The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ยุพาภรณ์ วงศ์จินดา, 2021-10-19 03:42:43

ANATOMY (2)_merged (1)

ANATOMY (2)_merged (1)

ANATOMY

กายวิภาคศาสตร์

นางสาวยุพาภรณ์ วงศ์ จินดา

รหัสนักศึ กษา 6417701001014

คำนำ

E-book เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อ ประกอบการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์
โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้จัดทำได้ฝึกการศึ กษาค้นคว้าและสรุปเนื้อหา
สาระอีกทั้งยังเป็นการทบทวนและนำสิ่ งที่ได้สรุปศึ กษาค้นคว้ามาสร้าง
สรรค์เป็นชิ้ นงานเก็บไว้เป็นประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนของตนเอง
และคนอื่นต่อไป

ทั้งนี้ เนื้อหาได้รวบรวมมาจากหนังสือแบบเรียนและจากกการเรียน
การสอนและข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ขอขอบคุณอาจารณ์เป็นอย่างสูงที่
กรุณาตรวจ ให้คำแนะนำและให้ข้อเสนอแนะตลอดการทำงาน ผู้จัดทำ
หวังว่า E-book เล่มนี้ คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปใช้ให้เกิดผลตามความ
คาดหวัง หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้

ผู้จัดทำ

สารบัญ

เรื่อง หน้ า

Anatomical Position ตำแหน่งทางกายวิภาคศาตร์ 1
Cell & Intergumentary System 3
Endocrine System ระบบต่อมไร้ท่อ 4
Female Reprodutive System ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง 20
Skeletal System ระบบกระดูก 32
Muscular System ระบบกล้ามเนื้อ 44
Digestive System ระบบย่อยอาหาร 62
Urinary System ระบบขับถ่าย 90
Male Reprodutive System ระบบสืบพันธุ์เพศชาย 97
Respiratory System ระบบหายใจ 102
Circulatory System ระบบไหลเวียน 114
Nervous System ระบบประสาท 126

Anatomy กายวิภาคศาสตร์

กายวิภาคศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึ กษาเกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกายของสัตว์
และมนุษย์รวมทั้งตำแหน่ งที่ตั้ง

Anatomical Position

ตำแหน่ งในทางกายวิภาคศาสตร์

ศั พท์ที่ใช้ในการอธิบายตำแหน่งส่วนต่างๆ ของร่างกาย
(Directional Terms) ที่สำคัญ

1. Superior ข้างบน
2. Inferior ข้างล่าง
3. Anterior ส่ วนหน้ า
4. Posterior ส่ วนหลัง
5. Dorsal ส่ วนหลังหรือด้านหลัง
6. Ventral ส่วนหน้าด้านหน้าหรือ ด้านท้อง
7. Cranial ใกล้ศี รษะมากกว่า
8. Cephalic ใกล้ศี รษะมากกว่า
9. Caudal ใกล้เท้ามากกว่า
10 Medial ด้านใน หรือด้านใกล้แนวกลางลำตัว
11. Lateral ด้านข้าง
12. Proximal ใกล้ลำตัวหรือส่ วนต้น
13. Distal ไกลลำตัว หรือส่วนปลาย
14. Superficial ใกล้ผิว หรือตื้น
15. Deep ลึก

1

Body Plane ระนาบของร่างกาย

1. Sagittal plane คือระนาบซีกซ้าย(Lt)และ
ขวา(Rt)


2. coronal plane คือ ระนาบซีกส่วนหน้า (A)

กับส่วนหลัง (P)
3. transverse plane คือระนาบส่วนบนและ
ส่ วนล่าง

ที่มา

Body Cevity ช่องว่างภายในร่างกาย

1.ช่องว่างทางด้านหลัง (dorsal cavity) แบ่งออก
เป็น 2 ช่องย่อยคือcranial cavityเป็นช่องว่างภายใน
กะโหลกศี รษะและspinal cavityภายในช่องนี้ บรรจุ
ด้วยไขสั นหลัง
2.ช่องว่างทางด้านหน้า (ventral cavity) เป็นช่องว่าง
ในส่วนของลำตัวซึ่งอยู่หน้าต่อกระดูกสันหลัง และ
หลังต่อกระดูกหน้าอก ประกอบด้วย 2 ช่องคือช่องอก
(thoracic cavity)และช่องท้องและเชิงกราน
ที่มา (abdominalpelvic cavity)

2

cell&
Integumentary system

Cell เซลล์

เซลล์ (Cell) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวิตเป็นหน่วยพื้นฐานของ
สิ่ งมีชีวิต แบ่งออกเป็น2ประเภท
1.Prokaryotic cell เช่นแบคทีเรีย
องศ์ ประกอบไม่ซับซ้อน ไม่มีเยื่อหุ้ม
นิ วเคลียส

2.Eukaryotic cell เช่น พืช สัตว์และมนุษย์

4

Cell เซลล์

เซลล์สั ตว์

โครงสร้างพื้นฐานและหน้ าที่ของเซลล์

1.เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
เป็นเสมือนรั้วบ้าน กันเซลล์ออกจากกัน
และห่อหุ้มส่ วนประกอบในเซลล์มี
คุณสมบัติเป็นเยื่อเลือผ่าน(Semipermeable
membrane)

2.ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) แบ่งเป็น2ส่วน
คือส่ วนของเหลว(cytosol)และส่ ว
ของแข็ง(organelle)
• ไซโตซอล (cytosol) เป็นของเหลวที่ละลาย
ด้วยเอนไซม์และสารอาหารต่างๆ
• ออร์แกเนลล์(organelle) เป็นอวัยวะของเซลล์
เพราะมีองค์ประกอบที่ทำหน้ าที่ต่างๆกัน

5

3.ไมโทคอนเดรีย (mitocondria) เป็นแหล่ง
สร้างพลังงานของเซลล์(ATP)โดยกระบวนการ
หายใจระดับเซลล์ สามารถเปลี่ยนรูปร่างหรือ
เคลื่อนย้ายไปมาได้

4.ร่างแหเอนโดพลาสซึม (Endoplasmic
Reticulum, ER)
•Rough Endoplasmic Reticulum, RER
-สั งเคราะห์โปรตีนที่ใช้ภายนอกเซลล์
-มีไรโบโซม (Ribosome) เกาะที่ผิวด้าน
นอกทำให้มีผิวขรุ ขระ
-พบมากในเซลล์ที่หลั่งantibody เช่น
เม็ดเลือดขาว
•Smooth Endoplasmic Reticulum, SER
-ไม่มีไรโบโซมเกาะ มีผิวเรียบ
-สร้างไขมัน ฮอร์โมน steroid และก า
จัดสารพิษในเซลล์ตับ

5.Golgi complex หรือ Golgi body
หรือ Golgi apparatus
-เป็นออร์แกเนลล์ที่ติดต่อกับ ER
-มีลักษณะเป็นถุงแบนที่มีเยื่อ 2 ชั้น
-ทำหน้ าที่เติมองค์ประกอบที่เป็น
คาร์โบไฮเดรตและไขมันให้กับ
โปรตีนที่รับมาจาก RER เพื่อส่ง
ออกมาภายนอกเซลล

6

6.ไรโบโซม (ribosome)
-เป็นโครงสร้างที่เล็กที่สุด
-หน้ าที่หลักสร้างโปรตีนทั้งโปรคาริโอต
และยูคาริโอต
-ติดอยู่กับร่างแห(RER)โดยจะส่ งออก
ไปที่ช่องว่างภายในเซลล์

7.ไลโซโซม (Lysosome)
-เป็นถุงขนาดเล็กมีเยื่อชั้นเดียว
-ภายในจะบรรจุเอนไซม์ซึ่งย่อย
สลายด้วยน้ำ (Hydrolytic Enzyme)
-ย่อยออร์แกเนลล์ของเซลล์ที่หมด
อายุ
-ทำลายเชื้อโรคหรือสิ่ งแปลกปลอม
ที่เข้าสู่ ร่างกาย

8.เซนทริโอล (Centriole)
-ประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า
microtubule เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ
-ทำหน้ าที่สร้างเส้ นใยสปินเดิล
(Spindle Fiber) เพื่อยึดติดกับโครโมโซม

9.นิวเคลียส(Nucleus) ประกอบด้วย
-เยื่อหุ้มนิ วเคลียส(Nucleusmembreane)
เป็นเยื้อหุ้มที่มีรูพรุน(Nuclear Pore)ทำให้
มีการแลกเปลี่ยนสารระหว่างนิ วเคลียส
กับไซโตพลาสซึม เช่น mRNA rRNA
-นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
ทำหน้าที่สังเคราะห์ RNA โดย DNA
- เส้นใยโครมาติน (Chromatin)
ประกอบด้วยDNA เมื่อมีการแบ่งเซลล์
โครมาตินจะหดตัว

7

การลำเลียงสารเข้าออกของเซลล์(Cell Transportation)
การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน (passive transport)

การแพร่ (diffusion)

คือการเคลื่อนที่ของสารจากที่เข้มข้นมากไปยังความเข้มข้นน้ อย
แบ่งได้เป็น
1.การแพร่ธรรมดา (Simple diffusion) >>การกระจายของอนุภาคจากสาร
บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปสู่ บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำกว่า
2.การแพร่แบบมีตัวพา ( Faciliteated diffusion )>> การแพร่ของสารผ่าน
โปรตีนตัวพา(Carrier) การแพร่แบบนี้ มีอัตราการแพร่เร็วกว่าการแพร่แบบ
ธรรมดามาก

8

การออสโมซิส (Osmosis)

คือการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่านจากบริเวณความหนาแน่ น
น้ำมากไปยังความหนาแน่ นของน้ำน้ อยมีทิศทางตรงข้ามกับการแพร่
เสมอ
>>เมื่อเซลล์อยู่ในสารละลายไฮโปทูนิค (Hypotonic Solution) มีความ
เข้มข้นต่ำกว่าภายในเซลล์น้ำจากสารละลายจะแพร่เข้าสู่ เซลล์ทำให้
เซลล์เต่งบวมและแตกได้

>>เมื่อเซลล์อยู่ในสารละลายไฮเปอร์ทูนิค (Hypertonic Solution) มี
ความเข้มข้นสูงกว่าภายในเซลล์ น้ำจะแพร่ออกจากเซลล์ทำให้เซลล์
เหี่ยว

>>เซลล์ที่อยู่ในสารละลายไอโซทูนิค (Isotonic Solution) คือ
สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับภายในเซลล์ จะไม่มีการแพร่ของน้ำ
ปริมาตรของ เซลล์ไม่เปลี่ยนแปลง

การลำเลียงแบบใช้พลังงาน(Active transport)

สามารถนำสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำไปสู่ บริเวณที่มี

ความเข้มข้นของสารสูงกว่าได้ โดยใช้พลังงานจาก ATP โดยอาศั ยโปรตีน

ตัวพา เช่น การดูดกลับสารที่ท่อของหน่วยไต,Na+ -K+ pump

ในเซลล์ประสาท 9

ระบบปกคลุมร่างกาย Integumentary system

ผิวหนัง (skin)

Thick skin คือ ผิวหนังที่มีชั้น epidermis หนาพบบริเวณฝ่ามือ
ฝ่าเท้าซึ่งจะไม่มีขน รูขุมขน แต่จะมีต่อมเหงื่อ
Thin skin คือ ผิวหนังที่มีชั้น epidermis บางพบได้ทั่วร่างกาย
ซึ่งผิวหนังชนิดนี้ จะมีรูขุมขน ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ

10

Epidermis(หนั งกำพร้า)

ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คือ
- Keratinocyte เป็นเซลล์ที่เป็นองค์
ประกอบหลักของ epidermis ประมาณ
85 % ทำหน้าที่สร้าง keratin โดย
ขบวนการ keratinization จนได้เซลล์ชั้น
บนที่ตายแล้ว
- Melanocyte ทำหน้าที่สร้างเมลานิน ซึ่ง
เป็นสารที่ทำให้เกิดเม็ดสี
- Langerhans cell เกี่ยวข้องกับระบบ
ภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย
- Merkel cell เป็ นเซลล์เกี่ยวกับการรับ
ความรู้สึ ก

Epidermis ประกอบด้วย 5 ชั้น
1.Stratum basale
2.Stratum spinosum
3.Stratum granulosum
4.Stratum lucidum
5.Stratum corneum

11

Dermis (หนังแท้)

➢ เป็นชั้นที่อยู่ใต้ชั้นหนังกำพร้า ประกอบไปด้วย connective tissue
ระบบเส้นเลือด เส้นประสาท ต่อมไขมัน และต่อมเหงื่อมีส่วนของหนัง
แท้ที่ แทรกอยู่ระหว่างหนังกำพร้าเรียกว่า Dermal papillae
➢ เป็นที่อยู่ของ collagen (ช่วยให้ความแข็งแรงและซ่อมแซมผิวหนังที่
บาดเจ็บ) และ elastin (สร้าง ความยืดหยุ่นให้ผิวหนัง)

Hypodermis หรือ
Subcutaneous fatty tissues

อยู่ใต้ชั้นหนังแท้ ประกอบไปด้วย เนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อยู่กันอย่าง
หลวมๆ (loose connective tissues) และไขมัน (Adipose tissues)
ทำหน้ าที่สะสมไขมันอยู่ใต้ผิวหนั งและเก็บสะสมพลังงานความร้อน
ภายในร่างกาย

12

อวัยวะที่มีต้นกำเนิ ด
มาจากผิวหนั ง

ผม/ขน (Hair)
➢ Hair shaft ปกปิดไม่ให้สิ่ งสกปรกเข้าสู่
ผิวหนั ง
➢ Hair root รากขนเป็นที่ยึดเกาะของขน
➢ Hair follicle รูขุมขน เป็ นที่อยู่ของขน
ช่วยปกป้องส่ วนชั้นในของขนบริเวณส่ วน
ปลายลึกสุดจะมี dermis ยื่นลึกเว้าเข้ามา
ทำให้เกิดเป็นกระเปาะขึ้นเรียกว่า dermal
papilla ซึ่งเป็นที่อยู่ของ hair matrix ทำ
หน้าที่เป็นตัวสร้างเส้นขน (hair shaft)
➢ Hair follicle receptor ทำหน้าที่รับสัมผัส
ทำให้เกิดขนลุก
➢ Arrector pili muscle เป็นกล้ามเนื้อเรียบ
เมื่อหดตัวจะทำให้เกิดขนลุก

เล็บ (Nails)
➢Nail plate คือ แผ่นเล็บประกอบด้วย
เซลล์ที่ตายแล้ว (Dead keratinized
plate) เล็บจะยาวและงอกใหม่ตลอดเวลา
➢Nail matrix เป็นเซลล์เยื่อบุที่อยู่ใต้ชั้น
lanula ทำหน้าที่เป็นตัวสร้างแผ่นเล็บ
(nail plate)
➢Nail bed คือ เนื้อเยื่อที่อยู่ใต้nail plate
และยึดติดแน่นกับ nail plate

13

ระบบต่อมไร้ท่อ
Endocrine System

ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)

ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)

คือ ระบบภายในที่มีหน้าที่ควบคุมการ
เปลี่ยนแปลงของร่างกายและควบคุม
กระบวนการต่าง ๆ ที่สำคัญภายใน
เซลล์ของสิ่ งมีชีวิต ซึ่งเป็นระบบที่
ทำงานสอดประสานร่วมกับระบบ
ประสาท (Nervous System) ในด้าน
ต่าง ๆ

ต่อมไร้ท่อ (Endocrine Gland)

คือ กลุ่มเซลล์หรือกลุ่มเนื้อเยื่อที่
ทำหน้าที่สร้าง และผลิตสารเคมี
พิเศษที่เรียกว่า“ฮอร์โมน”(Hormone)
ให้กับร่างกาย ซึ่งสารดังกล่าวไม่
สามารถผลิตได้จากต่อมอื่น ๆ
โดยสารเคมีหรือฮอร์โมนเหล่านี้ จะถูก
ส่งเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรง โดยไม่
ผ่านท่อลำเลียงภายนอก

15

ต่อมพาราไทรอยด์
(Parathyroid)

คือ ต่อมไร้ท่อขนาดเล็กฝังอยู่ด้านหลังเนื้อเยื่อไทรอยด์
ทำหน้าที่ผลิต “พาราทอร์โมน” (Parathormone) ซึ่งเป็นฮอร์โมนสำคัญที่
ทำหน้ าที่เกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซึมของแคลเซียมและ
ฟอสฟอรัสในร่างกาย ซึ่งส่งผลต่อการสร้างกระดูกและควบคุมสมดุลหรือ
การสลายแคลเซียมในอวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะในกระดูกและฟัน

ต่อมไอส์ เลตส์ ของตับอ่อน
(Islets of Langerhans)

คือ กลุ่มเซลล์ขนาดเล็ก (ราวร้อยละ 3) ในตับอ่อน (Pancreas)
ที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ 2 ชนิด คือ อินซูลิน (Insulin)
และกลูคากอน (Glucagon) ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

16

ต่อมหมวกไต
(Adrenal Gland)

ก้อนเนื้อเยื่อรูปสามเหลี่ยมบริเวณด้านบนของไตทั้ง 2 ข้าง
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ได้แก่
>เนื้อเยื่อชั้นนอก (Adrenal Cortex) เจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส
(Mesenchymas) ในชั้นมีโซเดิร์ม (Mesoderm) ของตัวอ่อน ผลิตฮอร์โมนที่
สำคัญ 3 ชนิด คือ

-กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid Hormone) ทำหน้าที่ควบคุม
กระบวนการเมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต

-มินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoid Hormone) ทำหน้าที่
ควบคุมสมดุลของน้ำและเกลือแร่

-ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone) ทำหน้าที่ช่วยควบคุมลักษณะทางเพศ
ที่สมบูรณ์ ในร่างกายทั้งเพศชายและหญิง

>เนื้อเยื่อชั้นใน (Adrenal Medulla) อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบ
ประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System) ที่ควบคุมปฏิกิริยา
ตอบสนองจากสิ่ งเร้าภายนอก โดยทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ
อะดรีนาลีน (Adrenalin/Epinephrine Hormone) และนอร์อะดรีนาลีน
(Noradrenlin/Norepinephrine Hormone) ซึ่งกระตุ้นการทำงานของหัวใจ
และหลอดเลือด

17

ต่อมใต้สมอง
(Pituitary)

ต่อมขนาดเล็กใต้สมอง ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ ได้แก่
>โกรท ฮอร์โมน (Growth Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโต

ของร่างกาย โดยเฉพาะกระดูกและกล้ามเนื้อ
>โกนาโดโทรฟิก ฮอร์โมน (Gonadotrophic Hormone) ทำหน้าที่

กระตุ้นการสร้างเซลล์สื บพันธุ์
>แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (Antidiuretic Hormone) ทำหน้าที่ควบคุม

สมดุลน้ำในร่างกาย

ต่อมไทรอยด์
(Thyroid)

ต่อมไร้ท่อขนาดใหญ่บริเวณด้าน
หน้ าของลำคอใกล้กับหลอดลม
ทำหน้าที่สร้าง “ไทร็อกซิน” (Thyroxin)
ฮอร์โมนที่ทำหน้ าที่ส่ งเสริมการเจริญ
เติบโตของกระดูก สมอง และระบบ
ประสาท ควบคุมอัตราเมตาบอลิซึมใน
ร่างกาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างและรูปร่าง เมื่อถึงวัยผู้ใหญ่

18

ต่อมไพเนี ยล
(Pineal Grand)

ต่อมไร้ท่อขนาดเล็กที่ผลิตสารเมลาโทนิน (Melatonin) ทำหน้าที่ยับยั้ง
การเจริญเติบโตของต่อมเพศก่อนวัยหนุ่มสาว ควบคุมการนอนหลับ และ
กระตุ้นการปรับเปลี่ยนระบบนาฬิกาชีวิตของร่างกาย

ต่อมไทมัส
(Thymus Grand)

ต่อมไร้ท่อด้านหน้าทรวงอกที่ผลิตสารไทโมซิน (Thymosin)
ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย โดยเป็นต่อมที่
เจริญเต็มที่ตั้งแต่อยู่ในวัยทารกจนถึงอายุราว 6 ปี ก่อนจะเสื่อม
สภาพ และฝ่อไปในท้ายที่สุด

19

ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
female reproductive system

ระบบสืบพันธุ เ์ พศหญิง
(Female Reproductive System)

ระบบสืบพันธุ เ์ พศหญิงแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ
1. อวัยวะสืบพันธุ ์ภายนอกของเพศหญิง ประกอบด้วย หัวหน่าว แคมใหญ่
แคมเล็กคลิตอริส เวสติบลูเยื่อพรหมจารย์ และต่อมน้ำนม
2. อวัยวะสืบพันธุ ์ภายในของเพศหญิง ประกอบด้วย รังไข่ ท่อรังไข่ มดลูก
และช่องคลอด

อวัยวะสื บพันธุ์ภายนอกของเพศหญิง

1.mons pubis หัวเหน่า

ส่วนของเนื้อเยื่อ ลักษณะนูนเกิดจาก fatty tissue ตั้งอยู่บริเวณหน้า
pubic symphysis อยู่เหนือต่อกระดูกเชิงกราน ภายในมี loose
connective tissue กับ adipose tissue ปนกัน และมี pubic hairขึ้น
ปกคลุมในระยะ puberty จำนวนขนและสีของขนขึ้นอยู่กับเชื้อชาติและ
ลักษณะแต่ละบุคคล (ขนมีประโยชน์ช่วยลดการเสียดสีขณะร่วมเพศ)

21

2.labia majora แคมใหญ่

เป็นรอยคดโค้งของผิวหนัง ลักษณะนูนแยกเป็นกลีบ 2 กลีบ ต่อจากหัว
หน่าว ค่อยๆเรียวลงมาทางด้านล่างบรรจบกันเหนือฝีเย็บ ด้านล่างที่เชื่อม
กันส่วนที่นูนขึ้นเล็กน้อย เรียกว่า Fourchette

labia majora จะไม่มีเส้นขนปกคลุม เป็นตำแหน่งที่มีต่อมต่างๆ
ได้แก่ apocrine, eccrine และ sebaceous glands ใต้ชั้นผิวหนังลงไป
เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่ออิลาสติก ไขมัน และมีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยง
จำนวนมาก

3 labia minora แคมเล็ก

ทำหน้าที่ปกป้องรูเปิดของท่อปัสสาวะและช่องคลอด ลักษณะเป็นสัน
นูนตามยาวอยู่ระหว่าง labia majora เป็นกลีบแดงเล็กและบางกว่าแคม
ใหญ่ อยู่ 2 ข้าง ขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน ประกอบด้วยต่อมไขมัน
หลอดเลือด ปลายประสาทรับความรู้สึก จึงมีความไวต่อสิ่ งที่มากระตุ้น
ไม่มีขน ไม่มีไขมัน สีคล้ำส่วนบนเป็นหนังหุ้ม clitoris เรียกว่า prepuce
of clitoris และส่วนในรวมกันยึดกับปลาย clitosis เรียกว่า frenulum
of clitoris vestibular gland ภายใน labia minora ประกอบด้วย
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันและเนื้อเยื่ออิลาสติก มีกล้ามเนื้อเรียบอยู่น้อยมาก มีเส้น
ประสาทมาเลี้ยงมากและไวต่อการสั มผัส

4.clitoris คลิตอริส

เป็นโครงสร้างที่คล้ายกับ glans penis ในผู้ชาย สามารถแข็งตัวได้ มี
ขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตรมีเส้นประสาทมาเลี้ยงมาก มีเนื้อเยื่อลักษณะ
คล้ายฟองน้ำและมีเส้นเลือดอยู่จำนวนมาก ตำแหน่งอยู่ที่ส่วนบนสุดของ
vulva ใต้และต่อ mons pubis

22

5.Vestibule เวสติบลู

เป็นช่องระหว่างแคมเล็กทั้ง 2 กลีบบริเวณนี้ จะมีช่องคลอด (Vagina)รูเปิด
ของท่อปัสสาวะ (Urethral orifice)และท่อของต่อมขับเมือก(Bartholin duct)
มาเปิด

6.Bartholine’s gland ต่อมสร้างเมือก

อยู่ภายใต้ผนัง vestibule ทั้งสองข้าง ที่ตำแหน่ง 5 และ 7นาฬิกา มีท่อมาเปิด
ใน vestibule ใกล้ hymen สร้าง mucous secretion หล่อลื่น vestibuleใน
ขณะร่วมเพศ หากมีการติดเชื้อหรืออุดตัันต่อมนี้ จะมีขนาดโตขึ้น จนสามารถ
คลำพบได้จากภายนอกและทำให้มีอาการปวด ซึ่งรักษาโดยการ
ทำmarsupialization

7.hymen เยื่อพรหมจรรย์

เป็น mucosal fold ที่บางๆ อยู่ขอบๆ vagina orifice ประกอบด้วยชั้นของ
vascular connective tissue ที่คลุมด้วยด้วย stratified aquamous
epithelium ทั้งสองด้าน รูเปิดของเยื่อพรหมจรรย์ในคนที่ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์
มาก่อนมีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ขนาดเท่ารูเข็ม จนถึงประมาณ 1-2 fingertips

8.ฝีเย็บ (Perineum)

เป็นบรเิวณที่อยู่ระหว่างช่องคลอดกับทวารหนั กสามารถยืดหดได้มากโดย
เฉพาะเวลาคลอดบุตรทำหน้ าที่ช่วยพยุงอวยัวะในอุ้งเชิงกรานไม่ให้เคลื่อน
ออกมาภายนอกฝีเย็บประกอบดว้ยกลา้มเนื้ อลายและกลา้มเนื้ อหูรู ดทวารหนั ก

Perineum 23

อวัยวะสืบพันธุ ์ภายในของเพศหญิง

รังไข่ (ovary)

Ovary มี 2 ข้างทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศหญิงและผลิตไข่
(ovum)คล้ายเมล็ดอัลมอลด์ อยู่ในอุ้งเชิงกรานตอนบนทั้ง 2 ข้างของ
มดลูกเนื้อภายในรังไข่มี 2 ชั้น คือ cortex และ medulla
-cortex เป็นบริเวณรอบๆ ใต้ชั้น tunica albugineaประกอบด้วย
ovarian follicles อยู่รวมกันในconnective tissue cells และ fibers
-medulla อยู่บริเวณที่อยู่ตอนกลาง มี stroma ที่เป็น elastic fibers
และหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง และเส้นประสาท

ovary

24

ท่อนำไข่(uterine tube or fallopian tube)

ท่อนำไข่ มี 2 ข้างทำหน้าที่นำ ovum จาก ovary ไปยังuterus มีปลาย
2 ข้างข้างหนึ่ งรูปร่างคล้ายกรวย โดยปลายด้านที่เป็นปากกรวยจะยื่นไป
แตะกับ ovary ปลายอีกด้านจะติดต่อกับ uterus ทางด้านบน โดย
fallopian tube แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่
1) Infundibulum ลักษณะรูปกรวย ลักษณะคล้ายนิ้ วมือ
2) Ampulla จะกว้างที่สุด ผนังจะบาง sperm จะผสมกับ ovum บริเวณนี้
3) Isthmus ขนาดจะเล็ก ผนังหนา
4) Intramural segment หรือ uterine segment อยู่ในผนังมดลูก

-มดลูก (Uterus)

มีรูปร่างคล้ายผลชมพู่หัวกลับลง กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ

6 - 8เซนติเมตร หนาประมาณ 2 เซนติเมตรอยู่ในบริเวณอุ้งกระดูเชิงกราน

ระหว่างกระเพาะปัสสาวะกับทวารหนัก ทำหน้าที่เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับ

การผสมแล้วและเป็นที่เจริญเติบโตของทารกในครรภ์ uterus

25

ปากมดลูก (Cervix)

เป็นกลา้มเนื้ อที่บีบตัวเป็นจังหวะซึ่งจะเปิดอ้าออกเล็กน้ อยเพื่อให้อสุจิผ่านไป
ได้ในขณะมเพศสั มพันธ์และยืดตัวอย่างเต็มที่เพื่อให้ทารกเคลื่อนตัวผ่าน

ช่องคลอด (Vagina)

อยู่ต่อจากมดลูกลงมาทำหน้ าที่เป็นทางผ่านของตวัอสุจิเข้าสู่ มดลูกและเป็น
ทางออกของทารกเมื่อครบกำหนดคลอด

ส่วนยอดมดลูก (fundus)

คือส่วนบนที่อยู่เหนือท่อนำไข่ cornu หรือระดับท่อรังไข่ทั้ง 2 ข้าง เป็น
ตำแหน่งหลอดมดลูกติดกับโพรงมดลูก จะมีลักษณะนูนและอยู่ส่วนบนสุด
ของมดลูก ถือเป็นส่วนที่กว้างที่สุด

ส่วนตัวมดลูก(corpus or body of uterus)

คือส่ วนที่ถัดจากยอดมดลูกลงมาอยู่ต่ำกว่าท่อนำไข่เรียวลงไปมีรู ปร่างเป็น
ทรงกระบอก ค่อยๆเรียวเข้าสู่ปากมดลูก ในขณะตั้งครรภ์มดลูกจะขยายตัว
มากเพื่อเป็นที่อยู่ของทารกในครรภ์ช่วยปกป้องทารกในครรภ์

ส่วนคอมดลูก (isthmus)

คือส่วนที่แคบจะอยู่ระหว่างตัวมดลูกและปากมดลูก ส่วนนี้ จะถูกยืดขยายเป็น
มดลูกส่วนล่าง ( lower uterine segment) ขณะที่มีการคลอด

26

เต้านม (Breast)

ทำหน้ าที่ขับน้ำนมเลี้ยงทารก
>ขนาดโตเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น เพราะ connective tissue และ fat เพิ่มมาก
>ขนาดขึ้ นอยู่กับปริมาณไขมันแต่จนวนน้ำนมไม่ต่างกัน
>ตรงกลางของเต้านมจะมี nipple รอบๆ จะมีareola มีสีคล้ำเพราะมีpigment
>ส่วนประกอบ ได้แก่ compound aveoli glands 15-20 lobes แต่ละlobes มี
lactiferous duct นำน้ำนมมาเปิดที่ nipple ก่อนที่จะเปิดออกจะขยายตัว
เรียก lactiferous duct
>เนื้อของต่อม (glandular tissue) ประกอบด้วย parenchyma และ
stroma
>ระยะไม่ตั้งครรภ์ พบภาวะ resting or inactive พบ duct จำนวนมาก
alveoli ขนาดเล็ก
>ระยะปลาย menstrual cycle มีเลือดมาเลี้ยงมาก เต้านมโตขึ้น
>ระยะตั้งครรภ์ มี alveoli เพิ่มขึ้น glandular tissue มากขึ้นและขยาย
ใหญ่ขึ้ น
>ระยะปลายการตั้งครรภ์พบ colostrum ประกอบด้วยโปรตีน lactose และ
มีantibodies ช่วยต้านทานโรค
>ระยะให้นมบุตรสร้าง้ำนม ประกอบด้วย ไขมัน น้ำตาล โปรตีน
> alveoli ต่างๆ เริ่มขยายใหญ่ขึ้นและมีน้ำนมอยู่ภายใน
>เมื่อหยุดให้นมต่อมจะมีขนาดเล็กลง
>เมื่อเข้าสู่วัย menopause ต่อมน้ำนมจะเล็ก เหลือเพียง duct เล็กน้อย

27

กายวิภาคศาสตร์ของการปฏิสนธิ(Fertilization)

อวัยวะเพศ (Sex organ) เป็นส่วนของระบบฮอร์โมน ทั้งสตรีและบุรุษได้รับ
การควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะเพศ จนเข้าวัยหนุ่มสาว (PUBERTY)
อายุประมาณ 12-45 ปี โดยฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
(Gonadotrophic)

ในสตรีเมื่อรังไข่เจริญเติบโตจนเข้าสู่ วัยสาวแล้ว
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้

1. ต่อมใต้สมองจะให้ฮอร์โมนกระตุ้นไข่ (Follicular stimulating hormone)
รังไข่ก็จะสร้างไข่ให้สุกเป็นเวลา 12-14 วัน พร้อมทั้งให้ฮอร์โมน เอสโตรเจน
(estrogen) ซึ่งจะบังคับให้เยื่อบุมดลูกเจริญเติบโต

2. เมื่อถึงเวลาไข่ตกคือไข่หลุดออกจากถึงไข่หรือเปลือกไข่ (Corpus luteum)
ระยะนี้ ไข่พร้อมที่จะผสม และเดินทางผ่านเข้าปากท่อส่งไข่

3. ต่อมใต้สมองจะให้ฮอร์โมน ลูเตียนไนซิ่ง (Luteinizing Hormone) ทำให้
ถุงไข่เจริญเติบโต (corpus luteum) และให้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ซึ่งจะ
บังคับเยื่อบุมดลูกเปลี่ยนคือสร้างความชุ่มชื้นเพื่อรองรับไข่ที่ผสมแล้วมาเกาะ

4. ถ้ามีไข่มาเกาะถุงไข่จะเจริญต่อไปให้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนมากขึ้นเพื่อ
เลี้ยงไข่ให้เจริญเติบโตในมดลก

28

5.ถ้าไม่มีไข่มาเกาะถุงไข่จะฝ่อไปเองเยื่อบุมดลูกจะลอกตัวเป็นระดู
(Menstruation)
6. ต่อใต้สมองจะกำกับรังไข่ให้เริ่มวงเวียนวงต่อๆ ไปจนอายุ 45-50 ปี ประจำ
เดือนจะหมด ก็หมดวัยเจริญพันธุ์เป็นวัย Menopause

พัฒนาการของฟอลลิเคิลในรังไข่

29

การปฏิสนธิ
เป็นกระบวนการรวมตัวกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย (sperm) เข้าไปผสม
ในเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงหรือไข่ (ovum ) โดย ovumทำให้นิวเคลียสของทั้ง
สองรวมกันเป็นเซลล์เดียว (Single cell) เรียกว่าไซโกต (Zygote )

มีขบวนการ ดังนี้

1. การปฏิสนธิเริ่มจากการมีการหลั่ง Sperm ในช่องคลอด
ประมาณ 120 – 500 ล้านตัว มีการเคลื่อนที่เผ่านช่องคลอด
มดลูก เข้าสู่ท่อนำไข่ภายในปีกมดลูกโดยต้องอาศั ย การหด
รัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและปีกมดลูก การโบกพัดของขน
อ่อน Cilia และปริมาณสารน า้ (Fluid )

2. sperm และ ovum เดินทางมาถึงท่อปีกมดลูกบริเวณ แอมพูล่า
(ampulla)ของท่อนำไข่การปฏิสนธิจะเกิดขึ้น (เนื่องจาก sperm
มีความสามารถในการผสมพันธุ์ได้ไม่เกิน 48 ชั่วโมง) โดยอสุจิ
จำนวนมากจะมาล้อมบริเวณไข่ เพื่อหลั่งเอนไซม์ ไฮยาลูโรไน
เดส(Enzyme hyaluronidase) ให้ย่อยเยื่อหุ้มไข่แต่จะมีอสุจิเพียง
ตัวเดียวที่สามารถผ่านเข้าไปในไซโตพลาสซึ่ม ( cytoplasm )
ของไข่ เพราะขณะที่อสุจิผ่านเข้าไปถึงผนังเซลล์ของไข่ที่เรียกว่า
โซน่าเพลลูซิด้า ( zona pellucida ) จะเกิดปฏิกิริยาสร้างผนัง
เซลล์ให้แข็งแรงทันทีโดยเยื่อหุ้มเซลล์Membrane ที่อยู่รอบ
ovum จะเกิดการเปลี่ยนแปลงให้เหนียวขึ้นจน sperm ตัวอื่นไม่
สามารถเจาะผ่านเข้าไปผสมกับovum ได้

30

3. ส่วนหัวของ sperm จะมีขนาดใหญ่ขึ้นและแยกออกจากส่วน
หาง โดยส่วนหัวจะเคลื่อนตัวเข้าไปเพื่อผสมกับovumได้หลังจาก
นั้นส่วนหัวของ sperm จะมีขนาดใหญ่ขึ้นและแยกออกจากส่วน
หาง โดยส่วนหัวจะเคลื่อนตัวเข้าไปเพื่อผสมกับ Nucleus ของ
ovum กลายเป็น Zygote ส่วนหางของ sperm จะถูก Cytoplasm
ของovum ดูดซึมจนหายไป

ลักษณะกระบวนการปฏิสนธิ(fertilization)
เป็นขบวนการตั้งแต่อสุจิเข้าใกล้และเจาะไข่จนกระทั่งรวมตัวกันได้ไซโกต
เรียงตามลำดับได้ดังนี้ คือ

31

ระบบโครงกระดูก
Skeletal System

Skeletal System
ระบบกระดูกของมนุษย์

ในร่างกายของทารกแรกเกิด
จำนวนกระดูกอยู่มากถึง 350 ชิ้น
วัยผู้ใหญ่ ร่างกายของเราจะเหลือจำนวน
กระดูกรวมกันทั้งหมด 206 ชิ้น

หน้ าที่ของระบบกระดูก

ค้ำจุนโครงสร้างของร่างกายและทำหน้ าที่รองรับ
อวัยวะต่าง ๆ ให้คงอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
ป้องกันอวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญจากอันตราย
และการกระทบกระเทือนต่าง ๆ

เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้ อและเอ็นที่ทำให้เกิด
การเคลื่อนไหว
ผลิตเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ และยังเป็นแหล่งสำรอง
ของแคลเซียมที่สำคัญ

33

ชนิ ดของกระดูก

กระดูกแท่งยาว (long bone) ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักของร่างกาย
และเคลื่อนไหวได้มาก ได้แก่ กระดูกต้นแขน กระดูกปลายแขน
กระดูกต้นขา กระดูกหน้าแข้ง กระดูกน่อง กระดูกไหปลาร้า
กระดูกแท่งสั้น (short bone) ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงเมื่อ
ทำงานแต่เคลื่อนไหวไม่มากนัก ได้แก่ กระดูกข้อมือ ข้อเท้า
กระดูกแบน (flat bone) ทำหน้าที่ป้องกันอวัยวะภายใน จึงมักไม่
ค่อยเคลื่อนที่ ได้แก่ กระดูกกะโหลก กระดูกเชิงกราน กระดูก
สะบัก กระดูกอก กระดูกซี่โครง
กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) มักมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม
มีแง่ มีช่องโค้งไปมามากมาย ทำให้เหมาะสมกับส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายได้แก่ กระดูกสันหลัง กระดูกแก้ม กระดูกขากรรไกร

34

กระดูกสามารถจำแนกออกเป็น 2 ส่วนหลักดังนี้

1.กระดูกแกน (Axial Skeleton)

กระดูกที่เป็นแกนกลางของลำตัวมีอยู่ทั้งหมด 80 ชิ้น

ประกอบด้วย

กระดูกกะโหลกศี รษะ (Skull) 29 ชิ้น ทำหน้าที่ห่อหุ้มและปกป้องสมอง
กระดูกสันหลัง (Vertebral Column) 33 ชิ้น (ในวัยเด็ก) หรือ 26 ชิ้น
(ในวัยผู้ใหญ่) ทำหน้าที่ค้ำจุนและรองรับน้ำหนักของร่างกาย
กระดูกทรวงอก (Thorax) 1 ชิ้นบริเวณสันอก (Sternum) และกระดูก
ซี่โครง (Rips) อีก 12 คู่ ทำหน้าที่รวมกับกล้ามเนื้อเพื่อช่วยในการ
หายใจและปกป้องอวัยวะภายในที่สำคัญ เช่น ปอดและหัวใจ

35

กระดูกกะโหลกศี รษะ (Skull)

ประกอบด้วย กะโหลกศี รษะ(Skull)
กระดูกหน้าผาก (frontal bone) ทำหน้ าที่ปกป้องสมองซึ่ง
กระดูกข้างขม่อม (parietal bone)
กระดูกขมับ (temporal bone) เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท
กระดูกท้ายทอย (occipital bone) รวมทั้งเป็นโครงร่างที่ค้ำจุน
กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bone) อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ทั้งตา หู
กระดูกขากรรไกรบน (Maxilla bone) จมูก และลิ้น และยังทำหน้าที่
กระดูกจมูก (Nasal bone) เป็นทางเข้าของทางเดินอาหาร
กระดูกขากรรไกรล่าง (mandible) และทางเดินหายใจ

36

กระดูกสันหลัง (Vertebral Column)

1. กระดูกสันหลังส่วนคอ 2. กระดูกสันหลังส่วนอก
(cervical vertebrae)มี 7 ชิ้น (thoracic vertebrae) มี 12 ชิ้น

ทำหน้ าที่เป็นที่ยึดเกาะของ กระดูกส่วนนี้ มีลักษณะพิเศษ
กล้ามเนื้อ เอ็นและเส้นประสาทที่ เฉพาะ คือมีจุดเชื่อมต่อที่สามารถ
มีหน้ าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว เชื่อต่อกับกระดูกซี่โครง ที่เป็โครง
ลำคอกับศี รษะ กระดูกของช่องอก

3. กระดูกสันหลังส่วนบั้นเอว 4. กระดูกสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
(lumbar vertebrae)มี 5 ชิ้น (sacral vertebrae) มี 5 ชิ้น
เป็นกระดูกที่มีขนาดใหญ่ที่สามารถ
รองรับน้ำหนั กของร่างกายส่ วนบน ทำหน้ าที่ต่อกับกระดูกเชิงกราน
ได้ทั้งหมด มีหน้าที่เป็นจุดยึดเกาะ pelvic boneซึ่งมีช่องเปิดsacral
ของกล้ามเนื้ อส่ วนด้านหลังของ foraminaที่เป็นเส้ นทางผ่านของเส้ น
ช่องท้อง ประสาทที่จะเข้าไปสู่ บริเวณเชิงกราน
และขา

5. กระดูกสันหลังส่วนก้นกบ 37
(coccygeal vertebrae หรือ Coccyx) มี 4 ชิ้น
ทำหน้ าที่ในการเชื่อมต่อให้เป็นกระดูกชิ้ นเดียว
ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วจะออกมาเป็นกระดูกรู ปสามเหลี่ยม
ที่ปลายด้านล่างสุดนั่ นเอง

กระดูกทรวงอก (Thorax) 1 ชิ้นบริเวณสันอก
(Sternum) และกระดูกซี่โครง (Rips)

กระดูกซี่โครงประกอบด้วย กระดูกซี่โครง(Ribs)มีจำนวน24ชิ้น

กระดูกอก (sternum) กระดูกซี่โครงคู่ที่1-7เรียกว่า

กระดูกซี่โครง (ribs) กระดูกแท้(true ribs)

กระดูกอ่อนซี่โครง (cosatal cartilage) กระดูกซี่โครงคู่ที่8-9เรียกว่า

กระดูกซ๊๋โครงลอย(floating ribs) กระดูกไม่แท้(false ribs)เนื่องจาก

ลินปี่ (xiphoid process) กระดูกไม่เชื่อมติดกับกระดูกอกโดย

ตรงเเต่เชื่อมอยู่กับกระดูกซี่โครงแท้

คู่ที่7

กระดูกคู่ที่11และ12 จะเป็น

ซี่สั้ นๆทำให้ปลายด้านหน้ าไม่เชื่อมต่อ

กับกระดูกหน้ าอกกระดูกซี่โครงทั้ง2คู่

เรียกว่า ซี่โครงลอย (floating ribs)

38

2.กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton)

กระดูกนอกเหนือไปจากบริเวณลำตัวมีอยู่ทั้งหมด 126 ชิ้น

ประกอบด้วย

กระดูกไหล่ (Pectoral Girdle) ทั้งหมด 4 ชิ้น ซึ่งประกอบด้วย
กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) กระดูกสะบัก (Scapula) ชนิดละ 2
ชิ้น ทำหน้าที่รองรับแขนและช่วยในการเคลื่อนไหว
กระดูกแขน (Upper Extremities) ข้างละ 30 ชิ้น รวมทั้งสิ้ น 60 ชิ้น
ทำหน้าที่เป็นฐานเชื่อมโยงกับกระดูกอื่น ๆ ในร่างกาย
กระดูกขา (Lower Extremities) ข้างละ 30 ชิ้น
กระดูกเชิงกราน (Pelvic Girdle)
กระดูกสะโพก (Hip Bones) 2 ชิ้น

39

กระดูกไหล่ (Pectoral Girdle)

กระดูกไหล่ประกอบด้วย

กระดูกไหปลาร้า (clavicle)
เปรียบเสมือนไม้ค้ำ ประคองแขน
ทั้งสองข้างไว้ ทำให้แขนสามารถ
เคลื่อนไหว ได้อย่างเป็นอิสระอยู่
บนลำตัว

กระดูกสะบัก (scapula)
กระดูกต้นแขน (humerus)

กระดูกมือ (Hand bones)

เป็นกระดูกสั้น มีข้างละ 8 ชิ้น เรียง 2
แถว แถวละ 4 ชิ้น กระดูกแต่ละชิ้นมีชื่อ
เรียกต่างๆกันและมี Ligament ยึดให้ติ
ดกันทําให้เคลื่อนไหวได้ กระดูกข้อมือ
แถวบน จะติดกับกระดูก Radius ส่วน
ปลายล่างจะติดกับกระดูกฝามือ เป็นข้อ
ต่อCarpometacarpal joint
- แถวบน scaphoid, lunate,
triquetrum, และ pisiform
- แถวล่าง trapezium, trapezoid,
capitates และ hamate

40

กระดูกแขน (Upper Extremities)

กระดูกแขนประกอบด้วย

กระดูกต้นแขน (humerus)) ถัดจาก
กระดูกต้นแขนคือ กระดูกปลายแขน
ประกอบด้วยกระดูกปลายแขนท่อนใน
(ulna) กับกระดูกปลายแขนท่อนนอก
(radius)

กระดูกขา (leg bone

กระดูกขา (leg bone)โดยกระดูกต้น
ขา (femur) แต่ละข้างยึดติดอยู่กับ
กระดูกเชิงกราน (pelvic girdle) ซึ่ง
จะช่วยป้องกันอันตรายให้กับอวัยวะ
ภายในกระดูกสะบ้า (patella) ซึ่ง
เชื่อมต่อระหว่างกระดูกต้นขากับ
กระดูกหน้าแข้ง (tibia) และกระดูก
น่อง (fibula) กระดูกสะบ้าจะช่วยให้
ร่างกายเราสามารถงอขา เดินหรือวิ่ง
ได้ ถัดจากกระดูกหน้าแข้งกับกระดูก
น่องคือ กระดูกข้อเท้า (tarsals) ข้าง
ละ 7 ชิ้น

41

กระดูกเชิงกราน (Pelvic Girdle)
กระดูกสะโพก (Hip Bones)

กระดูกเชิงกรานประกอบด้วย

กระดูกปีกสะโพก 2 ชิ้นที่อยู่ทางด้านข้างทั้งซีกซ้ายและขวา ด้านหน้า
สุดคือ กระดูกหัวหน่าว และด้านหลังสุดคือ กระดูกใต้กระเบนเหน็บ
โดยกระดูกเชิงกรานมีหน้ าที่ปกป้องอวัยวะภายในอุ้งเชิงกรานและ
ช่วยคงรูปร่างของลำตัว นอกจากนั้นยังช่วยการเคลื่อนไหวของขาทั้ง
2 ข้างด้วย

42

ข้อต่อ (joints)

ข้อต่อซิฟิลิส อนุญาตให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายหลายประเภท
มี 6 ชนิดของข้อต่อ synovial พบที่สถานที่ต่างๆในร่างกาย

Pivot Joint: ข้อต่อนี้ อนุญาตให้มีการหมุนรอบแกนเดี่ยว

Hinge Join:ข้อต่อนี้ อนุญาตให้มีการดัดและขรุขระตามแนวระนาบเดียว

Condyloid Joint: การเคลื่อนไหวหลายประเภทได้รับอนุญาตโดย
ประเภทของข้อต่อนี้ รวมทั้งการดัดและการยืดตัว, ด้านข้างและการ
เคลื่อนไหวเป็นวงกลม

Saddle Joint: ข้อต่อที่แตกต่างกันเหล่านี้ มีความยืดหยุ่นสูงช่วยให้

สามารถดัดและยืดกล้ามเนื้ อได้ทั้งด้านข้างและด้านข้าง

Planes Joint: กระดูกที่สไลด์ร่วมกันประเภทนี้ จะผ่านไปมาในรูปแบบ

การเคลื่อนที่แบบร่อน
Ball-and-Socket Joint: ข้อต่อเหล่านี้ อนุญาตให้มีการเคลื่อนไหวที่ยิ่ง

ใหญ่ที่สุดเพื่อช่วยในการดัดและการทับถมการเคลื่อนที่ด้านข้างการ

หมุนวงกลมและการหมุน 43

ระบบกล้ามเนื้อ
muscular system

ระบกล้ามเนื้อ(muscular system)

ประเภทของกล้ามเนื้ อ

1.กล้ามเนื้อลาย(striated muscle) เป็นกล้าม
เนื้ อที่เกาะติดกับกระดูกมีลักษณะเป็นแถบลายขาวๆ
ดำๆสลับกัน เซลล์ของกล้ามเนื้อลายจะประกอบ
เป็นมัดยาวๆเซลล์หนึ่ งมีหลานนิวเคลียสเป็นกล้าม
เนื้อที่อยู่ภายใต้อำนาจจิตใจ(voluntary muscle)ซึ่ง
ได้แก่ กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขา

2.กล้ามเนื้อเรียบ(smooth muscle)เป็นเซลล์กล้าม
เนื้ อที่มีลักษณะแบนยาวแหลมหัวแหลมท้ายแหลม
ไม่มีลาย ภายในเซลล์มีนิวเคลียสอันเดียวอยู่ตรง
กลางกล้ามเนื้อ ประเภทนี้ จะควบคุมการเคลื่อนไหว
ของอวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อยอาหาร ระบบไหล
เวียนโลหิต ระบบขับถ่านปัสสาวะ และระบบ
สื บพันธุ์เป็นกล้ามเนื้ อที่อยู่นอกอำนาจจิตใจ
(involuntary muscle)

3.กล้ามเนื้อหัวใจ(cardiac muscle)พบเฉพาะ
บริเวณหัวใจเท่านั้น เซลล์กล้ามเนื้อประเภทนี้ มี
ลักษณะเป็นลายพาดขวาง และมีนิวเคลียสหลาย
อันเหมือนกล้ามเนื้อลาย เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอก
อำนาจจิตใจ (involuntary muscle)และถูกควบคุม
โดยระบบประสาทอัตโนมัติเช่นเดียวกับกล้ามเนื้ อ
เรียบ

45

การทำงานของกล้ามเนื้ อยึดกระดูก

Origin & insertion (จุดเกาะของกล้ามเนื้อ)
ที่ยึดเกาะกล้ามเนื้อมี 2 ชนิด
- origin เป็นจุดเกาะแรก /ตายตัว หรือเป็น
จุดเกาะของกล้ามเนื้ อที่มีการเคลื่อนไหวน้ อย
มาก เมื่อกล้ามเนื้อหดตัว
-insertion เป็นจุดเกาะปลาย ตำแหน่งที่เกาะ
ของกล้ามเนื้อ และเป็นจุดที่มีการเคลื่อนไหว
มากเมื่อกล้ามเนื้ อหดตัว

กล้ามเนื้อในร่างกายทั้งหมดมีอยู่ 792 มัด
แบ่งเป็นกลุ่มกล้ามเนื้ อในแต่ละส่ วนของร่างกาย

46

กล้ามเนื้ อศรีษะและกล้ามเนื้ อคอ
Muscle of Head and Neck

-frontalis >ทำหน้าที่ ดึงคิ้ว,ยักคิ้ว
-temporalis >ทำหน้าที่ ยกขากรรไกรล่างขึ้นทำให้หุบปากและถอยไปข้างหลัง
-orbicularis oculi >ทำหน้าที่ ปิด,เปิดตา
-orbicularis oris >ทำหน้าที่ หุบปาก เม้มริมฝีปาก
-zygomaticus >ทำหน้าที่ ยิ้ม ดึงมุมปากขึ้นด้านบน
-Masseter >ทำหน้าที่ ยกขากรรไกรล่างขึ้นหุบปาก
-Buccinator >ทำหน้าที่ ช่วยในการดูด การเคี้ยวอาหาร การกลืน ผิวปาก
-Sternocleidomastoid >ทำหน้าที่ 2 มัดทำงานจะก้มศี รษะลง
1 มัดทำงานจะเอียงศี รษะไปข้างที่หดตัว
-Platysma >ทำหน้าที่ ดึงริมฝีปากล่างและมุมปากลง

47


Click to View FlipBook Version