทรพั ย ปญหาอุบตั เิ หตุ เชน รถชน
หรือตกจากที่สูง และปญหาโรคเอดส เปนตน นับวาเปนการสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา ตลอดจน
ทรพั ยสนิ ของตนเองและสวนรวมอยางไรประโยชน ทําใหเปนภาระของสังคมสวนรวม ในการจัดสรร
บคุ ลากร แรงงาน และงบประมาณในการปราบปรามและบาํ บดั รกั ษาผูตดิ สารเสพติดในทส่ี ดุ

4. โทษและภัยตอประเทศชาติ ผูท่ีเสพสารเสพติดและตกเปนทาสของสารเสพติดอาจกลาว
ไดว า เปนผทู บ่ี อ นทาํ ลายเศรษฐกิจและความม่นั คงของชาติ เน่อื งจากผูท ีเ่ สพสารเสพติดทําใหรัฐบาลตอง
สูญเสยี กําลังคมและงบประมาณแผนดินจํานวนมหาศาล เพื่อใชจายในการปราบปรามและบําบัดรักษา
ผูติดสารเสพติด ทําใหตองสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา เกิดความไมสงบสุขของบานเมือง ทําให
เศรษฐกิจทรุด บ่ันทอนความมั่นคงของประเทศชาติ ตองสูญเสียกําลังสําคัญของชาติอยางนาเสียดาย
โดยเฉพาะถา ผูทเี่ สพสารเสพติดเปนเยาวชน

105

เร่ืองที่ 2 แนวทางการปองกันการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ

ปญหายาเสพตดิ เกดิ ขึน้ ไดเ พราะมีสถานการณสองอยางประกอบกัน คือ มีผูตองการใชยาอยูใน
สังคม (Demand) กับมียาเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช (Supply) ซ่ึงองคประกอบทั้งสองน้ี
ตางฝายตางสงเสริมสนับสนุนซ่ึงกันและกันแบบลูกโซ ดังนั้น การแกไขปญหายาเสพติด จึงตอง
ดําเนนิ การกับองคป ระกอบท้ังสองอยางไปพรอม ๆ กัน คือ จะตองลดปริมาณความตองการยาเสพติดลง
ในขณะเดยี วกนั ก็จะตองลดปรมิ าณของยาเสพตดิ ในตลาดดวย ในทางปฏิบัติระหวางมาตรการสองอยางนี้
ดูเหมือนวา มาตรการลดความตองการจะไดรับความสนใจนอยกวา เพราะคนสวนใหญจะนึกถึงการลด
ปรมิ าณยาในตลาดเสียมากกวา

ปญหายาเสพตดิ คือ ปญ หาท่เี กิดจากการใชยาเสพติดหรือใชย าในทางที่ผิดซึ่งเปนปญหาพฤติกรรม
ของมนุษยอันเนื่องมาจากความคาดหวังที่จะไดรับประโยชนจากฤทธิ์ของยาหรือจากความคิดท่ีจะอาศัย
ฤทธิ์ยาเปนที่พึ่งในสถานการณตางๆ องคประกอบสําคัญของปญหาคือ ยากับคนเปนองคประกอบหลัก
โดยมีแรงจงู ใจใหใ ชยากบั โอกาสที่เอ้อื ตอ การใชย าเปน องคประกอบเสริมถาองคประกอบอยางใดอยางหนึ่ง
ขาดไปปญหายาเสพติดจะไมเกิดข้ึน มีแตคนแตไมมียา หรือมีแตยาแตไมมีคนใชยาปญหาก็จะไมเกิด
หรอื มคี นมยี าแตไมม แี รงจูงใจใหคนเอายามาใช ปญ หาก็จะไมเ กดิ หรือแมจ ะมีแรงจูงใจใหใ ชยา มีคนที่อยาก
ใชย า และมยี าใหใ ช แตไมม โี อกาสจะใช เชน สถานที่ไมเหมาะสม ไมมีอุปกรณ มีตํารวจตรวจตราเขมงวด
หรืออยูในสายตาพอ แม ครอู าจารยการใชยาจะเกดิ ขึน้ ไมได ปญ หายาเสพตดิ ก็จะไมเ กิด

ดงั น้ัน การปองกนั ปญหายาเสพติด ไดแก การปอ งกนั พฤตกิ รรมการใชยาของมนษุ ยทเ่ี กดิ จากการ
คดิ พ่งึ ยาและหวงั ผลจากฤทธย์ิ านน้ั เอง ซึ่งบุคคลในขายท่ตี อ งปองกันไมใหทําพฤติกรรมใชยาเสพติดอาจ
แบงออกเปน 3 กลุมดว ยกัน คือ

1. กลุมท่ียงั ไมเ คยใชยาและยงั ไมเรมิ่ ใชย า
2. กลุมที่เคยใชยา ซ่ึงจาํ แนกออกไดเปนพวกทเ่ี คยลองใชแลวเลิก พวกที่ใชเ ปนคร้ังคราว
พวกท่ีใชบอย ๆ เปนประจาํ แตย ังไมถ ึงขั้นตดิ ยา และพวกตดิ ยาใชยาแลว
3. กลุม ท่ใี ชยาเปนประจําหรอื ตดิ ยาท่ผี านการบาํ บัดรกั ษาและเลิกใชย าตดิ ยามาแลว
เนือ่ งจากบคุ คลท้งั สามกลมุ ท่ีกลาวมานีม้ ีโอกาสที่จะเปน ผูใชยา และตดิ ยาในอนาคตได เชนเดียวกัน
กิจกรรมของขายงานปองกันจึงจําเปนตองครอบคลุมบุคคลทั้งสามกลุม โดยที่ผูดําเนินงานปองกัน
เปาหมายแตละกลุมจะตองกําหนดมาตรการและวิธีการใชแตกตางกันออกไป เพ่ือใหเหมาะสมกับ
ลักษณะเฉพาะของเปาหมายแตล ะกลุม

ลักษณะงานดา นปอ งกัน (Prevention) จึงมี 3 ระดับดว ยกัน คือ
1. การปองกนั ขนั้ พื้นฐาน (Primary Prevention)
2. การปองกนั ขัน้ ท่สี อง (Secondary Prevention)
3. การปองกันข้ันท่สี าม (Tertiary Prevention)

106

1. การปอ งกันข้ันพืน้ ฐาน (Primary Prevention)
การปอ งกันพืน้ ฐานหรือบางคนเรียกวาการปอ งกันเบอ้ื งตน หมายถึง การดําเนินการใด ๆ

เพอ่ื สรางภูมิคุมกนั ใหเ ยาวชนปดประตูท่ีจะนําไปสูการใชยาเสพติดอยางถาวร ใหเยาวชนตัดสินใจดวย
ตนเองทีจ่ ะไมใชยาเสพตดิ ไมค ิดจะเสยี่ ง ทดลอง เปน การมุง ปอ งกนั คนสวนใหญของแผนดินไมใหเขาไป
หายาเสพตดิ เปนการปองกนั อยา งถาวร

งานปองกนั ขนั้ พืน้ ฐานจงึ นบั เปนงานทม่ี คี วามสําคัญที่สุด และเปนกุญแจสําคัญนําไปสู
ความสําเร็จของการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของชาติ แตในขณะเดียวกันเปนงานท่ีมีความ
สลบั ซบั ซอนทําไดยาก เพราะเปน งานท่เี กีย่ วของกับการวางรากฐานใหกับคนสวนใหญของประเทศ ซึ่ง
ตองเร่ิมปลูกฝงตั้งแตยังเยาววัยตอเนื่องกันไปจนพนวัยเรียน โดยอาศัยความรวมมือจากหลายฝายให
ชว ยกันทาํ

2. การปองกันขั้นท่สี อง (Secondary Prevention)
การปองกันขั้นที่สองนี้ใชกันในความหมายที่แบงเปน 2 นัย นัยหน่ึง หมายถึง

การปองกนั โดยทางออ ม ซ่งึ หมายถงึ การกระทําใด ๆ ท่เี ปน การขดั ขวางไมใหยาเขาไปสูคน โดยมีจุดหมาย
ทเ่ี ร่ิมจากตัวยาเสพตดิ ท่ีเปนปญ หาหลัก ซ่ึงตรงกนั ขา มกบั การปอ งกนั ข้นั พื้นฐานทมี่ งุ ปองกนั ไมใหค นเขา
ไปหายา ดว ยการมองภาพทคี่ นเปน จดุ ต้ังตน

ดังน้ัน การปองกันข้ันท่ีสอง ตามความหมายนี้จึงครอบคลุมถึงงานเกี่ยวกับ
การปราบปราม ยดึ อายดั เผาทาํ ลายยาเสพติด การสกดั ก้นั การตรวจเขม การตรวจปสสาวะหาสารเสพติด
การสงเจา หนา ทต่ี ํารวจเขา ไปประจําทาํ การสอดแนมในโรงเรยี น รวมถึงมาตรการตรวจจับ จําแนก
เพอ่ื แยกผใู ชย าเสพติดไปรบั การบําบัดรกั ษาฟน ฟู หรอื ปองกันไมใหผตู ดิ ยาสามารถเผยแพรยาเสพตดิ ไปสู
ผไู มใ ชเ สพติดดวย

ส ว น อี ก นั ย ห นึ่ ง เ ป น ค ว า ม ห ม า ย ที่ มั ก ใ ช กั น ใ น ว ง ก า ร ข อ ง ผู มี อ า ชี พ แ น ะ แ น ว
ในความหมายของการดําเนนิ การชวยเหลือใหผูที่เคยลองใชยาเสพติด หรือผูที่ใชยาเสพติดชนิดใดชนิด
หน่ึงเปนคร้ังคราวหรือใชบอ ยๆ แตย ังไมติดยา ใหป รบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเลกิ ใช เลิกเก่ียวขอ งกับยาเสพติด
ชนิดน้ันๆ เปนมาตรการแยกคนออกจากยา หรือดึงคนติดยาออกจากยาเสพติดดวยมาตรการแนะแนว
ใหคาํ ปรึกษาและจิตเวชบําบัด เปนการปองกันท่ีเนนการสกัดกั้นเพื่อหยุดยั้งพฤติกรรมการใชยาเสพติด
ของกลุมผูทใี่ ชยาเสพตดิ หรอื มีประสบการณเกี่ยวขอ งกับยาเสพติดมาแลว

3. การปองกันข้นั ท่สี าม (Tertiary Prevention)
การปอ งกันขั้นทสี่ าม คอื การปอ งกนั การตดิ ซ้าํ (Relapse) เปนมาตรการทใี่ ชสาํ หรับผตู ดิ

ยาเสพติดที่ไดรบั การบาํ บดั รกั ษาดว ยการถอนพษิ ยาแลว ไมใ หกลบั ไปตดิ ยาซาํ้ ใหมอ ีก เปน มาตรการเสริม
ท่สี นับสนนุ มาตรการทางการแพทย เพ่ือใหผูปวยที่ไดร บั การรักษาใหห ายขาดจากยาแลว อยูอยางปลอดภัย
จากยาเสพตดิ ไดย าวนานข้นึ กอ นทีจ่ ะหวนกลบั ไปติดยาอีก

107

การปองกนั ขน้ั ท่ีสามจะอาศยั มาตรการทกุ ชนิดทีม่ ุง ใหผูตดิ ยาหายจากอาการติดยาทางจิต
ดวยมาตรการฟนฟจู ติ ใจ (Rehabilitation) ดว ยวิธีจติ เวชบาํ บดั (Psychological therapy) การใหค าํ ปรกึ ษา
(Social counseling) กลุม บาํ บดั (Group therapy) และนนั ทนาการบําบดั (Recreational therapy) เปน ตน

การปอ งกนั ผตู ดิ ยาเสพติดที่บาํ บัดแลวไมใหกลับไปติดยาใหมอีก ถือเปนสวนหน่ึงของ
งานดานการปองกันท่ีมุงลดความตองการยาลงดวยการสกัดก้ันไมใหกลับไปใชยาอีก ซึ่งจะเปนการ
ปองกนั ไมใ หพวกเขานํายาไปเผยแพรต อ ใหค นอ่ืนไดดวย

โดยสรปุ แลว การปองกันขัน้ พ้นื ฐาน นั้นเปน การปองกันมิใหมีการทดลองใชยา การใช
ยาในทางที่ผิดหรอื มใิ หมผี ูเ สพติดรายใหมๆ เกิดขึ้น การปองกันข้ันท่ีสองเปนการเรงรีบนําผูท่ีติดยาแลว
ไปบําบดั รักษา และการท่ีจะทาํ การปองกนั การเสพติดไดอยา งมปี ระสิทธิภาพน้ันจาํ เปนตองมีความเขาใจ
ในสาเหตแุ ละองคประกอบของปญหาการเสพติดเสียกอน องคประกอบที่ทําใหเกิดการติดยาน้ัน ไดแก
คน ยา และปจจัยที่เอ้ืออํานวยใหมีการติดยา การวางแผนแกไขและปองกัน จึงจําตองศึกษาหาสาเหตุ
เฉพาะและใหการปองกันใหตรงกับสาเหตุหลัก ดังนั้น การปองกันการเสพติดที่เจาะจงถึงสาเหตุน้ัน
มีแนวทาง 3 แนวทาง ไดแ ก

1. การปองกันในวงกวาง เปนการปองกันโดยเนนเปาหมายที่สังคมโดยทั่วไปมุงสราง
สังคมใหต ระหนักถึงพิษและภัยของยา ลดความตองการของสังคม และลดการตอบสนองของยาเสพติด
ซ่ึงการดําเนินงานมีหลายรูปแบบ เชน การพัฒนาสุขภาพ การสรางเสริมศีลธรรม การใชกฎหมาย
การพฒั นาสงั คม ฯลฯ กลวธิ ีของการปองกนั ในแนวกวา ง ไดแก

1.1 การใหการศึกษาในการถายทอดความรู เพื่อใหเกิดการเรียนรูทักษะและ
ประสบการณใ นการสรา งคณุ ภาพชวี ติ และการไมพ่งึ พายาเสพตดิ โดยเนนถึงการพัฒนาตนเองและจิตใจ
ใหมีความเช่อื ม่ันวา ตนเองมีคุณคา สรา งสุขนิสัย และฝก ทักษะในการประกอบอาชีพ

1.2 การใหขอมูลและขาวสาร เปน การใหขอ มลู และขา วสารทถ่ี ูกตอ งของปญ หา
ยาเสพติด เพื่อใหชุมชนไดว ิเคราะห เลือกขอ มลู และตดั สนิ ใจดว ยตนเองในการนําไปใชใหเกิดประโยชน
ตอ ตนเอง

1.3 การจัดกิจกรรมทางเลือก ดวยการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมตาง ๆ
ที่เหมาะสมกับพน้ื ฐานของบคุ คลและชุมชน เพ่อื เปน ทางเลอื กในการใชเ วลาชวยเบีย่ งเบนความสนใจจาก
พฤติกรรมทไี่ มเหมาะสมและเปนการชว ยพฒั นาท้งั รางกายและจิตใจ

2. การปองกันในวงแคบ มุงเนนเฉพาะบุคคลบางกลุม หรือชุมชนบางแหงท่ีเส่ียงตอ
ปญ หาการเสพติด กลวธิ ีในการดําเนนิ งาน การปอ งกนั ในวงแคบ ไดแ ก

2.1 การฝกอบรม เปนการฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมีความรู
ดานการปอ งกันการเสพติด การใชยาในทางที่ถกู โดยมจี ุดประสงคใ หกลุม แกนนําประยุกตความรูนั้นไป
ปฏบิ ัติในชมุ ชนใหสอดคลอ งกับสภาพของทองถ่ิน สวนกลุมประชาชนน้ันใหมีความรูและมีพฤติกรรม
ตอ ตา นการเสพติดโดยตรง

108

2.2 การรณรงค เปนการเผยแพรขาวสารโดยการระดมสื่อตาง ๆ ภายใตขอบเขตท่ี
กาํ หนดไว ใหป ระชาชนเกิดการต่นื ตวั ตระหนกั ถงึ ปญหาและเขา มามสี วนรวมในการแกปญหา

2.3 การปฏบิ ตั กิ ารทางสังคม เปนวิธีการที่หวังผลของการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว
เชน ขจัดแหลงม่ัวสุม กวาดลา งแหลง ผลิต ฯลฯ

3. การปอ งกนั กรณีพิเศษ เปนการปองกันท่ีเนนในวงแคบที่สุด โดยเปาหมายอยูท่ีผูคา
ผูตดิ ยาเสพติด หรอื ผทู ีม่ ีความเสย่ี งสูง และครอบครัว เชน บคุ คลท่ีกาํ ลงั เผชิญกับปญหาของตนเอง บุคคล
ทีค่ รอบครัวแตกแยก ผตู ดิ ยาทีผ่ า นการถอนพิษยามาแลว กลวธิ ีในการปอ งกนั ในกรณพี เิ ศษน้ี ไดแก

3.1 การวเิ คราะหปญหา เพ่ือใหผ ูติดยาไดท ราบเกย่ี วกับพฤติกรรมและปญหาของตน
ในการติดยา

3.2 การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ เปน การใหแ นวทางปฏิบัติสําหรับเลือกปฏิบัติในกรณีท่ี
เกิดปญ หาเพือ่ หลกี เลย่ี งการใชย าเสพติด

3.3 การใหคําปรึกษาแกครอบครัว เพ่ือลดความกดดันในครอบครัวลงและให
แนวปฏบิ ัติแกค รอบครวั ของผตู ิดยาเสพตดิ หรอื ผทู ี่มีความเสีย่ งสูงเพอื่ ลดปญ หาของตนเอง

3.4 การใหสุขศึกษา เปนการใหความรูเรื่องยาและสุขภาพอยางถูกตอง เพื่อปองกัน
การกลบั ไปใชย าในทางที่ผดิ อกี

3.5 การใหกําลังใจ เพื่อเพ่ิมกําลังใจใหแกผูติดยาในขณะที่กําลังเผชิญปญหาท่ีอาจ
นําไปใชในทางที่ผดิ อีก

3.6 การฝก อาชีพ เพื่อเปน แนวทางในการดํารงชีวิตตามความสามารถและความถนัด
ของตนเปนการลดความกดดนั ดานเศรษฐกจิ และใชเ วลาวา งใหเ ปนประโยชน

กลวธิ ที ุกอยา งสามารถนาํ ไปปฏบิ ัตพิ รอ มๆ กนั ไดหลายกลวิธไี มวา จะเปน การปองกัน
ในระดบั ไหน หรอื มวี ตั ถปุ ระสงคเพ่อื ปอ งกนั มิใหเกดิ การใชยาในทางที่ผดิ หรือปองกันการติดซ้ําซ่ึงเปน
หัวใจสําคัญของการปองกันและแกปญหาการติดสารเสพติด ทุกฝายท่ีเกี่ยวของควรเขามามีสวนรวม
ดําเนินการอยางจรงิ จงั

เรอ่ื งท่ี 3 กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ งกบั สารเสพติด

“ยาเสพตดิ เปน ภัยตอ ชวี ิต เปนพษิ ตอสงั คม” เปน คาํ กลา วทแ่ี สดงถึงภาพของยาเสพตดิ เปนอยา งดี
ในปจจุบันปญ หาเรื่องยาเสพตดิ เปนปญ หาทท่ี ุกชาตใิ หค วามสําคัญเปนอยางมากในการปอ งกนั และ
ปราบปรามและถอื วา เปน ความผดิ สากลซงึ่ แตละชาติสามารถจับกุมและลงโทษผกู ระทาํ ความผิดเกยี่ วกบั
ยาเสพตดิ ไดท นั ที

กฎหมายเกีย่ วกับยาเสพติดไดใหค วามหมายของคาํ วา ยาเสพติดไวดังน้ี “สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ
ซ่ึงเมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอ
รางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพ่ิมขนาดการเสพข้ึนเปนลําดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา

109

มคี วามตอ งการเสพทง้ั ทางรางกายและจติ ใจอยา งรนุ แรงตลอดเวลา และสขุ ภาพโดยทั่วไปจะทรดุ โทรมลง
รวมถึงพืชหรือสวนของพืชที่เปนหรือใหผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติด
ใหโ ทษและสารเคมที ี่ใชใ นการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย” จากความหมายของยาเสพติดทําใหทราบวา
อะไรบา งทเ่ี ขา ลักษณะของยาเสพตดิ พืชอาจเปนยาเสพติดได ถาเสพแลวเกิดผลตอรางกายและจิตใจจน
ขาดไมได มใิ ชเ ฉพาะแตเฮโรอีน ซ่งึ เปน สง่ิ สงั เคราะหเ ทาน้ันท่ีเปน ยาเสพตดิ ใหโ ทษ
ประเภทของยาเสพตดิ และบทลงโทษตามกฎหมาย

ตามกฎหมายไดแบง ประเภทของยาเสพตดิ ใหโทษแบง ออกเปน 5 ประเภท
ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโทษชนิดรายแรง เชน เฮโรอีน ฝน เปน ตน
หา มมิใหผ ใู ด ผลิต จําหนา ย นาํ เขา สง ออก หรอื มีไวใ นครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท
1 เวน แตเ พ่ือประโยชนท างราชการตามที่ รมต.ฯ อนุญาตเปน หนงั สอื เฉพาะราย ผูฝ า ฝน ระวางโทษตงั้ แต 1
ปถงึ ประหารชวี ติ แลวแตจํานวนยาเสพตดิ ที่จําหนายหรือมไี วในครอบครอง
ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโทษทวั่ ไป เชน มอรฟน
กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซึ่งยาเสพติดใหโทษประเภท 2 แตสามารถ
จาํ หนา ยหรอื มไี วในครอบครองไดเ มือ่ ไดร บั อนญุ าตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซ่ึง
ไดร ับมอบหมายหรือสาธารณสขุ จังหวัด สาํ หรับการมีไวในครอบครองที่ไมเกินจํานวนท่ีจําเปนสําหรับ
ใชรักษาโรคเฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมไมตองขออนุญาต ผูฝาฝน
ระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ 5 ป ถงึ จําคกุ ตลอดชวี ิตแลว แตความหนกั เบาของความผดิ
ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษท่ีมียาเสพติดประเภท 2 เปนสวนผสมอยูดวย เชน ยาแกไอผสม
โคเคอนี เปน ตน
กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เวนแตไดรับ
อนุญาต ซึ่งตองเปนรานคาที่ไดรับอนุญาตใหผลิต ขายนําหรือสงเขาในราชอาณาจักรประเภทยาแผน
ปจจบุ นั และมเี ภสัชกรประจําตลอดเวลาทเ่ี ปด ทาํ การ ผูฝาฝน ระวางโทษจาํ คุกไมเกิน 1 ป ถึงจาํ คกุ ไมเกิน
3 ป

ประเภท 4 สารเคมีท่ีใชใ นการผลติ ยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 1 หรอื ประเภท 2
กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออกหรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษ
ประเภท 4 เวน แตรฐั มนตรีอนุญาต ผูฝ า ฝน ระวางโทษจําคุกตัง้ แต 1 ป – 10 ป
ประเภท 5 ยาเสพติดใหโทษที่มิไดเ ขาอยใู นประเภท 1 ถงึ ประเภท 4 เชน กัญชา พืชกระทอมเปนตน
กฎหมายมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษ
ประเภท 5 เวนแตร ฐั มนตรีอนุญาต ผูฝาฝน ระวางโทษจําคกุ ตง้ั แต 2 ป – 15 ป

110

บทลงโทษเกย่ี วกับสารระเหย
ตามพระราชกาํ หนดปองกันการใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 กาํ หนด มาตรการควบคุมไมใหนําสาร

ระเหยมาใชในทางท่ีผิดไวห ลายประการและกาํ หนดใหผ ูฝา ฝนไมป ฏิบัติตามมาตรการดงั กลาว มคี วามผิด
และตอ งรบั โทษ ซึ่งมีรายละเอียดดงั น้ี

1. กําหนดใหผผู ลิต ผนู ําเขา หรือผูขายสารระเหย ตองจัดใหมีภาพหรือขอความที่ภาชนะบรรจุ
หรือหบี หอ บรรจุสารระเหย เพอ่ื เปน การเตือนใหระวังการใชส ารระเหยดังกลา ว ผฝู า ฝนตองรบั โทษจาํ คุก
ไมเ กนิ สองปหรอื ปรบั ไมเ กนิ สองหมนื่ บาท หรอื ทง้ั จําท้ังปรับ

2. หามไมใหผูใดขายสารระเหยแกผูที่มีอายุต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ เวนแตเปนการขายโดย
สถานศกึ ษาเพือ่ ใชในการเรยี นการสอน ผฝู าฝน ตอ งรับโทษจาํ คุกไมเ กนิ หนึง่ ป หรือปรับไมเ กินหนึ่งหม่ืน
บาท หรอื ท้ังจําทง้ั ปรบั

3. หา มไมใ หผ ใู ดขาย จดั หา หรือใหสารระเหยแกผูอื่นซึ่งตนรูหรือควรรูวาเปนผูติดสารระเหย
ผูฝาฝน ตองรับโทษจาํ คกุ ไมเกนิ สองป หรือปรบั ไมเกนิ สองหมื่นบาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั

4. หามไมใหผูใดจูงใจ ชักนํา ยุยงสงเสริม หรือใชอุบายหลอกลวงใหบุคคลอ่ืนใชสารระเหย
บําบดั ความตองการของรางกายหรือจิตใจ ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสอง
หม่นื บาท หรอื ท้งั จําทงั้ ปรับ

5. หา มไมใหผ ูใ ดใชสารระเหยบําบัดความตอ งการของรา งกายหรอื จิตใจ ไมวาโดยวิธีสูดดมวิธี
อน่ื ใด ผฝู าฝนตอ งรบั โทษจาํ คุกไมเกินสองปหรอื ปรบั ไมเกนิ สองหมน่ื บาท หรือทง้ั จําทงั้ ปรับ

พึงระลกึ เสมอวา การเสพตดิ สารระเหย นอกจากจะเปนโทษตอรางกายแลว ยังเปนการกระทําที่
ผดิ กฎหมายดว ย

ทัง้ นี้ กฎหมายท่เี กย่ี วขอ งกับยาเสพตดิ ท่มี กี ารออกพระราชบญั ญตั แิ ละระเบยี บตา งๆ ใชกันอยูใน
ปจ จบุ ันมหี ลายฉบบั ซ่งึ สามารถจดั เปนกลมุ ๆ ได คือ

1. กฎหมายทเี่ กย่ี วกับตัวยา ไดแก
1.1 พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522
1.2 พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545
1.3 พระราชบญั ญัติวตั ถุทีอ่ อกฤทธิ์ตอ จติ และประสาท พ.ศ. 2528 แกไขเพม่ิ เติม พ.ศ. 2535

1.4 พระราชกาํ หนดปอ งกนั การใชสารระเหย พ.ศ. 2533
1.5 พระราชบัญญตั ิควบคมุ โภคภณั ฑ พ.ศ. 2495
2. กฎหมายท่เี กยี่ วกับมาตรการ ไดแ ก
2.1 พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519
2.2 พระราชบัญญัตปิ องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2545
2.3 พระราชบัญญัตฟิ น ฟูสมรรภาพผตู ดิ ยาเสพติด พ.ศ.2545

111

ประชาชน นักเรียน นักศึกษาจึงควรศึกษาทําความเขาใจถึงขอกําหนดการกระทําผิดและ
บทลงโทษท่ีเกย่ี วกบั ยาเสพติด เพ่ือหลีกเล่ียงการกระทําผิดพรอมทั้งควรแนะนําเผยแพรความรูดังกลาว
แกเพื่อน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในชุมชน ใหตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด รวมท้ัง
รวมกนั รณรงคปองกนั การแพรระบาดสูเด็กและเยาวชนในชุมชน ตอ ไป

ทัง้ น้ี การกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศตองรับโทษใน
ประเทศ ซง่ึ ถา รับโทษจากตา งประเทศมาแลว ศาลอาจลดหยอนโทษใหต ามสมควรและตามที่กลาวไวใน
ตอนตน ถงึ ความจริงจังในการปอ งกันและปราบปรามยาเสพติด จึงมีการกําหนดใหการกระทําบางอยาง
ตองรบั โทษหนักกวากฎหมายอื่น เชน กําหนดโทษใหผูพยายามกระทําความผิดตองระวางโทษเสมือน
กระทาํ ความผดิ สําเรจ็ ซึ่งตามกฎหมายอาญาผูพ ยายามกระทาํ ความผิดจะรับโทษเพียง 2 ใน 3 ของโทษมี
กาํ หนดสาํ หรับความผิดน้ันเทานั้น นอกจากน้ีผูสนับสนุน ชวยเหลือ ใหความสะดวกผูกระทําความผิด
ตองระวางโทษเชนเดยี วกบั ผกู ระทําความผิด และทรัพยสินทีไ่ ดม าจากการกระทําความผดิ จะตองถูกศาล
ส่ังริบ นอกจากพิสูจนไดวาทรัพยสินน้ันไมเก่ียวของกับการกระทําความผิด และในเรื่องการสืบทราบ
การกระทําผิดเจาหนาทม่ี ีอํานาจเรียกบุคคลใดใหถ อ ยคําสงบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ประกอบการ
พิจารณาและมอี าํ นาจเขา ไปในเคหสถานเมือ่ ตรวจคนหลักฐานในกรณีมเี หตุอนั ควรสงสัยวามีการกระทํา
ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด เม่อื ตรวจสอบและพบหลักฐานการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับยาเสพติดเจาหนาท่ี
มีอํานาจจับกุมและสอบสวนผูกระทําผิดและทําสํานวนฟองศาลตอไปตามกระบวนพิจารณาของศาล
ซึ่งโทษท่ีจะไดรับสําหรับผูกระทําความผิดจะเปนโทษท่ีหนักเน่ืองจากความผิดเก่ียวกับยาเสพติดเปน
ความผดิ รายแรงทแี่ ตล ะชาติไดใ หความสําคัญตามทีก่ ลาวไวในขางตน

112

บทท่ี 8
ทกั ษะชวี ิตเพ่ือสุขภาพจิต

สาระสําคญั

มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกบั ความสําคัญของทักษะชีวิตทั้ง 10 ประการ และสามารถนําความรู
ไปประยกุ ตใ ชในชีวิตประจาํ วันในการทาํ งาน การแกปญหาชีวิตครอบครัวของตนเองไดอยางเหมาะสม
ตลอดจนสามารถนํากระบวนการทักษะชีวิตไปใชในการแกปญ หาแกครอบครวั ผอู น่ื ได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. สามารถบอกถงึ ความหมาย ความสําคัญของทกั ษะชีวติ ไดอ ยางถูกตอง
2. สามารถอธิบายถึงทักษะชีวิตทีจ่ าํ เปนในชวี ติ 3 ประการไดอ ยา งถูกตอง

ขอบขายเนอื้ หา

เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของทักษะชีวิต
เรื่องท่ี 2 ทกั ษะการตระหนักในการรตู น
เรอื่ งที่ 3 ทักษะการจดั การกับอารมณ
เรื่องที่ 4 ทักษะการจดั การความเครยี ด

113

เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต

ความหมายของทกั ษะชีวติ
คําวาทักษะ (Skill) หมายถึง ความจัดเจนและความชํานิชํานาญในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งบุคคล

สามารถสรางขึ้นไดจากการเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางานรวมกับผูอื่น การอาน
การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปน
ทักษะภายนอกทสี่ ามารถมองเหน็ ไดช ัดเจนจากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้นเปน
ทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่จะทําใหผูมีทักษะเหลาน้ันมีชีวิตที่ดี สามารถดํารงชีพอยูในสังคมได
โดยมีโอกาสท่ีดีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซ่ึงทักษะประเภทนี้เรียกวา Livelihood Skill หรือ Skill for
Living ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชวี ติ ท่ีเรียกวา Life Skill

ดงั นน้ั ทกั ษะชวี ติ หรือ Life Skill จึงหมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา
(Psychosocial Competence) ที่เปนทักษะภายใน ท่ีจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ
ที่เกดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมสําหรับการปรับตัวในอนาคต
ไมว าจะเปนเร่อื งการดูแลสขุ ภาพ เอดส ยาเสพติด ความปลอดภัย ส่งิ แวดลอม คณุ ธรรม จริยธรรม ฯลฯ
เพื่อใหส ามารถมีชวี ติ อยใู นสงั คมไดอยา งมคี วามสุขหรือจะกลา วงา ย ๆ ทกั ษะชีวิต ก็คือ ความสามารถใน
การแกปญหาท่ีตองเผชิญในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหอยูรอดปลอดภัยสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี
ความสุขและเตรียมพรอ มสาํ หรับการปรับตัวในอนาคต

ความสําคญั ของทกั ษะชีวิต
เน่ืองจากสังคมปจจุบันมีความซับซอนในการดําเนินชีวิต เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงอยาง

รวดเร็วในดานเศรษฐกิจ สังคม ขาวสารขอมูล และเทคโนโลยี มีการแขงขันและความขัดแยงมากขึ้น
บุคคลมีความจําเปนตองปรับตัวใหทันตอความเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการแขงขัน สามารถสู
กระแสวิกฤติตาง ๆ ไดอยางมีเหตุมีผล รูจักนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อพัฒนาตนและพัฒนาอาชีพ มีความ
เขาใจสถานการณและมีวิจารณญาณในการเลือกรับเลือกปฏิเสธ มีความสามารถควบคุมอารมณและ
บรหิ ารความขดั แยง ท่ีเกดิ ขึ้นในวิถีชีวิต และมีคุณสมบัติที่พึงประสงคในการอยูรวมกับผูอื่น จึงจะอยูใน
สังคมไดอยา งมีความสขุ

ทักษะชีวติ ท่ีจําเปน
ทกั ษะชวี ิตจะมคี วามแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี อยางไรก็ตาม มีทักษะชีวิตอยูกลุม

หนึ่งที่ถอื เปน หัวใจสาํ คัญที่ทุกคนควรมี โดยองคก ารอนามยั โลกไดกําหนดไว ดงั นี้
1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปน ความสามารถในการตดั สินใจเกีย่ วกับเรื่องราวตาง ๆ

ในชวี ติ ไดอยา งมรี ะบบ เชน ถา บคุ คลสามารถตดั สินใจเกีย่ วกบั การกระทําของตนเองทเี่ กย่ี วกับพฤติกรรม

114

ดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลที่ไดจากการตัดสินใจเลือกทางท่ี
ถกู ตอ งเหมาะสม ก็จะมผี ลตอการมสี ุขภาพท่ีดีทง้ั รา งกายและจติ ใจ

2. ทกั ษะการแกปญหา (Problem Solving) เปน ความสามารถในการจัดการกบั ปญ หาท่เี กิดข้ึนใน
ชีวิตไดอ ยา งมรี ะบบไมเกดิ ความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลกุ ลามเปนปญหาใหญโ ตเกนิ แกไข

3. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิดทีจ่ ะเปนสว นชว ย
ในการตัดสินใจและแกไขปญ หาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมท้ังผลที่จะเกิดข้ึน
ในแตละทางเลือก และสามารถนาํ ประสบการณม าปรับใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยางเหมาะสม

4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห
ขอ มูลตา งๆ และประเมนิ ปญหาหรอื สถานการณท ีอ่ ยูรอบตัวเราท่ีมีผลตอการดาํ เนินชวี ิต

5. ทกั ษะการสื่อสารอยางมปี ระสิทธิภาพ (Effective Communication) เปนความสามารถในการ
ใชคําพูดและทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรมและ
สถานการณตาง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความชื่นชม
การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตอื น การชว ยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ

6. ทักษะการสรางสมั พันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal Relationship) เปน ความสามารถใน
การสรางความสมั พนั ธท ่ดี ีระหวา งกันและกัน และสามารถรักษาสมั พันธภาพไวไ ดย ืนยาว

7. ทักษะการตระหนักรูใ นตน (Self Awareness) เปน ความสามารถในการคนหา รูจักและเขาใจ
ตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการและส่ิงท่ีไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยใหเรารู
ตวั เองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณต าง ๆ และทกั ษะนีย้ งั เปน พนื้ ฐานของการพฒั นาทกั ษะ
อนื่ ๆ เชน การส่อื สาร การสรางสมั พนั ธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเห็นอกเห็นใจผูอนื่ เปน ตน

8. ทักษะการเขาใจและเหน็ ใจผูอ ื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือ
ความแตกตา งระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดบั การศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สีผิว อาชีพ
ฯลฯ ชวยใหส ามารถยอมรบั บคุ คลอน่ื ที่ตางจากเรา เกิดการชว ยเหลอื บคุ คลอืน่ ท่ีดอ ยกวา หรือไดรับความ
เดอื ดรอ น เชน ผูติดยาเสพตดิ ผูต ดิ เชื้อเอดส เปน ตน

9. ทกั ษะการจัดการกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถในการรับรอู ารมณของ
ตนเองและผูอ่ืน รวู าอารมณมีผลตอ การแสดงพฤตกิ รรมอยางไร รวู ธิ กี ารจดั การกบั อารมณโกรธและความ
เศราโศกที่สงผลทางลบตอรางกายและจติ ใจไดอ ยางเหมาะสม

10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with Stress) เปนความสามารถในการรับรูถึง
สาเหตุของความเครยี ด รูว ิธผี อ นคลายความเครยี ด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให
เกิดการเบยี่ งเบนพฤติกรรมไปในทางทถ่ี กู ตองเหมาะสมและไมเ กิดปญหาดานสขุ ภาพ

115

กลวิธีในการสรางทักษะชีวติ
จากทกั ษะชวี ิตทจ่ี าํ เปน 10 ประการ สามารถแบง ไดเ ปน 2 สว น ดงั น้ี
1. ทักษะชีวิตท่ัวไป คือ ความสามารถพ้ืนฐานที่ใชเผชิญปญหาปกติในชีวิตประจําวัน เชน

ความเครียด สขุ ภาพ การคบเพื่อน การปรบั ตัว ครอบครัวแตกแยก การบรโิ ภคอาหาร ฯลฯ
2. ทักษะชวี ิตเฉพาะ คอื ความสามารถทจี่ าํ เปนในการเผชิญปญหาเฉพาะ เชน ยาเสพตดิ โรคเอดส

ไฟไหม น้าํ ทวม การถกู ลว งละเมดิ ทางเพศ ฯลฯ

เรอื่ งที่ 2 ทักษะการตระหนักในการรูตน

การรูจ ักตนเอง เปน เรื่องใกลต วั ท่ดี ูเหมือนไมนาจะสําคัญอะไรท่ีเราจะตองมานั่งเรียนรูทําความ
เขาใจ แตท วา กลับมาความสําคญั อยางย่งิ ยวด เปรยี บไดกับเสน ผมบงั ภูเขาทีท่ าํ ใหคนจํานวนมากท่ีแม
มคี วามรมู ากมายทวมหวั แตเ อาตัวไมรอด เนอ่ื งจากสงิ่ หนงึ่ ทีเ่ ขาไมร เู ลยนนั่ คอื การรูจักตวั ตนของเขา
อยางถองแทน่ันเอง

ท้งั ๆ ทใ่ี นความเปนจรงิ แลว การรจู ักตนเองนับเปนพน้ื ฐานสําคญั ที่เราควรเรียนรูเปนอันดับแรก
สดุ ในชีวิต เนือ่ งจากการรจู กั ตนเองจะนาํ ไปสกู ารมเี ปาหมายท่ชี ัดเจนในการดาํ เนินชวี ติ เนอื่ งจากรวู าตนมี
ความถนัด ความชอบ และความสามารถในดานใด ดังนั้น จึงรูวาตนควรจะเรียนอะไร ประกอบอาชีพอะไร
ควรแสวงหาความรูอะไรเพ่ิมเตมิ

การรจู กั วิธเี ฉพาะตวั ทต่ี นถนัดในการพฒั นาทกั ษะการเรียนรูในดานตางๆ ของตนเองใหเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ อาทิ รูเทคนิคการเรียนหนังสือของตนวาควรใชวิธีใดจึงประสบผลสําเร็จ รูตัววา
ความจําไมดี จงึ ตองใชวิธจี ดอยา งละเอยี ดและทบทวนบทเรียนอยางสมาํ่ เสมอ เปน ตน

จดุ ออ นในชวี ิตไดรับการแกไขอยางทันทว งที อาทิ เมือ่ เรารูตัววาเปนคนใจรอ น เมอื่ มเี หตุการณที่
เรารสู าเหตหุ ากอยูใ นสถานการณเชน น้ีอาจนําไปสูการใชความรุนแรงได ดังน้ัน เราจึงเลือกที่จะแยกตัว
ออกมาน่ังสงบสตอิ ารมณเพอื่ คดิ หาวิธีการแกไ ขท่ีดที ่สี ดุ

การพัฒนาทกั ษะการแกไ ขปญ หาทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวติ อยา งมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากรูวาปญหานั้นมี
สาเหตมุ าจากตนหรอื ไม และรูวาตนเองควรปรบั อารมณเ ชนใด เม่ือยามเผชิญปญ หาและควรหาวิธีการใด
ทเ่ี หมาะสาํ หรบั ตนเองมากทีส่ ุดในการแกปญ หาใหล ุลว งไปไดดวยดี

การคนพบความสุขที่แทจริงในสิ่งท่ีตนเลือกทํา เน่ืองจากรูวาอะไรท่ีทําแลวจะทําใหตนเองมี
ความสขุ ได นาํ ไปสกู ารเรยี นรแู ละเขา ใจผอู ื่นไดม ากย่งิ ขน้ึ อนั เปน การลดปญหาความขัดแยงและนําไปสู
มติ รภาพที่ดตี ามมา

ตรงกันขามกับผูที่ไมรูจักตนเอง ซ่ึงมักใชชีวิตโดยปลอยไปตามกระแสสังคม เลียนแบบ
ทําตามคนรอบขาง โดยขาดจุดยืนท่ีชัดเจน เชน แสวงหาความสุขในชีวิตดวยการไปเท่ียวเตรกับเพ่ือน
เสพยาเสพติด การเลอื กคณะที่จะสอบเขา มหาวิทยาลัยตามคา นิยมขณะนน้ั หรอื เลือกตามเพื่อน สุดทายเขา
จึงไมสามารถพบกับความสุขท่ีแทจริงในชีวิตไดและนําไปสูปญหามากมายตามมา นอกจากน้ี คนที่

116

ไมร ูจกั ตนเองยามเม่ือตอ งเผชิญหนากบั ปญ หา โดยมากแลว มกั จะไมดวู า ปญ หาท่ีเกิดขึ้นน้ันมาจากตนเอง
หรือไม แตมักโทษเหตุการณห รือโทษผอู ่ืนเอาไวกอน จงึ เปนการยากทจี่ ะแกปญ หาใหล ุลวงไปไดด วยดี

ทักษะการรูจักตนเองจึงเปนทักษะสําคัญที่เราทุกคนตองเรียนรูและฝกฝน เน่ืองจากการรูจัก
ตนเองน้นั ไมไดเ ปน เรื่องทน่ี ่งั อยเู ฉยๆ แลวจะสามารถรูข น้ึ มาไดเ อง แตต องผา นกระบวนการบมเพาะผาน
ประสบการณตา งๆ การลองผิดลองถูก ความผิดหวัง เจ็บปวด ความผิดพลาดลมเหลวตางๆ เพื่อที่จะตก
เปนผลึกทางปญญาในการรูจักตนเอง รวมท้ังผานการปฏิสัมพันธกับบุคคลรอบขาง ซ่ึงถือเปนกระจก
สะทอนช้ันดีใหเราไดเรียนรจู กั ตนเอง โดยยิง่ รจู ักตนเองเร็วเทาไรยงิ่ เปนการไดเปรียบในการออกสตารท
ไปสเู ปาหมายชีวิตไดเ รว็ เทา น้นั รวมทง้ั ยังเปนรากฐานสําคญั ในการใชช วี ติ อยางมคี วามสขุ และ
ประสบความสาํ เรจ็ ทา มกลางปญ หาและแรงกดดนั ตา ง ๆ

การฝก ฝนทกั ษะการรูจกั ตนเองจึงควรเร่มิ ตั้งแตวัยเยาว โดยพอ แมเปนบคุ คลสําคญั แรกสุดในการ
ชวยลูกคน หาตนเอง โดยเริม่ จากเปดโอกาสท่ีหลากหลาย พอแมควรสรางโอกาสที่หลากหลายในการให
ลกู ไดเรยี นรทู ดลองในสงิ่ ตาง ๆ ใหมากทสี่ ุด อาทิ การทํางานบาน กิจกรรมตาง ๆ ที่ลูกสนใจ โดยพอแม
ทําหนาท่ีเปนผูสนับสนุน อํานวยความสะดวกในการใหลูกไดเรียนรูจากประสบการณตาง ๆ อยางไร
กต็ าม กิจกรรมดังกลา วพอแมควรคัดกรองวาเปนกิจกรรมที่สรางสรรคและปลอดภัยสําหรับลูกหรือไม
อาทิ การทาํ งานอาสาสมัครตาง ๆ การเขาคายอาสาพัฒนา การเขาคายกีฬา ไมใชตามใจลูกทุกเรื่อง เชน
ลูกขอไปเก็บเก่ียวประสบการณจากแกงมอเตอรไซค หรือขอไปเท่ียวกลางคืนหาประสบการณทางเพศ
เปนตน ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีไมสรางสรรคและอาจเกิดอันตรายกับลูกได ใหอิสระในความคิดและ
การตดั สินใจ พอ แมไ มควรเปน นักเผด็จการทคี่ อยบงการชวี ติ ลูกไปทุกเรื่อง อาทิ พอแมอยากเรียนแพทย
แตสอบไมต ดิ จึงฝากความหวงั ไวก บั ลูก พยายามสรา งแรงกดดันและปลูกฝงความคิดใหลูกตองสอบเขา
คณะแพทยใหได เพื่อทําความฝนของพอแมใหเปนจริง โดยไมคํานึงวาลูกจะชอบหรือมีความถนัด
ในดานนี้หรือไม พอแมที่ปรารถนาใหลูกรูจักตนเองจึงควรเปดโอกาสใหลูกไดสามารถตัดสินใจ
ในการเลือกส่ิงตาง ๆ ไดดวยตัวเอง โดยพอแมทําหนาที่คอยชี้แนะอยูหาง ๆ ถึงขอดี ขอเสีย ประโยชน
หรอื โทษ ท่ีลกู จะไดรับผานการตัดสินใจนั้น ๆ ซึ่งหากพอแมเห็นวาการตัดสินใจของลูกเปนไปในทาง
ที่ไมถูกตองและอาจจะนําไปสูอันตรายได พอแมสามารถใชอํานาจในการยับย้ังการกระทําดังกลาวได
โดยช้แี จงถงึ เหตุผลใหลกู ไดเขา ใจ เปนกระจกสะทอ นใหลูกเหน็ ตนเอง พอแมต อ งทําหนาทเ่ี ปน กระจกเงา
สะทอ นใหล ูกไดเหน็ ตนเองในมุมตา ง ๆ ท้ังจดุ ออ น จุดแข็ง จุดดี จุดดอย โดยหลักการสําคัญ คือ ผิดจาก
ความเปนจริง หรืออาจรูจักตนเองอยา งผดิ ๆ ผา นคาํ พดู ของคนรอบขา ง เพอ่ื นฝูง ครู อาจารย ซง่ึ อาจทําให
ลูกมองตนเองดอ ยคา เกิดเปน ปมดอ ยในจติ ใจ โดยมงี านวิจยั ยนื ยันวา หากพอแมปลอ ยใหลูกมีความเขาใจ
ทีผ่ ดิ ๆ เกยี่ วกบั ตวั เองในเรอื่ งตาง ๆ ท้งั ๆ ท่ไี มไ ดเปนความจริง และหากไมมกี ารรีบปรบั ความเขา ใจ
ท่ผี ดิ ๆ น้ันโดยเรว็ สงิ่ ท่ีลูกเขาใจเก่ียวกับตนเองผดิ ๆ น้ันจะกลับกลายเปน ความจริงในท่ีสดุ

117

ตวั อยางเชน ลกู อาจโดนครทู ี่โรงเรยี นตอ วา เร่ืองผลการสอบวิชาคณติ ศาสตรท ่ีลูกสอบตก วาเปน
เด็กไมฉ ลาด ทั้ง ๆ ทีพ่ อแมเ ห็นลูกพยายามอยางเต็มที่แลวในวิชานี้ ในกรณีดังกลาวพอแมควรทําหนาที่
เปนกระจกสะทอนใหลูกเห็นในมมุ ทถ่ี กู ตองและใหกําลงั ใจวาลูกมีจุดแข็งที่พอแมภาคภูมิใจในเร่ืองของ
ความตง้ั ใจจริง ความขยันหมัน่ เพยี ร แตอ ยา งไรก็ตามทีผ่ ลการเรียนออกมาเชนนี้อาจเพราะลูกไมถนัดใน
วชิ าดงั กลาว และใหลูกพยายามตอไปอยา ทอถอย อยางไรกต็ ามหากพอ แมไ มม กี ารปรับความเขาใจในการ
มองตนเองของลูกในเรื่องน้ี ลูกจะตอกยํ้าตัวเองเสมอวาเปนคนหัวทึบ และเขาจะไมมีวันประสบ
ความสําเร็จในชีวิตการเรียนไดเลย กระตุกใหลูกไดคิดวิเคราะหตนเอง โดยการหม่ันสังเกตพฤติกรรม
อารมณข องลกู ในสภาวะตาง ๆ หรือจากเหตุการณตาง ๆ และเร่ิมตั้งคําถามกับลูกเม่ือการเรียนรูตนเอง
แทนการโทษผูอื่น หรอื โทษสถานการณ

ตวั อยา งเชน เมอ่ื ลูกทําขอสอบไดคะแนนไมดี แลวโทษวาเพราะครสู อนไมร เู รือ่ ง หรืออางวายังมี
เพอื่ นท่ีเรยี นแยก วาเขาอีก พอแมควรกระตุนใหลูกไดคิดวาเราไมควรไปเปรียบเทียบกับผูที่เรียนแยกวา
หรือโทษวาครูสอนไมรูเร่ือง พรอมกับใหลูกวิเคราะหตัวเองถึงจุดออนจุดแข็ง เชน ลูกมีจุดออนเร่ือง
ระเบียบวนิ ัย การบริหารเวลาในการอานหนังสือหรือไม เพราะท่ีผานมาพอแมไมเห็นวาลูกจะตั้งใจอาน
หนังสือหรือทบทวนบทเรียนเลย แตมาเรงอานตอนใกลสอบ ดังนั้น ในการสอบคร้ังตอไปลูกตองวาง
แผนการเรยี นใหดแี ละขยนั ใหมากกวานี้ เปน ตน

การสอนและเตือนสติ พอแมเ ปนผูท ่เี ห็นชีวติ ของลูกใกลชิดที่สุด และมีความสามารถในการเขา
ใจความเปนตวั ตนของเขามากทีส่ ุด ซึ่งในความเปนเด็กลกู เองยงั ไมส ามารถท่ีจะแยกแยะทําความรูจักกับ
พฤตกิ รรมหรืออารมณต าง ๆ ที่ตนแสดงออกมาได โดยพฤติกรรมบางอยางของลูกหากพอแมปลอยปละ
ละเลยไมส ง่ั สอนเตือนสติแตเ นิน่ ๆ พฤติกรรมนัน้ ๆ อาจบม เพาะเปนนิสัยแย ๆ ที่ติดตัวลูกไปจนโต และ
ยิ่งโตย่ิงแกยาก เขา ทํานองไมออนดัดงายไมแกดัดยาก ดังน้ัน พอแมจึงตองส่ังสอนและเตือนสติลูกทันที
ในพฤติกรรมที่ไมพ ึงประสงคต าง ๆ พรอ มชีใ้ หล กู เหน็ ถงึ ความรา ยแรงและหาแนวทางแกไขรว มกนั

ตัวอยางเชน พอแมเห็นวาลูกมีอุปนิสัยเปนคนเจาอารมณ โกรธงาย พอแมควรพูดคุยกับลูก
ถึงจุดออ นขอน้วี าจะสง ผลเสียอยางไรกบั ชีวติ ของเขาในระยะยาว พรอมทั้งหาวิธกี ารรว มกันในการฝกฝน
ใหลูกรูเทาทันอารมณของตน ไมตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ อยางผิด ๆ โดยใชอารมณความรูสึก
นําหนา อาทิ สอนใหลูกหลีกเลี่ยงตอสถานการณที่มากระตุนอารมณโกรธ สอนลูกใหตอบสนองอยาง
ถูกตองเม่ือโกรธ โดยการเดินไปหาท่ีเงียบ ๆ สงบสติอารมณกอนแลวคอยมาพูดคุยกัน ทาทายลูกให
ทําลายสถิติตนเองใหโกรธชาลง เชน แตเดิมเมื่อพบเหตุการณท่ีไมสบอารมณจะโกรธขึ้นมาทันที ครั้ง
ตอไปควรฝกใหโกรธชา ลง เปน ตน

การเรยี นรูจกั ตนเองอยา งถองแท นับเปนกระบวนการเรียนรูที่สําคัญมากยิ่งกวาการเรียนรูใด ๆ
การเรียนรจู กั ตนเองเปน กระบวนการเรยี นรูระยะยาวตลอดทงั้ ชีวติ อันนํามาซ่ึงความสุขและเปนรากฐาน
ของความสําเรจ็ ในชวี ติ โดยพอแมเ ปน บคุ คลสาํ คัญ ผูเปดโอกาสใหลูกไดเรยี นรูจ ักตนเองและเปนกระจก
บานแรกทีส่ ะทอนใหลกู ไดเห็นอยา งถูกตอ งวา ตวั ตนทีแ่ ทจ ริงของเขานนั้ เปน เชน ไร

118

เรือ่ งท่ี 3 ทักษะการจดั การกับอารมณ

อารมณเปนพลังที่ทรงอํานาจอยางหน่ึงของมนุษย อารมณอาจเปนตนเหตุของสงคราม
อาชญากรรม ความขัดแยงเรื่องเชื้อชาติ และความขัดแยงอ่ืน ๆ อีกหลายชนิดระหวางมนุษยดวยกัน
ในทางตรงกันขามอารมณเปนนํ้าทิพยของชีวิต ทําใหทุกส่ิงทุกอยางสวยงามและนาอภิรมย ความรัก
ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน ความพอใจ หรือความตลกขบขัน ลวนแตทําใหชีวิตมีคุณคาและ
ความหมายท้ังสิน้

อารมณมีความสําคัญเชนเดียวกับการจูงใจดังไดกลาวแลว อารมณ คือ หลายส่ิงหลายอยาง
ในทศั นะหนึง่ อารมณ คือ สภาวะของรา งกายซึง่ ถูกยัว่ ยุ จนเกดิ มีการเปลีย่ นแปลงทางสรีระวิทยาหลาย ๆ
อยาง เชน ใจสน่ั ชพี จรตน เร็ว การหายใจเร็วและแรงข้ึน หนาแดง เปนตน ในอีกทัศนะหน่ึง อารมณ คือ
ความรสู กึ ซงึ่ เกดิ ขน้ึ เพยี งบางสวนจากสภาวะของรางกายท่ถี กู ยัว่ ยุ อาจเปน ความรสู ึกพอใจหรือไมพ อใจ
กไ็ ด อามรณย ังเปนส่ิงท่ีคนเราแสดงออกมาดว ยนํ้าเสยี ง คาํ พูด สหี นา หรอื ทา ทาง
วธิ จี ัดการกับอารมณ

1. มองโลกในแงด ี เม่อื เรามคี วามคดิ ทีท่ าํ ใหซมึ เศรา เชน “ฉันทําวิชาคณิตศาสตรไมได” ใหคิด
ใหมวา “ถา ฉันไดรบั ความชวยเหลอื ท่ถี ูกตองฉันกจ็ ะทําได” แลวไปหาครู ครูพิเศษ หรือใหเพ่ือนชวยติว
ให

2. หาสมุดบันทึกสักเลมไวเขียนกอนเขานอนทุกวัน ในสมุดบันทึกเลมนี้ หามเขียนเร่ืองไมดี
จงเขียนแตเรือ่ งดี ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในวนั น้นั ตอนแรกอาจจะยากหนอย แตใหเขียน เชน มีคนแปลกหนายิ้มให
ถาไดล องตัง้ ใจทาํ มันจะเปล่ียนความคิดใหเ รามองหาแตเร่ืองดี ๆ จากการศึกษาพบวา คนทค่ี ดิ ฆา ตัวตายมี
อาการดขี น้ึ หลงั จากเรม่ิ เขยี นบันทกึ เรื่องดี ๆ ไดเพียงสองสปั ดาห

3. ใชเวลาอยกู บั คนทีท่ ําใหเ ธอหัวเราะได
4. ใสใ จกบั ความรสู กึ ของตนเองในเวลาแตล ะชวงวัน การตระหนกั รถู ึงอารมณของตัวเองจะทํา
ใหเ ราจับคงู านที่เราตอ งทํากับระดับพลงั งานในตัวไดอยา งเหมาะสม เชน ถา เรารูสึกดีท่ีสุดตอนเชา แสดง
วา ตอนเชา คอื เวลาจัดการกับงานเครียด ๆ เชน ไปเจอเพ่อื นทที่ าํ รา ยจติ ใจเรา หรือคุยกับครูที่เราคิดวาให

119

เกรดเราผิด ถา ปกติเราหมดแรงตอนบา ย ใหเกบ็ เวลาชว งนั้นเอาไวท ํากจิ กรรมทไี่ มต อ งใชพ ลังทางอารมณ
มาก เชน อา นหนงั สอื หรืออยูก ับเพ่อื น อยาทําอะไรเครยี ดๆ เวลาเหนอ่ื ยหรอื เครียด

5. สังเกตอารมณตัวเองในเวลาชวงตาง ๆ ของเดือน ผูหญิงบางคนพบวา ชวงเวลาที่ตัวเอง
อารมณไ มด ีสมั พันธก ับรอบเดอื น

6. ออกกาํ ลังกาย การออกกําลังกายชวยใหเราแข็งแรงท้ังรางกายและจิตใจ การออกกําลังกาย
อยางนอยแคว ันละ 20 นาที สามารถทําใหรูสึกสงบและมีความสุขได การออกกําลังกายจะชวยเพ่ิมการ
ผลติ เอนดอรฟนของรา งกายดว ย เอนดอรฟนเปนสารเคมีในรางกายท่ที าํ ใหเกดิ ความรสู กึ ดแี ละมีความสุข
ตามธรรมชาติ โดยไมตองพงึ่ ยาเสพตดิ

7. รจู ักไตรต รอง แยกแยะ
8. ฟงเพลง งานวิจัยชนิ้ หนง่ึ พบวา จงั หวะของเสยี งเพลงชวยจัดระเบียบความคิดและความรูสึก
ม่นั คงภายในจิตใจ และชว ยลดความตึงเครียดของกลา มเน้อื
9. โทรหาเพื่อน การขอความชว ยเหลือทําใหคนเรารสู กึ ผกู พันกบั คนอื่นและรสู ึกโดดเด่ยี วนอ ยลง
10. การโอบกอดชวยใหรางกายหล่ังฮอรโมนท่ีทําใหรูสึกดีออกมา ซึ่งจะชวยใหเรารับมือกับ
อารมณไ ด อยูทา มกลางคนทมี่ คี วามสุข อารมณดเี ปน โรคตดิ ตอ

แนวทางในการจัดการกบั อารมณทางเพศของวัยรุน
การจัดการกับอารมณท างเพศของวยั รนุ มแี นวทางการปฏิบัตทิ ส่ี าํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดวย

แนวทางการปฏิบัติเพ่ือระงับอารมณท างเพศ และแนวทางการปฏิบตั ิเพอื่ ผอนคลายความตอ งการทางเพศ

แนวทางการปฏบิ ตั เิ พอื่ ระงับอารมณทางเพศ
แนวทางการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ระงับอารมณทางเพศ หมายถึง ความพยายามในการที่จะหลีกเลี่ยงตอส่ิง

เรา ภายนอกที่มากระตุนใหเ กิดอารมณท างเพศท่เี พม่ิ มากข้ึน
1. หลีกเล่ียงการดหู นังสอื หรอื ภาพยนตรห รือส่ือ Internet ทมี่ ีภาพหรอื ขอ ความที่แสดงออกทาง

เพศ ซึง่ เปนการย่ัวยใุ หเกิดอารมณท างเพศ
2. หลกี เลยี่ งการปฏิบัติหรือทําตัวปลอยวางใหความสบายเกินไป เชน การนอนเลน ๆ โดยไม

หลับ การนัง่ ฝน กลางวนั หรอื น่งั จินตนาการที่เกย่ี วของกบั เรอ่ื งเพศ
3. หลีกเลีย่ งสถานการณท่กี อใหเ กดิ โอกาสการถกู สมั ผสั ในลกั ษณะตาง ๆ กบั เพศตรงขาม
4. ซ่งึ การกระทําดังกลา วมักกอใหเ กิดอารมณท างเพศได เชน การจบั มอื ถอื แขน (10%) การกอด

จูบ (60%) การลูบคลํา (80%) การเลาโลม (100%)
5. หลีกเลย่ี งและรจู ักปฏเิ สธเมอ่ื ถูกชกั ชวนใหเ ทีย่ วเตรพกั ผอ นในแนวทางกระตุน ใหเกดิ อารมณ

ทางเพศ เชน สถานทีท่ องเทย่ี วกลางคืน การดม่ื แอลกอฮอล เคร่ืองดื่มมึนเมาตาง ๆ ซ่ึงสามารถนําพาไปสู
การเกดิ อารมณทางเพศได

120

เร่ืองที่ 4 ทักษะการจดั การความเครยี ด

ความเครียดคือ การหดตัวของกลามเน้ือสวนใดสวนหน่ึงหรือหลายสวนของรางกายน่ันเอง
ซงึ่ ทุกคนจําเปนตองมีอยูเสมอในการดํารงชีวิต เชน การทรงตัวเคลื่อนไหวทั่ว ๆ ไป มีการศึกษาพบวา
ทุกคร้ังที่เราคิดหรือมีอารมณบางอยางเกิดข้ึนจะตองมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกลามเนื้อแหงใด
แหง หน่งึ ในรา งกายเกิดข้นึ ควบคูเ สมอ

ความเครียดมีท้ังประโยชนและโทษ แตความเครียดที่เปนโทษนั้น เปนความเครียดชนิดที่เกิน
ความจําเปน แทนทจ่ี ะเปนประโยชนกลับกลายเปนอุปสรรคและอันตรายตอชีวิต เมื่อคนเราอยูในภาวะ
ตงึ เครียดรางกายจะเกดิ ความเตรยี มพรอมที่จะ “ส”ู หรอื “หนี” โดยท่รี า งกายมกี ารเปลี่ยนแปลงตา ง ๆ เชน
หวั ใจเตนแรงและเร็วขึ้น เพ่ือฉีดเลือดซึ่งจะนําออกซิเจนและสารอาหารตาง ๆ ไปเลี้ยงเซลลทั่วรางกาย
พรอมกับขจัดของเสียออกจากกระแสเลือดอยางเร็ว การหายใจดีขึ้น แตเปนการหายใจต้ืน ๆ มีการขับ
อดรนี าลีนและฮอรโมนอื่น ๆ เขาสูกระแสเลือด มานตาขยายเพ่ือใหไดรับแสงมากขึ้น กลามเนื้อหดเกร็ง
เพอ่ื เตรียมการเคลอ่ื นไหว เสนเลือดบรเิ วณอวยั วะยอยอาหารหดตัว เหง่อื ออก เพราะมกี ารเผาผลาญอาหาร
มากขึ้น ทําใหอุณหภูมิของรางกายเพ่ิมขึ้น เมื่อวิกฤติการณผานพนไปรางกายจะกลับสูสภาวะปกติ
แตความเครยี ดที่เปน อันตราย คอื ความเครยี ดทีเ่ กิดข้ึนมากเกินความจําเปน เมื่อเกิดแลวคงอยูเปนประจํา
ไมล ดหรือหายไปตามปกติ หรอื เกิดขึ้นโดยไมมีเหตกุ ารณทเี่ ปนการคกุ คามจรงิ ๆ

121

ผลของความเครยี ดตอ ชวี ิต
ผลตอ สขุ ภาพทางกาย ไดแ ก อาการไมส บายทางกายตา ง ๆ เชน ปวดหัว ปวดเมื่อยตามสวนตาง ๆ

ของรางกาย ความผดิ ปกติของหวั ใจ ความดันโลหติ สูง โรคกระเพาะ อาการทอ งผกู ทอ งเสยี บอย นอนไมห ลบั
หอบหืด เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ

ผลตอสุขภาพจิตใจ นําไปสูความวิตกกังวล ซึมเศรา กลัวอยางไรเหตุผล อารมณไมมั่นคง
เปลี่ยนแปลงงา ยหรอื โรคประสาทบางอยาง

สาเหตุของความเครียด
- สภาพแวดลอ มทวั่ ไป เชน มลภาวะ ไดแก เสียงดังเกินไปจากเครื่องจักร เครื่องยนต อากาศ

เสียจากควันทอไอเสยี น้าํ เสีย ฝุนละออง ยาฆา แมลง การอยูก นั อยา งเบียดเสยี ดยดั เยยี ด เปน ตน
- สภาพเศรษฐกจิ ที่ไมนา พอใจ เชน รายไดนอยกวารายจา ย เปนตน
- สภาพแวดลอมทางสังคม เชน การสอบแขงขันเขาเรียน เขาทํางาน เลื่อนข้ัน เล่ือนตําแหนง

เปน ตน
- มีสัมพันธภาพกับคนอ่นื ๆ ทไี่ มร าบรน่ื มักมีขอ ขดั แยง ทะเลาะเบาะแวงกับคนอ่ืนเปน ปกติวสิ ยั
- ความรูสึกตนเองตํ่าตอ ยกวา คนอืน่ ตอ งพยายามตอสเู อาชนะ
- ตอ งการมีอํานาจเหนอื ผอู ่ืน

วิธลี ดความเครียด มหี ลายวธิ ี
1. วิธีแกไขที่ปลายเหตุ ไดแก การใชยา เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลดกรดในกระเพาะ

ยากลอ มประสาท แตว ธิ กี ารดงั กลาวไมไดแ กไ ขความเครียดทต่ี นเหตุ อาจทําใหค วามเครยี ดนัน้ เกิดขึ้นไดอ กี
2. วิธแี กไขทต่ี นเหตุ ไดแก แกไ ขเปลีย่ นแปลงวถิ ชี วี ิตท่ีเอ้อื อาํ นวยตอการกอ ใหเกิดความเครียด

เชน หางานอดิเรกทช่ี อบทําฝก ออกกาํ ลงั กาย บริหารรา งกายแบบงาย ๆ เปนตน
3. เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอนปรน ลดความ

เขม งวดในเรื่องตา งๆ
4. หาความรูความเขาใจเกย่ี วกบั โภชนาการ
5. สาํ รวจและเปล่ยี นแปลงทศั นคติตอตัวเองและผูอ่ืน เชน มองตัวเองในแงดี มองผูอื่นในแงดี

เปน ตน
6. สํารวจและปรับปรุงสัมพันธภาพตอ คนในครอบครวั และสังคมภายนอก
7. ฝก ผอนคลายโดยตรง เชน การฝกหายใจใหถ กู วิธี การฝก สมาธิ การออกกําลังกายแบบงายๆ

การฝกผอนคลายกลามเนอ้ื การนวด การสาํ รวจทา นั่ง นอน ยนื เดนิ การใชจ ิตนาการ นกึ ภาพทรี่ นื่ รมย
เมื่อเกิดความเครียดขึ้นมา ลองพยายามนึกทบทวนดูวา เกิดจากสาเหตุอะไร และเลือกใชวิธีลด

ความเครียดดังกลาวท่ีกลาวมาวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน อาจทําใหความเครียดผอนคลายหรือ
ไมเครยี ดเลยก็ได

122

กจิ กรรม
เขยี นตอบคาํ ถามดานลางในกระดาษและนําเสนอในชัน้ เรียน
1. ความสาํ คญั ในการตระหนกั รูในตนเองมีผลตอ การดาํ เนนิ ชีวิตอยา งไร
2. เราสามารถจดั การกบั อารมณโ กรธไดอยางไร
3. ความเครยี ดสง ผลตอสุขภาพอยางไร และเราสามารถจดั การกับความเครยี ดทาํ ไดอยา งไร

123

บทท่ี 9
อาชีพจําหนา ยอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สุขาภิบาล

ประเทศไทยมีผลผลิตจาการเกษตรกรรมประเภทอาหารท่ีหลากหลาย ซ่ึงขึ้นอยูกับศักยภาพ
แตล ะภมู ภิ าคที่แตกตา งกันไป การนําผลผลติ จาการเกษตรมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป แลว
กระจายสนิ คา สูตลาดผบู รโิ ภคตลาดภายในประเทศ ตลาดอาเซียน และตลาดในภูมภิ าคอ่นื ท่วั โลก เปนอกี
ชอ งทางหน่ึงท่ีทาํ ใหเกดิ อาชีพสาํ หรับผทู สี่ นใจ

การถนอมอาหารในปจ จุบันใชว ิวัฒนาการทางเทคโนโลยีเพอ่ื แปรรปู วตั ถดุ บิ จาํ นวนมากพรอม ๆ
กันเปน ผลิตภณั ฑอาหารสําเรจ็ รปู หรือก่งึ สําเรจ็ รปู หรือปรบั ปรุงกรรมวธิ กี ารถนอมอาหารสมัยโบราณให
ไดผ ลติ ภณั ฑทม่ี คี ณุ ภาพดขี ึ้น ทัง้ ในดา นความสะอาด สี กล่ิน รส เนื้อสัมผสั และเพื่อยืดอายุการเกบ็ อาหาร
นั้นใหไดน าน เทคโนโลยีการถนอมผลิตผลการเกษตรตองอาศัยความรูทางวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ความรู
พนื้ ฐานทางสงั คมธรุ กจิ และการจดั การควบคูกับความรูใ นการแปรรปู ผลติ ผลการเกษตร ใหเปน ผลติ ภัณฑ
ชนดิ ใหม หรอื ปรับปรุงของเดิมใหดียิ่งขึ้นท้ังในลักษณะท่ีมองเห็นหรือสัมผัสได เชน สี กล่ิน ความนุม
ความเหนยี ว เปนตน รวมท้ังสิง่ ท่ีมองไมเ หน็ เชน คณุ คาทางโภชนาการ เปน ตน

ผลิตภัณฑอาหารสาํ เรจ็ รูป หมายถึง อาหารท่ีไดผ า นข้ันตอนการหงุ ตม หรือกระบวนการ แปรรูป
ผลิตผลการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีเพอ่ื ใหอาหารน้ันสามารถเก็บไดเปน เวลานานพอสมควรโดยไม
เนาเสีย สามารถดื่มหรือรับประทานไดทันทีเมื่อตองการจะอุนหรือไมอุนใหรอนกอนรับประทานก็ได
ผลิตภณั ฑป ระเภทนี้ทีร่ ูจ กั กันแพรหลาย คอื อาหารบรรจุกระปอ ง เชน สับปะรดกระปอ ง หรอื บรรจุกลอง
เชน นมสด เปน ตน

ผลิตภัณฑอาหารกึ่งสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีไดผานขั้นตอนการหุงตมหรือกระบวนการ
แปรรูปแลว และสามารถเก็บไวไดน านเชน เดยี วกัน จะตองนาํ ไปหุงตม และปรุงรสหรอื ปรงุ แตงกอ นจึงจะ
รับประทานได เชน นา้ํ ผลไมเขม ขน ซงึ่ ตอ งผสมนาํ้ กอ นดม่ื นาํ้ พรกิ แกง เปน ตน

การแปรรูปหรือการถนอมอาหาร โดยหลักใหญ คือ การทําลายหรือฆาเช้ือจุลินทรียที่มีอยูหรือ
อาจเกิดขึ้นในอาหาร และทําใหเกิดการเนาเสียใหหมดไป ปจจุบันผลิตผลการเกษตรมีมากขึ้น และ
ประชากรมากข้ึนจึงไดมีการศึกษาคนควาและทดลองใชเทคโนโลยี เพ่ือถนอมผลิตผลการเกษตรให
สามารถเก็บไวไดน าน เชน การใชความรอ นจากไอนาํ้ เพื่อฆาเช้ือจุลินทรียในการทําอาหารกระปอง การ
ใชร งั สแี กมมา เพ่ือยับยั้งหรือทําลายปฏิกิริยาของเอนไซมท ําใหการเปล่ียนแปลงทางเคมีชาลง และยังเปน
การทาํ ลายการเจริญเติบโตของจลุ ินทรยี อ ีกดว ย ในที่นี้จะกลาวถึงกรรมวิธีการถนอมอาหารทใ่ี ชก นั มากใน
ปจ จบุ ัน คอื

 การถอมอาหารโดยใชค วามรอ นสงู เชน ผลิตภัณฑอ าหารกระปอ ง เปน ตน
 การถนอมอาหารโดยใชความเยน็ เชน ผลติ ภณั ฑอาหารเยอื กแขง็ เปนตน
 การถนอมอาหารโดยการทําใหแหง เชน ปลาหยอง กาแฟผง เปนตน

124

 การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง เชน ซีอ้วิ นํ้าสมสายชู เปนตน
 การถนอมอาหารโดยใชรงั สี เชน หอมหัวใหญอ าบรงั สี เปนตน

เร่อื งท่ี 1 การถนอมอาหารโดยใชความรอนสงู

ภาชนะบรรจไุ ดมีการปรับปรุงพัฒนามาโดยเฉพาะอยางย่ิงที่ทําจากดีบุก ตอมาดีบุกหายากและ
แพงขึ้น จงึ ใชก ระปอ งทท่ี ําดวยแผนเหลก็ เคลอื บผิวทงั้ สองดานดว ยดบี กุ ทําใหประหยดั ปรมิ าณของดีบกุ ที่
ใชไดมาก ขณะเดียวกันก็ไดมีการใชกระปองที่ทําจากอลูมิเนียมซ่ึงน้ําหนักเบาแตมีขอเสีย คือ บุบงาย
สวนมากจงึ ใชท าํ กระปองเพอ่ื บรรจุนา้ํ ผลไม หรอื เครื่องด่ืม หรือ นมสด แตการใชก ระปองอลมู เิ นยี ม
ไมแ พรหลายเทา กับกระปองทีท่ ําจากแผน เหลก็ เคลอื บดีบกุ นอกเหนือจากภาชนะจะเปนสวนประกอบท่ี
สํ า คั ญ ใ น ก า ร ถ น อม ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ว ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง อา ห า ร ก็ มี ค ว า ม สํ า คั ญ ม า ก
รวมถึงการใชความรอนก็มีความสําคัญซ่ึงตองรู วาจะใชความรอนสูงเทาใดในการฆาเชื้อจุลินทรียใน
อาหารท่ีตอ งการเกบ็ รักษา เนื่องจากการถนอมผลิตผลทางการเกษตร โดยความรอนจะเปล่ียนสภาพของ
อาหารจากสดเปนอาหารสุกท่ีพรอมจะรับประทานได ดังน้ัน จึงมีการเติมเคร่ืองปรุงตาง ๆ หรือเปล่ียน
สภาพเปน ผลิตภัณฑอาหารชนดิ ใหม ซ่ึงในปจจุบนั เรียกวา "การแปรรปู อาหาร" สวนประกอบอาจจะมีทั้ง
เน้ือสัตว ผักและเครื่องเทศ สําหรับอาหารคาวหรือถาเปนอาหารหวาน เชน ผลไมบรรจุในนํ้าเช่ือม
เปนตน กรรมวิธกี ารผลิตอาหารกระปอ งหรืออาหารในขวดแกว จาํ เปน ตอ งใชความรอ น เพือ่ ทาํ ใหอ าหาร
ท่บี รรจภุ ายในสุก และเพอ่ื ทาํ ลายเชือ้ จลุ ลินทรีย ความรอนท่ีใชจะตองสัมพันธกันเพราะถาใชความรอน
สูงเกินไป อาจจะทาํ ใหอาหารที่บรรจุในกระปอง/ขวดน่ิมและไมนารับประทาน ถาความรอนต่ําเกินไป
อาจจะมีจุลินทรียหลงเหลืออยซู งึ่ จะทาํ ใหอาหารนั้นเสยี เกดิ กระปอ งบวมและระเบดิ ไดในท่ีสุด การถนอม
อาหารโดยใชความรอ น หมายถงึ การฆาเชอ้ื ในอาหารที่บรรจุในภาชนะท่ีปดสนิท เพื่อปองกันการเสื่อม
สลายหรอื เนาเสยี ทีเ่ กดิ จากเช้อื จลุ ินทรียห รอื จากการปฏิกิรยิ าของเอ็นไซมในอาหาร การฆาเช้ือโดยความ
รอนมี 3 ระดับ คือ การฆาเชื้อ (Sterilization) การฆาเชื้อระดับการคา (Commercially sterilization) และ
การฆาเชอื้ แบบปาสเตอร (Pasteurization)

การฆาเชือ้ หมายถงึ การถนอมอาหารโดยใชค วามรอนสงู ภายใตค วามดัน เพื่อใหจุลินทรียท่ีมีอยู
ทง้ั หมดถูกทําลาย

การฆา เชอ้ื ระดับการคา หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชค วามรอ นสูงเพ่ือทําลายจุลินทรียท่ีมีอยู
ในอาหารเกือบทง้ั หมด เพ่อื ใหอ าหารนั้น ๆ สามารถบรโิ ภคไดโดยไมเ ปน อนั ตราย และสามารถเก็บไวได
นานโดยไมเ นาเสียในภาวะปกติ

การฆาเช้ือแบบปาสเตอร หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชความรอ นตา่ํ กวาอณุ หภูมิของนํ้าเดือด
(ตาํ่ กวา 100o C) เพ่ือทําลายจุลนิ ทรยี บางสวน แตทั้งนีต้ อ งดาํ เนินควบคกู บั สภาวะอยางอื่น เชน ควรเก็บใน
ตูเ ยน็ ภายหลงั การผลิตแลว หรอื อาหารน้ันมี พเี อชตํา่ หรอื มปี รมิ าณนาํ้ ตาล หรือเกลือสูง

125

นกั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร ไดแบงกลุมอาหารท่ีบรรจุในภาชนะท่ีปดสนิทเปน
กลุมใหญ ๆ ไว 2 กลมุ คือ \

1. กลมุ อาหารท่ีเปนกรด (Acid foods) คือ อาหารท่ีมีคา PH ต่ํากวา 4.5 สวนมากเปนพวกผลไม
เชน สับปะรด สม หรือผกั ทมี่ ีรสเปรย้ี ว เชน มะเขือเทศ กระเจี๊ยบแดง เปน ตน

2. กลมุ อาหารทเี่ ปนกรดต่าํ (Low acid foods) คอื อาหารที่มคี า พีเอช 4.5 หรือสูงกวา สว นมากจะ
เปน อาหารจําพวกเนื้อสตั วแ ละผกั ตา ง ๆ เชน เน้ือ หมู ปลา ขา วโพดฝก ออ นและหนอ ไมฝร่งั เปน ตน

กระปอ งใชบรรจุ

โรงงานทําสบั ปะรดกระปอง

126

ตัวอยา งขั้นตอนการทําอาหารกระปอง
1. รบั ซอื้ วัตถดุ ิบ
2. ลา ง ตัดแตง
3. คดั เลอื กขนาด, จัดระดบั
4. ลวก
5. บรรจกุ ระปอ ง/ขวด
6. เติมน้ําบรรจุลงในกระปอ ง/ขวด <----- เตรียมเครอ่ื งปรงุ หรอื นํา้ บรรจุ
7. ไลอ ากาศ
8. ปด ผนึก
9. ฆา เชื้อดวยความรอน
10. ทาํ ใหก ระปอ งเย็น
11. ปดฉลาก
12. บรรจุหบี /กลอ ง
13. หอ งเก็บ
14. สง ขาย
15. ผูบริโภค

1.1 เคร่อื งมอื ทใ่ี ชเ กย่ี วกบั การผลิต
โดยทั่วไปเคร่ืองมือเครื่องใชและเครื่องจักรเก่ียวกับกรรมวิธีการผลิตอาหารกระปองตองไมเปน

อันตรายตอ สุขภาพ และตอ งอยูในสภาพท่สี ะอาดเสมอ ภาชนะท่ใี ชไดหลายครงั้ ตอ งทําดวยวัสดุที่ไมเปนพิษ
และออกแบบใหทําความสะอาดไดงายเพ่ือปองกันมิใหมีส่ิงสกปรกตกคางอยู วัสดุที่ใชทําภาชนะตาง ๆ
ควรเปนวัสดุท่มี ีผิวเรยี บ ไมม รี อยแตกหรือกะเทาะลอ น ไมเปนพิษ ไมทําปฏิกิริยากับอาหาร ควรเปนวัสดุที่
ลางและทาํ ความสะอาดไดงา ย ไมเปน วัสดทุ ีด่ ูดซึมงาย ยกเวนเพ่ือวัตถุประสงคบางประการที่จําเปนตองใช
เชน ถังไมใ นการหมกั ไวน ในสถานท่ีผลิตอาหารสาํ เร็จรูปจะมีเครอื่ งมือ เครอื่ งใชแ ละเครื่องจักรแตกตางกัน
ออกไปแลวแตป ระเภทและชนิดของผลิตภณั ฑ แตส ว นใหญแ ลวแบง ออกไดเปน 3 ประเภท คือ

 เครือ่ งมือ เคร่อื งใชทจ่ี าํ เปนในกรรมวิธีการผลติ
 เครื่องมอื เคร่ืองจกั รตามข้ันตอนของการผลติ
 เครอื่ งมือ เครอื่ งจักรตามประเภทของผลิตภัณฑ
1.1.1 เคร่อื งมอื เคร่อื งใชท จ่ี าํ เปน ในกรรมวิธกี ารผลติ
เครื่องมอื เครื่องใชนเ้ี ปน สง่ิ จําเปน ของผูป ระกอบกิจการการอุตสาหกรรมแปรรปู อาหารไมวา
ขนาดเล็กหรอื ขนาดใหญ โดยเฉพาะอยา งย่งิ การผลิตอาหารกระปอ ง

1) เครอ่ื งชั่ง ตวง วัด ใชใ นการชง่ั นํา้ หนกั หรือปริมาตรของสิ่งตา ง ๆ เชน วตั ถุดิบ
เครือ่ งปรงุ อาหาร เครื่องช่งั ตวง วดั ควรจะมีหลาย ๆ ขนาด

127

2) เครอ่ื งวดั อุณหภูมิ เปนของจาํ เปน มากในการผลิต จะตองมีการควบคุมและตรวจสอบ
อุณหภมู ิตามขน้ั ตอนตา ง ๆ ระหวา งผลิตอยตู ลอดเวลา

3) เคร่ืองมอื วัดปรมิ าณเกลอื
4) เครอื่ งมือวดั ปรมิ าณนํา้ ตาล
5) เครื่องมือวัดความเปนกรด-ดา ง
6) เคร่ืองมือวัดความรอนของอาหารที่บรรจุในกระปอง (Heat penetration equipment)
เพอื่ คํานวณหาเวลาท่จี ะตองใชใ นการฆา เชอ้ื หลงั จากบรรจแุ ละปด ฝากระปอ งแลว เคร่ืองมือท่ีใชในการน้ี
เรียกวา เทอรมอคัปเปล (Thermocouples) ซึ่งใชวดั อุณหภมู ิ ณ จดุ ทคี่ วามรอนเขา ถงึ ชา ทีส่ ดุ ของกระปอง
7) เครอ่ื งมือวดั ขนาดของตะเขบ็ กระปอ ง ลกั ษณะของการเก่ียวกันระหวางขอฝา (Cover hook)
และขอของตัวกระปอง (Body hook) เปน ส่งิ สําคัญมาก ถา ไมเปนไปตามมาตรฐาน อาจจะทําใหกระปอง
รั่วได
8) เครอื่ งมือตรวจความดันในกระปอ ง ทดสอบวา กระปอ งจะรวั่ หรือไม โดยสูบลมอัดเขา
ไปในกระปอ งจนไดเปลงความดันท่ีตองการแลวจุมกระปองลงในนํ้า ถากระปองรั่วจะมีฟองอากาศผุด
ออกมาตามรอยตะเขบ็ ซึง่ จะตอ งทาํ การปรับเครอื่ งปดฝากระปอ งใหเ ขาท่ี
1.1.2 เครอ่ื งมอื เครอื่ งจักรตามขั้นตอนของการผลิต
เครอื่ งมือเครอ่ื งจักรท่ีใชใ นการทาํ อาหารกระปองแบง ออกตามขั้นตอนของการผลิต ประกอบดว ย
 การลาง เตรียม และตัดแตง วัตถุดิบ
 การลวก
 การหงุ ตม
 การบรรจุ
 การไลอากาศ
 การปดฝา
 การทาํ ลายเช้อื จลุ ินทรีย
1.1.3 เครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั รตามประเภทของผลิตภัณฑ เครื่องมอื เครื่องจักรอาจแตกตา งกันไปตาม
ประเภทของอาหารท่ีจะผลิต เชน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรสําหรับทําสับปะรดกระปองยอมจะแตกตางกับ
เคร่ืองมือเคร่ืองจักรของโรงงานทาํ ปลากระปอง
1.2 การทําความสะอาดสถานทผ่ี ลิตอาหาร
ในแงข อง "สุขลักษณะ" จะตองคํานึงถึงเช้ือจุลินทรียมากที่สุดเพราะจะทําใหเกิดอันตรายอยาง
มากตอสขุ ภาพของผบู รโิ ภค จงึ ตองมีการควบคมุ ปรมิ าณจลุ นิ ทรยี ซ่ึงตอ งทาํ ทั้งกับคนและเคร่อื งมือ คอื
1) ปองกนั มิใหส ัตวและแมลงมโี อกาสสมั ผสั กับอาหาร
2) ควรใสเสื้อกันเปอน ซ่ึงเส้ือนี้จะปองกันส่ิงสกปรกตาง ๆ จากเส้ือผาหรือตัวผูทําอาหารหรือ
เสิรฟ อาหาร และสวมหมวกหรือมีผา คลมุ ผมเพ่อื ปอ งกนั ไมใหผ มหลนลงในอาหาร

128

3) รักษาเครื่องจักร เครื่องมือ โตะเตรียมอาหาร อางน้ํา หองเตรียมอาหารใหสะอาดอยูเสมอ
เพื่อปองกนั เศษอาหารหลงเหลอื อยู ซึง่ จะเปนอาหารเลี้ยงเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ใหเ จริญเติบโตได

4) เศษอาหารควรทิง้ ทกุ วนั
5) หองเก็บวัตถดุ บิ หองเก็บของ ตเู ยน็ หองเยน็ ควรจะสะอาด
6) เคร่อื งจักร และเคร่ืองมือตาง ๆ ควรวางหรอื เกบ็ ใหเปนที่เพอื่ จะทาํ งานสะดวกและปองกันการ
เสยี หาย
7) มหี องน้ําพอเพียงเพ่อื ปองกันความสกปรกของคนงาน
8) ตรวจสขุ ภาพของคนงานเปนประจําทุกป
9) ผูผลิตควรจะรว มมอื กับ "ผตู รวจสอบ" ของรัฐบาล เพอื่ คําแนะนาํ และความรว มมอื ท่ีดี
10) ควรจะแกไ ขจดุ ตา ง ๆ ตามที่ "ผูตรวจสอบ" แนะนาํ
1.3 การทําลายเศษอาหาร กาก และสว นท่เี หลอื จากโรงงาน
การระบายนาํ้ เสียนน้ั เปนเรื่องทส่ี าํ คญั มาก เพราะนํ้าเสยี ยอมจะทาํ ใหเกดิ ผลเสยี ไดสองแง คือ
1) ความสะอาดและความปลอดภัยในการประกอบกิจ เพราะถาสิ่งแวดลอมสกปรกยอมจะเกิด
การเจอื ปนข้ึนไดงา ย
2) ความปลอดภยั สาํ หรบั ผอู ยใู กลเคียง การระบายน้ําและมีเศษอาหารอยยู อมเปน ท่ีรบกวนแก
ผอู าศัยใกลเคียงได โดยเฉพาะการปลอยของเสียลงในน้ํายอมกอใหเกิดความลําบาก และยุงยากตอผูอยู
ปลายทาง

เรอื่ งท่ี 2 การถนอมอาหารโดยใชค วามเยน็
การใหค วามเยน็ (Refrigeration) หมายถงึ กรรมวิธีการกาํ จดั ความรอ นออกจากสงิ่ ของหรือพื้นท่ี

ท่ีตองการทาํ ใหเ ยน็ หรือตอ งการใหมอี ุณหภูมิลดลง ซงึ่ การทําใหเยน็ ลงนี้ แบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ
การแชเยน็ (Chilling) หมายถึงการทําใหอุณหภูมิของส่ิงของนั้นลดลง แตอยูเหนือจุดเยือกแข็ง

ของส่ิงนัน้ โดยของสงิ่ นนั้ ยังคงสภาพเดิมอยู เชน การแชเ ยน็ อาหารจะเปน การลดอณุ หภูมิของอาหารต่ําลง
แมที่ -1o C แตต องไมท ําใหน า้ํ หรือองคประกอบในอาหารนน้ั แปรสภาพหรือแขง็ เปน นํ้าแขง็

การแชแ ข็ง (Freezing) หมายถึงการทําใหอณุ หภมู ิของสงิ่ ของนน้ั ลดต่ําลงกวา จดุ เยือกแขง็ ของ
สง่ิ น้นั (-1 ถงึ -40o C) การแชแ ขง็ จะทาํ ใหเ กิดการเปลีย่ นสภาพขององคประกอบในส่งิ ของ เชน ในกรณีท่ี
เปนอาหาร ความเย็นจัดจะทําใหนํ้าในเนื้อเยื่อของอาหารแปรสภาพเปนนํ้าแข็ง ทําใหจุลินทรียไมอาจ
นําไปใชไ ด แตค วามเยน็ จัดไมไ ดทาํ ลายจุลนิ ทรยี ใหตาย

จุดเยือกแข็ง (Freezing point) คือ อุณหภูมิท่ีเกิดภาวะสมดุลระหวางของแข็งกับของเหลว
ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ หรอื อุณหภูมทิ ีข่ องเหลวเปลย่ี นสถานะเปน ของแขง็ ณ
ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ

129

การถนอมอาหารดว ยความเยน็ มหี ลายวธิ ี
1) การใชน ้าํ แขง็ ความเยน็ ของนาํ้ แข็งที่ใชใ นการแชอ าหารจะลดอณุ หภมู ขิ องอาหารไดเรว็ และ

ถามปี ริมาณน้าํ แข็งเพยี งพอกจ็ ะทําใหอ าหารนนั้ เยน็ ลงจนมอี ณุ หภมู ิใกลเ คียงกบั 0o C
2) การใชส ารผสมแชแข็ง การใชน ํ้าแข็งผสมเกลือแกงหรือเกลืออนินทรยี อ่ืน ๆ จะทาํ ใหได

สารผสมทีม่ ีอณุ หภูมิต่าํ กวา 0o C
3) การใชนํ้าแข็งแหง นา้ํ แข็งแหง คอื คารบ อนไดออกไซดท เี่ ย็นจนแข็ง มอี ุณหภูมิ

ประมาณ 80o C ใชในการเกบ็ รักษาอาหารทผี่ านการแชแขง็ มาแลว เหมาะสําหรับการขนสงในระยะเวลา
2-3 วนั

4) การใชไ นโตรเจนเหลว ไนโตรเจนเหลวที่ความดันปกติจะระเหยกลายเปน ไอที่
อุณหภูมิ 196o C ณ อุณหภูมินี้เปนอุณหภูมิตํ่าสุดที่สามารถทําใหอาหารเย็นลงไดอยางรวดเร็ว และ
เนื่องจากไนโตรเจนเปน แกสเฉือ่ ย ไมเ ปนอันตรายกบั อาหารและผูบริโภค

5) การใชเ คร่ืองทาํ ความเยน็ เครอ่ื งทาํ ความเย็นทใ่ี ชก นั โดยท่ัวไป โดยเฉพาะตามบา นเรอื น คอื
ตเู ยน็

เรือ่ งที่ 3 การถนอมอาหารโดยการทาํ แหง
หลักการในการทําแหง มหี ลายวิธี คือ
1) ใชก ระแสลมรอ นสัมผสั กับอาหาร เชน ตูอ บแสงอาทิตย ตอู บลมรอน (Hot air dryer) เปน ตน
2) พนอาหารท่เี ปนของเหลวไปในลมรอน เครอ่ื งมือทใ่ี ชค อื เครอ่ื งอบแหง แบบพนฝอย

(Spray dryer)

130

3) ใหอ าหารขน สัมผสั ผวิ หนาของลกู กลิง้ รอน เคร่อื งมอื ท่ีใชคอื เครือ่ งอบแหง แบบลกู กล้ิง
(Drum dryer หรอื Roller dryer)

4) กําจัดความช้ืนในอาหารในสภาพที่ทํานํ้าใหเปนน้ําแข็งแลวกลายเปนไอในหองสุญญากาศ
ซง่ึ เปน การทําใหอ าหารแหงแบบเยอื กแขง็ โดยเครอื่ งอบแหง แบบเยอื กแข็ง (Freeze dryer)

5) ลดความชน้ื ในอาหารโดยใชไมโครเวฟ (Microwave)
หลกั ในการทําอาหารใหแหง คือ จะตองไลน้ําหรือความชื้นที่มีอยูในผลิตผลการเกษตรออกไป
แตจะยังมีความชื้นเหลอื อยใู นผลติ ภณั ฑม ากนอ ยแลวแตช นดิ ของอาหาร
การถายเทความรอน จะเกดิ ตรงจุดท่ีมีความแตกตางของอณุ หภมู ิ คือ อุณหภูมิของเครื่องมือที่ใช
ในการอบ และอาหารที่ตอ งการทาํ ใหแ หง การถา ยเทความรอนมี 3 แบบ คอื
1) การนําความรอ น เปน การถายเทความรอ นจากโมเลกลุ หนึ่งไปยงั อกี โมเลกลุ หนึง่ ท่ีอยูขางเคียง
ซ่งึ จะเกิดกบั อาหารท่ีมลี กั ษณะเปนของแขง็
2) การพาความรอ น จะเกดิ กับอาหารทเี่ ปนของเหลว โดยกระแสความรอ นจะถูกพาผานชอ งวางที่
เปน อากาศหรือแกสจากของเหลวชนิดหนึ่งไปยงั ของเหลวอีกชนิดหนงึ่
3) การแผร งั สี เปนการถา ยเทความรอนโดยการแผร งั สคี วามรอนไปยังอาหารซง่ึ จะเกดิ ขึ้นในกรณี
อบอาหารในสุญญากาศ และการอบแหงแบบเยอื กแขง็
ในทางปฏิบัติ การถายเทความรอ นในการอบแหง อาจเกดิ ขน้ึ พรอ มกันท้งั 2 หรือ 3 แบบกไ็ ด ทง้ั น้ี
ขน้ึ อยกู บั ลักษณะของอาหารที่นาํ ไปอบแหง
การเคลื่อนที่ของน้าํ ในอาหาร น้ําหรอื ความชนื้ จะเคล่อื นทีม่ าทผ่ี ิวหนาของอาหารเม่ือไดรับความ
รอนในระหวา งการอบ
เครื่องอบแหง
เครื่องมอื ท่ีใชในการอบอาหารจาํ นวนมากในคราวเดยี วกันใหแ หง นัน้ มหี ลายแบบ แตละแบบก็มี
หลายขนาด
1) ตูอบหรือโรงอบที่ใชความรอนจากแสงอาทิตย โดยมีหลักการทํางานคือ ตูหรือโรงอบ
ประกอบดว ยแผงรบั แสงอาทิตย ซงึ่ ทําดวยวสั ดใุ ส เม่ือแสงอาทิตยซ ง่ึ สว นใหญเปน รงั สคี ล่นื ส้ัน ตกลงบน
แผงรบั แสงน้แี ลว จะทะลผุ า นไปยังวสั ดสุ ดี ํา ภายในตแู ละเปลีย่ นเปนรังสีความรอน ซึ่งความรอนนี้จะไป
กระทบกบั อาหารทําใหน ้าํ ในอาหารระเหยออกมา และผานออกไปทางชองระบายอากาศของตูอบ หรือ
โรงอบ มีผลทาํ ใหอาหารแหง ในระหวางการอบควรกลบั ผลิตภณั ฑน ้ัน วันละ 1-2 คร้ัง เพือ่ ใหผิวหนา ของ
ผลิตภณั ฑท กุ สว นไดส ัมผัสกบั ความรอน ทําใหแหงเรว็ และสมํา่ เสมอ สวนมากตูอ บแสงอาทิตยนี้จะใชก บั
พวกผัก ผลไม และธัญพชื ขอดสี าํ หรับการใชตอู บที่ใชค วามรอ นจากแสงอาทิตย คอื

(1) ไดผลติ ภณั ฑสีสวย และสมาํ่ เสมอ
(2) สะอาดเพราะสามารถควบคุมไมใหฝนุ ละอองหรือแมลงเขา ไปได

131

(3) ใชเวลานอยกวาการตากแดดตามธรรมชาติทําใหประหยัดเวลาในการตากได
ประมาณหน่ึงในสาม

(4) ประหยดั พ้ืนทใ่ี นการตาก เพราะในตอู บสามารถวางถาดที่จะใสผลผลิตไดหลายถาด
หรอื หลายชั้น

(5) ประหยัดแรงงาน เพราะไมตองเก็บอาหารท่ีกําลังตากเขาที่รมในตอนเย็นและ
เอาออกตากในตอนเชาเหมอื นสมัยกอ น ซ่ึงมีผลทําใหต นทุนในการผลติ อาหารแหง ลดลง

เครื่องอบแหงแบบลูกกลิ้ง

เคร่ืองอบแหง ดว ยลมรอนแบบตหู รือถาด
2) เครอ่ื งอบแหง ทใี่ ชความรอ นจากแหลง อ่ืน ความรอนท่ีใชกับเครอื่ งอบประเภทน้สี วนมากจะได
จากกระแสไฟฟา หรือแกส สวนมากใชในระดับอตุ สาหกรรมซึ่งมีหลายแบบหลายขนาด โดยใชหลักการ
ทีแ่ ตกตา งกันแลว แตป ระโยชนของการใชส อย เชน

(1) เคร่ืองอบแหงดวยลมรอนแบบตูหรือถาด ตูอบบุดวยวัสดุที่เปนฉนวนมีถาดสําหรับ
วางอาหารทีจ่ ะอบ เคร่อื งมือชนดิ นจี้ ะใชอ บอาหารท่มี ปี รมิ าณนอ ย หรือสาํ หรับงานทดลอง

(2) เคร่อื งอบแหง ดวยลมรอนแบบตอเนื่อง มีลักษณะคลายอุโมงค นําอาหารที่ตองการ
อบแหงวางบนสายพานที่เคลื่อนผานลมรอนในอุโมงค เม่ืออาหารเคลื่อนออกจากอุโมงคก็จะแหงพอดี
ตัวอยา งอาหาร เชน ผัก หรือ ผลไมอ บแหง เปน ตน

(3) เคร่ืองอบแหงแบบพนฝอย การทํางานของเคร่ืองอบแบบนี้ คือ ตองฉีดของเหลวที่
ตองการทาํ ใหแ หง พน เปน ละอองเขาไปในตทู ่มี ลี มรอ นผา นเขามา เชน กาแฟผงสําเร็จรูป ไขผง นํ้าผลไม
ผง ซบุ ผง เปน ตน

(4) เคร่ืองอบแหงแบบลูกกลิ้งเคร่ืองทําแหงแบบนี้ใหความรอนแบบนําความรอน
ซ่งึ ประกอบดว ยลกู กลิ้งทาํ ดวยเหล็กปลอดสนิม อาหารที่จะทําแหงตองมีลักษณะขนและปอนเขาเคร่ือง
ตรงผิวนอกของลกู กล้ิงเปนแผนฟลม บาง ๆ ความรอ นจะถา ยเทจากลูกกล้งิ ไปยงั อาหาร

(5) เครือ่ งอบแหงแบบเยอื กแขง็ ประกอบดว ยเครื่องที่ทาํ ใหอาหารเย็นจัด (freezer) แผน
ใหความรอนและตูสุญญากาศ หลักการในการทําแหงแบบน้ี คือ การไลน้ําจากอาหารออกไปในสภาพ

132

สุญญากาศ การถา ยเทความรอนเปนแบบการนําความรอน ตัวอยางผลิตภัณฑที่ประสบความสําเร็จมาก
ทส่ี ดุ คือ กาแฟผงสําเร็จรปู

(6) ตูอบแหงแบบท่ีใชไมโครเวฟ ขณะน้ีไดมีการใชไมโครเวฟคลื่นความถ่ี 13x106
ไซเกิล เพื่อลดความชื้นของผกั เชน กะหล่าํ ปลแี ละผลติ ภณั ฑทไี่ ดจะมคี ณุ ภาพดี สสี วย ตัวอยางผลิตภัณฑ
ท่ีใชตูอบแหงแบบไมโครเวฟรวมกับการใชสุญญากาศ คือ ผลิตภัณฑน้ําสมผง ซ่ึงยังคงคุณภาพของ
สี กลน่ิ และรสของสม ไว

เรือ่ งท่ี 4 การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง

ปจ จบุ นั ความกา วหนา ทางเทคโนโลยใี นดา นจุลชีววิทยามีมากข้ึน สามารถใชกระบวนการหมัก
เพ่ือผลิตผลิตภัณฑใหม ๆ ไดมากขึ้น และมีการใชจุลินทรียบริสุทธิ์และสายพันธุที่มีประสิทธิภาพให
ผลผลิตสูงสุด ซีอ้ิวและเตาเจี้ยว ผลิตภัณฑท้ัง 2 ชนิดนี้ มักจะผลิตพรอมกัน เนื่องจากใชวัตถุดิบอยาง
เดยี วกัน ในปจจุบนั มีการใชสปอรเ ชอ้ื รา แอสเพอรจ ิลลัส ฟลาวสั โคลมั นารสิ เพอ่ื ผลติ ซีอ้ิว ทําใหไดซีอิ้ว
ที่มคี ณุ ภาพสม่าํ เสมอตลอดป ซง่ึ เดมิ เคยมีปญหาเร่อื งการปนเปอ นจากเชอ้ื ราชนิดอ่ืน ๆ ในฤดฝู น ทําใหได
ซอี ้ิวทมี่ ีคุณภาพไมด เี ทา ทีค่ วร และทส่ี ําคัญยง่ิ คือ สปอรเ ช้ือราท่ใี ชต อ งไมส รางสารอฟลาทอกซิน ซ่ึงเปน
สารกอมะเร็ง

เรอ่ื งท่ี 5 การถนอมอาหารโดยใชร งั สี

รังสี หมายถึง คลื่นแสงหรือคลายกับแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นท้ังสั้นและยาว การแผรังสีของ
สารกัมมันตภาพมลี ักษณะคลา ยสายน้าํ ของอนุภาค หรอื คลนื่ ซง่ึ มาจากหนว ยเลก็ ท่สี ุดของสสารคือปรมาณู
ธาตุชนิดหนึ่งประกอบดว ยปรมาณูชนดิ ตาง ๆ ซึง่ มลี กั ษณะทางเคมเี หมอื นกันแตม นี ้าํ หนกั ตางกนั ปรมาณู
ชนิดตาง ๆ ของธาตุเดยี วกนั แตมีนํา้ หนักแตกตา งกันนีเ้ รียกวา ไอโซโทป รงั สีทใ่ี ชใ นการถนอมอาหารนัน้
อาจใชรงั สีใดรงั สหี นึง่ ดงั น้ี

1) รังสีแกมมา เปนรังสีที่นิยมใชมากในการถนอมอาหาร สารที่เปนตนกําเนิดรังสีน้ี คือ
โคบอล-60 หรือซเี ซียม-137

2) รงั สีเอกซ ไดจ ากเคร่อื งผลติ รงั สเี อกซท ีท่ ํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวา หรือ เทากับ 5 ลาน
อเิ ล็กตรอนโวลต

3) รังสีอิเล็กตรอน ไดจากเครื่องผลิตรังสีอิเล็กตรอนที่ทํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวาหรือ
เทากบั 10 ลา น อิเล็กตรอนโวลต

5.1 หลกั การถนอมอาหารดวยรงั สี
รังสีท่ีฉายลงไปในอาหารจะไปทําลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียหรือทําใหการ
เปลยี่ นแปลงทางเคมีลดลง ซงึ่ มีผลทาํ ใหการเก็บรักษาอาหารน้ันมีอายุยืนนานโดยไมเนาเสีย ทั้งน้ีข้ึนอยู
กับชนดิ ของอาหารและปรมิ าณรงั สที อ่ี าหารไดร ับและวตั ถุประสงคในการฉายรงั สี ซ่งึ พอจะสรุปไดดังนี้

133

1) ควบคุมการงอกของพืชผักในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบนอาหาร
ประมาณ 0.05-0.12 กโิ ลเกรย ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารนั้นมีปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดได
ถงึ 0.15 กโิ ลเกรย เชน กระเทียม หอมใหญ มนั ฝรง่ั เปนตน ซึ่งสามารถควบคุมการงอกและลดการสูญเสีย
นา้ํ หนกั ในระหวา งการเกบ็ ในหอ งเย็นไดน านกวา 6 เดือน

2) การควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบน
อาหารประเภทนี้ประมาณ 0.2-0.7 กิโลเกรย และกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารน้นั มปี ริมาณรังสี
เฉล่ียสูงสุดได 1 กโิ ลเกรย เชน ขาว ถวั่ เครื่องเทศ ปลาแหง เปนตน ซง่ึ รงั สีจะทําลายไขแมลงและควบคุม
การแพรพันธุของแมลงและตวั หนอนในระหวางการเก็บรักษา หรอื ระหวา งรอการจาํ หนา ย

3) ยดื อายกุ ารเกบ็ รักษาอาหารสด การฉายรังสีอาหารทะเลและเนอื้ สตั วดว ยรงั สีประมาณ
1-3 กโิ ลเกรย จะชวยลดปริมาณแบคทีเรียลงไดมาก ทาํ ใหสามารถเก็บรกั ษาไดนานข้ึน แตทั้งนี้ตองบรรจุ
ในภาชนะและเก็บในหองเย็น สวนผลไม เชน มะมวง กลวย ถาฉายรังสีดวยปริมาณ 0.3-1 กิโลเกรย
จะชะลอการสุกและควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ทําใหอายุการเก็บนานข้ึน
สวนสตรอเบอร่ี ถาฉายรังสีดวยประมาณ 3 กิโลเกรย จะชวยทําลายจลุ นิ ทรียท่ีเปนสาเหตุทําใหเนาเสียลง
บางสวน ทําใหย ืดอายกุ ารเกบ็ รักษาหรอื ในระหวางการจําหนายและการฉายรังสี ประมาณ 1-2 กิโลเกรย
จะสามารถชะลอการบานของเห็ด ทําใหก ารจาํ หนา ยมรี ะยะนานข้นึ

4) ทําลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภัณฑที่ทําจากเนื้อสัตวอาจมีพยาธิหรือเชื้อ
โรคติดอยูได เชน พยาธิใบไมตับที่มีในปลาดิบ สามารถทําลายไดดวยรังสีต่ําประมาณ 0.15 กิโลเกรย
แหนมซึง่ เปน ผลติ ภณั ฑจ ากหมูทค่ี นไทยนิยมรบั ประทานดิบ ๆ ถาฉายรังสีในประมาณ 2-3 กิโลเกรย จะ
เพียงพอทจ่ี ะทําลายเชอื้ ซาลโมเนลลา ซงึ่ เปนสาเหตุทําใหเกิดทองรวงและทําลายพยาธิท่ีอาจจะติดมากับ
เน้ือหมูกอนทําแหนมก็ได

5.2 กระบวนการฉายรงั สี
ในประเทศไทยการฉายรังสีอาหาร ควบคุม และดําเนินการโดย สํานักงานพลังงานปรมาณูเพ่ือ
สนั ติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยแี ละการพลังงาน สวนมาตรฐานเก่ียวกับปริมาณของรังสีที่ใชและ
ความปลอดภยั ตอ งเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ อาหารที่จะผานกระบวนการฉายรังสีมี
ทัง้ ผลผลิตการเกษตรหลงั การเก็บเกี่ยว และผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปและกึ่งสําเร็จรูป ดังน้ัน การบรรจุ
หีบหออาจมคี วามจําเปน ตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑ เชน แหนม หมูยอ ซึ่งหอหุมดวยใบตอง สวนหอมใหญ
มันฝรัง่ ไมม สี งิ่ หอหมุ เปน ตน ในการฉายรงั สผี ลิตผลเหลาน้ีตองบรรจุในภาชนะหรือหีบหอท่ีเหมาะสม
นําไปผานพลังงานคลื่นไฟฟาในรูปของรังสี ซ่ึงอยูในตึกแยกหางจากตึกกําเนิดรังสีและไดรับการ
ออกแบบใหม่ันคงแข็งแรงไดมาตรฐานดานความปลอดภัย เปนหลักประกันวาจะไมเปนอันตรายหรือ
กอ ใหเกิดปญหาส่ิงแวดลอมตอ ชมุ ชนได

134

5.3 ปรมิ าณรังสีทีใ่ ชใ นการถนอมอาหาร
หนว ยของรงั สเี รยี กวา เกรย อาหารใดกต็ ามเม่ือผา นการฉายรังสแี ลว รังสไี ดคายหรอื ถา ยพลังงาน
ใหเ ทากบั 1 จลู ตออาหารจาํ นวน 1 กิโลกรมั เรียกวา 1 เกรย หนวยของรงั สีวัดเปนแรด ซง่ึ 100 แรดเทา กับ
1 เกรย และ 1,000 เกรยเทากับ 1 กิโลเกรย องคการอนามัยโลก และทบวงการพลังงานปรมาณูระหวาง
ประเทศ ไดสรุปวา การฉายรงั สีอาหารใดกต็ ามดวยระดบั รงั สี ไมเกิน 10 กิโลเกรย จะมีความปลอดภัยใน
การบริโภค และไมทําใหค ณุ คา ทางโภชนาการเปลย่ี นแปลงไป แตอ ยางไรก็ตามปริมาณของรังสีที่อาหาร
ไดรับตองเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงแตกตางกันตามชนิดของอาหารและตาม
วัตถุประสงคว า ดวยการถนอมอาหารในระดับตา ง ๆ
5.4 การแสดงฉลาก
อาหารอาบรงั สีตอ งมฉี ลากแสดงขอความเพอื่ ใหผบู รโิ ภคไดรบั ทราบขอ มูล ซึง่ เปนประโยชนใน
การเลอื กซอ้ื อาหารมาบรโิ ภค โดยในฉลากจะตอ งระบุรายละเอียดดังตอไปนี้
1) ชอ่ื และทตี่ ั้งของสาํ นักงานใหญของผผู ลิตและผฉู ายรังสี
2) วัตถปุ ระสงคใ นการฉายรงั สี โดยแสดงขอ ความวา "อาหารทีไ่ ดผ านการฉายรงั สเี พื่อ........แลว"
(ความทีเ่ วน ไวใ หร ะบวุ ัตถปุ ระสงคข องการฉายรังส)ี
3) วนั เดอื นและปท ี่ทาํ การฉายรังสี
4) แสดงเคร่ืองหมายวาอาหารนัน้ ๆ ไดผ านการฉายรงั สแี ลว
อาหารสําเร็จรูป หมายถึง อาหารที่ผูขายปรุงไวเรียบรอยแลว ผูซื้อสามารถนําไปอุนหรือ
รบั ประทานไดทนั ที อาหารสาํ เร็จรปู น้ีรวมถงึ อาหารทีผ่ ูบริโภคส่ังใหประกอบหรือปรุงใหม การเลือกซ้ือ
ควรสงั เกตสถานทข่ี ายสะอาด ภาชนะใสอาหารมสี งิ่ ปกปด กันแมลงและฝุนละออง ผูขายแตงกายสะอาด
ถกู หลักสขุ าภบิ าลอาหาร
อาหารสําเร็จรูปท่ีพรอมบริโภคทันที หมายถึง อาหารท่ีผลิตเรียบรอยพรอมบริโภคที่บรรจุใน
ภาชนะพรอมจําหนา ยไดทนั ที เชน นาํ้ พริกสาํ เร็จรปู (น้ําพริกเผา น้าํ พริกสวรรค น้าํ พริกตาแดง แจวบอง)
ขนมตาง ๆ (ขนมรังแตน ขาวแตน กระยาสารท ทองมวน ทองตัน ทองพับ กรอบเค็ม กระหรี่ปป
ขา วเกรยี บทท่ี อดแลว ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมปงกรอบ คุกก้ี เอแคร ขนมอบกรอบ ขนมขบ
เคีย้ ว) พชื ผักและผลไมแปรรปู (กลว ยตาก กลวยฉาบ กลวยอบเนย กลวยกวน สับปะรดกวน มะมวงดอง
ฝรั่งดอง มะยมหยี มะมวงหยี ฝรั่งหยี มะดันแชอิ่ม มะมวงแชอิ่ม) ผลิตภัณฑจากสัตว (ไขเค็มตมสุก หมู
หยอง หมทู บุ หมแู ผน หมูสวรรค ปลาแผน หมูแผน เน้ือสวรรค ฯลฯ)
อาหารพรอ มปรงุ หมายถึง อาหารท่ีผูขายจัดเตรียมวัตถุดิบ พรอมเคร่ืองปรุงไวเปนชุดผูบริโภค
สามารถซ้อื แลว นาํ ไปประกอบเองที่บาน ควรสังเกตวัน เดอื น ป ทผ่ี ลติ หรือวันหมดอายเุ พราะลักษณะของ
อาหารยงั ไมไดผ า นความรอ น มโี อกาสบดู เสยี หรอื เสอ่ื มคุณภาพไดมากท่ีสุด

135

เร่ืองท่ี 6 อาชพี จาํ หนา ยอาหารสําเร็จรูปตามหลักสุขาภบิ าล

อาชพี จําหนายอาหารสําเรจ็ รปู คือ กระบวนการเคล่ือนยา ยผลิตภัณฑจากผูผลิตอาหารสําเร็จรูป
ไปยงั ผูบรโิ ภค โดยคาํ นึงหลกั สุขาภบิ าล ตั้งแตข้ันตอนการผลิต การบรรจุหีบหอ บรรจุภัณฑ การขนสง
และการจดั เกบ็ เพอื่ รอจําหนาย กระท่งั ผลิตภณั ฑถ งึ ผบู ริโภค ดังรูป

กระบวนการผลติ การขนสงและ ผูบ ริโภค
และบรรจุภณั ฑ เก็บรักษา

ชองทางการจัดจําหนาย ประกอบดวย ผูผลิต คนกลาง และผูบริโภค ซึ่งอาจจะใชชองทางตรง
จากผูผ ลิตไปยงั ผบู ริโภค และใชช อ งทางออ ม จากผผู ลิต ผา นคนกลาง ไปยงั ผูบ รโิ ภค ดงั รปู

ผูผลติ ผบู รโิ ภค

ผผู ลติ คนกลาง ผูบรโิ ภค

ตลาดผลติ ภณั ฑอ าหารสําเร็จรปู
1. ตลาดภายในประเทศ
2. ตลาดระหวางประเทศระดับอาเซียน
3. ตลาดระหวางประเทศระดบั ภมู ภิ าคอน่ื ทว่ั โลก
สวนประสมทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง การดําเนินงานเก่ียวกับ

การผลิต การจําหนาย การกาํ หนดราคา และการสงเสรมิ การขายไดส ดั สวนกัน เหมาะสมกบั ความตองการ
ของลกู คา สภาพการแขงขนั และสอดคลอ งกับความตอ งการของสงั คม (หรอื เรียกวา 4Ps)

136

1. Product หมายถึง ผลติ ภัณฑอ าหารสําเร็จรูปถูกหลกั สุขาภบิ าลและตรงตามความตองการของ
ลูกคา

2. Price หมายถงึ ราคามีความเหมาะสม ลูกคาพงึ พอใจและยอมรับ
3. Place หมายถึง การจัดจาํ หนายโดยพิจารณาชองทางการจาํ หนาย หรือขายผานคนกลาง หรือ
พิจารณาการขนสงวา มีบทบาทในการแจกตัวอยางสินคาไดอยางไร หรอื ขั้นตอนการเกบ็ รกั ษาเพื่อรอ
จาํ หนา ย ท้งั น้ีตองคาํ นงึ ถงึ หลักสุขาภบิ าล
4. Promotion หมายถึง การสงเสริมการตลาด การใชส่ือตาง ๆ ใหเหมาะสมกับตลาดเปาหมาย
หรือการส่อื สารใหลกู คาไดทราบสถานทจ่ี ดั จําหนา ยสินคา ราคา ซงึ่ ประกอบดวยกระบวนการ คอื
การขายโดยใชพนกั งานขาย การสงเสริมการขายดวยวิธีการแจกของตัวอยาง แจกคูปอง ของแถม การใช
แสตมปเ พอ่ื แลกสินคา ตลอดจนการใหรางวัลตาง ๆ และการประชาสัมพันธ
รปู แบบการขาย
1. การขายสง หมายถึง การขายสนิ คา ใหกบั ผซู อื้ โดยการขายแตล ะครั้งจะมีปริมาณ จํานวนมาก
เพอ่ื ใหราคาสินคา มรี าคาถกู มากพอท่ีจะนาํ ไปขายตอได
2. การขายปลีก หมายถึง การขายสินคาและบริการแกลูกคาท่ีซ้ือสินคาและบริการไปใชสนอง
ความตอ งการของตนเองโดยตรง มิใชเ พือ่ ธุรกิจการขายตอ
3. การขายตรง หมายถึง การทําตลาดสินคาหรือบริการในลักษณะของการนําเสนอขายตอ
ผูบริโภคโดยตรง ณ ท่ีอยูอาศัยหรือสถานท่ีทํางานของผูบริโภคหรือของผูอื่น หรือสถานที่อ่ืนที่มิใช
สถานทีป่ ระกอบการคาเปน ปกติธุระ โดยผา นตัวแทนขายตรงหรอื ผูจาํ หนา ยอสิ ระชน้ั เดียวหรอื หลายชัน้
การเลอื กทําเลสาํ หรบั การประกอบอาชีพ สิ่งแรกที่ตองทํากอนคือ การหาทําเลท่ีดี เหมาะสมกับ
ธรุ กจิ โดยจะตองคํานึงถงึ แหลง ประกอบการหรอื ผผู ลติ ปรมิ าณลกู คา และการคมนาคมทีส่ ะดวก

เรอ่ื งท่ี 7 การจดั ตกแตงรา นและการจัดวางสนิ คา อาหารสําเร็จรปู ตามหลักสุขาภบิ าล
การจัดตกแตง รา นคา มีความสาํ คัญตอ งคาํ นึงถึงส่งิ ตอ ไปน้ี

1. แสงสวางภายในราน แสงสวางธรรมชาติมักไมเพียงพอและแสงแดดมักทําความเสียหาย
ใหแ กสินคา การใชแสงไฟฟา แมจ ะมีคา ใชจา ยสูงแตก จ็ ูงใจลูกคา ใหเขา มาซื้อสินคาไดม ากกวารานที่
ดมู ั่วซ่ัว ในรานควรเลอื กใชแสงจากหลอดฟลอู อเรสเซนต กอนตดั สินใจเร่อื งแสงสวา งควรรูว า คาไฟฟา
จะเปนสักเทาใด และตอ งใชจ าํ นวนก่ีดวงถงึ จะคุมคา กับการขายสนิ คาดว ย

2. การตกแตงสีภายนอกและภายในราน นอกจากการทาสีรานคาใหสดใสสวาง สวยงามแลว
สีของหีบหอ และตัวสนิ คาก็สามารถนํามาตกแตงใหรานคาดูดีข้ึนจะตองใหผูคนเห็นสินคา ชัดเจนและ
สวยงาม

137

3. การจัดวางสินคาบริเวณทางเขาราน ใกล ๆ ทางเขาราน เปนที่เหมาะสําหรับจัดวางสินคาท่ี
ตอ งการเสนอขายเปนพเิ ศษ เพราะเปนทีท่ ล่ี กู คา ทุกคนตอ งเดินผา นเขา ออก จงึ ตอ งจดั สินคา ไวบ รเิ วณนใี้ ห
เตะตาจริง ๆ โดยเฉพาะบริเวณโตะชําระเงินที่ลูกคาเขาแถวรอท่ีจะชําระเงิน ควรหาของเล็ก ๆ นอย ๆ
ท่ลี กู คาอาจลมื ซือ้ มาจัดวางไว

4. การจัดหมวดหมูของสินคา สินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน หรือใชรวมกันจะตองจัดวางไว
ดว ยกนั เชน นาํ้ ดมื่ เครื่องด่มื ประเภทน้าํ อัดลม ประเภทขนมปง สดและเบเกอรี่ ขนมขบเคีย้ ว เปนตน

5. การติดปายบอกประเภทของสินคา เพื่อใหรูวาสินคาอยูที่ใด เปนการติดปายบอกชนิดของ
สินคาตามท่จี ดั ไว เปนหมวดหมแู ลว เพือ่ สะดวกในการคนหาสินคา ตามทลี่ กู คาตองการ อาจจะติดไวตาม
ผนังหอง และก่ึงกลางเหนือช้ันวางของ สินคาใดวาง ณ จุดใด ควรวางอยูเปนประจํา และไมควร
เปล่ยี นแปลงที่วางสนิ คาบอ ยเกนิ ไป เพราะจะทําใหลกู คา ตอ งเสียเวลาคนหาในคร้ังตอไปท่ีแวะเขามาซ้ือ
สนิ คา ที่รา น

6. การตดิ ปายราคาสนิ คา ปจ จุบนั ลูกคาสวนใหญมักสนใจในรายละเอียดของสินคาเพิ่มมากขึ้น
ท้ังรูปแบบของบรรจุภัณฑ ช่ือสินคา คําแนะนําการใชผลิตภัณฑน้ันๆ วันผลิตและวันหมดอายุ ดังน้ัน
จะตอ งติดปายบอกราคาเพมิ่ ใหก ับตัวสินคาซง่ึ เปน สง่ิ สําคญั ท่สี ดุ ลงไปดว ย คือ ตองติดราคาบอกไวบนตัว
สินคา ทกุ ช้ินให ชัดเจนพอท่ีลูกคาและพนักงานเก็บเงินจะอานได หรือ สินคาบางประเภทที่ขายกันเปน
จาํ นวนมาก อาจจะตดิ ราคาในรปู ของแผน ปา ยหรอื โปสเตอร จะเปน การชว ยประหยดั แรงงานและเวลาได
หากเปนสินคาชนิดเดียวกันแตตางย่ีหอกัน อาจจะติดราคาไวท่ีชั้นวางสินคาจะชวยใหลูกคาเห็นและ
เปรียบเทียบราคากันได ถึงแมวาจะตองใชเวลาและแรงงานในการติดราคากันใหม เมื่อสินคามีราคา
เปลี่ยนแปลงใหม แตก็เปนการใหประโยชนและรายละเอียดเพ่ิมเติมรวมถึงความสะดวกกับลูกคา
ทง้ั ยงั เปน การสะดวกในการเรียกเกบ็ เงินคา สินคาอกี ดวย

138

การจัดวางสินคา มคี วามสําคญั ตอการจูงใจลูกคาใหเลือกซ้ือสินคา เพื่อใหสะดวกและเกิดความ
พงึ พอใจควรคาํ นึงถึงสง่ิ ตอไปนี้

1. ความพงึ พอใจของลกู คา
2. จดั สนิ คาไวในบริเวณทีเ่ ราจะขาย
3. จดั สินคาไวใ นระดบั สายตาใหมากที่สุด
4. จดั สนิ คา ดานหนาบนช้นั ใหเ ตม็ อยูเสมอ
5. ช้นั ปรับระดับไดต ามขนาดของสินคาจะเปน การดี
6. การใชกลอ งหนุนสินคา ใหด ูงดงามแมจ ะมีสินคาไมมากนกั
7. ความเปนระเบียบเรียบรอย สินคาบางชนิด มีหลายแบบ หลายขนาด ควรจัดใหเปนระเบียบ
สะดวกในการเปรียบเทียบของลูกคา ดังนั้น สินคาที่เหมือน ๆ กันควรเอาไวดวยกัน และควรจัดตาม
แนวนอนอยูใ นระดับเดยี วกนั หรือจะจดั ในแนวดิง่ ดว ยกไ็ ด
8. สินคา มากอ นตองขายกอน เราตอ งขายสินคาเกา กอนสนิ คาใหมเสมอ พยายามวางสินคา มากอ น
ไวแถวหนา เสมอ ควรทําสนิ คาทมี่ ากอนใหดูสดใสสะอาดเหมอื นสินคาใหม
9. ปองกนั หลีกเลี่ยงการรวั่ ไหลของสนิ คา โดยการจดั วางผังทางเดนิ ภายในรานใหล ูกคา เดินไปมา
ไดสะดวก คือ หยิบก็งา ย หายก็รู สนิ คาบบุ ชํารุด ใกลห มดอายุควรจัดเปนสินคาลดราคาพิเศษ ลางสต็อก
ดว ยการจัดแยกขายไวตา งหาก
การจัดการและดูแลคลงั สินคาตามหลักสขุ าภบิ าล
การจัดการคลังสินคา เปนการจัดการในการรับ การจัดเก็บ หมายถึง การจัดสงสินคาใหผูรับ
เพ่ือกิจกรรมการขาย เปาหมายหลักในการบริหาร ดําเนินธุรกิจ ในสวนที่เกี่ยวของกับคลังสินคา
ก็เพื่อใหเ กิดการดําเนนิ การเปน ระบบใหค ุม กบั การลงทนุ การควบคมุ คุณภาพของการเก็บ การหยิบสินคา
การปอ งกนั ลดการสญู เสียจากการดาํ เนนิ งานเพือ่ ใหต น ทุนการดําเนินงานต่ําที่สุด และการใชประโยชน
เต็มทีจ่ ากพนื้ ท่ี
คุณลักษณะเพอื่ ความเปนเลิศในงานขาย
การบริการทดี่ จี ะเกดิ ขึ้นจากตัวบคุ คล โดยอาศัยทักษะ ประสบการณ เทคนิคตาง ๆ ท่ีจะทําให
ผรู ับบรกิ ารเกดิ ความพงึ พอใจ และอยากกลับเขา มาใชบรกิ ารอีก มีดงั ตอไปน้ี
 ตองมีจิตใจรักในงานดานบริการ (Service Mind) ผูใหบริการตองมีความสมัครใจทุมเทท้ัง
แรงกายและแรงใจ มคี วามเสยี สละ ผทู จี่ ะปฏบิ ัตหิ นาทไ่ี ดต อ งมใี จรกั และชอบในงานบริการ
 ตอ งมีความรูใ นงานท่ใี หบริการ (Knowledge) ผูใหบ ริการตองมคี วามรูใ นงานทีต่ นรับผิดชอบ
ท่ีสามารถตอบขอซักถามจากผูรับบริการไดอยางถูกตองและแมนยํา ในเรื่องของสินคาที่นําเสนอ
เพื่อมิใหเกิดความผิดพลาด เสียหายและตองขวนขวายหาความรูจาก เทคโนโลยีใหม ๆ เพ่ิมข้ึนอยาง
สมํ่าเสมอ

139

 มีความชางสังเกต (Observe) ผูทํางานบริการจะตองมีลักษณะเฉพาะตัวเปนคนมีความชาง
สังเกต เพราะหากมีการรบั รูวาบริการอยา งไรจึงจะเปนท่ีพอใจของผรู ับบรกิ ารกจ็ ะพยายามนํามา
คิดสรางสรรค ใหเกิดบริการที่ดียิ่งขึ้น เกิดความพอใจและตอบสนองความตองการของลูกคาหรือ
ผูรับบรกิ ารได มากยิง่ ขึน้

 ตองมคี วามกระตอื รือรน (Enthusiasm) พฤตกิ รรมความกระตือรือรน จะแสดงถึงความมจี ติ ใจ
ในการตอนรับ ใหช วยเหลือแสดงความหว งใย จะทําใหเกดิ ภาพลกั ษณท ่ดี ี ในการชว ยเหลือผรู บั บริการ

 ตอ งมกี ิริยาวาจาสภุ าพ (Manner) กิรยิ าวาจาเปนสิ่งที่แสดงออกจากความคิด ความรูสึกและ
สงผลใหเ กิดบุคลิกภาพท่ีดี ดังนัน้ เพ่อื ใหลูกคาหรือผรู ับบรกิ ารมีความสบายใจทีจ่ ะตดิ ตอ ขอรบั บริการ

 ตอ งมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรางสรรค (Creative) ผูใ หบ รกิ ารควรมีความคิดใหม ๆ ไมควรยึดติดกับ
ประสบการณหรือบริการท่ีทําอยู เคยปฏิบัติมาอยางไรก็ทําไปอยางนั้นไมมีการปรับเปล่ียนวิธีการ
ใหบ รกิ าร จึงควรมีความคิดใหม ๆ ในการปฏิรูปงานบริการใหด ีขึ้น

 ตอ งสามารถควบคุมอารมณได (Emotional control) งานบริการเปนงานที่ใหความชวยเหลือ
จากผอู ืน่ ตองพบปะผูคนมากมายหลายชนชน้ั มีการศกึ ษาทีต่ างกัน ดังน้ัน กิริยามารยาทจากผูรับบริการ
จะแตกตา งกัน เม่อื ผูรับบรกิ ารไมไดด ังใจ อาจจะถูกตําหนิ พูดจากาวรา ว กริ ิยามารยาทไมดี ซงึ่ ผใู หบ รกิ าร
ตองสามารถควบคุมสตอิ ารมณไ ดเปน อยางดี

 ตองมีสติในการแกปญหาท่ีเกิดข้ึน (Calmness) ผูรับบริการสวนใหญจะติดตอขอความ
ชว ยเหลอื ตามปกติ แตบ างกรณีลูกคาทม่ี ปี ญหาเรงดวน ผใู หบ รกิ ารจะตองสามารถวเิ คราะหถึงสาเหตุและ
คดิ หาวธิ ใี นการแกไขปญหาอยา งมสี ติ อาจจะเลือกทางเลอื กท่ีดีที่สุดจากหลายทางเลือกในการใหบริการ
แกลกู คา

 มีทศั นคติตองานบรกิ ารดี (Attitude) การบรกิ ารเปน การชว ยเหลอื ผูทํางานบริการเปนผูให
จึงตองมีความคิดความรูสึกตองานบริการในทางท่ีชอบ และเต็มใจที่จะใหบริการ ถาผูใดมีความคิด
ความรสู กึ ไมชอบงานบริการ แมจ ะพอใจในการรบั บริการจากผูอ นื่ กไ็ มอาจจะทํางานบริการใหเปนผลดี
ได ถาบุคคลใดมีทัศนคติตองานบริการดี ก็จะใหความสําคัญตองานบริการ และปฏิบัติงานอยางเต็มที่
เปน ผลใหงานบริการมคี ณุ คา และนําไปสูความเปน เลิศ

 มีความรับผิดชอบตอลูกคาหรือผูรับบริการ (Responsibility) ในดานงานทางการตลาด และ
การขาย และงานบริการ การปลกู ฝง ทศั นคติใหเ หน็ ความสําคัญของลกู คา หรือผูรับบริการดวยการยกยอง
วา “ลูกคาคือบุคคลท่ีสําคัญท่ีสุด” และ “ลูกคาเปนฝายถูกเสมอ” ท้ังนี้ก็เพื่อใหผูใหบริการมีความ
รับผิดชอบตอ ลกู คาอยางดีทส่ี ุด

140

เรอ่ื งท่ี 8 พฤติกรรมผบู รโิ ภคกับชองทางการจําหนา ยอาหารสาํ เร็จรูป

พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การแสดงออกรวมท้ังกระบวนการในการ
ตดั สินใจของแตล ะบุคคลทเ่ี กีย่ วของโดยตรงกับการใชส ินคาและบริการ
ประโยชนข องการศึกษาพฤตกิ รรมผูบรโิ ภค

1. ชวยใหนกั การตลาดเขาใจถึงปจจัยทีม่ ีอิทธิพลตอ การตัดสินใจซือ้ สินคา ของผูบ รโิ ภค
2. ชว ยใหผเู ก่ยี วขอ งสามารถหาหนทางแกไ ขพฤตกิ รรมในการตัดสนิ ใจซ้ือสินคา ของผบู รโิ ภคใน
สงั คมไดถูกตองและสอดคลอ งกับความสามารถในการตอบสนองของธรุ กจิ มากยิง่ ขึน้
3. ชวยใหก ารพฒั นาตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑส ามารถทาํ ไดดขี ้นึ
4. เพอ่ื ประโยชนในการแบง สวนตลาด เพ่อื การตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ใหตรงกับ
ชนิดของสินคาทีต่ อ งการ
5. ชว ยในการปรบั ปรุงกลยุทธก ารตลาดของธุรกจิ ตาง ๆ เพ่อื ความไดเ ปรียบคูแขงขัน
การประเมินความพงึ พอใจของผบู ริโภค
ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรูสกึ ภายในจติ ใจของมนษุ ยซ่ึงจะไมเหมือนกัน ซึ่งข้ึนอยูกับแตละ
บุคคลวา จะคาดหมายกบั สิ่งหน่ึงสิง่ ใด ถา คาดหวังหรือมคี วามตงั้ ใจมากเมอ่ื ไดรบั การตอบสนองดว ยดี จะมี
ความพึงพอใจมาก แตใ นทางตรงขา มอาจผดิ หวังหรือไมพ ึงพอใจเปนอยางย่งิ เมื่อไมไดรับการตอบสนอง
ตามทีค่ าดหวงั ไวหรือไดร ับนอยกวา ทค่ี าดหวังไว ทัง้ นีข้ น้ึ อยกู บั สิ่งท่ีตั้งใจไววาจะมมี ากหรือมีนอย
ปจจยั สาํ คัญเพือ่ ประเมินคณุ ภาพของการบริการ
1. ความสะดวก หมายถึง ความสะดวกในการเขาพบหรือติดตอกับผูใหบริการ ซ่ึงครอบคลุม
ทั้งเวลาท่ีเปดดําเนินการ สถานท่ีต้ังและวิธีการท่ีจะสามารถอํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภคในการ
เขา พบหรอื ตดิ ตอกบั ผใู หบ ริการ เชน สถานท่ีใหบ รกิ ารต้ังอยใู นทที่ ่สี ะดวกแกการไปตดิ ตอ เปน ตน
2. การตดิ ตอ สื่อสาร หมายถงึ การส่อื สารและใหข อมูลแกลูกคาดวยภาษาที่งายตอการเขาใจและ
การรับฟงความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะ หรือคําติชมของลูกคาในเรื่องตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการ
ใหบริการขององคการ
3. ความสามารถ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความรูความสามารถและทักษะที่จะปฏิบัติงาน
บรกิ ารไดเปนอยา งดี เชน ความรูแ ละทักษะใหข อ มูลผลติ ภณั ฑ เปน ตน
4. ความสุภาพ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความสุภาพเรียบรอย มีความนับถือในตัวลูกคา
รอบคอบ และเปนมิตรตอผูบริโภค เชน การใหบริการดวยใบหนาท่ีย้ิมแยมแจมใสและการส่ือสารดวย
ความสภุ าพ เปนตน
5. ความนาเช่ือถือ หมายถึง ความเชื่อถือไดและความซื่อสัตยของผูใหบริการ ช่ือเสียงและ
ภาพลกั ษณท ่ีดี
6. ความคงเสนคงวา หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีไดสัญญาไวอยางแนนอนและ
แมนยํา เชน การใหบ รกิ ารตามท่ีไดแจงไวกับแกล กู คา เปน ตน

141

7. การตอบสนองอยา งรวดเร็ว หมายถึง ความเต็มใจของผูใหบริการที่จะใหบริการอยางรวดเร็ว
เชน การใหบ รกิ ารแกผ รู ับบรกิ าร ณ เคานเตอรจ ายเงิน แบบทันทีทันใด เปนตน
การสาํ รวจความพงึ พอใจ

การสาํ รวจความพงึ พอใจลกู คาเปนเครื่องมือทสี่ าํ คัญและมบี ทบาทในการพฒั นาและปรับปรุงการ
ทาํ งานในองคก ารอยา งมาก ขอ มูลทีไ่ ดจ ากการสาํ รวจเปน ขอมลู ปอนกลับไปสูหนวยงานท่ีแสดงใหเห็น
ถงึ พฤติกรรมและความตองการของลกู คา เชน พฤติกรรมการเลอื กซ้ือ/ใชบริการ และเปนตัวช้ีวัดผลการ
ปฏิบัติงานขององคการท่ีแมนยํา เทคนิคการวัดความพึงพอใจ อาจเร่ิมจาก การสังเกต การสัมภาษณ
แบบสอบถาม จนถงึ กระบวนการทําวิจยั

มหาตมะ คานธกี ลาวไวว า
“ลูกคา คือ แขกคนสําคัญท่ีสุด ที่ไดมาเยือนเรา ณ สถานท่ีแหงนี้ เขามิไดมาเพ่ือพึ่งพิงเรา เรา
ตางหาก ท่ตี องพง่ึ พาอาศยั เขา เขามใิ ชบ ุคคลท่มี าขดั จงั หวะการปฏบิ ตั ิงานของพวกเรา หากแตวา การรับใช
เขาคอื วัตถปุ ระสงคแ หงงานของพวกเรา เขามิใชบ คุ คลแปลกหนาแตเขา คือ สวนหน่ึงของสถานท่ีแหงน้ี
บรกิ ารจากพวกเรา มใิ ชก ารสงเคราะหเขา เขาตา งหากทกี่ ําลงั สงเคราะหพวกเรา ดว ยการยอมใหพวกเรามี
โอกาสไดรบั ใชเ ขา”
การสงเสรมิ การขาย
การสง เสรมิ การขายเปน กิจกรรมทก่ี ระตุนการตัดสนิ ใจซ้ือสินคา หรือบรกิ าร โดยการจัดกิจกรรม
การตลาดและสงเสริมการขายตา ง ๆ เชน การเสนอของแถม การแสดงสนิ คา และการจัดวางสินคา การลด
ราคา การตลาดทางไกล การตลาดทางไปรษณีย และวธิ กี ารอื่น ๆ เพ่อื ชวยกระตุนยอดขาย
วธิ กี ารสง เสรมิ การขาย
 การสงเสรมิ การขายดานลดราคาสว นใหญเปนการลดราคาสินคา โดยอาจจะลดจากราคาขาย
ปกติ เชน การจดั โปรโมชนั่ ตาง ๆ เปน ชวงเวลา การลดราคา 25% ทกุ วนั พธุ เปน ตน หรอื การเพ่ิมปริมาณ
สนิ คา โดยขายราคาเทา เดิม เชน แลกตาซอย เอ็กตรา 300 เพ่ิมปริมาณแตไมเพิ่มราคา เปนตน ยอดขายที่
เพมิ่ ข้ึนจากการลดราคาน้ี จะมตี นทนุ จากกาํ ไรทลี่ ดลง การตดั สินใจใชก ลยุทธน้ีจึงควรตองพิจารณาอยาง
รอบคอบ และควรคาํ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ ชอ่ื เสียงของตราสนิ คาดวย
 การสง เสรมิ การขายโดยการใชคปู อง

คูปอง เปน อีกวิธกี ารหนงึ่ ในการลดราคา วัตถุประสงคห ลกั ของการใชก ารสงเสรมิ การขายโดย
ใชคูปอง คอื การกระตนุ ใหลูกคาใชค ูปองใหมากทส่ี ดุ โดยมีเทคนิคการแจกคูปองหลายอยาง ตัวอยางเชน

- การตดิ คูปองไวบนบรรจภุ ณั ฑเพื่อกระตุนการซื้อซ้าํ
- การแจกคปู องในหนงั สือพิมพ หรือนติ ยสารเพื่อใหผ บู รโิ ภคไปใชซ ื้อสนิ คา
 การสงเสริมการขายโดยการใหของแถมเปนวิธีท่ีมีใชกันมาก โดยลูกคาจะไดรับของแถม
เมอื่ ซ้อื ครบตามท่ีกําหนด เชน ซอื้ สนิ คาครบสิบชน้ิ ก็จะไดร ับของแถมหน่งึ ชนิ้ เปนตน

142

 การสงเสริมการขายโดยการแขงขันและใหรางวัลเปนอีกวิธีหนึ่งที่มีใชกันมากในปจจุบัน
โดยเฉพาะตามงานแสดงสินคาตาง ๆ ก็จะมสี าวสวย (Pretty) แตงตวั นารัก มากลาวแนะนาํ ถงึ สรรพคณุ ทีด่ ี
ของสนิ คา และจดั เกมสตอบคาํ ถามงา ย ๆ พรอมของรางวลั เล็ก ๆ นอ ย ๆ เพือ่ เรยี กรองความสนใจของลูกคา
ที่เดินผานไปมาและมีการแจกของชาํ รว ยเลก็ ใหกบั ผูท ่ีเขา รวมกจิ กรรมและตอบคําถามไดถ กู ตอ ง เปนตน

 การสงเสริมการขายโดยการชิงโชค ซ่งึ วิธนี ้กี ็อาจจะมีหลายวิธี แตท่ีนิยมกันก็คือ การแนบใบ
ลนุ รางวลั มาพรอมกับสินคา หรือใหตัดชิน้ สวน หรือ ปายฉลาก สต๊ิกเกอร อยางใดอยางหน่ึง สงไปรวม
ชิงโชค ซง่ึ วธิ ีการนก้ี จ็ ะตอ งระมัดระวังเร่อื งความสะดวกในการทจ่ี ะสงชิ้นสว น หรือช้ินสวนจะตองไมถ กู
แอบแกะอานดูกอ นทผ่ี ซู อ้ื จะเปน ผแู กะคนแรก

 การสง เสรมิ การขายสําหรับลกู คาประจํา เปนการกระตุนใหลูกคาประจํามาซื้อสินคาหรือใช
บริการบอย ๆ เชน สายการบิน มีการสะสมไมลเพื่อแลกเปนตั๋วเครื่องบินฟรี เมื่อสะสมไมลได
ตามท่กี าํ หนด หรอื รา นอาหารญปี่ นุ ฟูจิ หรอื เซน มกี ารประทับตราเมอ่ื รับประทานอาหารครบทุก 300 บาท
และนาํ มาแลกเปน บัตรสวนลด หรืออาหาร 1 จานเมื่อครบตามที่กําหนด เปนการกระตุนใหลูกคามาซื้อ
สนิ คา หรอื ใชบ รกิ ารบอย ๆ หรอื ปม น้ํามันมีการทําบตั รสมาชิกแลวใหส วนลดพิเศษสาํ หรับสมาชิก เปนตน

 การสง เสริมการขาย ณ จุดวางสินคามีผลการวิจยั พฤติกรรมผูบริโภคในรานคาปลีกออกมาวา
ยอดขายจะเพิ่มข้ึนถาลูกคาสามารถเห็นสินคา ณ จุดวางสินคา การจัดวางสินคาที่นาสนใจ ใหขอมูล
เหมาะสม และวางในตําแหนงที่สังเกตไดงาย จะชวยใหลูกคาซื้อสินคามากข้ึน ในปจจุบันจะเห็นไดวา
สินคา อุปโภคบริโภคที่วางจําหนา ยในซุปเปอรม ารเกต็ มกี ารจดั เรยี งเปนแถวอยางเปน ระเบยี บ ถาตองการ
ใหส นิ คาเปน ทีส่ งั เกตไดง าย พนื้ ทีว่ างสนิ คา ตอ งอยใู นระดับสายตา และตั้งวางสินคาเปนแถวอยางชัดเจน
และเปนระเบยี บ

 การสง เสริมการขายโดยการแจกสนิ คา ตวั อยางใหท ดลองใช วิธนี ี้ใหลูกคาไดทดลองใชสินคา
ดูกอน กอนท่ีจะตัดสินใจซ้ือ ซึ่งวิธีนี้ก็อาจสามารถดึงลูกคาท่ีใชสินคาของคูแขงอยูใหหันมาทดลอง
ของใหมโ ดยท่ไี มตอ งเสยี เงินซ้ือ เพราะบางคร้ังลูกคามีความคิดวาของท่ีใชอยูเดิมก็ดีท่ีสุดอยูแลว ทําไม
ตอ งไปเสยี เงินซอ้ื สนิ คาอื่นมาทดลองใช

อยา งไรก็ตาม การสงเสรมิ การขาย ควรยึดหลักทวี่ า ทาํ ส่ิงทงี่ า ย ๆ ทไี่ มใหลกู คา รสู กึ ยงุ ยาก
ในการทีจ่ ะเขารวมกจิ กรรมท่ีเราวางไว

เทคโนโลยเี พิม่ ชอ งทางการจําหนาย
E-Commerce การพาณิชยอิเลก็ ทรอนิกส คือ การดําเนินธุรกิจการคาหรือการซ้ือขายบนระบบ

เครือขายอินเทอรเนต โดยผูซื้อ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคา คํานวนเงิน ตัดสินใจซื้อ
สินคา โดยใชว งเงนิ ในบัตรเครดิต ไดโ ดยอัตโนมัติ ผูขาย (Business) สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบ
วงเงนิ บตั รเครดติ ของลกู คา รับเงนิ ชาํ ระคา สนิ คา ตัดสินคา จากคลังสินคา และประสานงานไปยังผูจัดสง
สนิ คา โดยอัตโนมัติ กระบวนการดงั กลาวจะดาํ เนนิ การเสร็จสิ้นบนระบบเครอื ขา ย Internet


Click to View FlipBook Version