The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

AW ทำเนียบ Benjamarachutit School (BM)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Doungruthai Sae-Tang, 2019-12-10 23:00:44

AW ทำเนียบ Benjamarachutit School (BM)

AW ทำเนียบ Benjamarachutit School (BM)

ทําเนยี บศษิ ยเกา เบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

สำาหรับการกินเนื้อสตั ว์ของคนไทยน้ัน คนไทยเรากนิ เนอื้ สตั ว์ มปี ริมาณการกนิ ต่อคนตอ่ ปคี ดิ เป็นนา้ำ หนกั กิโลกรมั ตาม
ลำาดับดังน้ี เนอื้ ไก่ ๒๗.๐๐ กก. เนอื้ หมู ๒๔.๔๗ กก. เนอ้ื ววั ๒.๙๔ กก. โดยกนิ นมเฉล่ีย ๑๗.๓๖ ลิตรต่อปี โดยมตี น้ ทุนในการผลิต
เนอ้ื สัตวต์ ่อกโิ ลกรัม ตามลำาดบั เนือ้ วัว ๙๒.๐๐ บาท เนอื้ หมู ๖๑.๒๔ บาท เนอื้ ไก่ ๓๓.๕๓ บาท นำ้านมวัว ๑๔.๐๓ บาท ราคา
ขาย ก็ขนึ้ กับต้นทนุ การผลิต จะเห็นไดว้ า่ เน้อื ไก่ต้นทุนถูกท่สี ดุ ราคาขายก็ถกู ทสี่ ุด การกินกม็ ากที่สดุ ด้วย ตา่ งกบั ตอนพวกเรายงั
เปน็ เด็กนะ เนอื้ ไกแ่ พงสุด รองลงมาเป็นเน้อื หมแู ละเนือ้ วัว

มาดูเนอื้ ไก่ในบ้านเรานะครับ เราเล้ียงไก่ ๑,๖๗๓,๐๐๐ พนั ตัน ไดเ้ นอื้ ไก่ ๒,๖๗๗ พนั ตัน แตล่ ะสัปดาหต์ ้องมลี ูกไก่ออก
จากโรงฟัก ๓๒-๓๓ ลา้ นตวั มฟี าร์มเลยี้ ง ๓๒,๐๐๑ ฟาร์ม ซึ่งได้รบั การรับรองเป็นฟารม์ มาตรฐานของกรมปศสุ ัตว์ ๖,๖๔๑ ฟารม์
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๗๕ แต่ล้ยี งไก่ ๘๕% ของไก่ทัง้ หมด มโี รงเชือดไกเ่ พ่อื การส่งออกขนาดใหญ่ ๒๗ โรง ซ่ึงเชอื ดไก่ ๘๕ % ของ
ปรมิ าณไก่ทัง้ หมด อีก ๑๕ % เชอื ดในโรงเชือดเล็กๆ ทวั่ ๆ ไป ซึง่ มีมากมาย อยา่ งไรกต็ ามไก่ทเ่ี ชือดจากโรงเชอื ดเพอื่ การส่งออก
๘๕% ขา้ งตน้ น้นั สง่ ออกจรงิ แค่ ๓๐% (สง่ ออกเนื้อนอ่ ง เนื้อหนา้ อก ปีกกลาง ตนี ไก)่ ท่เี หลอื ๗๐% ขายในประเทศ (เนอ้ื ส่วนที่
เหลอื จากสง่ ออก ขา้ งตน้ และสว่ นทไี่ มส่ ง่ ออกไดแ้ กส่ ะโพก หวั คอ โครง เครอื่ งใน เลอื ด) ปรมิ าณและมลู คา่ การสง่ ออกไกเ่ นอ้ื ของไทย
น้นั ตดิ อนั ดบั โลก ใน ๒ รปู แบบ

เนอื้ ไกแ่ ปรรปู ๖๐ % จาำ นวน ๕๕๖,๗๐๑ ตนั มลู คา่ ๗๖,๙๗๔ ลา้ นบาท คคู่ า้ สาำ คญั ญปี่ นุ่ ๕๐% องั กฤษ ๒๘% EU ๑๒%
เนือ้ ไก่สด ๔๐% จำานวน ๓๗๗,๕๕๘ ตัน มูลค่า ๓๕,๐๗๔ ลา้ นบาท คคู่ า้ สำาคัญ ญีป่ นุ่ ๓๒% EU ๒๒% อังกฤษ ๒%
การเล้ียงไก่เนอ้ื ในปัจจุบนั สว่ นมากใช้เวลา ๓๘ วนั ได้นำา้ หนกั ๒.๕ กโิ ลกรัม ทำาไมมันโตวยั อยา่ งน้ัน
๑. สายพันธ์ดุ ี มีการพัฒนามานาน ปยู่ า่ พันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ เรานำาเขา้ มาจากตา่ งประเทศ ทำาใหไ้ ด้ลกู ไกท่ ่โี ตวัย มีอตั รา
แลกเนื้อดี คุณภาพเน้ือดี
๒. มีอาหารท่ดี ี มกี ารคาำ นวณสตู รอาหารที่รา่ งกายสตั วน์ น้ั ๆต้องการ มกี ารเลือกใช้วัตถดุ ิบอาหารสัตว์ท่ีดี มีการควบคมุ
คุณภาพต้ังแต่การรบั วัตถดุ บิ การผลติ การตรวจสอบคณุ ภาพ การเกบ็ รกั ษาใหไ้ ด้คณุ ภาพ ตลอดจนการขนสง่
๓. การควบคมุ ปอ้ งกนั โรคดี ฟารม์ มโี รงเรอื น สถานทป่ี อ้ งกนั โรคจากภายนอกได้ ปอ้ งกนั สตั วแ์ มลง รบกวน นอกจากนี้
มกี ารทำาวคั ซนี ปอ้ งกนั โรคอย่างดี ครบถว้ น ทำาให้ลกู ไก่แขง็ แรง เจรญิ เตบิ โตดี เรว็
๔. การจดั การทีด่ ี ตงั้ แต่เปน็ ลูกไก่ มีอาหาร นา้ำ คุณภาพดี สภาพแวดล้อมของโรงเรือนมกี ารปรับสภาพอากาศ ให้มี
อณุ หภมู ิทีเ่ หมาะสมกับการเจริญเติบโต เย็นสบาย มแี สงสว่างพอดี ทาำ ใหก้ นิ อาหารไดต้ ลอดเวลา พืน้ รองเดนิ ท่ีดี ไมม่ ีสง่ิ รบกวน
จากภายนอก ทำาให้แข็งแรง โตวัย
ผมม่นั ใจว่าการผลิตเนอ้ื ไกข่ องไทยเรามปี ระสทิ ธภิ าพดมี าก คุณภาพเน้ือดี มีความปลอดภยั จากสารตกคา้ งอนั ตราย
และเช้ือโรค เหตผุ ลที่ผมเชอื่ อย่างนน้ั
๑. มีการควบคุมการผลติ เนือ้ ไกท่ กุ ข้ันตอน ต้ังแตเ่ ร่มิ ต้นจนไดผ้ ลผลิตเป็นเนอื้ ร่วมมอื กันท้งั ภาครัฐและเอกชน ฟาร์ม
พ่อแม่พันธุ์ต้องมีมาตรฐานรับรอง โรงฟักไข่ก็มีมาตรฐาน เพื่อให้ได้ลูกไก่ที่สมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีโรคและเช้ือที่ติดมาสู่ลูกไก่ได้
การเคลอ่ื นยา้ ยลกู ไกเ่ ขา้ ฟารม็ มกี ารแจง้ ตน้ ทางปลายทาง ไปถงึ ฟารม์ มาตรฐาน อาหารสตั วท์ ใ่ี ชก้ ม็ กี ารควบคมุ ดแู ลทง้ั ดา้ นกฏหมาย
และระบบประกันคุณภาพ(GMP)(HACCP) มีการควบคมุ การขนสง่ ไปโรงฆ่าตามกฎหมายคุม้ ครองสวสั ดิภาพสตั ว์ และควบคุมการ
เคลอ่ื นยา้ ยสตั ว์ โรงฆา่ สตั วแ์ ละโรงแปรรปู ตอ้ งมมี าตรฐานสากลและกฎหมายควบคมุ จนไดเ้ ปน็ เนอ้ื สตั วท์ ม่ี คี ณุ ภาพดี จนมกี ารวางขาย
ถงึ ผู้บริโภค มงี านดา้ นสาธารณสขุ มาดแู ล

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 249

ทาํ เนียบศิษยเ กาเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

๒. ไดอ้ านสิ งสจ์ ากการสง่ ออกไปยงั ตลาดตา่ งประเทศ เพราะผซู้ อื้ ทง้ั EU ญป่ี นุ่ เกาหลี สงิ คโปร์ จนี ประเทศอาหรบั ตา่ งๆ
มาตรวจกันถี่ยบิ เพราะไทยเราสง่ ออกประมาณ ๓๐% ของที่ผลิตได้ในประเทศ เขามาตรวจทกุ ขนั้ ตอนครบั ไมไ่ ดต้ รวจแตโ่ รงฆ่า
โรงแปรรปู เทา่ น้นั นอกจากน้ียังบงั คบั ให้ตรวจสอบสารตกคา้ งในเนื้อไก่ดว้ ย ซ่ึงแบง่ สารตกค้าง ที่ต้องตรวจเป็น ๒ ประเภทใหญๆ่
คอื ประเภทท่ีพบตกคา้ งไม่ไดเ้ ลย เชน่ สารฮอรโ์ มน สารเร่งเนอ้ื แดง คลอแรมเฟนนิคอล เป็นตน้ อีกประเภทหนึง่ ให้พบได้แตต่ ้อง
ไมเ่ กินมาตรฐานทก่ี าำ หนด เชน่ ยาปฎิชีวนะบางตัว ยาถา่ ยพยาธิ สารที่ตกคา้ งในสิ่งแวดล้อม สารฆ่าแมลง โลหะหนัก เป็นตน้ ตอ้ ง
ตรวจสอบตามจำานวน ปริมาณท่กี ำาหนดไว้ในมาตรฐานทั่วประเทศ และรายงานผลทุกปี ผลบอกวา่ ปลอดภยั ตอ่ ผูบ้ รโิ ภคมากครับ

เน้ือไก่ เมอ่ื ได้เป็นช้ินส่วนต่างๆแลว้ ราคาไม่เทา่ กนั ทงั้ ขายในประเทศและส่งออก ราคาต่อกิโลกรมั ดังน้ี ปกี กลาง (มี
กระดูก ๒ อนั ) ๑๒๐ บาท ปีกไก่เตม็ ๘๕ บาท ตนี ไก่ ๘๕ บาท ปกี บน (ปลายปกี ) ๗๗.๕ บาท นอ่ งไก่ ๗๕ บาท เนือ้ อกไก่ ๗๐
บาท เครื่องใน ๗๐ บาท โครงไก่ ๒๗.๕๐ บาท เปน็ ต้น

เคยไดย้ นิ ขา่ วบอ่ ยๆ วา่ ปจั จบุ นั เดก็ ๆโตเรว็ เกนิ วยั โดยเฉพาะเดก็ ผหู้ ญงิ ทาำ ใหเ้ ปน็ สาวเกนิ วยั และหลายๆ คนกใ็ หข้ อ้ คดิ วา่
เกดิ จากเดก็ เหลา่ นน้ั กนิ เนอื้ ไกซ่ งึ่ เลย้ี งดว้ ยสารเรง่ การเจรญิ เตบิ โต ใชฮ้ อรโ์ มน เปน็ ตน้ ผมไดร้ บั ฟงั ไดศ้ กึ ษามาพอจะมเี หตผุ ลดงั นค้ี รบั

๑. เน้ือไก่ไมเ่ หนยี วเดก็ ๆชอบกนิ กนิ ไดท้ กุ ชาตทิ ุกศาสนา เดก็ ในช่วงนี้กาำ ลงั โตกนิ เกง่ ไก่ยา่ ง ไก่ทอด ข้าวมันไก่ kfc
กนิ หมกู เ็ หนยี ว ประกอบกบั ชว่ งนเี้ ดก็ ฟนั เรมิ่ เปลย่ี น ฟนั นาำ้ นมหลดุ ฟนั แทเ้ รมิ่ ขน้ึ ไมช่ อบกนิ อะไรทเี่ หนยี วๆ กนิ ปลากม็ กี า้ ง เนอ้ื สตั ว์
ทกี่ นิ มากกว่าครงึ่ ต้องเป็นเน้อื ไก่ พอมีคนมาแนะนำาวา่ ให้งดเนือ้ ไก่แล้วจะหาย อาการดีข้ึน กเ็ พราะลดเน้อื ไกห่ มายถงึ ลดโปรตีน
จากสตั ว์ไปมากกว่าคร่งึ โปรตนี ลดลง การเจรญิ เติบโตแบบเกินวัยกล็ ดลง เท่านนั้ เอง

๒. นอกจากโปรตนี จากเนอ้ื สัตวแ์ ล้ว ยังมโี ปรตนี จากนม ไข่ ผลิตภัณฑ์จากนมเยอะแยะทเี่ ดก็ ชอบทาน เป็นการเรง่ ให้
เดก็ โตเกินวยั

๓. เดก็ ๆ เสพสอื่ ทกุ ประเภทท้งั โทรทศั น์ มอื ถอื ภาพยนตร์ ละคร ทาำ ใหค้ วามคิดเป็นผู้ใหญเ่ กนิ วัย เปน็ การกระตุน้ ให้
เด็กมีความคิดเกนิ เดก็ กไ็ ปกระตุ้นร่างกายใหเ้ ปน็ สาวเปน็ หนมุ่ กอ่ นวัย

๔. แสงสว่างก็เป็นปัจจัยท่ีทำาให้โตเกินวัยได้ ท้ังแสงแดด แสงไฟ การท่ีอยู่ในที่มีแสงสว่างตลอดเวลา ทำาให้มีการกิน
การใชพ้ ลงั งานนานกว่าปกติ ย่ิงกนิ ยิ่งโตวัย เมื่อก่อนไมม่ ีไฟฟ้า ค่ำาก็นอน ปจั จบุ ันเอาเวลานอนมากินๆ ก็โตเกินวัย เหมอื นการ
เลี้ยงไก่เนือ้ เขาเปิดไฟสว่าง ๒๔ ชวั่ โมง กนิ ๆนอนๆโตไวมาก

ในอนาคตคนเราอาจตอ้ งหาแหลง่ โปรตนี จากสตั วจ์ าำ พวกแมลง เพราะเพม่ิ จาำ นวนและปรมิ าณไดเ้ รว็ ตน้ ทนุ การเลยี้ งนอ้ ย
ใชพ้ น้ื ทไี่ มม่ าก เวลาเลย้ี งไมน่ าน หรอื พวกทล่ี อกคราบไดน้ อกจากแมลง แลว้ มพี วกกงุ้ ปู สตั วท์ ลี่ อกคราบได้ ลอกคราบทหี นง่ึ โตทหี นง่ึ
ถ้ามีใครคดิ ใหส้ ัตว์เหลา่ นีล้ อกคราบบ่อยๆ ยิ่งเร็วยง่ิ โตเร็ว ไดผ้ ลผลิตเร็ว โปรตนี สงู ดว้ ย ใครคิดได้รวยแนๆ่

แตถ่ า้ คนเราโดนลอกคราบเมือ่ ไรไม่ดีแนน่ อน ครับ

2๕0 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศษิ ยเ กา เบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

สิง่ ทีค่ วรคำานงึ เมือ่ จะใชย้ า

สงดั อินทรนพิ ัฒน์
ปจุ ฉาขอ้ นี้ เพอ่ื นนกั คดิ นกั เขยี นของผมเขาไดต้ งั้ ขนึ้ โดยคาดหวงั วา่ คาำ ตอบอาจจะเปน็ ประโยชนแ์ กเ่ พอื่ นๆ ทย่ี งั ตอ้ งตอ่ สู้
ดิ้นรนอยู่ในโลกยุคดิจิตอล ท่ีการเลือกรับข่าวสารเป็นสิ่งที่ยากกว่าการเข้าถึงข่าวสาร โดยเฉพาะการแชร์ในสังคมออนไลน์เช่น
Line Tweeter หรอื Facebook ซึ่งทาำ ได้โดยง่ายและรวดเร็วแต่เชอ่ื ถือได้นอ้ ย เพราะแยกแยะได้ยากว่าอนั ไหนเป็นเรอ่ื งจรงิ หรือ
เป็นเพียงข่าวปลอ่ ยเพ่อื ความคกึ คะนอง หรอื ผลประโยชน์บางอยา่ งของผู้ปล่อยข่าว ด้วยเหตุทเ่ี รอ่ื งยาและโรคภยั ไขเ้ จบ็ เป็นเรอื่ ง
ที่คนทว่ั ไปที่มใิ ช่คนในแวดวงสาธารณสุขจะสามารถเข้าใจใหถ้ อ่ งแท้ได้ยาก เพราะเปน็ เรอ่ื งทีซ่ บั ซอ้ นและเราไมส่ ามารถรับรู้ไดด้ ว้ ย
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 อย่างเรื่องอื่นๆ และผู้รู้ตัวจริงคือแพทย์หรือเภสัชกรก็ไม่ค่อยจะออกมาแก้ความเข้าใจผิดให้กับประชาชน
เสียด้วย อาจเป็นเพราะไม่มเี วลาพอ หรอื ไมอ่ ยากเปลอื งตวั จงึ เป็นทีม่ าของการใชย้ าอยา่ งไมเ่ หมาะสม ซึ่งในบางครง้ั นอกจากจะ
ทำาใหเ้ ราตอ้ งเสียเงนิ คา่ ยาโดยไม่จำาเปน็ แลว้ ยงั อาจจะเกดิ ผลร้ายตอ่ รา่ งกายอยา่ งคาดไมถ่ ึง
บทความน้ีเขยี นจากประสบการณ์ในการทาำ งานท่ีพบปัญหาของผูป้ ่วยในการใชย้ าชนดิ ตา่ งๆ จงึ ไดพ้ ยายามนาำ เสนอมติ ิ
ท่เี พอื่ นๆ ควรคำานึงถงึ ถ้าจำาเป็นจะตอ้ งใช้ยา เพื่อให้สามารถใชย้ าได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ มีความปลอดภัย และไมม่ ีความกงั วล
แตด่ ้วยขอ้ จาำ กัดของหนา้ กระดาษและเวลาของผู้เขยี นเอง จงึ ไม่สามารถนาำ เสนอขอ้ มลู ที่สมบูรณ์ไดม้ ากนกั คงนำาเสนอได้แค่หลกั
กว้างๆ เพ่อื ใหเ้ พื่อนๆ นาำ ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำาวนั เพอ่ื ให้เกิดผลดตี อ่ สุขภาพของแต่ละคนสืบไป
สาเหตุอนั ดับแรกท่ีเรามักจะคิดถงึ ยาก็เมือ่ เรารสู้ กึ วา่ เราปว่ ยคือมีความไม่สบายกายหรือไม่สบายใจ จงึ พยายามหายามา
เพ่ือบำาบัดอาการหรือความผิดปกติดังกล่าวเหล่าน้ันอาจด้วยตนเองหรือปรึกษาเพื่อนหรือคนใกล้ชิดหรือท่ีนิยมกันในปัจจุบันคือ
หาข้อมูลของโรคและการรกั ษาจากอินเตอรเ์ นต กับอกี ประการคอื เราไปพบแพทย์เนอื่ งจากการเจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ยหรอื จะด้วยเหตุใดๆ
กต็ าม เมอื่ แพทยไ์ ดต้ รวจและพบวา่ เราเปน็ โรคอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทตี่ อ้ งไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยยา หรอื มคี วามเหน็ วา่ เราจะตอ้ งไดร้ บั ยา
หรอื สารบางอยา่ งเพอื่ ปอ้ งกนั โรคชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ แลว้ สงั่ ยาหรอื สารดงั กลา่ วใหเ้ ราใช้ หรอื อาจเปน็ กรณที เ่ี ราเคยใชย้ าทแี่ พทยส์ งั่ ให้
แลว้ ไดผ้ ลดมี ากอ่ น เมอื่ เกดิ ความเจบ็ ปว่ ยขนึ้ มาใหมท่ ม่ี อี าการคลา้ ยๆ ทเ่ี คยปว่ ยมากอ่ นกจ็ ะหายาตวั เดมิ มาใชเ้ อง หรอื มยี าทเ่ี คยใช้
ได้ผลแต่พอใช้ไปได้สักระยะหน่ึงก็เริ่มใช้ไม่ได้ผลหรือที่มักเรียกกันว่าดื้อยานั่นเอง จึงได้พยายามแสวงหายาท่ีแรงกว่าเดิม คือ
มปี ระสทิ ธิภาพดีกวา่ เดิม ทมี่ ักเรียกกนั สนั้ ๆ ว่ายาดๆี นั่นเอง
สาำ หรับเหตุผลในการใช้ยา ถ้าเป็นยาที่แพทย์สั่งให้นั้นไม่ควรจะกังวลอะไรมากนัก เพราะก่อนท่ีจะสั่งยาให้นั้นแพทย์
จะต้องตรวจและวินิจฉัยโรคก่อนจึงจะส่ังยาและได้มีการบันทึกประวัติการเจ็บป่วย ผลการตรวจร่างกาย อาจมีผลการตรวจทาง
หอ้ งปฏิบตั ริ ่วมด้วย รวมท้งั การให้การรักษาทง้ั ด้วยการใหย้ าหรอื วธิ อี ื่นๆ อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะการรับยาจากโรงพยาบาลท่ีมี
เภสชั กรเปน็ ผจู้ า่ ยและแนะนาำ การใชย้ ากน็ บั วา่ เราจะไดร้ บั ยาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและความปลอดภยั ดรี ะดบั หนงึ่ หนา้ ทขี่ องเรากเ็ พยี งแค่
ไปพบแพทย์ตามนัด หรอื ถ้ารับประทานยาจนหมดแล้วไม่หายกค็ วรจะไปพบแพทยอ์ ีกครงั้ ถงึ แมแ้ พทยจ์ ะมนี ัดหรอื ไมก่ ต็ าม

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๕๑

ทําเนยี บศิษยเกาเบญจมราชูทิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

แตจ่ ากการทเี่ ราพยายามสรรหายาดๆี จากแหลง่ อนื่ ๆ เชน่ จากหมอเถอื่ น หมอพระ หมอตี๋ รถเร่ แผงลอย และทกี่ าำ ลงั นยิ ม
ขณะนคี้ อื จากรา้ นคา้ ยาออนไลน์ ลว้ นแตต่ อ้ งศกึ ษาขอ้ มลู ใหร้ อบคอบและรอบดา้ นกอ่ นจะใชย้ าหรอื แมแ้ ตจ่ ะซอื้ ยา เพราะการซอื้ ยา
ตามชอ่ งทางเหลา่ นนี้ อกจากเราจะมคี วามเสยี่ งจากการไดย้ าทไี่ มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพภาพและตรงกบั โรคแลว้ ยงั อาจไดร้ บั พษิ ภยั จากยา
ทไ่ี มม่ คี ณุ ภาพหรอื ยาปลอม นอกจากนย้ี งั จะไปสง่ เสรมิ ธรุ กจิ ผดิ กฎหมายอกี ดว้ ยเพราะการขายยาทางชอ่ งทางดงั กลา่ วเปน็ สงิ่ ผดิ กฎหมาย
หรือการใช้ยาตามคาำ แนะนำาจากเพอ่ื นๆ ที่อา้ งว่าเคยปว่ ยดว้ ยโรคที่มอี าการแบบทเ่ี รากำาลงั เปน็ อยกู่ ไ็ มใ่ ช่สิ่งที่สมควร เพราะอาการ
ที่เหมอื นกนั อาจมีสาเหตุมาจากหลายโรค การวินิจฉัยโรคน้นั แพทยต์ ้องซักประวตั แิ ละตรวจรา่ งกายประกอบดว้ ย

คาำ วา่ ดี ดกี วา่ หรอื ดที ส่ี ดุ นน้ั ไมส่ ามารถใชไ้ ดก้ บั ยาเพราะยาทด่ี ใี นความหมายทางการแพทยน์ นั้ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ ๕ ประการคอื
ถกู กบั โรค ถกู คน ถกู ขนาด ถกู เวลา และถกู ชอ่ งทาง บางคนเขา้ ใจผดิ วา่ ยานน้ั เหมอื นกบั สนิ คา้ อนื่ ๆ คอื ยาแพงจะดกี วา่ ยาทม่ี รี าคาถกู
จรงิ ๆ แลว้ ราคายาไมส่ มั พนั ธก์ บั คณุ สมบตั ขิ องยาเพราะโรคไมร่ รู้ าคายา และยาแตล่ ะตวั นน้ั สามารถรกั ษาโรคไดห้ ลายโรคในขณะท่ี
โรคสว่ นใหญก่ ็ต้องใชย้ าหลายตวั รว่ มกนั ในการรกั ษา ฉะนนั้ จงึ ไมแ่ ปลกท่คี นท่ปี ว่ ยดว้ ยโรคท่ตี ่างกันแตไ่ ดร้ บั ยาเหมอื นกนั หรอื คน
ทีป่ ่วยด้วยโรคใดโรคหนงึ่ เพยี งโรคเดยี ว แต่แพทยส์ ่ังยาท่ีมขี ้อบง่ ใชเ้ ดียวกันให้หลายตัว

ในการใชย้ ารกั ษาโรคถา้ เพ่ือนยดึ ถือและปฏิบัติตามหลกั ท้งั ๕ ประการแล้ว ก็ไม่ต้องกงั วลใจอะไรอกี ควรตั้งหนา้ ตั้งตา
ทาำ งานหาเงินเพือ่ จา่ ยคา่ หมอและคา่ ยาใหส้ บายใจได้เลยครบั

คณุ สมบัติท่ีสำาคัญที่สุดท่ีจะทำาให้ยาน้ันดีหรือไม่ดีคือการใช้ยาให้ถูกกับโรค แต่การจะได้ยาที่ตรงกับโรคก็ต้องขึ้นกับ
ผวู้ นิ จิ ฉยั โรควา่ จะวนิ จิ ฉยั โรคไดถ้ กู ตอ้ งแคไ่ หน ถา้ เปน็ โรคทไี่ มร่ า้ ยแรง และอาการไมร่ นุ แรงมาก สามารถขอคาำ ปรกึ ษาการใชย้ าจาก
บคุ คลากรทางดา้ นสาธารณสขุ เช่นเภสัชกร หรือพยาบาลเวชปฏบิ ัติ เป็นต้น แต่ที่สะดวกและคา่ ใช้จา่ ยไมม่ ากคือ เภสัชกรชมุ ชน
ซงึ่ ประจาำ อยตู่ ามรา้ นขายยาแผนปจั จบุ นั ชน้ั ๑ ซง่ึ ปจั จบุ นั มมี ากกวา่ รา้ นกาแฟเสยี อกี เพยี งแตต่ อ้ งเปน็ เภสชั กรตวั จรงิ ไมใ่ ชผ่ ชู้ ว่ ยจา่ ยยา
ปจั จบุ นั ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถสงั เกตไดง้ า่ ยๆ จากปา้ ยทแ่ี สดงชอื่ ผมู้ หี นา้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารของรา้ นยาซง่ึ กฎหมายกาำ หนดใหต้ อ้ งมชี อื่ รปู ถา่ ย
และเวลาปฏิบัติการของเภสัชกร เราเพียงแต่ดูว่าตรงกับตัวจริงท่ีปฏิบัติงานอยู่และในเวลาตามท่ีระบุไว้ แต่ถ้าเป็นโรคท่ีร้ายแรง
แม้อาการไม่รุนแรงหรือโรคไม่ร้ายแรงแต่อาการรุนแรงก็ต้องพึ่งพาแพทย์แผนปัจจุบันในการทำาหน้าที่ตรวจวินิจฉัยและให้การ
รกั ษาโรค เพราะแพทยเ์ รยี นรแู้ ละฝกึ ฝนทกั ษะในดา้ นการตรวจ การวนิ จิ ฉยั และการรกั ษาโรคมาโดยเฉพาะ จงึ ทาำ หนา้ ทนี่ ไี้ ดด้ ที สี่ ดุ
นอกจากนี้ยังมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการใช้เครื่องมือทางการแพทย์ท่ีทันสมัยในการช่วยตรวจวินิจฉัยอีกด้วย แต่การ
ไปพบแพทย์กไ็ ม่ใช่เรอื่ งง่ายหรือสะดวกสบายเหมือนการไปเซเวน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถา้ เปน็ โรงพยาบาลรฐั จงึ เปน็ เหตุผลทใ่ี ครต่อ
ใครจะไปโรงพยาบาลกต็ ่อเมอื่ อาการทรุดหนักจนทนไม่ไหวจริงๆ หรือถกู หามไป

เพอ่ื นๆ คงจะไมเ่ ถยี งถา้ จะมใี ครบอกเราวา่ คณุ แมข่ องพวกเราคอื ครคู นแรกและครทู ด่ี ที สี่ ดุ ของพวกเรา แตถ่ า้ จะมใี ครบอก
เพื่อนๆ ว่าแพทย์คนแรกและดีท่ีสุดสำาหรับตัวเราก็คือตัวเราเองอาจมีเพ่ือนๆ บางคนเท่าน้ันที่เห็นด้วย แต่ก็เป็นเร่ืองปกติเพราะ
คงไมเ่ คยมีใครนาำ เสนอความคิดแบบนม้ี าก่อน ทง้ั ๆ ทีแ่ ทแ้ ล้วร่างกายมนุษยเ์ รานัน้ เปน็ สง่ิ มีชีวิตทถ่ี กู สร้างมาอยา่ งสมบรู ณ์ที่สุด คือ
มีระบบป้องกนั อันตรายให้กบั ตวั เราเองโดยมตี วั รบั ความรผู้ ิดปกตแิ ละความเจ็บป่วย (Sensor) ซงึ่ จะสง่ สญั ญาณไปสู่สมองโดยที่
สมองจะสั่งการให้ร่างกายมีปฏิกิริยาต่อสัญญาณน้ันออกมาในรูปของอาการแบบต่างๆ กัน แบ่งเป็นอาการแบบนามธรรม เช่น

2๕2 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนยี บศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

การปวดศรี ษะ ปวดทอ้ ง การเจบ็ ปวด แสบ หรอื ชา ของอวยั วะตา่ งๆ การมไี ข้ การไอ จาม นา้ำ มกู ไหล หรอื มอี าการปวด รอ้ น บวมแดง
ของผวิ หนงั กล้ามเนือ้ หรือข้อ หรอื อาการใจสน่ั หายใจไม่ออก เบ่ืออาหาร คล่นื ไส้อาเจยี น และ นอนไมห่ ลับ เป็นตน้ และอาการ
ทแ่ี สดงออกเป็นรูปธรรม เชน่ มีก้อนหรือเนอ้ื งอกตามสว่ นตา่ งของรา่ งกาย มเี ลอื ดหรอื สารคดั หล่ังไหลออกจากชอ่ งเปิดต่างๆ อยา่ ง
ผิดปกติ เช่นมอี จุ จาระหรือปัสสาวะเป็นเลอื ด ระบบขบั ถา่ ยผิดปกติเชน่ ท้องผูกหรอื ทอ้ งเสยี หรือทอ้ งผกู สลบั กับทอ้ งเสยี มปี ระจำา
เดือนมากผิดปกติ และมีน้ำาหนกั ตัวลดลงโดยไมท่ ราบสาเหตุ เปน็ ตน้

เม่ือเราเกิดอาการดังกล่าวมนุษย์เราก็จะมีการตอบสนองไปตามประสบการณ์และวัยวุฒิของแต่ละบุคคล ในทารกหรือ
เด็กเล็กๆ ก็แสดงออกด้วยการร้องไห้และอาจบิดตัวไปมา ก็เพื่อให้พ่อแม่รู้และให้การดูแล เม่ือโตข้ึนสามารถสื่อสารได้ดีข้ึนก็จะ
บอกอาการไม่สบายแก่พอ่ แมห่ รือผู้ปกครอง แต่เม่ือเติบโตขึ้นเปน็ ผใู้ หญ่การตอบสนองจะเร่ิมซบั ซอ้ นข้ึน บางคนถ้าอาการไม่มาก
อาจเฉยๆหรือแคบ่ น่ ๆ แต่ถ้าอาการรนุ แรงมากๆบางคนก็ยงั แสดงออกแบบเดก็ ๆ ก็มี แต่ในทส่ี ุดเรากต็ อ้ งตดั สนิ ใจด้วยตนเองวา่
อาการแบบไหนจะตอ้ งไปพบแพทย์ หรือแบบไหนจะสามารถรักษาตนเองได้ แต่ถ้าตัดสนิ ใจผิดพลาดก็อาจถูกหามไปโรงพยาบาล
ในสภาพหมดสติ ลองจินตนาการดูครับว่าหากทารกท่ียังพูดไม่ได้เมื่อเกิดมีความผิดปกติของระบบใดระบบหน่ึงของร่างกายแต่
ไม่ร้องไห้เลย เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเขาไม่สบายและโรคของเขาก็คงไม่ได้รับการบำาบัดและอาจลุกลามจนเกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
หรอื ตวั เราเองเกดิ บาดเจบ็ เชน่ จากอบุ ตั เิ หตแุ ตเ่ ราไมร่ สู้ กึ ปวด หรอื ปว่ ยเปน็ โรคแตไ่ มม่ อี าการใดๆเชน่ ไมม่ ไี ข้ ไมป่ วดหวั กค็ งไมม่ ใี คร
แม้แต่ตัวเราเองจะรู้ว่าเรามีความผิดปกติของร่างกาย ก็คงเป็นเหตุให้โรคกำาเริบรุนแรงเมื่อถึงมือแพทย์ก็อาจสายจนเกิดอันตราย
ต่อชีวิตได้ ด้วยเหตุผลเหล่านี้จึงเป็นท่ีมาของวลีท่ีว่าตัวของตัวเราเองเป็นแพทย์คนแรกและดีท่ีสุดของเรา ที่สามารถตรวจพบ
ความผิดปกติของร่างกายท่ีแสดงออกมาในรูปอาการต่างๆก่อนคนอ่ืน อาการเหล่านี้ล้วนมีความสำาคัญอย่างมากในการวินิจฉัย
โรคทางการแพทย์ การบอกเล่าอาการต่อแพทย์ก็ไม่มใี ครทาำ ไดด้ ีเท่าตัวเราเอง แต่ต้องตระหนกั ว่าแตล่ ะอาการมสี าเหตุมาไดจ้ าก
หลายโรค และในการไปพบแพทยเ์ มอ่ื แพทยถ์ ามอาการเราควรบอกแตอ่ าการเทา่ นน้ั ใหถ้ กู ตอ้ งและครบถว้ นกเ็ พยี งพอแลว้ เราไมค่ วร
บอกแพทย์ว่าเราป่วยเป็นโรคอะไรเช่นบอกวา่ เป็นไขห้ วดั เป็นกรดไหลยอ้ น หรอื โรคกรวยไตอักเสบ เปน็ ต้น เพราะอาจจะทำาให้
แพทยเ์ กดิ ความไขว้เขวในการวินิจฉยั โรคได้

ในประเทศทเี่ จรญิ แลว้ เขาสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนรจู้ กั พง่ึ พาตนเองกอ่ นไปพบแพทย์ เพราะการพบแพทยก์ เ็ ปน็ เรอ่ื งยงุ่ ยาก
กว่าบา้ นเรามาก เขายังได้คดั สรรชนดิ ของยาในกลมุ่ OTC (Over The Counter Drugs) เพื่อใหป้ ระชาชนจะเลอื กซ้อื เพอื่ ใช้ใน
การรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ ไดอ้ ยา่ งเพยี งพอ โดยไมต่ อ้ งไปพบแพทยเ์ พอ่ื รบั การตรวจและรกั ษาโรคโดยไมจ่ าำ เปน็ เพราะกวา่ รอ้ ยละแปดสบิ
ของโรคภัยไข้เจ็บไม่ได้ร้ายแรงและยุ่งยากในการรักษา เร่ืองนี้แม้จะยังเป็นเรื่องใหม่ของสังคมไทยแต่ก็เป็นส่ิงท่ีควรจะต้องเร่ิม
ส่งเสรมิ กันอยา่ งจริงจงั ไมเ่ ชน่ นนั้ ถงึ เราผลิตแพทย์ไดจ้ ำานวนมากเทา่ ไรกค็ งไม่เพียงพอกับความต้องการของคนไทย สำาหรบั คนใน
ประเทศเราบทบาทเบ้ืองต้นที่ผมอยากให้คนที่เป็นแพทย์ประจำาตัวของตัวเองได้ปฏิบัติคือการรู้จักสังเกตความผิดปกติเบื้องต้น
ของรา่ งการอย่างสม่ำาเสมอ เพราะโรคตา่ งๆ ที่เกิดกบั เรานัน้ มกั จะมสี ญั ญาณเตือนกอ่ นเสมอ ถ้าเราเอาใจใส่ตวั เองและแบ่งเวลา
ใหแ้ กต่ วั เองเพยี งวนั ละไมก่ น่ี าที เราจะสามารถสงั เกตความผดิ ปกตขิ องตวั เองไดก้ อ่ นและดกี วา่ คนอนื่ ประการตอ่ มาคอื หมน่ั ศกึ ษา
หาความรู้เรื่องสุขภาพกันบ้าง ควรจะต้องรู้และสามารถดูแลรักษาโรคเบ้ืองต้นให้กับตนเองและคนในครอบครัวได้ ประการสำาคัญ
คอื ตอ้ งรวู้ า่ เมอื่ เราเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคอะไรหรอื รนุ แรงขนาดไหนจงึ จะตอ้ งไปพบแพทย์ โรคทเ่ี กดิ อนั ตรายรา้ ยแรงจนยากแกก่ ารรกั ษา

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๕3

ทาํ เนยี บศษิ ยเ กาเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

กเ็ น่อื งมาจากการทเี่ ราไปพบแพทยช์ ้าเกนิ ไป แตก่ ารที่พอเจบ็ ปว่ ยเลก็ นอ้ ยกไ็ ปพบแพทย์กจ็ ะไปเพิ่มความแออดั ใหก้ บั โรงพยาบาล
และทำาให้เกิดความขาดแคลนแพทย์โดยไม่จำาเป็น ซ่ึงจะส่งผลให้การให้บริการแก่ผู้ป่วยที่จำาเป็นจริงๆ ด้อยคุณภาพลงไปด้วย
ประการสุดท้ายคือการตรวจร่างกายประจำาปีตามที่แพทย์แนะนำาในแต่ละช่วงวัย เพ่ือให้แพทย์ได้ตรวจพบโรคเสียตั้งแต่เน่ินๆ
อยา่ ลมื วา่ ทรพั ยส์ นิ ท่มี ีค่าที่สุดของเราก็คอื สขุ ภาพของเรานั่นเอง ซง่ึ ไมส่ ามารถจะหาซ้อื ได้ ไมว่ า่ จะใช้เงนิ หรอื อำานาจวาสนาบารมี
สกั มากมายเพยี งใดกต็ าม แตท่ ผ่ี มจะเนน้ กค็ อื ในการหาความรไู้ มว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งการรกั ษาโรคหรอื ยาจะตอ้ งเปน็ บทความหรอื ความเหน็
จากแพทยห์ รอื เภสชั กรโดยตรงเทา่ นนั้ บทความทม่ี กี ารแชรก์ นั ในสงั คมออนไลน์ เชน่ ไลนห์ รอื เฟซบคุ๊ ฯ ควรจะตอ้ งมกี ารตรวจสอบ
หรอื สอบถามจากผู้เชย่ี วชาญโดยตรงกอ่ น และถา้ ขอ้ มูลที่ยังไมไ่ ด้รับการพสิ ูจน์ก็ขออยา่ เพ่งิ แชรต์ อ่

ในการไปพบแพทย์ กอ่ นทแ่ี พทยจ์ ะตรวจรา่ งกายจะมขี นั้ ตอนสาำ คญั ทจี่ ะชว่ ยใหก้ ารวนิ จิ ฉยั โรครวดเรว็ และถกู ตอ้ งแมน่ ยาำ
คือการซักประวัติความเจ็บป่วยและอาการของความเจ็บป่วย คนที่จะบอกอาการหรือประวัติความเจ็บป่วยได้ถูกต้องที่สุดก็คือ
ตัวผูป้ ่วยเอง แตถ่ ้าผ้ปู ่วยบอกไม่ตรงหรือบอกไมห่ มดโดยอาจเปน็ เพราะไม่กลา้ บอกหรืออาจคดิ วา่ ไมใ่ ช่ประเดน็ ก็จะทำาให้แพทย์
วนิ จิ ฉัยโรคไดย้ าก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโรงพยาบาลของรฐั ซง่ึ แพทยจ์ ะตอ้ งตอ้ งทาำ งานแข่งกบั เวลา ข้ันตอนน้แี หละครับทแี่ พทย์
ประจำาตวั ของเราคอื ตวั เราเองจะทำาหนา้ ท่ีไดด้ ที ีส่ ดุ ถา้ เราทำาหนา้ ที่ไดด้ เี ม่ือประกอบกบั การตรวจรา่ งกายแพทยท์ ี่มีประสบการณ์
จะสามารถวนิ จิ ฉยั โรคเบอื้ งตน้ ไดค้ อ่ นขา้ งแมน่ ยาำ กอ่ นยนื ยนั การวนิ จิ ฉยั ดว้ ย การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และ/หรอื เครอื่ งมอื แพทย์
ซึง่ ส่วนใหญ่มกั จะตรงกนั

จะเหน็ ไดว้ า่ การจะใชย้ าใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและความปลอดภยั เพอื่ นๆ ควรจะเขา้ ใจธรรมชาตขิ องโรคเสยี กอ่ น เราๆ คงจะ
จำาหลกั คำาสอนในทางพทุ ธศาสนาเร่อื ง“ความไม่มีโรคเป็นลาภอนั ประเสริฐ” กันไดด้ ี แต่ถ้าศกึ ษาใหถ้ อ่ งแท้แลว้ ความไม่มีโรคนั้น
พระพุทธองค์ไม่ได้หมายถึงการมีสุขภาพดีแต่อย่างใด ความหมายท่ีแท้จริงของความไม่มีโรค(อาโรคยะ)นั้นหมายถึง “นิพพาน”
คอื เป็นสภาวะสมบูรณ์สูงสดุ ขณะที่การมสี ุขภาพดีในทัศนะของพทุ ธศาสนาโดยทัว่ ไปหมายถึงความมีโรคน้อยต่างหาก เนื่องจาก
พระพทุ ธองค์ทรงตระหนกั ว่าการเกิด แก่ เจ็บ ตายเปน็ เรอื่ งธรรมดา เพราะมนุษย์เราประกอบข้ึนด้วยองคป์ ระกอบต่างๆ ท่เี ปน็
อนิจลักษณะ คือเคลื่อนไหวไม่หยุดน่ิง เป็นอนิจจัง หลักสำาคัญจึงอยู่ที่ว่าจะปฏิบัติต่อมันอย่างไรให้สมบูรณ์ดี และในยามท่ีเกิด
โรคภยั ไขเ้ จบ็ ขนึ้ กไ็ มใ่ ชเ่ รอื่ งทเี่ ราจะตอ้ งไปทกุ ขใ์ จจนเกนิ ไป เรามหี นา้ ทท่ี จ่ี ะตอ้ งแกไ้ ขบาำ บดั รกั ษาและบรหิ ารชวี ติ ใหด้ ี ถา้ หลกี เลยี่ ง
โรคไดก้ ็หลีกเลี่ยง แตถ่ ้ามันเกดิ ขน้ึ กร็ กั ษากนั ไป ขออย่าไปทกุ ข์กระวนกระวายจนเกินไป

ในพทุ ธศาสนา พระพทุ ธองคไ์ ดแ้ บง่ โรคออกเปน็ ๒ อยา่ งดว้ ยกนั คอื โรคทางกายกบั โรคทางใจ ทง้ั ๒ โรคนี้ พระพทุ ธองค์
ตรัสว่า “คนทไี่ มม่ โี รคทางกายเป็นเวลานานๆ กย็ ังพอหาได้ แต่คนทไี่ ม่มีโรคทางใจ แม้เพียงช่ัวขณะน้นั หาได้ยากเต็มที จะมกี แ็ ต่
พระอรหนั ต์เท่านนั้ ท่ีไม่มโี รคทางใจ” โดยนยั นี้ พระพทุ ธองค์ใหค้ วามสำาคญั กบั โรคทางใจมากกว่าโรคทางกาย ในแง่จุดมุง่ หมาย
สงู สดุ ของพทุ ธศาสนา สขุ ภาพกายเปน็ เพยี งบนั ไดใหเ้ ราไตไ่ ปสจู่ ดุ หมาย ไมใ่ ชเ่ ปน็ จดุ หมายปลายทางแตอ่ ยา่ งใด เพราะในทส่ี ดุ แลว้
มนุษย์ควรจะมีชีวิตท่ีสมบูรณ์ด้วยการมีสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ ส่วนสุขภาพกายเป็นพ้ืนฐานท่ีจะช่วยให้เราเข้าถึงชีวิตที่ดีงามข้ึนไป
ไม่ใช่จุดหมายสูงสุดในพุทธศาสนา การจัดการสุขภาพโดยเฉพาะในหมู่พระภิกษุสงฆ์ เน้นไปที่การจัดการท้ังสุขภาพกายและ
สขุ ภาพใจ เพราะกายและใจนน้ั สมั พนั ธก์ นั เมอ่ื ใจมปี ตี กิ ายยอ่ มสงบ เมอ่ื กายสงบยอ่ มไดร้ บั ความสขุ และเมอื่ มคี วามสขุ จติ ยอ่ มตง้ั มนั่
ในทางกลบั กนั ถา้ จติ ใจไรป้ ตี ิ กายกย็ อ่ มไมส่ งบ เมอื่ กายไมส่ งบ จะไมส่ ามารถหาความสขุ และสมาธไิ ด้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั คอื โรคทางกายนน้ั

2๕4 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศษิ ยเ กาเบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

เรามีเครื่องมือทางการแพทยม์ ากมายทจี่ ะช่วยแพทยใ์ นการตรวจ วินิจฉัย และรกั ษาโรค แตโ่ รคทางใจน้นั กลบั ต้องใช้ความชำานาญ
ของแพทยใ์ นการซกั ประวตั สิ งั เกตอาการและพฤตกิ รรม สาำ หรบั โรคทางใจนนั้ แพทยป์ ระจาำ ตวั คนแรกของเรากช็ ว่ ยแพทยไ์ ดไ้ มม่ าก
เพราะการวิเคราะห์และประเมินตัวเองเร่ิมบกพร่องรวมท้ังการส่ือสารกับแพทย์ก็ไม่ปกติ จึงต้องให้คนใกล้ชิดทำาหน้าท่ีแทนเช่น
สามภี รรยา บตุ รธดิ า หรอื พอ่ แม่ ซง่ึ มคี วามสาำ คญั ตอ่ ความถกู ตอ้ งของการวนิ จิ ฉยั โรค รวมทงั้ การตดิ ตามผลการรกั ษาโรค และการดแู ล
ระหว่างการรกั ษาเพอ่ื ใหม้ กี ารรบั ประทานยาอยา่ งสม่ำาเสมอและครบถว้ น

พระพทุ ธองค์ไดท้ รงตรัสไว้ในคิลานสูตร (ว่าดว้ ยคนไขแ้ ละผู้เปรยี บดว้ ยคนไข้ ๓ จำาพวก)ว่าคนไขใ้ นโลกมี ๓ ประเภทคอื
รกั ษาหรอื ไมร่ กั ษากห็ าย รักษาหรือไมร่ กั ษาก็ไมห่ าย กบั อกี จำาพวกคือถา้ รักษาจะหายแตถ่ ้าไมร่ กั ษาจะไมห่ าย กลมุ่ น้ีจะแบ่งย่อย
ออกเป็นกลุ่มที่ในระหว่างที่ให้การรักษาอาการของโรคจะหายไปแต่เมื่อหยุดการรักษาอาการจะกลับมาเหมือนเดิมหรือรุนแรง
กวา่ เดมิ ซงึ่ กค็ อื โรคเรอื้ รงั ทง้ั หลาย แมว้ า่ กาลเวลาจะผา่ นไปกวา่ กงึ่ พทุ ธกาลและไดม้ วี วิ ฒั นาการดา้ นการแพทยอ์ ยา่ งมากมาย แตค่ าำ ตรสั
ดงั กล่าวกย็ ังคงเปน็ ความจรงิ การที่ผมได้พูดถงึ เร่ืองนเี้ พื่อให้เพอ่ื นๆ ตระหนักว่า การวินิจโรคโดยแพทยส์ ำาคัญทีส่ ดุ เพราะนอกจาก
เราจะร้วู า่ เราเป็นโรคอะไรและรักษาอยา่ งไรแลว้ แพทย์จะบอกเราไดว้ ่าเราจัดเปน็ คนไขป้ ระเภทไหน จะไดว้ างแผนชวี ิตได้ถูกตอ้ ง

ในการรกั ษาโรคแพทยก์ จ็ ะพจิ ารณาวธิ กี ารรกั ษาโรครวมทงั้ การพยากรณโ์ รควา่ ผปู้ ว่ ยมโี อกาสจะหาย โอกาสเปน็ ซา้ำ หรอื
โอกาสท่ีจะเสียชีวิตก่ีเปอร์เซ็นต์ ซึ่งในการรักษาก็จะมีหลายวิธีตามแต่ชนิดของโรค เช่นนอนพักผ่อนมากๆ และดื่มน้ำามากๆ
ก็สามารถหายจากโรคได้ อาจใช้ยาแค่บรรเทาอาการตามความจำาเป็น โรคบางอย่างก็แค่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่างในชีวิต
ประจาำ วัน เชน่ อาหารการกนิ การออกกำาลงั กาย การนอนพักผอ่ นมากๆ เป็นตน้ โรคกจ็ ะทเุ ลาและหายไปได้ แมว้ ่าโรคส่วนใหญ่
สามารถรักษาให้หายได้ด้วยยา แต่ก็มีโรคอีกมากมายที่ต้องรักษาโดยการผ่าตัด การฉายรังสี หรือสารกัมมันตรังสี หรือวิธีอ่ืนๆ
ทางการแพทย์ รวมทง้ั กายภาพบาำ บดั หรอื แมแ้ ตก่ ารนงั่ สมาธิ ทพี่ บบอ่ ยทสี่ ดุ คอื ความผดิ ปกตทิ เี่ กดิ กบั ฟนั ทง้ั หลาย เชน่ ปวดฟนั ฟนั ผุ
ฟนั คดุ เหงือกบวม ฯลฯ โรคเหลา่ นี้ไม่สามารถรกั ษาให้หายได้ด้วยยาทกุ ชนดิ ตอ้ งใชว้ ธิ ีรกั ษาทางด้านทนั ตกรรมหรือเรยี กง่ายๆ
วา่ ทำาฟันโดยทันตแพทยเ์ ท่านั้น

สาำ หรบั โรครา้ ยแรงท่ีรกั ษาไม่หาย หรือรกั ษาได้ยาก เชน่ ต้องใช้ยาราคาแพง ระยะเวลารกั ษานาน และยาท่ใี ช้มพี ิษหรือ
อาการข้างเคียงสงู ถ้าเปน็ โรคท่สี ามารถป้องกันได้ด้วยวัคซนี เราก็ตอ้ งปอ้ งกนั เอาไว้ก่อน วคั ซนี ทีอ่ ย่ใู นแผนการสร้างภมู คิ ุม้ กันของ
กระทรวงสาธารณสขุ รฐั จะฉดี ใหฟ้ รี ไดแ้ กว่ ณั โรค (BCG) คอตบี บาดทะยกั ไอกรน (DTP) โปลโิ อ ตบั อกั เสบบี หดั คางทมู หดั เยอรมนั
ไขส้ มองอกั เสบ และพษิ สนุ ขั บ้า

วัคซีนส่วนใหญ่จะให้กับทุกคนโดยเร่ิมใหต้ ้งั แตเ่ ด็กๆ โดยไมต่ อ้ งแยกวา่ คนคนนน้ั จะมีความเสี่ยงหรือไม่ ยกเว้นโรคพิษ
สนุ ขั บา้ หรอื โรคกลวั นา้ำ จะฉดี ใหก้ ต็ อ่ เมอื่ โดนสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมทกุ ชนดิ กดั หรอื ขว่ น โดยไมต่ อ้ งสนใจวา่ สตั วน์ น้ั จะปว่ ยหรอื ไมก่ ต็ าม
ส่วนที่คนเรามักจะละเลยไม่ยอมไปรับการฉีดวัคซีนมักเกิดจากการท่ีถูกสัตว์เล้ียงของเราเองหรือของคนท่ีเรารู้จักซึ่งฉีดวัคซีน
ป้องกันพิษสุนัขบ้าเป็นประจำาทุกปีอยู่แล้วกัดหรือข่วน เพราะเห็นว่าสัตว์เลี้ยงของเราน้ันอยู่สุขสบายดีคงไม่มีเชื้อพิษสุนัขบ้าท่ีจะ
ถ่ายทอดมาให้เรา แต่แท้จริงแล้วถ้าสัตว์เลี้ยงของเราซ่ึงได้รับวัคซีนเป็นประจำาเกิดไปรับเช้ือพิษสุนัขบ้ามา จะไม่แสดงอาการใดๆ
แต่จะกลายเป็นพาหะนำาโรค เมื่อมากัดหรือข่วนเราจะสามารถถ่ายทอดเช้ือโรคมาสู่เราได้โปรดอย่าละเลยเพราะถ้าป่วยเป็นโรค
แล้วไม่มที างรักษา

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๕๕

ทําเนยี บศิษยเ กา เบญจมราชทู ศิ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

อกี โรคหนง่ึ ท่คี รา่ ชวี ิตผหู้ ญงิ ทวั่ โลกไปจำานวนมากแต่สามารถป้องกันได้คอื โรคมะเร็งปากมดลกู เพราะสาเหตสุ าำ คญั ของ
การเป็นโรคมะเรง็ ปากมดลกู เกิดจากการตดิ เชอ้ื ไวรัส HPV (Human Papilloma Virus) ที่ทาำ ใหเ้ กิดโรคหดู หงอนไก่ ซ่งึ จะทาำ ให้
เซลลป์ ากมดลูกพฒั นาไปเป็นเซลลม์ ะเร็งได้ การฉดี วคั ซนี HPV จะป้องกันโรคหูดหงอนไก่ จงึ สามารถปอ้ งกันมะเร็งปากมดลกู ได้
โดยจะฉดี ใหท้ งั้ เดก็ ผหู้ ญงิ และเดก็ ผชู้ ายในชว่ งอายุ ๙-๑๒ ปี โดยในเดก็ ผชู้ ายวคั ซนี จะชว่ ยปอ้ งกนั การโรคหดู หงอนไกท่ อ่ี วยั วะเพศ
และทวารหนกั ซ่ึงจะป้องกันการถา่ ยทอดเช้อื ดงั กลา่ วไปสคู่ ู่นอน วคั ซนี ชนิดนี้แมไ้ มอ่ ยูใ่ นแผนของกระทรวงสาธารณสุข แต่ถา้ เรา
มีความสามารถพอท่ีจะจา่ ยคา่ วัคซนี ไดก้ ค็ วรจะฉดี ให้ลกู หลาน

โรคหดั เยอรมนั ทเี่ กดิ ขน้ึ ขณะตงั้ ครรภส์ ามารถทาำ ใหท้ ารกพกิ ารหรอื กลายเปน็ โรคลนิ้ หวั ใจรว่ั เชน่ การตดิ เชอ้ื หดั เยอรมนั
ในชว่ ง ๓ เดือนแรกของการตง้ั ครรภ์ ทารกอาจกลายเป็นเด็กพิการลิ้นหวั ใจรั่ว ตาบอดจากต้อกระจก สมองเลก็ ลบี และปัญญาออ่ น
เปน็ ตน้ จดั เปน็ โรคทีน่ า่ กลัวมาก แต่ทงั้ น้ีถา้ ได้รบั วคั ซนี ป้องกันกจ็ ะช่วยไมใ่ หเ้ กิดเรอ่ื งท่นี ่าเสยี ใจขึน้ ได้

แม้ว่าเด็กเล็กๆ จะได้รับวัคซีนมาแล้ว แต่ก่อนการต้ังครรภ์ควรเจาะเลือดเพ่ือตรวจภูมิต้านทานหัดเยอรมันเสียก่อน
สำาหรับคนที่เคยเป็นโรคน้ีแล้วจะมีภูมิต้านทานไปตลอดชีวิต แต่ถ้าตรวจไม่พบภูมิต้านทาน ควรฉีดวัคซีนป้องกันก่อนจะตั้งครรภ์
ล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ เดือน การจะฉีดวัคซีนต้องแน่ใจว่าไม่ต้ังครรภ์ กรณีท่ีต้ังครรภ์แล้วยังไม่เคยได้รับวัคซีนนี้ ควรเจาะเลือด
ดรู ะดบั ภมู ติ า้ นทาน ถา้ ยงั มภี มู ติ า้ นทานกส็ บายใจได้ แตถ่ า้ ไมม่ ภี มู เิ ลยหรอื อยใู่ นระดบั ตา่ำ กห็ า้ มฉดี วคั ซนี ตลอดระยะเวลาการตง้ั ครรภ์
เพราะวคั ซนี หดั เยอรมนั เปน็ วคั ซนี ไวรสั ทมี่ ีชวี ิต

แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามการกนั ไวย้ อ่ มดกี วา่ แก้ ฉะนน้ั โรคทสี่ ามารถรกั ษาไดด้ ว้ ยยาใหห้ ายไดแ้ ตถ่ า้ มวี คั ซนี ทพี่ สิ จู นแ์ ลว้ วา่ ปอ้ งกนั โรค
ดงั กลา่ วไดจ้ รงิ และเรามคี วามสามารถจะจา่ ยไหวหรอื เราอยใู่ นกลมุ่ ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ทจี่ ะปว่ ยดว้ ยโรคดงั กลา่ ว กค็ วรจะไปรบั วคั ซนี
เชน่ โรคไข้หวดั ใหญ่ หรือโรคปอดอักเสบ เป็นตน้

แตถ่ า้ เปน็ โรคทไ่ี มส่ ามารถปอ้ งกนั ไดโ้ ดยวธิ ที างการแพทย์ เชน่ โรคมะเรง็ บางชนดิ หรอื โรคสมองเสอื่ ม เปน็ ตน้ กใ็ ชก้ ารทาำ บญุ
ทาำ ทาน สวดมนต์ ภาวนา เพื่อให้ห่างไกลจากโรคร้ายเหล่าน้ี

สว่ นโรคเรอื้ รงั คอื โรคทเี่ มอื่ เปน็ แลว้ จะตอ้ งรกั ษาตดิ ตอ่ กนั นาน เปน็ แรมเดอื นแรมปหี รอื ตลอดชวี ติ มกั ไดแ้ กโ่ รคไมต่ ดิ เชอ้ื
(Non-infectious disease) เปน็ ส่วนใหญ่ เช่น โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สูง อมั พาต โรคหวั ใจ โรคหดื หลอดลมอักเสบเรอื้ รงั
ถงุ ลมพอง ตับแข็ง โรคภมู แิ พ้ ปวดขอ้ เรอ้ื รังฯลฯ แพทย์จะคอยนดั เพื่อประเมินผลการรกั ษา อาการขา้ งเคียง และคอยปรบั ยาหรอื
เปลี่ยนยาเพื่อให้ได้ผลการรักษาที่ดีตลอดการรักษา สิ่งท่ีเราต้องปฏิบัติคือการรับประทานยาให้ครบถ้วนและไปพบแพทย์ตามนัด
อย่างสม่าำ เสมอ ไมห่ ยดุ ยาเองแม้จะมอี าการดีข้นึ แลว้ กต็ าม

จะเห็นได้ว่าแม้ในกลุ่มผู้ป่วยท่ีแพทย์สามารถรักษาให้หายได้ก็ตาม การรักษาด้วยยาก็เป็นแค่หนึ่งในหลายๆ วิธีท่ีใช้ใน
การรกั ษา ยาทใ่ี ชก้ บั คนไขโ้ รคเรอื้ รงั จะเปน็ ยาทมี่ กี ารบรโิ ภคมากทสี่ ดุ แตย่ าทก่ี บั กลมุ่ โรคทร่ี กั ษาหรอื ไมร่ กั ษากไ็ มห่ ายจะมรี าคาแพง
ทส่ี ดุ เป็นสจั ธรรมทีเ่ พือ่ นๆ ควรตระหนกั เพ่ือประกอบการวางแผนการเงินไวส้ ำาหรับค่ารกั ษาพยาบาลตวั เอง

2๕6 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนียบศษิ ยเ กา เบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช รนุ ๗๕

ในการรักษาโรคด้วยยานั้นแม้ว่าผู้ป่วยจะป่วยด้วยโรคเดียวกันแต่ยาที่ใช้กับแต่ละโรคก็มีหลายชนิด ก็ต้องพิจารณา
เลือกใชย้ าทอี่ าจแตกต่างกนั ไปเพอ่ื ให้เหมาะสมกบั ผูป้ ่วยแตล่ ะสภาวะ รวมถึง เพศ วัย การมีโรคประจาำ ตัว เชน่ โรคไต โรคความดัน
โลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เปน็ ตน้ และผู้ปว่ ยกลุ่มพเิ ศษ เช่น สตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร ทารกแรกเกิด ผูป้ ว่ ยภมู คิ ุ้มกนั
บกพร่อง ผูป้ ว่ ยสูงอายุ เปน็ ต้น ซ่ึงผู้ป่วยกลุ่มตา่ งๆเหล่านี้จะมีอุบัตกิ ารณข์ องอาการขา้ งเคยี ง พิษจากยา และปฏกิ ิริยาตกี ันของยา
มากกว่ากลมุ่ คนหนุ่มสาว จงึ ตอ้ งพิถีพิถันในการเลือกใช้ยาเป็นพิเศษ เช่น

ผปู้ ่วยทารกและเด็กนอกจากจะต้องเลือกยาน้ำาที่มีรสชาติดี รับประทานง่ายแล้ว เนื่องจากอวัยวะที่ทำาหน้าท่ีขจัดยา
ออกจากรา่ งกายเชน่ ตบั และไตกย็ งั ทาำ งานไดไ้ มส่ มบรู ณ์ จงึ มโี อกาสทจ่ี ะไดร้ บั ยาเกนิ ขนาด และอวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกายยงั เจรญิ เตบิ โต
ไมเ่ ตม็ ทจี่ งึ มโี อกาสทจ่ี ะเกดิ พษิ จากยาไดง้ า่ ยกวา่ ผใู้ หญ่ การใหย้ าในเดก็ จงึ ตอ้ งเลอื กยาทไ่ี ดร้ บั การพสิ จู นแ์ ละรบั รองวา่ สามารถใชไ้ ด้
ด้วยความปลอดภัย นอกจากน้ีจะต้องคำานวณขนาดยาอย่างละเอียดรอบคอบ โดยพิจารณาทั้งอายุและน้ำาหนักตัวประกอบกัน
นอกจากยาแล้วการให้วัคซีนในเด็กก็เป็นสิ่งสำาคัญ ซ่ึงวัคซีนแต่ละชนิดต้องให้ตามอายุท่ีเหมาะสม เด็กท่ีคลอดท่ี รพ.จะได้รับคู่มือ
การฉีดวัคซนี ซงึ่ พ่อแมห่ รอื ผู้ปกครองต้องเก็บรักษาไว้เพราะเป็นประวัติสขุ ภาพที่จะต้องใช้ตลอดไป

สตรใี นวยั เจรญิ พนั ธก์ุ ต็ อ้ งระมดั ระวงั ในการใชย้ าเปน็ พเิ ศษทง้ั กอ่ นตงั้ ครรภ์ ระหวา่ งตง้ั ครรภ์ และหลงั คลอดทต่ี อ้ งเลยี้ งลกู
ดว้ ยนมแม่ กอ่ นการตง้ั ครรภส์ ตรที ม่ี คี แู่ ลว้ แตย่ งั ไมพ่ รอ้ มทจี่ ะตง้ั ครรภก์ ม็ กั จะคมุ กาำ เนดิ โดยรบั ประทานยาคมุ กาำ เนดิ ซงึ่ ยาคมุ กาำ เนดิ
กจ็ ะมที งั้ แบบรบั ประทานหลงั มเี พศสมั พนั ธ์ แบบรบั ประทานตลอดรอบเดอื น แบบฉดี แบบฝงั และแบบแผน่ แปะผวิ หนงั ในแตล่ ะกลมุ่
ก็จะมีตวั ยาทีม่ ีคุณสมบัติปลีกยอ่ ยทต่ี า่ งกันบา้ ง ทง้ั นเ้ี พ่อื ใหเ้ หมาะสมกับแตล่ ะบคุ คล แตผ่ ลการคมุ กำาเนดิ จะไมแ่ ตกตา่ งกัน เราจงึ
ควรปรกึ ษาแพทย์หรอื เภสัชกรเพือ่ ใหช้ ว่ ยเลอื กชนิดและตวั ยาท่เี หมะสมกับเราที่สุด เชน่ คนน้ำาหนกั ตวั มาก คนทหี่ นา้ มนั หรือมีสิว
เป็นต้น เมื่อได้ยาท่ีเหมาะสมแล้ว คือรับประทานยาแล้วตัวเราเหมือนตัวเองท่ีสุด ก็สามารถรับประทานยาดังกล่าวไปได้เรื่อยๆ
จนกว่าจะหยุดยาเพื่อให้มีการตั้งครรภ์หรือเปลี่ยนไปคุมกำาเนิดวิธีถาวรโดยไม่ต้องเปล่ียนยา แต่ในกรณีที่จะเปล่ียนยาคุมกำาเนิด
เปน็ ชนดิ อ่นื จะต้องเริม่ ต้นยาเม็ดแรกของแผงแรกในวนั แรกท่มี ีประจาำ เดอื นเทา่ นั้น

สตรีระหว่างตั้งครรภ์ต้องระวังในการใช้ยา คือต้องใช้ยาที่พิสูจน์แล้วว่าปลอดภัยต่อทารกในครรภ์ โดยเฉพาะในช่วง
๓ เดอื นแรกของการตงั้ ครรภ์ คอื ไมท่ าำ ใหท้ ารกเกดิ ความพกิ ารได้ และสตรที เี่ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมแมก่ ต็ อ้ งระวงั การใชย้ าทสี่ ามารถขบั ออก
จากรา่ งกายผา่ นทางนาำ้ นม ถา้ มคี วามจาำ เปน็ จะตอ้ งใชย้ าในชว่ งดงั กลา่ วขอใหเ้ ปน็ ยาทแี่ พทยส์ งั่ ใหห้ รอื ควรไดร้ บั คาำ ปรกึ ษาจากเภสชั กร
แลว้ เทา่ นนั้

การใชย้ าเพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลจะตอ้ งใชใ้ หถ้ กู ขนาด(Dose)และระยะเวลาทใ่ี ชย้ า(Course) ขนาดยา(Dose) คอื ปรมิ าณยา
ที่ได้รับในแต่ละครั้งซ่ึงจะต้องมีปริมาณท่ีพอดีที่เมื่อถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดจะให้ระดับยาในเลือดเพียงพอท่ีจะออกฤทธ์ิได้และ
ไม่เกิดพิษตอ่ ร่างกาย แต่ถ้าเรารับยาเกินขนาดทแ่ี พทยส์ ่งั ให้(Over Dose)แม้จะมีประสิทธิผลในการรักษาโรค แต่กอ็ าจเกดิ พษิ
ต่อร่างกายได้ ส่วนระยะเวลาในการรักษา(Course)คือระยะเวลาที่เราต้องรับยาอย่างสมำ่าเสมอเพ่ือให้หายจากโรค ระยะเวลา
ในการรักษาโรคของยาแต่ละชนิดก็ไม่เท่ากันและไม่ตายตัว ฉะนั้นเม่ือเราได้รับยา หน้าท่ีของเราคือการรับประทานยาตามขนาด
และระยะเวลาท่ีแพทย์หรือเภสัชกรสั่งให้ ในการใช้ยานอกจากขนาดยาจะสำาคัญแล้ว ระยะเวลาในการใช้ยาก็สำาคัญ เช่น

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๕๗

ทําเนียบศิษยเกา เบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

ยาปฏิชีวนะจะต้องกินทุกวันตามจำานวนท่ีแพทย์สั่งจนหมด เม่ืออาการดีแล้วไม่ควรหยุดยาหรือแบ่งยาให้คนอ่ืน โดยเฉพาะการ
ใชย้ าปฏชิ วี นะในการรกั ษาโรคคออกั เสบในเดก็ ตอ้ งรบั ประทานยาจนครบ ๑๐ วนั เพอ่ื ปอ้ งกนั โรคไขร้ มู าตกิ สว่ นยาทร่ี กั ษาโรคเรอ้ื รงั
ก็ตอ้ งรับประทานตลอดไปและไปพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำาเสมอจนกวา่ แพทยจ์ ะสั่งเปล่ียนยาหรอื หยุดยา แต่ไม่ควรหยดุ ยาเอง

ยาตัวเดียวกันแม้จะใช้รักษาโรคเดียวกันแต่เมื่อนำาไปใช้กับผู้ป่วยคนละรายกัน อาจใช้ขนาดและระยะเวลาในการรักษา
ตา่ งกันได้ อาจขึ้นกับผลการตอบสนองของรา่ งกายตอ่ ยา ความรนุ แรงของโรค สภาวะการทาำ งานของตบั และไต เป็นตน้

ในการรักษาโรคใดโรคหน่ึงอาจใช้ยาหลายตัวท่ีมีกลไกการออกฤทธ์ิต่างกันในขนาดยาที่ตำ่าเพ่ือให้เสริมฤทธ์ิกันแทนท่ีจะ
ใชย้ าตัวเดียวหรือน้อยตัวแต่ขนาดยาสงู ซ่ึงจะเกิดอาการขา้ งเคยี งไดส้ ูงกว่า

ยาท่ใี ชใ้ นการรกั ษาโรคเดยี วกันและอยูใ่ นกลุ่มเดยี วกันแต่ต่างชนิดกันนนั้ ขนาดยาทใ่ี ช้อาจไม่เทา่ กัน และยาทมี่ ีปรมิ าณ
ตัวยาสำาคัญต่อเม็ดมากกว่าก็อาจไม่ได้มีความแรงของฤทธ์ิยามากกว่ายาที่มีปริมาณตัวยาสำาคัญต่อเม็ดน้อยกว่า ฉะน้ันถ้าเราเคย
ไดร้ บั ยาทม่ี คี วามแรงต่อเม็ดสงู แต่ตอ่ มาแพทยเ์ ปลยี่ นยาตัวใหม่ทม่ี คี วามแรงตอ่ เม็ดตาำ่ กว่าก็ไม่ตอ้ งกงั วลใจว่าการรักษาจะไม่ไดผ้ ล

ยาที่คนไทยเรยี กสับสนและนำาไปใชก้ นั ผดิ ๆ คอื มกั เรียกยาปฏชิ ีวนะและยาตา้ นการอักเสบ(Anti inflammatory drugs)
ว่ายาแก้อักเสบเหมือนกัน และมักเอาไปใช้สลับกันไปมา เช่นเม่ือมีอาการเข่าอักเสบ ก็มีการไปหาซื้อยาปฏิชีวนะมารับประทาน
หรือเมอ่ื มคี ออกั เสบจากเช้ือแบคทีเรีย กไ็ ปหาซ้อื ยาต้านการอกั เสบมารับประทาน

ยาบางตัวเม่ือใชไ้ ประยะหนง่ึ อาจมกี ารปรบั ขนาดของยาเพ่อื ให้เหมาะสมยิง่ ข้นึ
สงิ่ ที่ผู้ป่วยอยากรู้เมื่อได้รับยาเพื่อรักษาโรค คือจะต้องใช้ยาเวลาไหนบ้าง ซึ่งระยะเวลาในการรับประทานยาจะมีผล
อย่างมากตอ่ ประสทิ ธภิ าพของยา แตไ่ ม่ได้มกี าำ หนดตายตัวว่ายาประเภทไหนจะต้องรบั ประทานตอนไหน ขนึ้ กับคณุ สมบตั ขิ องยา
แต่ละตัวมากกวา่
คณุ สมบตั ขิ องยานนั้ มคี วามสมั พนั ธก์ บั มอื้ อาหารหลายรปู แบบ เปน็ ทม่ี าของการทต่ี อ้ งรบั ประทานยากอ่ นหรอื หลงั อาหาร
เชน่ อาหารไปลดการดดู ซมึ ยาบางตวั จากกระเพาะอาหารหรอื ยาบางตวั ถกู ทาำ ลายโดยกรดในกระเพาะอาหารซง่ึ หลงั่ ออกมาตอนเรา
รบั ประทานอาหาร และยาทมี่ ฤี ทธยิ์ บั ยง้ั การหลง่ั กรดในกระเพาะอาหาร ยาเหลา่ นจ้ี งึ ตอ้ งรบั ประทานกอ่ นอาหารประมาณ ๓๐ นาที
สำาหรับยาท่ีต้องการให้ไปเคลือบแผลในกระเพาะอาหารเช่นยารักษาโรคกระเพาะอาหารชนิดน้ำา จะต้องรับประทานตอนท้องว่าง
คอื ก่อนอาหาร ๑ ชม.หรอื หลงั อาหาร ๒ ชม. สว่ นยาท่ีสามารถรับประทานกอ่ นหรือหลงั อาหารก็ไดค้ อื ยาทีอ่ าหารไมร่ บกวนการ
ดดู ซมึ เรามกั นยิ มใหผ้ ปู้ ว่ ยรบั ประทานหลงั อาหารมากกวา่ เพราะการใหร้ บั ประทานยาหลงั อาหารจะไดร้ บั ความรว่ มมอื ดกี วา่ สว่ นยา
ท่ีต้องรับประทานหลังอาหารจะเป็นยาท่ีมีฤทธิ์ระคายเคืองกระเพาะอาหาร และยาที่ต้องอาศัยไขมันในอาหารในการดูดซึมยา
จากกระเพาะอาหาร ยาทต่ี ้องรับประทานหลังอาหารควรรับประทานหลงั อาหารทันทีหรอื ไมเ่ กิน ๓๐ นาที
นอกจากนี้ยังมียาที่ต้องรับประทานในเวลาท่ีจำาเพาะเจาะจงด้วยเหตุผลท่ีแตกต่างกัน เช่น ยาความดันที่รับประทานมื้อ
เดียวจะให้ตอนเช้า ยาแก้แพ้ ยาคลายเครียดมักจะทำาให้ง่วงนอนจะให้ก่อนนอน ยาลดไขมันในเลือดจะให้ก่อนนอนเพราะไขมัน
มีการสร้างเมอื่ เรานอนหลับ ยาบางอยา่ งใช้เมือ่ เราต้องการ เช่น เมือ่ ปวด เมือ่ มีไข้ เม่อื ถ่ายเหลว เปน็ ต้น

2๕8 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศิษยเกาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

หน้าที่ของเราคือการใช้ยาตามฉลากยา ถ้าสงสัยวิธีการใช้ยาก็สามารถสอบถามจากเภสัชกร เพ่ือจะได้ไม่ต้องกังวลว่า
เหตใุ ดเวลาท่แี พทย์สง่ั ใหใ้ ช้ไมไ่ ดเ้ ป็นไปตามท่ีเราเคยรับรมู้ าก่อน

คณุ สมบตั ขิ อ้ สดุ ทา้ ยของยาทเ่ี ราตอ้ งคาำ นงึ คอื ชอ่ งทางในการใหย้ า(Route of Drug Administration) เชน่ การใหท้ างปาก
ในรปู แบบของยารบั ประทาน ยาอมใตล้ ้ิน เปน็ ต้น หรอื โดยการฉีดเชน่ ฉีดเขา้ กล้ามเนอื้ ฉดี เขา้ ใตผ้ วิ หนัง หรือฉดี เขา้ ทางเส้นเลือด
เป็นต้น หรือยาที่ใช้เฉพาะท่ี เช่นยาทาแผล ยาทาผิวหนัง ยาสอดช่องคลอด ยาเหน็บทวารหนัก ยาสวน ยาเม็ดอม ยาพ่นจมูก
เพอ่ื แกแ้ พ้ แกค้ ดั จมกู ยาพน่ แกห้ อบ เปน็ ตน้ เพอื่ ใหก้ ารใชย้ าในแตล่ ะชอ่ งทางเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ จงึ จาำ เปน็ ตอ้ งพฒั นารปู แบบ
ของยา (Dosage Form) ให้เหมาะสม เนื่องจากโรคแต่ละชนิดหรือผู้ป่วยในแต่ละสภาวะอาจต้องการยาท่ีมีรูปแบบแตกต่างกัน
หน้าท่ีของเราผู้ใช้ยาคือการใช้ยาให้ถูกต้องตามวิธีที่เภสัชกรแนะนำาต้ังแต่การเก็บยาที่อุณหภูมิไม่เกินท่ีกำาหนดไว้ โดยเฉพาะ
ยาหยอดตาบางตวั ยาเหนบ็ ทวาร และยาผงทผี่ สมนาำ้ ใหเ้ ปน็ ยานา้ำ แขวนตะกอนแลว้ ตอ้ งเกบ็ ในตเู้ ยน็ การเตรยี มยากอ่ นการรบั ประทาน
เช่นยาผงทตี่ ้องละลายน้ำาก่อน ซ่ึงในอดตี มกั จะแนะนำาให้ใชน้ าำ้ ตม้ สกุ ทเ่ี ยน็ แลว้ แต่ปจั จบุ ันเราใชน้ าำ้ บรรจุขวดในการดื่ม ซ่งึ สะอาด
เพียงพอในการผสมยาจึงไม่ต้องเสียเวลาต้ม การเขย่าขวดก่อนรินยาก็สำาคัญ ถ้าเขย่าไม่ดีพอจะได้ขนาดยาไม่สมำ่าเสมอซึ่งจะมีผล
ตอ่ ประสทิ ธภิ าพของยา การตวงขนาดยาใหถ้ กู ตอ้ ง การแบง่ เมด็ ยาใหไ้ ดต้ ามขนาดทแ่ี พทยส์ งั่ โดยเฉพาะยาทไี่ มม่ รี อยบากทเ่ี มด็ เปน็ ตน้
ส่วนวิธีการใช้ยาชนิดอ่ืนๆท่ีนอกเหนือจากยาชนิดรับประทานน้ันก็ควรปรึกษาเภสัชกรเพื่อทำาความเข้าใจและฝึกฝนวิธีใช้ยา
ใหช้ ำานาญ เพอ่ื ใหย้ าออกฤทธ์ิได้อย่างมีประสทิ ธิภาพทส่ี ดุ

สดุ ทา้ ยนใ้ี นการใชย้ านน้ั นอกจากจะตอ้ งคาำ นงึ ถงึ ประสทิ ธภิ าพคอื สามารถหายจากความเจบ็ ปว่ ยดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ยานน้ั
จะต้องมคี วามปลอดภยั คอื ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลเสียแกร่ ่างกาย 5 ประการคอื

- ไมม่ ีอาการข้างเคียง(อาการที่ไม่พึงประสงค์) ชนิดรุนแรง อาการข้างเคียงของยาบางชนิดนำาไปใช้ประโยชน์ทาง
การแพทยไ์ ด้ เช่น Minoxidil เปน็ ยาลดความดัน มอี าการขา้ งเคียงคือมผี มและขนขนึ้ ดกกว่าปกติ จึงนาำ มาใช้เปน็ ยาปลูกผม หรอื
ยาแกอ้ าเจยี นท่ชี ือ่ Domperidone มีอาการข้างเคยี งคอื ทำาให้มนี าำ้ นมไหลในสตรี จึงนาำ มาใชเ้ ปน็ ยาขบั นำ้านมในสตรีทใ่ี หน้ มบุตร
ในรายทน่ี ำา้ นมไหลนอ้ ย เปน็ ต้น

- ไม่เกิดอาการแพย้ า เพราะอาการแพ้ยาบางชนดิ อาจรุนแรงถงึ ขั้นเสยี ชีวติ ได้ เชน่ ยาในกลมุ่ เพนซิ ิลลิน เป็นตน้
- ไมเ่ กดิ พษิ จากยา ทง้ั ตอ่ ตวั ผปู้ ว่ ยเอง รวมทง้ั ทารกในครรภห์ รอื ทารกทถี่ กู ลย้ี งดว้ ยนมมารดา นอกนตี้ อ้ งไมเ่ ปน็ สารกอ่ มะเรง็
- ไม่เกิดปฏิกิรยิ าตกี ับยาตัวอน่ื ท่ใี ชก้ าำ ลังใชอ้ ยู่ โดยเฉพาะยาประจาำ ตวั
- ไม่ทำาให้โรคประจาำ ตวั (ถา้ มี)มอี าการกาำ เริบหรอื ควบคุมโรคไดย้ าก
ท้ายท่ีสุดน้ีหวังว่าเพื่อนๆ ท่ีเสียสละเวลาให้แก่บทความนี้ คงได้ประโยชน์พอสมควร และสามารถนำาไปปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจาำ วนั ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กค่ นเองและครอบครวั และขอใหท้ กุ คนมสี ขุ ภาพแขง็ แรง ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ และโชคดตี ลอดไป

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 2๕9

ทําเนยี บศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

เมอื่ ชีวิตสูงวยั ...จะพึ่งตนเองอยา่ งไร
ให้ปลอดภยั จากความรำาคาญผ้อู ่นื

จริ ชยั (อารมย์) เชาวลิต
“เมอ่ื ตอ้ งเผชญิ หนา้ กบั ความชรา จ�าต้องมวี ถิ ีชีวติ ท่พี ่ึงตนเองได้ และไม่เปน็ ทนี่ ่าร�าคาญของญาติพ่ีน้อง ลูกหลาน”
สขุ ภาพรา่ งกายและจติ ใจ จงึ เปน็ เรอื่ งทตี่ อ้ งเอาใจใสใ่ หม้ ากยง่ิ ขนึ้ การหากจิ กรรมมาทาำ ทไ่ี ม่ ตอ้ งเรยี กรอ้ งนน่ั น่ี จากคนอน่ื
ไมต่ อ้ งนงั่ ทวงบญุ คณุ ไมต่ อ้ งเอาเรอื่ งเกา่ ๆ มาพดู ตลอดเวลา เคยชว่ ยใคร ใครเคยชว่ ยคณุ กป็ ลอ่ ยใหม้ นั ผา่ นไป การใชช้ วี ติ อยา่ งใจกวา้ ง
ไม่เอาแตใ่ จตวั เอง คดิ ถงึ ความร้สู ึกคนอื่น คิดดี พดู ดี ทาำ ดี ทาำ ใหค้ นอ่ืนอยากเขา้ ใกล้ สบายๆ
ท่ีผ่านมา...เราต้งั หนา้ ตั้งตาทาำ มาหากนิ กัน ไมไ่ ด้นกึ ถึงสุขภาพตวั เองเท่าไหร่ ฝากชีวติ ไวก้ ับ ร.พ. คิดว่า ร.พ.คงจะชว่ ย
ดแู ลชวี ติ เราได้ มาถึงปจั จบุ นั เหน็ ประจักษแ์ ลว้ ว่า หลายๆสิ่งที่เราหวังพึง่ ผู้อน่ื นน้ั มันถงึ ทางตัน กนั แล้ว ...หลายๆ อย่าง ท่ผี ่านมา
ในชีวติ เรา....เป็นภาพลวงตามากมาย สิ่งท่เี ราเหน็ ไม่เปน็ ดัง่ ทีเ่ ราคิด
เมอ่ื ยงั เดก็ ๆ อยเู่ ขา้ ใจวา่ คนทเ่ี รยี นดไี ดค้ ะแนนสงู สอบตดิ มหาลยั ดๆี จบดอ๊ กเตอรห์ ลายๆใบ คอื “คนเกง่ ” ...โตขนึ้ หนอ่ ย
เราเขา้ ใจว่าคนทำางานทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ผลงานดี รายได้สูงๆ เปน็ ท่ีร้จู ักทวั่ ไป คอื “คนเก่ง” ...มาวนั นี้ หลายคนคงเข้าใจวา่ คิดผดิ
มาตลอด...”คนเก่งที่แท้จริง”...ไมใ่ ช่ “คนเกง่ ” ...ท่ีเคยเขา้ ใจในชวี ิตท่ผี ่านมา....
คนเก่งท่ีแท้จริง....อยู่กับร้อนให้เป็น...อยู่กับเย็นให้ได้....พึ่งตนเองได้...ไม่มีส่ิงท่ียากในชีวิต....ไม่มีอะไรท่ีทำาให้เหน่ือย...
ไม่มอี ะไรท่ที าำ ไม่ได.้ ..ไม่มีเรอ่ื งขเ้ี กยี จในใจ...ไม่มีความรสู้ ึกเบ่ือในหวั ใจ...สามารถแบง่ ปันให้ผอู้ น่ื ได้....คนอื่นอยากเข้าใกล้ สบายๆ...
ทำานองน้ี..กาลเวลาทผ่ี ่านมา...ใหเ้ ราได้เหน็ กนั แลว้ ..ใช่ไหมครับ
หลายทา่ นคงมแี นวทางในการพง่ึ ตนเอง โดยเฉพาะการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ มที ง้ั การปอ้ งกนั และแกไ้ ข ผมมโี อกาสไดเ้ รยี นรู้
THC และ CBD จากพชื สมนุ ไพรทถี่ กู นาำ มาจดั เปน็ ยาเสพตดิ คอื กญั ชาและกญั ชง....ทกี่ าำ ลงั อยใู่ นความสนใจในสงั คมเราทกุ วนั นี้
อันที่จริงโด่งดังไปถึงอเมริกาตั้งแต่ยุคสงครามเวียดนาม ก่อนท่ีพวกเราจะมาเจอกันท่ีเบญจม แต่ในปัจจุบันเราเป็นประเทศแรก
ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ท่ใี ห้ใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ได้ หลายๆ คนทีเ่ ป็นโรคเรื้อรงั มานานรักษามาทั่วไม่หายสกั ที มาใช้กัญชา
รักษาหายได้ จากประสบการณ์ตรง ของผู้ใช้นำ้ามันกัญชงกัญชาท่ีเล่าให้ฟังมาจากหลายแห่ง เป็นท่ีประจักษ์ว่าช่วยให้คนท่ีใช้

260 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนียบศษิ ยเกา เบญจมราชูทศิ นครศรธี รรมราช รนุ ๗๕

กญั ชงกญั ชา หายจาก โรคตา่ งๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เปน็ ทยี่ อมรบั ของแพทยแ์ ผนไทยซงึ่ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทอ่ี ยคู่ กู่ บั คนไทยมายาวนาน
(ลางเน้อื ชอบลางยาคงมีบา้ ง) จึงทำาให้เห็นว่ากญั ชาตอ้ งมกี ารควบคมุ ใกล้ชิดเพื่อการรักษาผลประโยชนก์ ันหลายๆ ฝา่ ย แต่ปัจจบุ ัน
ชาวบา้ นคงจะหมดหวงั ทจ่ี ะมกี ญั ชาไวร้ กั ษาตนเองบา้ นละ ๒-๓ ตน้ จงึ ตอ้ งหนั มาใช้ กญั ชง ในการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพตนเองแทนกญั ชา

กัญชง...กญั ชา เปน็ พนี่ อ้ งกนั มาจากตน้ กาำ เนดิ เดยี วกนั ทเี่ รยี กรวมกนั วา่ Cannabis ความแตกตา่ งทางกาย ภาพทส่ี งั เกตงา่ ยๆ
แบบชาวบา้ น กญั ชง(Hemp)...ลาำ ตน้ จะสงู ถงึ ๓-๔ เมตร กญั ชา(Marijuana)...จะเปน็ พมุ่ เตยี้ แตค่ วามแตกตา่ งทจ่ี ะแยกออกจากกนั
ท่ีแนน่ อน คอื ส่วนประกอบทางเคมี THC กญั ชง THC มคี ่าต่ำากวา่ ๐.๕ % (กำาลังจะปรับ เปน็ ๑ %)

มผี รู้ เู้ ลา่ วา่ ในรา่ งกายเรานน้ั มรี ะบบ Endocannabidiol พรอ้ มทจี่ ะรบั สาร Cannabis เพอื่ สรา้ งความสมดลุ ใหเ้ ซลลร์ า่ งกาย
เมื่อเซลล์มีความสมดุล ทำาให้ร่างกายมีความแข็งแรงสามารถที่จะฟื้นฟูตัวเองจากวิกฤตของ โรคต่างๆ ได้ ยังมีผู้รู้เล่าให้ฟังต่อว่า
กัญชงกญั ชาสามารถลดความเครยี ดลงได้ ทำาให้นอนหลับสบาย คงดว้ ยสิ่งเหล่ากระมังทที่ ำาใหค้ นหายจากโรคต่างๆ ได้เมื่อมาใช้
กัญชงกัญชาบาำ บัด จากประสบการณท์ ี่ไดค้ ยุ กบั คนรนุ่ พอ่ แม่ พบว่าหากกนิ อาหารได้ นอนหลบั สบาย และขบั ถา่ ยคลอ่ ง พ้นื ฐาน
๓ อย่างที่จะทำาใหผ้ สู้ ูงวยั ไปส่คู วามสุขสบายเบื้องตน้ ได้

ส่ิงต่างๆ ในโลกนี้ อาจจะมีคุณค่ากับคนหน่ึง แต่ไร้ค่ากับอีกคนหนึ่ง กัญชงกัญชาก็เช่นกัน มีคนที่ต่อต้านอีก มาก
โดยเฉพาะกลุ่มคนท่ีจะสูญเสียประโยชน์เม่ือคนหันไปใช้กัญชงกัญชามากข้ึน จึงขอแนะน�าไว้เป็น ทางเลือกหน่ึงของชีวิตสูงวัย
ท่ีคิดวา่ ชีวติ น้ียังไม่ถงึ ทางตนั ความหวงั ยังมีอยู่

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 26๑

ทาํ เนยี บศิษยเกาเบญจมราชทู ิศ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

ชมจันทร์

สทุ ิน สายสงวน
พวกเราดาำ เนนิ ชวี ติ โลดเลน่ ไปตามความใฝฝ่ นั เรม่ิ จากวยั เรยี น ถดั จากนนั้ เราไดส้ รา้ งสรรคก์ จิ กรรมตา่ งๆ ในชวี ติ เพอ่ื ตอบสนอง
ความตอ้ งการของตนเอง ครอบครวั และสงั คม ทำาให้เรามคี วามสขุ ตามวัย เกิดความพงึ พอใจในชีวิต ... กระท่ังเวลาล่วงเลยเขา้ สู่
วัยเกษยี ณอายุราชการ
ราวกลางปี ๒๕๖๒ ชว่ งผมไปร่วมงานฌาปนกจิ เบา้ (สรุ ชัย เดชรตั นวไิ ชย เลขประจำาตัวนักเรยี น ๘๔๙๖ ) ณ อำาเภอสิชล
จงั หวดั นครศรีธรรมราช น้ัน ผมไดม้ โี อกาสพบแปะ๊ เปน็ ครั้งแรกหลงั จากพ้นรวั้ ขาว-แดง ปี ๒๕๑๘... การจากไปของเบา้ ทาำ ใหแ้ ป๊ะ
ร้สู ึกวา่ เขาได้สญู เสยี บางอย่างทม่ี คี ่าในชีวติ ไป คือ เพือ่ นรกั ขณะนี้คงเหลือเพียงความทรงจำา
“เราบา้ นใกลก้ นั ” เขาวา่ “เช้าถงึ เยน็ ถึง ก็วา่ ได้ แตว่ ันน้ี ว่างเปล่า” พร้อมกบั ถอนหายใจ
รับฟงั ถงึ ตอนนี้ ทาำ ให้ผมนกึ ถึงคำาพดู ของเพ่อื นคนหนง่ึ ทีท่ ราบข่าวการจากไปของเพือ่ นรักเมอ่ื หลายปกี ่อน เขากลา่ วว่า
“เพอื่ นเป็นอะไรท่ไี มม่ สี ิ่งใดบนโลกมาทดแทนได”้
ก่อนผมเดนิ ทางกลบั กรุงเทพมหานคร แปะ๊ ได้หยิบหนงั สือทร่ี ะลึกงานฌาปนกิจเบา้ ชขู นึ้ พร้อมพูดว่า
“หลายปกี อ่ น พวกเราไดจ้ ดั ทาำ หนงั สอื ทรี่ ะลกึ ชอื่ “หนงั สอื สงั สรรคร์ นุ่ เบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รนุ่ ๗๕ : ๑๕๑๗
เมษายน ๒๕๕๖”
เขามองหน้าผม แลว้ ถามว่า “คณุ เคยเหน็ หรือไม”่
ผมส่ายหน้า เพราะไม่เคยทราบมาก่อน เขาพดู ต่อ
“แลว้ ผมจะสง่ ไปใหอ้ า่ นนะ... ผมอยากทาำ หนงั สอื ทาำ นองนี้ สาำ หรบั ปี ๒๕๖๒ เปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ยกอ่ นวางมอื ตง้ั ใจวา่ จะปรบั ปรงุ
ทาำ เนยี บรนุ่ -เพอื่ นๆ เบญจม ๑๕๑๗ ใหส้ มบรู ณท์ ส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะสบื คน้ ขอ้ มลู ได.้ .. และ หากเปน็ ไปได้ อยากพมิ พส์ ส่ี ใี นรปู แบบ “๑ คน ๑ หนา้ ”
ซ่ึงคงหนาเอาการ...ฯลฯ”
แปะ๊ จ้องตาผม แลว้ พดู ตอ่ แบบเนน้ คาำ ว่า
“วยั หน่มุ สาว ผมไดใ้ ช้ชวี ิตอย่างคุ้มค่าแล้ว หลายปีมานี้จงึ ได้พยายามเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาบ้านเกิด เพือ่ คนื ความสุข
ใหส้ งั คมบา้ ง วันนี้-ผมคิดถงึ เพื่อนๆ บ.ม. ๑๕๑๗ อยากแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์” และวา่ “หนังสอื อนสุ รณ.์ ..
จะเปน็ จุดเร่ิมต้นทด่ี ี...เปน็ ส่อื กลางสอ่ื สารถึงกนั ”
เดอื นมิถนุ ายน ๒๕๖๒ หลังจากผมกลบั ถงึ กรุงเทพฯ ไดไ้ ม่กว่ี นั กไ็ ดร้ ับหนังสอื สังสรรคร์ นุ่ ฯ ดังกล่าว พร้อม CD ข้อมลู
รูปภาพ จากแป๊ะ โดยทาง ปณ. EMS ซงึ่ ผมพลกิ ดหู นังสอื ทุกเล่มทเี่ ขาส่งมาให้
ถดั จากนน้ั ผมเดนิ ทางไปหอสมดุ แหง่ ชาติ ทา่ วาสกุ รี ถนนสามเสน เพอื่ สาำ รวจหนงั สอื อนสุ รณข์ องสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ
(ราว ๓๐ ปีก่อน ผมเคยเปน็ สมาชิกหอสมดุ แหง่ ชาติ)

262 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทาํ เนยี บศิษยเกาเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

อย่างไรก็ตาม คร้ังน้ี หอสมุดแห่งชาติเพ่ิงปิดซ่อมจึงยังไม่อนุญาตให้เข้าถึงหนังสือท่ีผมสนใจได้ ผมได้แจ้งความจำานง
ต่อบรรณารักษ์ ขอศึกษาคน้ คว้าหนังสอื อนสุ รณ์เท่าท่ที างเจา้ หน้าทจ่ี ะสะดวกจัดหาให้ได้ ไม่จำาเพาะเจาะจงสถาบนั ใดใด

เมอ่ื ไดร้ บั หนงั สอื อนสุ รณจ์ าำ นวนหนงึ่ ผมตง้ั ใจศกึ ษาทกุ เลม่ ตงั้ แตห่ นา้ แรกไปจนถงึ หนา้ สดุ ทา้ ยเพอื่ เปรยี บเทยี บ รปู ลกั ษณ์
เน้ือหา องคป์ ระกอบตา่ งๆ

กอ่ นกลบั ผมขอคน้ ควา้ เพมิ่ เตมิ หนงั สอื ทรี่ ะลกึ ตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ของเรา และถา่ ยเอกสารทง้ั เลม่
หรือบางสว่ น

ขณะรอสาำ เนาเอกสารดงั กลา่ ว ผมมเี วลาพจิ ารณาใครค่ รวญถงึ ส่งิ ที่ไดค้ ้นควา้ พบว่า หนังสือสังสรรคร์ นุ่ ฯ ปี ๒๕๕๖
ของพวกเรา กระชับท่ีสดุ แลว้ ตอบโจทย์ดังท่ชี าญศลิ ป์ ศรีมณี (เลขประจำาตัว ๘๔๙๕) เขียนว่า

“...คาดหวังและม่ันใจว่า หนังสือท่ีระลึกงานสังสรรค์รุ่น เบญจม ๑๕๑๗ ปี ๒๕๕๖ เล่มน้ีจะเป็นจุดเริ่มต้นอันงดงาม
ในการรวบรวมเรอื่ งราวของเพ่อื นๆ ใหส้ มบูรณ์ย่ิงขึน้ ในปีหน้าและปีต่อๆ ไป เพือ่ เป็นทร่ี ะลึกถงึ กนั และยึดโยงความสัมพนั ธใ์ นหมู่
พวกเราใหแ้ นน่ แฟ้นย่งิ ข้นึ ”

ช่วงเวลาที่ผมพยายามสรุปย่อประวัติโรงเรียนของเราจากข้อมูลท่ีมีอยู่น้ัน วันหนึ่ง แป๊ะติดต่อมา พร้อมโอนเงินจำานวน
๓,๐๐๐บาทให้เป็นค่าเดนิ ทางและคา่ ใช้จ่ายจาำ เปน็ โดยให้ผมเดินทางไปสืบคน้ ข้อมูลปฐมภูมิและขอ้ มูลทตุ ยิ ภูมิทีน่ ครศรธี รรมราช
ทั้งกาำ ชับวา่ ต้องทนั ร่วมงานวนั เกดิ ของประธานรนุ่ ฯ อภิวฒั น์ (สุวัฒน์ รตั นนาคนิ ทร์ เลขประจาำ ตัว ๘๔๘๘)

ณ หอ้ งทำางานสมาคมศษิ ยเ์ กา่ ฯ ทีมงานได้ร่วมกนั ตรวจทาน คน้ หารายช่ือเพ่อื นๆ เพอื่ ปรบั ปรงุ ทาำ เนียบรนุ่ ให้ทนั สมัย
โดยยึดตามสมุดทะเบียน ต๒ก ท่ีทางโรงเรียนรักษาไว้ ประกอบกับฐานข้อมูลเดิมที่ สมถวิล จิตติมงคล (เลขประจำาตัว ๘๖๐๒)
เคยรวบรวมเปน็ ฐานขอ้ มลู ไวใ้ น file excel ในการนี้ สหาย จฟุ๊ (ศภุ ฤกษ์ ณ พทั ลงุ เลขประจาำ ตวั ๙๑๙๐) และ พยี่ มิ้ (โสภณ บรรจงเมอื ง
เลขประจำาตวั ๘๑๖๔) ได้เสียสละเวลามารว่ มดว้ ยชว่ ยกนั

ปรากฏวา่ สมดุ ทะเบยี น ต๒ก มเี พยี ง ๓ เลม่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งพวกเรา คอื เลม่ ที่ ๑๒, ๑๓ และ ๑๔ สว่ นเลม่ ที่ ๑๕ หายไป เลม่ ที่ ๑๖
ไม่พบพวกเราอกี เลย ดังนนั้ เบอ้ื งต้นสรุปว่าชาว บ.ม.๑๕๑๗ มีทง้ั หมดราว ๔๐๐ คน เนื่องจากมีเวลาจาำ กัดจึงไมไ่ ดม้ ีโอกาสทบทวน
ให้มั่นใจ เพ่ือนๆ ลองหลับตาแล้วนึกภาพการตรวจสอบรายช่ือที่บันทึกด้วยลายมือในสมุดทะเบียน ต๒ก ราว ๕๐ ปีก่อน ซึ่งมี
ตัวอกั ษรขนาดเลก็ หมกึ กจ็ าง ... บอกไดเ้ ลยว่าสองสามวันนน้ั เมื่อเลิกงาน ทุกคนในทีมจะรสู้ ึกมึนศีรษะ ตาลาย

เม่อื ผมไปร่วมสังสรรค์ในงานวันเกิดของประธานรุ่นฯได้สัมผัสบรรยากาศมิตรภาพ อบอุ่น ตรึงใจ คืนนั้นผมตระหนัก
ด้วยตัวเองวา่ ...จำาเป็นตอ้ งมหี นงั สอื อนสุ รณไ์ ว้กระชบั ความสัมพนั ธเ์ พื่อนเกา่ เพราะลาำ พงั กลุ่มไลน์หรือโชเชยี ลมีเดียยังไมเ่ พียงพอ
จะเห็นว่า เพ่ือนออนไลน์บางคนที่ผมทักทายโต้ตอบทางไลน์เป็นประจำา แต่เมื่อพบหน้ากันแบบซ่ึงหน้า หรือ พบเห็นตัวเป็น ๆ
เราท้ังคกู่ ลับไปไมร่ ู้จกั กันและร้สู กึ ราวกบั วา่ เป็นคนแปลกหน้ากไ็ มป่ าน อาจเนือ่ งด้วยระยะเวลา ๕๐ ปี ซึง่ ยาวนานเกนิ กวา่ จะ
จดจาำ รูปรา่ งหนา้ ตา อกี ท้งั ความเปล่ยี นแปลงของสังขารและหนว่ ยความจำาสมองกถ็ กู ทดแทนด้วยเร่อื งราวมากมาย

๒๘ กนั ยายน ๒๕๖๒ เมอื่ ประธานรนุ่ ฯกลา่ วเปดิ งานแลว้ เปดิ โอกาสให้ ลงุ บญุ เสรมิ (บญุ เสรมิ แกว้ พรหม เลขประจาำ ตวั ๘๔๔๙)
นำาเสนอเคา้ โครงหนังสอื รนุ่ และแนวทางการระดมทุนใหป้ ระชาคมชาวเบญจม ๑๕๑๗ อยา่ งเปน็ ทางการ...สัญญาประชาคม

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 263

ทาํ เนยี บศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

คาำ่ คนื นนั้ วนั คนื สเู่ หยา้ ลกู ขาว-แดง รนุ่ ๗๕ปนี ี้ ผมพยายามเดนิ ทกั ทายทว่ั ทกุ โตะ๊ ซงึ่ ผมเกดิ ความรสู้ กึ เดยี วกบั ทเ่ี คยสมั ผสั
ในงานวนั เกดิ ของประธานรนุ่ ฯ...ทาำ ใหผ้ มนกึ ถงึ บทกวขี อง ชยั วฒั น์ สแี กว้ (เลขประจาำ ตวั ๘๖๑๖) ซง่ึ กอ่ นนน้ั ผมบอกเขาวา่ ผมชมชอบ
กลอนบทน้ขี องเขานะ...ลึกซึ้ง กินใจ และขอให้ช่วยเขยี นเปน็ ภาษาโบราณให้ดว้ ย ดงั น้ี

“เบญจม กล่อมเกลา ใหเ้ รารกั
อักษรปกั บ.ม. สืบสง่ ผล

มิเคยพดู มิเคยพบ ครบทุกคน
แต่ บ.ม. เหมือนมีมนต์ ให้ผกู ผนั ”
เนอ่ื งจากผมเป็นนักวจิ ยั สังคมศาสตร์ ผมนึกภาพความสัมพนั ธท์ างสงั คมรูปแบบหลากหลายไดท้ นั ที
คาำ ประพนั ธข์ องชยั วฒั นส์ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ภาพการปฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม ระหวา่ งคนตอ่ คน คนตอ่ กลมุ่ ถกั ทอเปน็ เครอื ขา่ ย
ความสมั พนั ธท์ างสงั คม แมเ้ รา “มเิ คยพูด มเิ คยพบ ครบทกุ คน” แตก่ ็มคี วามรกั ความความผูกพันตอ่ กนั เปน็ โยงใย....อาจอธิบาย
ด้วยภาพ ดงั นี้

ชีวติ นักเรียนในรั้วขาว-แดงช่วงปกี ารศกึ ษา ๒๕๑๓ - ๒๕๑๗ พวกเรามีพ่ีนอ้ งร่วมโรงเรยี น, เพื่อนรว่ มชั้น, เพอ่ื นเลน่ ,
เพ่อื นชมรม,เพ่ือนสนิท หลังจากพวกเราก้าวพ้นร้ัวโรงเรยี น วิถชี วี ติ ก็แตกตา่ งกนั ไป บา้ งเรยี นต่อสายสามัญขน้ั อดุ มศึกษา บ้างเข้า
ส่สู ายอาชพี เวลาผ่านไปและผา่ นไป ในวยั ทาำ งานของพวกเราทงั้ ทท่ี าำ งานในองคก์ รภาครฐั ภาคเอกชนและธุรกจิ สว่ นตวั พวกเรา
ได้สรา้ งคุณูปการแก่สงั คมเปน็ ที่ประจักษ์ ตามสาขาอาชพี ตามโอกาส ตามกาละเทศะ

อนง่ึ ชว่ งเวลา ทพี่ วกเราเหนิ หา่ ง ขาดหายไปในวยั ทาำ งาน เพอื่ นบางคนอาจมี Connection ทห่ี ลากหลาย ซง่ึ เราอาจไมเ่ คยรู้
สงิ่ เหล่าน้ีอาจช่วยเหลือเกอ้ื กลู กนั และกันได้ อยา่ งคาดไมถ่ งึ ก็เป็นได้

264 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนยี บศษิ ยเ กาเบญจมราชทู ิศ นครศรธี รรมราช รุน ๗๕

ธวัช ผลความดี (เลขประจาำ ตวั ตัว ๘๔๔๖) เคยพดู กับผมวา่ เพอ่ื นร่วมรนุ่ ทกุ คนลว้ นเป็นทุนมนุษย์ (Human capital)
เปน็ ทรพั ยากรมนษุ ยท์ ม่ี คี า่ ยง่ิ ความรแู้ ละประสบการณใ์ นชวี ติ การทาำ งาน หากสามารถชว่ ยเพอื่ นไดบ้ า้ ง กย็ นิ ดี โดยเฉพาะเมอื่ คนรนุ่ อายุ
พวกเราเขา้ สสู่ งั คมสงู อายุ ในทาำ นองเดยี วกนั หมอหนยุ่ (ธวชั ชยั หรอื ธนบดี รอดสม เลขประจาำ ตวั ๘๔๔๗) บรรจงเขยี น เรอ่ื งเนอ้ื ๆ
โดยนำาประสบการณ์ตรงมาแบ่งปันเพ่ือนๆ เพ่อื คณุ ภาพชีวติ และ บงั (สงัด อนิ ทรน์ ิพฒั น์ เลขประจำาตัว ๘๔๗๑) ใหข้ อ้ ควรคำานงึ
ในการใชย้ ารักษาโรคอยา่ งชาญฉลาด ฉลาดบริโภค

สปั ดาห์สุดท้าย ก่อนปิดเล่มหนังสือ ผมได้มีโอกาสรับฟังทัศนะในการปฏิบัติหน้าท่ีราชการของ อภินันท์ จันทรังษี
(เลขประจาำ ตวั ๙๒๔๐) ซึง่ เคยเป็นประธานชมรมภาษาองั กฤษ เม่ือ ๕๐ ปกี ่อน สร้างทกั ษะเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษโดยใช้วิธีธรรมชาติ
จาก Peace Corps ผมยน่ ยอ่ ไดว้ า่ “โชคดที ม่ี โี อกาส เรยี นรแู้ บบอยา่ งทด่ี ี จากผบู้ งั คบั บญั ชาทดี่ ี คดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคแ์ ละทาำ ใหส้ ดุ กาำ ลงั ”

ผมประทบั ใจเปด็ (สวุ นิ อจั ฉมิ างกรู เลขประจาำ ตวั ๘๔๖๕) เมอ่ื หลายปกี อ่ น ประเทศญปี่ นุ่ ประสบอบุ ตั ภิ ยั ทงั้ แผน่ ดนิ ไหว
คลนื่ สนึ ามถิ ลม่ และเตาปฎกิ รณป์ รมาณรู วั่ นน้ั ผมไดเ้ หน็ ภาพเปด็ จากสอ่ื โทรทศั น์ ขณะแถลงขา่ วประกาศสง่ มอบโรงไฟฟา้ บางปะกง
ใหญ้ ปี่ นุ่ เพอื่ บรรเทาความเดอื ดรอ้ นแกผ่ ปู้ ระสบภยั ผมประทบั ใจมาก ความรสู้ กึ ในใจราำ่ รอ้ งวา่ “นนั่ เพอื่ นเรา เพอ่ื นเรา ลกู ขาว-แดง”
ผมเคยถามเปด็ วา่ ในวนิ าทนี นั้ รสู้ กึ อยา่ งไร กระบวนการตดั สนิ ใจครงั้ สาำ คญั เกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร นาทปี ระวตั ศิ าสตรท์ ป่ี ระเทศไทยเปน็ ผใู้ ห้
Give & Take ในฐานะมติ รประเทศ เลา่ ให้ฟงั ได้ม้ยั เรื่องราว เปน็ อย่างไร

เป็ด ว่า เอาไวเ้ ลา่ เม่อื พบหน้ากนั ตัวเปน็ ๆ ดกี ว่า
ชมจันทร์
“ We see the same moon, you and I.”
กระบวนการจัดทาำ หนงั สอื รนุ่ ครั้งนี้ เกดิ ข้นึ จากศรัทธาอันแรงกลา้ ของแปะ๊ ทีมงาน และความร่วมแรงรว่ มใจของเพอื่ นๆ
ทุกคน จงึ สาำ เร็จลงดว้ ยดี
แมว้ า่ เป็นการร่วมกันทำาในวันเวลาทพี่ วกเราควรจะพกั ผอ่ นแลว้ ก็ตาม
ยอ้ นหลังไป ๕ เดือนกอ่ น อีกคร้ัง
ขณะที่ทีมร่วมด้วยช่วยกันปรับปรุงทำาเนียบรุ่นให้สมบูรณ์ด้วยการบรรจุเลขประจำาตัวนักเรียนจากสมุดทะเบียน ต๒ก
ลงในทาำ เนยี บรุน่ นั้น เช้าวนั หนงึ่ แป๊ะอาสาเปน็ มคั คุเทศก์จาำ เปน็ นาำ ผมขนึ้ ชมหอเกยี รตยิ ศ บ.ม. ช้ัน ๒
ทงั้ นี้ กอ่ นน้ี ณ หอสมดุ แหง่ ชาติ ผมไดถ้ า่ ยสาำ เนาเอกสารหนงั สอื ทร่ี ะลกึ เปดิ หอเกยี รตยิ ศโรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ นครศรธี รรมราช
๒๐ สงิ หาคม ๒๕๔๘ (เลขเรียกหนังสอื ๓๗๓.๕๙๓ บ ๗๘๓ ท) ผมเปิดอา่ นทั้งเล่มรวดเดียวจบ
ผมประทับใจข้อความในหน้า ๒๖ “... เกียรติประวัติของศิษย์เก่ามีมากมายสมควรแก่การประกาศเกียรติคุณให้เป็น
แบบอยา่ งที่ดี และเป็นแรงบันดาลใจใหศ้ ิษย์ทกุ รุน่ ตอ่ ๆ มา...” (สเุ มธ รจุ วิ ณชิ ย์กุล)
และในหนา้ ๖ ... “ตอนมีชวี ติ อย่ลู ูกขาว-แดงทุกคนตอ้ งอยู่อย่างมเี กยี รติ เม่ือสน้ิ ลมหายใจลูกขาว-แดงทุกคนตอ้ งเหลอื
เกยี รติยศไว้ให้กบั สถาบันชว่ั กปั ช่ัวกัลป์...” (สมชาย พงศด์ าำ รงวทิ ย)์

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 26๕

ทาํ เนยี บศิษยเ กา เบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

เมือ่ ก้าวข้ึนบนั ได ผมรสู้ ึกต่นื เต้น เปน็ ครงั้ แรกในชีวิตของผม เริม่ จาก แป๊ะเปิดประตูให้ ผมเดนิ เข้าไป ยนื อยกู่ บั ทีบ่ รเิ วณ
ใกลป้ ระตู หันหนา้ มองไปท่ัวห้อง จากนน้ั แปะ๊ เดินนำาหนา้ แนะนาำ สิ่งตา่ งๆ ในห้องน้นั

ผมขยับตวั เร่มิ ด้วยการกราบรูปเจ้าคณุ ม่วง
จากนน้ั เดนิ ตามแปะ๊ ชมทลี ะโตะ๊ หรอื ตู้ แปะ๊ อธบิ ายนโ่ี นน่ นน่ั เราใชเ้ วลาพอสมควร โดยเฉพาะหนงั สอื มบี างเลม่ ผมสนใจ
เข้าชมใกล้ๆ หยุดยนื มองตู้หนังสือ เพลนิ ๆ บางคร้ัง เรากห็ ยบิ หนังสอื เก่าๆข้ึนมาพลกิ อ่านบางเลม่ บางเร่ือง แล้วกว็ างลง ณ ทีเ่ ดิม
กระท่ังแป๊ะช้ีให้ผมดู หนังสอื เกา่ ๆ เล่มหนงึ่ เปดิ หนา้ กระดาษเกา่ ซีดออกสีเหลืองคา้ งไว้ แลว้ บอกว่า
“น่ีไง... พ่อผม”
แปะ๊ (อลงกรณ์ วเิ ชยี รรตั น์ เลขประจาำ ตัว ๘๔๗๔) บอกผมซา้ำ พร้อมดว้ ยรอยยมิ้ ...
วินาทีน้นั หากมวี งจรปดิ บันทกึ ภาพไว้......พวกเราคงจะเห็นสหี น้าแหง่ ความอ่มิ เอบิ ใจของลกู ขาว-แดง

266 เบญจมฯ ๑๕๑๗

ทําเนียบศิษยเกา เบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช รุน ๗๕

กวา่ จะถงึ หนา้ สดุ ท้าย

กองบรรณาธิการ
ในทส่ี ดุ เราตา่ งเดนิ ทางมาถงึ หนา้ สดุ ทา้ ยของ “ทาำ เนยี บศษิ ยเ์ กา่ เบญจมราชทู ศิ รนุ่ ๗๕ เบญจมฯ ๑๕๑๗” ดว้ ยกนั แลว้
ไมอ่ ยากจะพูดอะไรมากนกั นอกจาก...คาำ ขอบคณุ
ขอบคุณเพอื่ นๆ ทกุ คน ที่รว่ มมอื ร่วมใจเป็นหนึ่งเดียว รว่ มส่งั จองหนังสอื รว่ มลงขนั เปน็ ทนุ จดั พมิ พม์ ากบา้ งน้อยบ้าง
ตามกาำ ลงั รวมทงั้ รว่ มกนั สง่ ขอ้ มลู บอกเลา่ เรอื่ งของตวั เองและขอ้ เขยี นอนื่ ๆ มารว่ มกนั เปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี กนิ ความคาดหวงั ในทกุ เรอ่ื ง
ขอบคุณประธานรนุ่ และกรรมการรนุ่ ทอี่ นุมัติให้จดั ทำา โดยไมล่ ังเล รวมทงั้ คอยสนับสนนุ ใหก้ ำาลังใจและประสานงาน
อยา่ งจริงจงั ต่อเน่อื งจนงานลลุ ่วง
ขอบคณุ คณะทาำ งานทกุ สว่ นทกุ ฝา่ ย ทที่ มุ่ เทเสยี สละเวลา สรรพกาำ ลงั ของตวั เอง เพอื่ การประสานงาน เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
เอาจรงิ เอาจงั ท่ามกลางวัยและสงั ขารทยี่ ้อนแยง้ กบั ภาระงานอยูพ่ อสมควร จนงานแลว้ เสร็จตามทคี่ าดหวงั ตง้ั ใจ
อยากขอบคุณเป็นพิเศษสำาหรับ “เพื่อนแป๊ะ-อลงกรณ์ วิเชียรรัตน์” ที่เป็นต้นคิด เดินสายขายความคิด ผลักดันโดย
ไมท่ อ้ ถอยและไมย่ อมจาำ นน จนทาำ ใหเ้ พอ่ื นทกุ คนเหน็ พลงั แหง่ ความมงุ่ มน่ั ตง้ั ใจ แลว้ ตา่ งพากนั เขา้ มารว่ มเดนิ ไปดว้ ยกนั อยา่ งคกึ คกั
เข้มแขง็ ในทสี่ ดุ
สุดทา้ ยกราบขอบพระคุณ “เบญจมราชทู ิศ”และ“คณุ ครอู าจารยท์ ุกทา่ น” ทค่ี อยหลอ่ หลอมกล่อมเกลาจติ วิญญาณ
ของพวกเราใหเ้ ขม้ แขง็ แกรง่ กลา้ ในศกั ดแ์ิ ละสทิ ธขิ์ องความเปน็ “เบญจมราชทู ศิ ” ตลอดมา จนเปน็ “เบญจมฯ ๑๕๑๗” ถงึ วนั น.ี้ ..
ก่อนท่ีเพื่อนๆ จะวาง “ทำาเนยี บศษิ ยเ์ กา่ เบญจมราชูทิศ รุ่น ๗๕ เบญจมฯ ๑๕๑๗” ลง คณะทำางานขออภยั หากมี
สว่ นใดทผี่ ิดพลาดบกพร่อง แตอ่ ยากบอกวา่ ทุกคนตั้งใจทำาอยา่ งดีท่สี ุดและเตม็ กาำ ลังแลว้
และอย่าลืมเปดิ บางหน้าท่ีถกู ใจ สง่ ตอ่ ให้ “ลกู -หลาน” ไดอ้ า่ นต่อดว้ ยนะครับ..

ดว้ ยรกั และผกู พนั
กองบรรณาธิการ
๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒

เบญจมฯ ๑๕๑๗ 26๗






Click to View FlipBook Version