The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaharnthai1622, 2023-11-03 09:14:10

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รวมแผน66

แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง ก (รอ) แผนการด าเนินงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ มะนัง ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสตูล ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง ก เอกสารแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง เล่มนี้ จัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบการด าเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งจะ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และ จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 การจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในครั้งนี้ เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาค ส่วนต่างๆ ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครูเจ้าหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคี เครือข่าย และได้น าข้อมูลต่างๆทั้งสภาพปัญหาในการด าเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมา ตลอดจนผลจาก การท าเวทีประชาคมของประชาชน ในพื้นที่อ าเภอมะนัง อาทิเช่น ด้านความต้องการทางการศึกษาต่างๆ มาใช้ในการวางแผน ทั้งนี้เพื่อให้โครงการและกิจกรรมที่จะด าเนินการประสบความส าเร็จ คุ้มค่ากับเงิน งบประมาณและเกิดประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายมากที่สุด และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง พฤศจิกายน 2565 ค าน า


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง ข หน้า ค าน า ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 บทน า 1 - สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 1 - ข้อมูลพื้นฐานการศึกษา 3 ส่วนที่ 2 ทิศทางของกศน. 11 - นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 11 - การวิเคราะห์สภาพขององค์กร Swot Analysis กศน.อ าเภอมะนัง 17 - ปรัชญา/วิสัยทัศน์/อัตลักษณ์ 21 - พันธกิจ 21 - เป้าประสงค์ 22 ส่วนที่ 3 แผนการด าเนินงาน 24 - แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ไตรมาส 1-2 27 - แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ไตรมาส 3-4 81 ภาคผนวก 161 คณะผู้จัดท า 177 สารบัญ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง ค


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 1 1. สภาพทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ที่อยู่ : หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสไปรษณีย์ 91130 โทรศัพท์ 0 – 7477 – 4472 โทรสาร 0 – 7477 – 4472 website : http://satun.nfe.go.th/manang e-mail : [email protected] สังกัด : ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสตูล ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ 1.1 ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง เริ่มจัดตั้ง เมื่อ พ.ศ. 2539 ชื่อเดิม ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนกิ่งอ าเภอมะนัง (กิ่งอ าเภอมะนัง ตั้งเป็นกิ่ง อ าเภอ ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2539 และยกฐานะเป็นอ าเภอมะนัง เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550) เริ่มแรก ใช้อาคารศูนย์การเรียนชุมชนต าบลนิคมพัฒนา เป็นส านักงานชั่วคราว โดยมี จ่าสิบเอกเกษมทรัพย์ ห่อทอง ด ารงต าแหน่งหัวหน้าศูนย์ คนแรก ต่อมาได้ย้ายมาใช้อาคารของส านักงานประถมศึกษาอ าเภอมะนัง (เดิม) ซึ่งตั้งอยู่ ภายในศูนย์ราชการอ าเภอมะนัง หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา เป็นส านักงาน และปรับปรุงศูนย์การเรียนชุมชนต าบล นิคมพัฒนา เป็นห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง” ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านผัง 15 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัด สตูล โดยมีนางสาวจตุพร ทหารไทย ครูช านาญการ รักษาการในต าแหน่ง ผู้อ านวยการสถานศึกษา เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2563 ถึง ปัจจุบัน 1.2. อาณาเขตที่ตั้งสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง มีพื้นที่รับผิดชอบ 2 ต าบล ได้แก่ ต าบลนิคมพัฒนา มีจ านวน 9 หมู่บ้าน และต าบลปาล์มพัฒนา มีจ านวน 10 หมู่บ้าน อ าเภอมะนัง มีที่ตั้ง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ าเภอทุ่งหว้า ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ าเภอควนกาหลง ทิศใต้ ติดต่อกับ อ าเภอควนกาหลง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ าเภอละงู ส่วนที่ 1 บทน า


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 2 พื้นที่ต าบลอ าเภอมะนัง 1.3 สภาพของชุมชน มะนัง มีเนื้อที่ประมาณ 312 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอ าเภอเมืองสตูล 70 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบสูงและป่าเขา * มีประชากรทั้งหมด จ านวน 18,686 คน ดังนี้ ต าบลปาล์มพัฒนา เพศชาย จ านวน 5,644 คน และเพศหญิง จ านวน 5,232 คน ต าบลนิคมพัฒนา เพศชาย จ านวน 3,871 และ เพศ หญิง 3,939 คน (* ที่มา : ที่ว่าการอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล) ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 76 และศาสนาอิสลาม ร้อยละ 24 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา ปาล์มน้ ามัน สวนผลไม้ ซึ่ง ราคาผลผลิตในปัจจุบันมีราคาไม่แน่นอน จึงท าให้สภาพเศรษฐกิจของอ าเภอมะนัง ขึ้นอยู่กับราคาผลผลิต ทางการเกษตร อ าเภอมะนัง มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส าคัญของอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ได้แก่ ถ้ าภูผาเพชร ถ้ าระฆังทอง ถ้ าเจ็ดคต วิหารจตุคามรามเทพ น้ าตกวังใต้หนาน พิพิธภัณฑ์บ้านรากไม้ อุทยานธรณีสตูล โรงเรียนบ้านป่าพน ไร่องุ่น 2 เล ที่สามารถท ารายได้เข้าอ าเภอมะนังได้อีก ทางหนึ่ง อ าเภอมะนัง มีสถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย จ านวน 24 แห่ง สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ศพด.) 9 แห่ง,สพป.11 แห่ง, สพม.1 แห่ง, ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(กศน.) 1 แห่ง, (สช.) 2 แห่ง มีศาสนสถาน จ านวน 27 แห่ง ศาสนาพุทธ 13 แห่ง และศาสนาอิสลาม 14 แห่ง ประชาชนติดต่อสื่อสารด้วยภาษาไทยส าเนียงท้องถิ่นใต้ สามารถ สื่อสารด้วยภาษาไทยกลางได้อย่างดี มีความเป็นอยู่รวมกันอย่างปกติสุขของคนในสังคมทั้งไทยพุทธ และ ไทยมุสลิม โดยมีวัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นตัวเชื่อมต่อประสานสัมพันธ์


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 3 2. ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา 2.1 ท าเนียบผู้บริหาร ล าดับ ที่ ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง ระยะเวลาที่ ด ารงต าแหน่ง 1. จ่าสิบเอกเกษมทรัพย์ ห่อทอง หัวหน้าศูนย์ 1 1 ตุลาคม 2541 - 30 กันยายน 2544 2. นายเฉลิมชัย อาคาสุวรรณ หัวหน้าศูนย์ 1 1 ตุลาคม 2544 – 30 กันยายน 2547 3. นายคณาธิป บุญญารัตน์ รักษาการ ผู้อ านวยการ 1 พฤศจิกายน 2547 – 23 พฤศจิกายน 2548 4. นางอนุรักษ์ สงข า ผู้อ านวยการ 24 พฤศจิกายน 2548 – 16 มีนาคม 2551 5. นายศิริพงษ์ บัวแดง ผู้อ านวยการ 17 มีนาคม 2551 – 17 ตุลาคม 2551 6. นางละเอียด ละใบสะอาด รักษาการ ผู้อ านวยการ 18 ตุลาคม 2551 – 11 พฤศจิกายน 2552 7. นางดัชนี ปิยะพงษ์ ผู้อ านวยการ 12 ตุลาคม 2552 – 8 พฤศจิกายน 2553 8. นายประเจตน์ กฤษณะพันธุ์ รักษาการ ผู้อ านวยการ 9 พฤศจิกายน 2553 – 14 กุมภาพันธ์ 2554 9. นายมรกต กันหนองผือ ผู้อ านวยการ 15 กุมภาพันธ์ 2554 – 30 กันยายน 2555 10. นายมรกต กันหนองผือ รักษาการ ผู้อ านวยการ 1 ตุลาคม 2555 – 14 สิงหาคม 2556 11. นางสาวนิตยา จิตภักดี ผู้อ านวยการ 15 สิงหาคม 2556 – 18 พฤศจิกายน 2558 12 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อ านวยการ 19 พฤศจิกายน 2558 – 1 กันยายน 2560 13. นายอาด า ลิงาลาห์ ผู้อ านวยการ 3 พฤศจิกายน 2560 – 5 มกราคม 2563 14. นางสาวจตุพร ทหารไทย ครู รักษาการ ผู้อ านวยการ 6 มกราคม 2563 –ปัจจุบัน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 4 1.งานธุรการและสารบรรณ 2.งานการเงินและบัญชี 3.งบประมาณ และระดม ทรัพยากร 4.งานพัสดุ 5.งานบุคลากร 6.งานอาคารสถานที่ และ ยานพาหนะ 7.งานแผนงานและโครงการ 8.งานประชาสัมพันธ์ 9.งานสวัสดิการ 10.ศูนย์ราชการใสสะอาด 11.งานนิเทศภายใน 12.งานงานติดตามประเมินผล 13.งานเลขานุการ คณะกรรมการสถานศึกษา 14.งานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 1.งานส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือ 2.งานการศึกษาขั้นพื้นฐานนอก ระบบ 3.งานเทียบระดับการศึกษา 4.งานการศึกษาต่อเนื่อง 5.งานการศึกษาตามอัธยาศัย 6.งานห้องสมุดประชาชน 7.งานกศน.ต าบล 8.งานพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา 9.งานทะเบียนและวัดผล 10.งานศูนย์บริการให้ค าปรึกษา 11.งานกิจการนักศึกษา 1.งานส่งเสริม สนับสนุนภาคี เครือข่าย 2.งานโครงการพิเศษ 3.งานป้องกันแก้ไขปัญหายา เสพติด/โรคเอดส์ 4.งานส่งเสริมกิจกรรม ประชาธิปไตย 5.งานสนับสนุนส่งเสริม นโยบายจังหวัด/ อ าเภอ 6.งานกิจกรรมลูกเสือ/ ยุวกาชาด 7.งานอาสาสมัครกศน. 8.งานอื่นๆ 2.2 โครงสร้างการบริหารงาน โครงสร้างการบริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง (เดิม) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม และเพิ่มเติม 1 กลุ่มงาน ดังนี้ 1. กลุ่มอ านวยการ 2. กลุ่มจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และ 4. กศน.ต าบล คณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มงานอ านวยการ กลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มภาคีเครือข่ายและ กิจการพิเศษ 1. วางแผนจัดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของ กศน. ต าบล 3. ให้บริการการเรียนรู้ใน กศน.ต าบล 4. สนับสนุนกิจกรรมของ ชุมชน ทั้งด้าน สังคม วัฒนธรรม ประเพณี 5. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ในชุมชน กศน.ต าบล นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ผู้บริหาร


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 5 2.3 ข้อมูลบุคลากร ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง วุฒิการศึกษา สาขาวิชาเอก 1.นางสาวจตุพร ทหารไทย ครู ศษ.บ. การศึกษานอกระบบ 2. นายณัฐนิช แก้วเมฆ ครู วท.บ. เทคโนโลยีอุตสาหกรรม การผลิต 3. นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัคร ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา 4 นางนฤมล ช่วยด า ครูอาสาสมัคร วท.บ. วิทยาศาสตร์การกีฬา 5.นายนภัทร จันทวิลาศ ครูกศน.ต าบล ค.บ. อุตสาหกรรมศิลป์ 6.นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ครูกศน.ต าบล วท.บ วิทยาการคอมพิวเตอร์ 7.นางสาวนริสรา พงศ์หลง บรรณารักษ์(จ้างเหมา) ศศ.บ. บรรณารักษ์ศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์ 2.4 ทรัพยากรและสิ่งอ านวยความสะดวกในการจัดการศึกษา 1. อาคารสถานที่ จ านวนอาคารและบริเวณ - อาคารศูนย์ สกร.อ าเภอมะนัง และ ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 หลัง - กศน.ต าบล จ านวน 2 แห่ง - ศูนย์การเรียนชุมชน จ านวน 1 แห่ง 2. สาธารณูปโภคและสิ่งอ านวยความสะดวก - คอมพิวเตอร์ส าหรับใช้ในการบริหารงาน จ านวน 7 เครื่อง ดังนี้ งานทะเบียนนักศึกษา จ านวน 1 เครื่อง งานพัสดุ จ านวน 1 เครื่อง งานบรรณารักษ์ สืบค้นข้อมูลห้องสมุด จ านวน 1 เครื่อง ให้บริการด้านอินเตอร์เน็ตในห้องสมุดประชาชน จ านวน 1 เครื่อง ให้บริการด้านอินเตอร์เน็ตใน กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา จ านวน 1 เครื่อง โน้ตบุ๊กส าหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่ จ านวน 1 เครื่อง โน้ตบุ๊กส าหรับการปฏิบัติงานในส านักงาน จ านวน 1 เครื่อง


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 6 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย กศน.ต าบล รวมจ านวน 2 แห่ง ได้แก่ ชื่อ กศน.ต าบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ 1. กศน.ต าบลนิคมพัฒนา บ้านผัง 7 หมู่ที่ 3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม นายนภัทร จันทวิลาศ 2. กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล นางนฤมล ช่วยด า นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ศูนย์เรียนรู้ชุมชน จ านวน 1 แห่ง ได้แก่ ชื่อ กศน.ต าบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ต าบลนิคมพัฒนา บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล นายนภัทร จันทวิลาศ แหล่งเรียนรู้จ านวน 13 แห่ง ได้แก่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง 1.น้ าตกวังใต้หนาน ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 2.บ้านพิพิธภัณฑ์รากไม้ ที่เกิดจากการสร้างขึ้น หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 3.ถ้ าเจ็ดคต ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 6 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 4.ถ้ าภูผาเพชร ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 5. กลุ่มเย็บผ้าจักรอุตสาหกรรม ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 6.กลุ่มน้ ามันสมุนไพรตราปาล์มทอง ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 8 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 7. หน่วยปฏิบัติการ อพม.อ.มะนัง ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 7 ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง 8. แหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีวิทยา โรงเรียนบ้านป่าพน ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 6 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 9. สหกรณ์น้ ายาง ที่เป็นทรัพยากรบุคคล บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 10. ตลาดนัดสวนไผ่ ที่เป็นวัสดุและสถ่านที่ วัดนิคมพัฒนาราม (วัดผัง 7) หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 11. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่เป็นทรัพยากรบุคคล บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 12.น้ าดื่มชุมชน ที่เป็นทรัพยากรบุคคล บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 13.กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 6 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/ภูมิปัญญา จ านวน 14 แห่ง/คน ได้แก่ ชื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ที่ตั้ง 1. กศน.ต าบลนิคมพัฒนา - ศูนย์สาธิต / ฝึกปฏิบัติ /ประสานงานข้อมูล ข่าวสาร เครือข่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - บ้านผัง 7 หมู่ที่ 3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 2. กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา - ศูนย์สาธิต / ฝึกปฏิบัติ /ประสานงานข้อมูล ข่าวสาร เครือข่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 3. นางกรณิชารัตน์ เหลาทอง - ด้าน เกษตรผสมผสาน - บ้านเลขที่ 16 หมู่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 4. นายอดุลย์ หมวดสง - ด้านการจัดการพื้นที่ดินการเกษตร - หมู่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล รวมจ านวน 13 แห่ง


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 8 ชื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ที่ตั้ง 5. นายกิตติโชติ ชนะหลวง - ด้านเกษตรผสมผสาน - บ้านเลขที่ 145 หมู่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 6. นางสมบูรณ์ ชายแก้ว - ด้านการปลูกพืชสมุนไพร - บ้านเลขที่ 207 หมู่ 3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 7. นางกัญสิรัตน์ หนูค าสวน - ด้านเกษตรผสมผสาน (กลุ่มน้ ามัลเมอรี่) - บ้านเลขที่ 69 หมู่ 4 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 8. นายบุญรอด ศรีสุวรรณ - ด้านการจักสานไม้ไผ่ - บ้านเลขที่ 21 หมู่ 4 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 9. นายหวาหาบ ยาบา - ด้านเกษตรผสมผสาน - บ้านเลขที่ 15 หมู่ 5 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 10. นายประเสริฐ คงทวี - ด้านศิลปะและแกะสลักงานไม้ - บ้านเลขที่ 132 หมู่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 11. นางบุญยานุช พุทธศรี - ด้านสมุนไพรรักษาโรค - บ้านเลขที่ 58 หมู่ 8 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 12. นายสุนทร จ่าวิสูตร - ด้านหนังตะลุงพื้นบ้าน - บ้านเลขที่ 265 หมู่ 10 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 9 ชื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ที่ตั้ง 13. นายเสถียร อรน้อม - ด้านปัตตาลรักษาโรค - บ้านเลขที่ 129 หมู่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 14. นางล ายอง รอดสวัสดิ์ - ด้านหมอจับเส้น - บ้านเลขที่ 194 หมู่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ภาคีเครือข่าย จ านวน 23 แห่ง ได้แก่ ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ 1 ที่ว่าการอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 2 เกษตรอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 3 พัฒนาชุมชนอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 4 ส านักงานสัสดีอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 5 ศูนย์วัฒนธรรมอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 6 องค์การบริหารส่วนต าบลนิคมพัฒนา ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 7 องค์การบริหารส่วนต าบลปาล์มพัฒนา ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 8 วัดปัณรสาราม (วัดผัง 15) ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 9 วัดนิคมพัฒนาราม(วัดผัง 7) 194 ม.3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 10 ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอมะนัง ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 11 โรงพยาบาลอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 12 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลปาล์มพัฒนา ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 13 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลนิคมพัฒนา ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 14 โรงเรียนบ้านป่าพน ม. 6 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 15 โรงเรียนบ้านมะนัง ม. 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 16 สถานีต ารวจภูธรมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 17 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนอ าเภอมะนัง ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 18 ธนาคารชุมชน ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 19 โรงเรียนอนุบาลมะนัง ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 20 โรงเรียนบ้านวังพะเคียน ม.5 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 21 โรงเรียนปาล์มพัฒนวิทย์ ม.2 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 10 ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ 22 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6 ม.6 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 23 ธนาคารการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 11 ส่วนที่ 2 นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับ การพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่ ส าคัญจ าเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและ ยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และ การศึกษาตามอัธยาศัยอันจะน าไปสู่ การสร้างโอกาส ความเท่าเทียมและลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการส าหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจ ให้กับผู้รับบริการ โดยได้ก าหนดจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 สร้างความปลอดภัยในหน่วยงาน/สถานศึกษา และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบ ต่าง ๆ ผ่านกิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สารเสพติด” เน้นแนวทางการปฏิบัติภายใต้ หลักการ 3 ป. ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยจาก สถานการณ์ต่าง ๆ อาทิเช่น โรคระบาด เหตุการณ์ความไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรใน รูปแบบต่าง ๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้ง ด าเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการด าเนินการ เพื่อ ปรับปรุง พัฒนา และขยายผลต่อไป 1.2 ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการกระบวนการ จัดการเรียนรู้เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวก และ สร้างสรรค์ พร้อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษา 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน และ วางแผน เตรียมความพร้อมในการป้องกัน รับมือ และเยียวยา เหตุการณ์ภัยพิบัติจากธรรมชาติ รวมทั้งการ ปรับตัวรองรับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 12 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็ม รูปแบบ เพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลใน โลกยุคใหม่ 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการ ปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ ความยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของ ความเป็นพลเมือง และมีและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการ เพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การ สื่อสารระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อม รับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของส านักงาน กศน. ที่หลากหลายทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตาม กฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และน าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจ รายบุคคลของผู้เรียน 2.5 ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสร้าง วินัย ทางการเงินให้กับบุคลากรและผู้เรียน กศน. โดยบูรณาการการท างานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการคลัง ธนาคาร สหกรณ์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ 2.6 ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ ห้องสมุดประชาชน และ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ของ กศน. ให้มีความทันสมัย สวยงาม สะอาด จูงใจผู้เข้ารับบริการ มีฐานจัดการ เรียนรู้ด้านต่าง ๆ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอาชีพ มีมุมกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ท ากิจกรรมร่วมกับ ครอบครัว พื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/Co - learning Space ที่ผู้รับบริการ สามารถรับเอกสารรับรองการเข้าร่วม กิจกรรม เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วย การเรียนรู้ (Credit Bank) 2.7 จัดท ารายละเอียดการก่อสร้างแหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค าขอ งบประมาณในการปรับปรุง/ซ่อมแซม 2.8 ส่งเสริมให้สถานศึกษาน าผลการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (N-net) ไปใช้วางแผนพัฒนา ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน และยกระดับคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน 2.9 เร่งด าเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วย กิตเพื่อการสร้างโอกาสในการศึกษาในชุมชน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 13 2.10 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ตลอดชีวิต 2.11 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส าหรับประชาชน 2.12 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการอ่านเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมและการลืมหนังสือในผู้สูงอายุ 2.13 ส่งเสริมการน าระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการยกระดับ คุณภาพให้กับผู้เรียน และผู้รับบริการของส านักงาน กศน. 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.1 พัฒนาข้อมูลระบบสารสนเทศของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรายบุคคล เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูล ประกอบการส่งต่อผู้เรียน และการค้นหาเด็กตกหล่นและออกกลางคัน ผ่านโครงการ “พาน้อง กลับมาเรียน” และ “กศน.ปักหมุด” 3.2 พัฒนาข้อมูล และวางแผนทางเลือกทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับ ผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ในการเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพอย่าง เท่าเทียม 3.3 พัฒนาทักษะฝีมือ พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจกลุ่มผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งพาตนเอง ได้ สามารถด าเนินชีวิตได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการด าเนินกิจกรรมใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้าน สังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน อาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลาย ของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถน าผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษา ในระดับที่สูงขึ้น 4.2 ประสานการท างานร่วมกับศูนย์ให้ค าปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start-up) ของ อาชีวศึกษา 4.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิ ปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และ ช่องทางการจ าหน่าย 5. การพัฒนาบุคลากร 5.1 ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (Performance Appraisal : PA) โดยใช้ระบบการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและ บุคลากร ทางการศึกษาระบบ Digital Performance Appraisal (DPA)


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 14 5.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการ เรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งให้ค าปรึกษาเส้นทางการ เรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการด าเนินชีวิตของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคล 5.3 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องและ เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกอนาคต 5.4 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ใน การท างานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการท างาน 5.5 เร่งรัดติดตามการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา และจัดตั้งกองทุน สวัสดิการ เพื่อช่วยเหลือบุคลากรในสังกัดส านักงาน กศน. ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 5.6 บูรณาการการท างานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด กศน. เพื่อพัฒนา บุคลากรในด้านวิชาการ อาทิ องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ การจัดท าหลักสูตรท้องถิ่นหรือหลักสูตร สถานศึกษา 6. การพัฒนาระบบราชการ การบริหารจัดการ และการบริการภาครัฐ 6.1 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ข้อมูลการรายงานผลการด าเนินงาน ข้อมูลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็กเร่ร่อน ผู้พิการ 6.2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ อย่างเต็มรูปแบบ รองรับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการท างานวิถีใหม่ และน าไปปรับใช้ได้กับ สถานการณ์ ในภาวะปกติและไม่ปกติ อาทิ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยให้ พิจารณาภารกิจและ ลักษณะงาน รูปแบบ ขั้นตอนวิธีการท างาน รูปแบบการให้บริการประชาชน และ เทคโนโลยีที่ใช้สนับสนุน การปฏิบัติงาน ให้มีความเหมาะสม 6.3 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คุณภาพและความโปร่งใสการด าเนินงานของภาครัฐ (ITA) 6.4 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ค าสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการบริหาร จัดการ และการจัดการเรียนรู้ 6.5 เร่งจัดท ากฎหมายล าดับรองเพื่อรองรับพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ควบคู่กับ การเตรียมความพร้อมในการสร้างการรับรู้ให้กับประชาชนได้รับทราบอย่างทั่วถึง การน าไปสู่การปฏิบัติและการติดตามผล 1. สื่อสาร ถ่ายทอด และสร้างความเข้าใจในแนวนโยบาย จุดเน้น และทิศทางการด าเนินงาน ให้กับ บุคลากรทุกระดับทุกประเภทในหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด 2. วางแผนการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการ แผนพัฒนา และแผนการใช้ จ่าย ของหน่วยงานและสถานศึกษา ให้มีความชัดเจน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 15 3. ก ากับ และติดตามการปฏิบัติงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการสร้างความร่วมมือกับ เครือข่าย ในระดับชุมชน 4. สรุปและรายงานผลการด าเนินงานเป็นระยะ และน าผลการด าเนินงานมาวิเคราะห์เพื่อวางแผน ปรับปรุง และแก้ไขแผนการด าเนินงาน เพื่อให้การขับเคลื่อนคุณภาพทางการศึกษาเกิดประสิทธิภาพ วิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถด ารงชีวิต ที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จ าเป็นในโลกศตวรรษ ที่ 21” จุดเน้น “ส่งเสริม สนับสนุน และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและ การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ มีสาระการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบันและตรงกับความต้องการ ของผู้เรียน และสังคม โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายและ ทันสมัยมาเป็นกลไก ในการจัดรวมทั้งพัฒนาครูให้เป็นผู้จัดการศึกษาและการเรียนรู้มืออาชีพ เน้นพัฒนา กระบวนการคิด และการวิจัยให้กับกลุ่มเป้าหมาย ใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการเชิงรุก โดยให้ชุมชนและทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมภายใต้การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยั่งยืน” เป้าหมายหลัก 1) คนไทยสามารถเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้ง การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และมาตรฐานอย่างทั่วถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะ และทักษะในการด ารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 3) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพื่อให้ บริการ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 4) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การบริหาร จัดการตามหลักธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ยุทธศาสตร์ 1) เพิ่มและกระจายโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 2) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะและทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3) ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาท และมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 16 5. โครงสร้างอ านาจหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง อ านาจหน้าท่ีของกศน.อ าเภอมะนัง 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 3. ด าเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ํองมาจาก พระราชด าริ ในพื้นที่ 5. จัด ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7. ด าเนิน การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 8. ก ากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงาน การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบระบบการศึกษาตาม อัธยาศัย 11. ด าเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธีการท่ํก าหนด 12. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ภายใต้อ านาจหน้าที่ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง หรือ ชื่อย่อว่า “กศน.อ าเภอมะนัง” มีโครงสร้างรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ชัดเจนโดยเป็นไปตาม ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ก าหนดโครงสร้างของกศน.อ าเภอ เป็น 3 กลุ่ม เพิ่มเติม 1 กลุ่มงาน คือ 1. กลุ่มอ านวยการ 2. กลุ่มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. กลุ่มงานภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และ 4. งานกศน.ต าบล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 17 การวิเคราะห์สภาพขององค์กร Swot Analysis กศน.อ าเภอมะนัง การวิเคราะห์สภาพขององค์กร SWOT Analysis ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย อ าเภอมะนังได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment Analysis) โดยใช้ เครื่องมือ 7S Model ของR. Waterman เพื่อประเมินจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ของ องค์กร ประกอบด้วย 1. ระบบการท างาน (System) 2. โครงสร้างองค์กร (Structure) 3. กลยุทธ (Strategy) 4. บุคลากร (Staff) 5. ความสามารถหลักขององค์กร (Skill) 6. ลักษณะการท างาน (Style) 7. ค่านิยมรวม (Shared Values) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ด้านที่ 1 โครงสร้างและนโยบาย จุดแข็ง 1. โครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษามีความชัดเจน 2. นโยบายในการจัดการศึกษามีความชัดเจน จุดอ่อน 1. การน านโยบายไปสู่การปฏิบัติบางนโยบายท าได้ค่อนข้างยาก 2. นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ด้านที่ 2 ผลผลิตและการบริการ จุดแข็ง 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความยืดหยุ่นเหมาะกับผู้เรียนที่ขาดโอกาส พลาด โอกาส ด้อยโอกาส 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถน าประสบการณ์มาเทียบ โอนผลการเรียนได้ 3. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึ่งประสงค์ (เน้นจิตอาสา) 4. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีความหลากหลาย ตรงกับความต้องการของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ 5. ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ /สร้าง อาชีพสร้างรายได้ /ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. การจัดการศึกษาอัธยาศัยให้บริการทุกเพศ ทุกช่วงวัย มีกิจกรรมที่หลากหลายและ สามารถให้บริการกระจายลงทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง 7. ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถน าความรู้ไปพัฒนาตนเองได้ /มีความคิด สร้างสรรค์และกล้าแสดงออก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 18 จุดอ่อน 1. หลักสูตรสถานศึกษา ไม่ได้รับการทบทวน เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้เรียน มีผลการเรียนเฉลี่ยต่ ากว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด 3. หลักสูตรต่อเนื่อง ไม่ได้รับการทบทวน เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. ห้องสมุดมีผู้เข้ามาใช้บริการค่อนข้างน้อย ด้านที่ 3 บุคลากร จุดแข็ง 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ 2. บุคลากรมีการท างานเป็นทีม มีความรักความสามัคคี มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ที่ดี 3. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนที่อาศัยในพื้นที่ เข้าใจบริบทของพื้นที่เป็นอย่างดี จุดอ่อน 1. มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสถานศึกษาค่อนข้างบ่อย 2. บุคลากรมีจ านวนไม่เพียงพอต่อภาระงาน /มีภาระงานมากจนส่งผลกระทบต่อการ พบกลุ่ม 3. บุคลากรจบไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน 4. บุคลากรขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านที่ 4 ประสิทธิภาพทางการเงิน จุดแข็ง 1. ได้รับจัดสรรงบประมาณเพียงพอ 2. การบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า 3. การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ จุดอ่อน การจัดสรรงบประมาณในบางกิจกรรมมีความล่าช้า ท าให้การจัดกิจกรรมไม่เป็นไปตาม แผนที่ก าหนด ด้านที่ 5 วัสดุอุปกรณ์ จุดแข็ง วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานมีเพียงพอ จุดอ่อน 1. วัสดุอุปกรณ์/เทคโนโลยีที่ไม่ทันสมัยไม่รองรับกับการท างานในยุคปัจจุบัน 2. ขาดการดูแลและบ ารุงรักษาเนื่องจากบุคลากรไม่มีความรู้ทางด้านการซ่อมบ ารุง


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 19 ด้านที่ 6 การบริหารจัดการ จุดแข็ง 1. สถานศึกษามีกฎระเบียบที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน 2. มีค าสั่งการปฏิบัติงานที่ชัดเจน/ มีแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 3. มีการติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน 1.นโยบายเร่งด่วนค่อนข้างมาก ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานบางกิจกรรมไม่เป็นไป ตามแผน 2.บางกิจกรรม ขาดการน าผลการนิเทศติดตามไปปรับปรุง และพัฒนาการด าเนินงาน อย่างต่อเนื่อง 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ด้านที่ 1 สังคมและวัฒนธรรม โอกาส 1. มีสภาพสังคมพหุวัฒนธรรม ที่ชาวไทยพุทธ - มุสลิม อยู่แบบพึ่งพาอาศัย และช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน 2. ได้รับความร่วมมือจากประชาชนและภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดี 3. มีการรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนได้เป็นอย่างดี 4. มีภูมิปัญญาชาวบ้านและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย อุปสรรค สภาพสังคมมีปัญหายาเสพติดค่อนข้างเยอะ/ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร/ผู้เรียนใช้สื่อ โซเชียลมีเดียมากเกินความจ าเป็น ด้านที่ 2 เทคโนโลยี โอกาส มีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน เช่น ไลน์เฟสบุ๊ค เว็บเพจ ต่างๆ อุปสรรค สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่ใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน กศน.ต าบล และห้องสมุดประชาชนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการ ด้านที่ 3 เศรษฐกิจ โอกาส 1. มีทรัพยากรทางด้านการเกษตรที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ 2. มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาสร้างรายได้ให้กับประชาชนใน พื้นที่


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 20 อุปสรรค ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ า ด้านที่ 4 การเมืองและกฎหมาย โอกาส 1. มีระเบียบกฎหมายให้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 2. การเมืองท้องถิ่นมีเสถียรภาพ 3. รัฐบาลมียุทธศาสตร์ที่ชัดเจนในการบริหารประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี) 4. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมาย อุปสรรค 1. มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับกระทรวงค่อนข้างบ่อย ท าให้นโยบายเปลี่ยนแปลง บ่อย 2. ประชาชนบางส่วนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ก าหนด เช่น กฎหมายจราจร กฎหมาย การเลือกตั้ง เป็นต้น 3. การก าหนดกลยุทธ์จาก SWOT 3.1 กลยุทธ์จาก จุดแข็งและโอกาส (SO) 1. พัฒนาและส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีในชุมชน 2..พัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อน าความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงาน 3.2 กลยุทธ์จาก จุดแข็งและอุปสรรค (ST) 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้างวัฒนธรรมการท างานให้แก่บุคลากรโดยใช้หลักธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาระบบการ ประสานงานที่ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย ท าให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนและร่วม พัฒนา กิจกรรมต่างที่ กศน. จัดในพื้นที่ 3.3 กลยุทธ์จาก จุดอ่อนและโอกาส (WO) 1. พัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลข่าวสารกับกลุ่มเป้าหมายอย่างรวดเร็วและทั่วถึง 3.4 กลยุทธ์จาก จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 1. จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และช่วยเหลือผู้เรียน 2. ทบทวน ปรับปรุงระบบการจัดการเรียนการสอนที่รองรับความหลากหลายและสอดคล้องกับบริบท ของพื้นที่


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 21 ปรัชญา การศึกษาสร้างปัญญา ปัญญาพัฒนาคุณภาพชีวิต อัตลักษณ์ มีจิตอาสา ใฝ่หาความรู้ เอกลักษณ์ ภาคีเครือข่ายเด่น เน้นความพอเพียง วิสัยทัศน์ กศน.อ าเภอมะนัง มุ่งมั่นพัฒนาประชาชนให้ได้รับโอกาสการศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะที่จ าเป็นต่อการเรียนรู้ในโลกศตวรรษที่ 21 โดย อาศัยพลังความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย และเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหารจัดการ พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัย อย่างมีคุณภาพ 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 3. ส่งเสริมภูมิปัญญาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 4. มีหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน 5. คิดค้นนวัตกรรมและน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดการศึกษา 6. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 7. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 22 เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความส าเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) 1.ประชาชนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ 1.ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมาย อ่านออก เขียน ภาษาไทยขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 4. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะพื้นฐานอาชีพหลังจากจบการศึกษา ต่อเนื่อง 5. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจโครงการ/กิจกรรม 6. จ านวนประชาชนที่เข้ารับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับความรู้และมีทักษะที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.มีภาคีเครือข่ายมาร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 1. จ านวนภาคีเครือข่าย 2. ร้อยละความพึงพอใจการร่วมจัดกิจกรรมของภาคี เครือข่าย 3.มีการเชื่อมโยงภูมิปัญญา และแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน 1. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. จ านวนแหล่งเรียนรู้หรือจุดให้บริการการเรียนรู้ 4.มีหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่นที่ สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน 1. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. จ านวนแหล่งเรียนรู้หรือจุดให้บริการการเรียนรู้ 5.มีสื่อ เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มี คุณภาพ 1. จ านวนสื่อ เทคโนโลยี หลากหลาย เพียงพอ 2. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 6.ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ 1.ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตนเอง 2.ร้อยละของครูที่น ามาพัฒนาตนเอง 7.มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์การ ประเมิน 8.มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์การ ประเมิน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 23 กลยุทธ์การด าเนินงาน กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาตลอดชีวิตให้กับคนทุกช่วงวัย กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน/ผู้รับบริการให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 3 ขยายความร่วมมือภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 4 ขยายภูมิปัญญาและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาหลักสูตร นวัตกรรมและสื่อเทคโนโลยีให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีคุณภาพและเป็นมืออาชีพ กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 24 1. งบประมาณ เงินงบประมาณ จ านวน 945,063 บาท ผลการใช้เงินงบประมาณ จ านวน 945,063 บาท เงินนอกงบประมาณ จ านวน…………-…….....บาท 2. การใช้จ่ายงบประมาณ ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผนงาน: สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐาน แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบอุดหนุน 1. โครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3. โครงการจัดซื้อหนังสือ *499 คน *499 คน *499 คน - - - 347,460 146,478 112,770 - - - - - - ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผนงาน: ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบด าเนินงาน 1. งบบริหารส านักงาน ผ.4 2. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 3. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน 5. โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 2 คน 5 คน 14 คน 28 คน - - - - 22,800 1,100 2,000 5,600 3,220 - - - - - - - - - - ส่วนที่ 3 แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ 2566


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 25 ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผนงาน: ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบรายจ่ายอื่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 1) พัฒนาอาชีพ/ต่อยอดอาชีพเดิม 2) ช่างพื้นฐาน 3) หนึ่งอ าเภอ หนึ่งอาชีพ 80 คน 18 คน 11 คน - - - 48,000 14,400 9,900 - - - - - - แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย (งบด าเนินงาน) เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบด าเนินงาน 1. งบบริหารส านักงาน 2. ค่าสาธารณูปโภค 3. ค่าหนังสือพิมพ์ห้องสมุด 4. วารสาร 5. ค่าอินเตอร์เน็ต (ห้องสมุด และกศน.อ าเภอ) 6. ค่าสื่อ หนังสือ ห้องสมุดประชาชน 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 1 แห่ง - - - - - - 18,907 3,900 2,730 4,147 22,200 7,500 - - - - - - - - - - - - งบด าเนินงาน(งบรายจ่ายอื่น) 1. กิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ใน กศน.ต าบล 2. ต าบล ค่าหนังสือพิมพ์ 3. ค่าอินเตอร์เน็ต กศน.ต าบล 2 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง - - - 4,500 4,840 12,420 - - - - - -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 26 โครงการตามนโยบายเร่งด่วน งบรายจ่ายอื่น เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) 1. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 30 คน - 7,045 - - 2. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 15 คน - 17,700 - - 3. กาย จิต สมองผู้สูงอายุ 40 คน - 2,800 - - 4. ผู้สูงอายุ 70 ชั่วโมง 20 คน - 25,700 - - แผนงาน: แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด ชายแดนใต้(ศูนย์ประสานงานและบริหาร การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้) งบรายจ่ายอื่น เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) 1. โครงการซื้อสื่อภาษาเพื่อการเรียนรู้และ การสื่อสาร 21,756 - - 2. โครงการส่งเสริมภาษาเพื่อการเรียนรู้และ การสื่อสาร 42 คน - 61,440 - - 3. โครงการกีฬาสายสัมพันธ์จังหวัดชายแดนใต้ 25 คน - 13,750 - - รวม *829 คน 9 แห่ง - - 945,063 - * งบอุดหนุน เป้าหมาย เดียวกัน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 27 แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไตรมาส 1-2 1.โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ....................................................... 1.โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนา ทักษะดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของส านักงาน กศน. ที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบออนไลน์และ ออฟไลน์ เพื่อให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และน าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจรายบุคคลของผู้เรียน 2.7 จัดท ารายละเอียดการก่อสร้าง แหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค าของบประมาณในการปรับปรุง/ซ่อมแซม 2.13 ส่งเสริมการ น าระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการยกระดับคุณภาพให้กับผู้เรียน ความสอดคล้อง กับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอกระบบ มาตรฐานการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามรถในการอ่าน การเขียน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.2 การใช้สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 15 ก าหนดนิยามการศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการก าหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการ จัดการศึกษา ระยะเวลา ของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขส าคัญของการส าเร็จการศึกษา โดย เนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึง เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของบุคคลที่อยู่นอก โรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์จากการท างานและการประกอบอาชีพ โดยก าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความส าคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้าน จิตใจ ให้มีคุณธรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญา ท้องถิ่น และเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกัน ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งค านึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน และ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 28 กศน.อ าเภอมะนัง มีหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่พลาดโอกาสให้ได้รับความรู้ สามารถน า ความรู้ไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น สนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถน าความรู้ไปพัฒนา งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจัดโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 4.2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา 4.3 เพื่อนิเทศติดตามผลการด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 2/2565 จ านวน 246 คน 5.1.2 บุคลากร กศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 7 คน 5.1.3 กศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง 5.1.4 กศน.ต าบล จ านวน 2 แห่ง 5.1.5 ศูนย์การเรียนชุมชน จ านวน 1 แห่ง 5.1.6 ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ได้รับความรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 5.2.2 ร้อยละ 100 ของบุคลากรสามารถด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย1. ส ารวจความต้องการและ ประชุมวางแผน เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. นักศึกษา 2. บุคลากร สกร.อ าเภอมะนัง 2. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ นักศึกษา 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม 3.1 ค่าจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2 ค่าใช้จ่ายในการนิเทศ ติดตามผล การจัดการศึกษา 1. เพื่อจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้กับนักศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การด าเนินงานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใน สถานศึกษา 3. เพื่อนิเทศติดตามผลการด าเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยกับสถานศึกษา 1. นักศึกษา 2. บุคลากร กศน. อ าเภอมะนัง 3. กศน.อ าเภอมะนั4. กศน.ต าบล 5. ศูนย์การเรียน ชุมชน 6. ห้องสมุดประชาอ าเภอมะนัง 4. นิเทศติดตามผล เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง คณะกรรมการนิเท5. รายงานผล เพื่อสรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 29 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ นักศึกษาและบุคลากรร่วมกัน วางแผนการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อ าเภอมะนัง ตุลาคม 2565 - ชี้แจงรายละเอียด ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ กศน.อ าเภอมะนัง ตุลาคม 2565 - นัง ชน 1. นักศึกษา ได้รับความรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 2. บุคลากรสามารถ ด าเนินงานการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานในสถานศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 1. กศน.อ าเภอ 2. กศน.ต าบล 2 แห่ง 3. ศูนย์การเรียนชุมชน 1 แห่ง 4. ห้องสมุดประชาชน อ าเภอมะนัง ตุลาคม 2565 - มีนาคม 2566 173,920 ทศ ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง กศน.อ าเภอมะนัง ตุลาคม - กันยายน 2566 - การ สรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ กศน.อ าเภอมะนัง กันยายน 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 30 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทาง การศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรม จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2/2565 รหัสงบประมาณ 20002420016004100226 เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ จ านวน 173,920 บาท (เงินหนึ่งแสนเจ็ดหมื่นสามพันเก้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เป็นเงิน 41,650 บาท 7.2 โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการฯ เป็นเงิน 35,840 บาท 7.3 โครงการกีฬา “กศน.เกมส์ 2566” ระดับประเทศ เป็นเงิน 8,880 บาท 7.4 โครงการส่งเสริมการใช้หนังสือสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน เป็นเงิน 8,000 บาท 7.5 โครงการลูกเสือวิสามัญ กศน.อ าเภอมะนัง เป็นเงิน 5,900 บาท 7.6 โครงการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เป็นเงิน 10,850 บาท 7.7 ค่าซ่อมแซม/บ ารุงรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในส านักงาน เป็นเงิน 5,800 บาท 7.8 ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง เป็นเงิน 10,000 บาท 7.9 ค่าซ่อมและตรวจสภาพการใช้งานรถยนต์ส่วนราชการ เป็นเงิน 7,000 บาท 7.10 ค่าเดินทางไปราชการ เป็นเงิน 10,000 บาท 7.11 ค่าสาธารณูปโภค เป็นเงิน 30,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 173,920 บาท หมายเหตุ: ขอถัวจ่ายทุกรายการ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.2566) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 2566) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 2566) 1. ส ารวจความต้องการและ ประชุมวางแผน - - - - 2. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ- - - - 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม 3.1 ค่าจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2 นิเทศติดตามผลการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน 86,000 87,920 - - 4. นิเทศติดตาม - - - - 5. รายงานผล - - - - รวม 86,000 87,920 - -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 31 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม 10. เครือข่าย 10.1 คณะกรรมการสถานศึกษา 10.2 องค์การบริหารส่วนต าบลทุกต าบล 10.3 สถานศึกษาในพื้นที่อ าเภอมะนัง 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษา ได้รับการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสามารถน าความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ศึกษาต่อ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับบริการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 13.1.2 ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริม สนับสนุน การ ด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ได้รับการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสามารถน าความรู้ ไปใช้พัฒนาตนเอง ศึกษาต่อ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานสรุปผล 14.3 แบบนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 32 10. เครือข่าย 10.1 คณะกรรมการสถานศึกษา 10.2 องค์การบริหารส่วนต าบลทุกต าบล 10.3 สถานศึกษาในพื้นที่อ าเภอมะนัง 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษา ได้รับการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสามารถน าความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ศึกษาต่อ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับบริการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 13.1.2 ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริม สนับสนุน การ ด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ได้รับการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสามารถน าความรู้ ไปใช้พัฒนาตนเอง ศึกษาต่อ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานสรุปผล 14.3 แบบนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 33 2. โครงการพัฒนาผู้เรียน …………………………………………… 1. โครงการพัฒนาผู้เรียน 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบเพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคม ดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบัน หลักชองชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองและมีศีลธรรม ที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตเข่น ทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ กรคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง ที่เหมาะสมกับวัยชองผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอก ระบบ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ 1.1-1.8 3. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้างสังคมไทย ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุล ระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื้นฐานการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และ พัฒนาความสามารถเพื่อการท างานที่มีคุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษาให้ตรงตามความ ต้องการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิตและ สังคม สามารถพึ่งพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ประสบการณ์จากการท างานและการ ประกอบอาชีพ โดยการก าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ ความส าคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่กับการพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งค านึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ ของผู้ที่อยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของ เทคโนโลยีและการสื่อสาร กศน.อ าเภอมะนังจึงจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมจาก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 34 การเรียนปกติให้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีศักยภาพใน การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามจุดมุ่งหมายของกระทรวงศึกษาธิการ แผนการศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 4.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีให้นักศึกษา 4.3 เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรมให้กับนักศึกษา 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 246 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายและมาตรฐานของหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย1. ประชุมชี้แจง วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 246 คน2. ขออนุมัติโครงการ เพื่อพัฒนาหลักสูตรใช้ในการจัดการเรียนรู้ คณะครู กศน.อ าเภอ มะนัง 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม 3.1 โครงการศึกษาดู งานเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต คณิตวิทย์และสังคม 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดทักษะที่จ าเป็น ในศตวรรษที่ 21 2. เพื่อให้นักศึกษาไปปรับประยุกต์ใช้ในการอยู่ ร่วมกับสังคมได้ นักศึกษา กศนอ าเภอมะนัง 80 คน 3.2 โครงการค่ายวิชาการ พัฒนาทักษะความรู้วิชา ภาษาไทยและสังคมศึกษา 1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ในวิชาภาษาไทยและสังคมศึกษา เพิ่มขึ้น 2.เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้กับนักศึกษาเพิ่มขึ้น นักศึกษา กศนอ าเภอมะนัง 70 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 35 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) .. น มีแผนการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน กศน.อ าเภอมะนัง ธันวาคม 2565 - น าหลักสูตรมาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ กศน.อ าเภอมะนัง ธันวาคม 2565 - . นักศึกษาเกิดทักษะที่จ าเป็นใน ศตวรรษที่ 21 มีกระบวนการ คิดเปน ท าเปนและแก้ปัญหา เปน และสามารถปรับตัวใหทัน ตอการเปลี่ยนแปลงของโลก และมีเจตคติที่ดีในการอยู่ ร่วมกับสังคม พิพิธภัณฑสถาน ธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรม ราชกุมารี 6 มกราคม 2566 24,000 . นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ในวิชาภาษาไทยและวิชา สังคมศึกษาและยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น ศูนย์เรียนรู้และ ขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2 –3 กุมภาพันธ์ 2566 19,690


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย3.3 โครงการอบรมจิตอาสา กศน “เราท าความดีด้วย หัวใจ ” (รุ่นที่ 1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องจิตอาสา รู้จักการปฏิบัติหน้าที่ มีความรับผิดชอบ การ เสียสละ และสร้างความสามัคคีให้กับคนใน ชุมชน นักศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 40 คน3.4 .โครงการส่งเสริมการ เรียนรู้ผ่านโครงงาน นักศึกษา กศน.อ าเภอ มะนัง 1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการโครงงานอาชีพที่ตนเองสนใจ 2 เพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้กล้าคิด กล้าท า และ แสดงออกถึงความสามารถในเชิงสร้างสรรค์ นักศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 51 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 36 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) .. น นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องจิตอาสา รู้จักการปฏิบัติ หน้าที่ มีความรับผิดชอบ การ เสียสละ และสร้างความสามัคคี ให้กับคนในชุมชน ปลูกฝังและ สร้างจิตส านึกที่ดีให้กับนักศึกษา ขัดเกลาทางจิตใจให้เห็นคุณค่า ของการช่วยเหลือผู้อื่น ณ ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนต าบลนิคม พัฒนา 10 กุมภาพันธ์ 2566 14,897 .. น ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ เกี่ยวกับโครงงานด้านอาชีพ มี ความกล้าคิด กล้าท า และกล้า แสดงออกถึงความสามารถของ ตนเองที่เป็นไปในทาง สร้างสรรค์ ณ ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนต าบล นิคมพัฒนา 17 กุมภาพันธ์ 2566 10,587


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย3.5 โครงการแข่งขัน กีฬากศน.เกมส์ระดับภาคใต้ 1. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ให้กับนักศึกษา 2. เพื่อส่งเสริมการแสดงความสามารถด้าน กีฬาของนักศึกษา 3. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะที่ดีให้กับนักศึกษา นักศึกษา กศนอ าเภอมะนัง จ านวน 5 คน 4. นิเทศติดตาม เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง คณะกรรมการนิเทศ 5. สรุปและรายงานผล โครงการ เพื่อสรุปและรายงานผลการด าเนินการ ตามโครงการ ผู้รับผิดชอบ โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 37 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) น นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมี ความสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สนามกีฬา อ าเภอ หาดใหญ่ จังหวัด สงขลา 22–24 มีนาคม 2566 2,400 ร ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง สกร.อ าเภอมะนัง พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 - สรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ สกร.อ าเภอมะนัง กันยายน 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 38 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้งบประมาณประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนที่ 1/2566 รหัส งบประมาณ 20002420016004100149 จ านวน 71,574 บาท (เงินเจ็ดหมื่นหนึ่งพันห้าร้อยเจ็ดสิบสี่บาทถ้วน) เป็น ค่าใช้จ่ายดังนี้ 7.1 โครงการค่ายวิชาการพัฒนาทักษะความรู้วิชาภาษาไทยและสังคมศึกษา เป็นเงิน 19,690 บาท 7.2 โครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตคณิตวิทย์และสังคม เป็นเงิน 24,000 บาท 7.3 โครงการอบรมจิตอาสา กศน. “เราท าความดีด้วยหัวใจ”(รุ่นที่ 1) เป็นเงิน 14,897 บาท 7.4 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านโครงงานนักศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง เป็นเงิน 10587 บาท 7.5 .โครงการแข่งขันกีฬากศน.เกมส์ระดับภาคใต้ เป็นเงิน 2,400 บาท รวมเป็นเงิน 71,574 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.–ธ.ค.2565) ไตรมาส 2 (ม.ค–มี.ค.2566) ไตรมาส 3 (เม.ย–มิ.ย.2566) ไตรมาส 4 (ก.ค–ก.ย.2566) 1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ ของโครงการ - - - - 2. ขออนุมัติโครงการ - - - - 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม - 71,574 - - 4. นิเทศติดตาม - - - - 5. สรุปและรายงานผลโครงการ - - - - รวม - 71,574 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม 10. เครือข่าย - 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 39 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 สูงขึ้น 13.1.2 ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดี 13.1.3 ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศ 14.2 แบบทดสอบ 14.3 รายงานผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 40 3 .โครงการซื้อหนังสือเรียนกศน.หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรียนที่ 2/2565 …………………………….. 1.โครงการซื้อหนังสือเรียนกศน.หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรียนที่ 2/2565 2. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน กศน.ปี 2566 ข้อที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ ข้อ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทาง การศึกษาทุกช่วงวัย 3. หลักการและเหตุผล ส านักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติทั้งใน ด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นในศตวรรษที่ 21และมี ความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยอันจะน าไปสู่การสร้างโอกาส ความเท่าเทียมและลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการส าหนรับ ทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ จากภารกิจดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง จึงท า โครงการซื้อหนังสือเรียนกศน.หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรียนที่ 2/2565 ขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ ยกระดับ คุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจให้กับนักศึกษา 4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษากศน.อ าเภอมะนังได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพทางการศึกษา 5.เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 2/2565 จ านวน 246 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับสื่อ หนังสือเรียน ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ยกระดับ คุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการทางการศึกษา


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 41 6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) การจัดหาสื่อ หนังสือเรียน เพื่อสนับสนุนให้ นักศึกษาทุกคนมี ต าราเรียนอย่าง ทั่วถึงและเท่า เทียมกันใน นักศึกษาภาค เรียนที่ 2/2565 246 - กศน.ต าบล นิคมพัฒนา - กศน.ต าบล ปาล์มพัฒนา ต.ค.65- มี.ค.66 55,710 7. งบประมาณ แผนงาน.ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงิน อุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าหนังสือเรียน รหัสงบประมาณ 20002420016004100072 จ านวนเงิน 55,710 บาท (เงินห้าหมื่นห้าพันเจ็ดร้อยสิบบาทถ้วน) - ค่าสื่อหนังสือเรียน เป็นเงิน 55,710 บาท 8. แผนการเบิกจ่ายเป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 (ต.ค.-ธ.ค. 65) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค.-มี.ค. 66) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย.-มิ.ย. 66) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค.-ก.ย. 66) จัดซื้อสื่อหนังสือ เรียนเพื่อการศึกษา - 55,710 - - รวมเงิน - 55,710 - - 9.. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 10. เครือข่าย - 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 42 12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักศึกษาได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ มีการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปเกี่ยวกับการใช้สื่อ 13.ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต นักศึกษากศน.อ าเภอมะนัง จ านวน 246 คน ได้รับสื่อ หนังสือเรียน ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม กัน 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ นักศึกษาได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ มีการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปเกี่ยวกับการใช้สื่อ 14. การติดตามและประเมินผล 1) แบบสอบถามความพึงพอใจ 2) แบบนิเทศติดตามผล 3) รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน


Click to View FlipBook Version