The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpm2, 2021-12-16 02:38:38

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

48

11) อตั ราการได้งานทา/ประกอบอาชีพอิสระของผ้สู าเรจ็ N/A 75 80 85 90
การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาภายในระยะเวลา 1 ปีเพ่มิ ข้นึ N/A 100 100 100 100
12) มฐี านข้อมูลความต้องการกาลงั คน (Demand)

ปจั จัยและเง่ือนไขความสาเร็จ
การดาเนินงานตามวตั ถุประสงคเ์ ป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตรต์ ามท่ีกาหนดไว้ในแผนการศกึ ษา

แห่งชาตจิ ะประสบผลสาเรจ็ ตามท่ีระบุไว้ในยทุ ธศาสตร์และแนวทางการพฒั นาหนว่ ยงานทงั้ ระดับนโยบายและ
ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร ท้ังในส่วนกลางส่วนภูมภิ าค จังหวัดเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา และสถานศึกษา ต้องยดึ ถือเป็นแนวทาง
ในการดาเนนิ งานและมีการทบทวนปรับปรุงมาตรการเป้าหมายความสาเรจ็ ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขน้ึ ใน
แต่ละพื้นท่เี พ่ือพฒั นาศักยภาพผเู้ รยี นในทกุ ช่วงวัยต้องดาเนนิ การดังนี้

1. การสร้างการรบั ความรู้ความเข้าใจและการยอมรับจากผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียและประชาสังคมในการ
สนับสนุนส่งเสริมการพฒั นาการศกึ ษาในลกั ษณะต่างๆ อยา่ งกวา้ งขวางมุ่งเนน้ ที่การจดั ระบบการศึกษาที่มี
ประสทิ ธิภาพโปร่งใสตรวจสอบได้และมงุ่ เน้นการพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นในทุกระดับ

2. การสร้างความเข้าใจในปา้ หมายและยุทธศาสตรก์ ารดาเนนิ งานของแผนฯ ของผ้ปู ฏบิ ตั ทิ ุก
หนว่ ยงานทกุ ระดับเพื่อใหม้ ีการขับเคล่อื นแผนฯ ไปส่กู ารปฏิบตั ิมีการบริหารจัดการและการเชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตร์
และแนวทางการพฒั นาใหบ้ รรลุเป้าหมายและวสิ ัยทัศน์ของการจดั การศึกษามีคณะกรรมการกากบั ดแู ลแตล่ ะ
ยุทธศาสตรใ์ หเ้ กดิ การนาไปปฏิบัติโดยมรี ะบบงบประมาณเป็นกลไกสนบั สนุนใหบ้ รรลุผลอย่างเปน็ รูปธรรม

3. การปรับเปลย่ี นกระบวนทัศนข์ องการจดั การศึกษาจากการเปน็ ผู้จดั การศึกษาโดยมีรฐั มาเปน็ การจัด
การศึกษาโดยทุกภาคสว่ นของสงั คมที่มุง่ จดั การศกึ ษาเพ่ือความเท่าเทียมและท่วั ถึง (Inclusive Education)
ตลอดจนการส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ สาหรบั ทุกคนซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน (Sustainable
Development Goals)

4. การจัดให้แผนการศึกษาแหง่ ชาติเปน็ เสมือนแผนงบประมาณดา้ นการจดั การศึกษาของรฐั ระบบการ
จดั สรรงบประมาณประจาปีใหย้ ดึ แผนงานโครงการและเป้าหมายการพัฒนาที่กาหนดไว้ในยทุ ธศาสตร์และแนว
ทางการพัฒนาของแผนฯ เป็นหลกั ในการพจิ ารณาเพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ งานพัฒนาการศึกษาเป็นไปในทิศทางและ
เปา้ หมายการพัฒนาผเู้ รียนแต่ละชว่ งวัยและการพัฒนากาลังคนตามความต้องการของตลาดงานและประเทศเพ่ือ
การจดั การศกึ ษาบรรลุผลตามยุทธศาสตรต์ ัวชี้วัดในช่วงเวลาท่ีกาหนด

5. การปรบั ระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพโดยปรับโครงสรา้ งการบริหารงานให้มี
ความชัดเจนในดา้ นบทบาทหน้าท่ีและการกระจายอานาจและการตดั สนิ ใจจากสว่ นกลางสรู่ ะดบั ภูมภิ าคและ
สถานศกึ ษารวมทง้ั การปรบั ระบบการบรหิ ารจัดการและการบริหารงานบุคคลในแตล่ ะระดบั ให้ส่งเสริมการ
สนบั สนนุ การจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้เป็นไปอยา่ งมคี ุณภาพผเู้ รยี นไดร้ บั บริการการศึกษาที่มีมาตรฐานอยา่ ง
เสมอภาคและเท่าเทยี ม

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

49

6. การสรา้ งระบบข้อมูลและสารสนเทศทีบ่ ูรณาการและเชอ่ื มโยงกับระบบการประกนั คุณภาพภายใน
และการประเมินคุณภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการรายงานต่อสาธารณชนจะเปน็ กลไกลใน
การสรา้ งการรบั รู้ของผู้จัดการศกึ ษาและผเู้ รียนเพือ่ การปรับประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การและความรับผิดชอบ
ต่อผู้เรยี นผา่ นระบบการกากับตรวจสอบติดตามและประเมินผล

7. การปฏิรปู ระบบทรัพยากรและการเงนิ เพื่อการศกึ ษาเพื่อให้รฐั สามารถใชเ้ ครอื่ งมอื ทางการเงนิ ใน
การกากบั การดาเนนิ งานของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติและนโยบายรัฐบาล

6. ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2563 - 2565
สาระสาคัญของแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ าร (พ.ศ. 2563 - 2565)

จากการวิเคราะหแ์ ผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 จานวน 23 ฉบบั แผนการ
ปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา รวมทัง้ แผนการปฏิรูปดา้ นประเทศดา้ นอ่ืนๆ ทั้ง 11 ด้าน ที่มกี ารเชื่อมโยงกับ
ขอบเขตอานาจหนา้ ทข่ี องกระทรวงศึกษาธกิ ารภายใต้กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงปรากฏความเกย่ี วข้องกบั
กระทรวงศึกษาธิการในหลายประเดน็ ทั้งในสว่ นที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นหนว่ ยงานหลักในการขบั เคลื่อนและใน
สว่ นท่กี ระทรวงศึกษาธิการเป็นหนว่ ยสนบั สนุน ประกอบกับไดป้ ระเมินสถานภาพของกระทรวงศึกษาธกิ าร จากผล
การดาเนนิ งานในชว่ งสามปที ่ีผา่ นมา (พ.ศ. 2560- 2562) จงึ สามารถกาหนดยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ
(พ.ศ. 2563- 2565) ทจี่ ะมีความสอดคล้องกับกรอบระยะเวลาตามทีย่ ทุ ธศาสตร์ชาติได้วางไวใ้ นชว่ ง 3 ปีแรก โดย
มงุ่ เนน้ การปรับสภาวการณ์ของประเทศให้สามารถเอ้อื ต่อการสร้างความพร้อมสาหรับการบูรณาการการทางาน
ร่วมกันของทกุ ภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคตชว่ ง 5 ปีตอ่ ไป (พ.ศ. 2566 -2570) ทั้งนี้ สาระสาคัญของ
แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2563- 2565) จะประกอบด้วย เปา้ หมายหลกั วิสัยทศั น์ พันธกจิ
ยทุ ธศาสตร์ และผลผลติ /ผลลพั ธภ์ ายใตย้ ทุ ธศาสตร์ ดังนี้
1. เป้าหมายหลัก

1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีข้นึ ผูเ้ รยี นมีคณุ ลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
2. ครูมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ
3. สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐานในภมู ภิ าค มที รัพยากรพ้นื ฐานท่เี พียงพอตามเกณฑม์ าตรฐาน
4. ผู้เรยี นทกุ กลมุ่ ทุกช่วงวัยได้รับโอกาสในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ
5. ระบบและวธิ ีการคดั เลือกเพอ่ื การศึกษาต่อ ได้รบั การพัฒนา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
6. ผู้เรียนในแต่ระดบั การศึกษา ได้รบั การเพม่ิ เติมความรู้ ทักษะในการประกอบอาชพี ท่ีตรงกบั
สถานภาพตลาดแรงงานในพื้นทชี่ มุ ชน สังคม จังหวดั และภาค
7. กาลงั คนไดร้ บั การผลติ และพัฒนาตามกรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาติ
8. ผูเ้ รียนปฐมไว้ได้รับการเตรียมความพร้อมในการสุขภาพและโภชนาการ รม่ กับหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
9. มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ ทสี่ นบั สนนุ การพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในพืน้ ท่จี ังหวดั และภาค

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

50

10. ระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้รบั การปรับปรงุ ให้มีประสทิ ธิภาพเพ่ือ
รบั รองพื้นท่นี วตั กรรมการศึกษารว่ มกบั ทุกภาคส่วน
2. วสิ ัยทศั น์

“กระทรวงศกึ ษาธิการวางระบบเพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้-ทักษะ มีทัศนคติทถี่ ูกต้องตอ่
บา้ นเมอื ง มพี ื้นฐานชวี ิตทม่ี ั่นคง มีคุณธรรม มงี านทา มีอาชพี และเป็นพลเมอื งท่เี ข้มแข็ง”

“วางระบบ” หมายถงึ วางระบบการจดั การเรยี นรู้ และระบบบรหิ ารการจดั การศกึ ษา
ที่บรู ณาการการทางานระหวา่ งหน่วยงานในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการให้มีความคล่องตัว เพอ่ื ดาเนนิ การปฏิรปู
การศึกษาร่วมกับภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม

“ผเู้ รยี น” หมายถึง เด็กปฐมวัย เยาวชน นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชนทกุ ช่วงวยั ท่ี
ได้รบั บริการจากกระมรวงศึกษาธกิ าร

“มคี วามรู้ - ทักษะ” หมายถึง ผลลพั ธ์ท่พี งึ ประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ และบรหิ ารจัก
การการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีจะเกิดกับผเู้ รียน ไดแ้ ก่ 1) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและ 2) ทักษะที่
จาเป็นในศตวรรษที่ 21 (ทักษะการเรียนรู้และนวตั กรรม / ทักษะดา้ นสอ่ื เทคโนโลยีดิจิทัล / ทกั ษะชีวิตและ
อาชีพ)

“มที ศั นคตทิ ่ีถูกต้องต่อบา้ นเมือง” หมายถงึ 1) ความรูค้ วามเข้าใจต่อชาติบา้ นเมือง 2)
ยดึ มัน่ ในศาสนา 3) มนั่ คงในสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และ 4) มคี วามเอ้อื อาทรต่อครอบครวั และชมุ ชนของตน

“มพี ืน้ ฐานชวี ติ ที่ม่ันคง มคี ุณธรรม” หมายถงึ 1) ร้จู กั แยกแยะสงิ่ ทผ่ี ิด – ชอบ / ชัว่ – ดี
2) ปฏบิ ตั ิแต่ส่ิงที่ถกู ต้องดงี าม 3) ปฏเิ สธสง่ิ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง 4) มรี ะเบียบวนิ ัย และ 5) มสี ุขภาพท่แี ขง็ แรง

“มงี านทามอี าชีพ” หมายถึง 1) การฝกึ ฝนอบรมในสถานศึกษาที่ถกู ต้องมุ่งให้เด็ก
เยาวชนรักการทางาน สู้งาน อดทนทางานจนสาเรจ็ 2) การเรยี นการสอนทั้งในหลกั สูตรและนอกหลกั สตู รต้องมี
จุดมุง่ หมายให้ผู้เรียนทางานเปน็ 3) ต้องสนับสนุนผ้สู าเรจ็ หลกั สตู รให้มอี าชีพ และมีงานทา

“เปน็ พลเมืองท่ีเขม้ แขง็ ” หมายถงึ การเปน็ ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ มจี ติ อาสาการ
อยรู่ ่วมกันและยอมรบั ความแตกตา่ งในสังคมไทยบนหลักประชาธปิ ไตยตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
3. พันธกิจ

1. ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษา
2. ลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา
3. ม่งุ ความเปน็ เลศิ และสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
4. ปรับปรงุ ระบบบรหิ ารจัดการการศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพในการใชท้ รพั ยากร เพ่ิมความคล่องตวั ใน
การรองรับความหลากหลายของการจดั การศึกษา และสรา้ งเสริมธรรมาภิบาล

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

51

4. ยทุ ธศาสตร์
1. พฒั นาหลักสตู ร กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวดั ประเมนิ ผล
2. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
3. ผลติ และพฒั นาตามกาลังคน รวมทั้งงานวิจัยทสี่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของประเทศ
4. เพิม่ โอกาสใหค้ นทุกช่วงวยั เขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาอย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต
5. ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอ่ื การศึกษา
6. พัฒนาระบบบริหารจดั การและสง่ เสริมให้ทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา

5. ผลผลติ /ผลลัพธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์
5.1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผ้เู รยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทส่ี งู ขึน้ มที ักษะการเรยี นรู้ท่ีครอบคลุมท้งั ด้านวชิ าการ วชิ าชพี วชิ า

ชีวติ และสขุ ภาวะท่ีดี มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ ในเชิงสรา้ งสรรค์ และแก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นได้ มี
ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น สอดคล้องกับทักษะท่จี าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีคณุ ธรรมจริยธรรมและมี
จติ อาสา มจี ิตสานึกรักษ์สง่ิ แวดล้อม และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การดาเนินชีวิต ผู้สาเร็จการศกึ ษา
ทุกระดับ/ประเภททไี่ ด้รบั การศึกษาทีม่ ีคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของชาติรวมท้ังมีทศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ งต่อการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ และสามารถอยู่รว่ มกันในสังคมได้อยา่ งมี
ความสขุ สามัคคีปรองดอง

5.2 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ผู้ประกอบการวชิ าชพี ครู ผู้บริหารสถานศกึ ษา และบุคลากรทางการศกึ ษา มสี มรรถนะตามมาตรฐาน

วิชาชีพ มีจรรยาบรรณของวชิ าชพี มอี งค์ความรู้และทักษะในด้านพหปุ ัญญา มีความเปน็ มอื อาชพี สามารถใช้
ศกั ยภาพในการจัดการเรยี นรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และมีขวัญกาลังใจที่ดีในการปฏิบตั ิหน้าท่รี วมทัง้ มแี ผนการ
พฒั นาและการใช้อัตรากาลังครูใหม้ ีประสิทธภิ าพโดยเฉพาะครรู ะดบั ปฐมวัย ครูระดับอาชวี ศึกษา ครสู อน
ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม

5.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3
ผลผลิต /ผลลัพธ์
มกี ารผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยที มี่ ีปริมาณเพยี งพอโดยมีคุณภาพ

มีสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานวิชาชีพ ผูม้ คี วามสามารถพิเศษด้านพหปุ ัญญา สามารถตอ่ ยอด
ประกอบอาชีพ ประชาชนในพน้ื ทีช่ ุมนมุ ได้รับการศึกษาเพ่ือฝึกอาชีพตามความถนัดและความสนใจ รวมทง้ั มี
ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมทีส่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริงในเชิงพาณชิ ยแ์ ละการสร้างมูลคา่ เพ่ิมทางสงั คม

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

52

5.4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4
ผลผลิ /ผลลัพธ์
ผู้เรียนทกุ คนเข้าถงึ การศึกษาที่คุณภาพอย่างเทา่ เทียมกนั ในทกุ ระดับและประเภทการศึกษาไดร้ ับการ

สนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายตัง้ แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และสามารถเรียนรจู้ ากแหลง่ เรยี นรไู้ ด้อย่าง
ตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ สถานศึกษาในภาคภูม/ิ ชนบท ได้รับการยกระดบั คณุ ภาพในการใหบ้ ริการเดก็ พิการและด้อย
โอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทง้ั ในระบบโรงเรยี นและนอกระบบโรงเรียน รวมทั้งมีระบบเทยี บโอนผลการเรียน
และทักษะประสบการณเ์ พ่ือขอรับวฒุ กิ ารศึกษาเพ่มิ ขึ้นได้

5.5 ยุทธศาสตร์ท่ี 5
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผ้เู รียน สถานศึกษาและหนว่ ยงานทางการศกึ ษาทุกระดับประเภทการศึกษาเข้าถึงทรัพยากรพื้นฐาน

ระดบั ดจิ ิทัลแพลตฟอรม์ รับรองการเรียนรู้ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ เพื่อเพิ่มองค์ความรู้และทกั ษะต่อยอดการประกอบ
อาชีพ /การปฏิบตั ิงาน รวมท้ังมีศูนยก์ ลางในการจัดเกบ็ รวบรวมสือ่ สารการเรียนการสอนแบบดิจิทลั ท่ีทันสมยั และ
ระบบฐานข้อมูลกลางทางการศกึ ษาของประเทศที่ถกู ต้องเป็นปจั จบุ นั และสามารถเช่ือมโยงกับฐานข้อมลู การ
พฒั นาทรัพยากรมนุษยก์ บั หน่วยงานอืน่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งได้

5.6 ยุทธศาสตรท์ ี่ 6
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ระบบบริหารจัดการของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีความคล่องตัวในการบริหารงานการศึกษามากย่งิ ขน้ึ มี

เอกภาพ และเปน็ ที่ยอมรับของผูร้ ับบรกิ าร โครงสร้างของกระทรวงได้รบั การปรบั ปรงุ ให้มปี ระสิทธิภาพ โดยการ
กระจายอานาจลงไปสู่ส่วนภูมิภาค สถานศกึ ษาทุกระดับมีมาตรฐานข้นั ตา่ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ มี
ธรรมาภิบาลในการบริหาร และมกี ลไกลสง่ เสรมิ พลังทางสังคมใหท้ ุกภาคสว่ นเขา้ มาดาเนนิ การรว่ มและ/หรือ
สนับสนนุ ทรพั ยากรในพนื้ ท่ีนวัตกรรมการศึกษา รวมทง้ั กลไกลการนาความรู้ ทักษะประสบการณ์ และภูมปิ ัญญา
ของผสู้ งู อายมุ าถา่ ยทอดส่ผู ้เู รยี นในพ้นื ทีช่ มุ ชน เพื่อนาไปใช้สาหรบั การประกอบอาชพี ได้

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

53

การนายทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารสู่การปฏิบตั ิ
1. กลไกลการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ

การนายทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร (พ.ศ.2563- 2565) ไปสู่การปฏิบัตใิ ห้เกิดผลสาเรจ็ ตาม
เปา้ หมายน้นั จาเป็นตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากทุกราชการ ทกุ หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการทีจ่ ะร่วม
กาหนดโครงการและกิจกรรมเพอ่ื ขบั เคลื่อนการดาเนินงานภายใต้ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงฯ และถ่ายทอดสาระสาคญั
ของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯ ลงสแู่ ผนปฏบิ ตั ริ าชการ แผนปฏิบัตกิ าร แผนงานของหน่วยงานทงั้ ในสว่ นกลาง
และในระดบั พื้นท่ีภูมภิ าค /จังหวดั ซง่ึ ในการขับเคลอื่ นฯ ควรจะต้องมีการสร้างการส่อื สารให้แก่บคุ คลในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการไดร้ บั รู้ เขา้ ใจท่ีชัดเจนในยุทธศาสตรก์ ระทรวงฯ โดยผา่ นกลไกลทส่ี าคัญคือ การจดั ทา
แผนการจดั ทาและการบริหารงบประมาณในระดบั ตา่ งๆ รวมท้งั การสรา้ งช่องทางให้ภาคประชาสงั คมได้มโี อกาส
แสดงความคดิ เห็นและมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาอย่างกวา้ งขวางภายใตย้ ทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดงั น้ี

1.1 กลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง
กระทรวงศกึ ษาธิการ (ป.ย.ป.ศธ.) ซ่ึงมอี านาจหนา้ ท่ี เปน็ หน่วยงานขบั เคลอื่ นยุทธศาสตร์ชาติและการปฏริ ูป
ประเทศของกระทรวงศึกษาธิการ และกากับ ติดตามการดาเนนิ งานของกระทรวงศึกษาธิการ ใหเ้ ป็นไปตามแผน
แม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติและแผนการปฏริ ปู ประเทศ โดยกลุม่ ขบั เคลอื่ นฯ ความให้ความสาคญั กบั การนาแผน
ยทุ ธศาสตร์กระทรวงฯ สาหรบั ใช้เป็นกรอบในการจดั ทาแผนปฏิบัติการของกระทรวงศึกษาธกิ ารเพ่ือสนับสนุนการ
ดาเนินงานของยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทฯ แผนการปฏิรปู ประเทศ ใหบ้ รรลุตามเปา้ หมาย

1.2 คณะกรรมการขับเคล่อื นการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในภูมภิ าค
ซึ่งมีอานาจหนา้ ที่ กาหนดทิศทางการดาเนินงานของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในระดบั ภูมิภาคหรือจงั หวัด และ
พิจารณาจดั สรรงบประมาณใหแ้ กห่ นว่ ยงานของกระทรวงฯ ในระดบั ภมู ิภาคหรือจังหวัด โดยคณะกรรมการฯควร
ให้ความสาคญั กับการใช้แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงฯ เพ่ือเป็นกรอบในการกาหนดแผนพัฒนาการศึกษาในระดบั
ภาคตา่ งๆ ทจ่ี ะเช่อื มดยงไปสู่การจดั ทาแผนการศึกษาในระดบั จงั หวัด

1.3 คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั (กศจ.) ซ่งึ มีอานาจหนา้ ที่ในเขตจังหวดั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
การศึกษาแห่งชาติ กาหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และการสง่ เสริมสนับสนนุ การจกั การศกึ ษาทุก
ระดบั และทกุ ประเภทในจงั หวดั โดยมีคณะกรรมการฯ ควรใหค้ วามสาคัญกับการใช้แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงฯ
เพ่อื เป็นกรอบในการจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารในระดบั จังหวัดและการพิจารณาเสนอแนะการ
จดั สรรงบประมาณใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาในจังหวัด

1.4 แผนปฏิบัตริ าชการของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยยดึ สาระสาคญั ของแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงศกึ ษาธิการ (พ.ศ.2563- 2565) ได้แก่ เปา้ หมายหลัก พนั ธกิจ และยุทธศาสตร์กระทรวงฯ สาหรบั ใช้
จัดทาแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563- 2565) และแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี ของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่ือนาไปสู่การขอจดั ต้ังและการบริหารงบประมาณของกระทรวงศึกษาธกิ ารในแต่ละ
ปงี บประมาณให้มีความสอดคลอ้ งกนั นโยบายของรฐั บาล

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

54

1.5 แผนปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการระดบั กรม /หน่วยงานในกากับของกระทรวงศึกษาธกิ าร
สว่ นกลาง โดยยึดสาระสาคัญของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2563- 2565) ได้แก่ เปา้ หมายหลัก
พนั ธกิจ และยุทธศาสตรก์ ระทรวงฯ สาหรับใช้จดั ทาแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563- 2565) และ
แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีของสว่ นราชการระดับกรม ซง่ึ ควรเนน้ การวิเคราะห์กาหนดแผน /โครงการทม่ี ี
ความสาคญั สงู ภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการในแตล่ ะปีงบประมาณ ให้มีความสอดคลอ้ งกับแผนปฏบิ ตั ิ
ราชการของกระทรวงฯ
2. กลยุทธ์/แนวทางดาเนนิ งาน

เพอ่ื ให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร (พ.ศ.2563- 2565) โดยผา่ นกลไกกลุ่ม
ขับเคลื่อนฯ และคณะกรรมการฯ แผนปฏบิ ัตริ าชการ แผนพัฒนา แผนปฏบิ ัติการของหนว่ ยงานท้งั ในสว่ นกลาง
และในระดับพืน้ ทีภ่ มู ภิ าคและจงั หวดั สามารถสร้างผลผลิต ผลลัพธใ์ ห้ไปสูเ่ ปา้ หมายและบรรลุนิสัยทศั น์ของ
กระทรวงศึกษาธิการในปี 2565 โดยผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งอาจจะพิจารณานากลยทุ ธ์ /แนวทางดาเนินงานภายใต้
ยทุ ธศาสตร์กระทรวงฯ มาใช้สาหรบั การวิเคราะห์เพอ่ื จัดทาแผนงาน โครงการ กิจกรรม ดงั นี้

2.1 ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั และการประเมินผล
1) พัฒนาและปรบั ปรุงโครงสรา้ งของหลักสตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐานใหท้ นั สมยั สอดคล้อง

กับทักษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ 21 และเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นในแตล่ ะช่วงวัย
2) พฒั นาและใหก้ ารรบั รองหลกั สตู รฐานสมรรถนะท่ีสอดคล้องกบั กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ

รวมทัง้ จัดทาแผนการดาเนนิ งานเพอ่ื ผลักดันใหม้ ีการเชื่องโยงระหวา่ งวฒุ ิการศึกษาและมาตรฐานอาชพี
3) พฒั นาและปรับปรงุ หลักสูตรระยะสนั้ ของการศึกษานอกระบบให้มมี าตรฐานอย่าง

ตอ่ เนอื่ งตามบรบิ ทท่เี ปลย่ี นแปลงของประเทศ โดยเฉพาะหลกั สตู รพัฒนาทักษะอาชีพที่เหมาะสาหรบั กลุ่มผ้เู รยี น
วยั กาลงั แรงงาน และกลุม่ ผู้สงู อายุ โดยร่วมกบั สถาบนั อดุ มศึกษาในพนื้ ที่

4) นามาตรฐานการศึกษาของชาตมิ าใช้เป็นเป้าหมายและกรอบสาหรับการจดั การศึกษา
ของโรงเรยี น สถานศึกษา และหน่วยงานตน้ สงั กัด

5) จดั การเรยี นรู้ที่มุง่ เน้นพหปุ ัญญาของผเู้ รียนตามศกั ยภาพ และสรา้ งทกั ษะพืน้ ฐานที่
เชือ่ มโยงสู่การสรา้ งอาชพี และมงี านทา

6) จัดการเรยี นรู้ใหผ้ เู้ รยี นได้ลงมอื ปฏิบตั ิ (Active Learning) โดยใช้สถานการณ์จรงิ /
สถานการณ์จาลองที่สอดคล้องเหมาะสมกบั บริบทของแตล่ ะพน้ื ที่ และกาหนดกิจกรรมให้ผูเ้ รยี นและครไู ด้แสดง
ความคิดเห็นรว่ มกนั

7) ออกแบบการเรียนรู้เพ่ือฝึกทกั ษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเปน็ ขัน้ ตอนและเพ่ิมระดับ
ด้วยการเรยี นการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ (Coding) อยา่ งต่อเน่ือง

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

55

8) การจัดการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมโครงงานด้วยแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรม คณิตศาสตร์ และภูมิสงั คม บูรณาการร่วมกบั การสง่ เสรมิ การนาคุณธรรม จริยธรรมและการเปน็ พลเมือง
ทีเ่ ขม้ แขง็ มาสผู่ ้เู รยี น (STAR STEMS)

9) นากระบวนการลกู เสือมาใช้ในกจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ ผ้เู รยี นอย่างเข้มข้น
ตลอดจนพัฒนา /ปรบั ปรุงให้ค่ายลูกเสือเป็นแหลง่ เรียนรู้ และจดั กิจกรรมเสริมสร้างระเบียบวนิ ยั การมีจติ อาสา
และการมที ัศนคตทิ ่ีถกู ต้องต่อการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม

10) ส่งเสรมิ การเรยี นรูเ้ พื่อสร้างจติ สานกึ ในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม

11) สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ในการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ใิ น
การดาเนนิ ชีวติ

12) สง่ เสริมการเรยี นรู้เพื่อสร้างความเขา้ ใจ ความตระหนกั ในการเลือกรบั /การส่งต่อ
ขอ้ มลู ขา่ วสารจากสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างถูกต้อง

13) จดั ทาแผนขบั เคล่ือน /ขยายผลการจดั การเรยี นร้ขู อองสถานศกึ ษาในสังกดั
กระทรวงศกึ ษาธิการ ตามกฎหมายว่าด้วยพื้นที่นวตั กรรมการศกึ ษา

14) ส่งเสรมิ กจิ กรรมการเรยี นร้เู พือ่ สร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวฒั นธรรมการ
ขจัดความขัดแยง้ และกิจกรรมสันติศึกษา รวมท้งั พฒั นาทักษะด้านอาชพี ให้ยาวชน ประชาชนสามารถประกอบ
อาชีพ มีงานทาในพน้ื ทีช่ มุ ชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้

15) ปรบั ปรุงระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติใหส้ อดคล้องกบั การปรับปรุงหลักสตู ร
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน และหลักสตู รฐานสมรรถนะ

16) พัฒนาระบบประเมินผลการจัดการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับผลลัพธข์ องมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ

2.2 ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
1) พฒั นาครูให้มีความสามารถในการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้แบบบรู ณาการท่ี

มงุ่ เน้นพหุปัญญาท่หี ลากหลาย การกระตนุ้ ความคิดและจินตนาการของผเู้ รยี น รวมทงั้ สนับสนุนการเพ่ิม
ความสามารถด้านภาษาและดา้ นดิจิทัลใหแ้ ก่ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

2) จัดทาแผนเพอ่ื เพ่ิมสมรรถนะทางวชิ าชีพครูอย่างเปน็ ระบบ ให้ครสู ามารถปรบั บทบาท
เป็นผอู้ านวยการเรียนรู้ และสอดคล้องกบั การปรับปรุงโครงสร้างของหลกั สูตร โดยใชก้ ลไกกองทนุ เพื่อความเสมอ
ภาคทางการศึกษามาใชส้ นับสนนุ ในการขับเคลือ่ นแผนฯ

3) พฒั นากระบวนการนเิ ทศ การวดั ผล การประเมินผลครู ทีส่ ะท้อนตอ่ ผลลพั ธ์ท่ีเกดิ ขน้ึ
ตอ่ ผ้เู รียน

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

56

4) ประสานงานกบั สถาบนั การศกึ ษาที่ผลิตครู เพื่อร่วมวางแผนการผลิตและพฒั นาครใู ห้
ตรงกับความต้องการของการจัดการเรียนรูใ้ นทุกระดับ /ทุกประเภทการศึกษา

5) ปรับปรุงระบบบรหิ ารงานบุคคล และจัดทาแผนการใชอ้ ัตรากาลังครูให้มีประสทิ ธิภาพ
อย่างเป็นรปู ธรรม โดยให้ความสาคญั กับครูอนุบาล (ปฐมวยั ) และครูอาชีวศกึ ษา

6) ทบทวนและปรับปรงุ ระบบการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครใู ห้เอ้ือตอ่ การแก้ไข
ปญั หาความขาดแคลนครูในสาขาวชิ าที่ขาดแคลน และพน้ื ท่ีทุรกันดาร

7) กาหนดใหส้ ถาบันทม่ี หี นา้ ที่ในการพฒั นาครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากร
ทางการศกึ ษา จดั ทาหลกั สูตรการฝกึ อบรมใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในเรอื่ งระบบหลักสตู ร
บทบาทการอานวยการเรียนรู้ การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรขู้ อองผเู้ รียน

8) สร้างขวญั กาลังใจ สร้างแรงจงู ใจให้แก่ครู เชน่ ลดภารกจิ อื่นๆ ในโรงเรียนท่ไี ม่ใช่
ภารกจิ ด้านการสอน แกไ้ ขปัญหาหนี้สินครอู ย่างเป็นระบบ ปรงั ปรงุ /สร้างบ้านพกั ครใู นพืน้ ที่ทห่ี า่ งไกล

2.3 ยุทธศาสตร์ผลติและพฒั นากาลังคน รวมท้ังงานวจิ ัยทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ
1) ขยายการศกึ ษาสายอาชวี ศึกษาให้มีสดั สว่ นใกลเ้ คยี งกบั สายสามัญ และสง่ เสรมิ ค่านิยม

และภาพลักษณ์ของการเรยี นอาชีวศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง
2) จัดทาแผนเพ่อื เพ่ิมการผลิตกาลงั คนด้านอาชีวะศึกษาร่วมกับหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งให้

เพยี งพอกบั ความต้องการในสาขาเป้าหมายท่ีจาเปน็ ต่อการพัฒนาประเทศ ทัง้ ด้านโครงสรา้ งพื้นฐาน ดา้ น
อุตสาหกรรม ดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ และดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

3) ผลติ กาลังในภาคการบริการ โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั
แนวโน้มทศิ ทางด้านการท่องเทยี่ วของประเทศ

4) เรง่ ขยายผลการจดั การอาชีวศึกษาในระบบทวิภาคี เพื่อเชอ่ื มโยงภาคการศึกษากับการ
ปฏิบตั จิ ริงในภาคธรุ กจิ และพฒั นากาลังคนที่มีทกั ษะขั้นสูง

5) วางรากฐานทักษะอาชีพของผู้เรยี นทกุ ระดบั ให้ทันกบั ความเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี และเสริมใหผ้ ู้เรยี นอาชวี ศกึ ษามที ักษะดา้ นภาษาองั กฤษและภาษาทีส่ าม เพ่ือเพิ่มสมรรถนะสาหรบั การ
ทางานรองรบั พนื้ ท่เี ศรษฐกิจพอเพียงพิเศษ รวมทง้ั การเป็นผปู้ ระกอบการเอง (SMEs และ Start up)

6) สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นทม่ี คี วามสามารถพิเศษ ชว่ ยสรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรมใหมๆ่
แก่ประเทศ โดยจดั หาโอกาสทางาน/ฝึกปฏบิ ัติงานรว่ มกันเครอื ขา่ ยองคก์ รสาคัญตา่ งๆ

7) สง่ เสรมิ งานวจิ ยั ทีส่ ามารถสรา้ งนวตั กรรมเชิงเศรษฐกจิ ท่สี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
จริงในเชงิ พาณชิ ย์ รวมทง้ั การสร้างเครอื ข่ายการพัฒนางานวิจยั เชิงพาณิชยร์ ว่ มกับสถาบันอดุ มศึกษาและ
หนว่ ยงานอ่นื

8) สง่ เสรมิ งานวิจยั ทีส่ ามารถสร้างองค์ความร้แู ละนวตั กรรมเชิงสงั คม โดยเนน้ งานวิจัยท่ี
สามารถช่วยแกไ้ ขปญั หาความเหล่ือมลา้ ในเชงิ พื้นทีร่ ะดับภูมศิ าสตร์

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

57

9) ขยายผลการนากรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาติสูป่ ฏิบตั ิการอยา่ งเปน็ รูปธรรม โดยจดั ทาระบบ
เทียบโอนความรแู้ ละทักษะของผู้เรียนจากงานสายอาชพี ในสถานประกอบการรวมท้ังจัดทาระบบใบรับรองสาหรับ
แรงงานทร่ี ะบเุ กี่ยวกับประสบการณก์ ารทางานและการฝึกอบรม เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพวชิ าชพี และระดับฝมี ือแรงงาน

10) เพิ่มกจิ กรรมเสริมทักษะวชิ าชีพทอ้ งถน่ิ ในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนปลายสายสามัญ
ในพ้ืนท่เี ขตเศรษฐกิจ เช่น EEC SEC SEZ

2.4 ยุทธศาสตรเ์ พิ่มโอกาสใหต้ นทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต
1) ทบทวนหลกั เกณฑ์อตั ราเงินและวิธีการจดั สรรเงินสนับสนนุ คา่ ใชจ้ ่ายตัง้ แตร่ ะดับ

อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่เหมาะสม กบั สภาพฐานะท่ีแทจ้ ริงของผ้เู รียน
2) นากลไกกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา มาบูรณาการการดาเนนิ งานรว่ มกับ

หน่วยจัดการศกึ ษา โดยเน้นกลุ่มเด็กปฐมวยั กลมุ่ เด็กวยั เรยี นทพ่ี ลาดโอกาสจากการเขา้ ศึกษาในระดบั ปกตแิ ละครู
ทส่ี อนเดก็ ดอ้ ยโอกาส

3) จัดทาระบบประกันโอกาสการเขา้ ถงึ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานให้ครอบคลุมทุกพนื้ ทโี่ ดย
เนน้ กลมุ่ เดก็ พกิ าร และกลุ่มเด็กท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ รวมท้งั คน้ หาวิธีการจัดเตรียมความพร้อมใหเ้ ด็กทีม่ ี
ปัญหาในดา้ นการส่อื สารทางภาษา

4) พฒั นาการศึกษานอกระบบใหม้ ีมาตรฐาน โดยเน้นเดก็ กลมุ่ ทหี่ ลดุ ออกจากระบบ
การศึกษาปกติ กลมุ่ เด็กในพืน้ ทีห่ า่ งไกลการคมนาคม และกลมุ่ วยั กาลังแรงงาน

5) สง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศยั ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทพืน้ ท่ีชุมชน ท้องถิ่น โดยเน้นกลุ่ม
ผ้สู งู อายุ

6) พัฒนาศูนย์เรยี นร้ใู หแ้ ก่เด็ก เยาวชน และประชาชนในพื้นทส่ี ูง พืน้ ที่ตามแนวตะเขบ็
ชายแดน และพน้ื ท่ีเกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล

7) พัฒนาระบบหอ้ งสมดุ อเิ ล็กทรอนิกส์ (e - Library) เพอื่ การเรียนร้อู ย่างต่อเนื่องตลอด
ชวี ติ ของประชาชน

8) ปรับปรุงกิจกรรมแนะแนวการศกึ ษาต่อใหท้ วั่ ถึงนักเรียนเปน็ รายบคุ คล รวมทง้ั รณรงค์
ใหเ้ ด็กและผ้ปู กครองเหน็ ถึงความสาคัญของการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต การฝึกฝนตนเองเพือ่ มีงานทา
โดยเฉพาะการประกอบอาชีพอสิ ระ

2.5 ยุทธศาสตร์ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือการศกึ ษา
1) เพิม่ และขยายชอ่ งทางการเรยี นร้ดู ว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทัลเข้าไปในการเรียนการสอนเพื่อ

สรา้ งความค้นุ เคยและยกระดับความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรยี น สาหรบั เป็นหลักฐานในการเรยี นรู้วิชาอ่ืนๆ
2) จัดหาและบริหารจัดการระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ ความเร็วสงู ทท่ี นั สมัยใหแ้ กท่ ุก

สถานศกึ ษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

58

3) สรา้ งแพลตฟอรม์ ดิจิทลั เพ่ือการเรยี นรู้ และสนับสนนุ การเรียนรูใ้ ชด้ ิจทิ ลั เปน็ เคร่อื งมือ
การเรียนรู้และการสรา้ งอาชีพอย่างต่อเน่อื ง

4) สง่ เสรมิ การผลิตสอ่ื สารการเรยี นการสอน หนงั สือและตาราเรียนในระบบดิจิทัล
5) จัดทาระบบฐานข้อมูล (Big Data) และระบบรายงานผลการใช้ฐานข้อมูลท่ีถูกตอ้ ง
ครบถ้วน ทันสมัย และสามารถเชอื่ มโยงเข้ากับระบบฐานข้อมลู การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของส่วนราชการ /
หน่วยงานอื่นๆ
6) จัดหาวสั ดอุ ุปกรณท์ ่มี ีมาตรฐานแก่สถานศึกษา เพือ่ ให้สามารถรองรับการจัดการเรียน
การสอนทางไกลดว้ ยระบบ DLIT DL TV และ ETV
7) ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อการเรียนรู้เชงิ ลึกผ่านบทเรียนท่ี
หลากหลาย (Massive Open Online Course : MOOCs) รวมทั้งส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลที่เหมาะสม
สาหรบั คน้ หาช่องทางในการสร้างอาชพี

2.6 ยุทธศาสตร์พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การและสง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา

1) ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหม้ ีเอกภาพและเกิดความคล่องตัวในการ
บริหารจดั การในภาพรวม เพื่อให้สามารถดาเนนิ การปฏิรูปการศกึ ษาท้งั ในสว่ นกลางและส่วนภูมภิ าครว่ มกบั
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

2) ทบทวน /ปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎกระทรวง ระเบยี บทเ่ี ก่ยี วข้องให้ทันสมยั เหมาะสม
และเอ้ือต่อการปฏบิ ัติงานทม่ี ีระสิทธิภาพ ร่วมกับภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน

3) สนบั สนุนให้ภาคเอกชนจัดการสอนให้มากข้ึน โดยเฉพาะระดับอนบุ าลและโรงเรยี น
เอกชนประเภทนอกระบบ ปรับปรุงระเบยี บการจดั ต้งั โรงเรียนเอกชนใหม้ ีความยดื หยุ่นและสอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมของการลงทนุ รวมท้งั ทบทวนการกาหนดเพดานการจัดเก็บคา่ ธรรมเนียมทีเ่ หมาะสม

4) ขยายผลนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนและวิธีปฏบิ ัติทด่ี ีของสถานศกึ ษานาร่อง
ในพ้ืนทนี่ วตั กรรมการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง รวมท้ังประเมินผลการจดั การศึกษา และรายงานใหส้ าธารณชนไดร้ ับ
ทราบถึงผลสมั ฤทธิ์ เพื่อส่งเสริมภาพลกั ษณ์ใหเ้ กิดความร่วมมอื / เครือขา่ ยมากยิ่งขึ้น

5) กาหนดหลกั เกณฑ์และกลไกกรจัดสรรงบประมาณ อัตรากาลงั บุคลากร อาคารสถานที่
และทรัพยากรทางการศึกษา ไปยงั สถานศึกษาและหน่วยงานในพ้นื ที่ (School Mapping Education Mapping)
โดยใช้จังหวัดเปน็ ฐาน ตามสภาพความต้องการจาเปน็ ท่ีแทจ้ รงิ

6) สร้างกลไกการบริหารจดั การการศึกษาในพ้นื ที่ระดบั ภูมิศาสตร์ ได้แก่ ภาคเหนอื ภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ให้มีประสิทธภิ าพและธรรมาภบิ าล
เพ่อื นาการศึกษาไปสู่การสนับสนุนการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจและดา้ นความมัน่ คง

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

59

7) ปรบั เปลี่ยนรปู แบบและวธิ ีการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ทัง้ ในรปู แบบ
อนุบาลศกึ ษา ช้นั เด็กเล็ก ให้เหมาะสมกับสภาพสงั คมแต่ละท้องถนิ่ โดยร่วมกับภาคสว่ นต่างๆ ในพน้ื ที่ (บา้ น
โรงเรียน และชุมชน)

8) ปรับปรุงเกณฑ์การรบั นกั เรียนตอ่ ที่เหมาะสม โดยมีพื้นทบ่ี ริการการศกึ ษาและ
สถานศึกษาที่รับผดิ ชอบในแต่ละพืน้ ที่ จากระดับอนบุ าลต่อประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ จนถงึ มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย /อาชวี ศึกษา ตามลาดับ
7.สถานภาพของกระทรวงศึกษาธิการด้านต่างๆ

ในปจั จุบนั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในฐานะหนว่ ยงานหลกั ท่ีมีอานาจหน้าทใ่ี นการจดั และส่งเสริม
สนบั สนนุ การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ ภายใต้กรอบกฎหมายท่ีกาหนด โดยมีบทบาทหลกั ในการ
ดาเนนิ การตามนโยบายของรัฐบาลด้านการศึกษาและเรียนรู้ การทะนบุ ารุงศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม รวมท้งั ยัง
มีสว่ นรว่ มในการขับเคลอ่ื นการดาเนนิ การนโยบายดา้ นอ่ืนๆ ทส่ี ่งผลตอ่ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ซง่ึ ในปัจจุบัน
สามารถสรุปเป็นภาพรวม สถานภาพการดาเนนิ งานที่เปน็ รูปธรรมตอ่ เด็กนักเรยี น เยาวชน และประชาชน ตาม
พนั ธกิจของกระทรวงในแตล่ ะดา้ น ได้แก่ ด้านคุณภาพการศึกษา ด้านโอกาสทางการศึกษา และด้านบริหารจดั การ
การศึกษาโดยสงั เขปไดด้ ังน้ี

2.1 ด้านคุณภาพการศกึ ษา
1) การขับเคลอื่ นหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา และการสง่ เสริมสนบั สนุนโครงการ
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริโดยจัดต้ังศนู ยข์ ับเคลอื่ นการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา
บรรจุปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไวใ้ นหลกั สตู รการเรียนการสอนทกุ ระดับและฝกึ อบรมสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ
ให้แก่ผู้บรหิ าร ครู ศึกษานิเทศกเ์ พ่อื ใหส้ ามารถถ่ายทอดไปสูน่ กั เรยี นนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ รวมทงั้ มีการประเมินตาม
เกณฑ์คณุ ภาพสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละบริหารจัดการตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง หรอื สถานศึกษาพอเพยี ง จานวน 14,852 แท่ง
2) การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาเด็กประถมอ่านไม่ออกเขียน
ไมไ่ ด้ โดยจดั ทาโครงการพลิกโฉมโรงเรียน ป.1 อ่านออกเขียนไดใ้ น 1 ปตี ามแนวทางพฒั นาการทางสมอง (Brain -
based – Learning : BBL) โดยจัดอบรมทางไกลผา่ นดาวเทียมดว้ ยระบบ DLTV ให้กบั ผ้บู ริหารสานักงานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษาศึกษานิเทศก์ ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น ครผู ้สู อนภาษาไทย ชัน้ ป.1 ท่วั ประเทศรวม 65,000 คน และจดั อบรม
หลักสตู รการพัฒนาวทิ ยากรแกนนา (Master Trainer) ส่งเสรมิ ให้จัดการเรยี นการสอนภาษาไทยโดยการแจกลกู
สะกดคา แจกหนังสือแบบเรยี นเรว็ ใหม่ให้แกน่ ักเรยี นช้ัน ป.1 -ป.3 ทกุ คนทุกโรงเรยี น แจกหนงั สือคู่มือการสอน
ให้แกค่ รูผูส้ อน จดั ทาสือ่ /นวัตกรรมการแกไ้ ขปัญหาการอ่านการเขียนภาษาไทยใหก้ บั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
และสถานศึกษาทกุ โรง และไดม้ กี ารติดตามเร่งรดั พัฒนาการอา่ นออกเขียนไดข้ องนักเรียนเชิงประจักษ์ ดาเนนิ การ
ปรบั ปรุงหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.2551 ใหเ้ หมาะสมใหมใ่ นแต่ละช่วงวยั เนน้ การเพมิ่ พูน
ความรแู้ ละเสริมสร้างกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบดาเนนิ การพัฒนาและขับเคลอ่ื นการจดั การเรยี นการ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

60

สอนประวัตศิ าสตร์และหน้าท่ีพลเมอื งในทุกระดบั การศึกษาโดยมีการดาเนนิ การสาคญั อาทิ จัดทาคู่มือการจดั การ
เรียนกรสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์และหนา้ ท่ีพลเมอื ง จัดอบรมวิทยากรแกนนา ปลูกจิตสานึกให้ผู้เรยี นมคี ุณธรรม
จรยิ ธรรมนาคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการไปส่กู ารปฏิบตั ิ ท่ีสาคญั ได้ดาเนินโครงการลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้
(Moderate Class More Knowledge) ให้กบั ผ้เู รยี นได้ทากิจกรรมสรา้ งสรรค์เสรมิ ทักษะการเรียนรู้
นอกเหนือจากการเรยี นร้ใู นห้องเรียน โดยปรับตารางเรยี นของนักเรียนชัน้ ป.1 -ป.6 และ ม.1 -ม.3 และปรับ
กระชับหลกั สตู ร เน้ือหา “ตอ้ งรู้” และ “ควรรู้”

3) การผลติ และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาโดยจัดทายุทธศาสตรก์ ารผลติ และพฒั นาครู
(พ.ศ.2558 -2572) ประกอบด้วย 5 ยทุ ธศาสตรค์ ือ

1) การปฏริ ูประบบและรปู แบบการผลิตครู
2) การปฏริ ปู ระบบและรูปแบบการพฒั นาครู
3) การปฏริ ูประบบการใชค้ รแู ละระบบบริหารงานบคุ คลของครู
5) การปฏิรปู ระบบการวจิ ยั ของสถาบันผลติ และพฒั นาครู และ
6) การสร้างกลไกลการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตร์
4) การส่งเสริมการอาชีวศึกษา และเรง่ ผลิตและพัฒนากาลงั คนเพื่อตอบสนองความต้องการ
พัฒนาประเทศ โดยดาเนินงานท่ีสาคัญ ได้แก่ ส่งเสรมิ การจัดการเรียนการสอนอาชวี ศึกษาผ่านโครงการเรยี นรว่ ม
หลกั สตู รอาชวี ศกึ ษาและมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) มีผเู้ รยี นสนใจสมคั รเขา้ ร่วมโครงการแลว้ ใน 588
สถานศึกษา จานวน 30,405 คน พัฒนาผ้บู รหิ ารครูโรงเรียนเอกชนอาชวี ศึกษา ครูฝึกในสถานประกอบการในด้าน
ต่างๆ ดาเนนิ การปรบั ภาพลักษณน์ กั เรยี น นักศกึ ษาอาชีวศกึ ษาโดยจัดศูนย์อาชีวศึกษาอาสาในช่วงเทศกาลต่างๆ
ดาเนนิ โครงการศูนย์ซ่อมสรา้ งเพอ่ื ชุมชน (Fix it Center) ในสว่ นของผลิตกาลงั คนด้านอาชวี ศกึ ษาเพ่อื ตอบสนอง
ความตอ้ งการของการพัฒนาประเทศ ไดด้ าเนนิ โครงการอาชวี ศกึ ษามาตรฐานสากล โดยศกึ ษาจดุ เด่นของประเทศ
ตา่ งๆ มาปรับใชเ้ ป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษา จัดการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี
สายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั ิการในสถาบันการอาชีวศึกษา จานวน 9 สถาบนั 16 สาขาวชิ า รวม 43 หลกั สตู ร
ผลักดนั การจัดอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีโดยจัดทาคมู่ ือสิทธิประโยชน์ทางภาษใี หก้ ับสถานประกออบการท่ีรว่ มจัด
อาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี จัดทาความรว่ มมือจัดทาอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี ผลติ กาลงั คนรบั รองภาคอุตสาหกรรม
ภาคเกษตรกรรม และภาคบริการของประเทศ โดยสถาบนั การอาชีวศกึ ษา 18 แห่ง จับคู่กบั หอการคา้ กลมุ่ จงั หวดั
18 จังหวดั รวมท้งั สรา้ งหลักสูตรใหม่รองรับความต้องการของประเทศพร้อมกา้ วส่ปู ระชาคมอาเซียน พฒั นาการ
จดั อาชวี ศึกษาเพ่ือรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะบริเวณพ้ืนที่เขตชายแดนของประเทศ

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

61

5) การจัดต้ังศูนย์บ่มเพาะวิสาหกจิ ในสถาบันอุดมศกึ ษา(University Business Incubator :UBI)
จานวน 72 แหง่ สามารถสรา้ งผ้ปู ระกอบการรายใหม่ จานวน 120 คน และเตรียมพฒั นาเป็นบริษัทธุรกจิ เต็มรปู ใน
อนาคต จานวน 69 คน ดาเนินโครงการพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการโดยใชค้ วามรู้ในสถาบันอุดมศึกษาเปน็ ฐาน
จัดทาหลักสูตรการอบรมทักษะการประกอบอาชพี ระยะสนั้ เบื้องต้นเชิงสร้างสรรคใ์ ห้กับนักเรยี นและประชาชน
จานวน 2,480 คน

6) การพัฒนาและส่งเสริมการใชป้ ระโยชนจ์ ากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ัยและพัฒนา และ
นวตั กรรม โดยส่งเสริมการวิจัยในอดุ มศกึ ษาและพัฒนามหาวิทยาลยั วิจยั แหง่ ชาติ พัฒนาและขยายผลอัจฉรยิ ภาพ
ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรส์ าหรบั เยาวชน โดยคัดเลอื กนักเรียนเขา้ โครงการอจั ฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ จานวน 4,430 คนร่วมมือการวจิ ยั และพัฒนากบั หนว่ ยงานต่างๆ และพัฒนางานวิจยั ดาเนินงาน
ในรูปแบบ “ภาคสี ถาบันอุดมศกึ ษา” มสี ถาบันอดุ มศกึ ษา/วจิ ยั เข้าร่วมดาเนนิ การกับศนู ย์ความเปน็ เลิศ 11 ศนู ย์
จานวน 23 สถาบนั และจา่ ยค่าวิทยาศาสตร์และจัดค่าวทิ ยาศาสตรเ์ ยาวชนภูมภิ าคเอเชีย (Asian Science Camp
2015) มนี ักเรยี นนักศกึ ษา ครูอาจารยเ์ ขา้ รว่ มกว่า 700 คน จาก 30 ประเทศในภมู ิภาคแถบเอเชยี แปซิฟกิ

2.2 ด้านโอกาสทางการศกึ ษา
1) การเสริมสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาใหแ้ กผ่ ยู้ ากจนหรอื ด้อยโอกาส โดยได้
ดาเนินงานทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ โครงการสนบั สนุนค่าใช้จา่ ยในการจัดกรศกึ ษาต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั
พน้ื ฐาน ซงึ่ ขณะนี้อยรู่ ะหวา่ งเสนอขอทบทวนอัตราเงินอดุ หนุนรายหวั ทีเ่ หมาะสาหรับนักเรยี นระดับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนทนุ การศึกษาตา่ งๆ เชน่ กองทนุ เงนิ กยู้ มื เพ่ือการศึกษา ซ่ึงปจั จุบันมผี ู้กู้ยืม
จานวน 739,072 ราย และกองทนุ เงินกู้ยมื เพ่ือการศึกษาท่ีผกู กับรายได้ในอนาคต (กรอ.) ที่ผ้กู ยู้ มื จานวน 67,062
ราย ขยายโครงการทุนการศึกษาเฉลมิ ราชกุมารี ระยะที่ 2 จานวน 6,000 ทุน ทีส่ าคัญได้ขยายผลโครงการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อแกไ้ ขปญั หาในโรงเรยี นขนาดเลก็ จานวน 15,369 โรง และผลดาเนิน
โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป้าหมายโรงเรยี นขนาดกลางและขนาดใหญ่
จานวน 15,553 แห่ง เปน็ ต้น
2) การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูด้ ้อยโอกาส ผู้พกิ าร ผ้สู ูงอายุ สตรี และเดก็ โดยกาเนินตา่ งๆ เช่น
จัดการศึกษาสายอาชีพเพ่อื การมงี านทาของผู้ท่ีมคี วามต้องการพิเศษทางการเรยี นรู้ (ออทิสติก สมาธสิ ัน้ แอลดี)
จดั ฝกึ อบรมหลักสูตรเก่ยี วกบั การดแู ลผู้สูงอายุ วทิ ยาลยั ชมุ ชนจัดการศกึ ษาและใหบ้ รกิ ารฝกึ อบรมหลักสตู ร
เก่ยี วกบั การดูแลผสู้ งู อายุ จดั โครงการ ETV เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศึกษานาเทคโนโลยสี ารสนเทศและเครื่องมือที่
เหมาะสมมาพัฒนาส่ือชว่ ยสอนสาหรบั ครู และเพ่ือใช้ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเองโดยไดผ้ ลิตรายการโทรทัศนเ์ พ่ือ
การศกึ ษาใน 3 วชิ าท่ีสาคญั คอื คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ รวม 45 รายการ ขยายช่องทางเลือก
ในการเรียนรผู้ ่านส่ือรายการทางชอ่ ง ETV ทวั่ ประเทศมีผเู้ ขา้ ชม 172,175 คน พร้อมทั้งจัดทาสอ่ื DVD
ประกอบการรับชมรายการ จานวน 540,000 แผ่น

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

62

3) การจัดระบบฝึกอาชีพเชิงพื้นฐานเพื่อเพมิ่ โอกาสคนพืน้ ทใ่ี ห้เขา้ สูอ่ าชีพพื้นทโ่ี ดยดาเนนิ การ
ตา่ งๆ เช่น จัดกระบวนการเรียนการสอนใน กศน.ตาบล ภายใต้โครงการหนงึ่ คนหนึง่ อาชพี จานวน 7,424 แห่ง ใน
พน้ื ท่ี 5 ภมู ภิ าค จดั โครงการอุดมศึกษาด้านความรู้ สรา้ งอาชีพ สร้างความสุขเพอ่ื ฝึกอาชพี ระยะสั้นในพนื้ ท่ี
ให้บริการของวิทยาลัยชุมชน 20 แห่ง จานวน 75 กจิ กรรม มผี ู้สนใจบรกิ าร 2,892 คน จัดศูนยฝ์ ึกอบรมอาชีพใน
สถานศึกษาอาชีวศึกษา 288 แห่ง โดยมกี ลุ่มเปา้ หมาย จานวน 10,725 คน 4) การสง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
โดยจัดบรกิ ารการศึกษาต่อเน่ืองใหก้ ับประชาชน จานวน 363,128 คน ดาเนินโครงการจัดการความร้เู พือ่
เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งชมุ ชนโดยมี กศน.ตาบลทีต่ ั้งอยู่ในวัด จานวน 2,093 แหง่ จัดการศึกษานอกระบบและตาม
อธั ยาศัยสาหรบั ผสู้ งู อายรุ วมทงั้ สิ้น จานวน 321,262 คน 5) การดาเนินงานโครงการ 1 อาเภอ 1 ทนุ โดย
สนับสนุนทางการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ปัจจุบันมีผู้รับทุน จานวนทงั้ ส้ิน
4,350 ตน ซ่งึ จาการศึกษาวจิ ยั เพ่ือติดตามประเมินผลความสาเรจ็ โครงการฯ พบว่าเปน็ โครงการที่ชว่ ยลดการ
เหล่ือมล้าของผู้ดอ้ ยโอกาสและผ้ทู ่มี ฐี านะยากจนให้เข้าถึงการศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพ

2.3 ด้านการบรหิ ารจดั การการศกึ ษา
1) การแก้ไขปญั หาการใชค้ วามรนุ แรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยปรบั โครงสรา้ งและระบบการ
บริหารการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ โดยจดั ตัง้ ศูนยป์ ระสานงานและบรหิ ารการศึกษาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ หรอื
“กระทรวงศึกษาธิการส่วนหน้า”ณ สานกั งานการศึกษาธิการภาค จังหวัดยะลา เสรมิ สรา้ งขวัญกาลังใจและ
ช่วยเหลอื เยียวยาโดยมอบทนุ การศึกษารายปี ปจั จุบนั มีทายาทผูไ้ ดร้ ับผลกระทบท่ีขอรับทุน จานวน 9,821 คน
จัดตงั้ ศูนยค์ รูใต้ท่ีจังหวัด ยะลาและนราธวิ าส เพือ่ ความปลอดภยั และเป็นการสง่ เสรมิ สวสั ดิการและสวสั ดิภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษา ติดต้ังกล้อง CCTV ในสถานศกึ ษาท่อี ยู่ในจงั หวดั ชายแดนใต้ ทัง้ ในโรงเรียนประถมและ
หน่วยงานทางการศกึ ษา จานวน 1,092 แห่ง ดาเนนิ การปรับปรุงซ่อมแซมร้วั โรงเรยี นและซอ่ มแซมบา้ นพักครู รวม
330 หลงั รวมท้งั ยกระดบั ความสามารถและอัจฉรยิ ภาพทางด้านกีฬาจัดทาโครงการ “สานฝันการกฬี าเพื่อระบบ
การศึกษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ในพ้ืนท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใต้” เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจให้เกดิ ความสามัคคี ซ่ึงใน
ระยะยาวจะดาเนนิ การตอ่ ยอดการรบั นกั เรยี นทจ่ี บการศึกษามาเข้าศึกษาต่อระดับอดุ มศกึ ษา และมอบ
ทุนการศึกษาทงั้ ในมหาวิทยาลัยของรฐั และเอกชน
2) การมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาโดยจดั ให้มโี ครงการปฏริ ูปการเรยี นร้สู ู่ผเู้ รยี น
เพือ่ ต้องการส่งเสริมการกระจายอานาจและการบริหารและการจดั การศกึ ษารอบรับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
เป็นเวลา 3 ปี ตอ่ เนอ่ื ง (พ.ศ.2559 -2560) ในโรงเรยี นนาร่อง จานวน 300 แหง่ และสง่ เสรมิ ภาคเอกชนมีสว่ นรว่ ม
ในการจดั การศึกษาทงั้ ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและดบั อาชีวศึกษา รวมทงั้ ขยายความรว่ มมอื ทางการศกึ ษา
โดยจดั ทายุทธศาสตร์ความรว่ มมือด้านการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษาเพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินความ
ร่วมมอื กบั ประเทศกัมพชู า ลาว เมียนมาร์ และเวยี ดนาม ของมหาวิทยาลัยและสถาบนั อุดมการณ์ศึกษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

63

3) การป้องกันการจุ ริตคอรัปช่นั โดยไดอ้ อกประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่องมาตรการควบคมุ การ
จัดทาโครงการทม่ี ีวงเงนิ สงู การเสรมิ สร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษาสถาบันศกึ ษา และ
หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ เช่น โครงการข้าราชการไทยไรท้ ุจรติ โครงการส่งเสรมิ คา่ นยิ มหลักของคน
ไทย 42 ประการ โครงการมหาวทิ ยาลยั โปร่งใส บัณฑติ ไทยไม่โกงและโครงการโรงเรยี นสจุ ริต เปน็ ต้น

4) การจดั ต้ังสานกั งานศกึ ษาธิการภาค 18 ภาค และสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ทว่ั ประเทศ เพ่ือ
เปน็ กลไกในการบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธกิ ารในสว่ นของภมู ิภาคให้เกิดประสิทธภิ าพและเป็นเอกภาพ
รองรับกบั กฎหมายคาสั่งหวั หนา้ รักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 11/2559 และ 11/2259 โดยสามารถประสาน
เช่อื มโยงและบรู ณาการภารกิจในเรอื่ งการศกึ ษาของประเทศทเ่ี น้นการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนสอดคล้องกับ
แนวทางการบริหารงานโดยประชารัฐ รวมท้ังออกประกาศและคาสั่งกระทรวงฉบบั ต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับการ
บรหิ ารงานด้านบุคลากรตามการจดั ตั้งสานกั งานฯ เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
3.แนวโน้มการดาเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธิการในอนาคต

กระทรวงศกึ ษาธิการ มภี ารกิจสาคญั ในการปฏริ ปู การศกึ ษาของประเทศ โดยยกระดับคุณภาพ
การศึกษาทเ่ี กดิ ประสิทธิผลและมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั การลดความเหล่ือมลา้ ทางการศกึ ษาแก่ผ้เู รียนและ
ประชาชนทุกคน เพื่อให้การศึกษาเปน็ รากฐานในการพฒั นาประเทศใหม้ ัง่ คงและย่งั ยนื ตามนโยบายของรัฐบาลซงึ่
กลไกการขบั เคลอื่ นปฏริ ปู การศึกษาใหบ้ รรลุผลตามเปา้ หมายในขา้ งตน้ จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมอื จากทุก
หน่วยงานในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการทกุ ระดับ ท้งั ในระดับส่วนกลาง ระดบั ภมู ิภาค และระดับสถานศึกษาซึ่ง
รฐั มนตรีวา่ การสาคัญ วัตถปุ ระสงค์ และแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาไว้ จานวน 10 ประเดน็ อันประกอบด้วย

3.1 การผลิตและพัฒนากาลังคนรองรับการพฒั นาประเทศ เพ่อื ใหม้ ีกาลงั คนทเี่ พยี งพอและมี
สมรรถนะ มีขดี ความสามารถตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ทง้ั ในประเทศ ตา่ งประเทศและในระดับ
สากล รองรบั เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษและโครงการลงทนุ ขนาดใหญข่ องรฐั บาล โดยมแี นวทางและวิธีการดาเนนิ
โครงการ ได้แก่ การรเิ ร่ิมจดั ทาฐานขอ้ มลู ความตอ้ งการดา้ นแรงงาน โดยร่วมกบั หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน
จากนั้นจงึ ได้จัดลาดบั ความสาคญั เร่งด่วนในการเลอื กผลติ ภัณฑ์และพัฒนานักศึกษา ครูผู้สอน และสถานศกึ ษา ให้
ตรงกบั ทิศทางความต้องการด้านแรงงานตามข้อมลู ที่มเี นน้ การผลติ นักศกึ ษาตามความถนัดและความเปน็ เลิศของ
แตล่ ะสถานศึกษา กาหนดบทบาทของสถานศึกษา การจดั การเรยี นการสอนทวภิ าคีการบูรณาการการเรียนรคู้ วบคู่
กับการทางานร่วมกับสถานประกอบการพิจารณาค่าตอบแทนทเ่ี หมาะสมกบั สมรรถนะฝีมือการทางานจรงิ

3.2 การพัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้ เพ่ือใหผ้ ู้เรียน ครู ผู้ปกครองมคี วามสุขผูเ้ รียนได้รบั
การพัฒนาครอบคลมุ ใน 4 ด้าน คือ Head Heart Hand Health ประชาชนไดร้ บั การพัฒนาทักษะและพฒั นาการ
ทีเ่ หมาะสมตามวัย สามารถแสวงหาองคค์ วามรู้ไดส้ อดคล้องกับบรบิ ทในปจั จบุ ัน มีความรูค้ วามเขา้ ใจใน
ประวตั ิศาสตรไ์ ทย มคี า่ นยิ มที่ถูกต้องตามคา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ โดยมแี นวทางและวธิ ีใชใ้ นการ
ดาเนินโครงการ ได้แก่ การน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ 9 มา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ปรับปรุงหลกั สูตรการเรียนรู้ ท้ังในดา้ นการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน อาชวี ศกึ ษา

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

64

อดุ มศึกษา และการศึกษานอกระบบ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ กระบวนการการวิเคราะห์ สามารถใช้หลกั และเหตผุ ลในการ
ตัดสินใจ ปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนในระดับชัน้ ป.1 -ม.3 โดยปรับตารางเรียนให้สอดคล้องกับการทากจิ กรรม
การเรียนรู้ ยกระดับการใชภ้ าษาอังกฤษในสถานศกึ ษาเปน็ รูปธรรม ใชร้ ะบบสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
เพอ่ื ยกระดับการเรียนรดู้ ้านวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังพัฒนานวัตกรรมใน
การจดั การเรยี นการสอนตามกลมุ่ สาระวชิ าใหม้ ีความเหมาะสมกับสภาพทอ้ งถิน่

3.3 การปรับปรุงระบบงบประมาณและทรัพยากรเพอื่ การศึกษา เพื่อใหก้ ารบรหิ ารงบประมาณด้าน
การจัดการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ งกับทิศทางการผลติ และพัฒนากาลังคนของประเทศ ซ่ึง
สถานศกึ ษาควรจะสามารถได้รับการจัดสรรทรพั ยากรอย่างท่วั ถงึ และเปน็ ธรรม และมีการบริหารเบิกจ่าย
งบประมาณที่ได้รบั อย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยมีแนวทางและวธิ ีในการดาเนินโครงการ ได้แก่ การปรับ
บทบาทหน่วยงานส่วนกลางในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใหท้ าหนา้ ท่ีเป็นผ้กู ากับนโยบาย (Policy Maker) ผู้
กากบั คุณภาพและมาตรฐาน (Regulator) และผสู้ ่งเสรมิ สนับสนนุ (Promoter) จากบทบาททไี่ ด้ดาเนนิ การอยเู่ ดิม
รวมท้ังเนน้ การกระจาบอานาจการบรหิ ารจัดการศึกษา (Operator) ลงไปใหส้ ถานศึกษา ทบทวนหลักเกณฑ์การ
บรหิ ารกองทุนกยู้ ืมเพ่ือการศึกษาและปรับปรุงหลักเกณฑ์เงอ่ื นไขการจดั สรรทนุ เพื่อให้เป็นกลไกในการผลิต
กาลงั คนตามความต้องการของประเทศ การพิจารณาปรับปรุงเงนิ อดุ หนุนเพ่ือการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับ
สภาวะและบริบทในปจั จุบัน และส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มระดมทุนเพื่อการศกึ ษา

3.4 การพฒั นาระบบตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการศึกษา เพ่ือให้กระบวนการประเมินคุณภาพ
ของสถานศกึ ษาท้ังภายในและภายนอกมีความสอดคล้องกัน มีกลไกการประเมนิ ฯ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดยไมเ่ ปน็
การเพิ่มภาระงานให้แก่ครูผู้สอน และมุ่งหวงั ใหส้ ถานศึกษาท่ผี ่านการประเมนิ สามารถมคี ุณภาพเทยี บเคยี งไดใ้ น
ระดับสากล ผูเ้ รยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงขนึ้ โดยมแี นวทางและวธิ ใี นการดาเนินโครงการ ไดแ้ ก่ จดั ตั้ง
คณะทางานรว่ มกับสานกั งานรบั รองคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา (องค์การมหาชน) หรอื สมศ. เพ่อื พัฒนา
เครอ่ื งมอื การวดั ผลที่ไดม้ าตรฐานสากล ทสี่ าคัญคือการสง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งของคณะกรรมการสถานศกึ ษาให้มี
บทบาทในการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาใหม้ ากข้ึน ปรับปรงุ ระบบการนเิ ทศครแู ละ
สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และเพมิ่ การกกากับตรวจสอบคณุ ภาพของสถาบนั อดุ มศกึ ษาให้เขม้ ข้นและเปน็ รูปธรรม

3.5 การยกระดับระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษานาระบบ ICT มาใช้ใน
การจัดการเรยี นรู้ การบริการทางวชิ าการ และบรหิ ารจัดการ มีโครงขา่ ยสญั ญาณสาหรบั การใชง้ านที่มีเสถยี รภาพ
สามารถเชอ่ื มโยงกับหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องอย่างรวดเร็วและทว่ั ถึง รวมทัง้ มรี ะบบฐานข้อมูลทท่ี ันสมยั น่าเช่ือถอื
สาหรับสนับสนุนการตัดสนิ ใจขอองผู้บริหารในทุกระดบั โดยมีแนวทางและวธิ ีในการดาเนินโครงการ ได้แก่ การ
จดั ทาแผนแมบ่ ท ICT ดา้ นการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่อื ใชเ้ ปน็ กรอบใหห้ นว่ ยงานในสังกดั สามรถ
ดาเนินการไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างมีเอกภาพ ไม่เกดิ ความซ้าซ้อนของงบประมาณ และพ้ืนที่ในการดาเนินงาน
อยา่ ทผ่ี ่านมาพจิ ารณาบรู ณาการ Hardware Software Peopleware Network และงบประมาณดา้ น ICT ซง่ึ
เปน็ ทรัพยากรท่มี ีอยใู่ หเ้ ปน็ ระบบ พัฒนาและจดั ทาระบบฐานขอ้ มูลด้านการศึกษาท่ีเชอ่ื มโยงกับหนว่ ยงานที่

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

65

เก่ียวข้อง เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม และใหจ้ ัดตั้งกองทนุ ICT เพ่ือ
การศกึ ษาส่งไปยงั สถานศึกษาโดยตรงเพื่อเรง่ รัดยกระดับการจดั การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น

3.6 การพัฒนาระบบการผลิต การสรรหา และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือใหเ้ กิด
กระบวนการเรียนการสอนที่ดีขึ้น ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคณุ ภาพและปริมาณตรงตามเป้าหมายทกี่ าหนด
ไวร้ วมทั้งไดร้ ับการพัฒนาทางวชิ าชีพ มีจรรยาบรรณ มสี วัสดิการและคณุ ภาพชีวิตทดี่ ซี ึ่งจะสง่ ผลให้ผลสัมฤทธ์ทิ าง
การศึกษาของนักเรยี นเพิ่มขึน้ โดยมีแนวทางและวธิ ใี นการดาเนินโครงการ ได้แก่การคัดสรรคนเก่งคนดีให้เข้ามา
เป็นครู และจดั ส่งไปปฏบิ ัติงานในทอ้ งถิ่นของตนเองเพอื่ ใหเ้ กิดแรงจงู ใจในการพฒั นา การจัดทาระบบฐานข้อมลู
กลางของครูทุกสงั กัดให้เป็นปัจจบุ นั ให้สามารถเชอื่ มโยงและนามาใช้ประโยชน์ร่วมกนั ได้ลดภาระงานของครูที่ไม่
เกี่ยวข้องกับการจดั การเรยี นการสอนให้กับนักเรยี น การให้สถาบนั อุดมศกึ ษาเขา้ มามีส่วนชว่ ยในการปรบั บทบาท
ของครูใหเ้ ป็น Facilitator, Motivation, Coaching การปรับหลักเกณฑ์และระเบยี บท่เี กย่ี วข้องกับการสรรหา
คดั กรองผปู้ ระกอบวชิ าชีพครูให้มีมาตรฐานและความยดื หยุน่ ไปพร้อมๆ กันการปรับวิธีการประเมนิ เพื่อให้มีหรือ
เลอื่ นวิทยฐานะครูใหส้ อดคล้องกับผลสมฤทธิข์ องนักเรียน และการแก้ไขปัญหาหนี้สนิ ครูโดยส่งเสริมใหค้ รูดารงชีวติ ิ
ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.7 การพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษา เพ่ือให้มกี ารบรหิ ารจดั การในกระทรวงศึกษาธกิ ารเกดิ
เอกภาพ มปี ระสิทธผิ ลตามหลักธรรมมาภบิ าล สามารถนายุทธศาสตรแ์ ละแผนงานที่กระทรวงกาหนดไว้
บรู ณาการการทางานร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งคุ้มค่า ปฏิบัตงิ านได้บรรลเุ ปา้ หมายและสนองตอบต่อนโยบายของรัฐบาลได้
เกิดผลผลิตผลลพั ธท์ ่ีเป็นรูปธรรม และท้งั ใหส้ ามารถกากบั ติดตามประเมินผลการดาเนนิ งานอย่างมีประสทิ ธิภาพ
โดยมีแนวทางและวิธีในการดาเนนิ โครงการ ได้แก่ การปรับปรงุ โครงสร้างของกระทรวงศึกษาธกิ ารที่ยดึ ประโยชน์
ของผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ จดั ทากลไกการบรหิ ารจัดการการศึกษาในระดับพื้นทีท่ ีเ่ หมาะสม เรง่ รัดการกระจายอานาจ
การบริหารจัดการการศึกษาลงไปในพื้นท่ีอยา่ งแท้จริงทง้ั ในด้านวิชาการการบรหิ ารงบประมาณ และการ
บริหารงานบคุ ลากร รวมทั้งการเสรมิ สร้างความร่วมมือดา้ นการศึกษาระหวา่ งภาครัฐและเอกชน

3.8 การสรา้ งการเข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษา เพ่ือลดการเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษานักเรียนทุก
ระดบั ชน้ั ได้รับโอกาสทางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตามสิทธิที่กาหนดไว้ ประชาชนทกุ กลุ่มทุกวัยได้รับโอกาสในการ
เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างท่วั ถึงและเปน็ ธรรม โดยมีแนวทางและวิธกี ารดาเนนิ โครงการ ได้แก่พฒั นาโรงเรยี นตน้ แบบที่
มคี ณุ ภาพสาหรับการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียวระบบ DLTV และ DLIT ไปยังโรงเรยี นทว่ั ประเทศ
จดั ระบบตดิ ตามช่วยเหลอื ดแู ลเดก็ ทอี่ อกกลางคนั ใหไ้ ด้กลบั มารับการศึกษาจนจบการศึกษา จดั กจิ กรรมส่งเสริม
การเรียนรู้ ฝกึ อบรมทักษะอาชีพให้กับประชาชนโดยใชศ้ ูนย์การเรียนรชู้ มุ ชน (กศน.ตาบล) เปน็ ฐาน และพัฒนา
ระบบเทยี บโอนผลการเรียนจัดหาทุนและแหลง่ เงินทุนการศกึ ษาสนับสนนุ ให้เด็กพกิ ารไดร้ ับการศึกษาอย่าง
เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความต้องการจาเปน็ ของแตล่ ะบคุ คลส่งเสรมิ ให้เดก็ ด้อยโอกาสสามารถเขา้ รับการศึกษาได้
ตามบรบิ ทและอตั ลักษณข์ องตนเอง และจัดต้ังศนู ย์ครผู ู้สูงอายภุ ูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น เพื่อเป็นแหลง่ สร้างองคค์ วามรู้
ของชุมชนและท้องถ่ิน

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

66

3.9 การพฒั นาการศึกษาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ เพือ่ ใหม้ ีการจัดการศึกษาที่เหมาะสมสอดคล้องกับ
สภาพเศรษฐกจิ สงั คม ขนบธรรมเนียม อัตลกั ษณ์ความต้องการของพน้ื ท่ี ผู้เรียนในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้
เขา้ ถงึ การศึกษาอยา่ งเสมอภาคและมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรู้สงู ข้ึน ประชาชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้เข้าถึง
แหล่งเรียนรใู้ นรูปแบบที่หลากหลายและมีคุณภาพชีวิตทีด่ ีขน้ึ โดยมแี นวทางและวธิ ใี นการดาเนนิ โครงการ ได้แก่
พัฒนาหลกั สูตรท่หี ลากหลายเป็นไปตามบริบทและอัตลกั ษณ์ของพนื้ ที่ ขยายผลใช้การจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม DLTV และสง่ เสริมการพฒั นาดา้ นกจิ กรรมการกีฬาเขา้ มาช่วยสนบั สนนุ การเรยี นการสอน ปรับปรงุ การ
บรหิ ารการจัดการเงินอุดหนนุ ทางการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ สร้างขวัญกาลงั ใจและเพ่มิ
สวัสดิการใหแ้ ก่ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีปฏบิ ตั ิงานในพื้นทร่ี วมทั้งสนบั สนุนทุนการศึกษาให้กับทายาทผู้ที่
ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณค์ วามไม่สงบ

3.10 การวจิ ัยเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ เพอ่ื สร้างนวัตกรรมองค์ความรทู้ ี่
นาไปใชเ้ ปน็ แนวทางตอบสนองตอ่ โจทย์ปญั หาความตอ้ งการของประชาชน ทอ้ งถิน่ ประเทศชาตแิ ละสามารถนา
งานวจิ ัยไปใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ในเชิงพาณชิ ย์ สร้างมูลค่าเพิ่มใหก้ บั สินคา้ และการบริการ เพ่ิมมูลค่าสนิ คา้ สง่ ออก
ของประเทศ โดยมีแนวทางและวิธีในการดาเนินโครงการ ได้แก่ การส่งเสรมิ และพัฒนาคณาจารย์ อาจารย์ และ
นกั วิจยั ในสถานศึกษาให้มศี ักยภาพทัดเทยี มกบั นานาชาติ จดั ตง้ั ศนู ยบ์ ่มเพาะวสิ าหกิจเพ่ือกาหนดเทคโนโลยีส่กู าร
ใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชยส์ นับสนนุ ต่อยอดการวิจยั ทางการแพทย์ การรกั ษาพยาบาล และการส่งเสริมสุขภาพ
สนบั สนุนการใหบ้ รกิ ารทางวิชาการและการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับชมุ นมุ และพัฒนานวัตกรรมส่งิ ประดษิ ฐท์ ี่
สามารถนาไปใชแ้ ข่งขันภาคธุรกิจและภาคสังคมกับประเทศอน่ื ๆ นอกจากน้ี รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
ยังไดก้ าหนดแผนงานสาคัญท่ีจะตอ้ งผลักดนั ให้เกิดผลเปน็ รูปธรรม ซึ่งหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
จะต้องดาเนินการใหเ้ กดิ ผลลัพธ์/ผลผลิต โดยไดว้ างเปา้ หมายในมติ ดิ ้านเวลาไวจ้ านวน 11 แผนงาน ดังนี้

แผนงานที่ 1 ภายใน 1 ปีใหเ้ ดก็ ทกุ คนได้เข้าถึงการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มกัน โดยเนน้ การ
ดาเนินการ Mapping ข้อมลู และวางแผนการจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 15 ปี โดยไมเ่ กบ็ ค่าใชจ้ ่ายอยา่ งต่อเนื่องเพ่ือ
แก้ไขปัญหา/จดั ระบบเดก็ ไทยทไี่ มเ่ ขา้ สู่ระบบการศึกษาท่เี ด็กตกหลน่ เดก็ ออกกลางคันเด็กทมี่ ีความสามารถพเิ ศษ
เดก็ พิการและเด็กด้อยโอกาส ทส่ี าคัญคือการใช้ประโยชน์จาก DLTV, DLIT ในการเข้าถึงการศึกษาสาหรบั โรงเรียน
ในพืน้ ทหี่ า่ งไกลและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนสาหรบั โรงเรียนทั่วไป

แผนงานที่ 2 ภายใน 5 ปี สง่ เสรมิ ให้ครูใชศ้ ักยภาพในการสอนอย่างเต็มที่ โดยเน้นให้ครูท่ไี ดร้ ับ
วทิ ยฐานะสามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและใช้เครอื ข่ายอุดมศกึ ษาเป็นพี่เลีย้ งชว่ ยพัฒนาครใู น
สถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

แผนงานที่ 3 ภายใน 1 ปี มีอัตรากาลังครูครบตามเกณฑ์ ซ่ึงมีผลตอ่ การแก้ไขปญั หาโรงเรยี นท่มี ี
จานวนครูขาดและเกนิ และสัดส่วนจานวนครูตอ่ หอ้ งเรียนที่เหมาะสม ภายใน 2 ปี มคี รูประจาชนั้ ครบทุกหอ้ ง และ
ภายใน 5 -10 ปี มคี รตู รงสาขาในการจดั การเรียนการสอน

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

67

แผนงานท่ี 4 ภายใน 2 ปี ให้เด็กเรยี นท่องจาในสง่ิ ทค่ี วร และนาสิ่งที่จาไปฝกึ คิดวเิ คราะห์แกไ้ ขปัญหา
และนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันไดค้ รบทุกโรงเรียน โดยขยายผลโครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ท่ีเนน้ ปรบั
โครงสรา้ งเวลาเรียนใหช้ ว่ั โมงเรยี นในหอ้ งเรยี นลดลง และช่ัวโมงทากิจกรรมเพิ่มขนึ้ รวมทั้งการปรับปรุงข้อสอบโดย
ใชข้ อ้ สอบมาตรฐานกลางในรูปแบบอัตนัยและปรนยั ทเี่ น้นการคดิ วิเคราะหใ์ หม้ ากขึ้น

แผนงานท่ี 5 ภายใน 5 ปี ใหม้ กี ารเรยี นการสอน STEM ศึกษา (Science Technology Engineering
and Mathematics) ครบทุกโรงเรยี น โดยพัฒนาหลกั สูตร ขบั เคลื่อนการจัดการเรยี นการสอนกาหนดเป้าหมาย
และจัดทาค่มู ือกจิ กรรม STEM ศึกษาสาหรบั ครแู ละนักเรียนช้นั ป.1 -ม.6 รวมทง้ั ใหม้ มี หาวิทยาลยั เป็นพเ่ี ลีย้ ง

แผนงานท่ี 6 ภายใน 3 ปี ยกระดบั ภาษาองั กฤษให้นักเรียนสามารถใชภ้ าษาอังกฤษเพ่อื การส่อื สารใน
ชวี ติ ประจาวนั ได้ โดยสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นภาษา ปรบั ช่ัวโมงการเรียนภาษาใหม้ ากข้ึน เนน้ การเรยี นการสอน
สาหรับนาไปใชส้ อ่ื สารจรงิ มากกว่าหลักไวยากรณ์ จัดทาแอพพลิเคชั่น Echo Hybrid, Echo English รวมทงั้
พัฒนาครูภาษาองั กฤษผ่านกระบวนการ Boot Camp และขยายผลอย่างต่อเน่ือง

แผนงานที่ 7 ภายในปี 2560 ปรับระบบการสอบ O -Net ให้เปน็ ท่ยี อมรบั และสะท้อนถึงคณุ ภาพ
การจัดการศกึ ษา โดยเนน้ การออกข้อสอบ O -Net ใหส้ อดคลอ้ งกับการเรยี นการสอน ใหม้ ีการจัดทา Item card
และ การจัดทา Test Blueprint รวมทงั้ ใหม้ กี ารเฉลยและวิเคราะห์ข้อสอบ O -Net เพอื่ นาไปใชว้ างแผนการ
ปรับปรงุ คุณภาพการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ ให้สูงขน้ึ

แผนงานท่ี 8 ภายใน 10 ปี ผลติ กาลงั คนใหต้ รงกับความตอ้ งการของประเทศ โดยจดั ทาฐานข้อมลู
Demand Side/ Supply Side ให้มีความทันสมยั ให้คณะกรรมการกระทรวงศึกษาธิการจงั หวดั สารวจความ
ตอ้ งการแรงงานจากสถานประกอบการในแต่ละพนื้ ท่ีของจังหวัด ขณะเดียวกันใหข้ ยายโครงการทวิภาคีทวิศึกษา
โครงการสหกจิ ศึกษา หลักสตู รอาชพี ระยะสน้ั ในโรงเรยี นสามัญและ กศน.

แผนงานท่ี 9 ผลิตคนดีออกส่สู งั คม โดยดาเนินโครงการต่างๆ อยา่ งต่อเน่ือง เช่น โครงการโรงเรียน
คณุ ธรรม การพ้นื ฟูกจิ การลกู เสือ เนตรนารใี นสถานศึกษา โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้โครงการโตไปไมโ่ กง
กิจกรรมการรักษาทรพั ยากรธรรมชาติของทุกสถานศึกษา

แผนงานท่ี 10 ภายในปี 2560 ซ่อมบ้านพกั ครูใหแ้ ลว้ เสรจ็ ท้งั หมด จานวน 44,259 หลงั ทวั่ ประเทศ
เพอ่ื เป็นการสร้างขวญั กาลงั ใจแก่ครุผปู้ ฏิบัติหนา้ ท่ีในพน้ื ท่ีท่ีไม่ใช่ภมู ิลาเนาของตนเอง สามารถทาการจดั การเรยี น
การสอนแก่เดก็ นักเรียนไดอ้ ย่างเตม็ ที่

แผนงานที่ 11 แก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมชิ อบ ทงั้ ในเรอื่ งของการวงิ่ เตน้ โยกย้ายตาแหน่ง
การใชด้ ลุ ยพินจิ ในการลงโทษ การดาเนนิ การทางวินยั และการตง้ั คณะกรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็ จริง/การอทุ ธรณ์
ต้องดาเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม และไม่ให้เรอื่ งค่ังค้าง

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

68

4. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม (SWOT) เพอื่ กาหนดยุทธศาสตรพ์ ฒั นาการศกึ ษาของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจากผลการประเมินแผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ.2555 -
2559) ทผ่ี า่ นมา และการสรปุ สถานภาพการดาเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารด้านตา่ งๆ ในปจั จบุ นั รวมทั้ง
แนวโน้มการดาเนนิ งานตามทางปฏิรูปการศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ แผนงานที่สาคัญในอนาคตตามขา้ งต้นจึง
สามารถนามาใช้สรปุ วเิ คราะห์สภาพแวดล้อม ทัง้ ในสว่ นของจุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรคท่สี าคัญ (SWOT)
เพ่ือจัดทายุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในอนาคตระยะ 5 ปีขา้ งหนา้ (พ.ศ.2560 -2564)
ไดด้ งั น้ี

4.1 จดุ แขง็ (Strength: S)
1) ผู้เรียนสามารถเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษาทีส่ อดคล้องกับความตอ้ งการไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง

รวมถงึ ผทู้ ี่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ
2) ผู้เรียนได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาเพม่ิ ขน้ึ จากโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั

การศกึ ษาต้งั แตอ่ นบุ าลจนถึงการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 15 ปี โดยไมเ่ ก็บคา่ ใช้จ่าย
3) คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาในทกุ พ้นื ที่ มีโอกาสได้รบั การพฒั นาอย่างท่วั ถึง

ดว้ ยวิธีและช่องทางทีห่ ลายหลายมากข้นึ เช่น พัฒนาด้วยระบบ TEPE Online
4) มกี ารปรบั หลักเกณฑเ์ พือ่ จูงใจใหค้ นดี คนเก่ง และผู้ทีจ่ บการศกึ ษาในสาขาวิชาทข่ี าด

แคลนสามารถเขา้ มาประกอบวิชาชีพครูได้
5) มสี ถานศึกษาในสังกัดทกุ ระดับ ทกุ ประเทศ ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลมุ่ เปา้ หมายให้สามารถ

เขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาได้อยา่ งท่วั ถึงกระจายอยู่ในทกุ พื้นท่ีทั่วประเทศ
6) มีหน่วยงานกลางในการบริหารจดั การดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของ

กระทรวงเป็นการเฉพาะ
7) มกี ารพฒั นาระบบการศกึ ษาทางไกลเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและยกระดับคุณภาพ

การศึกษาเช่น ระบบ DLIT, DLTV, ETV
8) มหี น่วยงานทางการศึกษาระดับภมู ภิ าคและระดับจังหวดั ในการกากบั ดแู ลการจัด

การศกึ ษาทุกระดับและทกุ ประเภทเพื่อเปน็ กลไกในการประสานงานการจัดการศึกษาให้เกดิ ความคล่องตวั ยดื หยุน่
และสอดคล้องกบั สภาพบรบิ ทพื้นที่

9) มบี ุคลากรดา้ นการวิจยั ของสภาบนั การศกึ ษา มคี วามรคู้ วามเชี่ยวชาญ เข้ารว่ มกบั ภาค
ธุรกิจและอตุ สาหกรรมในการผลติ นวตั กรรมที่เพิ่มมูลคา่ สินค้าและบริการ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

69

4.2 จุดอ่อน (Weakness: W)
1) ผู้เรยี นมผี ลทดสอบทางการศึกษาระดับศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (O -Net) ในเกือบทกุ วิชา

โดยเฉพาะในวชิ าหลกั คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ มีคะแนนตา่ กวา่ ร้อยละ 50
2) ผูส้ าเร็จการศึกษาระดบั อาชวี ศึกษาเปน็ กาลังแรงงานทีส่ าคญั แตส่ ่วนใหญจ่ ะยังมงุ่ ศกึ ษา

ต่อในระดับทีส่ งู ขึ้น ทาให้ขาดแคลนกาลังงานระดับฝมี ือ/ก่ึงฝีมอื
3) ผ้สู าเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรบี างสาขามีทักษะการทางาน ไม่สอดคล้องกับความ

ตอ้ งการตลาดแรงงาน
4) การบรรจคุ รูสอนไม่ตรงวุฒิ ครูไม่ครบชน้ั และขาดครใู นสาขาวิชาทขี่ าดแคลนโดยเฉพาะ

ในโรงเรียนขนาดเล็กและในพื้นท่หี ่างไกล
5) สถานศึกษาสายวิชาชีพบางแห่งมีภาพลักษณ์ในเชิงลบ ส่งผลตอ่ การตดั สนิ ใจในการเลือก

เรียนต่อสายวชิ าชีพของผู้เรยี น
6) โรงเรยี นขนาดเล็กจานวนมาก มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของเด็กตา่ กว่าเกณฑ์
7) วธิ กี ารวัดและประเมินผลทั้งหลักสูตร และผเู้ รียน ยงั ไม่สามารถสะท้อนผลลัพธท์ ีเ่ กดิ กับ

ผเู้ รียนในด้านคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์อย่างเปน็ รปู ธรรม
8) ระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารยังไม่สามารถเชอื่ มโยงกับหน่วยงานภายใน

และภายนอกได้ท้ังหมด เชน่ ข้อมลู บตั รประชาชนของกรมการปกครอง เป็นต้น ทาใหเ้ กิดปัญหาในการติดตามตวั
เด็กนกั เรยี นทีจ่ บการศึกษาหรือออกจากระบบการศึกษากลางคัน

9) กระจายอานาจการจดั การศกึ ษาจากสว่ นกลางไปส่สู ถานศกึ ษาตามที่กฎหมายไดก้ าหนด
ไว้ ยงั ไมส่ ามารถดาเนนิ การได้อย่างแทจ้ ริง

10) ผลงานวิจัยเพ่ือสรา้ งองค์ความรเู้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมของกระทรวงศึกษาธิการยังไม่
สามารถนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่

4.3 โอกาส (Opportunity: O)
1) นโยบายการขับเคล่อื น 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย นโยบายพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พิเศษ

และนโยบายวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดย่อม (SEMs) ซง่ึ จะเป็นกลไกใหมใ่ นการขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจของ
ประเทศ ส่งผลต่อสถาบนั ศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาการเรยี นการสอน การผลติ งานวจิ ยั และนวัตกรรมทาให้ผเู้ รยี นมี
โอกาสในการฝึกประสบการณ์และการประกอบอาชพี ชายแดนภาคใต้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย
และมีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีขน้ึ โดยมแี นวทางและวิธีดาเนนิ โครงการ ไดแ้ ก่ พฒั นาหลักสูตรท่ีหลากหลายเป็นไปตาม
บริบทและอัตลักษณ์ของพน้ื ที่ขยายผลใช้การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV และสง่ เสรมิ การพัฒนา
ด้านกิจกรรมการกีฬาเขา้ มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ปรบั ปรงุ บริหารจัดการเงนิ อดุ หนนุ ทางการศึกษาใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ สร้างขวญั กาลังใจและเพิ่มสวัสดิการใหแ้ กค่ รูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ทปี่ ฏิบตั งิ านในพื้นท่ีรวมท้ังสนับสนนุ ทนุ การศึกษาให้กบั ทายาทผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ความสงบ

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

70

4.4 อุปสรรค (Threat: T)
1) อตั ราการเกดิ ของประชากรทลี่ ดลงมผี ลกระทบต่อจานวนเด็กนกั เรยี น ซ่งึ เป็นปัจจัยนาเขา้

สู่ระบบการศึกษา ทาใหส้ ถานศึกษาบางแหง่ มจี านวนนกั เรยี นลดลง/ไม่มผี เู้ รยี น
2) ผู้ปกครองมีทศั นคตคิ า่ นิยมให้บุตรหลานเรยี นสายสามัญมากกว่าสายอาชวี ะ ซึง่ ตรงข้าม

กับทิศทางพฒั นาประเทศ สง่ ผลใหก้ ารวางแผนผลติ กาลังคนของกระทรวงไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย
3) ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศที่เปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว และปัญหาสงั คมมคี วามอ่อนแอ

โดยเฉพาะดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม การใชค้ วามรุนแรง ทาใหเ้ ด็กและเยาวชนท่ีมีทัศนคติ คา่ นยิ ม และพฤติกรรม
เสยี่ งมากข้ึน สง่ ผลต่อภาคการศกึ ษาไม่สามารถผลิตเดก็ ทีม่ ีคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ได้เป็นไปตามเปา้ หมาย

4) การอพยพยา้ ยถ่นิ หรือเคลื่อนย้ายแรงงานของผู้ปกครอง ทาให้เด็กนักเรียนบางสว่ นออก
กลางคนั สง่ ผลต่อความต่อเนื่องในระบบการศึกษา และเกดิ ความสญู เปล่าทางการศึกษา

5) กฎหมายกาหนดแผนและการกระจายอานาจ เปน็ ผลใหม้ กี ารถ่ายโอนทรัพยากรดา้ น
การศกึ ษาไปยงั พ้นื ทไ่ี ม่มีความพร้อม ซ่งึ สง่ ผลต่อขวัญกาลังใจของผ้ปู ฏิบัตงิ านดา้ นการศึกษา

6) ภยั พบิ ตั ิที่มแี นวโน้มความรุนแรงและเกิดบอ่ ยขึ้น จะสง่ ผลกระทบต่อการสูญเสีย
ทรพั ยากรทางการศึกษาเปน็ อยา่ งมาก

7) สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวดั ชายแดนภาคใต้และปัญหาความม่นั คงในพ้นื ที่ชายแดน
ชายขอบพนื้ ที่สงู เชน่ ยาเสพตดิ แรงงานขา้ มชาตผิ ดิ กฎหมายส่งผลกระทบต่อการจดั การศึกษาในพ้ืนที่

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา
สาระสาคญั ของแผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 -2564) จาก
บรบิ ท สถานการณค์ วามเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ความเปลี่ยนแปลงของภมู ภิ าคอาเซียนและสงั คมโลก อานาจ
หนา้ ทข่ี องกระทรวงศึกษาธกิ ารภายใต้กฎหมายสาคัญที่เกย่ี วข้องกบั การศึกษาของประเทศ ความเชื่อมโยงระหวา่ ง
ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 -2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 -
2564) และแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 -2574 กับทิศทางการพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการท้ัง
ในมติ ดิ ้านความมนั่ คง มิติด้านเศรษฐกิจ มติ ิด้านสังคม และมติ ดิ า้ นการบรหิ ารการจดั การภาครฐั ที่มีประสิทธิภาพ
ท่สี าคญั คือไดป้ ระเมนิ สถานะของกระทรวงศึกษาธิการโดยการวเิ คราะหจ์ ุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอปุ สรรค
(SWOT) ตามบริบทในข้างต้นแล้วจงึ สามารถกาหนดเป็นสาระสาคัญของแผนพฒั นาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 -2564) ซึง่ ได้แก่ เปา้ หมายหลกั และตวั ชวี้ ัดวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ
ยุทธศาสตร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ของยุทธศาสตร์ ตัวชว้ี ัดภายใต้ยทุ ธศาสตร์ และกลยุทธ์ ไดด้ ังน้ี

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

71

1. เปา้ หมายหลักของแผนพัฒนาการศกึ ษาฯ
1. คุณภาพการศกึ ษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิค้มุ กันต่อการเปลย่ี นแปลงและ

การพฒั นาประเทศในอนาคต
2. กาลังคนได้รับการผลิตและพัฒนา เพื่อเสรมิ สรา้ งศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ
3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอยา่ งย่ังยืน
4. คนไทยได้รับโอกาสในการเรยี นอยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต
5. ระบบบริหารจัดการการศกึ ษามีประสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าลโดยมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ น

2. ตวั ชี้วัดตามเปา้ หมายหลัก
1. ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชา**
2. ร้อยละที่เพิม่ ข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าหลกั ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานจาก

การทดสอบระดบั ชาติ
3. ร้อยละคะแนนเฉล่ียของผู้เรียนทีม่ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม (1)
4. รอ้ ยละคะแนนเฉล่ียของผ้เู รียนทุกระดับการศึกษามคี วามเป็นพลเมืองและพลโลก (2)
5. สดั สว่ นผู้เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชวี ศึกษาต่อสายสามญั (3)
6. รอ้ ยละความพงึ พอใจของนายจา้ งผู้ประกอบการท่มี ีต่อผู้สาเรจ็ การศกึ ษาระดับอาชีวศึกษาและ

ระดับอดุ มศึกษาทที่ างานให้ (4)
7. รอ้ ยละของผสู้ าเรจ็ การศึกษาระดับอาชวี ศึกษาและระดับอุดมศกึ ษาได้ทางาน หรือประกอบอาชีพ

อสิ ระภายใน1ปี (5)
8. ร้อยละของผลงานวิจัย นวตั กรรม งานสร้างสรรค์ สงิ่ ประดษิ ฐไ์ ดร้ ับการเผยแพร/่ ตีพิมพ์ (6)
9. รอ้ ยละขององคค์ วามรแู้ ละสิ่งประดิษฐท์ ่นี าไปใชป้ ระโยชน์ หรอื แก้ไขปัญหาชุมชนท้องถ่นิ (7)
10. จานวนปกี ารศกึ ษาเฉล่ียของคนไทยอายุ 15-59 (8)
11. รอ้ ยละของกาลังแรงงานที่สาเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมตอนตน้ ข้ึนไป (9)
12. รอ้ ยละของนักเรียนตอ่ ประชากรวยั เรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย อายุ 15 -17 ปี (10)
13. สดั ส่วนผเู้ รียนในสถานศกึ ษาทุกระดบั ของรฐั ต่อเอกชน (11)
14. จานวนภาคเี ครือขา่ ยทีเ่ ข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัด/พัฒนาและส่งเสริมการศกึ ษา (12)

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

72

3. วิสัยทัศน์
“มุ่งพัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้คู่คุณธรรมมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดมี คี วามสุขในสงั คม”
“ผู้เรยี น”หมายถึง เด็ก เยาวชน นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชน ท่ีได้รบั บริการจาก

กระทรวงศึกษาธิการ
“มคี วามร้คู คู่ ุณธรรม”หมายถงึ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ขยันอดทนสตปิ ญั ญา

แบง่ ปัน ซึง่ เปน็ 2 เง่ือนไขตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
“มคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ี”หมายถึง มีอาชีพ มีความม่ันคง ม่ังคง่ั และย่ังยนื ในการดารงชวี ิต
“มคี วามสุข”หมายถงึ ความอยู่ดีมสี ขุ สามารถอยูร่ ว่ มกันอย่างเอื้ออาทร มคี วามสามคั คีปรองดอง
“สังคม”หมายถึง สังคมไทย ภมู ภิ าคอาเซยี น และสงั คมโลก

4. พนั ธกจิ
1. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับ/ประเภทสสู่ ากล
2. เสริมสรา้ งโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งท่ัวถึง เทา่ เทยี ม
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล

5. ยทุ ธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล
2. ยุทธศาสตร์ผลิต พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา
3. ยุทธศาสตรผ์ ลติ และพัฒนากาลังคน รวมทง้ั งานวิจัยทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการของการพัฒนา

ประเทศ
4. ยทุ ธศาสตรข์ ยายโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษา และการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ
5. ยทุ ธศาสตรส์ ่งเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพื่อการศึกษา
6. ยทุ ธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสริมให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา

6. ผลผลติ /ผลลพั ธต์ ัวชีว้ ัด และกลยุทธ์ภายใตย้ ุทธศาสตร์
6.1 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
ผลผลติ /ผลลพั ธ์
ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนท่ีสูงข้นึ สามารถทอ่ งจาและนาส่งิ ท่ีจาไปฝึกคิดวิเคราะห์คดิ สงั เคราะห์

คิดในเชิงสร้างสรรค์ และแก้ไขปญั หาทเี่ กดิ ข้นึ ได้ มีทักษะการทางานรว่ มกับผู้อืน่ สอดคล้องกบั ทกั ษะทจี่ าเป็นใน
ศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรมจริยธรรม ผ้สู าเรจ็ การศึกษาทกุ ระดบั /ประเภทได้รบั การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพมาตรฐาน
มีจติ สานึกประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ รวมทั้งสามารถอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสามัคคี
ปรองดอง

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

73

ตวั ชวี้ ดั ภายใต้ยุทธศาสตร์
1. ร้อยละของโรงเรยี นทมี่ ผี ู้เรียนผา่ นตามเกณฑ์คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ในการคิดวิเคราะหค์ ดิ

สังเคราะห์ คดิ แก้ปญั หา และคิดสรา้ งสรรค์
2. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีได้รับการพัฒนากิจกรรมเสรมิ ทักษะและมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูง
3. ร้อยละคะแนนเฉล่ียของผูเ้ รยี นทม่ี ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม (1)
4. ร้อยละคะแนนเฉลย่ี ของผูเ้ รียนทุกระดบั การศึกษามคี วามเป็นพลเมืองและพลโลก (2)

กลยทุ ธ์
1. พฒั นากระบวนการเรยี นการสอนทม่ี ีคุณภาพและจดั กิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผเู้ รยี นในรูปแบบท่ี

หลากหลายสอดคล้องกบั ทักษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
2. พัฒนาและปรบั ปรุงหลักสตู รการวัดและประเมนิ ผลการศึกษาทกุ ระดบั /ประเภทการศกึ ษาท่ีทนั สมัย

สอดคลอ้ งกับความก้าวหน้าทางวิทยาการและการเปล่ยี นแปลงของสงั คมโลก
3. เสรมิ สรา้ งการพัฒนาเนื้อหาสาระทีท่ ันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษาเพ่ือการผลติ สอ่ื การเรยี น

การสอน ตาราเรยี นท่ีมีคุณภาพ รวมท้ังตาราเรียนอิเล็กทรอนิกส์
4. ปรบั ปรงุ ระบบทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติใหส้ อดคล้องกับหลักสตู รและกระบวนการจัดการ

เรยี นการสอน
5. ส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงในระบบการศกึ ษาอย่างเข้มข้น
6.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลติ พัฒนาครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ผลผลติ /ผลลัพธ์
มีการผลติ ครไู ดส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการในการจัดการศึกษาทุกระดับทกุ ประเภทมีครูครบตามเกณฑ์

มีครุประจาช้ันครบทกุ ห้อง และมคี รุท่จี บตรงตามวฒุ ิสาขาวิชาทสี่ อน ผู้มใี บอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครูมี
จรรยาบรรณของวิชาชพี รวมทั้งมคี ณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีมสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี
สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้อย่างเต็มท่ีและขวัญกาลงั ใจทด่ี ใี นการปฏิบัติหนา้ ที่

ตวั ชว้ี ดั ภายใต้ยทุ ธศาสตร์
1. รอ้ ยละของครูตามแผนการผลิต มีคณุ ภาพตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
2. รอ้ ยละของผ้บู ริหารสถานศึกษาตามแผนพฒั นา ได้รบั การพฒั นาตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
3. ร้อยละของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทไ่ี ด้รบั การพัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพในหลักสตู รทค่ี ุรุ
สภาใหก้ ารรบั รอง และผ่านการประเมนิ เพ่ือต่ออายใุ บประกอบวิชาชพี
4. จานวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีได้รบั สวัสดิการ สวสั ดิภาพและการพัฒนาคุณภาพชวี ิตที่ดี
5. ร้อยละความพงึ พอใจของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ท่ีมีต่อการบริหารงานบุคคลของ
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

74

กลยทุ ธ์
1. วางแผนการผลติ และพฒั นาครอู าจารย์อย่างเป็นระบบให้สอดคล้องกบั ความต้องการในการจดั

การศึกษาทุกระดับ /ประเภทการศึกษา
2. ปรับระบบการผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ
3. เรง่ รัดพฒั นาผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา รวมทั้งครูประจาการที่สอนไมต่ รงวุฒิ ครูท่ีสอนคละชัน้ และครูใน

สาขาวชิ าทีข่ าดแคลน
4. สรา้ งขวญั กาลังใจ สร้างแรงจงู ใจให้กบั ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครคู ณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ
6.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ผลติ และพัฒนากาลังคน รวมทั้งงานวจิ ัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการของการ

พฒั นาประเทศ
ผลผลิต /ผลลัพธ์
มกี ารผลติ และพัฒนากาลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยที ี่มีคุณภาพ เพิ่ม

จานวนบณั ฑติ ในสาขาวชิ าชพี ทขี่ าดแคลน มีสมรรถนะ มคี วามรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงานตามมาตรฐาน
วิชาชีพ และสามารถแขง่ ขันได้ในระดับสากล ประชาชนได้รับการฝกึ วิชาชีพตามความถนัดและความสนใจรวมทัง้ มี
ผลงานวจิ ัยและนวตั กรรมทสี่ ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริงในเชงิ พาณชิ ย์ การให้การรักษาพยาบาล และการ
พฒั นาความเป็นศนู ย์กลางดา้ นการศึกษาของภูมิภาคตวั ชี้วดั ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์

1. สัดส่วนผ้เู ขา้ เรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษาตอ่ สายสามัญ (3)
2. ร้อยละความพงึ พอใจของนายจ้างผ้ปู ระกอบการทมี่ ีต่อผู้สาเรจ็ การศกึ ษาระดับอาชีวศึกษาและ
ระดบั อุดมศึกษา (4)
3. ร้อยละของผสู้ าเร็จการศึกษาระดบั อาชวี ศึกษาและระดับอุดมศึกษาได้งานทา หรอื ประกอบอาชีพ
อสิ ระภายใน 1 ปี (5)
4. รอ้ ยละของผลงานวิจยั นวัตกรรม งานสรา้ งสรรค์ สงิ่ ประดิษฐ์ไดร้ ับการเผยแพร่/ตีพิมพ์ (6)
5. รอ้ ยละขององคค์ วามรู้และสงิ่ ประดิษฐ์ที่นาไปใชป้ ระโยชน์ หรือแก้ไขปญั หาชมุ ชนท้องถ่นิ (7)
6. จานวนเครือขา่ ยการผลติ และพัฒนากาลงั คนกังองคก์ ร /หนว่ ยงานท้ังในและตา่ งประเทศ
7. รอ้ ยละเฉลีย่ ของผ้เู รยี นในระบบทวภิ าคีทีเ่ พิม่ ข้นึ ตอ่ ปี**
8. ร้อยละของผูเ้ รยี นสายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ในสถาบันอดุ มศึกษาระดบั อนุปริญญาถึงปริญญาตรี
9. ร้อยละของผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และด้านอื่นๆ ทีไ่ ด้รับการพัฒนา
เพิม่ ข้ึน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

75

กลยทุ ธ์
1. เรง่ รดั และพัฒนากาลงั คนสาขาท่ีจาเป็นต่อการพฒั นาประเทศ อาทิ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี

แพทย์ และพยาบาล
2. เร่งผลติ และพฒั นาสมรรถนะกาลังคนด้านอาชวี ศึกษาใหท้ ันกบั ความเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี

และรองรับพืน้ ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ
3. สง่ เสรมิ ภาพลกั ษณ์การอาชวี ศกึ ษา เร่งปรบั ค่านิยม และวางรากฐานทักษะอาชพี ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี นต้งั แต่

วัยการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
4. สง่ เสรมิ สนับสนุนการพฒั นาผมู้ ีความสามารถพเิ ศษอยา่ งต่อเน่ืองทุกระดับ
5. เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งของกระบวนการผลิตและพฒั นากาลงั คน โดยสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือ

ตามรปู แบบประชารฐั ทง้ั ระหว่างองค์กรภายในและตา่ งประเทศ
6. สง่ เสริมงานวจิ ัยและนวัตกรรมทสี่ ามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง
6.4 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ขยายโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอด

ชวี ิต
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ผเู้ รียนทุกคนเข้าถงึ การศึกษาที่มคี ุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทกุ ระดับและประเภทการศึกษา ไดร้ บั

การสนับสนนุ ค่าใช่จ่ายตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และสามารถเรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรไู้ ด้อยา่ ง
ต่อเนือ่ งตลอดชวี ิต สถานศึกษาในภูมภิ าค/ชนบทไดร้ ับการยกระดบั คณุ ภาพในการให้บริการเด็กพิการและดอ้ ย
โอกาสไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาทงั้ ในระบบโรงเรยี นและนอกระบบโรงเรยี นรวมท้ังสามารถเทยี บโอนผลการเรยี น
และทกั ษะประสบการณ์เพือ่ ขอรบั วุฒิการศึกษาเพ่มิ ขนึ้ ได้ตัวชีว้ ดั ภายใต้ยทุ ธศาสตร์

1. จานวนปีการศึกษาเฉลย่ี ของคนไทยอายุ 15-59 ปี (8)
2. ร้อยละของกาลงั แรงงานที่สาเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ข้ึนไป (9)
3. ร้อยละของนักเรยี นต่อประชากรวยั ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย อายุ15-17ปี (10)
4. ร้อยละของผู้เรียนพิการที่ขึ้นทะเบยี นคนพิการไดร้ ับการพฒั นาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษา
5. รอ้ ยละของผู้ผา่ นการฝึกอบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะสัน้ สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นการประกอบ
อาชพี หรือพัฒนางานได้
6. จานวนผูร้ ับบริการจากแหลง่ การเรียนรใู้ นชมุ ชน
กลยุทธ์
1. ประกันโอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานให้แก่ผู้เรียนในทกุ พ้นื ท่ี
ครอบคลุมถงึ คนพิการ ผ้ดู อ้ ยโอกาส และผู้มีความต้องการพิเศษ
2. สง่ เสริมการจดั การศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความสนใจและวิถี
ชีวติ ของผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

76

3. เร่งสร้างความเขม้ แข็งของระบบการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ให้เกดิ ผลเป็นรูปธรรมอยา่ ง
กวา้ งขวาง

4. จดั หาทนุ และแหลง่ ทนุ ทางการศึกษา
5. เร่งพฒั นาแหล่งเรียนร้ทู ่เี อื้อตอ่ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมีคุณภาพมีความ
หลากหลายและสามารถให้บริการได้อย่างท่ัวถึง
6.5 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ่ การศึกษา
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ผเู้ รียน สถานศึกษาและหนว่ ยงานทางการศกึ ษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษาเขา้ ถึงทรัพยากร และ
ระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งทวั่ ถงึ และมปี ระสิทธภิ าพมีองค์ความรูเ้ ทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาเพ่ือเพ่ิม
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นทส่ี งู ข้ึน รวมท้งั มีศูนย์กลางในการจดั เก็บรวบรวมส่อื สารการเรยี นการสอนแบบดิจิทลั ท่ี
ทนั สมัย และระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศทถ่ี ูกต้องและเปน็ ปัจจุบนั ตัวชว้ี ัดภายใต้ยทุ ธศาสตร์
1. ร้อยละของผู้เรียนในสถานศกึ ษาท่มี ีการจัดการเรียนการสอนทางไกลด้วยระบบ DLIT,DLTV,ETV
มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเฉลี่ยสูงขน้ึ
2. ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ได้รบั บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วไม่ตา่ กวา่ 30 Mbps
3. จานวนระบบฐานขอ้ มูลกลางด้านการศกึ ษาของประเทศทท่ี นั สมัย/เป็นปัจจบุ นั
กลยุทธ์
1. พฒั นาระบบเครือข่ายเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพือ่ การศึกษาและการบรหิ ารจัดการท่ีทนั สมยั และไม่ซา้ ซ้อน
ใหผ้ ้รู บั บริการสามารถเข้าถึงได้อย่างท่ัวถึงและมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. พัฒนากระบวนการจดั ทาระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบการรายงานผล
ของฐานข้อมูลโดยเชื่องโยงกบั ขอ้ มลู การศึกษาทุกระดบั /ประเภทการศึกษาใหเ้ ปน็ เอกภาพเป็นปจั จบุ นั และมี
มาตรฐานเดียวกัน
3. ผลิตหรอื พัฒนาโปรแกรมประยกุ ตส์ ่ือการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกสใ์ ห้ผเู้ รยี นสถานศกึ ษาและหนว่ ยงาน
ทางการศึกษาทกุ ระดบั /ประเภทการศกึ ษา นามาใชเ้ พ่มิ คุณภาพการเรยี นรู้อย่างเปน็ ระบบ
4. จดั หาอุปกรณ์/ทรัพยากรพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรยี นอยา่ งเพยี งพอท่วั ถงึ และ
เหมาะสมกับการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนอื่ ง
6.6 ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการและสง่ เสรมิ ให้ทุกส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ระบบบริหารจัดการมคี วามคลอ่ งตวั ในการบริหารงานการศกึ ษามากย่ิงขนึ้ มีความโปรง่ ใสและเปน็ ที่
ยอมรับของผู้รบั บริการ โครงสรา้ งของกระทรวงได้รับการปรบั ปรงุ ให้มีประสิทธิภาพโดยการกระจายอานาจลงไปสู่
สว่ นภูมภิ าคและสถานศึกษา และมีกลไกการสง่ เสริมให้ทุกภาคสว่ นมีสนับสนนุ ทรัพยากรเพือ่ การศึกษา

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

77

สถานศึกษาทุกระดบั ทุกประเภทมีธรรมาภิบาลในการบริหาร รวมท้งั ผเู้ รียนในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มี
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนทีส่ งู ขึ้น มีศักยภาพเพื่อไปประกอบอาชพี ในทอ้ งถิน่ ไดต้ วั ชวี้ ดั ภายใตย้ ุทธศาสตร์

1. สัดสว่ นผ้เู รียนในสถานศึกษาทกุ ระดับของรฐั ต่อเอกชน (11)
2. รอ้ ยละของผู้เรยี น เยาวชนและประชาชนในพืน้ ท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ท่ีได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพ
หรือทักษะด้านอาชีพ สามารถมงี านทา หรอื นาไปประกอบอาชพี ในทอ้ งถน่ิ ได้
3. ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวชิ าหลกั ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานในพ้นื ที่จงั หวดั
ชายแดนภาคใตจ้ าการทดสอบระดบั ชาตเิ พ่ิมขน้ึ
4. จานวนภาคเี ครือข่ายทีเ่ ขา้ มามีสว่ นร่วมในการจดั /พัฒนาและส่งเสริมการศึกษา (12)
5. รอ้ ยละของคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน
6. จานวนโรงเรยี นขนาดเล็กท่ไี ดร้ บั การบริหารจดั การเพ่อื เขา้ สู่ระบบโรงเรยี นเครือข่าย
กลยทุ ธ์
1. ปรบั ปรุงกลไกการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเนน้ ด้านคณุ ธรรม
ความโปรง่ ใส ทงั้ ในระดับส่วนกลาง และในพ้นื ที่ระดบั ภาค/จังหวัด
2. พฒั นาระบบบรหิ ารงานงบประมาณ/การเงินให้มปี ระสิทธภิ าพ
3. ยกระดบั คุณภาพการศึกษาตอบสนองการสร้างอาชพี และเพ่ิมคณุ ภาพชีวติ ลดความเหลื่อมลา้ สรา้ ง
ความสมานฉันท์ และเสริมสร้างความม่ันคงในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
4. เร่งส่งเสริมใหท้ ุกภาคสว่ นร่วมรบั ผิดชอบในการจัดการศึกษา รวมท้งั สนบั สนุนทรัพยากรเพ่ือ
การศึกษา
5. เสรมิ สร้างภาพลักษณห์ น่วยงานให้เกิดความรว่ มมือ และสร้างเครอื ข่าย/ความเปน็ ภาคีหุน้ สว่ นกบั
องค์กรทง้ั ภายในและต่างประเทศ
6. สง่ เสริมและขยายผลให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานท่ีมีความพรอ้ ม พฒั นาเปน็
สถานศึกษานติ บิ ุคคลในกากบั
หมายเหตุ :1. (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) หมายถึง ตัวช้วี ดั ที่ปรากฏท้งั ในเปา้ หมายหลักของ
แผนฯและปรากฏในระดบั ยุทธศาสตร์ 2. **หมายถึง ตวั ชี้วัดและคา่ เปา้ หมาย ที่นามาจากแผนพัฒนาเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 -2564)

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

78

8. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

สอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 -2580) แผนการศกึ ษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 -
2579 แผนการปฏริ ูปประเทศ นโยบายรัฐบาลท่ไี ด้แถลงนโยบายรัฐสภาเม่อื วนั ที่ 25 – 26 กรกฎาคม 2562 และ
นโยบายจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณพ.ศ. 2563 โดยได้กาหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์
และมาตรการและแนวทางในการดาเนนิ การดงั น้ี

วิสัยทัศน์

“สร้างคณุ ภาพทนุ มนษุ ยส์ ู่สังคมอนาคตท่ยี ัง่ ยนื ”

พันธกจิ

1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมั่นคงของสถาบนั หลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ

2. พฒั นาผเู้ รียนให้มคี วามสามารถความเปน็ เลศิ ทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ
แขง่ ขนั

3. พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผู้เรียนใหม้ สี มรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษ
ท่2ี 1

4. สรา้ งโอกาสความเสมอภาคลดความเหลอ่ื มล้าให้ผ้เู รียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง
ทวั่ ถึงและเทา่ เทียม

5. พฒั นาผูบ้ ริหารครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ มอื อาชพี
6. จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ มยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ งั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. ปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษาทกุ ระดบั และจัดการศึกษาโดยใช้
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนามงุ่ สู่ Thailand 4.0 ตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชีวิตสกู่ ารเปน็
คนไทยทม่ี ที ักษะสูงเป็นนวตั กรรมนักคิดผ้ปู ระกอบการเกษตรกรยคุ ใหม่และอ่ืนๆ โดยมีสัมมาชพี ตามความถนดั
ของตนเอง
เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมคี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติและยึดมน่ั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุขมีทัศนคติทถ่ี ูกต้องตอ่ บ้านเมืองมหี ลักคดิ ที่ถูกต้องและเป็นพลเมืองดีของชาตมิ ี
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมมีคา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์มจี ิตสาธารณะรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและผู้อน่ื ซ่ือสตั ย์สุจริตมธั ยัสถ์อดออม
โอบอ้อมอารมี ีวินยั รักษาศลี ธรรม

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

79

2. ผ้เู รยี นมีความสามารถพเิ ศษดา้ นวิทยาศาสตร์คณติ ศาสตร์ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและอ่นื ๆ
ได้รบั การพฒั นาอย่างเตม็ ตามศักยภาพ

3. ผเู้ รียนเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้คิดรเิ ริม่ และสรา้ งสรรค์นวตั กรรมมคี วามรู้ทักษะมสี มรรถนะ
ตามหลักสูตรและคุณลักษณะของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 มีสขุ ภาวะทเ่ี หมาะสมตามวัยมีความสามารถในการพงึ่ พา
ตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและการเป็นพลเมืองพลโลกท่ีดี (Global Citizen) พร้อมก้าวสู่สากล
นาไปส่กู ารสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

4. ผู้เรียนทม่ี คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธก์ุ ลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาสและกลุ่มท่อี ยู่ใน
พืน้ ทหี่ ่างไกลทรุ กนั ดารไดร้ ับการศึกษาอยา่ งทัว่ ถึงเทา่ เทียมและมีคณุ ภาพ

5. ผู้บรหิ ารครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรูม้ ีความร้แู ลจรรยาบรรณตาม
มาตรฐานวิชาชีพ

6. สถานศกึ ษาจดั การศึกษาเพื่อการบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาอย่างยงั่ ยืน
( Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อมตามหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

7. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาสถานศึกษามี
สมดลุ ในการบริหารจัดการเชิงบรู ณาการมกี ารกากบั ติดตามมีการประเมนิ ผลมรี ะบบข้อมลู สารสนเทศทีม่ ี
ประสทิ ธิภาพและการรายงานผลอย่างเปน็ ระบบใช้งานวจิ ัยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการขับเคล่อื นคณุ ภาพ
การศกึ ษา

นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐานไดก้ าหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

โดยยดึ หลกั ของการพฒั นาทย่ี ั่งยนื และการสรา้ งความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคตเป็นแนวทางใน
การจดั การศึกษาจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 -2580 แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ (พ.ศ.2561 -2580) แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บับท่ี
12 (พ.ศ.2560 -2565) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 -2579และมุ่งสู่ Thailand 4.0 ดังน้ี

นโยบายที่ 1 ดา้ นการจดั การศึกษาเพื่อความม่นั คงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายท่ี 2 ดา้ นการจัดการศึกษาเพอื่ เพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
นโยบายท่ี 4 ด้านการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาที่มีคุณภาพมีมาตรฐานและ
ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

80

นโยบายท่ี 5 ดา้ นการจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
นโยบายที่ 6 ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา

มาตรฐานการและแนวดาเนินการ

นโยบายที่ 1 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคงของมนษุ ย์และของชาติ
บทนา

นโยบายด้านการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ เปน็ การจัดการศึกษาเพ่ือ
มุ่งเน้นการพฒั นาผเู้ รยี นทกุ คนใหม้ ีความรักใสถาบนั ของชาติ ยดึ มัน่ ในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มที ัศนคติท่ีดตี อ่ บ้านเมือง มหี ลักคิดท่ีถกู ต้องเป็นพลเมืองดขี องชาตแิ ละพลโลกท่ีดี
มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีคุณธรรมอตั ลักษณ์ มีจติ สาธารณะ มีจติ อาสา รับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชุมชนสังคม และ
ประเทศชาติ ซ่ือสัตย์สุจริต มัธยสั ถ์ อดออมโอบอ้อมอารี มีวนิ ัยและรกั ษาศลี ธรรม เปน็ ผู้เรยี นท่มี ีความพร้อม
สามารถรับมือกับภยั คุกคามรูปแบบใหมท่ ุกรูปแบบ ท่ีมผี ลกระทบต่อความม่นั คง เช่น ภยั จากยาเสพตดิ ความ
รุนแรงการคุกคามในชีวติ และทรัพยส์ นิ การค้ามนุษย์อาชญากรรมไซเบอร์และภัยพิบตั ติ ่างๆ เป็นต้น ควบคไู่ ปกับ
การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาท่ีมีอยใู่ นปัจจุบนั และที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเนน้ การจดั การศึกษาให้เหมาะสม
สอดคลอ้ งกับบริบทของพ้นื ฐานสภาพทางภมู ศิ าสตร์ด้านเศรษฐกิจและสังคมซึ่งมคี วามแตกตา่ งทางดา้ นสงั คม
วัฒนธรรมเชือ้ ชาติ เชน่ การจดั การศึกษาเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้การจดั การศึกษาในเขต
พืน้ ที่เฉพาะกลมุ่ ขาติพันธ์กุ ล่มุ ผดู้ ้อยโอกาสและกลุ่มท่อี ยู่ในพ้ืนทห่ี า่ งไกลทุรกนั ดารพื้นท่ีสูงชายแดนชายฝง่ั ทะเล
และเกาะแก่ง เปน็ ต้น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้รับการพัฒนาสอดคล้องกบั บริบทของพ้ืนที่ได้รบั การบริการดา้ น
การศึกษาข้นั พนื้ ฐานท่ีมีคุณภาพและเหมาะสมตรงตามความต้องการเป็นตน้
เปา้ ประสงค์

1. ผูเ้ รียนทุกคนที่มีพฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถึงความรกั ในสถาบนั หลักของชาติยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

2. ผู้เรียนทกุ คนมที ัศนคติทด่ี ีตอ่ บา้ นเมืองมีหลักคิดท่ีถูกตอ้ งเปน็ พลเมืองดขี องชาติมคี ุณธรรม
จรยิ ธรรมมคี ่านยิ มที่พึงปะสงค์มีคุณธรรมจิตสาธารณะมีจติ อาสารับผดิ ชอบต่อครอบครัวผู้อนื่ และสงั คมโดยรวม
ซ่ือสตั ย์สจุ ริตมธั ยสั ถ์อดออมโอบอ้อมอารมี ีวินัยและรักษาศีลธรรม

3. ผเู้ รียนทุกคนมีความร้คู วามเข้าใจและมีความพร้อมสามารถรบั มอื กบั ภยั คุกคามทุกรปู แบบที่มี
ผลกระทบต่อความมน่ั คงเชน่ ภัยจากยาเสพตดิ ความรุนแรงการคุกคามในชีวิตและทรัพย์สินการคา้ มนุษย์
อาชญากรรมไซเบอรแ์ ละภยั พิบัติต่างๆ เปน็ ต้น

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

81

4. ผู้เรยี นในเขตพื้นที่เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ไดร้ ับโอกาสและพัฒนา
อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพและมีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่

5. ผเู้ รียนในเขตพน้ื ทเี่ ฉพาะกลุ่มชาติพันธกุ์ ลมุ่ ผ้ดู ้อยโอกาสและกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกล
ทรุ กนั ดารเช่นพนื้ ทสี่ ูงชายแดนชายฝัง่ ทะเลและเกาะแก่งเป็นตน้ ไดร้ บั การบริการด้านการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานทมี่ ี
คุณภาพและเหมาะสมตรงตามความต้องการ
ตวั ช้ีวัด

1. ร้อยละของผู้เรียนทม่ี ีพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลักของชาตยิ ดึ มั่นการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ

2. รอ้ ยละของผเู้ รียนทมี่ ีพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงการมีทศั นคติทดี่ ตี ่อบา้ นเมืองมหี ลักคดิ ทีถ่ กู ต้อง
เปน็ พลเมืองดีของชาติมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมีค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์มีคุณธรรมอัตลักษณ์มีจติ สาธารณะมีจติ อาสา
รบั ผิดชอบต่อครอบครัวผู้อื่นและสงั คมโดยรวมซ่ือสัตยส์ ุจริตมธั ยสั ถ์อดออมโอบอ้อมอารมี ีวนิ ยั และรักษาศีลธรรม

3. ร้อยละของผู้เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจและมีความพร้อมสามารถรับมือกบั ภยั คุกคามทุก
รปู แบบทม่ี ีผลกระทบต่อความมนั่ คงเช่นภัยจากยาเสพติดความรุนแรงการคุกคามในชีวิตและทรัพยส์ นิ การค้า
มนุษยอ์ าชญากรรมไซเบอร์และภยั พบิ ตั ิต่างๆเป็นต้น

4. ร้อยละของผูเ้ รียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ไดร้ ับโอกาสและพฒั นา
อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพและมคี ุณภาพสอดคล้องกับบรบิ ทของพื้นที่

5. ร้อยละของผเู้ รยี นในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะกลุ่มชาตพิ ันธกุ์ ลมุ่ ผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่
หา่ งไกลทุรกนั ดารเชน่ พน้ื ที่สูงชายแดนชายฝงั่ ทะเลและเกาะแก่งเป็นต้นไดร้ ับการบริการดา้ นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
ทม่ี ีคุณภาพและเหมาะสมตรงตามความต้องการสอดคล้องกับบรบิ ทของพนื้ ท่ี

6. จานวนสถานศึกษาทนี่ อ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระ
ปรเมนทรรามาธิบดีศรสี นิ ทรมหาวชลิ งกรณฯพระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั แลหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปพัฒนา
ผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่ีกาหนดได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

7. จานวนสถานศึกษาทจี่ ดั บรรยากาศสงิ่ แวดล้อมและจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้ผู้เรยี นแสดงออก
ถึงความรักในสถาบันหลกั ของชาติยดึ ม่นั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
มีทัศนคติทด่ี ีต่อบ้านเมืองมีหลกั คดิ ท่ีถูกต้องเป็นพลเมืองดีของชาติมีคุณธรรมจรยิ ธรรม

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

82

นโยบายที่ 2 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่อื เพิม่ ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
บทนา

ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ใหค้ วามสาคัญกับศกั ยภาพและ
คุณธรรมของทรัพยากรมนุษย์เป็นสาคญั เนือ่ งจาก “ทรพั ยากรมนุษยเ์ ป็นปัจจัยขับเคล่ือนสาคัญในการยกระดบั
การพัฒนาประเทศในทกุ มติ ิไปสเู่ ป้าหมายการเปน็ ประเทศทีพ่ ัฒนาแล้วมีขีดความสามารถในการแข่งขันกบั
นานาประเทศ” ดังนัน้ การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มคี วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ จึงมีความจาเป็น
อย่างย่ิงทจ่ี ะต้องดาเนินการให้สอดคลอ้ งกนั โดยเน้นปรบั เปล่ียนกระบวนการจดั การเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา
ทจ่ี ัดการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาใหเ้ ป็นสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรูใ้ หแ้ กผ่ ู้เรยี นเชิงสมรรถนะรายบุคคลตามความ
สนใจและความถนดั อย่างเตม็ ศักยภาพมีความเป็นเลิศดา้ นวิชาการมีทกั ษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีความเป็น
เลศิ ดา้ นทกั ษะส่ือสารภาษาไทยอังกฤษและภาท่ีมี3ทกั ษะความรูด้ ้านดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) เพ่ือใช้เป็น
เครือ่ งมือในการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมนี ิสยั รกั การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิตสู่
การเปน็ คนไทยที่มีทักษะวชิ าชีพชนั้ สูงเปน็ นกั คดิ เปน็ ผู้สรา้ งนวตั กรรมเป็นนวตั กร เปน็ ผู้ประกอบการ เป็น
เกษตรกรยุคใหม่ และอน่ื ๆ สอดคล้องกบั ความต้องการของประเทศมีความยืดหยุ่นทางด้านความคิดสามารถ
ทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ภายใต้สงั คมท่เี ป็นพหวุ ัฒนธรรมและมีความสามารถในการจดั การสุขภาวะของตนเองใหม้ ี
สุขภาวะท่ีดสี ามารถดารงชวี ติ อย่อู ยา่ งมคี วามสุขท้งั ด้านร่างกายและจิตใจ
เป้าประสงค์

1. ผเู้ รียนทกุ ระดับให้มคี วามเป็นเลิศมที กั ษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ 21
2. ผ้เู รียนมีความเปน็ เลศิ ตามความถนัดและความสนใจนาไปสูก่ ารพฒั นาทักษะวชิ าชพี เป็นนกั คิด
เปน็ ผสู้ ร้างนวัตกรรมเป็นนวัตกร
3. ผู้เรยี นไดร้ บั โอกาสเขา้ ส่เู วทกี ารแข่งขนั ระดับนานาชาติ
ตวั ชีว้ ดั
1. จานวนผ้เู รียนมคี วามเปน็ เลศิ ทางด้านวชิ าการมที กั ษะความรทู้ ี่สอดคล้องกับทกั ษะทจ่ี าเปน็ ใน
ศตวรรษท่ี 21
2. ผเู้ รยี นระดับมธั ยมศึกษาผ่านการประเมินสมรรถนะทจี่ าเป็นดา้ นการร้เู รื่องการอ่าน (Reading
Literacy) ดา้ นการรเู้ รื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และด้านการร้เู ร่ืองวทิ ยาศาสตร์ (Scientific
Literacy) ตามแนวทางการประเมนิ PISA
3. รอ้ ยละของผเู้ รียนทม่ี ีศักยภาพได้รบั โอกาสเข้าสูเ่ วทีการแข่งขนั ระดับนานาชาติ

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

83

นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและสรา้ งเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์
บทนา

นโยบายดา้ นการพัฒนาและสร้างเสริมศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์มุ่งเนน้ การพฒั นาทรัพยากร
มนษุ ยเ์ รม่ิ ตัง้ แต่ประชากรวยั เรยี นทุกช่วงวัยตลอดจนการพัฒนาครุและบุคลากรทางการศกึ ษาดังน้ี

พัฒนาประชากรวัยเรยี นทกุ คนทกุ ช่วงวยั ตั้งแต่ชว่ งปฐมวยั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา
ผ้เู รียนทมี่ ีความต้องการดแุ ลเป็นพิเศษ ให้มีความพรอ้ มทั้งทางด้านรา่ งกายและจิตใจอารมณส์ งั คมและสตปิ ัญญา
มีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดมี วี ินยั เรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองมีความสามารถในการวางแผนชีวิตและการวางแผน
ทางการเงินทเี่ หมาะสมสามารถดารงชวี ติ อยา่ งมคี ณุ คา่ โดยการพัฒนาระบบการเรยี นรทู้ ีต่ อบสนองต่อการ
เปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบระบบการเรยี นรู้ใหมพ่ ฒั นาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวติ ผู้เรียนสามารถ
กากับการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งแม้จะออกจากระบบการศึกษาแล้วรวมถงึ ความตระหนักถึง
พหุปญั ญาของมนษุ ยท์ ี่หลากหลายและการพฒั นาและการรักษากลุ่มผู้มคี วามสามารถพิเศษของพหปุ ัญญาแตล่ ะ
ประเภทเสริมสรา้ งใหผ้ ู้เรยี นมีลกั ษณะนิสัยมีความรักในสุขภาพและพลานามัยและพฒั นาทักษะดา้ นกฬี าสู่ความ
เป็นเลศิ และกฬี าเพ่ือการอาชีพ

ครแู ละบุคลกรทางการศกึ ษา เปน็ ผู้มบี ทบาทสาคญั ในการพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ หค้ นไทยเปน็
คนดคี นเก่งมคี ุณภาพพร้อมสาหรับวถิ ชี วี ติ ในศตวรรษที่ 21 ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตระหนักถึง
ความสาคัญในอาชพี และหน้าทขี่ องตน โดยครูตอ้ งมจี ิตวิญญาณของความเป็นครมู ีความรู้ความสามารถอยา่ ง
แท้จรงิ และเปน็ ตน้ แบบด้านคณุ ธรรมและจริยธรรมพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งต่อเนื่อง เพ่ือประโยชนใ์ นการ
พัฒนาผเู้ รยี นเปล่ียนโฉมบทบาท “คร”ู ใหเ้ ปน็ ครยู ุคใหมโ่ ดยปรับบทบาทจาก “ครูผ้สู อน” เป็น “Coach” หรอื
ผอู้ านวยการการเรียนรู้ทาหน้าท่กี ระตุ้นสรา้ งแรงบนั ดาลใจแนะนาวิธเี รียนรู้และวธิ จี ดั ระเบียบการสรา้ งความรู้
ออกแบบกจิ กรรมและสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรใู้ ห้ผู้เรียนมีบทบาทเป็นนักวจิ ัยพฒั นากระบวนการเรียนรเู้ พอ่ื
ผลสมั ฤทธิ์ของผูเ้ รยี น

เป้าประสงค์
1. หลักสตู รปฐมวัยและหลัดสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานมีการพฒั นาท่ีสอดคล้องกับ

แนวโน้มการพัฒนาของประเทศ
2. ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาตามจุดมุง่ หมายของหลกั สตู รและมีทกั ษะความสามารถที่สอดคลอ้ งกบั

ทักษะทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มคี วามยดื หยนุ่ ทางดา้ นความคิดสามารถทางานร่วมกบั ผู้อืน่ ไดภ้ ายใต้สงั คมทีเ่ ปน็
พหวุ ัฒนธรรมรวมถึงการวางพืน้ ฐานการเรยี นรู้เพ่อื การวางแผนชีวติ ที่เหมาะสมในแตล่ ะช่วงวัยและนาปฏิบตั ิได้

3. ผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นาให้มีความรูแ้ ละทักษะนาไปสู่การพัฒนานวตั กรรม

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

84

4. ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพเช่อื มโยงสอู่ าชพี และการมีงานทามที ักษะอาชีพท่ี
สอดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศ

5. ผู้เรยี นไดร้ บั การพัฒนาให้มีศักยภาพในการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะท่ีดสี ามารถ
ดารงชีวิตอยา่ งมีความสุขทง้ั ด้านรา่ งการและจิตใจ

6. ครเู ปล่ียนบทบาทจาก “ครผู ูส้ อน” เป็น “Coach” ผู้ให้คาปรกึ ษาเสนอแนะการเรียนรู้หรอื
ผู้อานวยการการเรียนรู้

7. ครมู คี วามรคู้ วามสามารถในการจัดการเรียนการสอนและเป็นแบบอย่างดา้ นคณุ ธรรมและ
จริยธรรม
ตวั ชวี้ ัด

1. ผเู้ รียนทกุ ระดับมสี มรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู รมีทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 (3R8C)
2. รอ้ ยละของผู้เรียนระดับช้นั ประถาศึกษาปที ี3่ ท่มี ีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน
ระดบั ชาติ (NT) ผา่ นเกณฑท์ ่ีกาหนด
3. ร้อยละของผู้เรยี นทม่ี ีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน
(O-NET) มากกว่ารอ้ ยละ 50 ในแต่ละวชิ าเพิ่มขน้ึ จากปีการศกึ ษาทผ่ี ่านมา
4. ร้อยละผ้เู รียนทีจ่ บการศกึ ษาชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 มีทกั ษะการเรียนรทู้ ่ี
เชอ่ื มโยงสอู่ าชพี และการมงี านทาตามความถนดั และความต้องการของตนอง มที ักษะอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกบั ความ
ต้องการของประเทศ วางแผนชีวติ และวางแผนทางการเงิน ท่เี หมาะสมและนาไปปฏบิ ัติได้
5. ผูเ้ รยี นทกุ คนมีทักษะพื้นฐาน ในการดารงชีวิตสามารถดารงชีวติ อยู่ในสังคมอย่างมคี วามสขุ มี
ความยืดหย่นุ ทางด้านความคิดความสามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นไดภ้ ายใตส้ งั คมที่เป็นพหวุ ัฒนธรรม
6. ผเู้ รียนทกุ คนมีศักยภาพในการจัดการสขุ ภาวะของตนเองให้มสี ุขภาวะทด่ี ีสามารถดารงชีวติ
อยา่ งมีความสุขทั้งดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ
7. ครมู ีการเปลยี่ นบทบาทจาก “ครูผ้สู อน” เปน็ “Coach” ผ้ใู หค้ าปรึกษาข้อเสนอแนะการ
เรยี นรู้หรือผู้อานวยการการเรียนรู้

นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพมรมาตรฐานและการ
ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา
บทนา

นโยบายการสรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ การบรกิ ารการศึกษาทม่ี ีคุณภาพและมมี าตรฐานและการลด
ความเหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษาเนน้ การสรา้ งโอกาสให้เดก็ วัยเรียนและผู้เรียนทุกคนเขา้ ถงึ บริการการศึกษาท่ีมี

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

85

คุณภาพท่มี าตรฐานเสมอกนั ไม่ว่าผเู้ รยี นจะยากดีมจี นจะอยู่ในพืน้ ทใ่ี ดของประเทศอยู่ในชุมชนเมืองพืน้ ท่หี า่ งไกล
ทรุ กันดารหรือกลุม่ เป้าหมายทีต่ อ้ งการการดูแลเปน็ พเิ ศษเพอ่ื ลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษาของประเทศโดย
สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาจดั การศึกษาเพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายโลกเพื่อการพฒั นาอย่างยั่งยนื (Global Goals for
Sustainable Development) สร้างกลไกความรว่ มมือของภาคสว่ นต่างๆ ในทกุ ระดับตั้งแต่ระดบั องคก์ รการ
ปกครองท้องถิน่ หรือตาบล ระดับอาเภอ ระดับจงั หวดั ระดับภูมภิ าคและส่วนกลาง สร้างมาตรฐานการศึกษาตาม
บรบิ ทของพื้นท่จี ัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพ่ือสนับสนนุ ให้เดก็ วัยเรียนทุกคนตงั้ แต่ระดับปฐมวยั ประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาอย่างพอเพยี งและเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพขอ้ เท็จจริงโดยคานงึ ถึงความจาเปน็ ตามสภาพ
พน้ื ท่ีภมู ิศาสตร์สภาพทางเศรษฐกิจและที่ตั้งของสถานศกึ ษาจัดหาทุนการศกึ ษาเพิ่มเติมเพอื่ ช่วยเหลอื ผูข้ าดแคลน
ทนุ ทรัพยเ์ พอื่ ลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษาจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศกึ ษาอ่ืนเป็นพเิ ศษให้
เหมาะสมสอดคล้องกบั ความตอ้ งการจาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษและ
จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินการและงบลงทนุ ใหส้ ถานศึกษาตามความจาเปน็ ตลอดจนนา
เทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Technology) มาใช้เปน็ เครอื่ งมือในการเรยี นรู้ของผู้เรยี นเพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้เปน็
เครือ่ งมือในการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ รวมถึงพัฒนาระบบติดตามสนับสนุนและประเมนิ ผลเพ่ือ
สร้างหลักประกันสิทธิการไดร้ ับการศกึ ษาที่มีคุณภาพของประชาชน
เปา้ ประสงค์

1. สถานศกึ ษาจดั การศึกษาเพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้าหมายโลกเพ่ือพฒั นาอย่างย่ังยนื (Global Goals for
Sustainable Development)

2. สถานศึกษากบั องค์กรปกตรองท้องถน่ิ ด้านเอกชนและหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องในระดับพ้ืนที่
รว่ มมอื ในการจดั การศึกษา

3. สถานศกึ ษามคี ุณภาพและมีมาตรฐานตามบริบทของพน้ื ที่
4. งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษามีเพียงพอและเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ
ขอ้ เท็จจรงิ โดยคานึงถึงความจาเป็นทตี่ ามสภาพพน้ื ทภี่ ูมิศาสตรส์ ภาพทางเศรษฐกจิ และทต่ี ั้งของสถานศึกษา
5. งบประมาณเพื่อเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยและงบลงทุนแกส่ ถานศกึ ษาอย่างเหมาะสมเพ่ือใหส้ ถานศึกษา
บริหารงานจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Technology) มาเป็นเคร่ืองมือให้ผเู้ รียนได้มโี อกาสเข้าถงึ การ
บริการดา้ นกรศกึ ษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. พัฒนาระบบการติดตาสนับสนุนและประเมนิ ผลเพ่ือสร้างหลักประกันสิทธิการได้รับการศึกษา
ทม่ี ีคุณภาพของประชาชน

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

86

ตัวชวี้ ัด
1. ผ้เู รยี นทุกคนสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกัน
2. ผเู้ รยี นทุกคนได้รับจัดสรรงบประมาณอุดหนุนอยา่ งเพยี งพอและเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ

ขอ้ เท็จจริงโดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพืน้ ที่ภมู ศิ าสตร์ตามสภาพทางเศรษฐกิจและท่ีตั้งของสถานศกึ ษาและ
ความต้องการจาเป็นพิเศษสาหรบั ผ้พู กิ าร

3. ผเู้ รยี นไดร้ บั การสนับสนนุ วัสดอุ ุปกรณ์และอุปกรณ์ดจิ ิทลั (Digital Device) เพ่ือใชเ้ ปน็
เครอื่ งมือในการเรยี นรู้อย่างเหมาะสมเพยี งพอ

4. ครไู ด้รบั การสนบั สนุนวัสดุอุปกรณ์และอุปกรณด์ ิจทิ ัล (Digital Device) เพ่ือใช้เปน็ เครอ่ื งมือ
ในการจดั กจิ กรรมเรียนรู้ให้แก่ผอู้ ่ืน

5. สถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสมตามบริบทด้านประเภทขนาดและ
พืน้ ที่

6. สถานศกึ ษานาเทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Technology) มาใช้เปน็ เคร่ืองมือในการจดั กิจกรรม
การเรยี นให้แกผ่ ้เู รียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

7. สถานศกึ ษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนวท่ีมปี ระสิทธภิ าพ
8. สถานศกึ ษาทีม่ ีระบบฐานข้อมลู ประชากรวยั เรียนและสามารถนามาใชใ้ นการวางแผนจัดการ
เรียนร้ใู หแ้ ก่ผู้เรียนได้มีประสิทธิภาพ

นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม

บทนา
ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ มไดน้ ้อมนาศาสตร์

ของพระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยยดึ หลกั 3 ประการคือ “มีความพอประมาณมเี หตุผลมภี ูมิคุ้มกัน” มาเป็น
หลักในการจัดทายทุ ธศาสตร์ชาติควบค่กู บั การนาเปา้ หมายของการพฒั นาทยี่ ัง่ ยนื ท้ัง 17 เปา้ หมาย มาเป็นกรอบ
แนวคดิ ทจ่ี ะผลกั ดนั ดาเนนิ การเพ่ือนาไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยนื ในทุกมติ ิทง้ั มติ ดิ ้านสงั คมเศรษฐกจิ
สิ่งแวดล้อมธรรมาภิบาลและความเป็นหุ้นสว่ นความรว่ มมือระหว่างกันทัง้ ภายในและภายนอกประเทศอยา่ ง
บรู ณาการ โดยมีวิสยั ทศั น์เพ่ือใหป้ ระเทศไทย “เป็นประเทศพฒั นาแล้วมีคุณภาพชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ มทดี่ ีทสี่ ุดใน
อาเซยี น ภายในปี พ.ศ.2580”

ดังน้นั นโยบายดา้ นการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเพ่ือรบั รอบวสิ ัยทศั น์ดงั กล่าว จงึ ไดน้ ้อมนาศาสตร์
พระราชาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และเปา้ หมายของการพัฒนาที่ย่ังยืนทั้ง 17 เป้าหมายมาเป็นหลกั ในการ
ปรบั ปรุงหลกั สูตรการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และการจัดสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกบั หลักการ

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

87

ดงั กลา่ วบนพน้ื ฐานความเชือ่ ในการเติบโตร่วมกันไม่วา่ จะเป็นทางเศรษฐกจิ ส่งิ แวดลอ้ มและคณุ ภาพชีวติ โดยให้
ความสาคัญกับการสรา้ งสมดุล ท้งั 3 ด้าน ไม่ให้มากหรือน้อยจนเกนิ ไปอนั จะนาไปสู่ความยง่ั ยืนเพื่อคนรนุ่ ต่อไป
อยา่ งแท้จริง
เป้าประสงค์

1. สถานศึกษานักเรยี นได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านความรูก้ ารสรา้ งจติ สานกึ ด้านการผลิตและบรโิ ภคท่ี
เป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม

2. สถานศกึ ษาสามารถนาเทคโนโลยมี าจัดทาระบบสารสนเทศการเกบ็ ข้อมูลด้านความรู้เรื่อง
ฉลากสีเขยี วเพื่อนาสิ่งแวดล้อมฯลฯและสามารถนามาประยกุ ต์ใช้ในทุกโรงเรยี นตามแนวทาง Thailand 4.0

3. สถานศึกษามีการจัดทานโยบายจัดซื้อจดั จ้างที่เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
4. สถานศกึ ษามกี ารบรู ณาการหลกั สตู รกจิ กรรมเร่ืองวงจรชวี ติ ของผลติ ภัณฑก์ ารผลติ และบรโิ ภค
สู่การลดปริมาณคารบ์ อนในโรงเรยี นคาร์บอนต่าสูช่ ุมชนคาร์บอนต่า
5. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานและสานักงานเขนพืน้ ท่ีการศึกษาโรงเรียนทุก
โรงเรียนในสังกัดมกี ารปรบั ปรุงและพฒั นาเปน็ หน่วยงานตน้ แบบสานักงานสเี ขียว (GREEN OFFICE) เพอื่ ให้มี
บริบทให้เปน็ แบบอย่างเอื้อหรือสนบั สนนุ การเรยี นรู้ของนกั เรียนและชมุ ชน
6. สถานศึกษาในสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานจาก 225 เขตมีนโยบายส่งเสริม
ความรแู้ ละสรา้ งจิตสานึกและจัดการเรียนรู้การผลิตและบริโภคทีเ่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม
7. สถานศึกษาต้นแบบนาขยะมาใชเ้ ปน็ ประโยชน์เพ่ือลดปริมาณขยะจานวน 15,000 โรงเรียน
8. มสี ถานศกึ ษานวตั กรรมต้นแบบในการนา 3RS มาประยุกต์ใชใ้ นการผลติ และบรโิ ภคเปน็ มติ ร
กบั สิง่ แวดลอ้ ม จานวน 6,000 โรงเรยี น
9. สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา 225 เขต มีการทานโยบายการจัดซือ้ จัดจ้างท่เี ป็นมติ รกับ
ส่ิงแวดลอ้ ม

ตัวชว้ี ัด
1. สถานศึกษาในสงั กัดมีนโยบายการจัดกิจกรรมให้ความรู้ทีถ่ ูกต้องและสร้างจิตสานึกดา้ นการ

ผลิตและบรโิ ภคท่เี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อมนาไปปฏบิ ตั ิใช้ทบ่ี ้านและชมุ ชนเช่นการสง่ เสริมอาชีพทีเ่ ป็นมิตรกบั
สิ่งแวดลอ้ มการลดใชส้ ารเคมีจากปยุ๋ และยาฆ่าแมลงฯลฯ

2. สถานศกึ ษามกี ารนาขยะมาใชป้ ระโยชนใ์ นรปู ผลิตภัณฑ์ และพลงั งานเพ่ือลดปริมาณขยะ และ
ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชน เพอื่ ลดปรมิ าณคาร์บอนท่ีโรงเรียนและชุมชน

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

88

3. สถานศกึ ษามกี ารบูรณาการ เร่อื งการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและนาขยะมาใชป้ ระโยชน์
รวมท้งั สอดแทรกในสาระการเรียนรู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

4. นกั เรียนเรียนรจู้ ากแหล่งเรียนรูม้ ีการขยายผลแหลง่ เรียนรนู้ ักเรียนโรงเรยี นชุมชุนเรยี นรู้ ดา้ น
การลดใชพ้ ลังงานการจดั การขยะและอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม เพ่ือเป็นแหลง่ เรียนรู้และตวั อย่างรูปแบบผลติ ภัณฑท์ ่เี ป็น
มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม เช่น โรงงานอุตสาหกรรมสเี ขยี วฯลฯ

5. นกั เรยี นสถานศึกษามีการเก็บข้อมลู เปรยี บเทยี บการลดปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซต์ในการ
ดาเนินกิจกรรมประจาวันในสถานศึกษาและทบี่ ้านข้อมูลของ Car bon Footprint ในรปู แบบ QR CODE และ
Paper less

6. ครูมคี วามคิดสรา้ งสรรคส์ ามารถพฒั นาส่ือนวัตกรรมและดาเนนิ การจัดทางานวิจัยดา้ นการ
สร้างสานึกดา้ นการผลติ และบรโิ ภคที่เป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อมได้

7. ครแู ละนกั เรยี นสามารถนาสื่อนวัตกรรมท่ีผา่ นกระบวนการคิดมาประยกุ ต์ใชใ้ นโรงเรยี นการ
จดั การเรยี นรแู้ ละประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั และชมุ ชนได้ตามแนวทาง Thailand 4.0

8. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษามีการปรบั ปรงุ และพัฒนาบุคลากรและสถานทใ่ี ห้
เปน็ สานักงานสีเขยี วตน้ แบบมีนโยบายการจดั ซ้ือจัดจ้างทเ่ี ปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้ของนักเรยี น
และชุมชน

นโยบายท่ี 6 ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารการจัดการศกึ ษา

บทนา
นโยบายด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาเป็นนโยบายจดุ เนน้ ทส่ี าคญั

เนอ่ื งจากเปน็ นโยบายท่ีกระจายอานาจการจัดการศึกษาให้สถานศกึ ษามีความเป็นอสิ ระในการบริหาร และจัดการ
ศึกษาครอบคลมุ ท้ังด้านการบริหารวชิ าการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ดา้ นการบริหารงานบคุ คล และ ด้านการ
บริหารงานทวั่ ไป และปรับบทบาท ภารกจิ ของหน่วยงานทั้งระดบั สานกั งาน ทงั้ สว่ นกลางและระดับภูมภิ าค โดย
ปรบั โครงสรา้ งของหนว่ ยงานทุกระดับ ต้งั แต่สถานศึกษาสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสานักงานสว่ นกลางให้มี
ความทันสมัยพรอ้ มทีจ่ ะปรบั ตวั ให้ทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของโลก อยู่ตลอดเวลาหนว่ ยงานสานกั งานเปน็
หนว่ ยงานทม่ี ีหนา้ ที่สนับสนนุ สง่ เสรมิ ตรวจสอบติดตาม เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ นาเทคโนโลยีดิจิทลั Digital Technology เช่น Cloud Technology Big Data Technology และ
Communication Technology เป็นต้น มาใชใ้ นการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารงานท้งั ระบบ มีความโปรง่ ใส
ตรวจสอบไดพ้ ร้อมทัง้ ปลูกฝงั ค่านิยมความซ่อื สตั ย์ สุจรติ ความมธั ยัสถ์ และเปิดโอกาสให้ทกุ ภาคสว่ นเข้ามามี
สว่ นรว่ ม เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนได้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

89

เปา้ ประสงค์
1. สถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศกึ ษามคี วามเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารและจัดการศึกษาครอบคลุม

ด้านการบริหารวชิ าการด้านการบรหิ ารงบประมาณด้านการบรหิ ารงานบคุ คลและดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป
2. หนว่ ยงานส่วนกลางและสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาต้องปรบั เปลี่ยนให้เปน็ หนว่ ยงานใหม้ ี

ความทันสมัยพรอ้ มที่จะปรบั ตวั ให้ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลาเป็นหน่วยงานท่ีมหี น้าท่สี นับสนุน
สง่ เสริมตรวจสอบตดิ ตามเพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจัดการศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

3. หนว่ ยงานทกุ ระดบั มีความโปร่งใสปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบบรหิ ารจัดการตามหลกั
ธรรมาภบิ าล

4. หน่วยงานทุกระดบั มกี ระบวนการและการวิธีงบประมาณด้านการศกึ ษาเพ่ือเพิม่ คุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพจัดการศกึ ษาโดยจดั สรรงบประมาณตรงสู่ผ้เู รยี น

5. หนว่ ยงานทุกระดบั พฒั นานวัตกรรมเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Technology) มาใชใ้ นการเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารและการจัดการเรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระบบ
ตัวชีว้ ดั

1. สถานศกึ ษา ได้รบั การกระจายอานาจการบริหารจดั การศกึ ษาอยา่ งเปน็ อิสระ
2. สถานศึกษา สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาและสานกั งานสว่ นกลาง ได้รบั การพฒั นาเป็น
หน่วยงานทมี่ คี วามทันสมัยยดื หยุ่นคล่องตัวสงู พร้อมทจ่ี ะปรับตัวให้ทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของดลกอยู่ตลอดเวลา
เปน็ หน่วยงานท่ีมีหน้าทส่ี นบั สนุนสง่ เสริมตรวจสอบตดิ ตามเพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจดั การศกึ ษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพครอบคลมุ ทุกตาบล
3. สถานศกึ ษาสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาและสานกั งานสว่ นกลางนานวัตกรรมเทคโนโลยี
ดจิ ิทลั (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจดั การและตัดสินใจทงั้ ระบบ
4. สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานในสงั กดั ทุกระดบั มคี วามโปรง่ ใสปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ิ
ชอบบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล
5. สถานศกึ ษาหนว่ ยงานในสงั กัดทุกระดับผา่ นการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการ
ดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
6. สถานศกึ ษาทกุ แหง่ และหน่วยงานในสงั กดั มรี ะบบฐานข้อมูลสารสนเทศวชิ าการผู้เรียนครู
บคุ ลากรทางการศึกษาสถานศกึ ษาหน่วยงานในสงั กัด
7. สถานศึกษาทกุ แห่งมีข้อมลู ผ้เู รียนรายชื่อที่สามารถเช่ือมโยงกบั ข้อมูลต่างๆนาไปสู่การ
วเิ คราะห์เพ่ือวางแผนการจดั การเรยี นรู้สู่ผู้เรยี นได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ (Bigdata Technology)

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

90

8. สถานศกึ ษาสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาและสานกั งานส่วนกลางมีแพลตฟอร์มดจิ ิทลั (Digital
Platform) เพ่ือสนบั สนุนภารกิจด้านบรหิ ารจัดการศึกษา

9. สถานศกึ ษาทุกแหง่ มรี ะบบขอ้ มูลสารสนเทศที่สามารถใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

9. แผนพฒั นาจงั หวัดชัยภมู ิ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564

ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงคห์ ลัก ตัวช้ีวัด/ค่าเปา้ หมาย และกลยุทธแ์ นวทางการพฒั นาในชว่ ง
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564 ดังนี้

1. ตาแหน่งการพฒั นา (Positioning) ของจังหวัดชัยภูมิ
1.1 เปน็ ฐานการผลิตและศูนย์กลางสนิ คา้ เกษตรที่เข้มแข็งและย่งั ยนื
1.2 เปน็ ศูนยก์ ลางการท่องเทยี่ วเชิงธรรมชาติและวฒั นธรรมที่มีชอ่ื เสียง
1.3 เปน็ เมอื งแหง่ ความสมบูรณ์ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมที่ดี
1.4 เป็นเมืองที่สังคมมีคณุ ภาพมงั่ คงและปลอดภัย

2. วิสัยทัศน์จงั หวดั ชัยภูมิ
“เศรษฐกจิ ก้าวหนา้ สังคมและสง่ิ แสดล้อม มีคุณภาพอย่างยง่ั ยืน”

3. พนั ธกิจ
3.1 พัฒนาระบบเศรษฐกจิ ฐานรากและเศรษฐกิจมหภาค
3.2 สง่ เสริมพฒั นาการท่องเท่ียวเชงิ ธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรม
3.3 อนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟพู ัฒนาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
3.4 พัฒนาสงั คมคุณภาพชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

4. เปา้ ประสงคร์ วม
4.1 ประชาชนมีรายไดเ้ พ่ิมขน้ึ และกระจายอย่างเหมาะสม
4.2 สถานท่ีทอ่ งเทีย่ วมีความสมบูรณแ์ ละมีมาตรฐาน
4.3 การรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มให้สมดลุ กับการพฒั นา
4.4 ประชาชนดารงชีวิตอย่างมคี ณุ ภาพมนั่ คงและปลอดภัย

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

91

5. ตัวช้ีวัดและค่าเปา้ หมายการพัฒนา (KSI)
5.1 อัตราการขยายตวั ของ GPP เพิ่มขึน้
5.2 รอ้ ยละที่เพิ่มข้ึนของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดภาคการเกษตร
5.3 รอ้ ยละทเ่ี พิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ภาคอุตสาหกรรม
5.4 รอ้ ยละทเี่ พ่ิมขน้ึ ของรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี ว
5.5 รายได้จากการจาหนา่ ยผลิตภัณฑช์ ุมชนเพ่มิ ข้นึ
5.6 จานวนชมุ ชนทีด่ าเนนิ การตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
5.7 สมั ประสิทธ์ิการกระจายรายไดล้ ดลง
5.8 จานวนปกี ารศึกษาเฉลี่ยเพ่ิมขึน้
5.9 คา่ เฉล่ยี O-Net ทกุ ระดบั เพิ่มข้ึน
5.10 ร้อยละของประชากรทอ่ี ยูใ่ ตเ้ ส้นความยากจนลดลง
5.11 ร้อยละผูอ้ ย่ใู นระบบประกนั สงั คมต่อกาลงั แรงงานเพิ่มขึน้
5.12 อตั ราการเปล่ยี นแปลงของพ้ืนท่ีป่าไม้ในจังหวัดลดลง
5.13 สัดสว่ นการใชพ้ ลงั งานทดแทนในจงั หวัดชยั ภูมเิ พิ่มขนึ้

ประเด็นยุทธศาสตร์การพฒั นาจังหวัดชัยภมู ิ

6.1 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ ฐานรากและแขง่ ขันได้อยา่ งยั่งยนื
เปา้ ประสงค์
ประชาชนมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ และกระจายอย่างเหมาะสม
ตัวชวี้ ดั /คา่ เป้าหมาย
1. รอ้ ยละท่ีเพม่ิ ข้นึ ของผลติ ภัณฑม์ วลรวม
2. อัตราการขยายตัวของ GPP ภาคการเกษตรเพิม่ ข้ึน
3. อตั ราการขยายตวั ของ GPP ภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมข้ึน
4. รายไดข้ องครัวเรือนที่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. เพม่ิ ข้นึ
กลยทุ ธ์
1. การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานการผลติ และบรกิ าร
2. การสง่ เสรมิ อาชีพและรายไดแ้ ก่ประชาชน
3. การส่งเสรมิ การตลาดสินค้าเกษตรและบรกิ าร

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

92

6.2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจดั การการท่องเท่ียวสู่มาตรฐานสากล
เป้าประสงค์
1. สินค้าและบรกิ ารด้านการทอ่ งเทย่ี วมีมูลคา่ เพิม่ ข้นึ
2. สถานท่ที อ่ งเทย่ี วมีความสมบรู ณ์และมมี าตรฐาน

ตัวชว้ี ดั
1. ร้อยละทีเ่ พม่ิ ขึ้นของจานวนนักท่องเทยี่ ว
2. ร้อยละทเ่ี พมิ่ ขน้ึ ของรายได้จากสินค้าและการบริการการทอ่ งเท่ยี ว
3. จานวนแหล่งทอ่ งเทีย่ วที่ได้รับการพัฒนาให้มคี ุณภาพได้มาตรฐาน
4. ความพึงพอใจของนักท่องเท่ยี วเพ่ิมข้นึ

กลยุทธ์
1. พัฒนาคุณภาพของแหล่งท่องเทีย่ วสินค้าและบริการ
2. พฒั นาและยกระดบั บุคลากรดา้ นการทอ่ งเที่ยว
3. ส่งเสรมิ การตลาดและการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเท่ยี ว

6.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมแบบมีส่วนรว่ มอยา่ งยั่งยนื
เปา้ ประสงค์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มมีความอุดมสมบรู ณ์และสมดลุ กบั การพฒั นา
ตวั ชีว้ ดั /ค่าเปา้ หมาย
1. ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีความอดุ มสมบูรณ์เพิ่มขนึ้ อย่างย่ังยืน
2. ระดับความสาเร็จของการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างมีสว่ นร่วม
3. ระดับความสาเรจ็ ในการผลิตและบรหิ ารจัดการพลงั งานทดแทนเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งมีสว่ นรว่ ม
4. ระดบั ความสาเร็จในการบริหารจัดการภัยพิบตั ิทเี่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ
กลยทุ ธ์
1. บริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มแบบบูรณาการ
2. อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอย่างยง่ั ยนื
3. การรับมือภัยพิบตั ธิ รรมชาตกิ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. พัฒนาเครอื ขา่ ยด้านพลงั งานทดแทนท่ีเกย่ี วข้องและสนับสนุนการมีส่วนรว่ มของเครอื ขา่ ยท้ัง

ในระดบั ประเทศและในระดบั นานาชาติ

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

93

6.4 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การพัฒนาสงั คมและคุณภาพชวี ิตให้มน่ั คงตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เป้าประสงค์
ประชาชนดารงชวี ิตอยอู่ ย่างมีคุณภาพ ม่นั คง และปลอดภัย
ตัวชี้วดั /คา่ เปา้ หมาย
1. สัมประสิทธกิ์ ารกระจายรายไดล้ ดลง
2. จานวนปีการศกึ ษาเฉล่ยี เพ่ิมข้ึน
3. คา่ เฉลย่ี O-Net ทุกระดับเพิ่มข้นึ
4. สัดส่วนคนจนลดลง
5. ร้อยละของผอู้ ยู่ในระบบประกนั สังคมต่อกาลังแรงงานเพมิ่ ข้นึ
6. จานวนองค์ความรู้ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินไทยเฉลยี่ ต่อหมบู่ า้ นเพ่มิ ข้ึน
7. ร้อยละทีล่ ดลงของการเกดิ คดอี าชญากรรมในพื้นท่ี
กลยทุ ธ์
1. การพฒั นาคุณภาพชวี ติ
2. การสร้างภมู ิคุม้ กนั ทางสังคม
3. การพฒั นาความม่งั คงและความปลอดภัยของสงั คม
แนวทางการดาเนินงาน
1. เพมิ่ ศักยภาพและส่งเสรมิ ใหศ้ าสนาศิลปะ วัฒนธรรมมีบทบาทนาในการปลกู ฝังคณุ ธรรม

จรยิ ธรรมให้แก่ประชาชน รวมท้งั ร่วมกับครอบครวั ชุมชน และสถาบันการศึกษาในการสรา้ งคา่ นิยมครอบครวั
อบอุ่นและการพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเ้ ปน็ คนดมี คี ุณธรรมนาความรู้

2. สร้างเครอื ขา่ ยชมุ ชน/ท้องถิ่นและทุกภาคส่วน เข้ามามีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
เฝา้ ระวังทางวัฒนธรรมทม่ี ผี ลกระทบต่อการเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนและฟื้นฟู
เผยแพร่สบื สานคุณค่าของวฒั นธรรม ประเพณี ค่านิยมซึง่ เปน็ วิถชี ีวติ ท่ดี งี าม

3. สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ เยาวชนและประชาชนผทู้ ี่มีความรู้ความสามารถดา้ นวัฒนธรรมได้มีเวที
แสดงออก เผยแพรแ่ ลกเปลีย่ นเรียนร้รู ะหว่างกล่มุ วฒั นธรรมตา่ งๆ ทง้ั ในระดับชุมชนและระดับท้องถิ่นอย่าง
ต่อเน่ือง

4. พัฒนาศกั ยภาพของเด็กและเยาวชนให้มขี ดี ความสามารถที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพฒั นา
ความร้ทู างวชิ าการและสตปิ ัญญาทางอารมณท์ เ่ี ข้มแข็ง รเู้ ท่าทนั การเปลย่ี นแปลง เพื่อป้องกันและแกไ้ ขปัญหา
สงั คม

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

94

5. เสริมสร้างสภาพแวดลอ้ อมทน่ี ่าอยโู่ ดยสง่ เสรมิ ให้ภาครฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินร่วมกบั
ชุมชนสามารถวางและจัดทาผังเมอื ง การจดั บริการขน้ั พื้นฐานและพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานที่เหมาะสมในพ้นื ทไ่ี ด้
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสอดคลอ้ งกับศักยภาพพน้ื ทแ่ี ละความตอ้ งการของประชาชนควบคู่กับการบงั คบั ใชก้ ฎหมายท่ี
เก่ยี วข้องกบั ความปลอดภัยสาธารณะและสิง่ แวดลอ้ มอย่างเครง่ ครัด

6. สง่ เสริมสนับสนนุ การดาเนนิ งานวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนจากสภาวฒั นธรรมหมบู่ า้ นส่สู ภา
วัฒนธรรมตาบล

7. สง่ เสรมิ ให้เด็ก เยาวชนและประชาชนไดป้ ฏบิ ัติตามหลักธรรมทางศาสนามีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และค่านิยมหลัก 12 ประการ

8. ขยายโอกาสการมีงานทาและเพิม่ ทางเลือกในการประกอบอาชีพสาหรับประชาชนทกุ กลุ่ม
9. ส่งเสริมและสรา้ งการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในการออกกาลงั กายเพื่อสขุ ภาพโดยจดั
กจิ กรรมและเพิ่มช่องทางใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ กฬี าและนันทนาการ
10. ส่งเสรมิ และพฒั นากฬี าสูค่ วามเปน็ เลศิ และกีฬาอาชีพโดยการพัฒนาและนาวทิ ยาศาสตร์
ทางการกีฬามาใช้อย่างจรงิ จงั
11. สง่ เสรมิ ให้ประชาชนทกุ กลมุ่ วัยมกี ารออกกาลังกายและเล่นกีฬาเป็นประจาเพอ่ื เสริมสรา้ ง
สุขภาพและพฒั นาคุณภาพชวี ิต
12. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนไดร้ ับการคมุ้ ครองการประกนั สงั คมอยา่ งทัว่ ถงึ
13. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั สู่มาตรฐานสากล ปรบั ปรงุ หลกั สตู รการ
เรยี นการสอนเพ่ือการมีงานทาให้สอดคล้องกบั ความต้องการของท้องถิ่นในการสร้างกระบวนการเรยี นรโู้ ดยการมี
ส่วนรว่ มของประชาชน ในการสรา้ งกระบวนการเรยี นรูป้ ลูกฝังจติ สานึกคา่ นยิ มหลัก 12 ประการ คุณธรรม
จริยธรรม วัฒนธรรมตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
14. สรา้ งและกระจายโอกาสทางการศกึ ษาสาหรับประชาชนใหเ้ ขา้ ถึงการบริการการศึกษาและ
แหล่งเรียนรูต้ ลอดจนสร้างปจั จยั สภาพแวดลอ้ มเพ่อื เอ้ือตอ่ การสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตอย่างต่อเนื่อง
ใหก้ ับคนทุกชว่ งวยั
15. ส่งเสรมิ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใชใ้ นการเพิ่มประสิทธภิ าพการจัด
การศกึ ษามุ่งสูส่ ากลพัฒนาระบบบริหารจดั การความรู้เพ่ือการเรียนร้ใู หท้ ่ัวถงึ และเทา่ เทียมกนั
16. สรา้ งความเสมอภาคและเพิ่มโอกาสการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาและสรา้ งหลกั ประกันโอกาส
ทางการศึกษาแกผ่ ู้ด้อยโอกาสผู้ยากไร้และผูพ้ กิ าร รวมทงั้ พัฒนาเครอื ข่ายความร่วมมือในการให้บรกิ ารและ
ชว่ ยเหลือทางการศึกษาใหก้ บั ผู้ยากไรแ้ ละผดู้ อ้ ยโอกาส

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

95

17. สนับสนนุ การสรา้ งเครอื ข่ายร่วมกนั ระหวา่ งสถาบันการศึกษากับชมุ ชน/วิสาหกจิ ชมุ ชนใน
การถ่ายทอดความรใู้ ห้แก่ช่างทอ้ งถน่ิ ทักษะอาชีพสู่ชุมชน รวมทัง้ การรับรองและตรวจสอบคณุ ภาพสินคา้ ชมุ ชน

18. สง่ เสริมการผลิตและพฒั นากาลงั คนให้มคี ุณภาพและมาตรฐานการศึกษาใหส้ อดคล้องกับ
ความตอ้ งการของตลาดเพ่ือรองรับการเปิดเสรปี ระชาคมอาเซียน

19. ส่งเสริมประชาชนใหม้ สี ว่ นร่วมในการพฒั นาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข สรา้ งกลไกลชุมชนในการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยเพื่อใหเ้ กิดความสมัครสมาน
สามคั คเี ปน็ อันหนึง่ อนั เดยี วกัน

20. สง่ เสริมและสนับสนุนองค์กรชมุ ชนและผู้นาชมุ ชนใหม้ ีศกั ยภาพในการบริหารจดั การและการ
มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสงั คมของชมุ ชน

21. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการประยุกตใ์ ช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ
พัฒนาชมุ ชนผา่ นกลไกการพัฒนาศกั ยภาพของหมบู่ า้ นและชมุ ชน

22. สง่ เสริมและพฒั นาศักยภาพทุนชมุ ชนท้ัง 5 ดา้ นประกอบดว้ ย ทุนมนษุ ย์ ทนุ สังคม ทนุ
ศกั ยภาพ ทนุ ธรรมชาติ และทุนการเงิน ให้มีการบรหิ ารจัดการทีด่ ีตามหลักธรรมาภิบาล

23. เพม่ิ ประสิทธภิ าพของระบบหลักประกันสุขภาพใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงบริการได้อย่างไม่เปน็
อุปสรรค รวมทั้งพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพให้มคี ุณภาพมาตรฐาน

24. พฒั นาระบบบริการวชิ าการและการบรหิ ารจดั การทางการแพทย์และสาธารณสขุ ให้มี
คุณภาพ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

25. พัฒนาระบบเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคมุ โลก รวมทั้งการดูแลสขุ ภาพของคนในชุมชนโดย
มุง่ เน้นการพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งของเครอื ข่าย

26. ส่งเสริมและพฒั นากระบวนการประเมินความเสย่ี งและเตือนภยั สขุ ภาพรวมทั้งพัฒนา
คุณภาพมาตรฐานประสิทธิภาพและความปลอดภยั ของผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ

27. สนับสนุนสรา้ งแรงจงู ใจ ทกั ษะความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสขุ เพ่ือรองรับการขยายภารกจิ
ในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นพฤติกรรมสุขภาพและลดปจั จยั เส่ยี งตอ่ โรคเรอื้ รัง โดยเช่ือมโยงการดาเนินการรว่ มกบั องคก์ ร
การปกครองสว่ นท้องถิน่

28. พัฒนาคณุ ภาพการให้บริการของหน่วยงานของรฐั แกป่ ระชาชนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และเครื่องมืออันทันสมัยมาใช้ในการใหบ้ รกิ ารเชงิ รุกเพือ่ อานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน

29. พัฒนาสมรรถนะข้าราชการใหม้ ีจิตสานกึ สาธารณะมาตรฐานดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ธรรมาภบิ าลและทัศนคตทิ ีเ่ อ้ือตอ่ การบริการประชาชน

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

96

30. สรา้ งจิตสานึกคา่ นิยมจรรยาบรรณ ของข้าราชการในการปฏบิ ัตริ าชการด้วยคุณธรรม
จรยิ ธรรมมีความซอ่ื สัตยส์ จุ รติ ตลอดจนปอ้ งกนั และและปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ
อย่างต่อเนื่อง

31. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้มีการจดั ทาแผนพัฒนาในทกุ ระดบั อยา่ งมีประสิทธภิ าพรวมท้ังเสริมสร้าง
ขดี ความสามารถของอาเภอในการประสานและบรู ณาการแผนพัฒนาในระดบั ชุมชนตาบลและอาเภอให้สามารถ
เชื่อมโยงกบั การจดั ทาแผนพัฒนาจงั หวดั เพือ่ ใหร้ ะบบแผนและงบประมาณของจังหวัดสามารถแกไ้ ขปญั หาและ
พฒั นาพืน้ ที่ไดต้ รงตามความต้องการของประชาชน

32. ส่งเสริมการพัฒนาหนว่ ยงานไปสอู่ งคก์ รแห่งการเรยี นรู้พัฒนาประสิทธิภาพในการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคลไปสูร่ ะบบท่เี ปน็ สากลและมปี ระสิทธภิ าพเพ่อื รองรบั การเขา้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

33. ส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน/ประชาชนในการรักษาความสงบเรียบรอ้ ยของหมู่บ้าน/
ชมุ ชนการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในเชงิ รกุ และพัฒนาระบบการเฝา้ ระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในหมบู่ ้าน/
ชุมชนโดยการมสี ่วนรว่ มขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)

34. เสรมิ สรา้ งสมรรถนะเจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐ ในการแกไ้ ขปญหาความขัดแย้งและระงบี ข้อพิพาท
เบ้ืองตน้ รวมทั้งการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยเสริมสรา้ งเครือขา่ ยภาคประชาชนในการป้องกนั และปราบปราม
อาชญากรรมในพื้นท่ี

35. คมุ้ ครองสทิ ธแิ ละชว่ ยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนและผู้บริโภคเชิงรุกเสริมสร้างความรู้
ความเข้าใจและพฒั นาการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการอานวยความยุตธิ รรม

36. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การแก้ไขปญั หาในด้านต่างๆของประชาชนโดยศนู ยด์ ารงธรรมจังหวัด
และอาเภอ

37. สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ใหเ้ ด็กและเยาวชนตอ่ การรองรับสภาพปัญหายาเสพติดในสังคม
38. สรา้ งภมู ิคุ้มกนั และป้องกันในผูใ้ หญแ่ ละวยั แรงงาน
39. เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติดและผมู้ อี ิทธพิ ลในทุกๆด้านดาเนินการป้องกนั มใิ ห้กลุม่
เส่ยี งตกเปน็ เหยอื่ ของยาเสพติดตลอดจนบาบัดฟื้นฟูผเู้ สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ และตดิ ตามชว่ ยเหลือให้สามารถกลบั ไป
ใช้ชวี ติ ในสังคมได้โดยกระบวนการมสี ่วนรว่ มของหม่บู ้าน/ชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคประชาสังคม
40. สนับสนนุ ให้ทุกภาคสว่ นในสงั คมใหม้ ามีส่วนร่วมในการปอ้ งกันแก้ไขปญั หายาเสพติดโดยให้
สอดรับกับยทุ ธศาสตรก์ ารป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดของรัฐบาล

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

97
41. บรหิ ารจดั การอยา่ งบูรณาการทุกภาคสว่ นที่มีประสิทธภิ าพเอ้ืออานวยต่อการบาบดั ฟื้นฟู
สมรรถนะภาพโดยยดึ หลักผเู้ สพเป็นศูนยก์ ลาง
42. สรา้ งและพฒั นาระบบรองรับสนบั สนุนการคืนคนดีใหส้ ังคม

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2


Click to View FlipBook Version