The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpm2, 2021-12-16 02:38:38

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

แผนพัฒนาการศกึษาขั้นพื้นฐาน

พ.ศ.2563-2565

คำนำ

สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2 ได้จัดทำแผนพัฒ นำกำรศึกษำ
ข้ันพื้นฐำน พ.ศ.2563 - 2565 เพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทำงในกำรจัดทำแผนปฏิบัติกำรประจำปีของสำนักงำนเขต
พื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2 และใช้เป็นกรอบทิศทำงในกำรจัดทำแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ
และแผนปฏิบัติกำร ประจำปีของสถำนศึกษำในสังกัด ให้เกิดเอกภำพด้ำนนโยบำย แต่มีควำมหลำกหลำย
ในทำงปฏิบัติ แผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ. 2563 – 2565 ฉบับน้ี มีสำระสำคัญประกอบด้วย
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ ยุทธศำสตร์ ตัวช้ีวัดควำมสำเร็จ เป้ำหมำยรำยปี โครงกำร และกำรใช้
งบประมำณในกำรจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พ.ศ. 2563 – 2565 ครั้งนี้ สำนักงำนเขตพื้นที่
กำรศึกษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2 เปิดโอกำสให้ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ทั้งในระดับสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ
ระดับสถำนศึกษำ และองค์คณะบุคคล ได้มีส่วนร่วมในกำรจัดทำ โดยร่วมกันวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อกำหนด
ทิศทำงในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2
ให้สอดคล้อง ครอบคลุม นโยบำยกำรศึกษำของรัฐบำล นโยบำยกระทรวงศึกษำธิกำร นโยบำยยุทธศำสตร์
จุดเน้นของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน มำตรฐำนสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ ตัวชี้วัดตำม
แผนปฏิบัติรำชกำร (ARS) ตัวชี้วัดตำมคำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำร (KRS) และสภำพปัจจุบันปัญหำควำม
ต้องกำรของสำนักงำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2

สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2 ขอขอบคุณคณะกรรมกำรจัดทำ
แผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน พ.ศ. 2563 – 2565 คณะกรรมกำรบริหำรของสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ
ประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2 และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกท่ำนท่ีทำให้แผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
พ.ศ. 2563 – 2565 ฉบับนี้ สำเร็จลงด้วยดี หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ แผนพัฒนำกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ. 2563 –
2565 ของสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต 2 คงเป็นประโยชน์สำหรับใช้เป็นกรอบทิศทำง
ในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำและสถำนศึกษำในสังกัด ให้มีคุณภำพตำม
มำตรฐำนท่ีกำหนด ในโอกำสตอ่ ไป

สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำชยั ภมู ิ เขต 2

สารบญั

ส่วนที่ 1 บทนา หน้า
- ความเปน็ มา
- บทบาทหนา้ ท่ีของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 1
- ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 2 2
- ผลการดาเนนิ งานท่ีผ่านมา 3
9

ส่วนท่ี 2 กรอบและนโยบายการจัดการศึกษา
- รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย
- นโยบายหลกั รฐั บาล 17
- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 17
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที 12 (พ.ศ.2560-2564) 23
- แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 29
- ยทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.2563-2565 39
- นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 49
- แผนพฒั นาจงั หวดั ชยั ภมู ิ ปงี บประมาณ พ.ศ.2561-2564) 78
90

สว่ นที่ 3 ทิศทางการพัฒนา ของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภูมิ เต 2
- วิสยั ทศั น์ คา่ นยิ มองค์กร วฒั นธรรมองค์กร พันธกจิ
- กลยทุ ธ์ และแนวทางในการดาเนนิ งาน 98
- แผนภูมิแสดงความเช่อื มโยงวสิ ยั ทัศน์ 101
- แผนภมู แิ สดงความเชอ่ื มโยงยุทธศาสตร์ชาตกิ บั กลยุทธ์ สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2 107
- กลยุทธพ์ ัฒนาการศกึ ษา 109
110

ส่วนท่ี 4 การบรหิ ารแผนสู่ความสาเรจ็ 115
ภาคผนวก - การบรหิ ารจัดการแผน 116
- การกากับติดตาม/ประเมนิ ผล

- สาเนาคาส่ังท่ีเกย่ี วขอ้ ง
- ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา (SWOT Analysis)
- รูปภาพประกอบ

1

สว่ นท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมา
โลกปัจจุบันได้เข้าสู่กระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งถือว่าข้อมูลข่าวสารมีความสาคัญต่อการตัดสินใจและสภาพ

ของโลกาภิวัตน์เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สลับซับซ้อน การศึกษาก็เป็นส่วนหน่ึงที่ไม่อาจทานกระแสของ
โลกาภิวัตนไ์ ด้โดยต้องปรบั ตามให้ทันกบั สภาพท่เี ปล่ียนแปลงไปกลไกสาคัญท่ีช่วยให้การบริหารมปี ระสิทธภิ าพ
ต้องอาศยั การวางแผน ซ่ึงการวางแผนเป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญของการบรหิ ารท่ีเน้นการทางานที่สัมพันธ์กับงานท่ี
เป็นพันธกิจของหน่วยงานโดยใช้แผนเปน็ เคร่อื งมอื บอกทิศทางและแนวทางการปฏิบตั ิงาน ในทุกระดบั และทุก
ประเภทของการท างานที่เป็นระบบ จากการปฏิรูปการศึกษาที่สอดคล้องตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ตลอดจนการปฏิรูประบบราชการตามแผน
ปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ได้เน้นให้หน่วยงานภาครัฐมีการใช้แผนของส่วนราชการ เพื่อให้ทุกหน่วยงานมี
แนวทางและทศิ ทางท่ีชัดเจน สามารถตรวจสอบผลสมั ฤทธ์ขิ องงานได้

“แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2563 – 2565 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ชัยภูมิ เขต 2” จัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีประสิทธิภาพ โดยได้จัด
ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อระดมความคิดจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร
การศึกษา ประธานศูนย์เครือข่ายการศึกษาอาเภอ ตัวแทนผู้บริหารสถานศึกษา ผู้อานวยการกลุ่มทุกกลุ่ม/
หน่วยตรวจสอบภายในและเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวขอ้ ง ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต
2 ซึ่งร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก โดยใช้เทคนิค SWOT ANALYSIS เพื่อพิจารณา
คน้ หาจุดอ่อนจุดแข็ง อุปสรรคและโอกาสขององค์กรว่าเปน็ อย่างไรและควรพัฒนาไปในทิศทางใดรวมท้ังศึกษา
กรอบนโยบาย กรอบเป้าหมายของผลผลิตหลักท่ีต้องการ ของหน่วยงานต้นสังกัด และกาหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าหมายการให้บริการ ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม ท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงกับนโยบายของหน่วย
เหนือท่เี ก่ียวขอ้ ง

จากกระบวนการวางแผนดังกล่าว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
ได้ใช้หลักการมีส่วนร่วมจากผู้เก่ียวข้องท่ีมีความรู้ความสามารถ บนข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมถูกต้องเป็น
ปจั จบุ ัน โดยเปิดโอกาสให้ทกุ ฝ่ายร่วมคดิ ร่วมทาและร่วมรับผดิ ชอบในการกาหนดแนวทางพฒั นาท่เี หมาะสมต่อ
การจัดการศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือสร้างโอกาสทางการศกึ ษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เกดิ ผลในทาง
ปฏิบตั ทิ ีช่ ดั เจนและสดุ ท้ายคอื คุณภาพของการศกึ ษาอย่างแทจ้ รงิ ตอ่ ไป

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

2

บทบาทหน้าทขี่ องสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กาหนดให้สานักงานเขต

พื้นท่ีการศึกษาอยู่ภายใต้การกากับ ดูแล ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง แบ่งส่วนราชการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ. 2546 กาหนดบทบาทหน้าที่
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ไวด้ ังนี้

1. จัดทานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับนโยบาย
มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานและความต้องการของ ท้องถนิ่

2. วิเคราะหก์ ารจดั ตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศกึ ษาและหน่วยงานในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้ง กากับ ตรวจสอบ
ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กลา่ ว

3. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรรว่ มกบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
4. กากบั ดแู ล ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาข้นั พื้นฐานในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
5. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคลเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดการและ
พฒั นาการศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
7. จดั ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาและประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
8. ประสาน สง่ เสริม สนบั สนนุ การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถน่ิ รวมทงั้ บุคคล องคก์ รชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
อน่ื ท่ีจดั การศกึ ษาในรูปแบบท่ีหลากหลายในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
9. ดาเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุน การวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
10. ประสาน ส่งเสริมการดาเนินงานของคณะอนกุ รรมการ และคณะทางานดา้ นการศกึ ษา
11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ฐานะสานกั งานผแู้ ทนกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
12. ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเก่ียวกับกิจการภายในเขตพื้นท่ีการศึกษาที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าท่ีของหน่วยใด
โดยเฉพาะ หรือปฏิบัตงิ านอื่นตามทไ่ี ด้รับมอบหมายได้

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

3
ข้อมลู พื้นฐานของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2
ทีต่ ้ัง

สานั ก งาน เข ต พ้ื น ท่ี ก ารศึ ก ษ าป ระถ ม ศึ ก ษ าชั ย ภู มิ เข ต 2 อ ยู่ ห ลั งโรงพ ยาบ าล ภู เขี ย ว
เฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่อาคารหลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม เลขท่ี 333 หมู่ที่ 4 บ้านโนนทรายคา ตาบลผักปัง
อาเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36110 อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ โดยทางรถยนต์ 82
กิโลเมตร และอยหู่ ่างจากกรงุ เทพมหานคร โดยทางรถยนต์ 420 กโิ ลเมตร
ชอ่ งทางการสื่อสาร

โทรศพั ท์ 0-4486-1930 ถึง 2
โทรสาร 0-4486-1303
Website : http://www.chaiyaphum2.go.th
E-mail : [email protected]
Facebook : สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

4

อาณาเขต

มีพื้นท่ีทั้งหมด 3,992.43 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 5 อาเภอ คือ อาเภอเกษตรสมบูรณ์
อาเภอแก้งคร้อ อาเภอคอนสาร อาเภอบ้านแท่น และอาเภอภูเขียว มีอาณาเขตติดต่อกับอาเภอและจังหวัด
ต่างๆ ดังนี้

ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั อาเภอชมุ แพ อาเภอภผู าม่าน อาเภอหนองเรอื จงั หวดั ขอนแก่น
และอาเภอน้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์

ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอคอนสวรรค์ อาเภอหนองบัวแดง
และอาเภอเมือง จังหวัดชัยภมู ิ

ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอโคกโพธ์ชิ ัย และอาเภอมญั จาครี ี จังหวดั ขอนแกน่

ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอหนองบัวแดง จงั หวดั ชัยภูมิ และ
อาเภอนา้ หนาว จงั หวดั เพชรบูรณ์

แผนท่เี ขตความรบั ผิดชอบในการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
ของสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

5

จานวนผ้บู รหิ าร บุคลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษา ครู นกั เรยี น
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 มีผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษา

สถานศึกษา ผอู้ านวยการสถานศึกษา ครู และนกั เรยี น รายละเอยี ดตามตารางประกอบ ดงั นี้

รายการ จานวน
1 กลุ่ม/หนว่ ยในสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา 9 กลมุ่ 1 หนว่ ย

2 คณะผู้บริหารในสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา 4 คน
- ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา 1 คน
- รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา 3 คน

3 บคุ ลากรในสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 76 คน
- ศึกษานิเทศก์ 16 คน
- บคุ ลากรทางการศึกษาตามมาตรา 38 ค(2) 44 คน
- พนักงานราชการ 1 คน
- ลูกจ้างประจา 4 คน
- ลกู จ้างช่วั คราว 11 คน

4 สถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา 260 โรงเรยี น 262 โรงเรยี น
- โรงเรยี นหลกั 2 โรงเรียน 2,758 คน
- โรงเรียนสาขา
239 คน
5 บคุ ลากรในสถานศกึ ษา 6 คน
- ผู้อานวยการโรงเรียน
- รองผู้อานวยการโรงเรยี น 1,919 คน
- ครผู ู้สอน 594 คน
- ลูกจ้างชั่วคราว (ธุรการโรงเรียน, พนักงานราชการ,
นกั การภารโรง, ครูผทู้ รงคุณคา่ , ครูวิทย์-คณิต, ครขู นั้ วกิ ฤต)

6 นักเรียน (ข้อมลู ณ 10 ม.ิ ย.62) 32,596 คน

- กอ่ นประถมศึกษา 6,240 คน

- ประถมศกึ ษา 23,264 คน

- มธั ยมศึกษาตอนตน้ 3,035 คน

- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 57 คน

แหล่งขอ้ มลู : กล่มุ ส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร/กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

6

สถานศึกษาในสังกดั
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2 มีสถานศึกษาในสังกดั จานวน 262 โรงเรียน

(260 โรงเรยี น 2 สาขา) รายละเอยี ดตามตารางประกอบ ดงั นี้

อาเภอ ตาบล โรงเรยี นในสงั กดั รวม โรงเรยี น
ขยายโอกาส
บ้านยาง โรงเรียนหลัก โรงเรียนสาขา 4
กุดเลาะ 5 1
โนนทอง 4- 6 -
บา้ นเป้า 5- 4 1
หนองโพนงาม 6- 10 -
เกษตรสมบูรณ์ บา้ นหนั 4- 5 2
สระโพนทอง 91 5 1
บ้านเดอื่ 5- 8 1
โนนกอก 5- 5 3
บ้านบวั 8- 4 -
หนองข่า 5- 7 -
รวมอาเภอเกษตรสมบรู ณ์ 4- 63 1
7- 10
62 1

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

7

อาเภอ ตาบล โรงเรียนในสงั กดั โรงเรียน
ขยายโอกาส
ชอ่ งสามหมอ โรงเรียนหลกั โรงเรยี นสาขา รวม
4 - 4 1
หนองไผ่ 6 - 6 1
6 - 6 3
โคกกุง 8 -
5 1
นาหนองทุ่ม 8- 3 1
6 -
แก้งคร้อ ทา่ มะไฟหวาน 5- 8 -
เก่ายา่ ดี 3- 7 2
6- 4 1
บ้านแกง้ 8- 57 10

หนองสงั ข์ 1
-
หลบุ คา 7- 1
1
หนองขาม 4- -
57 - 1
รวมอาเภอแก้งคร้อ 2
1
คอนสาร 3 -3 7

ท่งุ นาเลา 5 -5 1
6 -6 3
ทุง่ พระ 4 -4 1
5 -5 2
คอนสาร ดงบงั 6 -6 1
โนนคูณ 6 17 8
3 -3
ดงกลาง 38 1 39

ห้วยยาง 8 -8
7 -7
ทงุ่ ลุยลาย 4 -4
7 -7
รวมอาเภอคอนสาร 6
32 6
บา้ นแทน่ - 32

บ้านแท่น สามสวน
สระพัง

บ้านเต่า

หนองคู

รวมอาเภอบ้านแทน่

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

8

อาเภอ โรงเรียนในสังกัด โรงเรยี น
ตาบล โรงเรยี นหลัก โรงเรียนสาขา รวม ขยายโอกาส

ผกั ปัง 9 -9 -
หนองตมู 4 -4 2
บ้านแกง้ 10 - 10 1
โคกสะอาด 7 -7 1
หนองคอนไทย 8 -8 -
ภูเขียว กดุ ยม 4 -4 -
โอโล 4 -4 2
บ้านเพชร 7 -7 -
บ้านดอน 5 -5 1
กวางโจน 8 -8 1
ธาตทุ อง 5 -5 2
รวมอาเภอภเู ขียว 71 - 71 10

รวมทง้ั ส้นิ 260 2 262 45

แหล่งข้อมูล : กล่มุ ส่งเสรมิ การศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

สถานศึกษาในสงั กัด ตง้ั แต่ปีการศึกษา 2559-2562 แบ่งขนาดตามจานวนนกั เรียน ไดแ้ ก่ ขนาดเลก็

ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญพ่ เิ ศษ รายละเอียดตามตารางประกอบ ดังนี้

จานวนนักเรียน ปกี ารศึกษา จานวนโรงเรยี น (โรง) ปกี ารศึกษา หมายเหตุ
(คน) 2559 ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562 ขนาดเล็ก
163 169
1-120 2560 2561
164 164

121-600 101 96 95 90 ขนาดกลาง

601-1,500 3 3 3 3 ขนาดใหญ่

1,501 ขึน้ ไป - - - - ขนาดใหญ่พิเศษ

รวม 267 263 262 262

แหลง่ ข้อมลู : กลมุ่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

9

ผลการดาเนินงานท่ีผา่ นมา

สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 2 มีผลการดาเนินงานท่ผี า่ นมา ดังน้ี

1. ด้านคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา

1.1 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (NT) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3
ปีการศึกษา 2559-2562 รายละเอียดดังตารางประกอบดงั น้ี

ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562
ระดบั ระดับ
ความสามารถ ประเทศ เขตพ้ืนท่ี ระดับ ระดบั ระดบั ระดบั ระดบั ระดบั
ดา้ นภาษา 51.00 44.91
ด้านคานวณ 36.99 33.30 ประเทศ เขตพื้นที่ ประเทศ เขตพ้ืนที่ ประเทศ เขตพน้ื ที่
ดา้ นเหตผุ ล 53.38 47.37
47.13 41.86 52.67 47.65 53.18 48.33 46.46 42.11
รวม 3 ด้าน
37.75 35.20 47.19 42.83 44.94 43.14

45.31 40.82 48.07 42.52 - -

45.25 41.23 49.48 44.46 45.70 42.62

แหล่งขอ้ มลู : กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา

1.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET)

- ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6

ปีการศึกษา 2559-2562 รายละเอยี ดดังตารางประกอบดงั นี้

ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562

กลมุ่ สาระ ระดบั ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั ระดบั ระดับ
การเรยี นรู้ ประเทศ เขตพน้ื ที่ ประเทศ เขตพื้นท่ี ประเทศ เขตพ้นื ที่ ประเทศ เขตพน้ื ท่ี

ภาษาไทย 52.98 48.45 46.58 41.11 55.90 51.21 49.07 44.99
สังคมศึกษาฯ 46.68 41.63 - - - - - -
ภาษาองั กฤษ 34.59 28.08 36.34 29.30 39.24 32.23 34.42 28.15
คณติ ศาสตร์ 40.47 34.55 37.12 32.34 37.50 32.07 32.90 28.64
วิทยาศาสตร์ 41.22 38.62 39.12 36.52 39.93 36.57 35.55 32.48
คา่ เฉลยี่ 4 สาระ 43.19 38.27 39.79 34.82 43.14 38.02 37.99 33.57

แหล่งขอ้ มูล : กลุม่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

10

- ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา

2559-2562 รายละเอยี ดดงั ตารางประกอบดงั นี้

ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2559 ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562

กลุ่มสาระ ระดับ ระดบั ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั

การเรียนรู้ ประเทศ เขตพ้ืนท่ี ประเทศ เขตพน้ื ท่ี ประเทศ เขตพน้ื ท่ี ประเทศ เขตพน้ื ท่ี

ภาษาไทย 46.36 39.46 48.29 41.03 54.42 45.35 55.14 47.13

สงั คมศึกษาฯ 49.00 41.95 - - - - - -

ภาษาองั กฤษ 31.80 26.28 30.45 26.87 29.45 25.61 33.25 27.59

คณิตศาสตร์ 29.31 22.43 26.30 20.04 30.04 23.13 26.73 20.70

วทิ ยาศาสตร์ 34.99 30.92 32.28 28.48 36.10 31.25 30.07 28.36

คา่ เฉลีย่ 4 สาระ 38.29 32.21 34.33 29.11 37.50 31.34 36.30 30.95

แหล่งขอ้ มลู : กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา

1.3 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกของผ้เู รียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1

เปรียบเทียบระหว่างปีการศกึ ษา 2561 กับปีการศึกษา 2562 รายละเอียดดงั ตารางประกอบดงั นี้

การเปรยี บเทยี บค่าเฉลีย่ ของคะแนนระหวา่ งเขตพนื้ ที่กบั ระดับต่างๆ

สมรรถนะ ระดบั เขตพืน้ ที่ ระดับจงั หวดั ระดบั สงั กัด ระดับประเทศ

ปี 2562 ปี 2561 เพ่มิ /ลด จังหวดั สงู /ตา่ สพฐ. สงู /ตา่ ประเทศ สูง/ตา่

อา่ นออกเสียง 63.88 66.97 -3.09 67.01 -3.13 67.49 -3.61 68.50 -4.62

อ่านรูเ้ รื่อง 71.52 72.48 +0.96 74.54 -3.02 72.51 -0.99 72.81 -1.29

รวม 67.70 69.72 -2.02 70.78 -3.08 70.00 -2.30 70.66 63.96

แหลง่ ขอ้ มลู : กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

จานวนโรงเรียนที่ผ่านการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปี

ท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 รายละเอียดดังตารางประกอบดงั น้ี

สมรรถนะดา้ น สงู กว่าระดับเขตพนื้ ที่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศ มพี ฒั นาการ

จานวน (โรง) ร้อยละ จานวน (โรง) ร้อยละ จานวน (โรง) ร้อยละ

การอ่านออกเสยี ง 147 56.76 120 46.33 119 45.95

การอ่านร้เู รือ่ ง 156 60.23 150 57.92 140 54.05

รวม 2 สมรรถนะ 151 58.30 130 50.19 139 53.67

แหลง่ ข้อมลู : กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

11

1.4 ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและจัดการของสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
ตามมาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา (พ.ศ.2560)

ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและจัดการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามมาตรฐาน
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (พ.ศ.2560) ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และ 2562 พบว่า ผลการประเมินทั้งสองปีมี
คะแนนรวม (3 มาตรฐาน) อยู่ในระดับ ดีมาก รายละเอยี ดดงั ตารางประกอบดังนี้

ผลการตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารและจัดการของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา

ตามมาตรฐานสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (พ.ศ.2560) ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และ 2562

มาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้/ประเดน็ การพิจารณา ปงี บประมาณ พ.ศ.2561 ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

ระดับ สรปุ ภาพรวม ระดับ สรปุ ภาพรวม

คณุ ภาพ มาตรฐาน คุณภาพ มาตรฐาน

มาตรฐานท่ี 1 การบริหารจัดการองคก์ ารสู่ความเปน็ เลิศ

ตวั บ่งชีท้ ่ี 1 การบริหารจดั การทดี่ ี ดีเยย่ี ม ดี ดมี าก ดมี าก

ตัวบง่ ชีท้ ี่ 2 การพัฒนาสู่องค์การแหง่ การเรยี นรู้ ดี ดีเย่ยี ม

ตัวบ่งชี้ท่ี 3 การกระจายอานาจและส่งเสริมการมสี ว่ น พอใช้ ดีมาก

ร่วมในการบริหารและการจดั การศึกษา

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจดั การศึกษาที่มี ดี ดี ดีมาก ดี
ประสิทธภิ าพ ดมี าก ดีเย่ียม
ตวั บง่ ชที้ ี่ 1 การบรหิ ารงานด้านวิชาการ ดี
ตัวบ่งช้ที ่ี 2 การบรหิ ารงานด้านงบประมาณ ดี ดีมาก
ตวั บ่งชท้ี ี่ 3 การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคล ดีเยยี่ ม ปรับปรุง
ตัวบง่ ช้ีท่ี 4 การบริหารงานดา้ นการบรหิ ารทั่วไป พอใช้
ตัวบ่งชี้ที่ 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศ
การจดั การศกึ ษาท่ีมีประสทิ ธภิ าพ

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

12

มาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้/ประเดน็ การพิจารณา ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ปงี บประมาณ พ.ศ.2562
ระดับ สรุปภาพรวม ระดับ สรปุ ภาพรวม
มาตรฐานท่ี 3 สัมฤทธิผลของการบริหารและการจดั คุณภาพ มาตรฐาน คุณภาพ มาตรฐาน
การศึกษา
ตวั บง่ ชี้ท่ี 1 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามีผลงานทีแ่ สดง ดี ดีมาก ดมี าก ดีเย่ียม
ความสาเร็จและเป็นแบบอย่างได้ ดเี ยย่ี ม ดเี ย่ยี ม
ตวั บ่งชท้ี ี่ 2 สถานศกึ ษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ปฐมวยั และการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพ ดีเยี่ยม ดเี ยี่ยม
การศกึ ษา ดมี าก ดเี ย่ยี ม
ตวั บง่ ชีท้ ่ี 3 ผ้เู รียนระดับปฐมวัย และระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐานมีคณุ ภาพตามหลักสูตร พอใช้ ดเี ยยี่ ม
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 4 ประชากรวยั เรียนได้รับสทิ ธแิ ละโอกาส
ทางการศึกษาข้ันพืน้ ฐานเท่าเทียมกันศึกษาตอ่ ในระดบั ดีเยยี่ ม ดเี ยีย่ ม
ท่ีสูงข้นึ หรือมีทักษะพืน้ ฐานในการประกอบอาชีพ
ตัวบง่ ช้ี 5 ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ดมี าก ดีมาก
พนกั งานราชการ ลกู จ้างในสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา แหล่งข้อมลู : กลุม่ อานวยการ
และสถานศกึ ษา มผี ลงานเชิงประจักษ์ตามเกณฑ์ได้รับการ
ย่องย่องเชิดชูเกียรติ
ตวั บง่ ช้ที ี่ 6 ผูร้ บั บริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี มีความ
พงึ พอใจในการบริหารและการจัดการศึกษารวมท้ังการ
ใหบ้ ริการ

คะแนนรวมของภาพรวม (3 มาตรฐาน)

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

13

1.5 ผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ (มาตรา 44)
ผลการประเมนิ ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ (มาตรา 44)
ปงี บประมาณ พ.ศ.2561 และ 2562 รายละเอียดดังตารางประกอบดังนี้

องคป์ ระกอบ ผลการประเมนิ
ปงี บประมาณ พ.ศ.2561
องค์ประกอบท่ี 1 ประสิทธภิ าพในการดาเนินงานตามภารกจิ พน้ื ฐาน (Function Base)
ตัวชี้วดั ท่ี 1.1 รอ้ ยละผูเ้ รยี นตอ่ ประชากรกลุ่มอายุ (3-5 ปี/6-11 ป/ี 12-14 ปี/15-17 ปี) เปน็ ไปตามเป้าหมาย
ตัวชว้ี ัดท่ี 1.2 ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศกึ ษาของประเทศไทยจากรายงาน (IMD 2017)
ตวั ชี้วดั ท่ี 1.3 ระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ O-NET
ตัวชี้วดั ท่ี 1.4 ระดบั ความสาเรจ็ ของการดาเนินโครงการพัฒนาครคู รบวงจร

องคป์ ระกอบที่ 2 ประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ งานตามหลักภารกิจยทุ ธศาสตรแ์ นวทางปฏิรปู ภาครฐั นโยบาย สงู กว่าเป้าหมาย
เรง่ ด่วน หรือภารกิจทีไ่ ดร้ บั มอบหมายเปน็ พิเศษหรอื บรู ณาการการดาเนนิ งานรว่ มกนั หลายหน่วยงาน
(Agenda Base)
ตวั ชว้ี ดั ที่ 2.1 การสร้างความรับรู้ความเข้าใจแกป่ ระชาชน
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.2 ร้อยละของครทู ีเ่ ข้ารับการพฒั นาครภู าษาอังกฤษในระดับภมู ภิ าค (Boot Camp)

องคป์ ระกอบที่ 3 ประสิทธภิ าพในการดาเนนิ งานตามหลักภารกจิ พื้นทีห่ รือบรู ณาการตามการดาเนนิ งาน ไมม่ กี ารประเมิน
หลายพนื้ ท่หี รือหลายหนว่ ยงาน (Area Base)

องคป์ ระกอบที่ 4 ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบงาน เป็นไปตามเป้าหมาย
งบประมาณ ทรพั ยากรบคุ คล และการใหบ้ ริการประชาชนหรอื หน่วยงานของรฐั (Innovation Base) มาตรฐาน
ตัวชว้ี ัดท่ี 4.1 การพฒั นานวัตกรรม
ตัวชว้ี ัดท่ี 4.2 การพฒั นาประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน

ระดบั

แหล่งขอ้ มลู : กลุม่ อานวยการ

ทั้งนี้ การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 44)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานประเมินเฉพาะองค์ประกอบท่ี 1
ซึ่งสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 มีผลการประเมินองค์ประกอบท่ี 1 ในระดับ
3.58457ผลการประเมินผู้บริหาร 4.46471 รวมค่าคะแนน 4.33269 อยู่ในระดับร้อยละ 86.65 ระดับ
มาตรฐานข้นั สงู

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

14

1.6 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของการศึกษาออนไลน์ (Integrity
and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2562

ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของการศึกษาออนไลน์ (Integrity and
Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2559-2562 ปรากฏวา่ มคี ะแนน
เพมิ่ สงู ขนึ้ ทุกปี รายละเอียดดังตารางประกอบดังน้ี

ผลการประเมิน ประจาปีงบประมาณ คะแนน ITA ระดับคณุ ธรรมและความโปร่งใส

ผลการประเมนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2559 88.25 สงู
ผลการประเมิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 87.28 สูงมาก
ผลการประเมิน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 86.12 สูงมาก
ผลการประเมนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 88.11 สูงมาก
แหล่งข้อมูล : กลมุ่ บริหารงานบุคคล

1.7 ผลการติดตามและประเมินผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา ตามตัวช้ีวัดแผนปฏิบัตริ าชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และปีงบประมาณ พ.ศ.2562 พบว่า
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ได้คะแนนเพ่ิมข้ึนจาก
ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และอยใู่ นระดบั ดเี ย่ียม รายละเอียดดงั ตารางประกอบดังนี้

ผลการติดตามและประเมินผลการบรหิ ารจดั การศึกษาข้ันพื้นฐานของสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

ตามตวั ช้วี ัดแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2561

กลยุทธ/์ ตวั ชวี้ ัด คะแนนท่ีได้ ระดับคณุ ภาพ

กลยทุ ธท์ ี่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คง 2.5 ดี

กลยุทธ์ท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนและส่งเสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งขีดความสามารถใน 3.25 ดมี าก

การแขง่ ขัน

กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริม สนบั สนุนการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3 ดมี าก

กลยุทธ์ที่ 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ 2 ดี

กลยุทธท์ ่ี 5 การจดั การศึกษาเพื่อเสริมสรา้ งคณุ ภาพชีวิตที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม (ไมม่ ีการ - -

ประเมิน)

กลยทุ ธ์ที่ 6 การพัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสริมใหท้ ุกภาคส่วนมสี ว่ นร่วมในการจดั 4 ดเี ยีย่ ม

การศึกษา

ตัวช้ีวดั เพิ่มเตมิ รอ้ ยละของสถานศกึ ษามกี ารพัฒนาใหน้ ักเรียนมีภาวะโภชนาการทดี่ ีตาม 1 พอใช้

แนวทางกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

คะแนนเฉลย่ี รวม 2.25 ดี

แหล่งขอ้ มลู : กลมุ่ นโยบายและแผน

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

15

ผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ตามตวั ชวี้ ดั แผนปฏบิ ตั ิราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562

กลยทุ ธ/์ ตัวช้ีวัด คะแนนที่ได้ ระดับคณุ ภาพ

กลยทุ ธท์ ่ี 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความมั่นคง 5.00 ดเี ย่ยี ม

กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน 3.89 ดีมาก

กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา 5.00 ดีเยี่ยม

กลยทุ ธท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มมี าตรฐาน และลดความ 4.86 ดเี ยยี่ ม

เหลอื่ มล้าทางการศึกษา

กลยุทธท์ ่ี 5 เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ 4.00 ดีมาก

คะแนนเฉลีย่ รวม 4.55 ดเี ย่ียม

แหลง่ ขอ้ มูล : กลุ่มนโยบายและแผน

2. ด้านประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การสถานศึกษา

2.1 การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก

โรงเรียนขนาดเลก็ (นักเรียน 120 คนลงมา) ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ
เขต 2 มีจานวนเพิ่มมากข้ึนทุกปี ซึ่งสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 จะต้องเร่งบริหาร
จดั การ รายละเอยี ดดงั ตารางประกอบดังนี้

ปีการศึกษา 2560 2561 2562
(ข้อมลู 10 พ.ย.61) (ข้อมูล 10 พ.ย.62)
จานวนนกั เรยี น (ข้อมูล 10 พ.ย.60)

จานวน 20 คนลงมา 244
21-40
41-60 28 26 28
61-80
81-100 33 36 43
101-120 46 48 44
รวม
28 25 29

27 27 21

164 166 169

แหล่งข้อมูล : กลุม่ ส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

16
3. ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา

3.1 การออกกลางคนั
ในปีการศึกษา 2561และ 2562 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 อัตราการ
ออกกลางคันเป็นศูนย์ ท้ังนี้ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ได้พัฒนางานติดตามเด็ก
ออกกลางคันอย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือ มีการจัดทาข้อมูลร่วมกับโรงเรียนเพื่อศึกษาเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อ
ร่วมกันติดตามเด็กและส่งต่อนักเรียนกรณีมีการเคล่ือนย้ายตามครอบครัว มีการประสานการส่งเด็กเข้าเรียน
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ัง มีการประชาสัมพันธ์ร่วมมือกับหน่วยงาน
เอกชนในการวางแผนช่วยเหลือเด็กทกี่ ลับเขา้ มาเรียนให้เรียนต่อเนื่องจนจบการศึกษาภาคบังคับ เช่น การเยย่ี ม
บ้านนกั เรียน เปน็ ต้น
นอกจากน้ี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ได้ส่งเสริมความเสมอภาค
ทางการศึกษาโดยสนับสนุนค่าใช้จ่าย แนะแนวส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสาหรับเด็กด้อยโอกาส ส่งเสริมให้
เด็กพิการได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึงและเสมอภาค สนับสนุนทุนการศึกษาสาหรับเด็กออทิสติกและเด็กพิการ
ซ่ึงเป็นการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส และเด็กพิการประเภทต่างๆ ได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกับ
เด็กปกติทว่ั ไป

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

17

สว่ นท่ี 2

กรอบและนโยบายการจดั การศึกษา

1. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก 6 เมษายน 2560

มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ
การศึกษาภาคบังคบั อย่างมคี ณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย

รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหน่ึงเพ่ือพัฒนาร่างกาย
จิตใจวินัยอารมณ์สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ
ภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินการดว้ ย

รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆรวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้
ตลอดชวี ิตและจัดให้มกี ารร่วมมือกันระหวา่ งรัฐองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และภาคเอกชนในการจดั การศกึ ษาทกุ ระดับ
โดยรัฐมีหนา้ ท่ีดาเนินการกากับส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมคี ุณภาพและได้มาตรฐานสากลทั้งนี้
ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาตซิ ึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติและการ
ดาเนนิ การและตรวจสอบการดาเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการศึกษาแห่งชาตดิ ว้ ย

การศึกษาท้งั ปวงต้องม่งุ พฒั นาผเู้ รียนให้เป็นคนดีมีวินัยภมู ิใจในชาติสามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนดั ของตน
และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัวชุมชนสงั คมและประเทศชาติ

ในการดาเนินการให้เดก็ เล็กไดร้ ับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสองหรือใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษาตามวรรค
สามรัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตนให้จัดตั้ง
กองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อลดความเหล่ือมล้าในการศึกษาและเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนา
คุณภาพและประสิทธิภาพครูโดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการหรือ กลไกทางภาษีรวมทั้งการ
ใหผ้ บู้ ริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษดี ้วยทง้ั นีต้ ามที่กฎหมายบัญญตั ิซึ่งกฎหมายดังกลา่ ว
อย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริการกองทุนเป็นอิสระและกาหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ดังกล่าว

2. นโยบายหลักรฐั บาล 12 ข้อ เรง่ ดว่ น และอกี 12 ข้อ เน้นแกป้ ัญหาปากทอ้ ง – หนนุ แก้รัฐธรรมนญู

นโยบายรัฐบาลที่จะแถลงต่อรัฐสภาจะมีความหนาประมาณ 40 หน้า โดยภายในนโยบายที่จะแถลงแบ่งเป็น
นโยบายหลกั 12 ด้าน ไดแ้ ก่

1. การปกปอ้ งและเชิดชูสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
2. การสร้างความมน่ั คงและความปลอดภัยของประเทศและความสงบสุขของประเทศ
3. การทานบุ ารุงศาสนาศลิ ปะและวัฒนธรรม

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

18

4. การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทีโลก
5. การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขันของไทย
6. การพฒั นาพน้ื ท่เี ศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสภู่ มู ิภาค
7. การพฒั นาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
8. การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทุกชว่ งวยั
9. การพฒั นาระบบสาธารณสขุ และหลักประกันทางสงั คม
10. การฟนื้ ฟทู รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือสร้างการเติบโตอยา่ งยง่ั ยนื
11. การปฏริ ปู การบริหารจัดการภาครฐั
12. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบและกระบวนการยตุ ธิ รรม

ขณะท่นี โยบายเรง่ ด่วน 12 เร่อื งที่จะตอ้ งทาใน 1 ปนี ้ี ประกอบดว้ ย

1. การแกไ้ ขปัญหาในการดารงชวี ิตของประชาชน
2. การปรับปรุงระบบสวัสดกิ ารและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน
3. มาตรการเศรษฐกิจเพ่อื รองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
4. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกษตรกรและพฒั นานวัตกรรม
5. การยกระดบั ศกั ยภาพของแรงงาน
6. การวางรากฐานระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสอู่ นาคต
7. การเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษที2่ 1
8. การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการท้งั ฝ่ายการเมืองและฝา่ ยราชการประจา
9. การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพนื้ ที่ชายแดนภาคใต้
10. การพัฒนาระบบการให้บรกิ ารประชาชน
11. การจดั เตรยี มการมาตรการรองรบั ภัยแล้งและอทุ กภยั
12. การสนับสนุนให้มีการศึกษาการรับฟังความเห็นของประชาชน และการดาเนินการเพื่อการแก้ไขเพ่ิมเติม

รัฐธรรมนญู
“นโยบายรัฐบาล” มุ่งสู่ประเทศพัฒนาแล้วในศตวรรษที่ 21

ภายใตก้ ารนาของ พล.อ.ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีด้วยวิสัยทัศน์ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเปน็ ประเทศ
ที่พฒั นาแลว้ ในศตวรรษท่ี 21” คาแถลงหลกั นโยบายหลัก 12 ดา้ น และนโยบายเรง่ ด่วน 12 ด้านของรฐั บาลภายใต้การ
นาของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีมีวิสัยทัศน์คือ “มุ่งม่ันให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วใน
ศตวรรษท่ี 21” โดยหัวใจของทุกนโยบาย คือ การใชง้ บประมาณแผ่นดิน หรือ “ภาษีประชาชน” อย่างคุ้มค่า ยึดกรอบ
วินัยการเงินการคลัง มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ท่ีสาคัญเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทแผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผน

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

19

ระดับชาติว่าดว้ ยความมงั่ คงแห่งชาตโิ ดยอยู่บนรากฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ นาไปส่กู ารพัฒนาประเทศท่ี
“เตบิ โตเชิงคุณภาพ” ไมใ่ ช่ “การเติบโตเชงิ ปริมาณ”

การแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา แบ่งเป็น 2 ส่วนสาคัญ คือ นโยบายหลัก 12 ด้าน ซ่ึงเป็น
ทศิ ทางการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลในช่วง 4 ปีขา้ งหน้า และนโยบายเรง่ ด่วน 12 ด้านทีถ่ ือเปน็ ปญั หาเฉพาะ
หน้าท่ีรัฐบาลต้องเร่งดาเนินการแก้ไข เพ่ือบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของพ่ีน้องประชาชนโดยเร็วที่สุด โดยเฉพาะ
อยา่ งยิ่งการบริหารประเทศในศตวรรษที่ 21 หรือ “ยุคดจิ ิทลั ” ปัญหาทุกด้านมีความสลบั ซบั ซ้อนมากขึ้นเรือ่ ยๆ เพราะ
ประเทศไทยในขณะน้ีถือวา่ อยู่ในช่วงระยะของการเปลย่ี นผ่านและตอ้ งต่อสู้กับปัญหาใหม่ๆ หลายประการ ท้ังจากการ
ต่อสู้กับความยากจนในอดีตก็ได้แปรเปล่ียนเป็นการต่อสู้กับความเหล่ือมล้าในหลายรูปแบบ เช่น ความเหล่ือมล้า
ทางการศึกษา ความเหล่ือมล้าของโอกาสและความเหลื่อมล้าของรายได้และทรัพย์สิน หรือแม้แต่การต่อสู้กับความไม่
สงบภายในประเทศในอดีต มาสู่การต่อสู้กับภัยคุกคามท่ีไม่มีแบบแผนในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายยาเสพติด
ขา้ มชาติ เครอื ข่ายการก่อการรา้ ยขา้ มชาตโิ รคระบาด และสงครามไซเบอร์

ประเด็นท้าทายเหล่านสี้ ะท้อนให้เห็นถึงความเสี่ยงของการบริหารประเทศท่รี ัฐบาลจะต้องเผชิญได้เป็นอย่างดี
นนั้ รัฐบาลนี้จึงมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาประเทศไทยใหห้ ลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางดูแลประชาชนอย่าง
ทั่วถึงแก้ไขปัญหาปากท้องและสร้างรายได้ให้เพียงพอต่อการดารงชีวิตของประชาชน เพ่ือลดความเหล่ือมล้าคนไทยใน
ในทุกชว่ งวัยจะต้องมีความพร้อม ทัง้ ในดา้ นหลักคดิ คุณธรรมและจริยธรรม และมศี ักยภาพที่จะดาเนินชีวิตในศตวรรษ
ที่ 21 ท่เี นน้ “การเตบิ โตเชิงคณุ ภาพ” ไม่ใช่ “การเติบโตเชิงปรมิ าณ”

ดังน้ัน การกาหนดนโยบายท้ังระยะส้ัน หรือระยะยาวต้องพินิจพิเคราะห์ตรึกตรองอย่างถ้วนถ่ี ถึงเป้าหมาย
และผลสัมฤทธ์ิทั้งนโยบายหลัก 12 ด้าน เพ่ือให้ไปสู้เป้าหมายเดียวกัน คือการนาพาประเทศไทยไปสู่ประเทศไทยเป็น
ประเทศท่ีพัฒนาแล้วในศตวรรษท่ี 21 ดังนั้น การเดินไปสู่เป้าหมายดังกล่าวได้ สิ่งสาคัญอันดับแรก คือการแก้ปัญหา
เรง่ ด่วน ที่ผ่านการร่วมกันคดิ และกลั่นกรองจากพรรคร่วมรฐั บาล “19 พรรคการเมือง” ออกมาเปน็ นโยบายเรง่ ดว่ น 12
ด้าน ถือเป็น “สัญญาประชาคม” ต่อพ่ีน้องประชาชนทีลงคะแนนเสียงเลือกต้ังต่างคาดหวังต่อรัฐบาลใหม่ที่เข้ามา
บรหิ ารประเทศ

โดยเฉาพะเรื่องที่ 1. การแก้ไขปัญหาในการดารงชีวิตของประชาชน รัฐบาลมุ่งมั่นท่ีจะยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน รูปธรรมของนโยบาย ประกอบด้วย ลดข้อจากัดในการประกอบชีพพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ
ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล กทม. เมืองหลวงสตรีทฟู้ด ลดหนี้ 3 ส่วน คือ 1. กองทุนหมู่บ้าน 2. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ
การศึกษา 3. หนี้สินนอกระบบ ปราบปรามแก๊ง “ฉอ้ โกงออนไลน์” ปรับปรุงระบบ “ภาษี” การขยายโอกาสการเขา้ ถึง
“สินเชื่อท่ีอยู่อาศัย” ปรับปรุง “ระบบท่ีดินทากิน” ให้เกษตรกรเข้าถึงได้ ลดอุปสรรคการประกอบอาชีพ “ประมง
พาณิชย์” และ “ประมงชายฝัง่ ” รวมถึงดูแล “ประมงพ้ืนบา้ น” ให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล

ส่วนนโยบายที่ 2. การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จุดเด่นของ
นโยบาย คือ การสานต่อและทาทันที ประกอบด้วยบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เบ้ียยังชีพ “ผู้สูงอายุ” “คนพิการ” ที่มี
รายได้น้อยขยายสทิ ธิกลุ่ม “มารดาตั้งครรภ์” “เด็กแรกเกดิ ” “เดก็ วัยเรียน” ลดความเหลอ่ื มลา้ ของ “คุณภาพการ

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

20

บริการสุขภาพ” ทั้งระบบพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) และสนับสนุนอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เพ่ือนาไปสู่การให้บริการการรักษาพยาบาลท่ีดีแก่พี่น้องประชาชนท้ังสองส่วน
ถือว่าอยู่ในหมวดสังคมด้านการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนปัญหาเศรษฐกิจถือเป็นปัญหาใหญ่ท่ี รัฐบาลให้
ความสาคัญเป็นพิเศษเพราะประเทศไทยเผชิญท้ังปญั หาจากภายในประเทศ อาทิ ภัยพิบัติราคาสินค้าเกษตรตกต่า
การส่งออกชะลอตัวหรือปัจจัยภายนอกจากสงครามการค้าโลกระหว่างชาติมหาอานาจแต่ส่งผลสะเทือนถึง
เศรษฐกจิ ไทยจงึ เปน็ ท่มี าของการกาหนดนโยบายเร่งดว่ น

เรื่องที่ 3. มาตรการเศรษฐกิจเพ่อื รองรับความผันผวนของเศรษฐกจิ โลกเร่ิมต้ังแต่การเร่งรดั จดั จา
งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2563 เพือ่ อัดฉดี เมด็ เงนิ เข้าสรู่ ะบบเศรษฐกจิ เตรียมมาตรการต้งั รบั “การ
กดี กนั ทางการค้า” เร่งเพมิ่ “ชอ่ งทาง” การส่งออกทถ่ี ือเป็นรายได้หลักของประเทศขยายความรว่ มมือทางการค้า
และเศรษฐกจิ กบั ประเทศที่มีศกั ยภาพท่สี าคัญต้องสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว “เมืองหลกั ” “เมืองรอง” และ “การ
ท่องเท่ยี วชุมชน” ซงึ่ ถือเป็นรายไดส้ าคัญในการพัฒนา ปัญหาเร่งด่วนทีก่ าลงั เผชญิ หน้าในขณะน้ี คอื ราคาสินคา้
เกษตรตกต่ารัฐบาลจึงกาหนดนโยบายมาตรการช่วยเหลือพี่นอ้ งเกษตรกร

ในข้อที่ 4. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม เพราะการทาเกษตรยุคใหม่ต้องใช้
“นวัตกรรม” เข้ามาลดต้นทุนการผลิตพร้อมกับสร้างหลักประกันทางรายได้ให้แก่เกษตรกร จึงกลายเป็นท่ีมาของ
นโยบายการ “บริหารจัดการน้า” และ “คุณภาพดิน” ด้วยเทคโนโลยี Agri-Map กาหนดเป้าหมาย ”รายได้” จาก
ข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง ปาล์ม อ้อย ข้าวโพดด้วยการชดเชย “ประกันรายได้” และ ดาเนินการ “ประกันภัย
สินค้าเกษตร” ส่งเสริม “เกษตรพันธสัญญา” รวมถึงการส่งเสริมการใช้ “ผลผลิตทางการเกษตร” ใน
“อุตสาหกรรมพลังงาน” เพื่อแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตรล้นตลาด รวมถึงเร่งศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
“กัญชา” “กัญชง” รวมถึงพืชสมุนไพรเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทางการแพทย์เพื่อยกระดับราคา
สินค้าเกษตรไดอ้ กี ทางหนึ่ง

รฐั บาล พล.อ.ประยทุ ธ์ ยา้ อย่เู สมอวา่ จะไม่ท้งิ ใครไว้ข้างหลัง เช่นเดียวกับกลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงาน จงึ กาหนด

นโยบายที่ 5. การยกระดับศักยภาพของแรงงาน โดยเฉพาะการยกระดับรายได้หรือค่าแรงข้ันต่า ต้อง
สอดคล้องกบั การพัฒนา “ทกั ษะฝมี ือแรงงาน” ผา่ นกลไก “คณะกรรมการไตรภาคี” รวมถงึ การสนับสนุนการปรับ
“เปล่ียนทักษะ” และ “เปลี่ยนสายอาชีพ” ให้ตรงกับความต้องการของ “ตลาดแรงงาน” “อุตสาหกรรม
เป้าหมาย” และ “ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี” หรือ Disruptive Technology ปัญหาเศรษฐกิจถือเป็นหัวใจ
สาคัญของการบรหิ ารประเทศ โดยเฉพาะระยะเร่งด่วนท่ีต้องมีการวางรากฐานเพื่อรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงของ
โลกมนยุคดจิ ทิ ลั รัฐบาลจงึ กาหนด

นโยบายท่ี 6. การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต โดยมุ่งเน้นการต่อยอด
“อุตสาหกรรมเป้าหมาย” เร่งพัฒนาขับเคล่ือนเศรษฐกิจใหม่ อาทิ “เศรษฐกิจชีวภาพ” “เศรษฐกิจหมุนเวียน”

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

21

“เศรษฐกิจสีเขียว” พร้อมสนับสนุนการลงทุน “เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก” “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” “เมือง
อัจฉริยะ” โดยระบบเครือข่าย “5G” ท่ีจะเข้ามาขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลในอนาคตอันใกล้น้ี อีกหนึ่งนโยบายท่ี
รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ มุ่งมั่นและตั้งใจ คือการพัฒนาคนให้มีความพร้อมไปสู่ศตวรรษใหม่แห่งการเปลี่ยนแปลง
ดงั นั้นจึงกาหนดนโยบายการศกึ ษาเปน็ วาระเรง่ ดว่ นเช่นกันด้วย

นโยบายข้อท่ี 7. การเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษท่ี 21 กลา่ วคือ เด็กไทยยคุ ใหมต่ ้องเก่งวิชา “วิทยาศาสตร์”
“เทคโนโลยี” “วิศวกรรม” “คณิตศาสตร์” “โปรแกรมเมอร์” “ภาษาต่างประเทศ” เด็กไทยยุคใหม่ต้องรู้
“ภาษาคอมพิวเตอร์” หรือ Coding ต้ังแต่ระดับ “ประถมศึกษา” โรงเรียนทุกแห่งท่ัวประเทศ ต้องคุณภาพถึง
ระดับตาบล และต้องมี “หลกั สูตรออนไลน์” ประกอบการเรียนการสอนที่สาคัญตอ้ งมคี วามเช่ือมโยงระหวา่ งระบบ
การศึกษากับภาคธุรกิจเรียนจบแลว้ ต้องมงี านทา นี่คอื แนวทางการพัฒนาคนใหก้ า้ วทันศตวรรษที่ 21

ปัญหาเร่งด่วนลาดับถัดมาคือ “การทุจริตคอร์รัปช่ัน” ถือเป็นเร่ืองสาคัญที่รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์
ตระหนักดตี ้ังแต่เปน็ รฐั บาลสมยั แรก จงึ กาหนดไว้ใน

ข้อท่ี 8. การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ท้ังฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการ
ประจา คือ ต้องดาเนินการคู่ขนานท้ัง “นักการเมือง” และ “ข้าราชการประจา” โดยไม่ละเว้น ด้วย “มาตรการ
ทางการเมอื ง” ควบคูไ่ ปกบั “มาตรการทางกฎหมาย” กบั ผู้กระทาผิด และต้องนา “เทคโนโลยี” มาใช้ “เฝ้าระวัง”
การทุจริตประพฤติมิชอบ รวมถึงเร่งรัดขั้นตอนของกฎหมายกับผู้กระทาผิดที่สาคัญต้องเปิดกว้างให้ภาคเอกชน
และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ป้องกันและเฝ้าระวังการทุจริตในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ อีกปัญหาเร่งด่วนท่ี
รัฐบาล พล.อ.ประยทุ ธ์ ไมเ่ คยทอดทงิ้ คอื การแกไ้ ขปญั หายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพ้ืนท่ีชายแดนภาคใต้
ทร่ี ะบไุ ว้ใน

ข้อ 9. คือ “การแก้ปัญหายาเสพติด” ที่ต้องใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนบังคับใช้
“กฎหมาย” อย่างเคร่งครัด สร้างความร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้าน ทาลาย “แหล่งผลิต” และ “เครือข่าย” ท่ี
สาคัญตอ้ งฟนื้ ฟูดูแลรักษา “ผูเ้ สพ” พรอ้ มสรา้ ง “โอกาส” “อาชีพ” และ “รายได้” ให้สามารถกลับมาใช้ชวี ิตปกติ
ในสังคมได้สาหรับปัญหาความไม่สงบในพื้นท่ีชายแดนภาคใต้คือน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา” เร่งรัดการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับ
เจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่และการแก้ไขปัญหายึดหลัก “กฎหมายไทย” และ “หลักการสากล” รัฐบาลทราบดีว่า
“หัวใจการบริหารประเทศ” คือ “ข้าราชการ” ดังนั้นการพัฒนา “ระบบ” และ “คน” ถือเป็นสิ่งสาคัญ จึง
กาหนด

นโยบายที่ 10. การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน หรือรัฐบาลดิจิทัล เร่ิมต้นท่ีการพัฒนาระบบ
จดั เก็บและเปิดเผยข้อมูลของภาครัฐการอนุมัติหรืออนุญาตทางราชการดว้ ยระบบดจิ ิทัลในอนาคตต้องลดข้อจากัด
ดา้ นกฎหมายท่เี ป็นปัญหาอุปสรรคต่อการทาธุรกจิ และการดารงชีวติ ของประชาชนและต้องแก้ไขกฎหมายที่ไม่เป็น
ธรรม ล้าสมัยซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ทุกวันน้ีปัญหาภัยพิบัติถือเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลกจากการ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

22

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสู่สภาวะโลกรอ้ น ทาใหฤ้ ดูกาลต่างๆ แปรปรวนและทวีความรุนแรงข้ึนดังนนั้ การวาง
มาตรการตั้งรบั และชว่ ยเหลอื เยยี วยาเป็นสง่ิ สาคญั จงึ กาหนด

นโยบายท่ี 11. การจัดเตรยี มมาตรการรองรับภัยแล้งและอทุ กภัยเร่ิมดว้ ยมาตรการปอ้ งกัน “ก่อน” เกิด
“ภัย” การให้ความช่วยเหลือ “ระหวา่ ง” เกิดภัย การแก้ปญั หาใน “ระยะยาว” โดยเฉพาะ “ระบบเตือนภัย” ตอ้ ง
มกี ารจัดระบบติดตามสถานการณอ์ ย่างต่อเนื่อง รวมถึงกาหนดมาตรการ “บรรเทาความเดือดร้อน” ประชาชนให้
ได้มากท่ีสดุ และทันท่วงทแี ละทสี่ าคัญต้องเรง่ พัฒนาการปฏิบัตกิ าร “ฝนหลวง” เพื่อชว่ ยเหลือพ่ีนอ้ งเกษตรกรไมใ่ ห้
พืชผลทางการเกษตรตอ้ งยืนตน้ ตายจากการขาดแคลนน้าหรอื ภาวะภัยแลง้ และนโยบายเรง่ ด่วนลาดับสดุ ท้าย คอื

นโยบายที่ 12. การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความเห็นของประชาชน และการดาเนินการ
เพื่อแกไ้ ขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนญู ท่ที ้ังพรรคร่วมรัฐบาลและพรรคฝ่ายค้านให้ความสาคัญ

ทั้งหมดนี้ คือ นโยบายเร่งดว่ น 12 ดา้ นทร่ี ฐั บาลจะเรง่ ดาเนนิ การให้เกิดผลสัมฤทธ์ใิ ห้เร็วทีส่ ุด
นโยบายหรือยุทธศาสตร์ท่ี พล.อ.ประยุทธ์ ตอกย้าอย่เู สมอ คือประเทศไทยต้องหลดุ พ้นจากกับดกั ประเทศ
รายได้ปานกลางไปสปู่ ระเทศทมี่ ีรายได้สูงและตอ้ งลดความเหลอื่ มล้าทางรายได้ระหว่างคนจนและคนรวยโดยไมท่ ิ้ง
ใครไว้ข้างหลังดังนั้นการสานต่อความมุ่งม่ันดังกล่าวจึงกลายเป็นที่มาของการกาหนดวิสัยทัศน์ของรัฐบาลชุดนี้
มุ่งมั่นให้ประเทศท่ีพัฒนาแล้วในศตวรรษที่ 21 โดยรัฐบาลได้กาหนดนโยบาย ในการบริหารราชการแผ่นดิน
สาหรบั นโยบายในช่วง 4 ปถี ัดไป ด้วยนโยบายหลัก 12 ดา้ น ประกอบดว้ ย
1. การปกปอ้ งและเชิดชูสถาบันพระมหากษตั รยิ ์
2. การสรา้ งความมั่นคงและความปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสขุ ของประเทศ
3. การทานุบารุงศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม
4. การสร้าบทบาทของคนไทยในเวทีโลก
5. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย
6. การพัฒนาพ้นื ท่เี ศรษฐกจิ และการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
7. การพัฒนาสร้างความเขม้ แขง็ จากฐานราก
8. การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย
9. การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลกั ประกนั สงั คม
10. การฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มเพ่ือสรา้ งการเติบโตอยา่ งยั่งยืน
11. การปฏิรูปการบริหารจดั การภาครัฐ
12. การป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุตธิ รรม

ท้งั นโยบายหลกั 12 ด้าน และนโยบายเร่งด่วน 12 ดา้ น สงิ่ ท่ี พล.อ.ประยุทธ์ ให้ความสาคญั อย่างมากคือ
“กรอบวินัย ด้านการเงินการคลังของประเทศ” เพ่ือไม่ให้ถูกมองว่าใช้งบประมาณมหาศาล เหมือนกับนโยบาย

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

23

“ประชานิยม” ในอดีตโดยรัฐบาลยืนยนั ว่าการดาเนินงานทั้งหมดมีแหล่งท่ีมาของเงินชัดเจน และจะทางานภายใต้
กรอบวนิ ยั การเงินการคลัง

โดยเฉพาะนโยบายด้านสังคมที่เก่ียวข้องกับการศึกษา สาธารณสุขและการพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐาน
เพ่ือวางรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาวที่ต้องใช้งบประมาณจานวนมากในขณะท่ีรายได้จากภาษีของ
ประเทศมีอยู่อยา่ งจากัด ดงั นั้น รฐั บาลจึงต้องเรง่ รัดพฒั นาระบบจัดเก็บภาษีของรัฐให้มีความครอบคลมุ มากข้ึน
มงุ่ เนน้ การขยายฐานภาษีและปรบั โครงสร้างภาษีให้มีความเป็นธรรมรวมทงั้ เร่งส่งเสริมการค้า การลงทุน และ
การท่องเที่ยวเพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศซ่ึงเม็ดเงินดังกล่าวจะกลับมาสู่ระบบภาษีท่ีจะนามาใช้ในการดาเนิน
นโยบายเพือ่ พัฒนาประเทศทัง้ ในเชิงเศรษฐกจิ และเชงิ สังคมตามนโยบายรัฐบาล

นอกจากนี้ แผนงานหรือโครงการใดที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและเป็นการวางรากฐานการพัฒนา
ประเทศในระยะยาวรัฐบาลจะพิจารณาให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุนเพ่ือพัฒนาประเทศรวมท้ังพิจารณา
ใช้เคร่ืองมือทางการเงินสมัยใหม่ อาทิ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทยในโครงการท่ีมีความ
คุม้ ค่าทางการเงนิ เพ่ือลดภาระการลงทนุ จากงบประมาณแผน่ ดนิ และการกเู้ งิน

“แหล่งท่ีมาของงบประมาณ” จึงเป็นส่ิงสาคัญที่รัฐบาลคานึงถึงด้วยความมุ่งมั่นต้ังใจว่าการใช้จ่าย
งบประมาณแผ่นดินที่มาจากภาษีประชาชนทุกบาททุกสตางค์จะอยู่ภายใต้ “กรอบวินัย การเงินการคลังอย่าง
เคร่งครัด โปร่งใส และตรวจสอบได้ เพอื่ ให้ฐานะการเงินการคลังของประเทศ มีความมน่ั คงและมีเสถยี รภาพ”
กรอบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติทั้งหมดล้วนมีเป้าหมาย คือ
ขับเคลื่อนการยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เพ่ือเป็นรากฐานสาคัญในการ
กา้ วไปสู่การเป็นประเทศท่ีพฒั นาแล้วบนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในระยะ 20 ปี ข้างหน้าตามเป้าหมาย
ของ ยุทธศาสตร์ชาติภายใต้วิสัยทัศน์ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในศตวรรษที่ 21”
นาโดยรฐั บาล พล.อ.ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา

3. ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
3. วิสยั ทัศนป์ ระเทศไทย
“ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์
แห่งชาติอันได้แก่ การมีเอกราชอธิปไตยการดารงอยู่อย่างม่ังคงและย่ังยืนของสถาบันหลักของชาติและประชาชน
จากภัยคุกคามทุกรปู แบบการอยู่ร่วมกันในชาติอยา่ งสันติสขุ เป็นปึกแผ่นมคี วามม่ันคงทางสังคมท่ามกลางพหุสงั คม
และการมีเกียรติและศักด์ิศรีของความเปน็ มนุษยค์ วามเจริญเติบโตของชาติความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของ
ประชาชนความยั่งยนื ของฐานทรัพยากรธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อมความม่ันคงทางพลังงานและอาหารความสามารถใน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

24

การรักษาผลประโยชน์ของชาติภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศและการอยู่ร่วมกัน
อยา่ งสนั ตปิ ระสานสอดคล้องกันดา้ นความม่ันคงในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลกอย่างมีเกยี รติและศักดิศ์ รี

ความมั่นคง หมายถงึ การมคี วามม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและนอก
ประเทศในทกุ ระดับทั้งระดบั ประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือนและปัจเจกบุคคลและมีความมง่ั คงในทุกมิติทัง้ มิติทาง
การทหารเศรษฐกิจสังคมส่ิงแวดล้อมและการเมืองเช่นประเทศมีความม่ังคงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็น
ศูนย์กลางและเป็นทย่ี ึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนมีระบบการเมืองท่ีมั่งคงเป็นกลไกทน่ี าไปสู่การบริหารประเทศท่ี
ต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลสังคมมีความปรองดองและความสามัคคีสามารถผนึกกาลั งเพื่อพัฒนา
ประเทศชุมชนมีความเข้มแข็งครอบครัวมีความอบอุ่นประชาชนมีความม่ันคงของอาหารพลังงานและน้ามีที่อยู่
อาศยั และความปลอดภัยในชวี ิตทรพั ยส์ ิน

ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีความขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนจนเข้าสู่
กลุ่มประเทศรายได้สูงความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลงประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์จากการ
พัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้นและมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วนมีคุณภาพชีวิตตามาตรฐานขอ งองค์กร
สหประชาชาติไม่มีประชาชนท่ีอยู่ในภาวะความยากจนเศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็งขณะเดียวกันต้องมี
ความสามสารถในการแข่งขันกับประเทศตา่ งๆ ทง้ั ในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศเพอ่ื ใหส้ ามารถสร้างรายได้
ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแ ห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกับ
บริบทการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลงไปและประเทศไทยมีบทบาทท่ีสาคัญในเวทีโลกและมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาคเอเชียเป็นจุดสาคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคม
ขนส่งการผลิตการค้าการลงทุนและการทาธุรกิจเพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนานอกจากน้ียังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ี
จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ได้แก่ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงินท่ีเป็นเครื่องมือเคร่ืองจักร
ทุนทางสงั คม ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญรายได้และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้การรักษาและการฟ้ืนฟูฐาน
ทรั พย า ก ร ธร ร ม ช า ติ อย่ า ง ย่ั ง ยื นไม่ ใ ช่ ท รั พย า ก ร ธ ร ร มช า ติ จ น เ กิ น พอดี ไม่ สร้ า ง ม ล ภ าว ะต่ อสิ่ ง แว ด ล้ อม เ กิ น
ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศการผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ
สอดคล้องกับเปา้ หมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืนทรัพยากรธรรมชาติมีความอดุ มสมบูรณม์ ากขึน้ และสง่ิ แวดล้อมมีคุณภาพ
ดีข้ึนคนมีความรับผิดชอบต่อสังคมมีความเอ้ืออาทรเสียสละเพ่ือผลประโยชน์ส่วนรวมรัฐบาลมีนโยบายท่ีมุ่ง
ประโยชน์ส่วนรวมอย่างย่ังยืนและให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือ
และปฏบิ ัตติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการพฒั นาอยา่ งสมดุลมีเสถยี รภาพและยง่ั ยืน

โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศคือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง สังคมเปน็ ธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งย่ังยนื ” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

25

พัฒนาคนในทุกมิตแิ ละในทุกชว่ งวัย ให้เป็นคนดีเก่งและมีคุณภาพสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคมสร้าง
การเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์
สว่ นรวมโดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย

1) ความอย่ดู มี สี ขุ ของคนไทยและสังคมไทย
2) ขีดความสามารถในการแข่งขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ
4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มและความยงั่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถึงการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ

4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติเพ่ือให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์
“ประเทศไทยมีความม่ันคงม่งั คั่งยั่งยืนเปน็ ประเทศท่ีพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” และเปา้ หมายการพฒั นาประเทศข้างต้น จึงจาเป็นตอ้ งกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาว
ทจ่ี ะทาให้ประเทศไทยมีความมั่นคงในเอกราช และอธิปไตยมีภูมิคมุ้ กันต่อการเปลี่ยนแปลง จากปัจจัยภายในและ
ภายนอกประเทศในทุกมิติรูปแบบ และทุกระดับภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศ
ได้รับการพัฒนายกระดับไปสู่การใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่ม และพัฒนากลไกที่สาคัญใน
การขับเคล่ือนเศรษฐกิจใหม่ที่จะสร้างและเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันของประเทศเพ่ือยกระดับฐานรายได้ของ
ประชาชนในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปสู่ภาคส่วนตา่ งๆได้อย่างเหมาะสมคนไทยได้รับการพัฒนาใหเ้ ป็น
คนดีเก่งมีวนิ ยั คานงึ ถงึ ผลประโยชนส์ ว่ นรวมและมศี กั ยภาพในการคิดวิเคราะหส์ ามารถ “รรู้ ับปรบั ใช้”
เทคโนโลยีใหม่ได้อย่างต่อเนื่องสามารถเข้าถึงบริการพ้ืนฐานระบบสวัสดิการและกระบวนการยตุ ิธรรมได้อย่างเท่า
เทียมกันโดยไม่มีใครถูกท้ิงไว้ข้างหลังการพัฒนาประเทศในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ชาติจะมุ่งเน้นการสร้างสมดุล
ระหว่างการพัฒนาความมน่ั คงเศรษฐกิจสังคมและสง่ิ แวดลอ้ มโดยการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนในรปู แบบ “ประชา
รัฐ” โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเตบิ โตบน
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จดั การภาครฐั โดยแตล่ ะยทุ ธศาสตรม์ ีเปา้ หมายและประเด็นการพฒั นา ดังนี้

4.1 ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมี
ความสุขเน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมัน่ คงปลอดภัย เอกราชอธิปไตยและมีความ
สงบเรียบร้อยในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติสังคมชุมชนมุ่งเน้นการพัฒนาคนเคร่ืองมือเทคโนโยลีและระบบ
ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบและทุกระดับความ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

26

รุนแรงควบคู่ไปกับการป้องกนั และแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงที่มีอยใู่ นปัจจบุ นั และที่อาจเกิดขึน้ ในอนาคตใชก้ ลไก
การแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการภาคเอกชนประชาสังคมและองค์กรที่ไม่ใช่รัฐรวมถึงประเทศ
เพ่ือนบ้านและมิตรประเทศท่ัวโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอ้ืออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการ
ของยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นอ่ืนๆ ให้สามารถขับเคล่ือนไปไดต้ ามเป้าหมายที่กาหนด

4.2 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นการ
ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมอง
กลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจอัตลักษณ์วัฒนธรรมประเพณีวิถีชีวิตและจุดเด่นทางทรัพยากร ธรรมชาติท่ี
หลากหลายรวมท้ังความเปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่นๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยี
และนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่
อนาคตผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศในมิติต่างๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่งโครงสร้าง
พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและ
บริการอนาคตและ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการพัฒนาคนรุ่นใหม่
รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาดผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคตบน
พ้นื ฐานของการต่อยอดอดตี และปรับปัจจุบันพร้อมท้ังการสง่ เสรมิ และสนับสนุนจากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถ
สร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลกควบคู่ไปกับการยกระดับ
รายได้และการกินดีอยู่ดีรวมถึงการเพิ่มข้ึนของคนช้ันกลางและลดความเหล่ือมล้าของคนในประเทศได้ในคราว
เดยี วกัน

4.3 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี
สาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่งและมีคุณภาพโดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกายใจ
สติปัญญามีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัยมีจิตสาธารณะรับชอบต่อสังคมและผู้อื่นมัธยัสถ์
อดออมโอบอ้อมอารีมีวินัยรักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้องมีทักษะที่จาเป็นใน
ศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูงเป็นนวัตกรนักคิดผู้ประกอบการเกษตรกรยุ ค
ใหมแ่ ละอืน่ ๆ โดยมสี มั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง

4.4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่ให้
ความสาคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาคเอกชนประชาสังคมชุมชนท้องถิ่นมาร่วมขับเคลื่อน โดย
การสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการรว่ มคิดร่วมทา เพือ่ ส่วนรวมการกระจายอานาจ และความรับผดิ ชอบ
ไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ินการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ในการจัดการตนเองและ
การเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ทั้งในมิติสุขภาพเศรษฐกิจสังคมและสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมี
คุณภาพสามารถพึ่งตนเอง และทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกันการ
เข้าถงึ บรกิ ารและสวัสดกิ ารทีม่ ีคณุ ภาพอย่างเปน็ ธรรมและถั่วถึง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

27

4.5 ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทเี ป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม มีเปา้ หมายการ
พัฒนาที่ให้ความสาคัญเพ่ือนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนในทุกมิติทั้งด้านสังคมเศรษฐกิจ
ส่ิงแวดล้อมธรรมาภิบาลและความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง
บรู ณาการใช้พ้นื ท่ีเป็นตัวต้ังในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงานและการให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
แบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดยเป็นการดาเนินการบนพ้ืนฐานการเจริญเติบโตร่วมกันไม่ว่าจะเป็น
ทางเศรษฐกิจส่ิงแวดล้อมและคณุ ภาพชีวติ โดยให้ความสาคัญกบั การสร้างสมดุลท้ัง 3 ดา้ นอันจะนาไปสู่ความยั่งยืน
เพ่ือคนรนุ่ ต่อไปอยา่ งแท้จริง

4.6 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการ
พัฒนาที่ให้ความสาคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดย
ภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาท ภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าที่ในการกากับ หรือ
ในการให้บรกิ ารในระบบเศรษฐกิจทมี่ ีการแข่งขนั มีสมรรถนะสูง ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้
มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม ในความทันสมัยและพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก
อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรมเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามา
ประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและปฏิบัติเทียบได้กับมาตรฐานสากลรวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้างเชื่อมโยงถึงกันและเปิด
โอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็วแล ะ
โปร่งใสโดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริตความมัธยัสถ์และสร้างจิตสานึกใน
การปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้นกฎหมายต้องมีความชัดเจนมีเพียงเท่าท่ี
จาเป็นมีความทันสมัยมีความเป็นสากลมีประสิทธิภาพและนาไปสู่การลดความเหลอ่ื มล้าและเอื้อต่อการพัฒนาโดย
กระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติและการอานวยการความยุติธรรมตาม
หลกั นติ ธิ รรม

เกีย่ วข้องดา้ นการศกึ ษา
4. ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นผู้เรียนให้มี
ทักษะการเรียนรู้ และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่การเปล่ียนบทบาทครูการเพิ่ม
ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาและการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตการสร้างความต่ืนตัวให้คนไทย
ตะหนักถึงบทบาทความรบั ชอบ และการวางตาแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ และประชาคมโลก
การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้ โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มและการสร้างระบบการศึกษาเพ่ือเป็นเลิศทาง
วิชาการระดับนานาชาติ

4.3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอ้ือต่อการพัฒนาทักษะ สาหรับศตวรรษท่ี 21 โดย
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับช้ันอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษา ที่มุ่งเน้นการใช้

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

28

ฐานความรู้และระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ อาทิ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ลการตั้งคาถาม ความเข้าใจและ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และการคิดเพื่อหาทางแก้ปัญหา ความรู้และทักษะ
ทางศิลปะและความรู้ด้านคณิตศาสตร์ และระบบคิดของเหตุผล และการหาความสัมพันธ์การพัฒนาระบบการ
เรียนรู้เชงิ บูรณาการ ท่ีเน้นการลงมือปฏบิ ัติมกี ารสะท้อนความคดิ /ทบทวนไตร่ตรองการสรา้ งผ้เู รยี นสามารถนาองค์
ความร้ไู ปใช้ในการสรา้ งรายได้หลายช่องทางรวมทง้ั การเรยี นรดู้ ้านวชิ าชีพและทักษะชวี ติ

4.3.2 การเปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่โดยปรับบทจาก “ครูสอน” เป็น “โค้ช”
หรอื “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ทาหนา้ ที่ กระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้ และวธิ ีจดั ระเบยี บการสร้าง
ความรู้ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนและมีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการ
เรียนรู้เพื่อผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน รวมท้ังปรับกระบวนการผลิตและพัฒนาครูตั้งแต่การดึงดูดคัดสรรผู้ มี
ความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพมีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเน่ืองครอบคลุมทั้ง
เงินเดือนเส้นทางสายอาชีพการสนับสนุนสื่อการสอนและสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้
ระหว่างกันรวมถึงการพัฒนาครูที่มีความเช่ียวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบและวัดผล
งานจากการพัฒนาผ้เู รียนโดยตรง

4.3.3 การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับทุกประเภทจัดให้มีมาตรฐาน
ข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับ จัดโครงสร้างการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์และให้เอื้อต่อ
การเข้าถึงการศึกษาอย่างสม่าเสมอภาคทั่วถึง และใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ การยกระดับ
สถาบันการศึกษาในสาขาท่ีมีความเช่ียวชาญสู่ความเป็นเลิศ ปฏิรูปการคลังด้านการศึกษาเพื่อเพ่ิมคุณภาพและ
ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา โดยการจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนใน
การจัดการศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยแยกออกจากกระบวนการประเมิน และการรับรอง
คุณภาพที่เน้นผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน รวมทั้งมีการปฏิรูประบบการสอบท่ีนาไปสู่การวัดผลในเชิงทักษะท่ีจาเป็น
สาหรับศตวรรษที่ 21 มากกว่าการวัดระดับความรู้ตลอดจนมีการวิจัยและใช้เทคโนโลยีในการสร้างและจัดการ
ความรูใ้ นการจัดการเรียนการสอนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะอาชพี ทส่ี อดคล้องกับบริบทพ้ืนที่

4.3.4 การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเน้นการจัดระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะท่ีมี
คุณภาพสูง และยืดหยุ่นผ่านการพัฒนากลไกต่างๆ อาทิ การพัฒนาการศึกษาออนไลน์แบบเปิดการพัฒนาระบบ
การเรยี นรู้เกีย่ วกบั ทักษะการร้ดู ิจทิ ลั การมรี ะบบเทียบโอนประสบการณ์ ระบบธนาคารหน่วยกิต มาตรการจงู ใจให้
คนเข้าสู่การยกระดับทักษะ การให้สถานประกอบการเพิ่มผลิตภาพแรงงานผ่านการพัฒนาความสามารถทาง
วชิ าชีพอย่างต่อเนื่อง ภายใตก้ รอบวฒุ ิวิชาชีพ นอกจากนี้ตอ้ งพัฒนาระบบการเรียนรใู้ นชุมชนให้เข้าถงึ ความรไู้ ดท้ ุก
ท่ีทุกเวลาปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพื้นทีเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ และมีชีวิตรวมถึงการเรียนรู้และทบทวน
ทกั ษะพ้ืนฐานได้แก่การอ่านออก-เขียนได้-คิดเลขเป็นโดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคมการ
พฒั นาทศั นคตแิ ละแรงบนั ดาลใจทีอ่ ยากเรยี นรู้การสร้างนิสัยใฝ่เรยี นรู้และใหผ้ ู้เรียนไดต้ ะหนักถึงส่ิงทีเ่ กิดขน้ึ รอบตัว
รวมทัง้ นาความรู้ไปพฒั นาตอ่ ยอดหรอื ประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ได้

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

29

4.3.5 การสร้างความต่นื ตัวให้คนไทย ตระหนักถึงบทบาทความรับผิดชอบ และการวางตาแหน่ง
ของประเทศไทยในภูมิภาคอาคเนย์ และประชาคมโลกบนพื้นฐานของความเข้าใจลุ่มลึกในประวัติศาสตร์ประเพณี
วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้าน เพ่ิมการรับรู้ของคนไทยด้านพหุวัฒนธรรม การเห็น
คุณค่าและมีความอดกล้นั ต่อความแตกต่างตามความเชื่อ ความคิด วิถชี ีวติ ผ่านความสามารถในการใช้ภาษาเพอ่ื น
บ้านแลกเปลี่ยนเด็กเยาวชนและนักเรียนการฝังตัวและการทางานระยะส้ันในประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาคเอเชีย
อาคเนย์

4.3.6 การวางพ้ืนฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใชด้ ิจิทัลแพลตฟอร์ม โดยเน้นการพัฒนาทักษะ
ดิจิทัลทักษะการคัดกรองความรู้องค์ความรู้การใช้เทคโนโลยีผสมผสานกับคุณค่าของครูไปพร้อมกันการพัฒนาส่ือ
การเรียนรู้ทม่ี ีคุณภาพ ทป่ี ระชาชนสามารถเข้าถงึ ทรัพยากรและใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
ผ่านเทคโนโลยีการเรียนรู้สมยั ใหมใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด

4.3.7 การสร้างระบบการศึกษาเพ่ือเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ โดยเน้นการเสริมสร้าง
และพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญและมีความโดดเด่นเฉพาะสาขาสรู่ ะดับนานาชาติในการ
ให้บริการทางการศึกษาวิชาการและการพัฒนาสมรรถนะแรงงานควบคู่กับการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือทาง
วิชาการและการแลกเปล่ียนนักเรียนนักศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ
เปน็ ศนู ยฝ์ กึ อบรมและศนู ย์ทดสอบสมรรถนะในระดับภมู ิภาค

4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็นการแปลง
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเพ่ือเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับ
ประเทศไทยให้เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วมีความมั่งคง มั่งค่ัง ยั่งยืนด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
มหี ลักการสาคัญคอื

1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง
สมเหตุสมผลมีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกัน และการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดี ซ่ึงเป็นเงื่อนไขที่
จาเป็นสาหรับการพัฒนาท่ีย่ังยืน ซ่ึงมุ่งเน้นการพัฒนาคนมีความเป็นคนที่สมบูรณ์สงั คมไทยเป็นสังคมคุณภาพ มีท่ี
ยืนและเปิดโอกาสให้กับทกุ คนในสังคมได้ดาเนินชีวิตทีด่ ีมคี วามสขุ และอยู่รว่ มกนั อยา่ งสมานฉันท์

2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดี สาหรับคนไทย
พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์มีวินัยใฝ่รู้มีความรู้มีทักษะมีความคิดสร้างสรรค์มีทัศนคติท่ีดีรั บผิดชอบต่อ
สงั คมมีจริยธรรมและคุณธรรมพัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพรอ้ มเข้าสู่สงั คมผสู้ ูงอายุอย่างมคี ุณภาพรวมถึง

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

30

การสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับส่ิงแวดล้อมอย่างเก้ือกูลอนุรักษ์ฟ้ืนฟูใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ มอย่างเหมาะสม

3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคงม่ังคั่งย่ังยืนเป็นประเทศ
พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “ม่ันคงมั่งค่ัง
ยัง่ ยนื ”

4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ที่เป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
มาเป็นกรอบในการกาหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมาควบคู่กับกรอบ
เปา้ หมายทยี่ ัง่ ยนื (SDGs)

5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหล่ือมล้า และขับเคลื่อนการเจริญเติบโต
จากการเพม่ิ ผลิตภาพการผลติ บนฐานของการใช้ภูมปิ ญั ญาและนวตั กรรม”

6) ยดึ “หลกั การนาไปสูก่ ารปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธ์ิที่
เปน็ เป้าหมายระยะยาว”

วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ วางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่สี มบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มรี ะเบียบวินัย ค่านิยมท่ดี ี มี

จติ สาธารณะ และมคี วามสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพทดี่ ี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งท่ีมที ักษะความรู้
ความสามารถและพฒั นาตนเองไดต้ ่อเน่ืองตลอดชีวิต

2. เพ่ือให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึง
ทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพรวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็ง
พึ่งพาตนเองได้

3. เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็งแข่งขันได้ มีเสถียรภาพและมีความยั่งยืนสร้างความเข้มแข็งของฐาน
การผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่ โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากข้ึนสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจ
ฐานรากและสรา้ งความมน่ั คงทางพลงั งานอาหารและนา้

4. เพื่อรักษาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และคุณภาพส่ิงแวดล้อม ให้สามารถสนับสนุนการ
เติบโตที่เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มและการมคี ณุ ภาพชีวิตทด่ี ีของประชาชน

5. เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใสทันสมัย และมีการทางานเชิง
บูรณาการของภาคีการพัฒนา

6. เพ่ือให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค โดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับการ
พฒั นายกระดับฐานการผลติ และบรกิ ารเดมิ และขยายฐานการผลิตและบรกิ ารใหม่

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

31

7. เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเช่ือมโยง (Connectivity) กับประเทศต่างๆ ทั้งในระดับ
อนุภาคภูมิภาคและนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพรวมท้ังให้ประเทศไทยมี บทบาทนาและ
สร้างสรรค์ในด้านการค้าการบริการและการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆท้ังในระดับอนุภาคภูมิภาคและ
โลก

เป้าหมายรวมเพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคด์ ังกล่าวได้กาหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 ประกอบด้วย

1. คนไทยมคี ุณลักษณะเปน็ คนไทยทีส่ มบูรณ์ มวี ินยั มที ัศนคติ และพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดี
ของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความรับผิดชอบ
และทาประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตทีพอเพียง
และมคี วามเป็นไทย

2. ความเหล่ือมล้าทางด้านรายได้และความยากจนลดลงเศรษฐกิจรากฐานมีความเข้มแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรการประกอบอาชีพและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพอย่างท่ัวถึง
และเปน็ ธรรม

3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการ
และดิจทิ ัล มีผู้ประกอบการร่นุ ใหม่ และเปน็ สังคมผ้ปู ระกอบการ ผ้ปู ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กที่เขม้ แข็ง
สามารถใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทลั ในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการมีระบบการผลิตและให้บริการ
จากรากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิต และบริการฐานความรู้ช้ันสูงใหม่ๆ ท่ีเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อมและชุมชน รวมท้ังการกระจายฐานการผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพ่ือลดความเหลื่อมล้า
โดยเศรษฐกจิ ไทยมเี สถยี รภาพ

4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ มมีความมน่ั คง ทางอาหารพลงั งานและน้า

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเก่ียวข้องกับสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี

1. ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ ใหค้ วามสาคัญกับการวางรากฐานการ
พัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์เร่ิมต้ังแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยท่ีต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจท่ีดีมีทักษะทางสมอง
ทักษะการเรียนรูแ้ ละทักษะชีวิตเพื่อให้เติบโตอย่างมีคณุ ภาพ ควบค่กู ับการพฒั นาคนไทยในทุกช่วงวยั ให้เป็นคนดีมี
สุขภาวะท่ีดีมีคณุ ธรรมจริยธรรมมีระเบียบวินัยมีจิตสานึกที่ดตี ่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความร้แู ละสามารถปรับตัว
เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวทร่ี วดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมีสถาบันทางสงั คมท่ีเข้มแข็ง ทั้งสถาบันครอบครัว
สถาบันการศึกษาสถาบันศาสนาสถาบันชุมชนและภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูงอีกทั้งยัง
เป็นทุนทางสังคมสาคัญในการขบั เคลือ่ นการพัฒนาประเทศ

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

32

1. วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพอื่ ปรบั เปล่ยี นใหค้ นในสังคมไทยมคี ่านิยมตามบรรทดั ฐานที่ดีทางสังคม
1.2 เพื่อเตรียมคนในสังคมไทยให้มีทกั ษะในการดารงชวี ติ สาหรบั โลกศตวรรษท่ี 21

2. เป้าหมายและตวั ชี้วัด
2.1 เป้าหมายการพฒั นา
2.1.1 คนไทยส่วนใหญม่ ีทศั นคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานทด่ี ีของสังคมเพมิ่ ข้ึน
2.1.2 คนในสังคมไทยทกุ ชว่ งวยั มีทักษะความรู้และความสามารถเพิ่มขนึ้
2.1.3 คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากลและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง

อยา่ งต่อเนือ่ ง
2.2 ตัวช้ีวัด
เป้าหมาย 1 คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคตแิ ละพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม
ตัวช้ีวัต 1.1 ประชากรอายุ 13 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรม

จริยธรรมเพิ่มขนึ้
เป้าหมาย 2 คนในสังคมไทยทกุ ช่วงวยั มที ักษะความรู้และความสามารถเพม่ิ ขน้ึ
2.1 เด็กปฐมวัยมพี ฒั นาการเต็มตามศักยภาพ
ตัวชว้ี ัด 1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 90
2.2 เด็กวัยเรยี นและวยั รุน่ มีสติปญั ญาและความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มข้ึน
ตวั ชี้วัด 2 คะแนน IQ เฉลีย่ ไมต่ ่ากว่าเกณฑม์ าตรฐาน
ตวั ชว้ี ัด 3 เดก็ รอ้ ยละ 70 มคี ะแนน EQ ไมต่ ่ากว่าเกณฑม์ าตรฐาน
เป้าหมาย 3 คนไทยมีการศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามาตรฐานสากลและมีความสามารถเรยี นร้ดู ้วย

ตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง
ตัวช้วี ัด 3.1 คะแนนผลสอบ PISA ในแตล่ ะวิชาไม่ต่ากว่า 500
ตัวชี้วัด 3.2 การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพ่อื การอ่านหาความรูเ้ พม่ิ ขน้ึ
ตวั ชีว้ ัด 3.3 การอ่านของคนไทยเพิ่มขนึ้ เป็นรอ้ ยละ 85

3. แนวทางการพัฒนา
3.1 ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรมจริยธรรมมีวินัยจิตสาธารณะและพฤติกรรมที่พึง

ประสงค์
3.1.2 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม

จริยธรรมความมีวินัยจิตสาธารณะรวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดล้อมภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอดจาก
อบายมุขอยา่ งจรงิ จงั

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

33

3.2 พัฒนาศักยภาพคนใหม้ ีทกั ษะความร้แู ละความสามารถในการดารงชวี ติ อย่างมีคณุ คา่
3.2.1 สง่ เสรมิ ให้เด็กปฐมวยั มีการพัฒนาทกั ษะทางสมองและทักษะทางสงั คมทีเ่ หมาะสม
3.2.2 พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบมีความคิด

สรา้ งสรรคม์ ที กั ษะการทางานและการทางานและการใช้ชีวติ ทีพ่ ร้อมเข้าสตู่ ลาดแรงงาน
1) ปรับกระบวนการเรยี นรทู้ ี่ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีการเรียนรู้จากการปฏิบตั จิ รงิ สอดคล้องกับ

พัฒนาการของสมองแต่ละช่วงวัยและเน้นพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีด้านวิศวกรรมศาสตร์
ดา้ นคณติ ศาสตร์ด้านศลิ ปะและด้านภาษาตา่ งประเทศ

2) สนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาทักษะ
ชวี ิตและทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง อาทิ การอ่าน การบาเพ็ญประโยชน์ทางสังคมการดูแลสุขภาพการทางาน
รว่ มกันเปน็ กลุ่มการวางแผนชีวิต

3) สร้างแรงจูงใจให้เด็กเข้าสู่การศึกษาในระบบทวิภาคี และสหกิจศึกษาท่ีมุ่งการฝึก
ทกั ษะอาชีพให้พรอ้ มเขา้ ส่ตู ลาดแรงงาน

3.3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต
3.3.1 ปรับหลักสูตรการผลิตครูที่เน้นสมรรถนะมีจิตวิญญาณความเป็นครูเป็นผู้แนะนาและ

สามารถกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนสร้างมาตรการจูงใจให้ ผู้มีศักยภาพสูงเข้ามาเป็นครูปรับระบบประเมิน
วทิ ยฐานะทางวชิ าชพี ใหเ้ ชื่อมโยงกับพัฒนาการผ้เู รียนและสร้างเครอื ข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรใู้ นการจัดการเรียนการ
สอนทเ่ี ปน็ การพัฒนาสมรรถนะของครูอย่างต่อเนื่อง

3.3.2 สง่ เสรมิ มาตรการสรา้ งแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลางท่มี ศี ักยภาพเข้ารว่ มระบบ
ทวิภาคีหรือสหกจิ ศกึ ษาสร้างความรคู้ วามเข้าใจให้กบั ผู้ประกอบการครูฝึกหรือครูพเ่ี ล้ียงให้รว่ มงานแผนการจดั การ
เรียนการสอนฝึกปฏบิ ตั ิและการตดิ ตามประเมินผลผู้เรยี น

3.3.3 จัดทาส่ือการเรียนรู้ท่ีเป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณ์สื่อสาร
เคล่ือนที่ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่ายสะดวกท่ัวถึงไม่จากัดเวลาและสถานที่และใช้มาตรการทางภาษาจูงใจ
ให้ภาคเอกชนผลิตหนังสือสอ่ื การอา่ นและการเรยี นร้ทู ่มี คี ุณภาพและราคาถูก

3.3.4 ปรับปรุงแหลง่ เรียนรูใ้ นชมุ ชนให้เป็นแหล่งเรยี นรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชวี ิต อาทิ พิพิธภัณฑ์
ห้องสมุดโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์โรงเรียนผู้สูงอายุรวมท้ังส่งเสริมให้มีระบบการจัดการความรู้ท่ีเป็น
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ

3.4 ผลกั ดนั ใหส้ ถาบนั ทางสังคมมีสว่ นร่วมพฒั นาประเทศอย่างเข้มแข็ง
3.4.1 ส่งเสริมสถาบันการศึกษาให้เป็นแหล่งบริการความรู้ทางวิชาการท่ีทุกคนสามารถเข้าถึงได้

รวมทง้ั สนบั สนุนใหม้ กี ารทาวจิ ยั ร่วมกับชุมชนในการแก้ไขปัญหาและตอบโจทย์การพัฒนาในพ้ืนที่

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

34

2. ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ให้ความสาคัญกับการ
ดาเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ท่ัวถึง โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการศึกษาและสาธารณะสุข รวมทั้ง
การปิดช่องวา่ งการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซึ่งเป็นการดาเนินงานต่อเน่ืองจากท่ีได้ขับเคลื่อนและผลักดัน
ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และมุ่งเน้นมากขึ้นในเร่ืองการเพ่ิมทักษะแรงงานและการใช้นโยบายแรงงานท่ี
สนับสนุนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงงานและเสริมสร้างรายได้สูงขึ้นและการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพรายได้และให้ความช่วยเหลือท่ีเช่ือมโยงการเพ่ิมผลิตภาพ
สาหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่าสุดผู้ด้อยโอกาสสตรีและผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก
ขนาดกลางและขนาดย่อมวิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจเพ่ือสังคมการพัฒนาองค์กรการเงินฐานรากและการเข้าถึง
เงินทุนเพ่ือสร้างอาชีพและการสนับสนุนการเข้าถึงปัจจัยการผลิตคุณภาพดีท่ีราคาเป็นธรรม เป็นต้น และใน
ขณะเดยี วกันก็ต้องเพิม่ ประสทิ ธิภาพการใชง้ บประมาณเชิงพน้ื ท่ีและบรู ณาการเพ่ือการลดความเหลอื่ มลา้

1. วตั ถุประสงค์
1.2 เพอ่ื ใหค้ นไทยทกุ คนเข้าถงึ บริการทางสังคมที่มคี ุณภาพไดอ้ ย่างทวั่ ถึง

2. เปา้ หมายและตวั ชวี้ ดั
เปา้ หมายท่ี 2 เพิ่มโอกาสการเข้าถงึ บริการพ้ืนฐานทางสงั คมของภาครฐั
ตวั ชี้วัด 2.1 อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (ที่ปรับปรุง) ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 90

โดยไม่มีความแตกตา่ งระหว่างกลุ่มนักเรียน/นกั ศึกษาท่ีคราอบครัวมีฐานะทางเศรษฐกจิ สงั คมและระหวา่ งพ้นื ท่ี
ตัวชี้วัด 2.2 สัดส่วนนักเรียนท่ีทีผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาทุกระดับช้ันผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ

50 มจี านวนเพ่ิมขึ้นและความแตกตา่ งของคะแนนผลสมั ฤทธ์ิระหว่างพืน้ ที่และภมู ิภาคลดลง
3. แนวทางการพัฒนา
3.1 การเพ่ิมโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่ีมีรายได้ต่าสุดให้สามารถเข้าถึง

บริการท่ีมคี ุณภาพของรัฐและมีอาชีพ ทั้งในดา้ นการศึกษาในระดบั ทีส่ ูงข้ึนการไดร้ บั ขยายความคุม้ ครองทางสงั คม
(Social Protection) และสวัสดิการ (Welfare) ท่ีเหมาะสมอย่างท่ัวถึงและเป็นธรรมและการพัฒนาทักษะฝีมือ
เพอ่ื ประกอบอาชีพและยกระดับรายไดโ้ ดย

3.1.1 ขยายโอกาสการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพให้แก่เด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาสทาง
การศึกษาอย่างต่อเนือ่ งโดยไม่ถูกจากัดศักยภาพครอบครัวพ้ืนท่ีและสภาพร่างกายการดูแลนักเรียนยากจนท่ีอาศัย
ในพ้ืนท่ีห่างไกลที่ครอบคลุมต้ังแต่การสร้างราได้ของครัวเรือนการสนับสนุนค่าเดินทางไปยังสถานศึกษา กา ร
ปรับปรุงระบบคัดกรองและการให้เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจนของ สพฐ. ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน
และการให้ทนุ การศกึ ษาต่อระดับสงู เพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้เดก็ นักเรียนออกจากโรงเรียนกลางคัน

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

35

3.2 การกระจายการให้บริการภาครัฐท้ังด้านการศึกษาสาธารณะสุขและสวัสดิการที่มีคุณภาพให้
ครอบคลมุ และทว่ั ถงึ

3.2.1 ส่งเสริมให้มีการกระจายการบริการด้านการศึกษาที่มีคุณภาพให้มีความเท่าเทียมกันมาก
ข้ึนระหว่างพ้ืนท่ีโดย 1) กาหนดมาตรการสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรครูมีการกระจายตัวอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน
ทั้งมาตรการท่ีเป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน อาทิ สวัสดิการบ้านพักครูเส้นทางความก้าวหน้าทางอาชีพท่ีชัดเจนเพิ่ม
โอกาสในการพัฒนาครู 2) สร้างระบบความรับผิดชอบ (Accountability) ของการจัดการศึกษาโดยนาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการศึกษามาประกอบการประเมินผลครูและโรงเรียน 3) ขยายการจัดการศึกษาทางไกลโดยใช้โครงข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ ชว่ ยเหลอื โรงเรยี นทอ่ี ยู่หา่ งไกลและขาดแคลนครผู ู้สอน

3.2.2 ส่งเสริมให้ประชากรกลุ่มต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กเยาวชนสตรีผู้พิการผู้สูงอายุและ
ผูด้ ้อยโอกาสทางสังคมสามารถเข้าถงึ บริการของรัฐและโอกาสทางสังคมได้อยา่ งเท่าเทียมพร้อมทั้งส่งเสริมบทบาท
ของกลุ่มข้างต้นในระดับการบริหารและการตัดสินใจท้ังในระดับชาติและระดับท้องถ่ินเพ่ือสนับสนุนการพัฒนา
ประเทศ

3. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน ประเด็นท้าทายท่ี
ต้องเร่งดาเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้แก่การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
ยกระดับคุณภาพส่ิงแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชนเร่ง
แก้ไขปัญหาวิกฤตส่ิงแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการบริโภคพัฒนาระบบบริหารจัดการที่โปร่งใส
เปน็ ธรรมส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ มเป็นวงกวา้ งมากข้ึนต้องเร่งเตรียมความพร้อมใน
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรวมท้ัง
บริหารจดั การเพ่ือลดความเสี่ยงด้านภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ

1. วตั ถปุ ระสงค์
1.1 บรหิ ารจดั การสิง่ แวดล้อมและลดมลพิษให้มคี ณุ ภาพดขี ้ึน

2. เป้าหมายและตวั ชี้วัด
เป้าหมายที่ 3 สร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อมที่ดีลดมลพิษและลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน

และระบบนิเวศโดยให้ความสาคัญเป็นลาดับแรกกับการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายฟ้ืนฟูคุณภาพ
แหล่งน้าสาคัญของประเทศและแก้ไขปัญหาวิกฤตหมอกควันตัวชี้วัด 3.1 สัดส่วนของขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการ
จัดการอย่างถูกต้องและนาไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 สัดส่วนของเสียอันตรายชุมชนท่ีได้รับการกาจัด
อย่างถกู ต้องไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ 30 และกากอุตสาหกรรมอนั ตรายท้ังหมดเข้าสูร่ ะบบการจัดการทถี่ ูกต้อง

3. แนวทางการพัฒนา
3.3 แก้ไขปัญหาวิกฤตส่ิงแวดล้อมด้วยการเร่งรัดการควบคุมมลพิษท้ังทางอากาศขยะน้าเสียและของ

เสียอันตรายที่เกิดจากการผลิตและบริโภคสร้างเมืองท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมหรือเมืองสีเขียวเพ่ือสร้างคุณภาพ
สิ่งแวดลอ้ มทด่ี ีใหก้ ับประชาชนโดยมีแนวทางดาเนินงานดงั นี้

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

36

3.1.1 เรง่ รัดการแกไ้ ขปัญหาการจัดการขยะตกคา้ งสะสมในพนื้ ท่ีวิกฤตผลกั ดันกฎหมายและกลไก
เพื่อการคัดแยกขยะสนบั สนุนการแปรรูปเป็นพลังงานใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือให้เกิดการลดปรมิ าณขยะ
รวมท้งั สร้างวนิ ัยคนในชาตเิ พือ่ การจัดการขยะอยา่ งย่งั ยนื

4. ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความม่ังค่ังและยั่งยืน
ให้ความสาคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความม่ันคงที่เป็นปัจจัยสาคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศโดยเฉพาะการอยูร่ ่วมกันในสงั คมอย่างสันติของผมู้ ีความเห็นต่างทางความคิดละอุดมการณ์บนพื้นฐานของ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุขและการเตรียมการรับมือภัยคุกคามข้ามชาติซ่ึง
จะส่งผลกระทบอยา่ งมีนยั ยะสาคญั ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศในระยะ 20 ปขี ้างหน้า

1. วัตถุประสงค์
1.1 เพ่ือปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และเสริมสร้างความม่ันคงภายในรวมทั้งป้องกันปัญหาภัย

คุกความทีเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คมและการเมืองของชาติ
1.2 เพื่อสร้างความพร้อมและผนึกกาลังของทุกภาคส่วนให้มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการ

ความมั่นคงและมีศักยภาพในการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ท่ีเกิดจากภัยคกุ คามทั้งภัยทางทหารและภัยคุกคาม
อืน่ ๆ

1.3 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านความม่ันคงกับมิตรประเทศในการสนับสนุนการรักษาความสงบ
สุขและผลประโยชนข์ องชาติ

2. เป้าหมายและตัวชว้ี ัด
เป้าหมายภาพรวมคือผลประโยชนข์ องชาตวิ ่าดว้ ยความม่ันคงมงั่ คั่งย่งั ยนื
เป้าหมายท่ี 1 ปกปอ้ งและเชดิ ชสู ถาบันพระมหากษตั ริยใ์ หเ้ ปน็ สถาบันหลักของประเทศ
ตัวชวี้ ัด 1.1 จานวนกจิ กรรมเทิดพระเกียรตแิ ละเชิดชูสถาบันพระมหากษตั ริยเ์ พ่ิมข้นึ
ตวั ช้ีวดั 1.2 จานวนกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกบั โครงการพระราชดาริเพ่ิมข้นึ
เป้าหมายท่ี 2 ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีโอกาสใน

การศึกษาและการประกอบอาชพี ทีส่ รา้ งรายไดเ้ พม่ิ ข้นึ
ตัวชว้ี ดั 2.1 รายได้ครัวเรอื นเฉลยี่ ต่อคนและจานวนปกี ารศึกษาเฉลี่ยในพน้ื ที่ 3 จังหวดั ชายแดน

ภาคใต้เพมิ่ ขึน้
เป้าหมายท่ี 3 ประเทศไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความม่ันคงในกลุ่มประเทศสมาชิก

อาเซียนมิตรประเทศและนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆ ควบคู่ไปกับการรักษา
ผลประโยชนข์ องชาติ

ตัวช้ีวดั 3.1 จานวนคดีทเี่ กย่ี วข้องกับยาเสพตดิ ลดลง

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

37

3. แนวทางการพัฒนา
3.1 การรักษาความมน่ั คงภายในเพื่อให้เกดิ ความสงบในสังคมและธารงไว้ซ่ึงสถาบันหลกั ของชาติ
3.1.1 สร้างจิตสานึกของคนในชาติให้มีความหวงแหนและธารงรักษาสถาบันชาติศาสนา

พระมหากษัตริย์โดยปลูกฝังค่านิยมและสร้างความตระหนักถึงความสาคัญพร้อมทั้งกาหนดมาตรการเพื่อป้องกัน
การกระทาท่มี ีแนวโนม้ ทจี่ ะส่งผลกระทบต่อสถาบันหลักของชาติ

3.1.2 เสริมสร้างความปรองดองของคนในชาติและมีกลไกในการตรวจสอบและพัฒนาภาค
การเมืองโดยปลูกฝังค่านิยมและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของการอยู่ร่วมกับบนพ้ืนฐานความแตกต่างทาง
ความคิดและอุดมการณ์ทางการเมืองภายใต้สิทธิและหน้าท่ีตามระบอบประชาธิปไตยและคานึงถึงความม่ันคงและ
ผลประโยชนข์ องชาตอิ ยา่ งแทจ้ รงิ

3.1.3 ป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในชายแดนภาคใต้โดยกระบวนการสันติสุขแนวทาง
สันติวิธีและกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่บนพ้ืนฐานความแตกต่างทางอัตลักษณ์และชาติพันธุ์เพ่ือ
ขจัดความขัดแย้งลดความรุนแรงตามแนวทาง “เข้าใจถึงพัฒนา” พร้อมท้ังสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
ความเปน็ ธรรมทางสงั คมในพื้นท่ี

3.2 การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยคุกคาม
ทง้ั การทหารและภยั คกุ คามอ่ืนๆ

3.2.1 ดาเนินบทบาทเชิงรุกและใช้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศทั้งระดับภูมิภาคและพหุ
ภาคีเพ่ือปกป้องและรักษาผลประโยชน์ของไทยตลอดจนเสริมสร้างขีดความสามารถแลกเปล่ียนและเรียนรู้แนว
ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศและร่วมมือในการรับมือกับภัยคุกคามด้านความมั่นคงระหว่างประเทศ อาทิ ปัญหายาเสพติด
การก่อการร้าย การโยกยา้ ยถน่ิ ฐาน การลักลอบเข้าเมือง การค้ามนุษย์ ความมั่นคงดา้ นไซเบอร์ภยั พบิ ัติ โรคระบาด
โรคตดิ ตอ่ ร้ายแรง โรคอบุ ัตใิ หม่ โรคอบุ ตั ิซา้ และสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ทางสาธารณสุขอ่นื ๆ

5. ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การบริหารจดั การในภาครัฐการป้องกนั การทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภบิ าล
ในสังคมไทยเป็นช่วงเวลาสาคัญท่ีต้องเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังเพื่อให้เป็น
ปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบผลสาเร็จบรรลุเป้าหมาย ท้ังการ
บริหารจัดการภาครัฐให้โปร่งใสมีประสิทธิภาพรับผิดชอบตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรมและประชาชนมีส่วนร่วมมี
การกระจายอานาจและแบ่งภารกิจรับผิดชอบท่ีเหมาะสมระหว่างส่วนกลางภูมิภาคและท้องถิ่นและวางพ้ืนฐาน
เพ่อื ให้บรรลุตามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี 2579

1. วตั ถุประสงค์
1.1 เพ่ือใหภ้ าครัฐมขี นาดเลก็ มกี ารบริหารจดั การทด่ี แี ละไดม้ าตรฐานสากล
1.2 เพอ่ื ลดปัญหาการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบของประเทศ
1.3 เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการทางกฎมายให้สามารถอานวยความสะดวกด้วยความรวดเร็ว

และเปน็ ธรรมแก่ประชาชน

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

38

2. เปา้ หมายและตัวชว้ี ัด
เปา้ หมายท่ี 1 เพม่ิ คะแนนดัชนกี ารรบั รู้การทจุ รติ ให้สูงขึน้
ตัวช้ีวัด 1.1 ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริตสูงกว่าร้อยละ 50 เพื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ

ฉบับที่ 12
3. แนวทางการพฒั นา
3.1 ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานบทบาทภารกิจและคุณภาพบุคลากรภาครัฐให้มีความโปร่งใส

ทนั สมัยคลอ่ งตวั มีขนาดที่เหมาะสมเกิดความคุ้มค่า
3.1.1 กาหนดภารกิจขอบเขตอานาจหนา้ ทีข่ องราชการบรหิ ารส่วนกลางส่วนภูมิภาคและท้องถ่ิน

ใหช้ ดั เจนและไม่ซา้ ซ้อน
3.2 ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
3.2.1 ปลูกฝงั ให้คนไทยไม่โกง
1) ส่งเสริมสนับสนนุ ใหท้ ุกภาคส่วนมุ่งสร้างจิตสานกึ ในการรักษาประโยชน์สาธารณะทัศนคติเชิง

บวกรวมท้ังคุณธรรมจริยธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับทุกกลุ่มในสังคมผ่านกลไกครอบครัว
สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา ส่ือมวลชนและเครือข่ายทางสังคมควบคู่กับการปลุกฝังจิตสานึกความซ่ือสัตย์
สุจริตคา่ นยิ มท่ีถกู ตอ้ งสร้างความตระหนักถงึ ภัยรา้ ยแรงของการทุจรติ และการรู้เท่าทันการทุจรติ ของสังคมไทยโดย
อาศยั กลไกทางสังคมเปน็ มาตรการในการลงโทษผู้กระทาผิดหรือผกู้ ระทาการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

2) พฒั นากลไกและระบบดาเนินการดาเนนิ งานท่ีทาใหเ้ จ้าหน้าที่ของรัฐและผูด้ ารงตาแหน่งทาง
การเมืองปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและมาตรฐานจริยธรรมอย่างเคร่งครัดโดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้
ประชาชนภาคเอกชนและสื่อมวลชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพฤติกรรมของข้าราชการและผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมืองในการใช้ตาแหน่งหน้าที่ในทางมิชอบและกาหนดข้ันตอนการลงโทษผู้ไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าฝืนประมวล
จรยิ ธรรมตามความรา้ ยแรงแหง่ การกระทาอย่างจริงจงั

3) พัฒนาสร้างเครือข่ายและคุ้มครองการแจ้งเบาะแสการทุจริตและประพฤติมิชอบในกลุ่ม
ประชาชน

3.1 ปอ้ งกนั การทุจริต
4) เร่งรัดหน่วยงานภาครัฐให้มีการดาเนินงานกาหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ
ทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเคร่งครัดโดยติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ
ทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบของทกุ หนว่ ยงานของรัฐอย่างต่อเนื่อง
5) เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งให้แก่ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตให้สามารถเป็น
หน่วยงานหลักของภาครัฐในการเฝ้าระวังป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบท่ีบูรณาการการ
ทางานร่วมกันอยา่ งมีกลยุทธ์

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

39

6. ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิจัยและนวัตกรรมให้ความสาคญั กับการใช้องค์กร
ความรู้ทางวิทยาศาสตรผ์ ลงานวิจัยและพัฒนาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนวัตกรรมและความคดิ สรา้ งสรรค์อย่าง
เข้มข้นทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคมรวมทั้งให้ความสาคัญกับการพัฒนาสภาวะแวดล้อมหรือ
ปัจจัยพ้ืนบานที่เอ้ืออานวยทั้งการลงทุนด้านการวิจัยโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการ
บรหิ ารจดั การเพือ่ ช่วยขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศให้กา้ วเข้าสู่เป้าหมายดงั กลา่ ว

1. วตั ถุประสงค์
1.1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยกระดับความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นก้าวหน้าให้

สนบั สนุนการสรา้ งมูลคา่ ของสาขาการผลติ และบรกิ ารเป้าหมาย
2. เปา้ หมายและตัวชว้ี ัด
เป้าหมายท่ี 1 เพมิ่ ความเขม้ แข็งด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องประเทศ
ตัวชี้วัด 1.1 สัดส่วนการลงทุนวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์และเป้าหมายของประเทศ :

งานวจิ ยั พ้ืนฐานเพอ่ื สร้าง/สะสมองคค์ วามรู้ : ระบบโครงสร้างพื้นฐานบุคลากรและระบบมาตรฐาน
ตวั ชวี้ ดั 1.2 จานวนบคุ ลากรลงทุนวิจยั และพัฒนาเพิ่มเปน็ 25 คนตอ่ ประชากร 10,000 คน

3. แนวทางการพัฒนา
3.1 เร่งสง่ เสริมการลงทนุ วจิ ยั และพฒั นาและผลักดันสกู่ ารใชป้ ระโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์และเชิงสังคม
3.1.1 ลงทุนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสังคมเพ่ือลดความเหลื่อมล้าและ

ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อาทิ เทคโนโลยีการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยี
เพื่อผู้พิการ เทคโนโลยีเพ่ือผู้สูงอายุ เทคโนโลยีทางการแพทย์ (ยาและวัคซีน) โดยอาศัยกลไกการดาเนินงานอย่าง
เป็นเครอื ขา่ ยระหว่างสถาบันการวจิ ัยภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชนหรือชมุ ชน

3.2 พัฒนาสภาวะแวดลอ้ มของการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยวี จิ ยั และนวตั กรรม
3.2.1 ด้านบุคลากรวจิ ยั
1) เร่งการผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับความ

ต้องการโดยเฉพาะในสาขา STEM (วิทยาศาสตร์ (Science : S) เทคโนโลยี (Technology : T) วิศวกรรมศาสตร์
(Engineer : E) และคณติ ศาสตร์ (Mathematics : M) เร่งสรา้ งวจิ ัยมอื อาชพี

2) พัฒนาศกั ยภาพนกั วจิ ัยใหม้ ีทั้งความรแู้ ละความเขา้ ใจเทคโนโลยี
5. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้จัดทาแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เพื่อใช้เป็นแผน
ยทุ ธศาสตร์ระยะยาว สาหรับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการศกึ ษาของประเทศ ไดน้ าไปใช้เปน็ กรอบและแนวทางการ
พฒั นาการศึกษาและเรียนรู้สาหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิตโดยจุดมุ่งหมายท่ีสาคัญของแผน
คือ การมุ่นเนน้ การประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาและการศึกษาเพอ่ื การมีงานทาและสร้างงานได้
ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

40

รวมทั้งการเป็นพลวตั รเพอื่ ให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนา
แล้วซ่งึ ภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ได้กาหนดสาระสาคัญสาหรับบรรลุเปา้ หมายของ
การพฒั นาการศึกษาใน 5 ประการ ไดแ้ ก่ การเข้าถึงโอกาสทางการาศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา
(Equity) คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทท่ีเปล่ียนแปลง
(Relevancy) ในระยะ 15 ปีข้างหนา้ ดงั น้ี

วสิ ัยทัศนข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision)

คนไทยทกุ คนไดร้ ับการศึกษาและเรยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมคี ณุ ภาพ ดารงชีวติ อยา่ งเปน็ สขุ
สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

วตั ถุประสงค์ (Objectives)
1. เพือ่ พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพ
2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของ
รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติและยุทธศาสตรช์ าติ
3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรมรู้จักสามัคคีและร่วมมือผนึก
กาลังม่งุ ส่กู ารพัฒนาประเทศอยา่ งย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. เพื่อนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหลื่อมล้าภายในประเทศ
ลดลง
พนั ธกจิ
1. พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีคนไทยทุกคนเข้าถึงโอกาสในการศึกษาและเรียนรู้ตลอด
ชีวติ สรา้ งความเสมอภาคดา้ นการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเปา้ หมาย ยกระดับคณุ ภาพและประสิทธิภาพของการจัด
การศกึ ษาทกุ ระดับ และจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องและรองรับกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21
2. พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นผู้มีความรู้คุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สามารถพฒั นาศกั ยภาพและเรียนร้ไู ด้ดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต
3. สร้างความมั่นคงแก่ประเทศชาติโดยสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และสังคมคุณธรรม
จริยธรรมที่คนไทยทุกคนอยู่ร่วมกันอยา่ งปลอดภัย สงบสุข และพอเพยี ง
4. พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการก้าวข้ามกับดักประเทศ
รายได้ปานกลาง สู่การเป็นประเทศในโลกท่ีหนึ่ง และลดความเหลื่อมล้าในสังคมด้วยการเพ่ิมผลิตภาพของกาลัง
แรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนา
ประเทศ พร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงท่เี ป็นพลวตั รของโลกศตวรรษที่ 21 ภายใต้ยุคเศรษฐกิจและสงั คม 4.1

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

41
ยทุ ธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ 1 การจัดการศึกษาเพอื่ ความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตร์ 2 การผลติ และพัฒนากาลังคนการวจิ ัยและนวัตกรรมเพ่อื สร้างขดี ความสามารถ

ในการแข่งขันของประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
ยทุ ธศาสตร์ 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตร์ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
ยุทธศาสตร์ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา

เป้าหมายด้านผู้เรยี น (Learner Aspirations)
แผนการศึกษาแห่งชาติ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

(3Rs 8Cs) ประกอบด้วย ทกั ษะและคณุ ลกั ษณะต่อไปนี้
3Rs ไดแ้ ก่ การอา่ นออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics)
8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and

Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้าน
ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ด้านทักษะ
การส่ือสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ (Communication, Information and Media Literacy) ทักษะ
ดา้ นคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และ
ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
(Compassion)

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

42

แผนภาพ คณุ ลักษณะและทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21

Creativity and Innovation Cross – cultural understanding Collaboration, Teamwork and
(ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม) (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรม Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมอื
ต่างกระบวนทศั น)์ การทางานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ า)
Critical Thinking and Problem Solving
(ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจารณญาณ และ 8Cs Communication, Information and
ทักษะในการแก้ปญั หา) Media Literacy (ดา้ นทกั ษะการสอ่ื สาร
สารสนเทศ และการรเู้ ท่าทันส่ือ
Career and Learning Skills )
(ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นร)ู้ Computing and ICT Literacy
(ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
Compassion (ความมีเมตตา กรณุ า สารสนเทศและการส่ือสาร)
มีวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)

Reading (อ่าน) (W) Riting เขยี นและ (A) Rith metics คณิตศาสตร์
RRgtgdhd

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

43

ตัวชว้ี ัดตามเปา้ หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ไดก้ าหนดตามเปา้ หมายการพฒั นาการศกึ ษาดังน้ี

ตัวช้วี ัด ปัจจบุ นั ปีท่ี ปีท่ี ปีท่ี ปีที่
1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20

การเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษา (Access) 100
1) สดั สว่ นนกั เรียนปฐมวยั (3 – 5 ป)ี ต่อประชากรกลุม่ อายุ 3 – 76.2 90 100 100 100
5 ปีเพม่ิ ขึ้น 100
2) ประชากรอายุ 6 – 11 ปีไดเ้ ขา้ เรียนระดบั ประถมศึกษาทุกคน 100 100 100 100 95
12.5
3) ประชากรอายุ 12 – 14 ปีได้เขา้ เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 88.9 100 100 100 40
หรือเทยี บเทา่ ทุกคน 72.7 80 85 90 100
4) สัดส่วนนักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า (15 – 17 10.0 10.7 11.5 12.0 100
ปี) ตอ่ ประชากรกลมุ่ อายุ 15 – 17 ปีเพิ่มขน้ึ 0 20 25 30
5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีจานวนปีการศึกษาเฉล่ีย 100 100 100 100 100
เพม่ิ ขน้ึ N/A 50 75 100 1.0
6) รอ้ ยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณเ์ พ่ือ 65
ยกระดับคุณวุฒิ N/A 98 100 100
7) ร้อยละของผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือ 100
บริการทางการศกึ ษาที่เหมาะสม
8) ร้อยละของแหล่งเรียนรู้(พิพิธภัณฑ์สวนสัตว์ ห้องสมุดศูนย์
ฯลฯ) ทไ่ี ด้รับการพัฒนาให้สามารถจดั บริการทางการศึกษาและมี
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ทม่ี คี ณุ ภาพเพ่มิ ข้ึน
9) สถานศกึ ษาทุกแห่งมีอนิ เตอร์เน็ตความเรว็ สูงและมีคุณภาพ

ความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา (Equity)
1) ดัชนีความเสมอภาคของอัตราการเข้าเรียนระดับการศึกษาข้ัน N/A 1.0 1.0 1.0
พนื้ ฐาน ตามฐานะทางเศรษฐกิจและพืน้ ทลี่ ดลง
2) ร้อยละของเด็กในวัยเรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษได้รับ N/A 20 30 50
การศึกษาเตม็ ตามศักยภาพเพิ่มข้นึ (จาแนกตามกลุ่มประเภทของ
ความจาเปน็ พเิ ศษ)
3) ผู้เรียนระดับการาศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคนได้รับการสนับสนุน N/A 100 100 100
ค่าใช้จ่ายในการศึกษา 15 ปี

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

44

ตาราง ตัวช้วี ัดตามเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ (ตอ่ )

ตวั ชว้ี ดั ปจั จุบนั ปีท่ี ปที ่ี ปีท่ี ปที ่ี
1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20

คุณภาพการศกึ ษา (Quality)

1) ร้อยละของเด็กแรกเกิด1 – 5 ปมี พี ัฒนาการสมวัย 72.7 85 90 90 90

เพ่มิ ขนึ้

2) ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทาง น้อยกวา่ 50 55 60 65
การศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) 51 แต่ละวชิ า 50

ผา่ นเกณฑ์คะแนนร้อยละ 51 ขึน้ ไปเพิม่ ข้นึ

3) ความแตกต่างระหวา่ งคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ นอ้ ยกวา่ น้อยกว่า น้อยกวา่ 0 0

ทางการศกึ ษาระดับชาติ 1152 ข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) 10 5 2

ของนักเรยี นระหว่างพืน้ ท่ี/ภาคการศึกษาในวิชา

คณติ ศาสตร์และภาษาองั กฤษลดลง

4) คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบโครงการประเมิน 421/409/4 500 510 520 530

นกั เรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for 15

International Student 415 Assessment หรอื

PISA) ของนกั เรยี นอายุ 15 ปีในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ การ

อ่านและคณิตศาสตร์สงู ขนึ้

5) ระดับความสามารถด้านการใชภ้ าษาอังกฤษเฉลี่ย A1/A2/B2 A1/A2/B2 A2/B1/B2+ B1/B1+/C1 B2/B2/C1+

ของผูส้ าเร็จในแต่ละระดบั เม่ือทดสอบตามมาตรฐาน

ความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) สงู ขึ้น (ระดับ

มัธยมตอนตน้ /ระดับมัธยมตอนปลาย/ระดบั ปรญิ ญา

ตร)ี

6) รอ้ ยละการอ่านของคนไทย 111 (อายุต้งั แต่ 6 ปีข้นึ 77.7 85 90 95 100

ไป) เพิ่มขน้ึ

7) ร้อยละของผ้เู รยี นทกุ ระดับการศึกษามีพฤติกรรมที่

แสดงออกถึงความตะหนักในความสาคัญของการ

ดารงชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม ความมีคุณธรรม

จรยิ ธรรมและการประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงในการดาเนนิ ชีวิตมากขึน้

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

45

ตาราง ตัวชี้วัดตามเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ (ต่อ)

ตัวชี้วดั ปัจจุบัน ปีท่ี ปีที่ ปีที่ ปที ่ี
1-5 6 - 10 11 -15 16 - 20

7.1 รอ้ ยละของจานวนนกั เรียนทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรม/

โครงงานท่ีเกยี่ วข้องกบั การสร้างเสริมคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็น N/A 30 60 90 100

มิตรกับส่ิงแวดลอ้ มเพิ่มขน้ึ

7.2 รอ้ ยละของจานวนโรงเรียนทีใ่ ช้กระบวนการเรียนรู้ N/A 40 100 100 100

เพอ่ื สร้างเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมเพิ่มข้ึน

7.3 ร้อยละของจานวนนกั เรยี นที่เขา้ ร่วมกจิ กรรมตาม N/A 30 60 90 100

โครงการนอ้ มนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิเพม่ิ ข้นึ

8) รอ้ ยละของผูส้ าเร็จการศึกษาระดบั อาชวี ศึกษาและ 60 75 85 95 100

อดุ มศึกษา มีสมรรถนะเปน็ ที่พอใจของสถานประกอบการ

เพ่มิ ขึน้

9) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพตามเกณฑป์ ระกนั 70 80 90 100 100

คณุ ภาพการศึกษาเพิม่ ขนึ้

10) จานวนโครงการ/งานวจิ ยั เพือ่ สร้างองค์ความร/ู้ N/A 500 700 900 1,200

นวัตกรรมท่ีนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาประเทศ

เพ่ิมข้ึน

11) รอ้ ยละของผลงานวิจยั ทไี่ ดร้ ับการตพี ิมพ์ในระดับ N/A 10 20 30 40

นานาชาตเิ พิ่มขน้ึ

12) รอ้ ยละของนกั เรยี นในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจ น้อยกวา่ 50 55 60 65

จังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษทีม่ ีคะแนนผลการ 50

ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) แต่

ละวิชาผา่ นเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขน้ึ ไปเพ่ิมข้นึ

13) ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีมกี ารจดั การเรียนการสอน/
กิจกรรมเพอ่ื เสริมสรา้ งความเปน็ พลเมือง (Civic
Education) เพิ่มขน้ึ

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

46

ตาราง ตวั ชี้วัดตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ (ตอ่ )

ตวั ชี้วดั ปจั จุบนั ปีที่ ปีที่ ปที ี่ ปีท่ี
1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20

ประสิทธิภาพ (Efficiency)

1) มีการปรบั ปรุงโครงสร้างการบรหิ ารงานของกระทรวงศึกษาธกิ าร N/A มี มี มี มี

2) มรี ะบบการบรหิ ารงานบุคคลของครอู าจารยแ์ ละบุคลากรทางการ N/A 8 11 11 11

ศึกษาท่มี ีประสิทธภิ าพและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

3) มีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับ N/A มี มี มี มี

บรบิ ทและความต้องการจาเป็นของสถานศกึ ษา

4) จานวนฐานข้อมูลรายบุคคลด้านการศึกษาของประเทศทีเ่ ป็น N/A มี มี มี มี

ปจั จุบัน สามารถเช่อื มโยงและใชข้ ้อมูลระหว่างหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งมี

ประสทิ ธภิ าพเพิ่มข้นึ

5) มฐี านข้อมลู ดา้ นการศึกษาเพือ่ ใชป้ ระโยชนใ์ นการวางแผน N/A มี มี มี มี
การบริหารจดั การศึกษาการติดตามและประเมนิ ผล

6) มรี ะบบเครือข่ายเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื่ การศึกษาทท่ี นั สมัย N/A มี มี มี มี
สนองตอบความต้องการของผู้ใช้บรกิ ารอย่างมีประสิทธิภาพ N/A มี มี มี มี
7) มีกลไกสง่ เสรมิ ให้ทุกภาคส่วนสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการจัด ไม่มี มี มี มี มี
การศกึ ษา

8) มกี ารปรบั ระบบการจัดสรรเงินไปสดู่ า้ นอุปสงคห์ รือตวั ผู้เรยี น

9) มกี ารปรับปรุงแก้ไขกฎหมายทเ่ี กยี่ วกับความเป็นอิสระและความ N/A มี มี มี มี

รบั ผิดชอบของสถานศึกษา (Autonomous & Accountability)

10) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาขนาดเลก็ ท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ 30 20 10 0 0

คุณภาพภายนอกลดลง

11) สัดสว่ นงบประมาณตามประเดน็ (Agenda)สูงขึ้นเม่ือเทียบกบั 30:70 40:60 50:50 60:40 70:30
งบประมาณตามภารกจิ (Function)

12) สดั ส่วนผูเ้ รียนเอกชนสงู ข้ึนเมือ่ เทียบกับรฐั 20:80 25:75 30:70 40:60 70:30

13) อัตราการออกกลางคันของผู้เรียนระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานลดลง 0.125 0.10 0.08 0 0

14) ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ปลอดยาเสพตดิ เพ่ิมขึ้น 80 90 95 98 100

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

47

ตาราง ตวั ชีว้ ัดตามเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ (ตอ่ )

ตวั ชว้ี ัด ปจั จุบัน ปีที่ ปีที่ ปีท่ี ปที ี่
1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20

15) รอ้ ยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกระดบั และ N/A 100 100 100 100
ประเภทการศึกษาท่ีไดร้ บั การพฒั นาตามมาตรฐานวิชาชพี และ
สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพเพิ่มข้นึ 40 36
5 7
16) จานวนหน่วยงาน องค์กรภาครัฐ/เอกชนทม่ี สี ว่ นร่วมจดั 41 39
การศึกษาแบบประชารัฐเพิม่ ข้ึน 90 95
15 20
การตอบโจทย์บรบิ ททเี่ ปลี่ยนแปลง (Relevancy) 65 80
60:40 70:30
1) อันดับความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 36 ดา้ น 52 48 44 40:60 50:50
การศึกษาดีขึ้น (IMD) 70 100
95 100
2) จานวนสถาบนั อุดมศึกษาทตี่ ิดอนั ดับ 300 อันดับแรกของ 0 2 4

โลกเพ่ิมข้ึน

3) อนั ดับความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อผูจ้ บอุดมการณ์ 47 45 43

ศึกษาเพ่ิมข้นึ (IMD)

4) รอ้ ยละของสถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาโดยบรู ณาการองค์ 5 30 60

ความรแู้ บบสะเต็มศึกษาเพ่มิ ขึ้น

5) จานวนหลกั สตู รของสถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาทวิวุฒิ 2 5 10
(Dual Degree) ร่วมกบั ตา่ งประเทศเพม่ิ ข้นึ

6) รอ้ ยละของผู้เรียนที่เรียนท่ีเรียนในระบบทวภิ าคี/สหกิจ N/A 30 50
ศึกษาในสถานประกอบการที่มีมาตรฐานเพิ่มข้ึน

7) สดั ส่วนผเู้ รยี นอาชวี ศกึ ษาสูงข้นึ เมอื่ เทยี บกับผู้เรียนสามญั 40:60 45:55 50:50
ศกึ ษา

8) สดั ส่วนผเู้ รียนวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วิทยาศาสตรแ์ ละ 25:75 30:70 35:65

เทคโนโลยสี งู ข้ึน เม่อื เทียบกับผเู้ รียนสงั คมศาสตร์

9) รอ้ ยละของประชากรวัยแรงงาน (15-19 ปี) ทม่ี ีการศึกษา 56.25 60 65

ระดบั มธั ยมตอนปลายหรอื เทียบเทา่ ขึ้นไปเพิ่มข้ึน

10) อัตราการได้งานทา/ประกอบอาชีพอิสระของผู้สาเรจ็ N/A 80 90

การศกึ ษาระดบั อาชวี ศึกษา (ไม่นบั ศกึ ษาต่อ) ภายใน

ระยะเวลา 1 ปีเพ่ิมขึ้น

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2


Click to View FlipBook Version