The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaharnthai1622, 2023-11-03 09:14:10

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รวมแผน66

5. รายงานผล เพื่อสรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 84 การ สรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ สกร.อ าเภอมะนัง กันยายน 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 85 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่าจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1/2566 รหัส งบประมาณ 20002420016004100226 เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ จ านวน 173,540 บาท (เงินหนึ่งแสนเจ็ดหมื่น สามพันห้าร้อยสี่สิบบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เป็นเงิน 41,650 บาท 7.2 โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการฯ เป็นเงิน 35,840 บาท 7.3 โครงการกีฬา “กศน.เกมส์ 2566” ระดับประเทศ เป็นเงิน 8,880 บาท 7.4 โครงการส่งเสริมการใช้หนังสือสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน เป็นเงิน 8,000 บาท 7.5 โครงการลูกเสือวิสามัญ กศน.อ าเภอมะนัง เป็นเงิน 5,900 บาท 7.6 โครงการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เป็นเงิน 10,850 บาท 7.7 ค่าซ่อมแซม/บ ารุงรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในส านักงาน เป็นเงิน 5,800 บาท 7.8 ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง เป็นเงิน 10,000 บาท 7.9 ค่าซ่อมและตรวจสภาพการใช้งานรถยนต์ส่วนราชการ เป็นเงิน 7,000 บาท 7.10 ค่าเดินทางไปราชการ เป็นเงิน 10,000 บาท 7.11 ค่าสาธารณูปโภค เป็นเงิน 30,000 บาท รวมเป็นเงิน 173,540 บาท หมายเหตุ: ขอถัวจ่ายทุกรายการ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.2566) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 2566) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 2566) 1. ส ารวจความต้องการและ ประชุมวางแผน - - - - 2. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ- - - - 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม 3.1 ค่าจัดการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2 นิเทศติดตามผลการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน - - 86,000 87,540 4. นิเทศติดตาม - - - - 5. รายงานผล - - - - รวม - - 86,000 87,540


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 86 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม 10. เครือข่าย 10.1 คณะกรรมการสถานศึกษา 10.2 องค์การบริหารส่วนต าบลทุกต าบล 10.3 สถานศึกษาในพื้นที่อ าเภอมะนัง 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษา ได้รับการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสามารถน าความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ศึกษาต่อ สร้างอาชีพ สร้าง รายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษาได้รับบริการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 13.1.2 ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริม สนับสนุน การด าเนินงาน การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ได้รับการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสามารถน าความรู้ไปใช้พัฒนาตนเอง ศึกษาต่อ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานสรุปผล 14.3 แบบนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 87 2. โครงการพัฒนาผู้เรียน ………………………………………….. 1. โครงการพัฒนาผู้เรียน 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การ ปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบเพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะ ดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.3 ส่งเสริมการจัด การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลักชองชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติ และท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่ เป็นการเพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตเข่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ กรคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่าง บุคคล การเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยชองผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอกระ บบ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ 1.1-1.8 3. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุล ระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื้นฐานการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความสามารถเพื่อการท างานที่มี คุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษาให้ตรงตามความต้องการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิตและสังคม สามารถพึ่งพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มี ความรู้ประสบการณ์จากการท างานและการประกอบอาชีพ โดยการก าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความส าคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่กับการ พัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งค านึงถึง ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ที่อยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนังจึงจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมจาก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 88 การเรียนปกติให้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีศักยภาพในการศึกษา ต่อ การประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามจุดมุ่งหมายของกระทรวงศึกษาธิการ แผนการศึกษาแห่งชาติและ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 4.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีให้นักศึกษา 4.3 เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรมให้กับนักศึกษา 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษา สกร.อ าเภอมะนัง จ านวน 253 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายและมาตรฐานของหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย1. ประชุมชี้แจง วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักศึกษา สกรอ าเภอมะนัง จ านวน 253 คน2. ขออนุมัติโครงการ เพื่อพัฒนาหลักสูตรใช้ในการจัดการเรียนรู้ คณะครู สกร.อ าเภอมะนั3. ด าเนินการจัดกิจกรรม 3.1 โครงการกีฬา กศน. ชายแดนใต้เกมส์ระดับ จังหวัด 1. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ให้กับนักศึกษา 2. เพื่อส่งเสริมการแสดงความสามารถด้าน กีฬาของนักศึกษา 3. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะที่ดีให้กับนักศึกษา นักศึกษา สกรอ าเภอมะนัง จ านวน 80 คน3.2 โครงการร่วมงาน ชุมนุมลูกเสือจิตอาสา พระราชทาน สกร.อ าเภมะนัง 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และน้อมน าพระบรมราโชบาย สู่การปฏิบัติโดย ผ่านกิจกรรมลูกเสือ 2. เพื่อให้ลูกเสือจิตอาสาพระราชทานได้ร่วม ท ากิจกรรมพิธีทบทวนค าปฏิญาณและสวน สนาม โคกหนองนาโมเดล กิจกรรมอาสา นักศึกษา สกรอ าเภอมะนัง จ านวน 9 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 89 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) . น มีแผนการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน สกร.อ าเภอมะนัง พฤษภาคม 2566 - นัง น าหลักสูตรมาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ สกร.อ าเภอมะนัง พฤษภาคม 2566 - . น นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมี ความสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สนามกีฬาเทศบาล ต าบลฉลุง อ าเภอ เมืองสตูล จังหวัด สตูล 5-6 กรกฎาคม 2566 13,649 . นักศึกษา (ลูกเสือวิสามัญ) บุคลากรทางการลูกเสือ สกร. อ าเภอละงูมีความรักในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผ่านกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ค่ายลูกเสือปากบาง อ าเภอละงู จังหวัด สตูล 12 – 14 กรกฎาคม 2566 10,095


พยาบาล บรรเทาสาธารณภัย กิจกรรมลูกเสือ ช่อสะอาด กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน 3. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และน าความรู้ที่ได้รับ ไปขับเคลื่อนโครงการดังกล่าวและขยายผลการ ด าเนินงานลูกเสือจิตอาสาพระราชทานใน สถานศึกษา 3.3 โครงการอบรมสร้าง นวัตกรรมการจัดการองค์ ความรู้ทางทะเล มหาสมุทรและ ผลประโยชน์ทางทะเล 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทะเล มหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเลให้กับ นักศึกษา 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้แสดง ความสามารถเรื่องการผลิตสื่อสร้างสรรค์ด้าน การอนุรักษ์ทางทะเล มหาสมุทร ผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล นักศึกษา สกรอ าเภอมะนัง จ านวน 40 คน3.4 โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ การใช้งาน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและการใช้งาน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับ นักศึกษาเพิ่มขึ้น นักศึกษา สกรอ าเภอมะนัง 48 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 90 ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และเข้าใจภารกิจของลูกเสือ จิตอาสาพระราชทานผ่าน กิจกรรม มีทักษะชีวิต จิตอาสา บ าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อ สังคม ได้ปฏิบัติกิจกรรม . น นักศึกษามีองค์ความรู้ทางทะเล มหาสมุทร และผลประโยชน์ของ ชาติทางทะเลและสามารถผลิตสื่อ สร้างสรรค์ด้านการอนุรักษ์ทาง ทะเล มหาสมุทร ผลประโยชน์ของ ชาติทางทะเลได้วิธี อ าเภอละงู 22 – 24 กรกฎาคม 2566 11,000 . นักศึกษาได้รับความรู้พื้นฐาน และการใช้งานคอมพิวเตอร์ เบื้องต้นเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพิ่มขึ้น ณ ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนต าบลนิคม พัฒนา 15 -16สิงหาคม 2566 16,480


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย3.5 โครงการอบรมอาสา ยุวกาชาดหลักสูตรพื้นฐาน ยุวกาชาด 1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ หลักการของกาชาด และยุวกาชาดให้กับนักศึกษา 2. เพื่อปลูกฝังคุณธรรมด้านการมีวินัย ให้กับนักศึกษา นักศึกษา สกรอ าเภอมะนัง 76 คน 4. นิเทศติดตาม เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง คณะกรรมการนิเทศ 5. สรุปและรายงานผล โครงการ เพื่อสรุปและรายงานผลการด าเนินการ ตามโครงการ ผู้รับผิดชอบ โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 91 ย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) . นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใน เรื่องหลักการของกาชาดและยุว กาชาด และมีคุณธรรมด้านการมี วินัย ครูดาล่องแก่งแอนด์ โฮมสเตย์ ต.น าผุด อ. ละงู จ.สตูล 21 – 22 สิงหาคม 2566 23,680 ร ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง สกร.อ าเภอมะนัง พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 - สรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ สกร.อ าเภอมะนัง กันยายน 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 92 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้งบประมาณประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนที่ 1/2566 รหัส งบประมาณ 20002420016004100149 จ านวน 74,904 บาท (เงินเจ็ดหมื่นสี่พันเก้าร้อยสี่บาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ 7.1 .โครงการอบรมอาสายุวกาชาดหลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด เป็นเงิน 23,680 บาท 7.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เป็นเงิน 16,480 บาท 7.3 โครงการร่วมงานชุมนุมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน เป็นเงิน 13,649 บาท 7.4 โครงการอบรมสร้างนวัตกรรมการจัดการองค์ความรู้ทางทะเล ฯ เป็นเงิน 10,095 บาท 7.5 โครงการกีฬาสายสัมพันธ์ชายแดนใต้ เป็นเงิน 11,000 บาท รวมเป็นเงิน 74,904 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.–ธ.ค.2565) ไตรมาส 2 (ม.ค–มี.ค.2566) ไตรมาส 3 (เม.ย–มิ.ย.2566) ไตรมาส 4 (ก.ค–ก.ย.2566) 1. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ ของโครงการ - - - - 2. ขออนุมัติโครงการ - - - - 3. ด าเนินการจัดกิจกรรม - - - 74,904 4. นิเทศติดตาม - - - - 5. สรุปและรายงานผลโครงการ - - - - รวม - - - 74,904 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม 10. เครือข่าย - 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 93 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 สูงขึ้น 13.1.2 ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดี 13.1.3 ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) ร้อยละ 80 ของนักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศ 14.2 แบบทดสอบ 14.3 รายงานผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 94 3. โครงการซื้อหนังสือเรียนกศน.หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรียนที่ 1/2566 ……………………………. . 1.โครงการ ซื้อหนังสือเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรียนที่ 1/2566 2. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน กศน.ปี 2566 ข้อที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ ข้อ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทาง การศึกษาทุกช่วงวัย 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และได้ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศและนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติทั้ง ในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นในศตวรรษที่ 21และมี ความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยอันจะน าไปสู่การสร้างโอกาส ความเท่าเทียมและลดความ เหลื่อมล้ าทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการส าหนรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้าง ความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ จากภารกิจดังกล่ าว ศูนย์ส่งเสริมกา รเรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงท าโครงกา รซื้อหนังสือเ รียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ภาคเรียนที่ 1/2566 ขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้รับ การส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ สร้าง ความพึงพอใจให้กับนักศึกษา 4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาศูนย์ส่งเสริมกา รเรียนรู้อ าเภอมะนัง ได้รับกา รส่งเสริมอย่ างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพทางการศึกษา 5.เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ 1/2566 จ านวน 253 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับสื่อ หนังสือเรียน ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ยกระดับคุณภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพการทางการศึกษา


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 95 6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) การจัดหาสื่อ หนังสือเรียน เพื่อสนับสนุนให้ นักศึกษาทุกคนมี ต าราเรียนอย่าง ทั่วถึงและเท่า เทียมกันใน นักศึกษาภาค เรียนที่ 1/2566 253 -สกร.ต าบล นิคมพัฒนา - สกร.ต าบล ปาล์มพัฒนา พ.ค.65- ก.ย.66 57,060 7. งบประมาณ แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐ า น ง บ เ งิ น อุ ด ห นุ น เงิ น อุ ด ห นุ น ทั่ ว ไ ป ค่ า ห นั ง สื อ เ รี ย น ภ า ค เ รีย น ที่ 1 / 2 5 6 6 รหัสงบประมาณ 20002420016004100072 จ านวนเงิน 57,060 บาท (เงินห้าหมื่นเจ็ดพันหกสิบบาทถ้วน) - ค่าสื่อหนังสือเรียน เป็นเงิน 57,060 บาท 8. แผนการเบิกจ่ายเป็นรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 (ต.ค.-ธ.ค. 65) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค.-มี.ค. 66) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย.-มิ.ย. 66) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค.-ก.ย. 66) จัดซื้อสื่อหนังสือ เรียนเพื่อการศึกษา - - - 57,060 รวมเงิน - - - 57,060 9.. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 10. เครือข่าย - 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 96 12. ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักศึกษาได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ มีการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปเกี่ยวกับการใช้สื่อ 13.ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต ร้อยละ 100 ของนักศึกษาศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง จ านวน 253 คน ได้รับสื่อ หนังสือเรียน ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ นักศึกษาได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ มีการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปเกี่ยวกับการใช้สื่อ 14. การติดตามและประเมินผล 1) แบบสอบถามความพึงพอใจ 2) แบบนิเทศติดตามผล 3) รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 97 4.โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ………………………………………………. 1. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายของรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะ และทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วง วัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ สอดคล้องกับงานประกัน คุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายส่งเสริมให้ประชาชนผู้ ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา ตลอดจนชุมชน และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริมและสนับสนุนรวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน จาการส ารวจข้อมูลผู้ลืมหนังสือและผู้ไม่รู้หนังสือ ในปีงบประมาณที่ผ่านมามีผู้ลืมหนังสือ และผู้ไม่รู้หนังสือในอ าเภอมะนัง จ านวน 1 คน ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ศูนย์ส่งเสริมการ เรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการรู้หนังสือในพื้นที่อ าเภอมะนัง เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และค านวณเบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง และผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และค านวณเบื้องต้นได้ 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ - ผู้ลืมหนังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ จ านวน 1 คน 5.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนและค านวณเบื้องต้น เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ก าหนด


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย - ส่งเสริมการรู้หนังสือ 1.เพื่อให้ผู้เรียนได้ ฝึกการ ฟัง พูด อ่านและเขียน ภาษาไทยได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการคิด ค านวณเบื้องต้น - ผู้ไม่รู้หนังสือ / ผู้ลืมหนังสือ ผู้เกาภาค านน าชีวิ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 98 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เรียนจ านวน 1 คน มี รฟัง พูด อ่าน เขียน ษาไทยได้ มีการคิด นวณเบื้องต้นได้และ า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ใ น ตประจ าวันได้ - ต าบลนิคมพัฒนา - ต าบลปาล์ม พัฒนา 1 พฤษภาคม 2566 – 30 กันยายน 2566 550


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 99 เงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงาน: พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัสงบประมาณ 20002350040002000000 เป็น ค่าวัสดุ จ านวน 550 บาท (ห้าร้อยห้าสิบบาทถ้วน) - ค่าวัสดุ เป็นเงิน 550 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค. 2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 2566) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 2566) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 2566) 1.ประชุม/วางแผน - - - - 2.เขียนโครงการ/ขอ อนุมัติ - - - - 3.ประสานงาน / มอบหมายงาน - - - - 4.ด าเนินการจัด - - 550 5.วัดผลและประเมินผล - - - - 6.สรุปผล/รายงานผล โครงการ - - - - รวม - - 550 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 10. เครือข่าย 10.1 อบต.นิคมพัฒนา 10.2 อบต.ปาล์มพัฒนา 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 โครงการประกันคุณภาพการศึกษา


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 100 11.2 โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ผู้เรียนมีการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้ 2. ผู้เรียนมีการคิดค านวณเบื้องต้นได้ 3. ผู้เรียนน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) - ผู้ลืมหนังสือ/ผู้ไม่รู้หนังสือ จ านวน 1 คน ได้รับการพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาไทยและน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) “สอดคล้องกับผลลัพธ์ (ข้อ 12)” ผู้เรียน จ านวน 1 คน มีการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้มีการคิดค านวณเบื้องต้นได้ สามารถน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศติดตาม 14.2 ทดสอบ 14.3 รายงานสรุปผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 101 5. โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต …………………………………………………………………. 1. โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนา ทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วงวัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบท พื้นที่ 3. หลักการและเหตุผล จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปท าให้คนในชุมชนต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับ สังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจแยกตัวออก จากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการ ด าเนิน ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนใน ชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลใส่ใจจากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะ ซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุฯค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติ ทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนังได้เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิต ใจ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดได้ 4.2 เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ ผู้สูงอายุจ านวน 14 คน 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดสามารถ น าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าห1. ส ารวจสภาพปัญหาและความต้อง ของประชาชน เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมโครงการ ส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตใจ บุคลากรอ าเภอม2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร 2.1 รวบรวมข้อมูลจัดท าแผนปฏิบัติ งานประจ าปีงบประมาณ 2566 2.2 จัดท าหลักสูตร/จัดหาวิทยากร และเสนอโครงการ เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ และเตรียมแผนการเรียนรู้ เพื่อขออนุมัติโครงการ บุคลากรอ าเภอม3.ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผน กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิต - โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตใจ - เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหา และขจัดความเครียด - เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถ น าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อ ครอบครัว และต่อชุมชน ผู้สูงอ 14 4. นิเทศติดตามผลโครงการ เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง ผู้รับผิดโครงก5. สรุปและรายงานผลโครงการ เพื่อสรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ รายงานโครงก


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 102 หมาย เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (บาท) ร สกร. มะนัง ครูและผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกัน วางแผนการจัดกิจกรรมตามความ ต้องการ สกร.อ าเภอมะนัง ก.ค. 2566 - ร สกร. มะนัง เพื่อชี้แจงรายละเอียดของ โครงการ ให้ทราบ อ าเภอมะนัง 2 ต าบล ก.ค. 2566 - ายุ คน - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไข ปัญหาและขจัดความเครียด สามารถน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันทั้งต่อ ตนเอง ต่อครอบครัว และต่อ ชุมชน กศน. ต.ปาล์มพัฒนา 7 ส.ค. 66 1,610 ชอบ การ ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง กศน. ต.ปาล์มพัฒนา 7 ส.ค. 66 - นผล การ สรุปและรายงานผลการ ด าเนินการตามโครงการ สกร.อ าเภอมะนัง 30 ส.ค. 66 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 103 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จากงบประมาณประจ าปี พ.ศ.2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัส งบประมาณ 20002350004002000000 ภายในวงเงิน 1,610.00 บาท (หนึ่งพันหกร้อยสิบบาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 ค่าตอบแทน เป็นเงิน 600 บาท 7.2 ค่าใช้สอย เป็นเงิน 350 บาท 7.3 ค่าวัสดุ เป็นเงิน 660 บาท รวมเป็นเงิน 1,610 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.– ธ.ค.65) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 66) ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 66) ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 66) 1 ส ารวจสภาพปัญหาและ ความต้องของประชาชน - - - - 2 ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ - - - - 3 ด าเนินการจัดกิจกรรมตาม แผนกิจกรรมการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต - โครงการส่งเสริม สุขภาพจิต พิชิตใจ - - - 1,610 4 นิเทศติดตามผลโครงการ - - - 5 สรุปและรายงานผล โครงการ - - - - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวดวงกมล ประทุมมณี 10. เครือข่าย - โรงพยาบาลมะนัง 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 104 12. ผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีมีความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียด 13.2.2 ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13.2.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในภาพรวม ระดับดีขึ้นไป 13. ดัชนีชี้วัดของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต 13.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 14 คน มีความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัด ความเครียด 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีมีความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัด ความเครียด 13.2.2 ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13.2.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในภาพรวม ระดับดีขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 นิเทศ 14.2 ประเมินความพึงพอใจ 14.3 รายงานผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 105 6. โครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ................................................................. 1. โครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. จุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อ 1. สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เนนการพัฒนาทักษะที่จ าเปนส าหรับแตละชวงวัย และการจัด การศึกษาและการเรียนรูที่เหมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบริบทพื้นที่ ข้อ 6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อม/การปฏิบัติตัวส าหรับสตรีตั งครรภ์และจัดกิจกรรม การเรียนรู้ส าหรับแม่และเด็กให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชนและช่วงวัย 3. หลักการและเหตุผล โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออก เป็น โรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ ป่วยด้วยโรคใช้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ ๕ -๑๔ ปี แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วย ไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย ดังนั้นการด าเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ ส าเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจ าเป็นต้องระตมความร่วมมือจากทุกผ่ายที่เกี่ยวข้องในการก าจัดลูกน้ ายุงลายที่ เป็นพาหะน าโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความส าคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาตของโรคนี้ ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ท าให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการ แก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพ ปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การด าเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ ประชาชนเห็นความส าคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักน าให้ประชาชน องค์กรชุมชนโรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องจึงเป็นกิจกรรมส าคัญที่ต้องเร่งรัด ด าเนินการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้ทันภัยร้าย ไข้เลือดออก เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวันต่อไป


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 106 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจเรื่องสุขภาวะอนามัยและการป้องกันไข้เลือดออก 4.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ประชาชนทั่วไป จ านวน 5 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองและการป้องกันไข้เลือดออก 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านการอบรมตามกิจกรรมที่ก าหนด


6. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1. ส ารวจสภาพปัญหาและความต้อง ของประชาชน เพื่อวางแผนการจัด กิจกรรมโครงการการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน บุคลากร กศน. อ าเภอมะนัง 2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร 2.1 รวบรวมข้อมูลจัดท าแผนปฏิบัติ งานประจ าปีงบประมาณ 2565 2.2 จัดท าหลักสูตร/จัดหาวิทยากรและ เสนอโครงการ เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบ และเตรียมแผนการเรียนรู้ เพื่อขออนุมัติโครงการ บุคลากร กศน. อ าเภอมะนัง 3.ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผน กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน - โครงการอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้ทัน ภัยร้าย ไข้เลือดออก - เพื่อให้ความรู้และความ เข้าใจเรื่องการป้องกัน ไข้เลือดออก - เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม น าไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ ประชาชนทั่วไป 5 คน 4. นิเทศติดตามผลโครงการ เพื่อประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไข จุดบกพร่อง ผู้รับผิดชอบ โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 107 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ ครูและผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันวาง แผนการจัดกิจกรรมตามความ ต้องการ อ าเภอมะนัง 2 ต าบล พ.ค. 2566 - เพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ ให้ทราบ อ าเภอมะนัง 2 ต าบล พ.ค. 2566 - - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ เรื่องการดูแลตนเองและการป้องกัน ไข้เลือดออก ม.3 ต.นิคมพัฒนา 10 มิ.ย. 66 2,000 ประเมินความก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง ม.3 ต.นิคมพัฒนา 10 มิ.ย. 66 -


5. สรุปและรายงานผลโครงการ เพื่อสรุปและรายงานผล การด าเนินการตาม โครงการ รายงานผล โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 108 สรุปและรายงานผลการด าเนินการ ตามโครงการ กศน.อ าเภอ มะนัง 15 มิ.ย. 66 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 109 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน รหัสงบประมาณ 20002360004002000000 ภายในวงเงิน 2,000 บาท (สองพันบาท) ดังนี้ 1. ค่าตอบแทน เป็นเงิน 575 บาท 2. ค่าใช้สอย เป็นเงิน 1,425 บาท รวมเป็นเงิน 2,000 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค.–ธ.ค. 2565) ไตรมาส 2 (ม.ค.–มี.ค. 2566) ไตรมาส 3 (เม.ย.–มิ.ย. 2566) ไตรมาส 4 (ก.ค.–ก.ย. 2566) 8.1 ส ารวจสภาพปัญหาและความ ต้องของประชาชน - - - - 8.2 ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ - - - - 8.3 ด าเนินการจัดกิจกรรมตาม แผนกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน - โครงการอบรมให้ความรู้ เรื่อง รู้ทันภัยร้าย ไข้เลือดออก - - 2,000 - 8.4 นิเทศติดตามผลโครงการ - - - - 8.5 สรุปและรายงานผลโครงการ - - - - รวม - - 2,000 - 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง (นายนภัทร จันทวิลาศ) 10. เครือข่าย 10.1 โรงพยาบาลมะนัง/รพ.ส่งเสริมสุขภาพต าบลนิคมพัฒนา 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง - โครงการพัฒนาทักษะชีวิต


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 110 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะเรื่องการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 12.2 ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 12.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในภาพรวมระดับดี 13.ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 13.1.1 ผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 5คน ได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองและการป้องกัน ไข้เลือดออก 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจเรื่องการดูแลตนเองและการ ป้องกันไข้เลือดออก 13.2.2 ร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 13.2.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมในภาพรวมระดับดี ขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบทดสอบ 14.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.3 รายงานสรุปผล


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 111 7. ชื่อโครงการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปี 2566 ………………………………………….. 1. ชื่อโครงการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปี 2566 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. 3.ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เล็งเห็นความส าคัญของการพัฒนา คุณภาพประชากรผ่านการอ่านและการเรียนรู้ในการส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน แสวงหาความรู้อย่าง ต่อเนื่องและเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ จึงก าหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานด้านงานการศึกษาตาม อัธยาศัยขึ้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบ กิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน ที่ส าคัญยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ที่ก าหนดให้ "ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ด้วย และแผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ก าหนดวิสัยทัศน์ คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา และเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษ ที่ 21” ปัจจุบันสภาพสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้ง เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์อย่างมาก ส่งผลให้ทุกประเทศต้อง ปรับตัว ที่ส าคัญต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ ดังนั้นการอ่านและการเรียนรู้จึงเป็นกลไกหนึ่งใน กระบวนการจัดการความรู้หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในหน่วยงาน ชุมชน สังคมและประเทศ การอ่านเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ประชากรได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดใหม่ๆ อันจะเป็นการพัฒนา ตนเองและรู้จักปรับตนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเทศไทยตระหนักถึงความส าคัญดังกล่าวและให้การ ส่งเสริมสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีหน่วยงานหลายภาคส่วนร่วมกันจัดกิจกรรมและรณรงค์ส่งเสริมการ อ่าน ประกอบกับรัฐบาลได้ก าหนดนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาทั้งในด้านคุณภาพประสิทธิภาพ มาตรฐานและ ความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา โดยมุ่งแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพ โอกาส และประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาเพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ โดยให้มีความเชื่อมโยงและส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และจากสภาพการอ่านในพื้นที่อ าเภอมะนัง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. ประชาชน บางส่วนยังไม่ เห็นความส าคัญของการอ่าน การเรียนรู้และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) อย่างต่อเนื่อง มีผลให้การให้บริการส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง และการจัดกิจกรรมใน เชิงรุกภายในพื้นที่อ าเภอมะนัง ด าเนินการได้น้อยลง ผู้รับบริการก็ลดน้อยลงตามไปด้วย


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 112 จากความส าคัญและสภาพปัญหาดังกล่าว งานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อ าเภอมะนัง จึงจัดท า“โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย” ขึ้นเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตพร้อมจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น โดยปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน มีวัฒนธรรมในการอ่าน เห็นความส าคัญของการอ่าน และใช้การอ่านเป็น เครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านให้กับ เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน. ประชาชนทั่วไป ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ที่หลากหลาย 4.2 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุด 3 ดี 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1. ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง/จ านวนผู้รับบริการ 1,925 คน 5.1.2 บ้านหนังสือชุมชน จ านวน 12 แห่ง /จ านวนผู้รับบริการ 1,062 คน 5.1.3 กิจกรรมหน่วยบริการเคลื่อนที่ 4 ครั้ง/ปี จ านวน 375 คน 5.1.4 กิจกรรมห้องสมุดส าหรับชาวตลาด 6 ครั้ง/ปี จ านวน 385 คน 5.1.5 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 38 คน /ผู้รับบริการ จ านวน 494 คน 5.2 เชิงคุณภาพ ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนังได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้เป็นห้องสมุด 3 ดี ผู้รับบริการมีอัตราการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นและเข้าถึงช่องทางในการอ่านที่หลากหลาย


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ ความ เข้าใจวิธีการด าเนินงาน และ ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ เพื่อชี้แจงกรอบแนวทางการ ด าเนินงานและร่วมกันวาง แผนการด าเนินงาน บุคลากร กศน.อ าเภอมะนัง 7 คน 2. เสนอโครงการ - เพื่อขออนุมัติโครงการ บรรณารักษ์1 คน 3. ประสานงานเครือข่าย เพื่อประสานความร่วมมือ การด าเนินโครงการกับ เครือข่าย ผู้น าท้องถิ่น ผู้น าชุมชน หน่วยงานราชการ 4. ด าเนินกิจกรรมการศึกษาตาม อัธยาศัย ดังนี้ 4.1 กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต 4.2 หน่วยบริการเคลื่อนที่ 4.3 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 4.4 บ้านหนังสือชุมชน 4.5 ห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาวตลาด 1. เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน ให้กับ เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน. ประชาชนทั่วไป ผ่าน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย 2. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้ เป็นห้องสมุด 3 ดี เด็ก เยาวชน นักศึกษากศน.และประชาชน ทั่วไป 1,925 คน 375 คน 494 คน 1,062 คน 384 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 113 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการระยะเวลา งบประมาณ บุคลากร กศน.อ าเภอมะนัง ทราบแนวทาง การด าเนินงาน กศน.อ าเภอ มะนัง เม.ย.2566 ก.ย.2566 - กศน.อ าเภอ มะนัง เม.ย.2566 เครือข่ายประสานความความร่วมมือในการ จัดกิจกรรม พื้นที่อ าเภอ มะนัง เม.ย.2566 ก.ย.2566 - ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนังได้รับการ พัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้เป็นห้องสมุด 3 ดี ผู้รับบริการมีอัตราการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้น และเข้าถึงช่องทางในการอ่านที่หลากหลาย พื้นที่อ าเภอ มะนัง เม.ย.2566 ก.ย.2566 22,959


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 5. การนิเทศติดตามผล เพื่อติดตามผลการ ปฏิบัติงาน ประเมิน ความก้าวหน้าของการจัด กิจกรรม ชี้แนะแนวทาง แก้ปัญหาเพื่อปรับปรุง พัฒนา นิเทศ กศน.อ าเภอ มะนัง จ านวน 1 คน 6.สรุปรายงานผลการด าเนินงาน เพื่อวิเคราะห์และน าผลการ จัดกิจกรรมไปพัฒนาการจัด กิจกรรมในครั้งต่อไป บรรณารักษ์ จ านวน 1 คน


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 114 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ สถานศึกษามีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้มี คุณภาพและบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ ของประชาชนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง -ห้องสมุด ประชาชนอ าเภอ มะนัง - พื้นที่อ าเภอ มะนัง เม.ย.2566 ก.ย.2566 - - กศน.อ าเภอ มะนัง ก.ย.2566


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 115 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จาก แผนงานงบประมาณ: พื้นฐานด้านการ พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย งบด าเนินงาน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ รหัสงบประมาณ 20002350005002000000 แหล่งของเงิน 6611200 รายละเอียดดังนี้ - งบบริหาร (ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย) เป็นเงิน 10,617 บาท - ค่าหนังสือพิมพ์ห้องสมุด เป็นเงิน 910 บาท - ค่าจัดสื่อ หนังสือส าหรับห้องสมุด เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าวาสารห้องสมุด เป็นเงิน 1,382 บาท - ค่าสาธารณูปโภคห้องสมุด เป็นเงิน 1,950 บาท - ค่าอินเตอร์เน็ตห้องสมุดประชาชน เป็นเงิน 2,600 บาท - ค่าอินเตอร์เน็ต กศน.อ าเภอ เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 22,959 บาท (เงินสองหมื่นสองพันเก้าร้อยห้าสิบเก้าบาทถ้วน) หมายเหตุ : ขอถัวจ่ายทุกรายการตามที่จ่ายจริง 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.2565) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค. 2566) ไตรมาส 3 (เม.ย.–มิ.ย.2566) ไตรมาส 4 (ก.ค.– ก.ย.2566) 1.ประชุมชี้แจงฯ - - - - 2.ขออนุมัติโครงการ - - - - 3.บริหารงานและด าเนินการจัด กิจกรรม - - 11,000 11,959 4.นิเทศติดตามผลฯ - - - - รวม - - 11,000 11,959 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ 9.1 นางสาวนริสรา พงค์หลง ต าแหน่งบรรณารักษ์อัตราจ้าง 10. เครือข่าย 10.1. องค์การบริหารส่วนต าบลนิคมพัฒนา 10.2. องค์การบริหารส่วนต าบลปาล์มพัฒนา 10.3. ผู้น าชุมชน 10.4. โรงเรียนพื้นที่อ าเภอมะนัง


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 116 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 11.2 การจัดการศึกษาขั้นต่อเนื่อง 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 ผู้รับบริการมีการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นตามที่ก าหมด 12.2 ห้องสมุดได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 12.3 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในภาพรวมระดับดีขึ้นไป 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 1. ผู้ใช้/รับบริการ จ านวน 4,241 คน ได้รับการอ่านหนังสือผ่านช่องทางอื่นๆที่หลากหลายเพิ่มขึ้น 2. ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 แห่ง ได้รับการพัฒนาเป็นไปตามแผนที่ก าหนดไว้ 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) 1. ร้อยละ 90 ของผู้รับบริการมีการอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นตามที่ก าหนด 2. ร้อยละ 80 ของห้องสมุดได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม 14.3. แบบติดตามการน าไปใช้ 14.4 แบบรายงานผลการนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 117 8. ชื่อโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล .................................................... 1. ชื่อโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อที่(3.3) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพเอื้อต่อ การเรียนรู้ส าหรับทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกทีทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลายน่าสนใจสนองตอบความต้องการของ ชุมชนและยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (4.1) พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มี บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้การบริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ ความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของ ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ข้อ 1.1 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ข้อ 2.1, 2.2, 2.3,2.4 3. หลักการและเหตุผล จากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้มอบหมายภารกิจให้ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสตูล และการเรียนรู้ การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยอย่างกว้างขวางและทั่วถึง ส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่านแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง และเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบลให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้าง เครือข่ายส่งเสริมการอ่าน พร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ส าหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอ านวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความ สนใจ และมีความปลอดภัยส าหรับผู้ใช้บริการกับประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้าน บุคลากร สื่อ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย ดังนั้นเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับนักศึกษา และเป็น การเพิ่มอัตราการอ่านผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายกศน.ต าบลปาล์มพัฒนา ได้เล็งเห็นความส าคัญ จึงจัดท า“โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล” ขึ้นมา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้นักศึกษา กศน. 4.2 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านให้กับนักศึกษาผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4.3 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 118 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา จ านวน 20 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และรับบริการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถได้ เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัยได้ง่ายสะดวกด้วย บริการที่เป็นมิตร สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะส


กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ ความเข้าใจ วิธีการด าเนินงาน และประชาสัมพันธ์ให้ กลุ่มเป้าหมายทราบ 1.เพื่อขอรับความเห็นชอบ และอนุมัติแผนกิจกรรมการ ด าเนินงาน นักศึกษา กศน.ต าบล ปาล์มพัฒนา ร้อยละ เรียนรู้แลหลากหลคุณภาพสามารถพัฒนาต2. ประสานงานเครือข่าย เพื่อประสานความร่วมมือการ ในด าเนินโครงการกับ เครือข่าย หน่วยงาน ผู้น าท้องถิ่น 3.ด าเนินการจัดโครงการ 3.1 กิจกรรมต าบล 3.2 หนังสือพิมพ์ 3.3 อินเตอร์เน็ต กศน.ต าบล 1. เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง แหล่งเรียนรู้และบริการ การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับ นักศึกษา 2. เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน ให้กับนักศึกษาผ่านการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย 3. เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มี บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของกลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา กศน.ต าบล ปาล์มพัฒนา 20 คน 5.สรุปผลการด าเนินงานและ รายงานผล เพื่อสรุปผลการจัดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ โครงการ


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 119 เป้าหมาย (เชิงคุณภาพ) พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 100 นักศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่ง ละรับบริการผ่านกิจกรรมที่ ลาย รับบริการแหล่งเรียนรู้ที่มี มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ น าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการ นเองได้อย่างเหมาะสม กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา กรกฎาคม - กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา กรกฎาคม - กศน.ต าบลปาล์ม พัฒนา 11 ส.ค.66 2,250 2,400 2,760 สกร.อ าเภอมะนัง กันยายน 2566 -


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 120 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัดสร้างแหล่งการเรียนรู้ในระดับ ต าบล รหัสงบประมาณ 20002350005002000000 ค่าใช้สอยและค่าวัสดุ จ านวน 7,410 บาท (เงินเจ็ดพันสี่ร้อยสิบ บาทถ้วน) ดังนี้ 7.1 กิจกรรมต าบล เป็นเงิน 2,250 บาท 7.2 ค่าหนังสือพิมพ์ เป็นเงิน 2,400 บาท 7.3 ค่าอินเตอร์เน็ต กศน.ต าบล เป็นเงิน 2,760 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 7,410 บาท หมายเหตุ : ขอถัวจ่ายทุกรายการ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่1 (ต.ค.-ธ.ค. 65) ไตรมาสที่2 (ม.ค. มี.ค. 66) ไตรมาสที่3 เม.ย.–มิ.ย. 66) ไตรมาสที่4 (ก.ค.-ก.ย. 66) 1.ประชุมวางแผน - - - - 2.จัดเตรียมสถานที่ - - - - 3.ด าเนินการ - - 3,700 3,710 4.การประเมินผล - - - - 5.สรุปและรายงานผล - - - - รวม - - 3,700 3,710 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ครู กศน.ต าบล 10. เครือข่าย - ผู้น าท้องถิ่น 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 11.2 การจัดการศึกษาขั้นต่อเนื่อง 12. ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และรับบริการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถได้เข้าถึงแหล่ง เรียนรู้ที่มีคุณภาพมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัยได้ง่ายสะดวกด้วยบริการที่เป็น มิตร สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 121 13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) -ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 20 คน เข้าถึงแหล่งเรียนรู้และผ่านกิจกรรมที่ก าหนด 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) -ร้อยละ 80 นักศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และรับบริการผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย รับบริการ แหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้อย่าง เหมาะสม 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพึงพอใจ 14.2 รายงานผลการจัดกิจกรรม 14.3 แบบติดตามผู้รับบริการหลังการจัดกิจกรรม 14.4 แบบรายผลการนิเทศติดตาม


แผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 กศน.อ าเภอมะนัง 122 9. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ................................... 1. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดศวามสามารถในการแข่งขัน ข้อ 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up-skill และ Re-skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทาง อาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมายเช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่ม อาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่กรรับรองสมรรณะและได้รับคุณวุฒิตมกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รามทั้งสามารถน าผลการเรียนรู้และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 3. หลักการและเหตุผล “กรมส่งเสริมการเรียนรู้” มีหน้าที่ จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ 3 รูปแบบ คือ การเรียนรู้ ตลอดชีวิต การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง และการเรียนรู้เพื่อคุณวุฒิตามระดับ การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองมี เป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านตมความถนัดของบุคคล การประกอบอาชีพ การพัฒนา อาชีพ การยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน หรือสังคม หรือเพื่อประโยชน์แห่งความรอบรู้ของตน โดย อาจได้รับการรับรองคุณวุฒิตามความเหมาะสม จากสถานการณ์เศรษฐกิจและความเหลื่อมล้ าที่มีอยู่ในสังคมปัจจุบัน กศน.อ าเภอมะนัง ได้ขับเคลื่อน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อพัฒนาความรู้และฝึกอาชีพให้กับประชาชน โดยการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพภายใต้ 5 หลักสูตรอาชีพ ได้แก่ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม กลุ่มอาชีพด้านพาณิชยกรรม และบริการ กลุ่มอาชีพด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง โดยมุ่งหวังให้ประชาชนที่เข้ารับการฝึกอาชีพ สามารถน าความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพได้ มีการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์/บริการ ให้มีคุณภาพเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม มี การส่งเสริมการขายและขยายช่องทางการจ าหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้ทักษะ ด้านอาชีพแก่ประชาชน 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนน าความรู้ ทักษะไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ลดรายจ่าย 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ 5.1.1 ประชาชนทั่วไป จ านวน 42 คน 5.1.2 ผู้ใช้แรงงาน จ านวน 8 คน 5.1.3 ผู้สูงอายุ จ านวน 9 คน รวม จ านวน 59 คน 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ทักษะด้านอาชีพ และสามารถน าความรู้ไปประกอบอาชีพได้ ตลอดจนสามารถสร้างรายได้ ลดรายจ่าย


Click to View FlipBook Version