The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpm2, 2021-12-16 02:38:38

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

แผนพัฒนาการศึกษา 2563-2565

98

ส่วนท่ี 3
ทศิ ทางการพฒั นา
ของสานกั งานเขตพ้ นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ได้กาหนดทิศทางการพัฒนาการศึกษา
พ.ศ.2563-2565 โดยได้ทบทวนแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561-2564 เพื่อนาไปสู่
การปฏิบัติอย่างเปน็ รปู ธรรม โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้

วิสัยทศั น์ (VISION)
“สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภมู ิ เขต 2 เป็นองค์กรชั้นนา
บรหิ ารจดั การตามศาสตร์พระราชา ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรมนาคณุ ภาพ”

องคก์ รช้ันนำ :
พัฒนาการบรหิ ารจดั การให้ได้มาตรฐาน

ตอ่ เนอ่ื งและมีประสิทธภิ าพ พัฒนาครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาด้วยรูปแบบท่ีหลากหลาย

บรหิ ำรจดั กำรตำมศำสตร์พระรำชำ :
น้อมนาศาสตรพ์ ระราชาสู่การบรหิ ารจดั การ

อยา่ งมีคณุ ภาพใหส้ ถานศึกษาเปน็ ศูนย์การเรียนรตู้ าม
หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประชากรวัยเรยี นทุกคนให้
ไดร้ ับโอกาสในการศกึ ษาอย่างท่ัวถงึ และมคี ุณภาพ
สถานศกึ ษามรี ะบบดแู ลลชว่ ยเหลือนักเรียนอย่างยงั่ ยืน

ผ้เู รยี นมคี ณุ ธรรมนำคุณภำพ :
พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม

พ้ืนฐานและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ จดั การศึกษาให้
มีคณุ ภาพตามมาตรฐานและมีศกั ยภาพในการแข่งขนั
ส่งเสริมผูเ้ รยี นใหม้ ที กั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
พัฒนาผเู้ รียนทมี่ ีความสามารถพเิ ศษสูค่ วามเป็นเลิศใน
ระดับสากล

คา่ นยิ มองคก์ ร (Corporate Value)

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

99

“ม่ังคง่ั คุณธรรม ม่ันคงคุณภาพ ย่งั ยนื บรกิ าร”

1. ผู้นำดี
2. โปร่งใส ตรวจสอบได้
3. มีคณุ ธรรม
4. เทคโนโลยีทนั สมัย
5. บริกำรเปน็ เลศิ
6. คุณภำพดี
7. ทำงำนเป็นทีม
8. รับผิดชอบตอ่ หนำ้ ที่

วัฒนธรรมองค์กร (Organisational Culture)
“ชวี ิตเบกิ บาน บรกิ ารด้วยใจ”

ชีวติ เบิกบำน :
- มองโลกในแงด่ ี
- สรา้ งความสมั พันธ์ท่ีดี
- ปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอ
- เอ้อื อาทร เกื้อกูล แบ่งปัน
- มองตวั เองวา่ ดี และมีคุณค่า

บรกิ ำรด้วยใจ :
- ย้ิมแย้มแจม่ ใส
- สภุ าพออ่ นโยน
- รวดเรว็ แบบมคี ุณภาพ
- สร้างความพึงพอใจสูงสุด
- ท่มุ เทการบริการอย่างเตม็ ที่

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

100

พนั ธกจิ (Mission)
1. ส่งเสรมิ การบริหารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพและได้มาตรฐานโดยความรว่ มมือของทกุ ภาคส่วน
2. สง่ เสริม สนบั สนนุ การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาสกู่ ารบริหารจดั การอย่างมคี ุณภาพ
3. สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม

ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. สง่ เสริมการพฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชพี ดว้ ยรปู แบบทหี่ ลากหลาย
5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษาให้มีระบบการชว่ ยเหลอื นักเรียนอยา่ งยั่งยนื
6. ส่งเสรมิ ประชากรวยั เรียนทกุ คนให้ไดร้ ับโอกาสในการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
7. พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ข้ันพืน้ ฐาน
8. สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ทักษะด้านกีฬา อาชีพเพอื่ การมงี านทา
9. พัฒนาผเู้ รียนทีม่ ีความสามารถพิเศษสูค่ วามเป็นเลศิ ระดับสากล

เป้าประสงค์ (Goals)
1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 มีการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ

โดยการมีส่วนรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ย
2. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 และสถานศึกษาน้อมนาศาสตร์พระราชา

สู่การปฏิบตั ิ
3. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง
4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มี สมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ

อยา่ งมีศักยภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
5. สถานศึกษามรี ะบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นอย่างย่งั ยืน
6. ประชากรวัยเรยี นทุกคนไดร้ บั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานอยา่ งท่วั ถึงและมีคุณภาพ
7. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมพ้ืนฐานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
8. ผเู้ รยี นมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและมีศักยภาพในการแข่งขนั สคู่ วามเปน็ เลศิ ระดบั สากล

ประเด็นกลยุทธ์
ประเดน็ กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การองค์กรสคู่ วามเป็นเลิศ
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 การน้อมนาศาสตร์พระราชาสูก่ ารพฒั นาอย่างย่งั ยนื
ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 3 การสง่ เสริมใหป้ ระชากรวยั เรยี นไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษา
ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 4 การพฒั นาผูเ้ รียนส่คู วามเปน็ เลศิ ในระดับสากล

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

101

กลยุทธ์ และแนวทางในการดาเนินงาน

ประเด็นกลยุทธท์ ี่ 1 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
เป้าประสงค์
1) สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต 2 มีการบริหารจดั การสู่

ความเปน็ เลศิ โดยการมีสว่ นรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ย
4) ผ้บู รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รับการพฒั นาให้มีสมรรถนะ

ตามมาตรฐานวชิ าชีพอย่างมศี กั ยภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

กลยทุ ธท์ ่ี 1.1 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการบริหารจัดการองคก์ รเนน้ การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน
ตวั ช้ีวดั
1) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ผ่านการประเมินคุณภาพ

มาตรฐานสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาในระดบั ดขี ึน้ ไป
2) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ผ่านการประเมินคุณธรรมและ

ความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (ITA : Integrity & Transparency Assessment)
3) สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชัยภมู ิ เขต 2 มกี ารบรหิ ารจัดการใน

รปู แบบเครือขา่ ยสรา้ งความเขม้ แข็งในการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
4) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีม่ ีผลการประเมนิ ภายนอกในระดับดีขนึ้ ไป
5) ร้อยละของสถานศึกษา หน่วยงานทม่ี กี ารบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม
6) รอ้ ยละของสถานศกึ ษา ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรในสังกดั ทมี่ ผี ลงานเชงิ ประจักษ์

แนวทางการดาเนนิ งาน
1) กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลเพ่ือการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
2) กาหนดให้สถานศึกษา กลมุ่ /หนว่ ยในสังกดั ใชร้ ะบบการบริหารจดั การท่ีม่งุ เน้น

คุณธรรมและความโปร่งใสในการทางานตามหลัดการการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ (ITA : Integrity & Transparency Assessment)

3) สร้างความเข้มแขง็ ในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น
ศนู ย์เครอื ข่ายการศกึ ษาอาเภอ สมาคมผ้บู ริหารสถานศกึ ษาอาเภอ เป็นตน้

4) ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เข้มแข็งและนาผลการประกัน
คุณภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผนเพื่อพัฒนา ปรับปรุงสถานศึกษาให้มีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐาน
การศึกษา

5) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ปู้ กครอง ชุมชน สังคมและสาธรณชนใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ และ
มีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจดั การศึกษาทตี่ อบสนองความต้องการในแต่ละพื้นท่ี

6) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสงั คมเขา้ มามีสว่ นร่วมสนบั สนนุ ทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

102

7) ยกย่อง เชดิ ชูเกยี รตสิ ถานศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรในสงั กดั ทมี่ ผี ลงาน

เชงิ ประจกั ษ์

กลยทุ ธ์ที่ 1.2 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ สง่ เสรมิ สนับสนนุ สถานศึกษาและหนว่ ยงานใช้เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใน
การจัดการศึกษา

ตวั ช้ีวัด
1) รอ้ ยละของสถานศึกษาและหนว่ ยงานได้รับการพัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมในการจดั

การศึกษา
2) รอ้ ยละของสถานศึกษาและหน่วยงานจัดหาสอ่ื เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจดั

การศกึ ษา
แนวทางการดาเนนิ งาน
1) พฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรมเพื่ออานวยความสะดวกในการจดั การศึกษา เชอื่ มโยง

และเขา้ ถึงได้
2) สง่ เสริม สนับสนุนสถานศึกษาและหนว่ ยงานใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม

ในการจัดการศึกษาอย่างถูกต้อง เหมาะสม และสรา้ งสรรค์

กลยทุ ธท์ ่ี 1.3 พัฒนาระบบนิเทศ ตดิ ตามการบริหารจดั การศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพ
ตวั ชีว้ ัด
1) สถานศึกษามีการนเิ ทศ ติดตามการบริหารจดั การศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

เป็นระบบมีข้อมลู ป้อนกลบั และสามารถสะท้อนคณุ ภาพของนักเรียน
แนวทางการดาเนนิ งาน
1) ส่งเสรมิ และพฒั นารูปแบบการนเิ ทศภายในของสถานศึกษาให้เปน็ ระบบทม่ี ี

ประสทิ ธิภาพ
2) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาดาเนินการนเิ ทศภายในอย่างต่อเนอื่ งและ

เป็นระบบ
3) จัดระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลหลากหลายมติ ิให้มคี วามเข้มแข็งและ

ต่อเนื่อง เป็นรปู ธรรมใหม้ ขี ้อมลู ป้อนกลบั และสามารถสะท้อนคุณภาพของนักเรยี น
4) สง่ เสรมิ การนเิ ทศแบบกัลยาณมิตรโดยสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและครูท้ังในโรงเรียน

ระหวา่ งโรงเรยี น ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยการศกึ ษา
5) จดั กิจกรรมยกย่องเชดิ ชเู กียรติสถานศกึ ษาที่มีระบบการนเิ ทศภายในที่มีวิธกี ารปฏิบตั ิ

ท่ดี ี (Best Practice) และจัดใหม้ ีการเผยแพร่ไปยังสถานศึกษาอ่นื ๆ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภมู ิ เขต 2

103

กลยทุ ธท์ ่ี 1.4 พัฒนาศักยภาพผ้บู รหิ าร ครูและบุคลากรในสงั กดั อย่างมคี ุณภาพดว้ ยรูปแบบท่หี ลากหลาย
ตัวช้ีวัด
1) ร้อยละของผูบ้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางกในสงั กัดท่ีพัฒนาตนเองผา่ นระบบต่างๆ เช่น

Digital Technology, ระบบ online เปน็ ต้น
2) รอ้ ยละของผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากรในสังกัดได้รบั การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้อย่างมี

คุณภาพในรปู แบบท่ีหลากหลาย
แนวทางการดาเนนิ งาน
1) สง่ เสริม สนบั สนุนให้ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองผา่ น

ระบบตา่ งๆ Digital Technology, ระบบ online เปน็ ต้น
2) พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในการจัดการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพใน

รปู แบบทหี่ ลากหลาย

ประเดน็ กลยุทธ์ที่ 2 การน้อมนาศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืน
เปา้ ประสงค์
2) สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2 และสถานศึกษานอ้ มนา

ศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารปฏิบตั ิ
3) สถานศึกษาจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มตาม

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กลยุทธท์ ี่ 2.1 สง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษานอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชาสู่การบรหิ ารจดั การศึกษา
ตวั ชว้ี ดั
1) ร้อยละของสถานศึกษาจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนุนการสร้างจติ สานกึ ในการน้อมนา

พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 และศาสตร์พระราชา ไปบรู ณาการจดั การเรยี นร้เู พ่อื พฒั นา
ผเู้ รยี นได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

2) รอ้ ยละของผ้เู รียนที่มีพฤติกรรมแสดงออกถงึ การดาเนินชีวิตทเี่ ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
และการประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวทางการดาเนินงาน
1) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกในการ

นอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10 และศาสตร์พระราชาไปบูรณาการจดั การเรียนรู้เพ่ือ
พฒั นาผเู้ รียนได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

104

กลยุทธ์ที่ 2.2 พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรในสังกดั น้อมนาศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารจัดการเรยี นรู้
ตัวชว้ี ัด
1) ร้อยละของผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรในสังกัด ท่ีน้อมนาพระบรมราโชบายด้าน

การศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 และศาสตรพ์ ระราชา ไปบรู ณาการจดั การเรียนรู้
2) ร้อยละของผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรในสังกดั ทม่ี ีพฤติกรรมแสดงออกถงึ การดาเนนิ ชีวิตที่

เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อมและการประยุกต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แนวทางการดาเนินงาน
1) ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรในสังกัดน้อมนาพระบรมราโชบายด้าน

การศกึ ษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10 และศาสตร์พระราชา ไปบูรณาการจดั การเรียนรู้

ประเดน็ กลยทุ ธ์ที่ 3 การส่งเสริมใหป้ ระชากรวัยเรยี นไดร้ ับโอกาสทางการศึกษา
เป้าประสงค์
5) สถานศกึ ษามรี ะบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งย่ังยนื
6) ประชากรวัยเรยี นทกุ คนได้รบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานอยา่ งทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ

กลยุทธท์ ี่ 3.1 สง่ เสรมิ ประชากรวยั เรียนทุกคนใหไ้ ดร้ ับโอกาสในการเขา้ รบั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งท่ัวถึง
ตัวชว้ี ัด
1) รอ้ ยละของประชากรวยั เรียนภาคบังคับได้รบั โอกาสในการเขา้ รบั บริการทางการศึกษา

อยา่ งทั่วถึงมคี ุณภาพและเสมอภาค
2) ร้อยละของประชากรวยั เรียนไดร้ บั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ไดร้ ับโอกาสในการเข้ารับบริการ

ทางการศึกษาอย่างทั่วถงึ มีคุณภาพและเสมอภาค
แนวทางการดาเนินงาน
1) ส่งเสริมประชากรวัยเรยี นทกุ คนให้ไดร้ บั โอกาสในการเข้ารับบริการทางการศึกษาอย่าง

ทั่วถึง มีคุณภาพและเสมอภาค
2) สถานศึกษาร่วมมือกบั องค์กรปกครองระดบั พนื้ ที่ ตดิ ตาม ตรวจสอบเดก็ นกั เรียนได้

เขา้ ถึงการบริการการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งท่ัวถึง ครบถว้ น

กลยทุ ธท์ ่ี 3.2 สร้างเสริมความเข้มแขง็ ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนอย่างยง่ั ยืน
ตวั ชี้วัด
1) รอ้ ยละของนักเรียนออกกลางคนั
2) รอ้ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนและสามารถนามาใช้

ในการวางแผนจดั การเรียนรูใ้ หแ้ ก่ผ้เู รยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
แนวทางการดาเนินงาน
1) สร้างความเข้มแข็งของระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ระบบส่งเสริมความประพฤติ

นกั เรียน ระบบคุ้มครองนกั เรียน และการสร้างภมู ิคุ้มกันทางสงั คม

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

105

ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 4 การพัฒนาผู้เรยี นสู่ความเลิศในระดับสากล
เป้าประสงค์
7) ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมพนื้ ฐานและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์และ

มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
8) ผเู้ รียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและมีศักยภาพในการแข่งขันสู่ความเป็นเลศิ

ระดบั สากล
กลยุทธ์ที่ 4.1 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
ตัวชีว้ ัด
1) รอ้ ยละของผู้เรยี นท่มี ีพฤติกรรมแสดงออกถงึ ความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมัน่

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข
2) ร้อยละของผู้เรียนทม่ี ีพฤติกรรมแสดงออกถึงการมีทัศนคตทิ ี่ดตี ่อบ้านเมือง

มีหลักคิดถูกต้อง เป็นพลเมอื งดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม
3) ร้อยละของสถานศึกษาทป่ี รับปรุงหลักสตู ร จัดบรรยากาศสิง่ แวดลอ้ มและจดั กิจกรรม

การเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลกั ของชาตยิ ึดม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีตอ่ บ้านเมือง มหี ลักคิดท่ีถกู ต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม
จริยธรรม

แนวทางการดาเนนิ งาน
1) สง่ เสริม สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งจติ สานกึ

ในการรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
มีคณุ ธรรม จริยธรรมไปบรู ณาการจัดการเรยี นรูเ้ พ่อื พฒั นาผู้เรียนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

2) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาปรับปรงุ หลกั สูตร จดั บรรยากาศส่ิงแวดล้อมและจดั
กิจกรรมการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รียนแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลักของชาติยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ มีทศั นคตทิ ด่ี ตี ่อบ้านเมือง มีหลกั คดิ ที่ถูกต้องเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มีคณุ ธรรม
จริยธรรม

กลยทุ ธ์ที่ 4.2 พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาและมีศักยภาพในการแขง่ ขัน
ตวั ชี้วดั
1) ร้อยละของสถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นรู้และบรรยากาศสิ่งแวดล้อมทเ่ี อ้ือต่อการพฒั นา

ทกั ษะอาชพี ตามความถนัด
2) รอ้ ยละของสถานศึกษาสง่ เสรมิ การพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนสู่ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ
3) ร้อยละของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามกี ารทาวจิ ยั และนาผลการวิจยั ไปใช้

ในการพฒั นาการจัดการศึกษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

106

แนวทางการดาเนนิ งาน
1) พัฒนารายวชิ าที่ส่งเสริมการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
2) สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาจัดหลกั สูตรทกั ษะอาชพี ควบคกู่ ับวิชาสามัญ
3) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนตามความสนใจในทักษะอาชีพ

ที่ตนเองถนดั
4) ส่งเสรมิ การพัฒนาศักยภาพผู้เรียนส่คู วามเปน็ เลศิ ในดา้ นต่างๆ
5) ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาในการทาวิจัยและนาผลการวิจัยไปใช้ในการ

พฒั นาการจัดการศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพ
กลยุทธท์ ่ี 4.3 สง่ เสริมผู้เรยี นทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษสคู่ วามเป็นเลศิ ในระดบั สากล
ตัวชี้วดั
1) ร้อยละของผูเ้ รยี นทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ขัน้ พื้นฐานของแตล่ ะระดบั
2) ร้อยละของผเู้ รยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษไดร้ ับการพฒั นาดา้ นทักษะอาชีพทักษะ

การดารงชวี ิต มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและมจี ิตสาธารณะ
3) ร้อยละของผู้เรยี นทม่ี ีความจาเปน็ พเิ ศษได้รับการสง่ เสริมให้มีความสามารถพิเศษด้าน

ต่างๆ อาทิ ดนตรี กฬี า ศลิ ปะ และเทคโนโลยี เปน็ ต้น
แนวทางการดาเนินงาน
1) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็น

พเิ ศษดว้ ยระบบและรูปแบบท่ีหลากหลาย
2) ส่งเสริม สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาในโรงเรียนเรียนรวม
3) ส่งเสริม สนับสนนุ การนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรยี น

การสอน
4) ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ที่มีความสามารถพิเศษในด้าน

วชิ าการ ดนตรี กีฬา ศิลปะและอน่ื ๆ เพื่อยกระดับสคู่ วามเป็นเลศิ พรอ้ มกา้ วสสู่ ากล

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

10158077

วสิ ยั ทัศน(์ Vision) : สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2 เป็นองคก์

ประเดน็ วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์

1. องคก์ รชนั้ นา 1. พฒั นาการบรหิ ารจดั การสานักงานเขต 1. สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ 1
พนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2 เขต 2 มกี ารบรหิ ารจดั การองคก์ รส่คู วามเปน็ เลศิ บ
ใหไ้ ดม้ าตรฐานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง มีประสทิ ธภิ าพ มผี ลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาอยู่ใน ส
ระดบั “ดเี ยีย่ ม”
2. สง่ เสริมการบริหารจัดการศกึ ษาใหม้ ี
ประสิทธภิ าพ 2. สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การท่ีมีคุณภาพ
และมาตรฐาน
3 พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ด้วยรูปแบบทหี่ ลากหลาย 3. ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาดว้ ย
รปู แบบที่หลากหลาย

2. บรหิ ารจัดการศกึ ษาตาม 4. ส่งเสริม สนบั สนนุ การน้อมนาศาสตร์ 4. สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชัยภมู ิ 2
ศาสตร์พระราชา พระราชา สูก่ ารบริหารจดั การศึกษาอย่าง เขต 2 และสถานศึกษานอ้ มนาศาสตร์พระราชา พ
มีคุณภาพ สูก่ ารปฏบิ ตั ิ อ

5. สง่ เสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาเป็น 5. สถานศึกษาผา่ นการประเมนิ ศูนยก์ ารเรียนรู้
ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา
เศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา

7

กรชน้ั นา บริหารจัดการศึกษาตามศาสตรพ์ ระราชา ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรมนาคุณภาพ

ประเดน็ กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ ตัวชี้วัดความสาเรจ็

1. การพัฒนาระบบ 1.1 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารจัดการองคก์ รเน้น รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่มี ีประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารจัดการ
บรหิ ารจัดการองคก์ ร การมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน องค์กรโดยการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น
สู่ความเป็นเลิศ
1.2 เพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ร้อยละของสถานศกึ ษาทไี่ ด้รับการเพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบ
2. การนอ้ มนาศาสตร์ นวตั กรรมในการบรหิ ารจดั การ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
พระราชาสู่การพฒั นา
อยา่ งยั่งยืน 1.3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ สถานศกึ ษาใช้เทคโนโลยแี ละ ร้อยละของสถานศกึ ษาทไี่ ด้รับการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ
นวัตกรรมในการจดั การศกึ ษา นวัตกรรมในการบรหิ ารจดั การ
1.4 พฒั นาระบบนเิ ทศ ติดตามการบริหารจัดการศกึ ษา
ใหม้ ีประสิทธภิ าพ ร้อยละของสถานศกึ ษาทไี่ ด้รับการสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้
สถานศึกษาใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการจดั การศกึ ษา
1.5 พัฒนาศักยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้
สามารถจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพดว้ ยรูปแบบ ร้อยละของสถานศึกษาทีม่ กี ารพัฒนาระบบนเิ ทศ
ทห่ี ลากหลาย ติดตามการบรหิ ารจดั การศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

1.6 ยกยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติ สร้างขวญั และกาลังใจ รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาที่ไดร้ บั การพฒั นา
สถานศกึ ษา ครู บุคลากรทางการศกึ ษาทมี่ ผี ลงาน ดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื การจัดการเรียนรู้
เชิงประจักษ์
รอ้ ยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทไ่ี ด้รบั การพฒั นา
2.1 ส่งเสริมการนอ้ มนาศาสตร์พระราชาสกู่ ารบริหาร ดา้ นนวัตกรรมเพ่อื การจดั การเรยี นรู้
จดั การศึกษา
2.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในการน้อมนา รอ้ ยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ
ศาสตร์พระราชาสู่การจัดการเรียนรู้ พฒั นาการเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพด้วยรูปแบบทหี่ ลากหลาย

2.3 เสริมสรา้ งสถานศึกษาเป็นศูนย์การเรยี นรู้ รอ้ ยละของสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศกึ ษาทีม่ ี
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา ผลงานเชงิ ประจกั ษ์

ร้อยละของสถานศึกษาทนี่ ้อมนาศาสตรพ์ ระราชา
ส่กู ารจัดการศึกษา

ร้อยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การพัฒนา
ในการน้อมนาศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารจัดการเรียนรู้

ร้อยละของสถานศึกษาทผ่ี า่ นการประเมินให้เป็นศูนย์การ
เรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา

110088

ประเดน็ วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์

6. สง่ เสริมประชากรวยั เรียนทุกคนใหไ้ ดร้ ับ 6. ประชากรวยั เรียนทกุ คนไดร้ ับการศึกษา 3.
โอกาสในการศกึ ษาอยา่ งทั่วถึงและมี ข้นั พื้นฐานอยา่ งทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพ ปร
คณุ ภาพ โอ
7.สถานศกึ ษามีระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน
7. สง่ เสริม สนบั สนุนสถานศกึ ษาใหม้ รี ะบบ อย่างยงั่ ยนื
การชว่ ยเหลือนกั เรยี นอยา่ งย่ังยืน

3. ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม 8. พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณธรรม จริยธรรม 8. ผ้เู รียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมพื้นฐาน
นาคณุ ภาพ ค่านยิ มพืน้ ฐาน และคุณลกั ษณะ และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
อันพึงประสงค์
9. ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาและ 4.
9. จัดการศึกษาใหผ้ ู้เรยี นมีคุณภาพตาม มีศกั ยภาพในการแข่งขัน ค
มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและมี ส
ศักยภาพในการแขง่ ขัน

10. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะการเรยี นรู้ 10. ผู้เรียนทกุ คนมีทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษ ท่ี 21
11. ผูเ้ รยี นมีความสามารถพเิ ศษไดร้ บั การพัฒนา
11. พฒั นาผู้เรียนท่มี ีความสามารถพิเศษ สู่ความเป็นเลิศระดบั สากล
สู่ความเป็นเลศิ ระดับสากล

ประเดน็ กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็

. การสง่ เสรมิ ให้ 3.1 สง่ เสริมประชากรวัยเรียนทุกคนให้ได้รบั โอกาส รอ้ ยละของประชากรวัยเรยี นทไี่ ด้รบั โอกาสในการเข้ารับ
ระชากรเรยี นได้รับ ในการเข้ารบั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งทว่ั ถึง บรกิ ารทางการศกึ ษา
อกาสทางการศึกษา
3.2 สรา้ งเสริมความเข้มแข็งระบบการดแู ลชว่ ยเหลือ รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีไ่ ด้รับการสร้างเสรมิ ความเข้มแข็ง
นกั เรยี นอยา่ งยั่งยนื ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

. การพัฒนาผู้เรียนสู่ 4.1 ส่งเสรมิ ผู้เรียนให้มีคณุ ธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย ร้อยละของผเู้ รียนท่มี คี ุณธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย 12
ความเปน็ เลิศในระดับ 12 ประการ และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ประการ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
สากล
4.2 พฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน รอ้ ยละของผู้เรียนทีม่ คี ณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา
การศกึ ษาและมศี ักยภาพในการแข่งขัน
รอ้ ยละของผ้เู รยี นทไี่ ด้รับการพัฒนาใหม้ ีศักยภาพ
4.3 พฒั นาผ้เู รียนให้มที กั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการแข่งขัน

4.4 สง่ เสริมผเู้ รียนท่ีมคี วามสามารถพิเศษสู่ความเปน็ เลศิ รอ้ ยละของผู้เรยี นทม่ี ีทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
ในระดบั สากล
รอ้ ยละของผูเ้ รียนทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษได้รบั การสง่ เสรมิ
สูค่ วามเป็นเลิศในระดับสากล

101809

ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบ

ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
(พ.ศ.2560-2579)

1. ความมั่นคง 1. ความม่ันคง

2. การสรา้ งความสามารถในการ 2. ดา้ นการผลติ พัฒนากาลังคน
แขง่ ขัน และสรา้ งความสามารถในการ
แขง่ ขัน
3. การพัฒนาและเสริมสร้าง
ศกั ยภาพคน 3. ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ ง
ศกั ยภาพคน

4. ดา้ นการสร้างโอกาสและความ 4. ดา้ นการสรา้ งโอกาสความ
เสมอภาคและความเทา่ เทียมกนั เสมอภาคและการลดความ
ทางสงั คม เหล่อื มลา้ ทางการศึกษา

5. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพ 5. ด้านการเสริมสร้างคุณภาพชวี ติ
ชีวติ ที่เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม ประชาชนที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

6. การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบ 6. ดา้ นการพัฒนาระบบ
การบริหารจดั การภาครัฐ และการบรหิ ารจดั การ

9

บายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และกลยุทธข์ อง สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

ยทุ ธศาสตรส์ านกั งานคณะกรรมการ ประเดน็ กลยทุ ธ์
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่อื 1. การพฒั นาระบบ
ความม่ันคง บรหิ ารจัดการองคก์ รสู่
ความ เป็นเลศิ
2. ด้านพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
และส่งเสริมการจัดการศึกษา 2. การนอ้ มนาศาสตร์
เพอื่ สรา้ งขดี ความสามารถ พระราชาสกู่ ารพฒั นา
ในการแขง่ ขัน อยา่ งยัง่ ยนื

3. ดา้ นส่งเสริม สนบั สนุนพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา

4. ด้านขยายโอกาส การเข้าถงึ 3. การส่งเสรมิ ให้
บรกิ ารทางการศกึ ษาและการ ประชากรเรยี นได้รบั
เรยี นรู้ อย่างมคี ุณภาพ โอกาสทางการศกึ ษา

5. ดา้ นจัดการศึกษาเพือ่ สรา้ งเสรมิ
คุณภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรกบั
สงิ่ แวดลอ้ ม

6. ด้านพฒั นาระบบบริหารจดั การ 4. การพัฒนาผ้เู รยี นสู่
และส่งเสริมใหท้ ุกภาคสว่ น ความเป็นเลศิ ในระดับ
มีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา สากล

101810
กลยุทธพ์ ฒั นาก

ประเดน็ กลยุทธ์ที่ 1 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การองค์กรสคู่ วามเป็นเลิศ

เป้าประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ แผนงาน/โครงการ ตัวชวี้ ดั ความสาเ

กลยุทธท์ ี่ 1.1 เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการองค์กรเน้นการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น

เปา้ ประสงคท์ ่ี 1 1.1 โครงการจัดทาแผนพฒั นาการศึกษาขนั้ 1.1 ร้อยละของสถานศกึ ษาทม่ี
สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
ชยั ภมู ิ เขต 2 มกี ารบริหารจัดการองคก์ ร พ้ืนฐาน 4 ปี และแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปี ในการบรหิ ารจดั การองคก์ รโด
สคู่ วามเปน็ เลศิ มปี ระสทิ ธภิ าพ มผี ลการ
บรหิ ารจัดการศกึ ษาอยู่ในระดับ “ดีเย่ยี ม” งบประมาณ ร่วมของทกุ ภาคสว่ น

1.2 โครงการพัฒนาการบรหิ ารจัดการ 1.2 ทุกกลุ่มงานในสานกั งานเ
องคก์ รอย่างยั่งยนื และมคี ุณภาพท้งั องคก์ ร การศกึ ษามผี ลการปฏบิ ตั ิงานท
Practice)

1.3 โครงการพฒั นามาตรฐานสานกั งานสู่ 1.3 สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ
ความเป็นเลศิ ประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 2 มีผ
มาตรฐานสานกั งานเขตพื้นที่ก
ระดบั “ดเี ยยี่ ม”

กลยุทธ์ท่ี 1.2 เพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมในการบรหิ ารจดั การ

เป้าประสงคท์ ี่ 2 1.1 โครงการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยี 1.1 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่ไ
สถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจดั การ สารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา ประสิทธิภาพระบบเทคโนโลย

ทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 1.2 โครงการพฒั นาและประยุกตใ์ ช้ 1.2 ร้อยละของสถานศึกษาที่ไ

นวัตกรรมเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพ การบริหาร ประสทิ ธิภาพนวัตกรรมในการ

จัดการศกึ ษา

0
การศกึ ษา

เรจ็ ค่าเปา้ หมายของตัวชวี้ ัด วงเงนิ งบประมาณ หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ

2563 2564 2565 2563 2564 2565

มีประสิทธภิ าพ 100 100 100 150,000 150,000 150,000 กล่มุ นโยบายและแผน
ดยการมีส่วน

เขตพ้ืนที่ 100 100 100 - - - ทกุ กลมุ่
กลุ่มอานวยการ
ท่ดี ี (Best

กษา 100 100 100 50,000 50,000 50,000
ผลการประเมิน
การศึกษาอยูใ่ น

ได้รบั การเพ่ิม 100 100 100 50,000 50,000 50,000 กลมุ่ นเิ ทศ ฯ
ยีสารสนเทศ กลุ่มนิเทศ ฯ

ได้รบั การเพม่ิ 90 100 100 40,000 50,000 60,000
รบริหารจดั การ

10181

ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 1 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การองค์กรสู่ความเป็นเลิศ (ต่อ)

เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ ตวั ชี้วดั ความสาเร

กลยทุ ธท์ ี่ 1.3 ส่งเสริม สนบั สนนุ สถานศกึ ษาใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการจัดการศึกษา

เป้าประสงค์ท่ี 2 1.1 โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ 1.1 ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีได

สถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การทม่ี ี เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัด การสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศ

คณุ ภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา ใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมในกา

กลยทุ ธ์ท่ี 1.4 พฒั นาระบบนิเทศ ตดิ ตามการบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพ

เปา้ ประสงคท์ ี่ 2 1.1 โครงการพฒั นาระบบระบบนเิ ทศ 1.1 ร้อยละของสถานศกึ ษาท่มี ีร

สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการ ติดตามการบริหารจดั การศกึ ษาให้มี ติดตามการบรหิ ารจดั การศกึ ษาใ

ที่มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิภาพ

กลยุทธท์ ่ี 1.5 พัฒนาศกั ยภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหส้ ามารถจดั การเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพดว้ ยรูปแบบทห่ี ลากหลาย

เป้าประสงค์ท่ี 3 1.1 โครงการพฒั นาศักยภาพครูและ 1.1 รอ้ ยละของครูและบุคลากร

ครแู ละบลุ ากรทางการศึกษาได้รับการ บคุ ลากรทางการศึกษาด้านส่อื และ ทีไ่ ดร้ บั การพฒั นาดา้ นเทคโนโลย

พัฒนาดว้ ยรปู แบบที่หลากหลาย เทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้

1.2 โครงการพฒั นาศักยภาพครูและ 1.2 ร้อยละของครแู ละบุคลากร

บคุ ลากรทางการศึกษาด้านนวัตกรรมเพอื่ ทีไ่ ด้รับการพฒั นาด้านนวัตกรรม

การจดั การเรียนรู้ เพ่ือการจัดการเรยี นรู้

1.3 โครงการพัฒนาศักยภาพครูและ 1.3.1 ร้อยละของครแู ละบุคลาก

บคุ คลากรสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา การศกึ ษาทไ่ี ดร้ ับการพัฒนาการ

ประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 2 คุณภาพดว้ ยรูปแบบท่ีหลากหลา

1.3.2 ร้อยละของครแู ละบคุ คลา

พัฒนาด้วยระบบ TEPE Online

กลยุทธท์ ี่ 1.6 ยกยอ่ ง เชิดชูเกยี รติ สรา้ งขวญั และกาลังใจสถานศกึ ษา ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาทม่ี ผี ลงานเชงิ ประจักษ์

เปา้ ประสงคท์ ่ี 3 1.1 โครงการพัฒนาครสู ูม่ ืออาชพี 1.2 ร้อยละของครแู ละบคุ ลากร
ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั ที่มีผลงานเชงิ ประจักษ์

การพัฒนาดว้ ยรปู แบบทีห่ ลากหลาย

11

ร็จ ค่าเป้าหมายของตัวช้ีวัด วงเงนิ งบประมาณ หน่วยงานที่

2563 2564 2565 2563 2564 2565 รบั ผดิ ชอบ

ดร้ ับ 100 100 100 150,000 150,000 150,000 กลุ่มนิเทศฯ
ศกึ ษา
ารจัดการศึกษา

ระบบนเิ ทศ 100 100 100 150,000 150,000 150,000 กลุ่มนเิ ทศฯ
ให้มี

ย 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กล่มุ นเิ ทศฯ

รทาง การศึกษา
ยเี พอ่ื การ

รทาง การศึกษา 90 100 100 100,000 100,000 100,000 กล่มุ นเิ ทศฯ


กรทาง 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลุ่มบรหิ ารงาน
รเรียนรู้อย่างมี 100 บคุ คล
าย
ากรไดร้ บั การ 100 100 - - - กลุ่มบริหารงาน
e บุคคล

รทางการศึกษา 80 90 100 80,000 100,000 120,000 กล่มุ บรหิ ารงานบุคคล

10182

ประเด็นกลยุทธท์ ี่ 2 การน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยง่ั ยืน

เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ ตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ

กลยทุ ธ์ที่ 2.1 ส่งเสรมิ การน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การบรหิ ารจดั การศกึ ษา

เป้าประสงคท์ ่ี 4 1.1 โครงการนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชา 1.1 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีนอ้ ม
พระราชาสกู่ ารจดั การศึกษา
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา สู่การจดั การศึกษาอยา่ งยงั่ ยืน

ชยั ภมู ิ เขต 2 และสถานศึกษานอ้ มนาศาสตร์

พระราชาส่กู ารปฏิบตั ิ

กลยทุ ธ์ท่ี 2.2 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในการน้อมนาศาสตร์พระราชาสูก่ ารจัดการเรยี นรู้

เปา้ ประสงคท์ ่ี 4 1.1 โครงการน้อมนาศาสตร์พระราชา 1.1 ร้อยละของครแู ละบุคลากรทา

สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา สกู่ ารจัดการศึกษาอยา่ งย่งั ยืน การศึกษาที่ไดร้ บั การพัฒนาในการ

ชยั ภมู ิ เขต 2 และสถานศึกษานอ้ มนาศาสตร์ น้อมนาศาสตร์พระราชาสกู่ ารจดั ก

พระราชาส่กู ารปฏบิ ัติ

กลยทุ ธท์ ่ี 2.3 เสริมสร้างสถานศึกษาทผ่ี า่ นการประเมนิ ให้เป็นศูนย์กลางเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึก

เป้าประสงคท์ ่ี 5 1.1 โครงการขับเคลื่อนการ 1.1 ร้อยละของสถานศึกษาทีผ่ า่ น
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ดาเนินการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญา การประเมินใหเ้ ป็นศนู ยก์ ารเรียนร

ชยั ภมู ิ เขต 2 และสถานศกึ ษานอ้ มนาศาสตร์ ของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเ

พระราชาสกู่ ารปฏิบัติ อย่างเปน็ รปู ธรรมและย่งั ยืน การศกึ ษา

คา่ เป้าหมายของตัวชว้ี ดั วงเงนิ งบประมาณ หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ
2563 2564 2565
2563 2564 2565

มนาศาสตร์ 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลมุ่ นเิ ทศฯ

าง 90 100 100 40,000 50,000 60,000 กลมุ่ นิเทศ ฯ

การเรียนรู้

กษา

100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลุม่ นเิ ทศฯ
รู้
เพียงด้าน

11038

ประเดน็ กลยทุ ธท์ ่ี 3 การสง่ เสรมิ ให้ประชากรวัยเรียนไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา

เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ ตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ

กลยทุ ธท์ ี่ 3.1 การส่งเสริมใหป้ ระชากรวัยเรียนทกุ คนใหไ้ ดร้ บั โอกาสในการเข้ารบั บรกิ ารทางการศกึ ษาอย่างทั่วถึง

เปา้ ประสงค์ท่ี 6 1.1 โครงการขยายโอกาสการเขา้ ถงึ 1.1 รอ้ ยละของประชากรวยั เรยี น

ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รับการศึกษา บริการทางการศึกษาและการเรยี นรู้ ท่ไี ดร้ บั โอกาสในการเข้ารับบริการ

ข้ันพน้ื ฐานอยา่ งทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพ ตลอดชวี ติ อยา่ งทวั่ ถึงและมีคุณภาพ ทางการศกึ ษา

1.2 โครงการส่งเสริมสิทธแิ ละโอกาส 1.2 รอ้ ยละของประชากรวยั เรยี น

ทางการศึกษา ทไ่ี ดร้ ับโอกาสในการเข้ารบั บรกิ ารทา

การศกึ ษา

กลยุทธ์ท่ี 3.2 สรา้ งเสริมความเขม้ แข็งระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนอย่างย่ังยืน

เป้าประสงค์ท่ี 7 1.1 โครงการพัฒนาระบบดูแล 1.1 ร้อยละของสถานศกึ ษาทไี่ ดร้ บั
การสร้างเสรมิ ความเขม้ แข็งระบบกา
สถานศกึ ษามีระบบการดูแลชว่ ยเหลอื ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและเสรมิ สรา้ ง ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

นักเรยี นอยา่ งยั่งยนื ทักษะชวี ติ อยา่ งย่งั ยนื

คา่ เปา้ หมายของตัวชว้ี ัด วงเงินงบประมาณ หนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ
2561 2562 2563 2561 2562 2563

100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลุ่มส่งเสรมิ

การจดั การศกึ ษา

100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลมุ่ ส่งเสริม

าง การจัดการศึกษา

100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลุ่มส่งเสริม

ารดูแล การจดั การศกึ ษา

10181

ประเด็นกลยทุ ธท์ ี่ 4 การพฒั นาผู้เรียนสูค่ วามเป็นเลศิ ในระดบั สากล

เป้าประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ แผนงาน/โครงการ ตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็

กลยทุ ธท์ ี่ 4.1 สง่ เสริมผเู้ รียนให้มคี ณุ ธรรม คา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

เปา้ ประสงคท์ ่ี 8 1.1 โครงการพัฒนาจิตสานกึ ผเู้ รียนให้มี 1.1 ร้อยละของผู้เรียนทม่ี คี ณุ ธร

ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมพื้นฐาน คุณธรรม ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 คา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประ

และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประการ และคุณลกั ษณะ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

อนั พึงประสงค์

กลยุทธท์ ่ี 4.2 พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาและมศี กั ยภาพในการแข่งขัน

เป้าประสงคท์ ี่ 9 1.1 โครงการพฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นใหม้ ี 1.1 รอ้ ยละของผูเ้ รียนทมี่ คี ุณภา

ผู้เรยี นมีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน คณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา เกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา

การศึกษาและมศี ักยภาพในการแขง่ ขนั 1.2 โครงการพฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี นให้มี 1.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นทีไ่ ด้รบั กา

ศักยภาพในการแข่งขัน มีศักยภาพในการแข่งขัน

กลยุทธ์ที่ 4.3 พฒั นาผู้เรียนให้มีทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21

เปา้ ประสงคท์ ี่ 10 1.1 โครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นทม่ี ที ักษะ
ในศตวรรษที่ 21
ผู้เรยี นทกุ คนมีทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษ และพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะ

ท่ี 21 การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21

กลยทุ ธท์ ่ี 4.4 สง่ เสรมิ ผเู้ รียนมีความสามารถพิเศษส่คู วามเปน็ เลศิ ในระดับสากล

เปา้ ประสงค์ที่ 11 1.1 โครงการพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียนให้มี 1.1 ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี ีความส
พิเศษไดร้ ับการส่งเสรมิ สู่ความเป
ผู้เรยี นมคี วามสามารถพเิ ศษได้รบั การพฒั นา ความสามารถพิเศษสูค่ วามเปน็ เลศิ ระดบั ระดับสากล

สคู่ วามเป็นเลศิ ระดับสากล สากล

14

คา่ เป้าหมายของตวั ชวี้ ัด วงเงินงบประมาณ หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ
2561 2562 2563
2561 2562 2563

รรม 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลมุ่ นเิ ทศฯ
ะการ และ

าพตาม 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลมุ่ นิเทศฯ
ารพัฒนาให้ 70 80 90 20,000 30,000 40,000 กลุ่มนิเทศฯ

ะการเรยี นรู้ 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลมุ่ นเิ ทศฯ

สามารถ 100 100 100 100,000 100,000 100,000 กลมุ่ นเิ ทศฯ
ป็นเลศิ ใน

115

สว่ นที่ 4

การบริหารแผนสูค่ วามสาเรจ็

การบริหารจัดการแผน

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
(พ.ศ.2563-2565) เพื่อเปน็ เครือ่ งมือในการปฏิบตั งิ านท่สี อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564) แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2560-2579 นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสานักงานคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน จังหวัดชัยภูมิ และบริบทของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ให้ประสบ
ผลสาเร็จ บรรลุผลลัพธ์ตามเป้าหมายท่ีกาหนด การดาเนินงานที่จะบังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพจาเป็นจะต้อง
มีการผลกั ดันใหม้ ีการปรับเปลี่ยนแนวคิด ค่านิยม เป้าหมาย รวมถึง วิธีและกระบวนการนาแผนสู่การปฏบิ ัติ จะตอ้ ง
ทาให้หน่วยงานยอมรับแนวทาง แผนงาน โครงการ และพร้อมท่ีจะนาแนวทางนั้นไปดาเนินการได้อย่างเหมาะสม
ดังนั้น การระดมทรัพยากร แสวงหา การสนับสนุน เพ่ือให้เกิดการปฏิบัติและสร้างความเป็นปึกแผ่นให้เกิดข้ึน
เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
จงึ ไดก้ าหนดแนวทางในการปฏิบัตงิ านสูค่ วามสาเร็จ และกระบวนการนาแผนส่กู ารปฏบิ ัติ ดังน้ี

1. การเผยแพร่และเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับสาระสาคัญของแผน นาวิสัยทัศน์ พันธกิจ
เป้าประสงค์ ค่านิยม กลยุทธ์ ให้เจ้าหน้าที่และบุคลากรทุกระดับได้รับทราบ มีส่วนร่วมและให้การสนับสนุน
อยา่ งกวา้ งขวาง เพื่อใหก้ ารนาแผนสู่การปฏบิ ัติเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2. ผู้บรหิ ารการศกึ ษาเข้าใจและผลักดนั ให้มกี ารดาเนนิ งานตามแผนอยา่ งมีประสิทธภิ าพและสมา่ เสมอ
3. ขับเคล่ือนด้วยการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาและกลุ่มต่างๆ ตามพันธกิจที่ได้รับมอบหมาย รวมถึง
แสวงหาและประสานเครอื ข่ายความร่วมมือกับหนว่ ยงานภายนอก ตลอดจนองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคมในการพัฒนาการศึกษา
4. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาให้มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน และสามารถให้บริการได้
ตรงกับความตอ้ งการและทันต่อการเปลี่ยนแปลง
5. พัฒนาระบบกากับ ติดตามและการประเมินผลที่มุ่งเน้นการประเมินเพ่ือการพัฒนาและปรับปรุง
การดาเนินงานโดยมีการพัฒนาตัวชี้วัดผลสาเร็จการดาเนินงาน ทั้งในด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา
ในการประเมิน ผปู้ ระเมนิ และแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมลู

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

116

การกากับติดตาม/ประเมินผล

การติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน 4 ปี (พ.ศ.2563-2565)
เพื่อหาข้อสรุปเก่ียวกับการดาเนินงานว่าได้ผลเป็นอย่างไร การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างไร
เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรอื ไม่ การประเมินในขั้นตอนน้ีจะทาให้ได้รับทราบขอ้ มูลเก่ียวกับความสาเร็จและ
ความล้มเหลวของการปฏิบัติงาน เพื่อจะนามาเป็นบทเรียนท่ีจะช่วยในการตัดสินใจสาหรับการดาเนินงานใหม่
รวมทั้งการปรับปรงุ โครงการซงึ่ มลี ักษณะเหมือนกัน หรือใกลเ้ คยี งกบั ที่ได้ประเมนิ

การจดั ระบบติดตาม ประเมินและรายงานผลการดาเนินงาน
จัดระบบวัดผลการดาเนินงานกับกลยุทธ์หลัก แล้วนามาถ่ายทอด เป็นแผนท่ีกลยุทธ์ (Strategy Map)

มีการกาหนดตัวช้ีวัดท่ีสาคัญในการใช้ติดตามความก้าวหน้าของแผนปฏิบัติการ แล้วแปลงตัวช้ีวัดขององค์กรไปสู่
ตัวชี้วัดระดับกลุ่ม ระดับสถานศึกษาและระดับบุคคล โดยจัดทาเป็นคารับรองปฏิบัติราชการกับหน่วยงานและ
สถานศึกษาท่ีเกี่ยวข้อง และส่ือสารสร้างความเข้าใจให้แก่ข้าราชการในระดับต่างๆ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงาน
ในแนวทางกนั ได้ รายงานผลการดาเนนิ งานตามเป้าหมายความสาเรจ็ เปน็ รายปแี ละเมอ่ื ส้ินสุดแผน

การจดั การขอ้ เสนอและความคดิ รเิ ริม่ ใหมๆ่ (Initiative Management)
บทบาทในการจัดการข้อเสนอและความคิดริเร่ิมใหม่ๆ ท่ีช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์ได้ดีย่ิงข้ึน

เช่น การคัดกรอง การคัดเลือก และจัดการความคิดริเร่ิม ซึง่ จะเปน็ แรงผลกั ดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง นอกจากน้ียัง
ต้องคอยตรวจสอบกลยุทธ์ ท่ีได้ริเร่ิมขึ้นเพ่ือให้แน่ใจว่าสามารถนากลยุทธ์น้ันไปปฏิบัติได้จริง รวมท้ังสนับสนุน
ทรพั ยากรให้เพยี งพอ และรายงานความกา้ วหน้าให้ท่ปี ระชุมผู้บริหารทรายเป็นระยะๆ

การขบั เคลือ่ นสร้างเครือข่ายและมีสว่ นรว่ ม

การบริหารกลยุทธ์ จะขับเคล่ือนด้วยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภายในตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย
รวมทั้งแสวงหาและประสานเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการพฒั นาการศกึ ษาในกลมุ่ จงั หวัด

กลไกสาคัญท่ีใชใ้ นการตดิ ตามและประเมนิ ผล ประกอบดว้ ย 3 แนวทาง คอื
1) การติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงานของแผนงาน โครงการ กิจกรรมสาคัญในรูปแบบของ

การรายงานผลการปฏิบตั งิ านประจาเดอื น รายไตรมาส และรายปี เสนอตอ่ ผบู้ รหิ ารทราบ

2) การตดิ ตามประเมินผลสัมฤทธ์ิตามตัวชี้วดั ของหน่วยงานดาเนินงาน (Outcome) โดยใช้กลไกของระบบ
การตรวจราชการ เพื่อให้ทราบถึงผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เพ่ือสรุปเสนอผู้บริหาร
สาหรับใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการทบทวน ปรับปรงุ แผนการดาเนินงาน

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

117

3) การติดตามประเมินผลในภาพรวมของแผนงาน โครงการ กิจกรรมท่ีได้ดาเนินการทั้งหมด เมื่อสิ้นสุด
ระยะเวลาการดาเนนิ งานตามแผน

การขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ย่อมเกิดจาก มวลองค์รวมรอบด้านทุกสิ่งดี ผู้บริหารดี ครูและบุคลากรดี
การเรียนการสอนดี สื่ออุปกรณ์ดี ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดี อาคารสถานที่ดี ระบบประกันคุณภาพดี
การนิเทศดี เครือข่ายดี การบริหารจัดการดี ส่งผลให้ นักเรียนเป็นคนดี มีปัญ ญ า พ่ึงพาตนเอง
ซึ่งเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2545
และ พ.ศ.2553

การขับเคลือ่ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

สพท. : ดเี ยี่ยม
โรงเรียน : ดีทุกอย่าง

การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการองค์กรสู่ความเปน็ เลศิ

ผ้บู ริหารดี

การบริหารจดั การดี ครแู ละบุคลากรดี

การพัฒนาผูเ้ รียน เครือขา่ ยดี นักเรียนเปน็ คนดี การเรียนการสอนดี การน้อมนาศาสตร์
สคู่ วามเป็นเลศิ การนเิ ทศดี มีปัญญา สือ่ อุปกรณ์ดี พระราชาสู่การ
ในระดับสากล พัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื
พง่ึ พาตนเอง

ระบบประกันคุณภาพดี ระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนดี
ดี
อาคารสถานท่ีดี

การส่งเสริมใหป้ ระชากรวยั เรียนได้รบั โอกาสทางการศึกษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

ภาคผนวก



คำสงั่ สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำชยั ภูมิ เขต ๒
ท่ี ๑๕ /๒๕๖๓

เร่อื ง แต่งตง้ั คณะกรรมกำรจดั ทำแผนพัฒนำกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)
*************************************

ด้วยสำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำชัยภูมิ เขต ๒ จะจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน
(พ.ศ.๒๕๓-๒๕๖๕) ให้มีควำมสอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศำสตร์ชำติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐)
แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนพัฒนำกำรศกึ ษำแห่งชำติ พ.ศ.๒๕๖๐-
๒๕๗๙ นโยบำยรัฐบำล นโยบำยกระทรวงศึกษำธิกำร นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และ
บรบิ ทของสำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำชัยภมู ิ เขต ๒

ทัง้ นี้ เพ่ือให้กำรดำเนนิ กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕) สำเร็จลุลว่ งตำม
วัตถปุ ระสงค์ สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำชัยภมู ิ เขต ๒ จึงแตง่ ตั้งคณะกรรมกำรดำเนนิ งำน ดังนี้

๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ประกอบด้วย

๑) นำยมนัส เจียมภเู ขยี ว ผอ.สพป.ชยั ภูมิ เขต ๒ ประธำนกรรมกำร

๒) นำงสำวจุลนติ เณรสุวรรณ รอง ผอ.สพป.ชยั ภูมิ เขต ๒ กรรมกำร

๓) นำยปยิ ะวุฒิ ดวงภมร รอง ผอ.สพป.ชยั ภูมิ เขต ๒ กรรมกำร

๔) นำยสุดสำคร เรืองวิเศษ รอง ผอ.สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๕) นำยเชษฐำ พลธรรม ผอ.กล่มุ นเิ ทศ ติดตำมและประเมนิ ผลฯ กรรมกำร

๖) น.ส.วภิ ำพร ยงเพชร ผอ.กลมุ่ บริหำรงำนบุคคล กรรมกำร

๗) นำยอำทติ ย์ อทุ ธตรี ผอ.กลมุ่ บรหิ ำรงำนกำรเงนิ และสินทรพั ย์ กรรมกำร

๘) นำงวรญั ญำภรณ์ เพชรภักดี ผอ.กลุ่มอำนวยกำร กรรมกำร

๙) นำยพงศกร ธนทรัพย์พล ผอ.หนว่ ยตรวจสอบภำยใน กรรมกำร

๑๐)นำงนัฐรยี ำ ฉัตรรักษำ ผอ.กลุม่ สง่ เสริมกำรจดั กำรศึกษำ กรรมกำร

๑๑)นำงสรินทรำ ประยงค์เพชร ผอ.กลมุ่ พัฒนำครูและบุคลำกรฯ กรรมกำร

๑๒)นำงศภุ ลักษณ์ ไปนำน ผอ.กลมุ่ เทคโนโลยี สำรสนเทศฯ กรรมกร

๑๓)น.ส.สนุ ษิ ำ นำมวิจิตร ผอ.กลมุ่ กฎหมำยและคดี กรรมกำร

๑๔)นำงนงเยำว์ เลงิ นสิ สยั ผอ.กลมุ่ นโยบำยและแผน กรรมกำร/เลขำนกุ ำร

๑๕)น.ส.สุกัญญำ ธุนันทำ นกั วิเครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนกุ ำร

มีหน้ำที่ ใหค้ ำปรกึ ษำ ข้อแนะนำ เสนอควำมคิดเหน็ แกป้ ัญหำ กำหนดนโยบำย ช่วยเหลอื และอำนวยควำม
สะดวกในกำรปฏิบัตงิ ำนของคณะกรรมกำรดำเนินกำรจดั ทำแผนพัฒนำกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)



๒. คณะกรรมกำรจัดทำแผนพฒั นำกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕) ประกอบดว้ ย

๑) นำยมนัส เจียมภเู ขยี ว ผอ.สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๒ ประธำนกรรมกำร

๒) นำงสำวจุลนติ เณรสุวรรณ รอง ผอ.สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๓) นำยปิยะวุฒิ ดวงภมร รอง ผอ.สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๔) นำยสดุ สำคร เรืองวิเศษ รอง ผอ.สพป.ชัยภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๕) น.ส.วภิ ำพร ยงเพชร ผอ.กลมุ่ บรหิ ำรงำนบคุ คล กรรมกำร

๖) นำยอำทิตย์ อุทธตรี ผอ.กลมุ่ บรหิ ำรงำนกำรเงินและสนิ ทรพั ย์ กรรมกำร

๗) นำงวรัญญำภรณ์ เพชรภักดี ผอ.กลมุ่ อำนวยกำร กรรมกำร

๘) นำยพงศกร ธนทรพั ย์พล ผอ.หน่วยตรวจสอบภำยใน กรรมกำร

๙) นำงนฐั รยี ำ ฉตั รรักษำ ผอ.กลุ่มสง่ เสรมิ กำรจดั กำรศึกษำ กรรมกำร

๑๐)นำงสรนิ ทรำ ประยงค์เพชร ผอ.กลุม่ พฒั นำครูและบุคลำกรฯ กรรมกำร

๑๑)นำงศภุ ลกั ษณ์ ไปนำน ผอ.กลุม่ เทคโนโลยี สำรสนเทศฯ กรรมกร

๑๒)น.ส.สุนิษำ นำมวจิ ติ ร ผอ.กลุ่มกฎหมำยและคดี กรรมกำร

๑๓)นำยวจิ ิตร นำรอง ประธำนศูนยเ์ ครือข่ำยกำรศึกษำลมุ่ น้ำพรม กรรมกำร

๑๔)ร.ต.สมศักด์ิ สพี มิ พ์ ประธำนศูนย์เครือข่ำยกำรศึกษำลำน้ำทกิ กรรมกำร

๑๕)นำยวิเวก ศลี ม่ัน ประธำนศูนย์เครือข่ำยกำรศึกษำภคู ลี กรรมกำร

๑๖)นำยสงั คม เลิศขำมป้อม ประธำนศนู ยเ์ ครือข่ำยกำรศึกษำภกู ระแต กรรมกำร

๑๗)นำยจำเรญิ ขึน้ ทันตำ ประธำนศนู ยเ์ ครือขำ่ ยกำรศึกษำเขำเขียว กรรมกำร

๑๘)นำยประภำส กองจันทร์ ประธำนศูนยเ์ ครือข่ำยกำรศึกษำเมืองแก้งคร้อ กรรมกำร

๑๙)นำยสำรำญ เสือสำวะถี ประธำนศนู ยเ์ ครือขำ่ ยกำรศึกษำภโู ค้ง กรรมกำร

๒๐)นำยไพรทูล กดู ซำ้ ย ประธำนศนู ยเ์ ครือขำ่ ยกำรศึกษำลำปะทำว กรรมกำร

๒๑)นำยบดินทร์ แก้วโนนตนุ่ ประธำนศนู ย์เครือข่ำยกำรศึกษำหนองสงั ขภ์ ผู ำแดง กรรมกำร

๒๒)นำยสมหมำย โพธิ์จกั ร ประธำนศนู ยเ์ ครือขำ่ ยกำรศึกษำภแู ลนคำ กรรมกำร

๒๓)นำยมงคล นอ้ ยศรี ประธำนศูนย์เครือขำ่ ยกำรศึกษำหมน่ื อรำ่ มกำแหง กรรมกำร

๒๔)นำยธรำพงษ์ เจริญขวญั ประธำนศนู ย์เครือข่ำยกำรศึกษำพระธำตุแก้งกอย กรรมกำร

๒๕)นำยวีระ ชำติชำนำญ ประธำนศูนย์เครือข่ำยกำรศึกษำน้ำผดุ ทัพลำว กรรมกำร

๒๖)นำยสทุ ศั น์ โพธศ์ิ รวี ังชัย ประธำนศูนย์เครือขำ่ ยกำรศึกษำพระแท่นภูตะเภำ กรรมกำร

๒๗)นำยประดิษฐ์ เจรญิ ธรรม ประธำนศนู ย์เครือข่ำยกำรศึกษำปรำงค์กู่ภูเมง็ กรรมกำร

๒๘)นำยพฒั นพงษ์ ทักษะวิเรขะพันธ์ ประธำนศนู ย์เครอื ขำ่ ยกำรศึกษำเมืองภเู ขียว กรรมกำร

๒๙)นำยสมจันทร์ พรบญุ ประธำนศูนย์เครอื ขำ่ ยกำรศกึ ษำพระธำตุสำมหม่ืนคุรุมิตรอทุ ยำนกรรมกำร

๓๐)นำยวรี ะวฒั น์ ลปี ำ ประธำนศูนยเ์ ครือขำ่ ยกำรศึกษำภตู ะเภำ กรรมกำร

๓๑)นำยทองเอิญ เข็มภูเขียว ประธำนศูนยเ์ ครือข่ำยกำรศึกษำหลวงบำลนคร กรรมกำร

๓๒)นำยสมำน เวียงปฏิ ประธำนศนู ยเ์ ครือขำ่ ยกำรศึกษำภูหยวก กรรมกำร

๓๓)น.ส.อัญชลี บวั โคกรัง ครู โรงเรียนศรแี ก้งคร้อ กรรมกำร



๓๔)นำงอมรรตั น์ แพรชยั ภมู ิ ครู โรงเรยี นสำมสวนวิทยำ กรรมกำร

๓๕)นำงสุดำทพิ ย์ เสนำมนตรี ครู โรงเรียนบ้ำนนำบวั กรรมกำร

๓๖)นำงกำญจนำ ชนิ บุตร ครู โรงเรียนบำ้ นหนองไผ่ล้อม กรรมกำร

๓๗)นำงอินทรต์ อง แสงสุทธิ ครู โรงเรยี นบ้ำนโนนสำทร กรรมกำร

๓๘)นำงอรวรรณ กลิ่นสุต ครู โรงเรียนหนองเมยสำมัคคี กรรมกำร

๓๙)นำงสำวรัชนพี ร ตลุ สขุ ครู โรงเรียนบ้ำนทงุ่ ลุยลำย (กฟผ.อปุ ถัมภ)์ กรรมกำร

๔๐)นำยโกศล เดชโนนสังข์ ครู โรงเรยี นบ้ำนท่ำขำมไรเ่ ด่ือสำมคั คี กรรมกำร

๔๑)นำงชชั ฎำพร ภำรำ ครู โรงเรยี นบำ้ นหนองคู กรรมกำร

๔๒)นำงสำวชตุ ิมำ จำรัสแนว ครู โรงเรยี นบ้ำนสวนออ้ ย กรรมกำร

๔๓)นำงสำวณัชชำกร ภมู ผิ กั แวน่ ครู โรงเรยี นบ้ำนกวำงโจนโนนทอง กรรมกำร

๔๔)นำยชัยยันต์ ภมู สิ ม ครู โรงเรียนไตรมิตรพทิ ยำ กรรมกำร

๔๕)นำยบุญทรัพย์ หลกั มว่ ง ศึกษำนิเทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๔๖)นำยชัยณรงค์ บรรลังเดช ศกึ ษำนิเทศก์ชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร

๔๗)นำงสพุ ตั รำ อุตรนคร ศกึ ษำนิเทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๔๘)น.ส.จุฬำลักษณ์ ภูปัญญำ ศึกษำนิเทศก์ชำนำญกำร กรรมกำร

๔๙)นำงจนิ ตนำ คงสิม ศกึ ษำนิเทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร

๕๐)นำงเทียนทอง ประทีปเมือง ศกึ ษำนิเทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๕๑)น.ส.วภิ ำพร ยงเพชร นักทรพั ยำกรบคุ คลชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๕๒)น.ส.ทเุ รียน สิงหโ์ คกกรวด นักวิชำกำรศึกษำชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร

๕๓)นำงพนิดำ นูโพนทอง นักวชิ ำกำรเงนิ และบญั ชชี ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๕๔)นำงนัทธมน จรูญชำติ นักวิชำกำรตรวจสอบภำยในปฏบิ ัตกิ ำร กรรมกำร

๕๕)นำงนงเยำว์ เลิงนสิ สัย ผอ.กลุ่มนโยบำยและแผน กรรมกำร/เลขำนุกำร

๕๖)น.ส.สกุ ญั ญำ ธนุ ันทำ นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

๕๗)น.ส.อรวรรณ แซโ่ อว้ นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

๕๘)นำยวรรณพล เหมือนพันธ์ุ นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนกุ ำร

๕๙)นำงธดิ ำรัตน์ จิตรธร นักวเิ ครำะห์นโยบำยและแผนปฏิบตั กิ ำร กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

๖๐)นำงรงุ่ ทิพย์ เวยี งชยั ภมู ิ เจ้ำพนกั งำนธรุ กำรชำนำญงำน กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

มีหนำ้ ที่
๑. พิจำรณำทบทวนกำหนดกรอบงำน ทิศทำง ตวั ช้ีวดั แผนพัฒนำกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน
(พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕) ใหม้ คี วำมสอดคล้องและเชอ่ื มโยงกับนโยบำยทีส่ ำคัญตำมลำดับ

๒. วเิ ครำะหส์ ภำพปัจจุบันของ สพป.ชยั ภูมิ เขต ๒ โดยกำรมองย้อนอดีตในกำรจัดกำรศึกษำใน
ปีท่ผี ำ่ นมำ พร้อมมองอนำคตไปขำ้ งหนำ้ (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)



๓. กำหนดทศิ ทำงกำรจัดกำรศึกษำของ สพป.ชัยภูมิ เขต ๒ ให้มีควำมสอดคลอ้ งและเชื่อมโยงกับ
ยุทธศำสตร์ชำตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-
๒๕๖๔) แผนพัฒนำกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙ นโยบำยรัฐบำล นโยบำยกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร นโยบำย
กระทรวงศึกษำธิกำร และนโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำน

๔. กำหนดกลยุทธ์ แผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ในกำรจดั กำรศกึ ษำในแผนพฒั นำกำรศึกษำ

ขน้ั พืน้ ฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)

๓. คณะกรรมกำรกลนั่ กรองหลอมรวมแผนพัฒนำกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)

ประกอบดว้ ย

๑) นำยมนัส เจยี มภูเขียว ผอ.สพป. ชัยภูมิ เขต ๒ ประธำนกรรมกำร

๒) นำงสำวจลุ นิต เณรสุวรรณ รอง ผอ.สพป.ชัยภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๓) นำยปิยะวุฒิ ดวงภมร รอง ผอ.สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๔) นำยสดุ สำคร เรืองวเิ ศษ รอง ผอ.สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๒ กรรมกำร

๕) น.ส.วภิ ำพร ยงเพชร ผอ.กลมุ่ บรหิ ำรงำนบคุ คล กรรมกำร

๖) นำยอำทติ ย์ อุทธตรี ผอ.กล่มุ บริหำรงำนกำรเงนิ และสนิ ทรัพย์ กรรมกำร

๗) นำงวรญั ญำภรณ์ เพชรภกั ดี ผอ.กลมุ่ อำนวยกำร กรรมกำร

๘) นำยพงศกร ธนทรพั ย์พล ผอ.หน่วยตรวจสอบภำยใน กรรมกำร

๙) นำงนฐั รียำ ฉัตรรักษำ ผอ.กลุ่มส่งเสรมิ กำรจัดกำรศึกษำ กรรมกำร

๑๐)นำงสรินทรำ ประยงค์เพชร ผอ.กล่มุ พัฒนำครแู ละบุคลำกรฯ กรรมกำร

๑๑)นำงศภุ ลักษณ์ ไปนำน ผอ.กลมุ่ เทคโนโลยี สำรสนเทศฯ กรรมกร

๑๒)น.ส.สุนษิ ำ นำมวจิ ติ ร ผอ.กลมุ่ กฎหมำยและคดี กรรมกำร

๑๓)นำยบุญทรัพย์ หลักม่วง ศกึ ษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๑๔)นำยชยั ณรงค์ บรรลังเดช ศกึ ษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๑๕)นำงสพุ ัตรำ อตุ รนคร ศึกษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร

๑๖)นำงจินตนำ คงสิม ศกึ ษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๑๗)นำงเทยี นทอง ประทีปเมือง ศึกษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร

๑๘)น.ส.จฬุ ำลักษณ์ ภปู ญั ญำ ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำร กรรมกำร

๑๙)นำงนงเยำว์ เลิงนสิ สัย ผอ.กลมุ่ นโยบำยและแผน กรรมกำร/เลขำนกุ ำร

๒๐)น.ส.สกุ ญั ญำ ธนุ ันทำ นักวเิ ครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

๒๑)น.ส.อรวรรณ แซ่โอว้ นักวิเครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

๒๒)นำยวรรณพล เหมือนพนั ธุ์ นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

๒๓)นำงธดิ ำรัตน์ จิตรธร นกั วเิ ครำะห์นโยบำยและแผนปฏิบตั กิ ำร กรรมกำร/ผช.เลขำนกุ ำร

๒๔)นำงร่งุ ทิพย์ เวียงชยั ภมู ิ เจำ้ พนกั งำนธุรกำรชำนำญงำน กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร



มหี น้ำที่
กล่นั กรอง หลอมรวมแผนพัฒนำกำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕) ของสำนักงำนเขต
พ้ืนที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำชัยภูมิ เขต ๒ ใหม้ คี วำมสอดคลอ้ งและเชื่อมโยงกบั นโยบำยทีส่ ำคญั ตำมลำดบั

๔. คณะกรรมกำรจดั ทำรูปเล่มแผนพัฒนำกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕) ประกอบด้วย

๑) นำยปิยะวุฒิ ดวงภมร รอง ผอ.สพป.ชัยภมู ิ เขต ๒ ประธำนกรรมกำร

๒) นำงนงเยำว์ เลิงนิสสัย ผอ.กลุ่มนโยบำยและแผน กรรมกำร

๓) น.ส.อรวรรณ แซโ่ อว้ นักวิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร

๔) นำยวรรณพล เหมอื นพันธุ์ นกั วเิ ครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร

๕) นำงธดิ ำรตั น์ จิตรธร นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนปฏิบตั ิกำร กรรมกำร

๖) น.ส.สุกญั ญำ ธนุ นั ทำ นักวิเครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำร กรรมกำร/เลขำนกุ ำร

๗) นำงรุ่งทพิ ย์ เวียงชยั ภมู ิ เจ้ำพนกั งำนธรุ กำรชำนำญงำน กรรมกำร/ผช.เลขำนุกำร

มหี นำ้ ท่ี รวบรวมข้อมลู และจัดทำรปู เล่มพฒั นำกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)
ใหเ้ สร็จเรียบร้อยเพื่อนำเสนอขอควำมเห็นชอบต่อ กศจ.ชัยภมู ิ

ในกำรนี้ ให้ผู้ที่ไดร้ บั กำรแต่งตงั้ ปฏิบัตหิ นำ้ ท่ตี ำมท่ไี ด้รับมอบหมำยให้บรรลผุ ลสำเร็จตำมวตั ถุประสงค์ที่วำง
ไว้อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพและเกิดประโยชน์สูงสุดแกท่ ำงรำชกำร หำกมีปัญหำในกำรปฏบิ ัติงำนใหร้ ำยงำนผอู้ ำนวยกำร
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำชยั ภมู ิ เขต ๒ โดยดว่ น

ท้ังนี้ ต้งั แต่วนั ที่ ๑ ตลุ ำคม พ.ศ.๒๕๖๒

สัง่ ณ วันที่ ๗ มกรำคม พ.ศ.๒๕๖๓

ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา (SWOT Analysis)

ในการจัดทาแผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) ของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 2 ได้วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมองค์กรโดยใช้ SWOT ANALYSIS ซง่ึ มีทุกภาคสว่ นระดม
ความคดิ วเิ คราะห์และประเมินองค์กร โดยการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน แบบ 7S ทัง้ 7 ด้าน ได้แก่

1) ด้านโครงสร้าง (Structure: S1)
2) ด้านกลยุทธ์ของหน่วยงาน (Strategy: S2)
3) ด้านระบบในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน (System: S3)
4) ดา้ นแบบแผนหรือพฤติกรรมในการบรหิ ารจัดการ (Style: S4)
5) ด้านบุคลากร/สมาชิกในหน่วยงาน (Staff: S5)
6) ดา้ นทกั ษะ ความรู้ ความสามารถของหน่วยงาน (Skills: S6)
7) ด้านค่านยิ มร่วมกันของสมาชกิ ในหน่วยงาน (Shared Values: S7)

และวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก แบบ C-PEST ท้งั 5 ดา้ น ไดแ้ ก่
1) ด้านพฤตตกิ รรมของลกู คา้ (Customer Behavior: C)
2) ดา้ นการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal: P)
3) ด้านเศรษฐกจิ (Economic: E)
4) ด้านสังคมและวฒั นธรรม (Social-cultural: S)
5) ด้านเทคโนโลยี (Technological: T)

โดยภาพรวมของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2 สรปุ ไดด้ งั นี้

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน แบบ 7S

1. ด้านโครงสรา้ ง (Structure: S1)

จดุ แข็ง (Strengths)
1) โครงสร้างการบริหารงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นระบบ สามารถบริหาร

จัดการได้มาตรฐานเน่ืองจากดาเนินงานตามระเบียบ กฎหมาย มีคาสั่งมอบหมายงานและคู่มือในการ
ปฏบิ ัติงานท่ีชัดเจน

2) มีการแบ่งโครงสร้างการบริหารงานของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาเปน็ ศนู ย์เครือขา่ ย
เครือขา่ ยการศึกษา และกลุ่มโรงเรียนตาบล ส่งผลให้เกิดความคลอ่ งตัวในการบรหิ ารจัดการ

3) สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษากาหนดบทบาท อานาจหน้าทม่ี อบหมายงานบุคลากร
ทุกระดับชัดเจน เนื่องจากจัดบุคลากรให้ปฏิบัติงานได้ตรงความรู้ ความสามารถและสมรรถนะของตาแหน่ง
หน้าท่สี อดคลอ้ งกบั ระเบยี บ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

4) สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาจดั แบ่งหน่วยงานภายใน ไดแ้ ก่ ศูนย์อิเล็กทรอนกิ ส์ให้
สอดคล้องกับประสิทธิภาพการบริหารจัดการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เน่ืองจากสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาได้ทบทวนปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการภายในตามทกี่ ฎหมายกาหนด

จดุ อ่อน (Weaknesses)
1) สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามีหลายกลุ่มงานแตข่ าดการประสานงานในแต่ละกลุม่
2) บางเครอื ขา่ ยการศึกษาประกอบดว้ ยโรงเรยี นจาก 2 กลุ่มตาบล จึงส่งใหม้ ีอปุ สรรค

ในการบรหิ ารงานการบรหิ ารจดั การลา่ ชา้
3) สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาไม่สามารถจดั บุคลากรปฏิบตั ิตามมาตรฐานสานักงาน

เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาได้ครบเนือ่ งจากมีบุคลากรไม่ครบตามกรอบอตั รากาลังที่กาหนด

2) ด้านกลยุทธข์ องหน่วยงาน (Strategy: S2)
จดุ แขง็ (Strengths)

1) สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษากาหนดวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตวั ชว้ี ดั
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงานเน่ืองจากใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและดาเนินการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกด้วยเทคนิค SWOT สอดคล้องกับบริบทและสภาพจริงของหน่วยงาน
รวมทง้ั แจง้ ให้บคุ ลากรทราบและปฏบิ ตั ิ

2) สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทสี่ อดคล้องกบั กลยุทธ์และ
เป้าประสงค์และบริบทของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารวมถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้องเนื่องจากมีกระบวนการ
วางแผนอย่างเปน็ ระบบและการมสี ่วนรว่ มของผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

3) สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาดาเนินการถา่ ยทอดกลยุทธ์ไปสกู่ ารปฏิบตั ิทั้งในระดับกลุม่
และระดับบุคคลได้อย่างท่ัวถงึ เน่อื งจากใช้กระบวนการ วิธกี าร และชอ่ งทางทีห่ ลากหลาย

4) สถานศึกษา ผบู้ ริหาร ครใู หค้ วามรว่ มมือและดาเนินงานตามนโยบายทีส่ านกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศึกษากาหนด

จดุ ออ่ น (Weaknesses)
1) สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาดาเนินการปรบั แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม และงบประมาณ

เพิ่มเติมบ่อย เนื่องจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแจ้งให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ดาเนินการเพม่ิ เตมิ

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

3) ดา้ นระบบในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน (System: S3)

จดุ แขง็ (Strengths)
1) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีกระบวนการบริหารจัดการภายในเป็นระบบ

มีประสิทธิภาพเน่ืองจากการบริหารจัดการสอดคล้องกับระเบียบ กฎหมาย มาตรฐานสานักงานและหลักการ
กระจายอานาจรวมถึงคู่มอื ปฏิบตั งิ านสง่ ผลใหส้ านกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาได้รับรางวลั

2) สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามรี ะบบบรหิ ารดา้ นงบประมาณ ระบบบญั ชีและการเงิน
การพัสดุโปร่งใสตรวจสอบไดเ้ นอื่ งจากการบริหารจัดการตามระเบียบกฎหมาย

3) สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามีระบบการสรรหาและคดั เลือกบุคลากรเปน็ ระบบ โปรง่ ใส
โดยการมสี ว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย

4) สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามีระบบการพัฒนาบคุ ลากรสอดคล้องกับความต้องการของ
หน่วยงานและตนเองเน่ืองจากมีแผนพัฒนาบุคลากรระยะส้ันและระยะยาว เน้นการส่งเสริมให้พัฒนาตนเอง
และบคุ ลากรทุกระดบั จดั ทาแผนพฒั นาตนเอง

5) สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามรี ะบบการตดิ ต่อสอื่ สาร เทคโนโลยีสารสนเทศท่ใี ช้ในการ
ติดต่อสื่อสารท้ังภายในและระหว่าง สพท.กับสถานศึกษาที่หลากหลายช่องทาง เช่น เว็บไซด์เขตพื้นที่,
E-office, Lineกลมุ่ เจ้าหนา้ ท่ี และ Obec-Line เป็นต้น

6) สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามรี ะบบการติดตามประเมินผลทีห่ ลากหลายชอ่ งทางท้งั
การนิเทศ ตดิ ตาม และการรายงานผลผา่ นสอื่ ออนไลน์

7) สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามรี ะบบการติดตามประเมนิ ผลทเี่ ป็นเครื่องมอื สาหรบั
การบริหารและมีข้อมูลสาหรับการวางแผนเนื่องด้วยมีการกาหนดรูปแบบการกากับและติดตามประเมินผล
เป็นระบบสอดคลอ้ งกับตวั ชวี้ ดั และวตั ถุประสงค์

8) สถานศึกษา ผบู้ ริหาร ครูมีความเช่ือม่นั ต่อกระบวนการรับข้อร้องเรยี นและการแก้ไข
ปัญหา

9) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดโครงการ “ให้น้องท้องอิ่ม นอนอุ่น” ทาให้นักเรียน
มคี วามพร้อมทจ่ี ะเรยี น

10) นักเรียนไดร้ บั การช่วยเหลอื ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ ดา้ นทุนการศกึ ษา การสร้างบ้านนกั เรยี น
เป็นต้น

จดุ อ่อน (Weaknesses)
1) การดาเนินงานตามระบบบางรายการเกิดความลา่ ชา้ สง่ ผลให้การดาเนนิ งานไม่เปน็ ไปตาม

กาหนด เชน่ การโอนงบประมาณ เปน็ ต้น
2) โรงเรยี นบางแห่งมรี ะบบบริหารด้านงบประมาณ ระบบบัญชีและการเงิน การพสั ดุท่ีไมม่ ี

ประสทิ ธิภาพเนื่องจากขาดแคลนบุคลากรที่มีคณุ วุฒดิ า้ นการเงนิ การบัญชีและพสั ดุ
3) สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามกี ารสรรหาและบรรจุแตง่ ต้งั ครูไม่ตรงตามความต้องการของ

โรงเรยี น

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

4) อปุ กรณใ์ นการติดต่อของบางโรงเรยี นเกา่ ชารดุ ไม่ได้รบั การซอ่ มแซมจึงมีข้อจากัด
ในการใช้อนิ เตอรเ์ นต็

5) สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาขาดการนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการวางแผนตอ่ ไป
6) ข้อมลู สารสนเทศขาดการพัฒนา การจดั เก็บ การสืบคน้ การบูรณาการ และการ
ประยกุ ตใ์ ช้

4) ดา้ นแบบแผนหรอื พฤติกรรมในการบรหิ ารจัดการ (Style: S4)

จุดแขง็ (Strengths)
1) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ภาวะผู้นา ความสามารถ

ในการบริหารจัดการศึกษาเชิงกลยุทธไ์ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2) บคุ ลากรในสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาจัดการตามภารกจิ ท่ีไดร้ บั มอบหมายอยา่ งมี

ประสทิ ธิภาพได้อยา่ งมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
3) ผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาได้กระจายอานาจตัดสนิ ใจให้บุคลากรไดใ้ ช้

ศักยภาพทมี่ อี ยปู่ ฏบิ ัตงิ านอยา่ งเตม็ ความรู้ ความสามารถและสมรรถนะท่กี าหนด
4) ผู้อานวยการสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาได้มีทักษะการส่งั การ การควบคมุ การจงู ใจ

การสะท้อนถึงวัฒนธรรมหน่วยงาน
5) สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามกี ารใช้รูปแบบ LMS Model สู่การปฏบิ ัติ
6) บคุ ลากรในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามกี ารคดิ คน้ นวัตกรรม ระบบงานเทคนิค

การทางานเปน็ ทมี และมคี ่านิยมเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบตั งิ านมุ่งผลสัมฤทธสิ์ วู่ ิสัยทัศน์
7) โรงเรียนจัดการศกึ ษาได้หลากหลาย ทงั้ ในระบบ โดยครอบครวั และตามอธั ยาศัย
8) ครอบครัวชมุ ชนทอ้ งถ่นิ มีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษามากขนึ้

จดุ อ่อน (Weaknesses)
1) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามที กั ษะการบรหิ ารวชิ าการน้อยกว่าดา้ นอื่น
2) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาต้องกากับติดตามการปฏบิ ัติงานอย่างเข้มงวด

ในบางจดุ เนื่องจากบคุ ลากรบางสว่ นปฏิบตั ิงานยังไม่บรรลุเป้าหมาย
3) ผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาไมส่ ามารถบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก

ได้ตามเปา้ หมายท่กี าหนดเนื่องจากไมส่ ามารถบริหารอัตรากาลังผบู้ รหิ าร ครูได้ตามท่ี ก.ค.ศ.กาหนด
4) นักเรียนสว่ นใหญ่มีคา่ เฉลยี่ ของผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในสาขาวชิ าหลกั นอ้ ยกวา่

รอ้ ยละ 50
5) งานวิจัยเพอ่ื การพัฒนามีนอ้ ย

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

5) ด้านบคุ ลากร/สมาชิกในหนว่ ยงาน (Staff: S5)
จุดแข็ง (Strengths)

1) บคุ ลากรทุกระดบั ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
ความรู้ความสามารถตรงกับงานท่ีรบั ผิดชอบ หม่ันพัฒนาตนเอง จัดการภารกิจทไี่ ด้รบั มอบหมายอย่างครบถว้ น
ตามบทบาทหน้าท่ี ตามกฎหมายท่ีกาหนด

2) สถานศึกษา ผูบ้ ริหาร ครไู ด้รับบริการด้านขอ้ มูลขา่ วสารท่ีเป็นปัจจุบันได้อย่างถูกต้องและ
รวดเร็ว มีความพึงพอใจในการไดร้ บั การอานวยความสะดวกในการติดต่อราชการ

จดุ อ่อน (Weaknesses)
1) บุคลากรบางกลมุ่ งานยงั ไมเ่ พยี งพอตอ่ ภาระงานในหน้าท่ี
2) ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงบริการจากเขตพ้ืนท่ี

การศกึ ษาเนอ่ื งจากอยูห่ า่ งไกล
3) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษายงั ขาดและเกินในบางพนื้ ท่ี

6) ดา้ นทกั ษะ ความรู้ ความสามารถของหนว่ ยงาน (Skills: S6)
จดุ แขง็ (Strengths)

1) บคุ ลากรส่วนใหญใ่ นสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจัดการภารกิจท่ีได้รบั มอบหมายอยา่ ง
ครบถ้วนตามบทบาทหน้าท่ีตามกฎหมายกาหนดมีประสิทธิภาพได้มาตรฐานเน่ืองจากบุคลากรมีความรู้
ความสามารถและทักษะในการปฏิบตั งิ านตามสมรรถนะ/มาตรฐานวิชาชีพ

2) สถานศกึ ษาในสังกดั มีการจดั กิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ ทกั ษะชีวติ ให้กับนักเรียน เชน่ เกษตรเพื่อ
อาหารกลางวนั การงานอาชพี

จุดออ่ น (Weaknesses)
1) บุคลากรบางส่วนไม่ได้รับการพัฒนาตรงตามสมรรถนะ ทาให้ขาดทักษะในการปฏิบัติงาน

สง่ ผลให้การดาเนนิ งานไมบ่ รรลเุ ป้าหมาย
2) สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน เชน่

ด้าน ICT, ดา้ นการกอ่ สร้างเน่อื งจากไมม่ ีกรอบอตั รากาลังเฉพาะ
3) ผบู้ รหิ าร ครูขาดทักษะในการใช้ระบบอินเทอร์เน็ตและการสาเนาเอกสารจากเคร่ืองพิมพ์

ที่เตรยี มไวส้ าหรบั ใหบ้ รกิ าร

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

7) ดา้ นค่านยิ มร่วมกันของสมาชิกในหน่วยงาน (Shared Values: S7)
จุดแขง็ (Strengths)

1) บคุ ลากรส่วนใหญ่ในสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามคี า่ นยิ มในการทางาน “มงุ่ ผลสมั ฤทธิ์
โปรง่ ใส ตรวจสอบได้” เนอ่ื งจากมกี ระบวนการจดั ทาคา่ นิยมแบบมสี ว่ นรว่ ม

2) บคุ ลากรสว่ นใหญใ่ นสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามีวัฒนธรรมในการทางาน “เปน็ ทมี ”
เน่อื งจากมีกระบวนการส่งเสรมิ และพฒั นาทีมงานอยา่ งต่อเนื่อง

จดุ ออ่ น (Weaknesses)
1) ขาดการปฏบิ ัติงานเก่ยี วกบั คา่ นยิ มและบรรทดั ฐานท่ียึดรว่ มกนั อยา่ งเป็นรปู ธรรม
2) มีบุคลากรบางส่วนขาดความสามคั คี ขาดทักษะการทางานเปน็ ทีม ส่งผลให้การดาเนินงาน

ไมส่ าเร็จ
3) บุคลากรบางส่วนในสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาไม่ใหบ้ ริการท่ีดีกบั ผูร้ บั บริการ เนอื่ งจาก

ยงั มีคา่ นยิ มการเป็นขา้ ราชการแบบเกา่
4) สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาไม่มขี ้อกาหนดวัฒนธรรมของหนว่ ยงานอย่างชัดเจนเพ่ือให้มี

เป้าหมายในการทางานร่วมกัน

การสภาพแวดล้อมภายนอก แบบ C-PEST
1) ด้านพฤติกรรมของลูกค้า (Customer Behavior: C)
โอกาส (Opportunities)
1) ผปู้ กครองให้ความพึงพอใจท่ีได้รบั ขา่ วสารความเคล่ือนไหวด้านการศกึ ษาและสถานศึกษา

อย่างครบถว้ นและเปิดเผยข้อมลู ในวงกว้าง
2) ผปู้ กครองเหน็ ความสาคัญ ให้ความม่ันใจและสนับสนุนบตุ รหลานเข้าเรียนในโรงเรยี น

สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2
3) ค่านยิ มของผปู้ กครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรยี นในโรงเรียนท่มี คี ุณภาพ มชี ่ือเสียง

ส่งผลให้มกี ารสมคั รเข้าเรียนในโรงเรียนยอดนิยมมากกว่าความสามารถในการรับนกั เรยี น
4) อปท.และหนว่ ยงานภายนอกท้งั รัฐบาลและเอกชนให้การสนับสนนุ ดา้ นงบประมาณ

และอุปกรณใ์ นการจัดการศึกษา รวมถึงระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
5) มีโรงเรียนในสังกัดจานวนมากกระจายอย่ทู ุกตาบล สง่ ผลให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ให้กบั ประชากรวัยเรียนไดอ้ ย่างทัว่ ถึง เท่าเทยี มครอบคลมุ ทกุ พ้นื ท่ี

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

อปุ สรรค (Threats)
1) บางชุมชนมีสภาพแวดล้อมทไี่ ม่พงึ ประสงค์มีแหลง่ อบายมุข
2) ผปู้ กครองดูแลบุตรหลานดว้ ยการชว่ ยเหลอื เก้อื กลู มากกว่าให้นกั เรยี นรู้จักการช่วยเหลือ

ตวั เอง
3) โรงเรียนเอกชน/โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินส่วนใหญ่จัดการศึกษาที่มี

คณุ ภาพและบริการท่ีดสี ง่ ผลให้ผู้ปกครองมีคา่ นิยมสง่ บุตรหลานเข้าเรียนโรงเรียนเอกชน/โรงเรียนสังกัดองคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถน่ิ

4) ผปู้ กครอง/ชุมชนไมเ่ ขา้ ใจในนโยบายการจดั การศึกษา
5) ผ้ปู กครองมีรายได้นอ้ ย ยากจน ขาดการเอาใจใส่ดูแลบุตร

2) ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย (Political and Legal: P)

โอกาส (Opportunities)
1) โรงเรียนให้ความสาคัญกับการรับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.ส่งผลต่อการ

พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาท่ีไดม้ าตรฐาน
2) หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการศกึ ษามีการประกนั คุณภาพผเู้ รยี นเพอื่ ยกระดับคุณภาพ

การศึกษา สง่ ผลตอ่ คุณภาพการศกึ ษาท่ดี ีขึ้น
3) นโยบายการศึกษาของรัฐบาลสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความสามารถในการ

แข่งขนั
4) นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีของรัฐบาล ชว่ ยลดค่าใชจ้ ่ายผปู้ กครอง
5) นโยบายเปิดรับนักเรียนอนบุ าล 3 ขวบ ทาใหเ้ ดก็ มโี อกาสเขา้ ถึงการศึกษามากข้นึ
6) นโยบายอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวนั ชว่ ยลดภาระผปู้ กครอง
7) มกี ารจดั การศกึ ษาแบบโรงเรยี นเรียนรวม (โรงเรยี นขนาดเลก็ )
8) นโยบายการรวมโรงเรียนขนาดเลก็ ทาให้เกิดเทคนิคการบรหิ ารงานเปน็ กล่มุ เครอื ข่าย

มกี ารใช้ทรัพยากรรว่ มกัน ชว่ ยเหลอื กัน สง่ ผลใหก้ ารบรหิ ารจดั การมีประสิทธิภาพ สามารถใชอ้ ัตรากาลงั คนให้
เกดิ ประโยชน์สงู สุด

9) มีนโยบายการกระจายอานาจสู่สถานศึกษา
10) นโยบายการปฏิรปู ระบบการประเมนิ และการประกันคุณภาพการศึกษาสง่ ผลใหโ้ รงเรียน
มีความชัดเจนและดาเนนิ การพัฒนาคุณภาพได้ง่ายข้ึน
11) นโยบายปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ด้านเพมิ่ โอกาสได้กาหนดเปา้ หมายรวมให้
คนไทยทกุ คนมโี อกาสและสามารถเขา้ ถงึ การศึกษาข้นั พนื้ ฐานที่มีคุณภาพไมน่ ้อยกวา่ 15 ปี อยา่ งเท่าเทยี ม
12) สมศ.ชว่ ยกระตุ้นใหส้ ถานศึกษามีมาตรฐานด้านการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ส่งผลให้
ระดบั คุณภาพการศกึ ษาสงู ขนึ้

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภูมิ เขต 2

13) พ.ร.บ.การศึกษาเอ้ือประโยชน์ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษาก่อให้เกิดความ
คล่องตัวในการบรหิ ารงาน

14) พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติกาหนดให้โรงเรียนสามารถจัดการศกึ ษาท้งั ในระบบ นอกระบบ
และตามอัธยาศัยส่งผลให้โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาได้สอดคล้องกับสภาพผู้เรียนและสามารถลดอัตรา
การออกกลางคัน

อปุ สรรค (Threats)
1) โรงเรยี นตอ้ งเตรียมการและจดั สอบตามนโยบายของ สทศ.ส่งผลใหเ้ กดิ การสอบนา

การสอน และคะแนนมีผลตอ่ กาลังใจในการทางานของบคุ ลากรในสถานศึกษา
2) นโยบายระดับสงู เปล่ยี นแปลงบ่อย ส่งผลให้การนานโยบายสู่การปฏบิ ัตไิ มต่ อ่ เนอ่ื ง
3) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่เปิดโอกาสให้บริหารงบประมาณ

สว่ นใหญท่ าตามนโยบาย
4) สมศ.เพิม่ ภาระงานให้กบั โรงเรยี น
5) พ.ร.บ.ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากาหนดให้กาหนดการเล่ือนให้มวี ิทยฐานะ

ไมส่ อดคล้องกับสภาพจรงิ ส่งผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนไม่มีคณุ ภาพ
6) รัฐบาลกาหนดให้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัวที่เท่ากันส่งผลให้มีปัจจัยสนับสนุนนักเรียน

ดอ้ ยโอกาสไม่เพยี งพอ
7) จดุ เนน้ นโยบายโรงเรียนขนาดเลก็ ไมช่ ดั เจน
8) นโยบายรับอนุบาล 3 ขวบ มีความซ้าซ้อนกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถ่นิ
9) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งไม่ให้ความสาคัญต่อการส่งเสริมและสนับสนุน

การศกึ ษา
10) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งมีรายได้น้อยส่งผลให้ไม่สามารถสนับสนุน

งบประมาณให้โรงเรยี นไดเ้ ต็มท่ี

3) ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic: E)

โอกาส (Opportunities)
1) ชมุ ชนมกี ารปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน่ อ้อย ยางพารา ข้าว ส่งผลให้ผปู้ กครองมีรายไดท้ มี่ น่ั คง
2) ชมุ ชนมโี รงงานอตุ สาหกรรม เช่น โรงงานน้าตาล ทาให้ผู้ปกครองมรี ายได้และอาชพี

ที่ม่ันคง

3) พ้นื ทีใ่ นเขตบริการทางการศึกษามแี หลง่ ท่องเทย่ี วทีห่ ลากหลาย สง่ ผลตอ่ การสร้างอาชพี
และมีรายไดข้ องชุมชน

4) หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง ชุมชนให้ความชว่ ยเหลอื สนับสนนุ สง่ เสริมการจดั การศึกษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชัยภูมิ เขต 2

5) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการสนับสนุนงบประมาณตามนโยบาย
ตา่ งๆ เช่น นโยบายโรงเรียนดีใกล้บ้าน (โรงเรียนแม่เหล็ก), นโยบายโรงเรียนประชารฐั , นโยบายโรงเรียน ICU
เป็นต้น

อุปสรรค (Threats)
1) คา่ ครองชพี ในปัจจบุ ันสงู
2) สภาพชมุ ชนและครอบครวั บางพ้นื ทีม่ ีรายไดไ้ ม่เพยี งพอส่งผลต่อการสง่ เสริมสนับสนนุ

การศึกษาต่อของนักเรยี น
3) ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่าสง่ ผลใหผ้ ้ปู กครองมรี ายไดน้ อ้ ย
4) งบประมาณขาดความตอ่ เนอื่ งของการดาเนินการตามนโยบาย
5) การสนับสนุนงบประมาณตามนโยบายไม่เพียงพอ เช่น โรงเรียนในโครงการโรงเรียน

ดใี กลบ้ ้าน (โรงเรียนแมเ่ หลก็ ), งบประมาณอาหารกลางวัน, อาหารเสริม (นม) เปน็ ตน้
6) ระเบียบหลักเกณฑ์และข้อจากัดในการใช้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรเป็นไปตามนโยบาย

แต่ไม่ตอบสนองความตอ้ งการพฒั นา

4) ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม (Social-cultural: S)

โอกาส (Opportunities)
1) แนวโน้มโครงสรา้ งประชากรวัยการศกึ ษาลดลงส่งผลใหโ้ รงเรยี นมนี วัตกรรมการบรหิ าร

แบบศูนยร์ วมโรงเรียนหรอื การเรียนรวม
2) มโี รงเรยี นกระจายอยู่ทุกพื้นทแี่ ละเพียงพอ
3) สภาพชุมชนรอบโรงเรียนประกอบอาชพี เกษตรกรรมทห่ี ลากหลายสง่ ผลใหโ้ รงเรยี น

มแี หลง่ การเรยี นรู้ทางเกษตรกรรมที่หลากหลาย
4) สงั คมไทยโดยภาพรวมเป็นสังคมเกษตรสง่ ผลใหส้ ามารถขยายแนวคิดการดารงชีวิต

ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งจากโรงเรียนสชู่ มุ ชนไดส้ อดคล้องกับวถิ ชี วี ิต
5) มีการแตง่ กายผา้ ไทย เป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมท่สี วยงามและเป็นการอนุรกั ษ์

วฒั นธรรมไทย
6) โรงเรียนส่วนใหญ่พฒั นาและเขม้ แขง็ ได้จากการร่วมมือของบา้ น วดั โรงเรยี น “บวร”
8) มกี ารสบื สานอนุรักษ์ประเพณที อ้ งถน่ิ ทีด่ ี มเี อกลักษณ์เฉพาะ เชน่ แห่นาคโหด บญุ เดือนสี่

บุญหลวงปู่ต้อน ฯลฯ

อปุ สรรค (Threats)
1) แนวโนม้ ประชากรวัยเรยี นลดลง สง่ ผลใหโ้ รงเรยี นขนาดเล็กเพ่มิ มากข้ึนอย่างตอ่ เนื่อง
2) นกั เรียนไม่มงี บประมาณในการซ้ือส่งผลใหน้ ักเรียนไม่มคี วามพรอ้ มในการแตง่ กายผา้ ไทย

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

5) ดา้ นเทคโนโลยี (Technological: T)
โอกาส (Opportunities)

1) การจดั การเรียนการสอน DLTV, DLIT สง่ ผลให้นักเรยี นได้เรยี นรสู้ ื่อการเรียนการสอน
ที่ทันสมยั นกั เรียนเกิดการเรยี นรู้จากส่อื ท่ีตอบสนองตอ่ การเรียนรู้

2) นโยบายส่งเสรมิ การใช้อินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูง ส่งผลให้นามาใช้ครแู ละบคุ ลากรเขา้ ถึง
และใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายในการจัดการศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองได้ตามความสนใจตลอดเวลา และสง่ ผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาติดต่อส่ือสารและปฏบิ ัติงานได้
รวดเรว็ ยงิ่ ขนึ้

3) ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น/ปราชญช์ าวบา้ นท่หี ลากหลายและครบทกุ ด้านสง่ ผลให้โรงเรยี น
สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้/เป็นครูให้ความรู้/เป็นแบบอย่างการเรียนรู้การดารงชีวิตท่ีสอดคล้องกับท้องถิ่น
และความเป็นชาตไิ ทย

อปุ สรรค (Threats)
1) สถานศึกษาบางแห่งสญั ญาณอนิ เทอร์เนต็ เข้าไม่ถึง สง่ ผลให้การตดิ ตอ่ ประสานงาน

ไม่สะดวก
2) การคมนาคมสะดวก ผู้ปกครองนิยมส่งบุตรไปเรียนเมืองนอก ทาให้โรงเรียนในชุมชน

มีนกั เรยี นลดลง
ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ชยั ภมู ิ เขต 2

รปู ภาพประกอบ







คณะทำงำน

ท่ปี รกึ ษำ ผู้อานวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2
นายมนสั เจยี มภูเขยี ว รองผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต 2
นางสาวจลุ นิต เณรสวุ รรณ รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
นายปิยะวุฒิ ดวงภมร รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2
นายสดุ สาคร เรอื งวิเศษ
ผูอ้ านวยการกลุม่ ทุกกลมุ่

คณะผจู้ ัดทำ รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
ผ้อู านวยการกลุ่มนโยบายและแผน
นายปิยะวุฒิ ดวงภมร นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
นางนงเยาว์ เลิงนสิ สยั นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ
นางสาวอรวรรณ แซโ่ อว้ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ
นางสาวสกุ ัญญา ธนุ นั ทา นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ
นายวรรณพล เหมือนพนั ธุ์ เจา้ พนักงานธุรการชานาญงาน
นางธดิ ารัตน์ จิตรธร
นางร่งุ ทพิ ย์ เวียงชยั ภมู ิ

รวบรวมและเรยี บเรียง ผู้อานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน
นางนงเยาว์ เลิงนสิ สยั นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ
นางสาวสุกัญญา ธุนนั ทา

ออกแบบปก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร
นางธิดารัตน์ จติ รธร


Click to View FlipBook Version