The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaharnthai1622, 2023-11-03 09:14:10

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รวมแผน66

แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 43 4. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ................................................ 1. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายของรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะ และทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วง วัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ สอดคล้องกับงาน ประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายส่งเสริมให้ ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา ตลอดจนชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริมและสนับสนุนรวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการ เรียนรู้ของชุมชน จาการส ารวจข้อมูลผู้ลืมหนังสือและผู้ไม่รู้หนังสือ ในปีงบประมาณที่ผ่านมามีผู้ลืมหนังสือ และผู้ไม่รู้หนังสือในอ าเภอมะนัง จ านวน 1 คน ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง กศน.อ าเภอมะนัง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการรู้หนังสือในพื้นที่อ าเภอมะนัง เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และค านวณ เบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง และผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และค านวณเบื้องต้นได้ 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ - ผู้ลืมหนังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ จ านวน 1 คน 5.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนและค านวณเบื้องต้น เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ก าหนด


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย - ส่งเสริมการรู้หนังสือ 1.เพื่อให้ผู้เรียนได้ ฝึกการ ฟัง พูด อ่านและเขียน ภาษาไทยได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการคิด ค านวณเบื้องต้น - ผู้ไม่รู้หนังสือ / ผู้ลืมหนังสือ ผู้เกาภาค านน าชีวิ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 44 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เรียนจ านวน 1 คน มี รฟัง พูด อ่าน เขียน ษาไทยได้ มีการคิด นวณเบื้องต้นได้และ า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ใ น ตประจ าวันได้ - ต าบลนิคมพัฒนา - ต าบลปาล์ม พัฒนา 1 ตุลาคม 2565 – 30 มีนาคม 2566 550.00


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 45 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงาน: พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัสงบประมาณ 20002350040002000000 เป็น ค่าวัสดุ จ านวน 550 บาท (ห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน) - ค่าวัสดุ เป็นเงิน 550 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 2566) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 2566) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 2566) 1.ประชุม/วางแผน - - - - 2.เขียนโครงการ/ขอ อนุมัติ - - - - 3.ประสานงาน / มอบหมายงาน - - - - 4.ด าเนินการจัด 550 - - 5.วัดผลและประเมินผล - - - - 6.สรุปผล/รายงานผล โครงการ - - - - รวม 550 - - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 10. เครือข่าย 10.1 อบต.นิคมพัฒนา 10.2 อบต.ปาล์มพัฒนา 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 โครงการประกันคุณภาพการศึกษา 11.2 โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 46 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ผู้เรียนมีการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้ 2. ผู้เรียนมีการคิดค านวณเบื้องต้นได้ 3. ผู้เรียนน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - ผู้ลืมหนังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ จ านวน 1 คน ได้รับการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาไทยและน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) “สอดคล้องกับผลลัพธ์ (ข้อ 12)” ผู้เรียน จ านวน 1 คน มีการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้มีการคิดค านวณเบื้องต้นได้ สามารถน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศติดตาม 14.2 ทดสอบ 14.3 รายงานสรุปผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 47 5. ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ................................................................ 1.ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2.ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนา ทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วงวัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ 3. หลักการและเหตุผล ส านักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ความสามารถ ของบุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดีและความสงบสุข ความปลอดภัยในสังคม การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการบริการที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาคนให้มีความรู้เกิดทักษะที่จ าเป็นส าหรับการคิด วิเคราะห์ในการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน มีการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ที่มีสาระสอดคล้องกับ บริบทของชุมชน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานของบุคคลให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยเน้นทักษะ ชีวิตเป็นพื้นฐานที่จ าเป็น 4 ด้าน 1. ด้านสุขภาพอนามัย 2. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปัจจุบันปัญหาสุขภาพโรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนูนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญของประเทศไทย ที่สร้าง ความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่า ประชากรมีปัญหาสุขภาพและป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโรคฉี่หนู เป็นจ านวนมาก ท าให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการ แก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหา ของโรคในปัจจุบัน ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนูเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การด าเนินงานป้องกันและควบคุมโรคจึงมีส่วนส าคัญที่ต้องเร่งรัดด าเนินการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนังได้เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงจัด โครงการอบรมพัฒนาทักษะชีวิตสุขภาพดีรู้เท่าทันโรคปัจจุบัน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ในเรื่องการดูแลสุขภาพ โรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู 4.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมน าความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 48 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ประชาชนต าบลปาล์มพัฒนาและนิคมพัฒนา จ านวน 14 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ และแนวปฏิบัติเรื่องการดูแลสุขภาพโรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านการอบรมตามกิจกรรมที่ก าหนด


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1. ส ารวจสภาพปัญหาและความต้องของ ประชาชน เพื่อวางแผนการจัดโครงการ อบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เรื่องรู้เท่าทันโรคปัจจุบัน บุคลากร กศน. อ าเภอมะนัง 2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร 2.1 รวบรวมข้อมูลจัดท าแผนปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ 256๖ 2.2 จัดท าหลักสูตร/จัดหาวิทยากรและ เสนอโครงการ เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ และเตรียมแผนการเรียนรู้ เพื่อขออนุมัติโครงการ บุคลากร กศน. อ าเภอมะนัง 3.ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผนโครงการ อบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเรื่องรู้เท่าทัน โรคปัจจุบัน - เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ในเรื่อง ในเรื่องการดูแลสุขภาพ โรค ไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู - เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมน า ความรู้ไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ ประชาชน 14 คน 4. นิเทศติดตามผลโครงการ เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไข จุดบกพร่อง ผู้รับผิดชอบ โครงการ 5. สรุปและรายงานผลโครงการ เพื่อสรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ รายงานผล โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 49 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ ครูและผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันวาง แผนการจัดกิจกรรมตามความต้องการ อ าเภอมะนัง ธันวาคม 2565 - เพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ ให้ทราบ อ าเภอมะนัง ธันวาคม 2565 - - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะใน เรื่องการดูแลสุขภาพ โรคไข้เลือดออก และโรคฉี่หนู กศน.ต าบล ปาล์มพัฒนา 16 ธันวาคม 2565 1,610 ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา 16 ธันวาคม 2565 - สรุปและรายงานผลการด าเนินการตาม โครงการ กศน.อ าเภอมะนัง 16 ธันวาคม 2565 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 50 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 ภายในวงเงิน 1610 บาท (หนึ่งพันหกร้อยสิบบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 ค่าใช้สอย เป็นเงิน 1,050 บาท 7.2 ค่าตอบแทน เป็นเงิน 560 บาท รวมเป็นเงิน 1,610 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.–ธ.ค. 65) ไตรมาส 2 (ม.ค.–มี.ค. 66) ไตรมาส 3 (เม.ย.–มิ.ย. 66) ไตรมาส 4 (ก.ค.–ก.ย. 66) 8.1 ส ารวจสภาพปัญหาและความ ต้องของประชาชน -- - - - 8.2 ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ -- - - - 8.3 ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผน โครงการ 1,610 - - - 8.4 นิเทศติดตามผลโครงการ - - - - 8.5 สรุปและรายงานผลโครงการ - - - - รวม 1,610 - - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง (นางสาวดวงกมล ประทุมมณี) 10. เครือข่าย -โรงพยาบาลมะนัง 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง - 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะ เรื่องการดูแลสุขภาพโรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู 12.2 ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 12.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับดีขึ้นไป


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 51 13.ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 14 คน ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพโรคไข้เลือดออกและโรค ฉี่หนู 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพโรค ไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู 13.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13.2.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับดีขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบทดสอบ 14.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.3 รายงานสรุปผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 52 6. โครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน .................................................................................................................. 1. โครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการ พัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วงวัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละ กลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ 3. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันอุบัติเหตุจากการใช้ยานพาหนะบนท้องถนนนับเป็นปัญหาส าคัญของประเทศ ท าให้เกิด การ สูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งของอุบัติเหตุเกิดจากการขาดจิตส านึก ความปลอดภัยใน การใช้รถใช้ถนนร่วมกัน และการขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องกฎระเบียบวินัยจราจร ซึ่งเป็นกฎหมายหลักใน การบังคับควบคุมการจราจรให้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีความเป็นระเบียบ ซึ่งจะก าหนด สิทธิและ หน้าที่ของผู้ใช้รถและใช้ถนนผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย โดยมีเครื่องมือในการใช้บังคับ ได้แก่ เครื่องหมาย จราจร และสัญญาณจราจร ฯลฯ พร้อมทั้งมีวิธีการบังคับหรือการลงโทษ ก็จะช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุบน ท้องถนน ได้แก่ การว่ากล่าวตักเตือน การเปรียบเทียบปรับ การลงโทษจ าคุก การพักใช้ใบอนุญาตขับรถการ เพิกถอนใบอนุญาต ขับรถ ถ้าประชาชนในพื้นที่ให้ความเคารพกฎจราจรก็จะท าให้ให้อยู่ในชุมชนและสังคม สังคมได้อย่างมีความสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจเพื่อนร่วมทาง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและมารยาทในการใช้การจราจร 4.2 เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จ านวน 9 คน 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและมารยาทในการใช้การจราจร สามารถน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าห1. ส ารวจสภาพปัญหาและความ ต้องของประชาชน เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรม โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน บุคลากร อ าเภอม2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร 2.1 รวบรวมข้อมูลจัดท าแผนปฏิบัติ งานประจ าปีงบประมาณ 2565 2.2 จัดท าหลักสูตร/จัดหาวิทยากร และเสนอโครงการ เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ และเตรียมแผนการเรียนรู้ เพื่อขออนุมัติโครงการ บุคลากร อ าเภอม3.ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผน กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน - โครงการขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจ เพื่อนร่วมทาง - เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจเรื่อง กฎหมายและมารยาทในการใช้ การจราจร - เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถ น าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อ ครอบครัว และต่อชุมชน ประชาชน9 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 53 หมาย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) กศน. มะนัง ครูและผู้เข้าร่วมโครงการ ร่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรม ตามความต้องการ อ าเภอมะนัง 2 ต าบล ธ.ค. 2565 - กศน. มะนัง เพื่อชี้แจงรายละเอียดของ โครงการ ให้ทราบ อ าเภอมะนัง 2 ต าบล ธ.ค. 2565 - นทั่วไป น - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ ความรู้และแนวปฏิบัติเรื่องการ ดูแลตนเอง กศน. ต าบลนิคมพัฒนา 19 ธ.ค. 65 3,600


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าห4. นิเทศติดตามผลโครงการ เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง ผู้รับผิดชโครงก5. สรุปและรายงานผลโครงการ เพื่อสรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ รายงานโครงก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 54 หมาย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) ชอบ การ ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง กศน. ต าบลนิคมพัฒนา 19 ธ.ค. 65 - นผล การ สรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ กศน.อ าเภอมะนัง 27 ธ.ค. 2565 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 55 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จากงบประมาณประจ าปีพ.ศ.2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัส งบประมาณ 20002350004002000000 ภายในวงเงิน 3,600.00 บาท (สามพันหกร้อยบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 ค่าตอบแทน เป็นเงิน 600 บาท 7.2 ค่าวัสดุ เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 3,600 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.– ธ.ค.65) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 66) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 66) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 66) 1 ส ารวจสภาพปัญหาและ ความต้องของประชาชน - - - - 2 ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ - - - - 3 ด าเนินการจัดกิจกรรม ตามแผนโครงการการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 3,600 - - - 4 นิเทศติดตามผลโครงการ - - - - 5 สรุปและรายงานผล โครงการ - - - - รวม 3,600 - - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนภัทร จันทวิลาศ 10. เครือข่าย 10.1 สถานีต ารวจภูธรมะนัง 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 12. ผลลัพธ์(Outcome) 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและมารยาทในการใช้ การจราจร 2. ร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 3. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในภาพรวม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 56 13. ดัชนีชี้วัดของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 9 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและมารยาท ในการใช้การจราจร 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและมารยาทในการใช้ การจราจร 2. ร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 3. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในภาพรวม ระดับดีขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศ 14.2 ประเมินความพึงพอใจ 14.3 รายงานผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 57 7. ชื่อโครงการ การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ........................................................................ 1. ชื่อโครงการ การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. สอดคล้องกับนโยบาย ส านักงาน กศน.ปี 2566 ยุทธศาสตร์ที่ 1. ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 1.1 น้อมน าพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ของส านักงาน กศน.การศึกษาต่อเนื่อง ด้านที่ 1 การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ข้อที่ 1.3 (4) ด้านที่ 4 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ หรือโครงการอัน เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ข้อที่ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริหรือ โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ 3. หลักการและเหตุผล จากการส ารวจสภาพปัญหาในชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางปฏิบัติตน โดยค านึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อพร้อมรับต่อความเสี่ยง บนพื้นฐานของความรอบ รู้ ความรอบคอบ ระมัดระวัง และคุณธรรม การใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการ และการตื่นตัวของประชาชนใน ด้านการประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่เน้นแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน ลด ต้นทุนการผลิตทางการเกษตรที่ผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ มีความปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมทั้งช่วยฟื้นฟูทรัพยากร ทางธรรมชาติ หากประชาชนสามารถผลิตเองได้โดยวิธีธรรมชาติ ใช้วัตถุดิบการผลิตที่เป็นของเหลือใช้จากใน ครัวเรือนและท้องถิ่น ก็จะช่วยลดต้นทุนการผลิตและเกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ด าเนินการจัดโครงการจัดกระบวนการ เรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ มีทักษะ ในการปลูกผักสวนครัว ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง หลังจากเหลือกินเหลือใช้ สามารถน าไปแจกเพื่อนบ้านหรือขายท าให้เกิดรายได้ เสริมอีกช่องทางหนึ่งได้เพื่อให้เกิดประโยชน์กับผู้ข้ารับการอบรมจึงจัดโครงการนี้ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ มีทักษะ ในการปลูกผักสวนครัว 4.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 58 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ - ประชาชนต าบลนิคมพัฒนาและต าบลปาล์มพัฒนาจ านวน 5 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 5 คน มีความรู้ความเข้าใจการปลูกผักสวนครัว 5.2.2 ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการน าหลักหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปด าเนิน ชีวิตประจ าวันได้


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชุมวางแผน/เตรียม ความพร้อม เพื่อก าหนดเนื้อหาของ กิจกรรมและการด าเนินงาน บุคลากร ศูนย์ กศน. อ าเภอมะนัง 2. ประชาสัมพันธ์และรับ สมัครกลุ่มเป้าหมาย เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ ประชาชนทั่วไป จ านวน 15 คน 3. จัดท า/พัฒนาหลักสูตร/ เสนอโครงการแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้และสื่อ เพื่อเตรียมแผนการเรียนรู้ และออกแบบสื่อ บุคลากร ศูนย์ กศน. อ าเภอมะนัง 4. – กิจกรรมเรียนรู้ปลูกผัก สวนครัวสร้างรายได้ลด รายจ่ายในครัวเรือน 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ มีทักษะ กิจกรรมที่ อบรมได้ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถน าความรู้ที่ได้รับไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ได้ ประชาชนต าบลนิคม พัฒนาและต าบล ปาล์มพัฒนา 5. สรุปผลการด าเนินงานและ รายงานผล เพื่อประเมินผลโครงการ และเสนอรายงานต่อ ผู้บริหาร บุคลากร ศูนย์ กศน. อ าเภอมะนัง


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 59 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ บุคลากรร่วมกันวาง แผนการจัดกิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์ กศน.อ าเภอมะนัง ธ.ค.65 - 7คน อ าเภอมะนัง ธ.ค.65 - 7คน ศูนย์ กศน.อ าเภอมะนัง ธ.ค.65 - 5 คน - กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา 25 ม.ค.66 2,000 บาท 3 คน ศูนย์ กศน.อ าเภอ มะนัง ก.พ.2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 60 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัส งบประมาณ 20002350004002000000 ภายในวงเงิน จ านวน 2,000 บาท (สองพันบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 ค่าใช้สอย เป็นเงิน 600 บาท 7.2 ค่าตอบแทน เป็นเงิน 750 บาท 7.4 ค่าวัสดุ เป็นเงิน 650 บาท รวมเป็นเงิน 2,000 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.–ธ.ค. 65) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 66) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 66) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย.66 ) 8.1 ประชุมวางแผน/เตรียม ความพร้อม - - - - 8.2 ประชาสัมพันธ์และรับ สมัครกลุ่มเป้าหมาย -รวบรวมข้อมูลจัดท า แผนปฏิบัติงานประจ าปี งบประมาณ 2566 - - - - 8.3 จัดท า/พัฒนา หลักสูตร/เสนอโครงการ แผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้และสื่อ - - - - 8.4 ด าเนินการ - ให้ความรู้การศึกษาเพื่อ เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและการ ปลูกผักสวนครัว - 2,000 - - 8.5 สรุปผลการด าเนินงาน และรายงานผล - - - - รวม - 2,000 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ครู กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 61 10. เครือข่าย - ผู้น าท้องถิ่น/ผู้น าชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง - 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวและสามารถน าความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการน าหลักหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปด าเนินชีวิตประจ าวันได้ 3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับดีขึ้นไป 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 5 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวและ สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัวและ สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13.2.2 ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการน าหลักหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปด าเนิน ชีวิตประจ าวันได้ 13.2.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับดีขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบทดสอบ 14.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.3 รายงานสรุปผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 62 8. ชื่อโครงการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปี 2566 .................................................... 1. ชื่อโครงการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปี 2566 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. 3.ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เล็งเห็นความส าคัญของการพัฒนา คุณภาพประชากรผ่านการอ่านและการเรียนรู้ในการส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน แสวงหาความรู้อย่าง ต่อเนื่องและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ จึงก าหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานด้านงานการศึกษาตาม อัธยาศัยขึ้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบ กิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของ ประชาชนที่ส าคัญยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ที่ก าหนดให้ "ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ด้วย และแผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ก าหนดวิสัยทัศน์ คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา และเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพด ารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลง ของ โลกศตวรรษที่ 21” ปัจจุบันสภาพสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้ง เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์อย่างมาก ส่งผลให้ทุกประเทศ ต้องปรับตัว ที่ส าคัญต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ ดังนั้นการอ่านและการเรียนรู้จึงเป็นกลไกหนึ่งใน กระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในหน่วยงาน ชุมชน สังคมและประเทศ การอ่านเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ประชากรได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดใหม่ๆ อันจะเป็นการพัฒนา ตนเองและรู้จักปรับตนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเทศไทยตระหนักถึงความส าคัญดังกล่าวและให้การ ส่งเสริมสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีหน่วยงานหลายภาคส่วนร่วมกันจัดกิจกรรมและรณรงค์ส่งเสริม การอ่าน ประกอบกับรัฐบาลได้ก าหนดนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาทั้งในด้านคุณภาพประสิทธิภาพ มาตรฐาน และความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา โดยมุ่งแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพ โอกาส และประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ โดยให้มีความเชื่อมโยงและส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศด้าน ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และจากสภาพการอ่านในพื้นที่อ าเภอมะนัง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. ประชาชน บางส่วนยังไม่เห็นความส าคัญของการอ่าน การเรียนรู้และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 63 (covid-19) อย่างต่อเนื่อง มีผลให้การให้บริการส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง และการจัดกิจกรรม ในเชิงรุกภายในพื้นที่อ าเภอมะนัง ด าเนินการได้น้อยลง ผู้รับบริการก็ลดน้อยลงตามไปด้วย จากความส าคัญและสภาพปัญหาดังกล่าว งานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง จึงจัดท า“โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย” ขึ้นเพื่อพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ตลอดชีวิตพร้อมจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น โดยปรับรูปแบบกิจกรรมใน ห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน มีวัฒนธรรมในการอ่าน เห็น ความส าคัญของการอ่าน และใช้การอ่านเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านให้กับ เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน. ประชาชนทั่วไป ผ่านกิจกรรมการ เรียนรู้ที่หลากหลาย 4.2 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุด 3 ดี 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1. ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง/จ านวนผู้รับบริการ 1,925 คน 5.1.2 บ้านหนังสือชุมชน จ านวน 12 แห่ง /จ านวนผู้รับบริการ 1,062 คน 5.1.3 กิจกรรมหน่วยบริการเคลื่อนที่ 4 ครั้ง/ปี จ านวน 375 คน 5.1.4 กิจกรรมห้องสมุดส าหรับชาวตลาด 6 ครั้ง/ปี จ านวน 385 คน 5.1.5 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 38 คน /ผู้รับบริการ จ านวน 494 คน 5.2 เชิงคุณภาพ ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนังได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้เป็นห้องสมุด 3 ดี ผู้รับบริการมีอัตราการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นและเข้าถึงช่องทางในการอ่านที่หลากหลาย


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 64 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จาก แผนงานงบประมาณ: พื้นฐานด้านการ พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย งบด าเนินงาน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ รหัสงบประมาณ 20002350005002000000 แหล่งของเงิน 6611200 รายละเอียดดังนี้ - งบบริหาร (ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย) เป็นเงิน 8,290 บาท - ค่าหนังสือพิมพ์ห้องสมุด เป็นเงิน 1,820 บาท - ค่าจัดสื่อ หนังสือส าหรับห้องสมุด เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าวาสารห้องสมุด เป็นเงิน 2,765 บาท - ค่าสาธารณูปโภคห้องสมุด เป็นเงิน 1,950 บาท - ค่าอินเตอร์เน็ตห้องสมุดประชาชน เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าอินเตอร์เน็ต กศน.อ าเภอ เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 25,225 บาท (เงินสองหมื่นห้าพันสองร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน) หมายเหตุ : ขอถัวจ่ายทุกรายการตามที่จ่ายจริง 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 2566) ไตรมาส 3 (เม.ย.–มิ.ย.2566) ไตรมาส 4 (ก.ค.– ก.ย.2566) 1.ประชุมชี้แจงฯ - - - - 2.ขออนุมัติโครงการ - - 3.บริหารงานและด าเนินการจัด กิจกรรม 12,000 13,225 - - 4.นิเทศติดตามผลฯ - - - - รวม 12,000 13,225 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ 9.1 นางสาวนริสรา พงค์หลง ต าแหน่งบรรณารักษ์อัตราจ้าง 10. เครือข่าย 10.1. องค์การบริหารส่วนต าบลนิคมพัฒนา 10.2. องค์การบริหารส่วนต าบลปาล์มพัฒนา 10.3. ผู้น าชุมชน 10.4. โรงเรียนพื้นที่อ าเภอมะนัง


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 65 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 11.2 การจัดการศึกษาขั้นต่อเนื่อง 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 ผู้รับบริการมีการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นตามที่ก าหมด 12.2 ห้องสมุดได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 12.3 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในภาพรวมระดับดีขึ้นไป 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1. ผู้ใช้/รับบริการ จ านวน 4,241 คน ได้รับการอ่านหนังสือผ่านช่องทางอื่นๆที่หลากหลายเพิ่มขึ้น 2. ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง ได้รับการพัฒนาเป็นไปตามแผนที่ก าหนดไว้ 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) 1. ร้อยละ 90 ของผู้รับบริการมีการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นตามที่ก าหนด 2. ร้อยละ 80 ของห้องสมุดได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม 14.3. แบบติดตามการน าไปใช้ 14.4 แบบรายงานผลการนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 66 9. ชื่อโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล .................................................... 1. ชื่อโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อที่(3.3) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพเอื้อต่อ การเรียนรู้ส าหรับทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกทีทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลายน่าสนใจสนองตอบความต้องการของชุมชน และยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (4.1) พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มี บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้การบริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ ความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการ การศึกษาตามอัธยาศัย ข้อ 1.1 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ข้อ 2.1, 2.2, 2.3,2.4 3. หลักการและเหตุผล จากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้มอบหมายภารกิจให้ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสตูล และการเรียนรู้ การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยอย่างกว้างขวางและทั่วถึง ส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่านแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง และเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบลให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้าง เครือข่ายส่งเสริมการอ่าน พร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ส าหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอ านวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยส าหรับผู้ใช้บริการกับประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย ดังนั้นเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับนักศึกษา และเป็นการ เพิ่มอัตราการอ่านผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของกลุ่มเป้าหมายกศน.ต าบลปาล์มพัฒนา ได้เล็งเห็นความส าคัญ จึงจัดท า“โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล” ขึ้นมา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้นักศึกษา กศน. 4.2 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านให้กับนักศึกษาผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4.3 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 67 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา จ านวน 20 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และรับบริการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถได้ เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัยได้ง่ายสะดวกด้วย บริการที่เป็นมิตร สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ ความเข้าใจ วิธีการด าเนินงาน และประชาสัมพันธ์ให้ กลุ่มเป้าหมายทราบ 1.เพื่อขอรับความเห็นชอบ และอนุมัติแผนกิจกรรมการ ด าเนินงาน นักศึกษา กศน.ต าบล ปาล์มพัฒนา ร้อยละ เรียนรู้แลหลากหลคุณภาพสามารถพัฒนาต2. ประสานงานเครือข่าย เพื่อประสานความร่วมมือการ ในด าเนินโครงการกับ เครือข่าย หน่วยงาน ผู้น าท้องถิ่น 3.ด าเนินการจัดโครงการ 3.1 กิจกรรมต าบล 3.2 หนังสือพิมพ์ 3.3 อินเตอร์เน็ต กศน.ต าบล 1. เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง แหล่งเรียนรู้และบริการ การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับ นักศึกษา 2. เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน ให้กับนักศึกษาผ่านการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย 3. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของกลุ่มเป้าหมาย -นักศึกษา กศน.ต าบล ปาล์มพัฒนา 20 คน - กศน.ต าบล 2 แห่ง 5.สรุปผลการด าเนินงานและ รายงานผล เพื่อสรุปผลการจัดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 68 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 100 นักศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่ง ละรับบริการผ่านกิจกรรมที่ ลาย รับบริการแหล่งเรียนรู้ที่มี มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ น าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการ นเองได้อย่างเหมาะสม กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา ตุลาคม 2565 - กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา ตุลาคม 2565 - กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา ตุลาคม 2565- มีนาคม 2566 2,250 2,440 4,140 สกร.อ าเภอมะนัง กันยายน 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 69 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดสร้างแหล่งการเรียนรู้ ในระดับต าบล รหัสงบประมาณ 20002350005002000000 ค่าใช้สอยและค่าวัสดุ จ านวน 8,830 บาท (เงินแปดพัน แปดร้อยสามสิบบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 กิจกรรมต าบล เป็นเงิน 2,250 บาท 7.2 ค่าหนังสือพิมพ์ เป็นเงิน 2,440 บาท 7.3 ค่าอินเตอร์เน็ต กศน.ต าบล เป็นเงิน 4,140 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 8,830 บาท หมายเหตุ : ขอถัวจ่ายทุกรายการ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่1 (ต.ค.-ธ.ค. 65) ไตรมาสที่2 (ม.ค. มี.ค. 66) ไตรมาสที่3 เม.ย.–มิ.ย. 66) ไตรมาสที่4 (ก.ค.-ก.ย. 66) 1.ประชุมวางแผน - - - - 2.จัดเตรียมสถานที่ - - - - 3.ด าเนินการ 4,415 4,415 - - 4.การประเมินผล - - - - 5.สรุปและรายงานผล - - - - รวม 4,415 4,415 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ครู กศน.ต าบล 10. เครือข่าย - ผู้น าท้องถิ่น 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 11.2 การจัดการศึกษาขั้นต่อเนื่อง 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และรับบริการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถได้เข้าถึง แหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัยได้ง่ายสะดวกด้วยบริการ ที่เป็นมิตร สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 70 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) -ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 20 คน เข้าถึงแหล่งเรียนรู้และผ่านกิจกรรมที่ก าหนด 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) -ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และรับบริการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย รับ บริการแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้ อย่างเหมาะสม 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม 14.3 แบบติดตามผู้รับบริการหลังการจัดกิจกรรม 14.4 แบบรายผลการนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 71 10. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ................................... 1. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดศวามสามารถในการแข่งขัน ข้อ 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่ เน้น New skill Up-skill และ Re-skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้าง ช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมายเช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่กรรับรองสมรรณะและได้รับคุณวุฒิตมกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ รามทั้งสามารถน าผลการเรียนรู้และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 3. หลักการและเหตุผล จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่างยั่งยืน โดยให้ความส าคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมี งานท าในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ ภารกิจต่อเนื่อง ศักยภาพของแต่ละพื้นที่ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่นต่อ หนึ่งศูนย์ฝึกอาชีพ รวมทั้งให้มีการก ากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง จากสถานการณ์เศรษฐกิจและความเหลื่อมล้ าที่มีอยู่ในสังคมปัจจุบัน กศน.อ าเภอมะนัง ได้ขับเคลื่อน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อพัฒนาความรู้และฝึกอาชีพให้กับประชาชน โดยการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพภายใต้ 5 หลักสูตรอาชีพ ได้แก่ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม กลุ่มอาชีพด้านพาณิชยกรรม และบริการ กลุ่มอาชีพด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง โดยมุ่งหวังให้ประชาชนที่เข้ารับการฝึก อาชีพสามารถน าความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพได้ มีการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์/บริการ ให้มีคุณภาพเป็นการสร้าง มูลค่าเพิ่ม มีการส่งเสริมการขายและขยายช่องทางการจ าหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้ทักษะ ด้านอาชีพแก่ประชาชน 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนน าความรู้ ทักษะไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ลดรายจ่าย 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ประชาชนทั่วไป จ านวน 30 คน 5.1.2 ผู้ใช้แรงงาน จ านวน 10 คน 5.1.3 ผู้สูงอายุ จ านวน 10 คน รวม จ านวน 50 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 72 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ทักษะด้านอาชีพ และสามารถน าความรู้ไปประกอบอาชีพได้ ตลอดจนสามารถสร้างรายได้ ลดรายจ่าย


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย1. ส ารวจความต้องการด้านอาชีพ เพื่อให้ได้มาซึ่ง การจัดตั้งกลุ่ม ประชาชนที่สนใจในพื้นที่มะนัง 2. พัฒนาหลักสูตร เพื่อจัดท า หลักสูตร คณะกรรมการพัฒนาหลักวิทยากร และครู กศน.ต า3. จัดสอนหลักสูตร 3.1 พัฒนาอาชีพระยะสั้น (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) 1) หลักสูตรการท าขนมเจาะหู 6 ชม. 2) หลักสูตรการเพาะพันธุ์ไม้พื้นถิ่น 9 ชม. 3) หลักสูตรการท าน้ าพริกและการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ 15 ชม 4)หลักสูตรการท าพวงกุญแจตุ๊กตามันนิ 25 ชม. 5) หลักสูตรการท าเครื่องแกง 15 ชม 6) หลักสูตรการท าขนมทานเล่น 30ชม. 7) หลักสูตรการท าขนมผูกรัก 20 ชม. 3.2 แบบชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) 1) หลักสูตรช่างปูน 33 ชม. เพื่อฝึกทักษะ อาชีพ ผู้สูงอายุ 5 คน ประชาชนทั่วไป 5 คน ผู้สูงอายุ 5 คน ประชาชนทั่วไป 5 คน ประชาชนทั่วไป 10 คน ประชาชนทั่วไป 5 คน ประชาชนทั่วไป 5 คน ผู้ใช้แรงงาน 10 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 73 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ อ าเภอ คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่มี ความสนใจ อ าเภอมะนัง ธันวาคม 2565 - กสูตร าบล วิทยากร/หลักสูตร มีคุณภาพ ในการจัดกิจกรรม กศน.อ าเภอมะนัง ธันวาคม 2565 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ทักษะด้านอาชีพ และสามารถ น าความรู้ไปประกอบอาชีพได้ ตลอดจนสามารถสร้างรายได้ ลดรายจ่าย . มกราคม 2566 กุมภาพันธ์ 2566 1,900 2,350 3,250 4,750 3,250 5,250 3,250 8,000


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย4. นิเทศ เพื่อติดตามผล การจัดกิจกรรม เจ้าหน้าที่นิเทศ 5. สรุปและประเมินผลโครงการ เพื่อสรุปผลการ จัดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบโครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 74 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ ติดตามผลการจัดกิจกรรม พื้นที่ด าเนินการ มกราคม – มีนาคม 2566 - สรุปผลการจัดกิจกรรม กศน.อ าเภอมะนัง มกราคม – มีนาคม 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 75 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ 20002340052005000033 เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ จ านวน 32,000 บาท (เงิน สามหมื่นสองพันบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 พัฒนาอาชีพระยะสั้น (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) 7.1.1 ค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละ 150 บาท จ านวน 120 ชั่วโมง เป็นเงิน 18,000 บาท 7.1.2 ค่าวัสดุจ านวน 7 กลุ่ม เป็นเงิน 6,000 บาท รวม เป็นเงิน 24,000 บาท 7.2 แบบชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) 7.2.1 ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 150 บาทจ านวน 33 ชั่วโมง เป็นเงิน 4,950 บาท 7.2.2 ค่าวัสดุ เป็นเงิน 3,050 บาท รวม เป็นเงิน 8,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 32,000 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 2566) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 2566) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 2566) 1. ส ารวจกลุ่มเป้าหมาย - - - - 2. พัฒนาหลักสูตร - - - - 3. จัดสอนหลักสูตร - 32,000 - - 4. นิเทศติดตามผล - - - - 5. สรุปและรายงานผลการจัด กิจกรรม - - - - รวม - 32,000 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนฤมล ช่วยด า 10. เครือข่าย 10.1 องค์กรบริหารส่วนต าบลทุกต าบลในอ าเภอมะนัง10.2 เทศบาลต าบลก าแพง 10.3 ผู้น าท้องที่ในพื้นที่อ าเภอมะนัง 10.4 ภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้านในท้องถิ่น 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 76 12. ผลลัพธ์ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและความช านาญในด้านอาชีพสามารถพึ่งพาตนเองได้ น าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต 13.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการน าความรู้ ทักษะไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ลดรายจ่าย 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและความช านาญในด้านอาชีพสามารถพึ่งพาตนเอง ได้ น าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศ ติดตาม 14.2 แบบประเมินความพึงพอใจ 14.3 ประเมินโครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 77 11. โครงการ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ...................................................................... 1. โครงการ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ 2. ความสอดคล้องกับจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ข้อ 3 ด้านการสร้าง โอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.3 พัฒนาทักษะฝีมือ พัฒนาการทาง ร่างกายและจิตใจกลุ่มผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถด าเนินชีวิตได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการ ด าเนินกิจกรรมใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับลงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง (ข้อ 1.1,1.2,1.3) มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง (ข้อ 2.1,2.2,2.3,2.4,2.5) มาตรฐานที่ 3 (ข้อ 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5,3.6,3.7,3.8,3.9) 3. หลักการและเหตุผล ส านักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความสามารถของบุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดีและความสงบสุข ความปลอดภัยใน สังคม ในการบริการที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาคนให้มีความรู้เกิดทักษะที่จ าเป็นส าหรับการคิดวิเคราะห์ในการ ด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน มีการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ที่มีสาระสอดคล้องกับบริบทของ ชุมชน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานของบุคคลให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยเน้นการด าเนิน กิจกรรมใน 4 มิติ1. ด้านสุขภาพ 2. ด้านสังคม 3. ด้านเศรษฐกิจ 4. ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี ดังนั้น เพื่อให้สนองนโยบาย ของส านักงาน กศน. กรอปกับ ปีพ.ศ. 2566 เป็นปี “สุขภาพสูงวัยไทย” กศน.อ าเภอมะนัง จึงจัดโครงการ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของ ผู้สูงอายุ 4. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพและหลัก3 อ. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในเรื่องการออกก าลังกายด้วยการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุค 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุน าการออกก าลังกายแบบการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุคไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ จ านวนทั้งสิ้น 20 คน ดังนี้ 5.1.1 ผู้สูงอายุ ต าบลนิคมพัฒนา จ านวน 10 คน 5.1.2 ผู้สูงอายุ ต าบลปาล์มพัฒนา จ านวน 10 คน 5.2 เชิงคุณภาพ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 78 ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพและหลัก3 อ. และมี ความรู้การออกก าลังกายด้วยการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุคสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 6. วิธีการด าเนินงาน กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1.รวบรวมและ วิเคราะห์สภาพความ ต้องการเรียนรู้ของ กลุ่มเป้าหมาย เพื่อก าหนดกรอบ กิจกรรม ผู้สูงอายุในพื้นที่ อ าเภอมะนัง 20 คน เพื่อให้ได้ กลุ่มเป้าหมายที่ ชัดเจน อ าเภอมะนัง 1 - 5 มี.ค. 2566 - 2.วางแผนการท างาน และจัดท าแผนการ เรียนรู้/ขออนุมัติ โครงการ เพื่อจัดท า หลักสูตร โครงการ คณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตร 5 คน มีหลักสูตรที่มี คุณภาพใช้ใน การจัดอบรม กศน.อ าเภอ มะนัง 7 มี.ค. 2566 - 3.จัดอบรม -ให้ความรู้เรื่องการดูแล สุขภาพและหลัก3 อ. -ให้ความรู้และสาธิต การออกก าลังกายโดย การเต้นบาสโลบ/ร าวง ย้อนยุค” -เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับความรู้ เกี่ยวกับเรื่องการ ดูแลสุขภาพและ หลัก3 อ. -เพื่อให้ผู้สูงอายุมี ความรู้ในเรื่องการ ออกก าลังกายด้วย การเต้นบาสโลบ และร าวงร้อนยุค -เพื่อให้ผู้สูงอายุ น าการออกก าลัง กายแบบการเต้น บาสโลบและร าวง ร้อนยุคไปใช้ใน ผู้สูงอายุ 20 คน ผู้สูงอายุมี ความรู้เรื่องการ ดูแลสุขภาพ และหลัก3 อ. สามารถออก ก าลังกายโดย การเต้น บาสโลบและร า วงย้อนยุคได้ อาคารผู้สูงอายุ รพสต.เฉลิมพระ เกียรติ 10 มี.ค. 2566 1,400 4.นิเทศ เพื่อติดตามผลการ ด าเนินงาน ผู้บริหารและ คณะกรรมการ นิเทศ 5 คน สถานที่จัดอบรม 10 มี.ค. 2566 - 5.สรุปรายงานผลการ ด าเนินงาน เพื่อรายงานผล โครงการ ผู้รับผิดชอบ โครงการ 1 คน กศน.อ าเภอ มะนัง 31 มี.ค. 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 79 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จ านวน 1,400.00 บาท (เงินหนึ่งพันสี่ร้อยบาทถ้วน) จากงบประมาณประจ าปี พ.ศ.2566 แผนงาน ยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอื่น โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคง พัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ รหัสงบประมาณ 20002300039005000002 เป็น ค่าวัสดุ จ านวน 1,400 บาท (เงินหนึ่งพันสี่ร้อยบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่าย ดังนี้ 7.1 ค่าวัสดุ เป็นเงิน 1,400 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,400 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ต.ค.-ธ.ค.2565 ม.ค.-มี.ค.2566 เม.ย.-มิ.ย.2566 ก.ค.-ก.ย.2566 1.รวบรวมและวิเคราะห์สภาพความ ต้องการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย - - - - 2.วางแผนการท างานและจัดท า แผนการเรียนรู้ - - - - 3.จัดอบรม หลักสูตร “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข” - 1,400 - - 4.นิเทศ - - - - 5.สรุปรายงานผลการด าเนินงาน - - - - รวม - 1,400 - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนฤมล ช่วยด า ครูอาสา 10. เครือข่าย รพสต.เฉลิมพระเกียรติ 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 โครงการการศึกษาต่อเนื่อง 11.2 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม ชุมชน 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพและหลัก3 อ. และมี ความรู้การออกก าลังกายด้วยการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุคสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 80 13. ดัชนีชี้วัดความส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 20 คน 13.1.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมในภาพรวมเฉลี่ยร้อยละ 80 ขึ้นไป 13.1.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการออกก าลังกายและ การดูแลสุขภาพและหลัก3 อ. 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพและหลัก 3 อ. และมีความรู้การออกก าลังกายด้วยการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุคสามารถน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบรายงานการนิเทศติดตามผล 14.2 รายงานผลการด าเนินงาน 14.3 แบบประเมินความพึงพอใจ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 81 แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไตรมาส 3-4 1.โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 .............................................................. 1.โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การ ปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัล ส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของส านักงาน กศน. ที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่ เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และน าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความ สนใจรายบุคคลของผู้เรียน 2.7 จัดท ารายละเอียดการก่อสร้างแหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค าขอ งบประมาณในการปรับปรุง/ซ่อมแซม 2.13 ส่งเสริมการน าระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการ ยกระดับคุณภาพให้กับผู้เรียน ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐาน การศึกษานอกระบบ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษา 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามรถในการอ่าน การเขียน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา นอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.2 การใช้สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 15 ก าหนดนิยาม การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการก าหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลา ของ การศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขส าคัญของการส าเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์จากการท างานและการประกอบ อาชีพ โดยก าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความส าคัญกับการ พัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งค านึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่อยู่นอกระบบ โรงเรียน และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 82 ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง มีหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่พลาดโอกาสให้ได้รับความรู้ สามารถน าความรู้ไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น สนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถน า ความรู้ไปพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจัดโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 4.2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา 4.3 เพื่อนิเทศติดตามผลการด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 นักศึกษาที่ลงทะเบียนในภาคเรียนที่ 1/2566 จ านวน 253 คน 5.1.2 บุคลากร สกร.อ าเภอมะนัง จ านวน 6 คน 5.1.3 สกร.อ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง 5.1.4 กศน.ต าบล จ านวน 2 แห่ง 5.1.5 ศูนย์การเรียนชุมชน จ านวน 1 แห่ง 5.1.6 ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ได้รับความรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 5.2.2 ร้อยละ 100 ของบุคลากรสามารถด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใน สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย1. ส ารวจความต้องการและ ประชุมวางแผน เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. นักศึกษา 2. บุคลากร สกร.อ าเภอมะนัง 2. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ นักศึกษา 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม 3.1 ค่าจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2 ค่าใช้จ่ายในการนิเทศ ติดตามผล การจัดการศึกษา 1. เพื่อจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้กับนักศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การด าเนินงานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใน สถานศึกษา 3. เพื่อนิเทศติดตามผลการด าเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยกับสถานศึกษา 1. นักศึกษา 2. บุคลากร สกร. อ าเภอมะนัง 3. สกร.อ าเภอมะนั4. กศน.ต าบล 5. ศูนย์การเรียน ชุมชน 6. ห้องสมุดประชาอ าเภอมะนัง 4. นิเทศติดตามผล เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง คณะกรรมการนิเท


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 83 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ นักศึกษาและบุคลากรร่วมกัน วางแผนการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สกร.อ าเภอมะนัง เมษายน 2566 - ชี้แจงรายละเอียด ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ สกร.อ าเภอมะนัง เมษายน 2566 - นัง ชน 1. นักศึกษา ได้รับความรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 2. บุคลากรสามารถ ด าเนินงานการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานในสถานศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 1. สกร.อ าเภอ 2. กศน.ต าบล 2 แห่ง 3. ศูนย์การเรียนชุมชน 1 แห่ง 4. ห้องสมุดประชาชน อ าเภอมะนัง พฤษภาคม - กันยายน 2566 173,540 ทศ ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง สกร.อ าเภอมะนัง พฤษภาคม - กันยายน 2566 -


Click to View FlipBook Version