The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

AW ทำเนียบ Benjamarachutit School (BM)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Doungruthai Sae-Tang, 2019-12-10 23:00:44

AW ทำเนียบ Benjamarachutit School (BM)

AW ทำเนียบ Benjamarachutit School (BM)

ทาำ เนยี บศิษยเ์ กา่ เบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช

รนุ่ ๗๕ : เบญจมฯ ๑๕๑๗

ป่าสาคู ๑๕

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๑๓
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๑๔
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๑๕

พระสูงหนา้ เมือง ๑๗

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ ปกี ารศึกษา ๒๕๑๖
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ปีการศกึ ษา ๒๕๑๗

ฉบับ ๒๕๖๒

ทําเนียบศิษยเกาเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

ทำ�เนียเบบศญษิ ย์เจก่�มเบฯญจ๑มร๕�ชูท๑ิศ๗รนุ่ ๗๕

ท่ปี รึกษา
อภวิ ฒั น์ รัตนนาคินทร์

ธวชั ผลความดี
น.สพ.ธนบดี รอดสม
พล.ท.ธีรณ์ ฉัฏฐ์ จนิ ดาเงิน

สจุ ินต์ หนูขวญั
คณะกรรมการศิษย์เกา่ เบญจมราชทู ิศ ร่นุ ๗๕ (เบญจมฯ ๑๕๑๗)

ปีบริหาร ๒๕๖๒-๒๕๖๓
อาำ นวยการ บริหารจดั การ

อลงกรณ์ วิเชียรรัตน์
บรรณาธกิ าร

บญุ เสริม แก้วพรหม
กองบรรณาธิการ
ชัยวฒั น์ สีแก้ว
สมถวลิ จติ ติมงคล
สุทิน สายสงวน
ศุภฤกษ์ ณ พทั ลงุ
อุทัยวรรณ พทุ ธรตั น์
โสภณ บรรจงเมอื ง
ประชา คงรตั น์
จริ ชยั เชาวลติ
ออกแบบปก-ศิลปกรรม
สขุ มุ เกษรสทิ ธิ์
สาวติ รี บณุ ยะโชติ
จริ ัญญา ประกอบบญุ
พิมพ์ครั้งแรก ธันวาคม ๒๕๖๒
จำานวน ๒๐๐ เลม่
พิมพ์ท่ี ทูทวิน พริน้ ต้ิง
เลขมาตรฐานสากลประจำาหนังสือ (ISBN) ๙๗๘-๖๑๖-๕๖๕-๒๙๑-๙

2 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนียบศษิ ยเกาเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

เหล่าศิษยแ์ หง่ “เบญจมราชทู ิศ”
ศกั ด์ิและสิทธ์ิ “ลูกขาวแดง” ผแู้ กรง่ กล้า

ใต้เรอื นรม่ “ลกู พระสูง” ปรุงปญั ญา
คือคุณคา่ คือความหวัง “สังคมไทย”

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 3

ทําเนยี บศษิ ยเกาเบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

จากใจประธานรุ่น

การจัดทาำ หนงั สืออนสุ รณ์ เบญจมฯ ๑๕๑๗ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ส่งผล
สะท้อนเชิงบวกให้การรวมกลุ่มของพวกเรามีพัฒนาการ อย่างมีนัยสำาคัญยิ่ง
มกี ารขยายกลมุ่ จาก “เบญจมฯปา่ สาค”ู ซง่ึ รว่ มชน้ั เรยี นในระดบั มธั ยมตน้ รวมเขา้ กบั
“เบญจมฯ พระสงู หนา้ เมอื ง” ซง่ึ รว่ มชน้ั เรยี นกนั ในระดบั มธั ยมปลาย เปน็ “เบญจมฯ
๑๕๑๗” ในปจั จบุ นั มกี จิ กรรมระหวา่ งกนั เพม่ิ ขน้ึ มากมาย นอกเหนอื จากงานเลย้ี งรนุ่
ประจำาปี ซึ่งจดั ข้นึ ทุกปีต่อเนอ่ื งมาหลายสิบปีแล้ว

การจัดทำาหนังสืออนุสรณ์ในครั้งนี้ คณะทำางานมีความประสงค์ที่จะ
รวบรวมขอ้ มลู สว่ นตวั และครอบครัวของเพอ่ื นๆ ใหเ้ ปน็ ปจั จุบนั มากท่สี ุด เพอ่ื จะ
ไดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นการส่อื สารติดต่อระหว่างกนั ในวัย หลังเกษยี ณอายุ

ขอขอบคณุ เพอ่ื นๆ ทีก่ รณุ าสง่ ข้อมูลส่วนตวั และครอบครัว บทความ และ
ความคิดเห็นต่างๆ เพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดทำาหนังสือเล่มนี้ และขอขอบคุณ
คณะทาำ งานทไ่ี ดเ้ สยี สละเวลา ทมุ่ เทแรงกาย แรงใจ มงุ่ มน่ั จนสาำ เรจ็ เปน็ หนงั สอื เลม่ น้ี

สดุ ทา้ ยน้ี ผมขออาราธนาสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ง้ั หลายไดโ้ ปรดดลบนั ดาลประทานพร
ให้เพื่อนๆ เบญจมฯ ๑๕๑๗ และครอบครัว จงประสบแต่ความสุข มีสุขภาพ
สมบูรณ์แข็งแรง ถึงพร้อมด้วยจตุรพิธพรชัยและสัมฤทธิ์ผลในส่ิงอันพึงปรารถนา
ทกุ ประการ และหวงั วา่ พวกเราจะมกี ารพบปะสงั สรรคก์ นั อยา่ งสมา่ำ เสมอ อนั จะทาำ ให้
ในอนาคตมีการเกือ้ กูล ไม่ทอดทิ้งกันจนถงึ ร่นุ ลกู รุ่นหลาน

(อภิวฒั น์ รัตนนาคนิ ทร)์
ประธานศิษยเ์ กา่ เบญจมราชทู ิศ

รุ่น ๗๕ : เบญจมฯ ๑๕๑๗

4 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศษิ ยเ กา เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

บอกกลา่ วเล่าเรอ่ื ง

เกิดจากรกั ผกู พนั ในวนั เก่า คิดถงึ ความเป็นเราแต่แรกเรม่ิ เป็นสายใยเปน็ พลังแต่ด้ังเดมิ ยิง่ พูนเพ่ิมเมื่อผ่านกาลเวลา
ภาพทุกภาพยังอ่ิมอยู่ในรสู้ ึก เม่ือหวนนกึ ยิ่งใหญ่ในคณุ ค่า ยิง่ ทบทวนทกุ เหตกุ ารณ์ท่ีผ่านมา ย่ิงรู้วา่ เป็นแบบบทให้จดจาำ

“เบญจมราชทู ศิ ” สนทิ รกั คอยฟมู ฟกั วนั คนื ใหช้ น่ื ฉา่ำ เปน็ ดนิ แดนอบอนุ่ ทหี่ นนุ นาำ ใหย้ า่ งยา่ำ สเู่ สน้ ทางทก่ี วา้ งไกล เปน็ รวั้ เรอื น
แหง่ รกั และศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ ทหี่ ลอมจติ หลอมกายใหส้ ดใส สอนใหร้ สู้ อนใหค้ ดิ สนทิ ใจ สอนเปน็ ไทยเปน็ ธรรมใหด้ าำ รง สอนปญั ญางดงาม
ความเป็นมนษุ ย์ ให้สงู สุดตามวิถที ่เี สริมส่ง ให้รกั เพือ่ นพี่น้องในจาำ นง จนงดงามม่ันคงความเปน็ เรา

การพบกนั มใิ ชเ่ รอ่ื งบงั เอญิ เสน้ ทางเดนิ ถกู กาำ หนดดว้ ยกฎเกา่ เปน็ วาสนากนั และกนั มานานเนา จงึ ทบเทา่ พนั ผกู “ลกู ขาว-แดง”
ไดร้ ่วมเรียนรว่ มเล่นได้เปน็ เพือ่ น เสมอเหมอื นด้วยบุญทาำ และกรรมแต่ง อดีตผา่ นแตห่ ัวใจไม่เปล่ยี นแปลง ยังกล้าแกร่งงอกงาม
ความผกู พนั ยาวนานถึงครึ่งศตวรรษแลว้ ยงั เป็นแก้วแววใจดง่ั ใฝฝ่ นั ยิง่ ทบทวนยิ่งเต็มตื้นในคืนวนั ความเป็นเราวันน้ัน..ถึงวนั น้ี

จึงก่อเกิด “ทำาเนียบฯ ๑๕๑๗” ให้ก่องเก็จส่ือใจไปทุกท่ี ได้เก็บเก่ียวทุกหวังท่ียังมี ด้วยมุ่งมาดปรารถนาดีช้ีนำาทาง
นำาเร่อื งราวคนื วนั มาบนั ทกึ ไว้ราำ ลึกถงึ กนั ในวันว่าง เร่ืองแหง่ เราถึงผา่ นไปไม่จืดจาง ยังกระจะกระจา่ งอยู่กลางใจ

หวังให้ “เบญจมฯ ๑๕๑๗” น้นั เข้มแขง็ ดังเพชรพรา่ งพราวใส และรอ้ ยรกั แห่งเราอกี ยาวไกล เป็นสายใยความผูกพัน
ทเ่ี พิ่มพนู เปน็ สายใยในยามสนธยา สบื ถึงกาลขา้ งหนา้ ไมเ่ ส่ือมสญู สบื ถึงลูกถึงหลานเบิกบานบรู ณ์ ไดเ้ ก้ือกลู พ่งึ พาอาศัยกัน
สบื สายเลอื ด “เบญจมราชทู ศิ ” เพอื่ รว่ มคดิ รว่ มทางรว่ มสรา้ งสรรค์ แมพ้ อ่ แมจ่ ะจากลาเปน็ สามญั ลกู หลานนน้ั ยงั ราำ ลกึ สาำ นกึ ทวน

เกดิ ดว้ ยรกั ผกู พนั ในวนั เกา่ เกดิ ดว้ ยเรารบั รอู้ ยทู่ กุ สว่ น เกดิ ดว้ ยใจรว่ มใจไมเ่ รรวน เกดิ ดว้ ยมวลไมตรวี ถิ มี ติ ร จงึ ขอบคณุ
เนอ้ื นามความสาำ เรจ็ ร่นุ “๑๕๑๗” ดว้ ยดวงจิต เป็นพลงั เตมิ วิถีเตมิ ชีวิต ให้สมั ฤทธิ์สาำ ราญเบกิ บานใจ

ฝากหนงั สอื สอ่ื วางไวข้ า้ งหมอน เปน็ เพอื่ นนอนเพอื่ นขวญั อยา่ หวน่ั ไหว หากวา่ คดิ ถงึ กนั ณ วนั ใด ใกลห้ รอื ไกลเปดิ ดกู ร็ คู้ วาม
รคู้ วามรกั ความคดิ มติ รสหาย ไดผ้ อ่ นคลายปลอบปลกุ ทกุ คาำ ถาม ฝากหวั ใจไมตรอี นั ดงี าม และฝากนาม “เบญจมฯ” ไวน้ ริ นั ดรฯ์

บุญเสรมิ แกว้ พรหม
ขออนุญาตเขยี นแทนความรูส้ กึ ของคณะทาำ งานและเพื่อนๆ ทกุ คน

๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒

เบญจมฯ ๑๕๑๗ ๕

ทําเนยี บศษิ ยเกาเบญจมราชูทิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕ ๔

สารบัญ
๑๒
จากใจประธานรุ่น ๒๐
อภวิ ัฒน์ รตั นนาคินทร์ ๒๔
๒๖
บอกกล่าวเล่าเรื่อง ๒๗
บรรณาธิการ
๓๑
ตอนท่ี ๑ โรงเรียนของเรา ๓๕
เบญจมราชูทิศ : เดนิ ยอ้ นรอยโรงเรียนของเรา ๓๖
ชัยวัฒน์ สแี กว้ และ สุทิน สายสงวน ๔๗
เบญจมฯ กับ เบญจมงคล
บุญเสริม แกว้ พรหม ๕๑
เพลงโรงเรยี นเรา ๕๒
สมาคมศิษยเ์ กา่ เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช ๕๖
ศภุ ฤกษ์ ณ พทั ลุง
เบญจมฯ สอนใหเ้ ราสำานึก
รตั นธาดา แก้วพรหม

ตอนท่ี ๒ ครขู องเรา
กราบอาจารย์สวัสดี ณ พทั ลงุ : ตน้ แบบความเปน็ ครูอยู่ครบถ้วน
บญุ เสริม แกว้ พรหม
ทำาเนยี บผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
ครูของเรา ๒๕๑๓-๒๕๑๗
ชัยวฒั น์ สีแกว้
ปรัชญาของครูประกอบ
รตั นธาดา แกว้ พรหม

ตอนท่ี ๓ รนุ่ ของเรา
นยิ ามชอ่ื รุ่น
อลงกรณ์ วเิ ชยี รรัตน์
เลา่ เร่ืองงานเลีย้ งรุ่น
อลงกรณ์ วเิ ชียรรตั น์
นาำ้ ใจเพอื่ น
ศุภฤกษ์ ณ พทั ลุง

ทาํ เนียบศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ปฏญิ ญา ป่าสาคู ๖๒
เช่ียวบุณย์ ทิชินพงศ์ ๖๓
๖๔
บทเพลงของรนุ่
สนุ ัย ชขู นั ธ์ ๗๑
๘๒
ภาพ..ผกู พนั ๑๐๘
ชัยวัฒน์ สแี ก้ว ๑๐๙

ตอนท่ี ๔ เพื่อนของเรา ๑๑๓
เพ่อื นในอนสุ รณ์ ๒๔๘
ณ ปจั จบุ นั ของเพอ่ื น ๒๕๑
สมถวิล จติ ติมงคล และ สุทิน สายสงวน ๒๖๐
เพอื่ นผู้จากพรากสสู่ ุคตนิ ิรนั ดร์ ๒๖๒
ศุภฤกษ์ ณ พทั ลงุ ๒๖๗
เพอื่ นย่อมอย่รู ว่ มช้นั
รัตนธาดา แกว้ พรหม

ตอนที่ ๕ ขอ้ มลู จำาเพาะของเพื่อน
ดัชนขี ้อมูลจำาเพาะของเพือ่ น

ตอนท่ี ๖ และอื่นๆ อีกมากมาย
เร่อื ง เนอ้ื ๆๆ
ธนบดี (หนุ่ย) รอดสม
สิ่งท่ีควรคำานงึ เมื่อจะใชย้ า
สงัด อินทรนพิ ัฒน์
เมอ่ื ชวี ิตสูงวัย...จะพงึ่ ตนเองอยา่ งไรให้ปลอดภยั จากความราำ คาญผู้อน่ื
จริ ชัย (อารมย)์ เชาวลติ
ชมจันทร์
สุทนิ สายสงวน
กวา่ จะถึงหนา้ สุดท้าย
กองบรรณาธกิ าร

8 เบญจมฯ ๑๕๑๗

๑ โรงเรียนของเร�

“เบญจมราชทู ิศ.. ประสทิ ธ์ปิ ระสาท
เบญจมฯ ประกาศเกยี รตไิ พศาล
เบญจมฯ เลศิ ล้ำาทกุ ตำานาน
เบญจมฯ คือสถานบา้ นของเรา”

ทาํ เนียบศิษยเ กาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ภาพโมเดลจำาลอง สถานที่เบญจมราชทู ิศ อาคารเรยี น ๑

ห้องเรียนชน้ั ม.ศ. ๑ ป่าสาคู หอ้ งเรียนช้นั ม.ศ. ๒ ป่าสาคู

ห้องเรียนชัน้ ม.ศ. ๓ ปา่ สาคู หอ้ งสมดุ

เบญจมฯ ๑๕๑๗ ๑๑

ทาํ เนยี บศิษยเ กาเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

เบญจมราชูทศิ

เดนิ ยอ้ นรอยโรงเรียนของเรา

ชัยวฒั น์ สแี กว้ และ สุทิน สายสงวน

“เบญจมราชทู ิศ แหล่งประสิทธ์ปิ ระสาทวิชา
ที่เรารกั เราศรัทธา เราท่ัวหน้าภาคภมู ใิ จ
เกยี รติประวตั มิ ากมายขยายไป
ผ่านเวลากว่าศตวรรษ ฝากชอื่ ไวโ้ ลกลอื ขานนาม
แผล่ ่วงพ้นเขตหล้าฟา้ ไทย เด่นประจกั ษล์ ำา้ เลอคา่ เกนิ พรรณนา
อยเู่ หนอื สิง่ ใด
มงกุฎหา้ เปน็ สญั ลักษณ์ จกั สถิตติดตรงึ ฤทยั
ทพ่ี วกเราเชดิ บูชาไว้ เทดิ ทูนไวจ้ นนริ นั ดร์”

เบญจมราชูทศิ
แหล่งประสานแหล่งธารนำา้ ใจ

(เพลง “มงกฎุ ห้า” คาำ ร้อง ราำ ภา รตั นนาคนิ ทร์ /นพพร ด่านสกุล ทาำ นอง นพพร ด่านสกลุ )

ยคุ ท่าโพธิ์

พระรตั นธชั มุนี (มว่ ง รตนธโช) ผ้ใู หก้ าำ เนดิ โรงเรยี น อาคารเรยี น เมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๒ เมือ่ ครง้ั อยู่ทวี่ ัดท่าโพธ์ิ

พ.ศ. ๒๔๓๔ พระรตั นธชั มนุ ี (มว่ ง รตนธโช) หรอื พระอธกิ ารมว่ ง รเิ รมิ่ เปดิ โรงเรยี นเปน็ คราวแรก จดั การเรยี นการสอนหนงั สอื ไทย
ท่วี ัดท่าโพธิ์ อาำ เภอเมืองนครศรีธรรมราช

พ.ศ. ๒๔๓๖ ประกาศใหโ้ รงเรยี นมีฐานะเป็นโรงเรียนเชลยศักด์ิ หรือ โรงเรยี นราษฎร์

๑2 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเกาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

พ.ศ. ๒๔๔๑ พระรตั นธัชมุนี (ม่วง รตนธโช) ผอู้ ำานวยการมณฑลนครศรีธรรมราช และมณฑลปัตตานี รว่ มกับพระยาสขุ ุม
นัยวนิ ติ (ป้นั สุขมุ ) ขา้ หลวงเทศาภิบาลในขณะนั้น รบั สนองพระราชดำาริพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕
ก่อตงั้ สถาบนั แหง่ นข้ี ึน้ เปดิ การสอนท่ีวัดทา่ โพธ์ิ

พ.ศ. ๒๔๔๒ โอนกจิ การเปน็ โรงเรยี นหลวง และตง้ั ชอื่ วา่ “โรงเรยี นสขุ มุ าภบิ าลวทิ ยา” นบั เปน็ โรงเรยี นหลวงแหง่ แรกของภาคใต้
พ.ศ. ๒๔๔๗ เปลยี่ นช่อื โรงเรยี นเปน็ “โรงเรยี นศรธี รรมราช” เพือ่ เปน็ โรงเรียนประจำาจงั หวดั
พ.ศ. ๒๔๖๑ ไดร้ บั พระราชทานพระบรมราชาอนญุ าตจากสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปลย่ี นชอ่ื เปน็ “โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ”
อนั เปน็ นามมงคลทไี่ ดร้ บั พระราชทานจากพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๖ (ตามหนงั สอื กรมราชเลขานกุ าร ลง
วนั ท่ี ๑๒ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๑) และออกมาอยอู่ าคารเรยี นหลงั ใหมน่ อกกาำ แพงวดั ดา้ นใต้ โดยเปดิ สอนตง้ั แต่ ชน้ั มธั ยมปที ่ี
๑ - ๖ ตงั้ แตน่ นั้ มา และมนี กั เรยี นชน้ั ม.๖ วดั ทา่ โพธ์ิ จาำ นวน ๑๕ รุน่ (พ.ศ.๒๔๖๔-๒๔๗๘)

พระรตนธชั มุนี (มว่ ง รตนธโช)

หนงั สือกรมราชเลขานกุ าร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ถ่ายภาพร่วมกับคณะครแู ละนักเรยี นโรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ
พระราชทานนามว่า“เบญจมราชทู ศิ ” (ม.๖ รุน่ ๙) ยคุ ท่าโพธิ์

เบญจมฯ ๑๕๑๗ ๑3

ทําเนยี บศิษยเ กาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ยุคหน้าเมือง

พ.ศ. ๒๔๗๙ นักเรยี นมีจาำ นวนมากข้ึน อาคารเรียนไม่เพยี งพอ กระทรวงธรรมการจึงยา้ ยโรงเรียน ไปสร้างโรงเรยี นแหง่ ใหม่
ที่บรเิ วณหอพระสงู หรือวิหารสูง ใกล้สนามหนา้ เมอื ง

พระสงู องค์ศักดสิ์ ิทธิ์ หอพระสูง หรอื วหิ ารสูงตัง้ อยู่บรเิ วณโรงเรียนเบญจมราชูทศิ

ประตูโรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ (ยุคหนา้ เมือง)

๑4 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเ กา เบญจมราชูทิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

พ.ศ. ๒๔๙๐ เปิดสอนระดบั เตรยี มอุดมศกึ ษา แบ่งเป็น ๒ แผนก คือ วิทยาศาสตร์ และ อกั ษรศาสตร์
พ.ศ. ๒๕๑๔ เปิดสอนนกั เรียนตามโครงการมธั ยมแบบประสม (ค.ม.ส.) เลอื กเรียนได้ทงั้ สายสามญั และสายอาชีพ แตส่ ถาน
ทีไ่ มเ่ พียงพอ กรมสามัญศึกษาจงึ จัดงบประมาณซ้ือทดี่ นิ และสรา้ งโรงเรียนแหง่ ใหม่ที่บา้ นทุ่งไสเจรญิ ตำาบลโพธิเ์ สดจ็ อาำ เภอเมือง
นครศรธี รรมราช จังหวดั นครศรีธรรมราช
พ.ศ. ๒๕๑๘ เปิดการเรียนการสอนที่บรเิ วณสนามหนา้ เมอื งนครศรธี รรมราช เปน็ ปสี ุดทา้ ย

โรงอาหารภายในโรงเรยี นทพ่ี วกเราค้นุ เคย อาคารหอสมดุ โรงเรยี น อยใู่ กล้กบั สนามบาสเกตบอลของโรงเรียน

เบญจมฯ ๑๕๑๗ ๑๕

ทาํ เนยี บศษิ ยเกาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ยคุ บ้านไสเจริญ

พ.ศ. ๒๕๑๙ ยา้ ยโรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จากสนามหนา้ เมอื ง ตาำ บลคลงั อาำ เภอเมอื งนครศรธี รรมราชมาตง้ั ทบ่ี า้ นทงุ่ ไสเจรญิ
ตาำ บลโพธ์ิเสด็จ อาำ เภอเมืองนครศรธี รรมราช และเปิดรบั นักเรียนหญิงเข้าเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ เปน็ ปแี รก

รปู หลอ่ พระรตั นธัชมนุ ี (ม่วง รตนธโช) ผใู้ ห้กำาเนดิ โรงเรยี น

พระบรมราชานสุ าวรยี ์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ (ปัจจุบัน) ยุคบ้านไสเจริญ
รัชกาลท่ี ๕ พระองค์ทรงมีพระราชดำาริ สถาปนาสถานศึกษา ที่ตง้ั : ๑๕๙ ถนนนาพรุ-ท่าแพ ตาำ บลโพธิเ์ สด็จ
แหง่ นี้ ประดษิ ฐาน ณ บริเวณโรงเรยี นเบญจมราชูทิศปจั จบุ นั
อาำ เภอเมอื งนครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรีธรรมราช
๑6 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศิษยเ กา เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

พ.ศ. ๒๕๓๖ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ มหศิ รภมู พิ ลราชวรางกรู กติ สิ ริ สิ มบรู ณอดลุ ยเดช
สยามนิ ทราธเิ บศรราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๑๐ (ขณะดาำ รงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรม
โอรสาธริ าช สยามกฎุ ราชกมุ าร) เสดจ็ พระราชดาำ เนนิ แทนพระองค์ (พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตรรชั กาลท่ี ๙ ขณะยงั ทรงดาำ รงพระชนมช์ พี ) ทรงเปดิ อาคารหอสมุดเฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม
ราชินนี าถ ๖๐ พรรษา (หมายถึง สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลท่ี ๙ พระปรมาภิไธยในปัจจุบนั คือ
สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง)

พ.ศ. ๒๕๔๒ เปดิ ศาลาอนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี เบญจมราชทู ศิ เพอื่ ประดษิ ฐานรปู หลอ่ พระรตั นธชั มนุ ี (มว่ ง รตนธโช) ผใู้ หก้ าำ เนดิ โรงเรยี น
พ.ศ. ๒๕๔๘ เปิดอาคาร หอเกียรตยิ ศ

หอเกียรติยศ
(ท่ีตงั้ สมาคมศิษย์เกา่ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ)

เบญจมฯ ๑๕๑๗ ๑๗

ทาํ เนยี บศษิ ยเ กา เบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

เพลง “มาร์ชขาวแดง”

(คาำ ร้อง-ทาำ นอง นพพร ดา่ นสกุล)

“ขาวแดงของเราถิน่ เราเฟื่องฟู ธงขาวแดงชเู ป็นทิวโบกปลิวไสว
เปน็ ศรสี งา่ นา่ ภาคภมู ใิ จ กอ้ งเกยี รตเิ กรกิ ไกรหนง่ึ ในเมอื งนคร
ไม่ยอมคุกเขา่ หนกั เบาเราไมห่ วั่น
เรารว่ มใจกนั ฝา่ ฟนั เพอ่ื เกียรติแห่งเรา พวกเรายดึ มั่นไมห่ วั่นไหว
รกั เกียรตยิ ศปรากฏทวั่ กนั ฮดึ ส้สู ุดใจจนตายดนิ้
ทุกศาสนาท่ไี รร้ าคิน
ใครมารานรกุ รานร้าวชาวไทย ความทกุ ขห์ ่างสิ้นจากถ่ินของเรา
เราบชู าพระศาสดา ผคู้ รองรฐั ประเทศเขตไทย
พวกเราพรอ้ มใจอยู่ใต้พระบารมี
บรสิ ทุ ธกิ์ ิเลสโบยบนิ ธงขาวแดงชูเปน็ ทวิ โบกปลวิ ไสว
เคารพเชดิ ชพู ระมหากษัตรยิ ์ กอ้ งเกียรติเกริกไกรหนึ่งในเมอื งนคร

เปน็ จอมทพั จอมใจชาวไทย
ขาวแดงของเราถนิ่ เราเฟอ่ื งฟู

เป็นศรีสงา่ น่าภาคภมู ใิ จ

พ.ศ. ๒๔๓๔ หว้ งกาลทผี่ ่านเลยของ “เบญจมราชูทิศ”
พ.ศ. ๒๔๓๖
พ.ศ. ๒๔๔๑ พระรตั นธัชมนุ ี (ม่วง รตนธโช) รเิ รม่ิ เปิดโรงเรียนสอนหนงั สอื ไทยคราวแรก ทวี่ ดั ท่าโพธิ์ ตาำ บลทา่ วงั
อำาเภอเมืองนครศรีธรรมราช
พ.ศ. ๒๔๔๒ ประกาศใหโ้ รงเรยี นทเ่ี ปดิ สอนหนงั สอื ไทยทวี่ ดั ทา่ โพธ์ิ มสี ถานะเปน็ “โรงเรยี นเชลยศกั ด”์ิ หรอื “ โรงเรยี นราษฎร”์
พ.ศ. ๒๔๔๗ พระรตั นธชั มนุ ี (มว่ ง รตนธโช) ตง้ั โรงเรยี น “สขุ มุ าภบิ าลวทิ ยา”ตามแนว พระราชดาำ ริ รชั กาลท่ี ๕
พ.ศ. ๒๔๕๗ นบั เปน็ โรงเรยี นหลวงแห่งแรกของมณฑล นครศรธี รรมราช และของภาคใต้ ตั้งอยทู่ ่ีวดั ท่าโพธ์ิ
พ.ศ. ๒๔๖๑ โดยเปลยี่ นสถานะจาก“โรงเรยี นเชลยศกั ด”ิ์ หรอื “โรงเรยี นราษฎร”์ ทมี่ อี ยเู่ ดมิ มาเปน็ “โรงเรยี นหลวง”
โอนกจิ การจากโรงเรียนเชลยศักดิ์ หรอื โรงเรียนราษฎร์ มาเปน็ โรงเรยี นหลวง
เปลีย่ นชอ่ื โรงเรยี นจาก “สขุ มุ าภิบาลวทิ ยา” เป็น “ศรธี รรมราช” โดยประสงค์จะให้เปน็
โรงเรยี นประจำาจงั หวดั นครศรีธรรมราช
เปิด“แผนกฝกึ หดั ครมู ณฑล” และ “แผนกโรงเรียนช่างถม”ดว้ ย
เปลย่ี นชื่อโรงเรยี นเปน็ “เบญจมราชูทิศ”

๑8 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศษิ ยเกา เบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

พ.ศ. ๒๔๖๘ - นักเรียนช้นั ประถม และช้นั มัธยม ๑ไปเรยี นที่วดั ทา่ มอญ (วัดศรที ว)ี และวดั จันทาราม
(เนอื่ งจากนกั เรยี นเพ่ิมขนึ้ จำานวนมาก) และได้ยบุ เลกิ “แผนกฝกึ หัดครูมณฑล”
- เปดิ โรงเรียนสตรวี ดั ทา่ มอญ (เป็นโรงเรยี นสาขาเบญจมราชทู ศิ ) โดยฝากใหเ้ รยี นท่วี ัดจันทาราม
และวดั เสาธงทอง (เน่ืองจากยงั ขาดแคลนสถานท)ี่

พ.ศ. ๒๔๖๙ - ๒๔๗๐ ย้ายไปเรยี นทก่ี องรกั ษาวงั สวนราชฤดี (คา่ ยวชริ าวธุ กองทพั ภาคท่ี ๔ ปจั จบุ นั ) แตจ่ าำ นวนนกั เรยี นลดลง
เน่อื งจากการเดินทางไมส่ ะดวก จงึ ยกเลิกและกลับไปเรยี นท่วี ดั ทา่ โพธ์เิ หมอื นเดิม

พ.ศ. ๒๔๗๓ แยกโรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ ออกเป็น ๓ โรงเรยี น ไดแ้ ก่
๑.โรงเรยี นรฐั บาลประจาำ จังหวัดนครศรีธรรมราช (เบญจมราชทู ศิ ) เปน็ โรงเรียนชายล้วน
๒.โรงเรียนสตรีประจาำ จงั หวัดนครศรธี รรมราช (กลั ยาณศี รธี รรมราช)
๓.โรงเรยี นประถมวสิ ามญั ประจาำ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ปจั จบุ นั คอื วทิ ยาลยั ศลิ ปหตั ถกรรมนครศรธี รรมราช)

พ.ศ. ๒๔๗๙ ยา้ ยสถานท่ีต้ังโรงเรียนเบญจมราชทู ศิ จากวัดทา่ โพธ์ิ ไปอยู่ใกล้สนามหน้าเมอื งนครศรีธรรมราช
บรเิ วณหอพระสงู หรอื วิหารสงู ปัจจบุ นั

พ.ศ. ๒๔๙๐ เปดิ สอนระดบั เตรียมอดุ มศึกษาทงั้ แผนกวทิ ยาศาสตร์ และแผนกอกั ษรศาสตร์
พ.ศ. ๒๕๐๔ ย้ายแผนกอกั ษรศาสตร์ไปเรียนท่ีโรงเรยี นกลั ยาณีศรธี รรมราช
พ.ศ. ๒๕๐๗ รบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ (ม.ศ. ๑) แทนการรับนกั เรียนช้ันมธั ยมปีท่ี ๑ (ม.๑) แบบเดิม
พ.ศ. ๒๕๑๔ เปดิ สอนนกั เรียนตามโครงการมธั ยมแบบประสม (ค.ม.ส.)
พ.ศ. ๒๕๑๘ เปดิ การเรยี นการสอนท่บี ริเวณสนามหนา้ เมืองเป็นปสี ดุ ทา้ ย
พ.ศ. ๒๕๑๙ - ยา้ ยสถานทตี่ งั้ โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จากสนามหนา้ เมอื ง ตาำ บลคลงั อาำ เภอเมอื งนครศรธี รรมราช

ไปอยทู่ ี่บา้ นท่งุ ไสเจรญิ ตาำ บลโพธ์ิเสด็จ อำาเภอเมอื งนครศรธี รรมราช
- รับนักเรียนหญิงเขา้ เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ (ม.ศ.๑) เป็นปีแรก
พ.ศ. ๒๕๓๖ เปิดอาคารหอสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ๖๐ พรรษา
พ.ศ. ๒๕๔๒ เปดิ ศาลาอนสุ รณ์ ๑๐๐ ปี (ประดิษฐานรูปหล่อพระรัตนธชั มนุ ี (มว่ ง รตนธโช) ผใู้ หก้ าำ เนดิ โรงเรยี น
พ.ศ. ๒๕๔๘ เปดิ อาคารหอเกียรตยิ ศ (ปัจจบุ นั เป็นท่ีต้ังสมาคมศิษย์เกา่ โรงเรียนเบญจมราชทู ศิ )

เบญจมฯ ๑๕๑๗ ๑9

ทาํ เนียบศษิ ยเกา เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

เบญจมฯ กับ เบญจมงคล

บญุ เสรมิ แก้วพรหม
ประดาศษิ ย์เกา่ ศิษยใ์ หม่แหง่ โรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ นครศรีธรรมราชทุกร่นุ ย่อมมีความผูกพนั กับสิ่งท่ีเป็นสัญลักษณ์
เป็นม่ิงขวัญและม่งิ มงคลแหง่ สถาบนั ๕ ประการ ท่ีเรยี กว่า “เบญจมงคล” ซ่ึงจะนำามาเปน็ องคป์ ระกอบหลักในพธิ สี าำ คัญตา่ งๆ
ของโรงเรียนโดยตลอดมา...
“เบญจมงคล” ประกอบด้วย พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมรูปพระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั รปู หล่อพระรัตนธชั มนุ ี พระสูง มงกฎุ หา้ และธงขาว-แดง
“เบญจมงคล” มที ่มี าทไี่ ปและทรงคุณต่อ “เบญจมราชูทิศ” อยา่ งไร?

มงคลท่ี ๑

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์
รัชกาลท่ี ๕ แหง่ พระบรมจักรวี งศ์ ทรงปฏิรูปการศกึ ษาเพือ่ เป็น
รากฐานความเจรญิ ของบ้านเมอื ง โปรดเกลา้ ฯ ให้จดั ต้งั โรงเรียน
สาำ หรบั อาณาประชาราษฎรโดยทวั่ ไป ในสว่ นของหวั เมอื งปกั ษใ์ ตน้ นั้
โปรดเกล้าฯให้พระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนธโช) เป็นผู้อำานวย
การศึกษามณฑลนครศรีธรรมราชและมณฑลปตั ตานี ซงึ่ ตอ่ มา
พระรัตนธัชมุนีได้จัดต้ังโรงเรียนขึ้นในมณฑลนครศรีธรรมราช
และมณฑลปัตตานีจำานวนถึง ๒๑ โรง โดยโรงเรียนแรกคือ
“โรงเรยี นสขุ ุมาภบิ าลวทิ ยา” ซึง่ ตอ่ มาเปลี่ยนชอ่ื เปน็ “โรงเรยี น
เบญจมราชูทิศ” จนถงึ ปัจจบุ ัน

20 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนียบศษิ ยเกา เบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

มงคลท่ี ๒

พระบรมรปู พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระมหา
กษตั รยิ ร์ ชั กาลที่ ๖ แหง่ พระบรมจกั รวี งศ์ ทรงเปน็ พระราชโอรส
ในรัชกาลท่ี ๕ ทรงสานต่อพระราชกรณียกิจด้านการวาง
รากฐานการศึกษาแก่ประชาราษฎรให้กว้างขวางไปยิ่งขึ้น
และไดท้ รงพระราชทานนาม “เบญจมราชทู ศิ ” อนั เปน็ มงคลนาม
และเป็นท่ีรำาลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ เม่ือเปลี่ยนช่ือโรงเรียนจาก
“โรงเรยี นสขุ มุ าภบิ าลวทิ ยา” เปน็ “โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ”
ดงั กลา่ ว

มงคลท่ี ๓

รูปหล่อพระรตั นธัชมนุ ี พระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนธโช) หรือท่ีเรียกกัน
โดยทว่ั ไปวา่ “ทา่ นเจา้ คณุ มว่ ง” เปน็ สหชาตใิ นพระบาทสมเดจ็
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าโพธิ์ และ
ไดร้ บั โปรดเกลา้ ฯใหเ้ ปน็ ผอู้ าำ นวยการศกึ ษามณฑลนครศรธี รรมราช
และมณฑลปัตตานี รับผิดชอบการจัดตั้งโรงเรียนสำาหรับ
ประชาราษฎรตามพระราชประสงค์ โดยได้ดำาเนินการจัดตั้ง
โรงเรียนในมณฑลนครศรีธรรมราชและมณฑลปัตตานี
จำานวนถึง ๒๑ โรงเรยี น ดังน้ี

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๑

ทําเนียบศิษยเ กา เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

โรงเรียนสขุ มุ าภบิ าลวิทยา (ทีว่ ัดท่าโพธ์ิ อำาเภอกลางเมืองนครศรธี รรมราช) โรงเรียนวัฑฒนานุกลู (ที่วดั หมาย อาำ เภอ
กลาย-ทา่ ศาลา) โรงเรยี นไพบลู ยบ์ าำ รงุ (ทว่ี ดั เสาธงทอง อาำ เภอเบยี้ ซดั -ปากพนงั ) โรงเรยี นราษฎรผ์ ดงุ วทิ ยา (ทว่ี ดั พระนคร อาำ เภอกลาง
เมอื งนครศรธี รรมราช) โรงเรยี นเกษตราภสิ จั น์ (ทว่ี ดั รอ่ นนอก อาำ เภอรอ่ นพบิ ลู ย)์ โรงเรยี นนติ ยาภริ มย์ (ทวี่ ดั โคกหมอ้ อาำ เภอทงุ่ สง)
โรงเรียนวิทยาคมนาคะวงษ์ (ที่วัดวังม่วง อำาเภอฉวาง) โรงเรียนบรรจงอนุกิตย์ (ที่วัดสามพัน อำาเภอพระแสง สุราษฎร์ธานี)
โรงเรยี นน้อยประดษิ ฐผ์ ดุงผล (ทวี่ ดั บา้ นนา อำาเภอลำาพูนบ้านนาเดมิ สรุ าษฎร์ธาน)ี โรงเรียนอุบลบริหาร (ทีว่ ดั ใหม่ อาำ เภอสิชล)
โรงเรยี นทศั นาคารสโมสร (ทวี่ ดั เขานอ้ ย อาำ เภอสชิ ล) โรงเรยี นเทวภกั ดภี ลู เฉลมิ (อาำ เภอทกั ษณิ -ปากพะยนู พทั ลงุ ) โรงเรยี นมหาวชริ าวธุ
(อำาเภอเมอื ง สงขลา) โรงเรยี นหฤไทวิทยา (อาำ เภอจะนะ สงขลา) โรงเรยี นเพชรานุกูลสถติ (อาำ เภอหนองจอก ปตั ตานี) โรงเรียน
ราชรกั ษปราการ (อาำ เภอยะหรง่ิ ปตั ตาน)ี โรงเรยี นวมิ ลญาณพทิ กั ษ์ (อาำ เภอสายบรุ ี ปตั ตาน)ี โรงเรยี นสนุ ทรวทิ ยาธาร (อาำ เภอเมอื ง
ปตั ตาน)ี โรงเรยี นภมุ มาภิสมยั (อาำ เภอสทงิ พระ สงขลา) โรงเรยี นวัดอภยาราม (อาำ เภอเมอื ง พัทลงุ ) และโรงเรียนรองราชบริรักษ์
(อาำ เภอเมือง พทั ลงุ )

นอกจากโรงเรียนทั้ง ๒๑ โรงเรยี นข้างตน้ แลว้ ทา่ นเจ้าคุณมว่ งยงั ได้ริเริ่มจัดต้งั โรงเรยี นสอนวชิ าชพี ขนึ้ คือโรงเรยี นชา่ งถม
(วิทยาลัยศลิ ปหตั ถกรรมนครศรธี รรมราช) โรงเรยี นชา่ งไม้ (วิทยาลยั เทคนิคนครศรีธรรมราช) และโรงเรยี นการช่างสตรี (วิทยาลยั
อาชวี ศกึ ษานครศรธี รรมราช) รวมทงั้ ไดส้ ง่ เสรมิ งานการศาสนา การศกึ ษาอน่ื ๆ ตลอดถงึ การสง่ เสรมิ ศลิ ปนิ พน้ื บา้ นภาคใตอ้ ยา่ งแขง็ ขนั

พระรตั นธชั มนุ ี ถือวา่ เปน็ ผูใ้ หก้ าำ เนดิ โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ ในชือ่ “สขุ มุ าภิบาลวทิ ยา” ในเบอื้ งตน้ และเปลีย่ นชอ่ื เป็น
“เบญจมราชทู ศิ ” ในกาลต่อมาจนถึงปจั จุบนั

มงคลที่ ๔

พระสูง “พระสูง” เปน็ ชอ่ื พระพุทธรปู ท่ีประดษิ ฐานอย่ใู น
หอพระสูง ซึ่งเป็นเนินดินสูงบริเวณด้านทิศใต้ของโรงเรียน
เบญจมราชทู ศิ สนามหนา้ เมอื งนครศรธี รรมราช เปน็ พระพทุ ธรปู
ปางมารวชิ ยั ขนาดหนา้ ตกั กวา้ งประมาณ ๕ ศอก สงู ๘ ศอก
เชอื่ วา่ สรา้ งในสมยั เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ประมาณปี พ.ศ.๒๓๗๗
โดยช่างฝีมือพื้นเมืองนครฯประสมด้วยฝีมือช่างอยุธยา
มคี วามเช่ือวา่ พระสูงเป็นพระพทุ ธรปู ศกั ดสิ์ ิทธ์ิและเปน็ ทพี่ งึ่
ทางใจของผคู้ น โดยเฉพาะอย่างย่ิง “ชาวเบญจมราชูทศิ ” ที่
มกั เรียกตวั เองว่าเป็น “ลกู พระสูง” อกี ชื่อหนง่ึ

22 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศษิ ยเกา เบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

สำาหรับเนินดินสูงซ่ึงเป็นท่ีต้ังหอพระสูงนั้น มีข้อมูลทางประวัติศาสตร์ว่าสมัยสงครามเก้าทัพ ในสมัยรัชกาลที่ ๑
เมอ่ื กองทพั พม่าบกุ เข้ามาตเี มืองนครศรีธรรมราช เกิดการสู้รบจนทหารท้ังสองฝา่ ยลม้ ตายเป็นจาำ นวนมากตรงบริเวณเนินดนิ ด้าน
ทศิ เหนอื สนามหนา้ เมืองซง่ึ เปน็ ฐานทตี่ ้ังปนื ใหญข่ องเมอื งนครศรีธรรมราช จนเรียกเนนิ ดินบรเิ วณน้นั ว่า “เนนิ เลือด” และปล่อย
ใหเ้ ปน็ ทรี่ กร้างวา่ งเปล่ามานานจนกลายเปน็ ท่ีหวาดกลัววา่ เปน็ ท่ี “ผีแรง” จนถึงสมัยเจ้าพระยานคร (น้อย) จึงไดส้ รา้ งหอพระขึ้น
บนเนนิ ดนิ สงู เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ทชี่ อื่ วา่ “พระสงู ” ดงั กลา่ วขา้ งตน้ นน้ั (เมอ่ื โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ยา้ ยจากสนามหนา้ เมอื ง
ไปตงั้ ทบี่ า้ นไสเจรญิ ไดจ้ ดั สรา้ งพระสงู องคจ์ าำ ลองมาประดษิ ฐานเปน็ สริ มิ งคลและเปน็ ทพี่ ง่ึ ทางใจบนเนนิ ดนิ ในบรเิ วณโรงเรยี น เมอื่ ปี ๒๕๕๐)

มงคลท่ี ๕

“มงกฎุ หา้ ” เปน็ ตราสญั ลกั ษณข์ องโรงเรยี นเบญจม
ราชทู ศิ โดยมเี ลข ๕ อยภู่ ายใตม้ งกฎุ สอ่ื ความหมาย ใหเ้ หน็ วา่
“มงกฏุ ” หมายถงึ สง่ิ ทเ่ี ปน็ มงคลสงู สดุ สว่ นเลข “๕” หมายถงึ
โรงเรยี นทต่ี งั้ ข้นึ ตามพระราชประสงคข์ องรชั กาลท่ี ๕

“ธงขาว-แดง” เป็นธงสีประจำาโรงเรียน สีขาว
หมายถงึ คณุ ธรรมและความดงี ามท้ังปวง ส่วน สแี ดง หมาย
ถงึ ความอดทน มงุ่ มั่น เข้มแขง็ กลา้ หาญ ซง่ึ เปน็ คณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงคข์ องศษิ ยเ์ บญจมราชทู ศิ ทกุ คนทเ่ี รยี กตวั เองวา่
“ลกู ขาวแดง”

มงกุฎหา้ และธงขาว-แดง

แตล่ ะสถาบนั ย่อมมีสง่ิ ทีเ่ ปน็ สัญลักษณเ์ ป็นเคร่ืองยดึ เหนยี่ วผูกพัน
เพอ่ื แสดงความเป็นอนั หนึง่ อันเดยี วกนั ส�าหรบั ลกู “เบญจมราชทู ศิ ” มี “เบญจมงคล”

เปน็ สัญลักษณเ์ ปน็ มิ่งขวญั และมงิ่ มงคลดงั กล่าวถงึ แลว้ น้ัน...

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 23

ทําเนียบศิษยเกาเบญจมราชูทิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

เพลงโรงเรียนเรา

มงกุฎห้า

(ทำานอง - นพพร ด่านสกุล คาำ ร้อง - รำาภา รัตนนาคินทร์/นพพร ด่านสกุล)

เบญจมราชูทศิ แหลง่ ประสิทธปิ์ ระสาทวชิ า
ทีเ่ รารักเราศรัทธา เราทว่ั หนา้ ภาคภูมใิ จ
เกยี รตปิ ระวัติมากมายขยายไป
ผ่านเวลากวา่ ศตวรรษ ฝากช่ือไวโ้ ลกลือขานนาม
แผล่ ว่ งพ้นเขตหลา้ ฟา้ ไทย เด่นประจักษ์ลำา้ เลอค่าเกนิ พรรณนา
อยเู่ หนือส่งิ ใด
มงกฎุ หา้ เป็นสัญลักษณ์ จักสถิตติดตรงึ ฤทยั
ท่พี วกเราเชดิ บชู าไว้ เทดิ ทนู ไว้จนนริ นั ดร์

เบญจมราชูทศิ
แหลง่ ประสานแหล่งธารนาำ้ ใจ

มารช์ ขาวแดง

(คำาร้อง - ทำานอง นพพร ดา่ นสกลุ )

ขาวแดงของเราถ่ินเราเฟ่ืองฟู ธงขาวแดงชูเป็นทวิ โบกปลวิ ไสว
เป็นศรสี งา่ นา่ ภาคภมู ใิ จ ก้องเกียรตเิ กริกไกรหนง่ึ ในเมืองนคร
ไมย่ อมคุกเข่าหนกั เบาเราไมห่ วั่น
เรารว่ มใจกนั ฝา่ ฟันเพ่อื เกียรตแิ หง่ เรา พวกเรายึดม่ันไม่หว่ันไหว
รกั เกยี รติยศปรากฏทั่วกัน ฮดึ สู้สดุ ใจจนตายดิ้น
ทุกศาสนาทไี่ รร้ าคนิ
ใครมารานรุกรานร้าวชาวไทย ความทุกข์หา่ งสน้ิ จากถน่ิ ของเรา
เราบูชาพระศาสดา ผู้ครองรัฐประเทศเขตไทย
พวกเราพรอ้ มใจอยใู่ ต้พระบารมี
บริสทุ ธก์ิ เิ ลสโบยบนิ ธงขาวแดงชูเปน็ ทวิ โบกปลิวไสว
เคารพเชิดชูพระมหากษัตรยิ ์ กอ้ งเกยี รติเกริกไกรหน่งึ ในเมอื งนคร

เป็นจอมทพั จอมใจชาวไทย
ขาวแดงของเราถนิ่ เราเฟื่องฟู

เป็นศรีสง่าน่าภาคภมู ใิ จ

24 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนยี บศิษยเ กา เบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ยกทัพเบญจมฯ

(สรอ้ ย) เทวา เทตุม ตมุ ตุ่ม ตุม สงครามเดก็ ๆทงั้ เล็กใหญ่
ยกทัพเบญจมฯ ลงสนาม หมายใจจะฝึกและอบรม (สรอ้ ย)
ลกู ศิษย์เบญจมฯเหลา่ ผสม
จดั เป็นกฬี ามาชงิ ชัย หมายชมฝมี ือใหล้ ือชา (สร้อย)
ตา่ งคนตา่ งดตี ่างมีฤทธ์ิ ตอ่ ตีตดิ ตามดว้ ยแขง้ ขา
ต่างดีตา่ งกลา้ มาพบกนั (สร้อย)
ขาว - แดง แหง่ เราเขานยิ ม ตา่ งคนตา่ งฟิตมาแข่งขัน
เอารุกเรง่ รุกเข้าคลกุ คลี โรมรนั ใหก้ ล้ิงท้ังหญงิ ชาย (สรอ้ ย)
ขอให้พินาศมลายหาย
ชงิ ชยั ให้ดีเชิงกฬี า นอนหงาย นอนตะแคง ทกุ แห่งเอย (สร้อย)
นกั กีฬาขาวแดงลว้ นแรงฤทธิ์

กองเชยี ร์นักกฬี ามาประชนั
ถา้ แม้นมีศัตรคู ่อู าฆาต

วิ่งล้ม เดนิ ล้ม ปากจมทราย

เสยี งเชยี รด์ ังกราว เสียงเชียร์ดงั กราว
หวงั จะไดช้ ัยมา
ดู ดู ซิ ขาวแดงเรอื งรอง ลูกขาว – แดง มาแข่งกฬี า
ทกุ คนชงิ ชยั ไม่ยอมประมาท เร็ว เรว็ เถิดหนา ๆ อย่าช้าไย
งามผุดผ่องโสภากระไร
ดสู ิชา่ งฉลาด แต่งตวั สมาร์ทเข้ามาชงิ ชยั

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๕

ทาํ เนียบศษิ ยเ กาเบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

สมาคมศิษยเ์ กา่

เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช

ศุภฤกษ์ ณ พทั ลงุ
“สมาคมศิษย์เก่าเบญจมราชูทิศนครศรีธรรมราช” เป็นองค์กรหลักในการประสานความร่วมมือระหว่างศิษย์เก่า
โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ทกุ รนุ่ รวมถงึ การประสานความรว่ มมอื กบั โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ เพอ่ื รว่ มกนั สง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
ของโรงเรยี น และสร้างสรรคค์ วามสามัคคี อนเุ คราะหก์ ันและกันในมวลหม่ศู ษิ ยเ์ ก่าดว้ ยกัน
เมอ่ื เรม่ิ ตน้ นน้ั ใชช้ อ่ื “สมาคมนกั เรยี นเกา่ ศรธี รรมราช” ตอ่ มาในสมยั อาจารยโ์ อบ ปกั ปน่ิ เพชร เปน็ ครใู หญ่ (๑ เมษายน
๒๔๙๑) ไดเ้ ปลีย่ นชื่อเป็น “สมาคมศษิ ยเ์ กา่ เบญจมราชทู ิศ” และจดทะเบยี นสมาคมครั้งแรก เมอ่ื ๒๐ ธันวาคม ๒๔๙๘ จนถงึ
๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ไดเ้ ปลยี่ นแปลงขอ้ บงั คบั และเปลย่ี นชอ่ื เปน็ “สมาคมศษิ ยเ์ กา่ เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช” ใชอ้ กั ษรยอ่ วา่
“ส.บ.ม.” จนถงึ ปัจจุบัน
ที่ทาำ การสมาคมฯ เดิมนั้นเปน็ อาคารคร่ึงตึกครึง่ ไมส้ องชนั้ ซึง่ ตง้ั อย่ใู นบรเิ วณโรงเรยี นเบญจมราชูทิศ สนามหนา้ เมือง
ต่อมาเมื่อโรงเรยี นย้ายมาตัง้ ทบี่ ้านไสเจริญ ทท่ี ำาการสมาคมฯ ก็ย้ายตามมาใช้อาคารอเนกประสงคภ์ ายในโรงเรยี นอยู่ระยะหน่งึ
จนถงึ ปี ๒๕๔๖ คณะศษิ ยเ์ กา่ ไดร้ วมพลงั จดั หาทนุ ทรพั ยจ์ ดั สรา้ ง “อาคารหอเกยี รตยิ ศ” ขน้ึ เพอื่ เปน็ ทที่ าำ การสมาคมฯจนถงึ ปจั จบุ นั
“อาคารหอเกียรติยศ” นอกจากใช้เป็นที่ทำาการของสมาคมศิษย์เก่าฯ แล้วยังเป็นท่ีทำาการของสมาคมผู้ปกครองและ
ครูโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ท่ีทำาการชมรมครูเก่าโรงเรียนเบญจมราชูทิศ และท่ีทำาการเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียนเบญจมราชูทิศ
ไปพรอ้ มกนั มหี อ้ งประชมุ ใหญข่ นาด ๕๐ ทน่ี งั่ หอ้ งประชมุ เลก็ ขนาด ๒๕ ทนี่ ง่ั โดยพนื้ ทชี่ นั้ สอง ไดจ้ ดั เปน็ หอ้ งเกยี รตยิ ศ หอ้ งพพิ ธิ ภณั ฑ์
แสดงนิทรรศการเร่อื งราวของโรงเรยี นและสง่ิ ที่เก่ียวข้องตัง้ แตอ่ ดีตถึงปัจจบุ ัน
พวกเรา ศษิ ย์เกา่ เบญจมราชทู ิศ ร่นุ ๗๕ (เบญจมฯ ๑๕๑๗) ไดม้ สี ว่ นร่วมและสนับสนนุ กิจกรรมของสมาคมศิษย์เกา่
อยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดมา และมสี ่วนร่วมเปน็ พเิ ศษในหว้ งปี ๒๕๕๙-๒๕๖๑ ทต่ี วั แทนรนุ่ ๗๕ คือ นายธวชั ผลความดี ได้รับเลอื กตัง้
ใหท้ ำาหนา้ ทนี่ ายกสมาคมศิษยเ์ ก่าเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช

ขอบคณุ ศษิ ยเ์ ก่าเบญจมราชทู ศิ ทกุ ร่นุ ทต่ี า่ งร่วมดว้ ยชว่ ยกันสนับสนนุ กจิ กรรมของสมาคมศิษยเ์ ก่าของเรา
จนเข้มแข็งต่อเน่ืองมาจนถงึ วันน.ี้ ..

26 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศิษยเ กา เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

เบญจมฯ สอนใหเ้ ราสำานึก!

รตั นธาดา แก้วพรหม

เบญจมฯ สอนใหเ้ ราสำานกึ เปลอ้ื งปลดความรู้สกึ ทรี่ ้ายช่วั
เป็นนักคิดนักสทู้ ี่รตู้ ัว ไม่หลงทางมดื มัวใหช้ ่วั ครอง
บชู าคุณความดีทถ่ี ูกตอ้ ง
เบญจมฯ สอนใหร้ กั ในศักดศิ์ รี ใหย้ กยอ่ งกตัญญรู คู้ ุณคน
มิใช่หลงตำาแหนง่ แรงเงนิ ทอง ร้หู น้าทีม่ ีวินัยไม่สับสน
ใชว่ กวนสามหาวจนรา้ วรอน
เบญจมฯ สอนให้อสิ ระและเสรี ผทู้ ุกขท์ นดว้ ยพษิ ภัยไม่หยุดหย่อน
รู้ทีต่ ำ่าทสี่ ูงจูงใจตน มไิ ด้สอนให้รับใช้นายทนุ ใด
จงรกั องค์ภูมินทรผ์ เู้ ป็นใหญ่
เบญจมฯ สอนให้รกั ประชาชน ศูนย์รวมใจรวมชาติรวมศรัทธา
สอนให้เป็นขา้ ทาสของราษฎร สาำ เหนยี กความรู้สกึ ราำ ลกึ วา่ ...
ด้วยรคู้ า่ รู้ตอบแทนคุณแผน่ ดนิ
เบญจมฯ สอนใหภ้ กั ดใี นแผ่นดิน
ให้รักชาติศาสน์กษตั รยิ ร์ ม่ ฉัตรไทย

เบญจมฯ สอนให้เราสำานึก
ลูกขาว-แดง เกรียงไกรแตไ่ รมา

รัตนธาดา แกว้ พรหม
สาำ นักกวนี ้อยเมืองนคร
๒๕ มกราคม ๒๕๕๕

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๗



๒ ครขู องเร�

“กราบคณุ คร.ู .ด้วยรู้ค่าวา่ ควรกราบ
ศษิ ยซ์ ึ้งซาบคุณความดีท่ยี ่งิ ใหญ่
สอนให้รู้ ให้เปน็ ธรรมและเป็นไทย
กราบดว้ ยใจศรทั ธา..จารึกคณุ ”

ทาํ เนียบศิษยเ กาเบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

กราบอาจารย์สวัสดี ณ พทั ลุง

ตน้ แบบความเป็นครอู ยคู่ รบถ้วน

บญุ เสรมิ แกว้ พรหม

เมอ่ื ผมเขา้ เรียนช้นั ม.ศ.๑ ทีโ่ รงเรียนเบญจมราชทู ศิ ยคุ สนามหนา้ เมือง ในปี ๒๕๑๓ นน้ั มี อาจารย์สวัสดี ณ พทั ลุง
เป็นอาจารย์ใหญ่

ชายสงู อายุ ร่างใหญ่ เคร่งขรึม สงบสงา่ ในทา่ ที มีไม้เทา้ อยคู่ ูก่ าย ดวงตาคมเข้มท่ที ำาให้น่ากริง่ เกรง แต่ซอ่ นซกุ แววตา
แห่งความเมตตาและอ่อนโยนอยู่ภายใน คือภาพของอาจารย์สวัสดี ณ พัทลุง ท่ีประทับอยู่ในความทรงจำาของผมตั้งแต่บัดนั้น
จนถงึ บัดน้.ี ..

นอกเหนือจากบุคลิกของผู้ทรงภูมิแห่งความเป็นครู คือ ภูมิรัก ภูมิรู้ ภูมิธรรมและภูมิฐานโดยครบถ้วนแล้ว อาจารย์
สวสั ดี ณ พทั ลงุ ยงั เปน็ นกั คดิ นกั เขยี นนกั กลอนทผ่ี มแอบตดิ ตาม โดยเฉพาะบทกลอนทถี่ า่ ยทอดหวั ใจและ จติ วญิ ญาณแหง่ ความเปน็ ครู
ใหท้ กุ คนไดซ้ มึ ซบั รบั รู้ อยา่ งเชน่

“ไมเ้ รียว”

ฉันเฆย่ี นศิษย์ใชค่ ดิ ว่าจะฆ่าศษิ ย์ เฆ่ียนด้วยจติ คดิ จะสร้างทางสุขสันติ์
ฉนั เฆ่ยี นตวั ชง่ึ ชว่ั ชาตใิ ห้ขาดพนั ธุ์ เพราะรวมกนั บั่นทอนศษิ ย์ทงั้ จิตกาย
เธอยังเล็กไม่รคู้ ่าราคาหวาย
เกลยี ดฉนั กอ่ นตอนเธอคร้ังยังเปน็ เดก็ เมอื่ ครูตายแตศ่ ษิ ย์ตอ่ พ่อแมค่ น
แลว้ ค่อยรกั รูจ้ กั ค่าวา่ มากมาย เฆ่ียนดว้ ยจิตคิดจะสรา้ งทางกุศล
อยทู่ ผ่ี ลตนกระทำากรรมชว่ั ดี
ฉันเฆย่ี นศิษยใ์ ชม่ ุ่งหมายทำาลายศษิ ย์ เพอื่ ทนู เทิดน้ำาใจรักสูงศกั ดศ์ิ รี
เกิดเปน็ คนรจู้ ักค่าราคาคน ย่อมอยู่ทผ่ี ลสมั ฤทธม์ิ ศี ิษยง์ าม

หวังเหน็ ศิษย์ไดก้ ระทาำ แต่กรรมเลศิ
เกดิ เป็นครูฉนั รูค้ ่าราคามี

สวสั ดี ณ พัทลุง
อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ

(สาำ นวน “ไมเ้ รยี ว” นี้ ลงพมิ พใ์ นหนงั สอื อนสุ รณ์ “เบญจมราชทู ศิ ๒๕๑๓” ผมเคยนาำ เผยแพรใ่ นเฟซบคุ๊ “บญุ เสรมิ แกว้ พรหม”
เมื่อชว่ งปี ๒๕๕๗ ปรากฏวา่ เป็นบทกลอนท่ไี ดร้ ับความสนใจอย่างมากทีเดยี ว มีคนแบง่ ปนั สง่ ตอ่ ไปนบั พนั ครั้ง)

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 3๑

ทาํ เนียบศิษยเกา เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

“ความรกั ความพอใจ
ซึง่ เปน็ ผลทไี่ ดจ้ ากการปลอ่ ยปละละเลย
ให้ศษิ ย์ฝ่าฝืนระเบียบวินัยและเสื่อมจรรยามารยาทน้ัน
หาใช่เปน็ ความดีท่แี ท้จริงและย่ังยนื ไม่

ฉะนนั้
ฉนั จะทนรับความรังเกียจเกลียดชงั ในขณะนี้
เพอ่ื ความรัก ความเคารพและความสำานกึ ตนในอนาคต

แมว้ ่าจะไกลแสนไกล
และฉนั จะไม่มีโอกาสได้รับในขณะท่ียงั มีชวี ติ อย”ู่

สวัสดี ณ พัทลงุ
อาจารย์ใหญ่โรงเรียนเบญจมราชทู ศิ
(สาำ นวนนลี้ งพมิ พ์ในหนังสอื อนุสรณ์ “เบญจมราชทู ิศ ๒๕๑๔”)

“นาำ้ มือใคร”

ฟาดไมเ้ รยี วเขวยี วขวบั นบั ไมถ่ ว้ น เห็นสมควรแกศ่ ิษยช์ นิดไหน
ความประสงคล์ งโทษเพราะโกรธใคร แลว้ ผู้ใดเจบ็ ชา้ำ ดว้ ยนำ้ามอื
จะอดทนดใู จไหวละหรือ
ยงุ ดูดเลือดทอ้ งกางย้อยทางก้น ท่ีแทค้ อื ดับเดอื ดด้วยเลอื ดใคร
ใชม้ ือตบยงุ ยบั ลงกบั มอื

สวัสดี ณ พัทลุง
อาจารยใ์ หญ่โรงเรยี นเบญจมราชูทศิ
(สาำ นวน “นำา้ มอื ใคร” น้ลี งพมิ พ์ในหนังสอื อนุสรณ์ “เบญจมราชูทศิ ๒๕๑๕”
เป็นสาำ นวนทค่ี นรุ่นนั้นท้ังศิษย์เก่าเบญจมฯและศิษยเ์ กา่ โรงเรยี นอื่นถามหาถามถึงอยู่เสมอ...)

32 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศิษยเกาเบญจมราชทู ิศ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

“แกศ่ ษิ ยจ์ ากดวงใจ”
หนอ่ ไผ่ผุดพน้ พน้ื ดิน เพราะกนิ ปุย๋ จากรากแม่
ลำาล่วิ เลยลน้ ต้นแก่ งอกแง่แผก่ ิง่ ยิ่งดี
ครูพร่ำารำา่ วอนสอนศษิ ย์ เพราะคดิ และรกั ศกั ดิ์ศรี
ศษิ ย์สูงสบสรรพ์พนั ทวี ครมู แี ตส่ ขุ สมใจ
การกอ่ หนทางสร้างศษิ ย์ อาจผิดอาจถูกตามวสิ ัย
ครทู าำ จาำ นงอนั ใด เพ่อื ใคร ขอศิษยค์ ิดดู

สวัสดี ณ พัทลงุ
อาจารยใ์ หญ่โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ
(สาำ นวน “แก่ศษิ ย์จากดวงใจ” ลงพมิ พ์ในหนงั สอื อนุสรณ์ “เบญจมราชทู ิศ ๒๕๑๖”)

“ใคร?”

ใครเกิดมาส่หู ลา้ นห้ี น่ึงชวี ติ ? ใครครนุ่ คิดชีวติ นมี้ ลี าภผล?
ใครมกี รรมแนห่ รืออย่เู ปน็ ครคู น? ใครยากจนใครทนทกุ ขใ์ ครสุขใจ?
ใครรอ้ นเรา่ สำานึกสทิ ธ์ิในนิสยั ?
ใครหวังดีที่ลิขติ ชีวติ เจ้า? ใครเล่าใครไหนเลา่ สรา้ งหนทางทอง?
ใครคร่นุ คดิ ปดิ วิบัตกิ ำาจดั ภยั ? ใครทาำ เพ่ือเผอื่ เมตตาพาโศกสอง?
ใครแนต่ อ้ งน้าำ ตาตกเตม็ อกตน?
ใครโกรธเกรย้ี วไมเ้ รยี วฟาดบาดบม่ เน้อื ? ใครแน่วนักนกึ รักหนา้ ถาวรผล?
ใครอาฆาตใครขุ่นชำา้ น้าำ ตานอง? ใครป้ีป่นจนดับจิตท้ังศิษย์คร?ู

ใครเลา่ ยิ้มพริม้ เมอื่ ศิษยค์ ิดหยามศกั ด์?ิ
ใครจา่ ยรักผลกั ศิษย์พลา่ นเพื่อพาลชน?

สวัสดี ณ พทั ลุง
อาจารย์ใหญ่โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ
(สาำ นวน “ใคร?” ลงพมิ พ์ในหนงั สืออนสุ รณ์ “เบญจมราชูทิศ ๒๕๑๒”)

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 33

ทาํ เนียบศิษยเ กา เบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

วิทยาศาสตร์หากขาดศลิ ปะ พอดี
คนมแี ตก่ ายเป็นตน
ย่อมจะวปิ ริตผดิ ผล
ทกุ สิ่งอาศยั วิทยาศาสตร์ ขาดจติ เป็นคนฉนั ใด
หากขาดปรัชญาครองใจ โลกธาตกุ า้ วหน้าทนั สมัย
ถงึ การณป์ ระลยั แหลกลาญ
แสงแดดใหพ้ ฤกษชาติ สามารถงอกงามทุกสถาน
แตกดอกออกผลตระการ ทำาใหช้ น่ื บานมากมี
ฝนแล้งใบลดหมดสี
แดดมากต้นไมเ้ หี่ยวแหง้ โลกนี้จึงชื่นยนื ยง
ทุกอย่างคือความพอดี

สวัสดี ณ พัทลงุ
อาจารย์ใหญโ่ รงเรยี นเบญจมราชทู ิศ
(สำานวนน้จี ากหนงั สอื สจู ิบตั รนิทรรศการวิทยาศาสตร์ โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ๒๒-๒๓ ตุลาคม ๒๕๑๕)

นอกเหนอื จากบทกลอนขา้ งต้น ในห้วงเวลาน้ัน (๒๕๑๓-๒๕๑๖) ผมยงั เปน็ แฟนประจาำ ของคอลัมน์ “ตีตนเอง” ในสาร
นครศรธี รรมราช วารสารของรายเดือนจงั หวัดนครศรธี รรมราช ท่ีอาจารยส์ วัสดี ณ พทั ลุง ทาำ หน้าทเี่ ขียนบทความ โดยหยิบยก
เอาข้อบกพร่องในการพิมพ์ของสารนครศรีธรรมราชฉบับก่อนหน้า นำามาตรวจสอบ วิเคราะห์ทบทวนและให้ความรู้แก่ผู้อ่านว่า
ผดิ พลาดทางอักขรวธิ ีและใจความอยา่ งไร และควรแก้ไขใหถ้ ูกตอ้ งอยา่ งไรบา้ ง

ซึง่ นอกจะไดค้ วามรทู้ างดา้ นภาษาอยา่ งเตม็ อม่ิ แลว้ ผมยงั ไดเ้ หน็ วธิ คี ดิ ในการตรวจสอบ ทบทวน แกไ้ ขตนเอง ในลกั ษณะ
“ตีตนเอง” (ซ่งึ คนในสังคมท่ัวไปมกั ละเลย เพราะสนใจแตจ่ ะ “ตีคนอื่น” เสียมากกวา่ ) นับวา่ เป็นวถิ แี หง่ “คร”ู โดยแท้

ในช่วงท่ผี มเรยี นชน้ั มธั ยมต้นที่เบญจมราชทู ศิ ๓ ปีนน้ั อาจารย์สวัสดี ณ พทั ลุง ไมไ่ ดส้ อนวชิ าการในหอ้ งเรียน แตผ่ มได้
เรียนร้ถู ึงแบบวิถีและคณุ ลกั ษณะความเป็นครูของท่านจากการท่ี “ทำาให้ดู อยู่ให้เหน็ ” อยูต่ ลอดเวลา

ดังนั้นทุกคร้ังท่ีคิดคำานึงถึง “ต้นแบบแห่งความเป็นครูท่ีสมบูรณ์” แล้ว จะปรากฏภาพของอาจารย์สวัสดี ณ พัทลุง
ลอยเขา้ มาใหเ้ หน็ พร้อมกบั ครอู าจารย์ทา่ นอื่นๆทีเ่ ป็นต้นแบบของผมอยู่เสมอ...

เขยี นถึงอาจารย์สวัสดี ณ พทั ลงุ ผู้จากลาสู่สรวงสวรรค์ชั้นกวเี นิ่นนานแล้ว ดว้ ยราำ ลึกถงึ คุณปู การและภาคภูมใิ จยิง่ ทม่ี ี
โอกาสไดเ้ ปน็ ลกู ศิษย์ของอาจารย์ในรม่ รัว้ “เบญจมราชทู ิศ” ครับ

34 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเกา เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ทาำ เนียบผ้บู รหิ าร

โรงเรียนเบญจมราชูทศิ

นบั ตง้ั แต่ก่อต้งั โรงเรยี นสขุ มุ าภิบาลวทิ ยา เมื่อปี ๒๔๔๒ แล้วเปลย่ี นช่อื เป็นโรงเรียนเบญจมราชทู ิศ เม่ือปี ๒๔๖๐ จนถงึ
ปจั จุบนั มผี บู้ รหิ ารโรงเรยี นตงั้ แตต่ าำ แหนง่ ครูใหญ่ อาจารยใ์ หญ่ จนถงึ ผู้อาำ นวยการโรงเรยี น มีผ้บู รหิ ารโรงเรียนตามลาำ ดบั ดังน้ี

๑ นายอยู่ (ขุนสกิ ขกจิ บริหาร) ครูใหญค่ นแรก พ.ศ. ๒๔๔๒, พ.ศ. ๒๔๕๔-๒๔๕๕
๒. นายนาก สงั ขนยิ ม ครใู หญ่ พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๔๖
๓. นายทอง คปุ ตาสา ครใู หญ่ พ.ศ. ๒๔๔๗-๒๔๕๔
๔. นายพรอ้ ย ณ นคร ครูใหญ่ พ.ศ. ๒๔๕๕-๒๔๖๑
๕. นายมี จันทร์เมือง ครใู หญ่ พ.ศ. ๒๔๖๒-๒๔๗๓
๖. นายคลิง้ ขุทรานนท์ รักษาการครูใหญ่ พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๗๔
๗. นายโอบ ปักปิ่นเพชร ครูใหญ-่ อาจารยใ์ หญ่ พ.ศ. ๒๔๗๔-๒๕๐๓
๘. นายสังข์ ทองรมย์ รกั ษาการอาจารย์ใหญ่ พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๐๔
๙. นายบญุ เนนิ หนูบรรจง รักษาการอาจารย์ใหญ่ พ.ศ. ๒๕๐๕
๑๐. นายเพิ่มศกั ด์ิ นนทภักด์ิ รกั ษาการอาจารยใ์ หญ่ พ.ศ. ๒๕๐๖, พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๒๑
๑๑. นายสวัสดี ณ พัทลงุ ผูอ้ ำานวยการ พ.ศ. ๒๕๒๑-๒๕๓๐
๑๒. นายธรรมนญู ธุระเจน อาจารย์ใหญ่ พ.ศ.๒๕๐๗-๒๕๑๗
๑๓. นายศภุ มน เสาหฤทวงศ์ รกั ษาการผู้อาำ นวยการ พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๑
๑๔. นางอรณุ นนทแกว้ ผู้อำานวยการ พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๖
๑๕. นายวิญญู ใจอารยี ์ ผู้อาำ นวยการ พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๔๒
๑๖. ว่าท่ีรอ้ ยตรภี กั ดี ชหู วาน ผอู้ าำ นวยการ พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๙
๑๗. นายณรงค์ ทองขาว ผูอ้ ำานวยการ พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๑
๑๘. นายภักดี เหมทานนท์ ผอู้ าำ นวยการ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๕
ผู้อำานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๕-ปจั จุบัน

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 3๕

ทําเนยี บศิษยเกาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ครูของเรา ๒๕๑๓-๒๕๑๗

ชัยวฒั น์ สีแก้ว
ชีวิตในช่วงวัยเรียนระดับมัธยมศึกษา ระหว่างปีการศึกษา ๒๕๑๓ - ๒๕๑๖ ของพวกเราศิษย์เก่าเบญจมฯ รุ่น ๗๕
ได้ร่ำาเรียน และรับการอบรมสั่งสอนจากครูจำานวนมากมาย แม้ว่าบางท่านได้จากพวกเราไปแล้วอย่างไม่มีวันกลับ แต่ภาพของครู
ที่เคยสอนยงั เปน็ ภาพจำาและยังคงตราตรึงอยใู่ นใจของพวกเราตลอดเวลา ณ เวลานี้จงึ เหน็ วา่ เปน็ โอกาสดีท่จี ะได้รวบรวมชอ่ื และ
ภาพของครทู กุ ทา่ นทเ่ี คยสอนพวกเรามาไว้ ในหนังสือของพวกเราดว้ ย เพื่อเปน็ การราำ ลึกถงึ ครทู กุ ทา่ น ทัง้ อาจารยใ์ หญ่ ผชู้ ว่ ย
อาจารยใ์ หญ่ และครทู สี่ อนวชิ าตา่ งๆ จะเรยี งลาำ ดบั ชอื่ ครตู ามตวั อกั ษร ซงึ่ รายชอ่ื ครทู งั้ หมดนี้ ไดร้ วบรวมจากหนงั สอื อนสุ รณ์ ๔ เลม่
ไดแ้ ก่ หนงั สืออนุสรณ์ เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช ปี ๒๕๑๓ , ๒๕๑๔ , ๒๕๑๕ และ ๒๕๑๖

อาจารย์ใหญ่ และ ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่

อ.สวสั ดี ณ พัทลงุ

อาจารย์ใหญโ่ รงเรียนเบญจมราชูทิศ

อ.ศภุ มน เสาหฤทวงศ์ อ.ประดษิ ฐ์ วงั สะวิบูลย์ อ.เพ่ิมศักดิ์ นนทภักด์ิ อ.บัณฑิต วฒั นประพันธ์

(ผช.อจญ.ฝา่ ยปกครอง ๒๕๑๓) (ผช.อจญ.ฝา่ ยปกครอง ๒๕๑๔) (ผช.อจญ.ฝา่ ยวิชาการ ๒๕๑๓-๒๕๑๔) (ผช.อจญ.ฝา่ ยวิชาการ ๒๕๑๕
สอนวิชาวิทยาศาสตรด์ ว้ ย สอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ด้วย สอนวิชาคณิตศาสตร์ดว้ ย สอนวชิ าคณิตศาสตรด์ ้วย)

36 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนียบศิษยเกาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ครภู าษาไทย

อ.กระจา่ ง เกดิ แกว้ อ.เครือวลั ย์ บญุ จรงิ อ.จรรยา นาคพันธ์ุ อ.ดวงเดือน ไชยจงมี อ.ธญั ญา สัตยมาศ

อ.นภิ า รัตนนาคินทร์ อ.ประกอบ นาควานชิ อ.วิมล เจาะจติ ต์ อ.สุเพ็ญศรี หม่ันภกั ดี อ.เสงย่ี ม โกฏกิ ลุ

อ.อารี ศริ ริ ังษี

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 3๗

ทาํ เนียบศิษยเ กาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ครูสงั คมศึกษา

อ.จรูญ กัณฑสวุ รรณ อ.จวง ตรสี ุข อ.นริ มล สทิ ธพิ ล อ.ราำ ภา รัตนนาคินทร์ อ.ละมุน อัครกลุ

อ.วนดิ า สงวนพงศ์ อ.วชั รนิ ทร์ สุขะกุล อ.สมภพ วรรณสทิ ธ์ิ อ.สพุ ัตรา ศรวี เิ ศษ อ.สุวิทย์ เกดิ แกว้
(เดิม-ภมรานนท)์

อ.อนนั ต์ ชนะณรงค์ อ.อทุ ยั เสือทอง

38 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเกา เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ครคู ณิตศาสตร์

อ.ธรรมนูญ ธุระเจน อ.กาบแกว้ พงษอ์ ดุ ม อ.ทพิ าพร เลศิ พฒั นพงศ์ อ.นรลกั ษณ์ สงิ หโกวนิ ทร์ อ.พิบูล ทีปะปาล

อ.พมิ พจ์ ันทร์ พวงทพิ ย์ อ.ภาสินี ทนิ นาม อ.วนั ทนีย์ ยรรยงดิลก อ.สมบูรณ์ มากจนั ทร์ อ.สมพงศ์ สงวนพงศ์
(เดิม-วงศกร)

อ.สมสขุ โชติปาละกลุ อ.ไสว คงสวัสด์ิ อ.เยาวภา ไชยรตั น์

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 39

ทาํ เนยี บศษิ ยเกา เบญจมราชทู ิศ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

ครภู าษาอังกฤษ

อ.จารุจติ ณ นคร อ.เจริญ มีชยั อ.บลิ ล์ อสี เลอร์ อ.บุญเยมิ้ จนิ ตวงศ์ อ.ปรดี า ชลสทิ ธ์ิ

อ.พัชรินทร์ บณุ ยนยิ ม อ.สวุ นิ ี เกิดแก้ว อ.มยรุ ี แสวงธรรม อ.เมษา บลิ มาศ อ.รจุ ิรา เพชรชู

อ.ละมา้ ย บางโชคดี อ.วัชรนิ ทร์ ขอจติ ตเ์ มตต์ อ.วาสนา ถังมณี อ.วลิ เลยี ม โซฟ อ. ส่งศรี ทองปาน
(เดิม-ฟงุ้ กศุ ลมงคล)

40 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศิษยเกาเบญจมราชูทิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

อ.สถิตย์ ไชยรัตน์ อ.สำาราญ อวยผล อ.อรณุ นนทแก้ว
(เดมิ -มณีสะอาด)

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 4๑

ทําเนยี บศษิ ยเกา เบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

ครูวทิ ยาศาสตร์

อ.กะดังงา รกั ษ์ศรีทอง อ.แข นนทแก้ว อ.นงลกั ษณ์ อาญาสทิ ธิ์ อ.นุชนาฎ สุธรี วฒุ ิ อ.เบญจา พวงสุวรรณ์

อ.สมโภค สุขอนันต์ อ.สากล พรหมอักษร อ. โสภณ บุญสทิ ธิ์ อ.อดิศักดิ์ วิชาชู อ.อภชิ ยั สิทธิพล

อ.อุเชนทร์ แกว้ กับเพชร อ.เอาชัย บางโชคดี อ.เออ้ื น โสภาพงศ์

42 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ครพู ลานามยั

อ.คลอ้ ย ศรีพร อ.ดนยั เอกชน อ.ธีระ สงิ หโอภาส อ.ทวีป ขาวสนิท อ.สัญญา ผลเกล้ยี ง

อ.วุฒิ สมมาตร อ.หวง พรหมมินทร์

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 43

ทาํ เนียบศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ิศ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

ครศู ลิ ปศึกษา

อ.นะมา โสภาพงศ์ อ.นพพร ดา่ นสกุล อ.บปุ ผา คชพลายกุ ต์ อ.เปล่งศรี เพชรประเสริฐ อ.พยนต์ พละศกึ
อ.เพญ็ รตั น์ แกว้ กับเพชร

(เดมิ -โชติรตั น)์

44 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเกาเบญจมราชทู ิศ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

ครูศลิ ปปฏบิ ตั ิ

อ.กฤษณา แพรกทอง อ.โกเมน จนั ทรศิริ อ.จาำ เนียร คนั ธกิ อ.ดวงแข หสั วาที อ.ตระกล กำาลังเกอ้ื
(เดมิ -ภสั ระ)

อ.ตุลา ยุทธชยั อ.ปลื้ม บุญเรือง อ.มนตรี ไกรพลรกั ษ์ อ.มนญู ดุษฏังค์ อ.รุ่ง แสงศรี

อ.วริ ัช สุคนธปฏภิ าค อ.อาำ นวย กัณหผลา อ.อำานาจ เตม็ สงสัย อ.อาำ ไพ บรุ ินทรชาติ

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 4๕

ทําเนยี บศิษยเ กา เบญจมราชูทิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ครูแนะแนว

อ.จุฑามาศ เตม็ สงสยั อ.นกิ ร แสงจันทร์ อ.ประยรู เทพพิทกั ษ์
(เดิม-ครฑุ ามาศ)

ครบู รรณารกั ษ์

อ.สะอิง้ นาควานชิ

46 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเ กา เบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ปรชั ญาของครูประกอบ

รัตนธาดา แกว้ พรหม

๑. ครฉู นั ชือ่ “ครปู ระกอบ”ช่างชอบสอน ชอบทอ่ งกลอนใหฟ้ ังเหมอื นดงั ว่า
ชอบหวั เราะ หึ หึ หึ ทุกครง้ั ครา ชอบน่มิ นิม่ ย้มิ บนหน้าอารมณ์ดี
หรอื เจาะจงทาำ สง่ิ ผดิ อยา่ คดิ หนี
แต่หากใครไมท่ ำาการบา้ นส่ง แต่ทกุ คนในห้องนน้ี รี่ บั กรรม
ผดิ คนเดยี วไมเ่ กีย่ วใครทไี่ หนมี รู้สกึ หมองหมน่ ใจ..ไยครยู ำ่า
ครกู ็ยงั ลว่ งล้ำาทาำ เช่นเดิม
ผดิ คนเดยี วครูลงโทษไปทัง้ หอ้ ง หากใครติดขดั ขอ้ งต้องชว่ ยเสรมิ
ฉนั ประทว้ งเพราะเหน็ ไม่เปน็ ธรรม ภาระเพ่มิ ตอ้ งดูแลกนั และกัน
กลัวจะตดิ โทษถึงเพอ่ื น-ถูกเพอ่ื นหยัน
เราจึงตอ้ งแก้ไข..หา้ มใครผดิ คราวครัง้ นั้นตา่ งคับแคน้ แนน่ ทรวงใน
การบา้ นใครไมค่ ลอ่ งต้องชว่ ยเตมิ

ฉนั กต็ อ้ งระวงั ไม่พลง้ั ผิด
สง่ิ ท่คี รูกาำ หนดช่างกดดัน

๒. วันเวลาผ่านเลยแลว้ ลุล่วง ทีแ่ น่นทรวงมาคิดหวนทบทวนใหม่
ปรัชญาครูท่ฉี ันเขลาไม่เขา้ ใจ “...มีหรอื ใครไหนจะอย่เู พียงผ้เู ดยี ว...”

รตั นธาดา แก้วพรหม
สาำ นักกวีน้อยเมืองนคร
๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๖

(มโี อกาสนง่ั คดิ ถงึ “ครทู เ่ี คยสอน” สมยั เรยี นชนั้ ประถม-มธั ยม หลายๆ ทา่ นเหลา่ นนั้ มกี ลวธิ ใี นการสอนทหี่ ลากหลาย
ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม “ครปู ระกอบ” เป็นอีกท่านหน่ึงที่คดิ ถงึ และตรงึ ตราในวิธีลงโทษพวกเราในคร้งั นน้ั ผิดคนเดยี วแต่ลงโทษ
ทงั้ หอ้ ง... ทาำ ใหเ้ ราทกุ คนตอ้ งชว่ ยกนั ดแู ล ระมดั ระวงั ไมใ่ หใ้ ครผดิ เพราะใครผดิ คนหนง่ึ ทเี่ หลอื กไ็ มพ่ น้ ผดิ ตอ้ งถกู ลงโทษดว้ ย จาำ ไดว้ า่
ในคร้ังนั้น ไม่พอใจ โกรธมากมาย ...แตว่ ันนี้ พบเหน็ อะไรบางอยา่ งทมี่ คี ุณค่าย่ิงใหญซ่ ุกซ่อนอยู่ในนน้ั ...)

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 4๗


Click to View FlipBook Version