The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

41.นายสุธารชล นามดี-วิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 217สุธารชล นามดี, 2024-01-31 09:27:02

วิจัยในชั้นเรียน

41.นายสุธารชล นามดี-วิจัยในชั้นเรียน

1 การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response )ส าหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 THE DEVELOPMENT OF ENGLISH COMMUNICATION ABILITIES FOR USING TOTAL PHYSICAL RESPONSE (GESTURE-RESPONSIVE TEACHING TECHNIQUES) FOR GRAND 1 STUDENT สุธารชล นามดี สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566


2 การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response )ส าหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 THE DEVELOPMENT OF ENGLISH COMMUNICATION ABILITIES FOR USING TOTAL PHYSICAL RESPONSE (GESTURE-RESPONSIVE TEACHING TECHNIQUES) FOR GRAND 1 STUDENT สุธารชล นามดี สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566


3


4 สารบัญ บทที่ หน้า 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 สมมติฐานการวิจัย 3 ขอบเขตของการวิจัย 3 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3 2. ตัวแปรที่ศึกษา 3 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 3 4. เนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง 3 นิยามศัพท์เฉพาะ 4 ประโยชน์ที่ได้รับ 4 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 6 1.2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 6 1.3 ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 7 1.4 คุณภาพผู้เรียน 9 2.แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร 11 1.ความหมายของการสอนภาษาแนวสื่อสาร (Communicative Language Teaching) 11 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการสอนภาษาเพื่อสารสื่อสาร 13 3. กระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 16 4. ความส าคัญของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร 17 5. กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 19


5 สารบัญ(ต่อ) บทที่ หน้า ความหมายของการตอบสนองด้วยท่าทาง 20 ประเภทของการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง 20 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ TPR 22 1. ความหมายของการสื่อสาร 22 2. ประเภทของการสื่อสาร 23 3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร 24 4. ความส าคัญของการสื่อสาร 24 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ 26 1. ความหมายของความพึงพอใจ 27 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ 28 3. ลักษณะและวิธีการประเมินความพึงพอใจ 28 4. การสร้างแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 30 5. การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามความพึงพอใจ 30 6. การแปลความหมายคะแนนและการก าหนดระดับความพึงพอใจ 31 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 32 1. งานวิจัยในประเทศ 32 2. งานวิจัยต่างประเทศ 33 3 วิธีด าเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 34 1.แบบแผนการวิจัย 36 2.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 40 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 40 4.การเก็บรวบรวมข้อมูล 40


6 5.การวิเคราะห์ข้อมูล 41 6.สถิติที่ใช้ในการวิจัย 43 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 48 ด้วยเทคนิคการสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้ 49 ภาษาอังกฤษ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย 50 อภิปรายผลการวิจัย 51 ข้อเสนอแนะ 52 บรรณานุกรม 59 ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย 62 ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 64 ภาคผนวก ค การหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 155 ภาคผนวก ง การวิเคราะห์ระหว่างข้อค าถามกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบ วัดความสามารถในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 161 ภาคผนวก จ คะแนนจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบการ ตอบสนองด้วยท่าทาง 165 ภาคผนวก ฉ การเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 168


7 ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้เทคนิคการสอนแบบ ตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response ) ผู้วิจัย นาย สุธารชล นามดี อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์บุรัชต์ ภูดอกไม้ ปริญญา ครุศาสตร์บัณฑิต ปีการศึกษา 2566 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาและเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ ก่อนเรียนและหลังเรียน และเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้คภาษาอังกฤษด้วย เทคนิคการสอนแบบ TPR ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนโดยใช้เทคนิคTPRกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้าน หนองหาน(วันครู2502) อ าเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 30 คน เลือกโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัด ความสามารถในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ การด าเนินการทดลองใช้เวลา 8 สัปดาห์ ๆ ละ 1-2 ชั่วโมง รวม 12 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่า ทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยเทคนิคการสอนแบบTPR มี ประสิทธิภาพ 80.39/81.50 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75/75 2) การเปรียบเทียบความสามารถในการ เรียนรู้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response ) หลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 75 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 32.6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.50 พบว่าความสามารถในเรียนรู้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05


8 Research Title THE DEVELOPMENT OF ENGLISH COMMUNICATION ABILITIES FOR USING TOTAL PHYSICAL RESPONSE (GESTURE-RESPONSIVE TEACHING TECHNIQUES) FOR GRAND 1 STUDENT Author Mr. Suthanchol Namdee Research Advisor Burajt Phoodokmai Degree Master of Education Academic Year 2023 ABSTRACT The purposes of this research were to study and compare the English learning ability of grade1 students before and after using total physical response and develop learning management of English with a TPR teaching technique that is effective according to criteria 75/75 of grade 1 students. The sample consisted of 30 grade 1 students at Ban Nonghan-Wankru 2502 School under the Office of Primary of Udon Thani Educational Service Area, Zone3, in the second semester of the academic year 2022. They were selected by cluster random sampling. The design of this research was a one group pretest-posttest design.The research instruments were eight lesson plans, an English vocabulary ability test. The experiment lasted six weeks, 2 hours a week or 12 hours in total. The mean, percentage, standard deviation and t-test for dependent samples were employed to analyze the data. The findings of this research were as follows: After studying, compared to the 75% criteria, the average score was 32.6 points, representing 81.50%. It was found that the students' ability to learn English was significantly higher than the 75% criterion at .0


9 กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้ส าเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์บุรัชต์ ภูดอกไม้อาจารย์ที่ปรึกษา งานวิจัยที่ให้ค าปรึกษา แนะน า อ่าน ตรวจสอบ และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดจนให้ข้อคิดที่เป็น ประโยชน์ และที่ส าคัญคือให้ก าลังใจแก่ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่เป็นอย่างดี ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความ เมตตา กรุณา และขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญ คุณครูปาณิสรา นรินทร์ คุณครูชนัสนันท์ ยุบลวัฒน์ และคุณครูวริศราภรณ์ รอดขันเมือง ที่ให้ความช่วยเหลือ แนะน า ให้ข้อคิดและแก้ไขข้อบกพร่องใน การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการประยุทธ นามโยธา ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านหนองหาน (วันครู2502) คณะครูโรงเรียนบ้านหนองหาน(วันครู2502) ทุกท่าน ที่เป็นก าลังใจ อ านวยความ สะดวก ให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือ ขอบใจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 โรงเรียนบ้านหนองหาน (วันครู2502) ปีการศึกษา 2565 ทุกคน ที่ให้ความร่วมมือในการทดลองหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ และการทดลองเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ผู้ให้ก าเนิด สมาชิกในครอบครัวของผู้วิจัย ทุกคนที่ เคียงข้างและเป็นก าลังใจ ขอบพระคุณคุณครูปาณิสรา นรินทร์ ที่ให้การสนับสนุนด้านการวิเคราะห์ ข้อมูล ขอบพระคุณคุณครูชนัสนันท์ ยุบลวัฒน์ที่กรุณาตรวจสอบความถูกต้องของการใช้ภาษา และ เพื่อนนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ทุกคนที่คอยเป็นก าลังใจและห่วงใยตลอด ระยะเวลาของการศึกษาคุณค่าและประโยชน์ทั้งมวลของงานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาบุพการี และบูรพาจารย์ ผู้มีพระคุณ ที่ให้ความรัก ความรู้ สติปัญญา และคุณงามความดีทั้งปวง จนผู้วิจัยประสบ ความส าเร็จในชีวิต สุธารชล นามดี


1 บทที่1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในปัจจุบันเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่งที่ผู้เรียนจ าเป็นต้องเรียนรู้ เนื่องจากในโลกของ ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงที่ทุกๆอย่างมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ภาษาอังกฤษนับว่าเป็น ภาษาสากลที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความส าคัญเป็นอย่างยิ่งในการ ติดต่อสื่อสาร นโยบายการศึกษาปัจจุบัน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง การที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้นั้นผู้เรียน จะต้องได้รับการปลูกฝังให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษ ซึ่งครูถือว่าเป็นผู้มีบทบาทส าคัญอย่าง มาก การเรียนการสอนภาษาหลายแนวทางที่ได้ พัฒนาไปหลายรูปแบบตามยุคสมัย จนถึงแนวการสอนเพื่อ สื่อสารที่มีลักษณะเด่นชัด คือ เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง(learner-Center)การจัดการเรียนการสอนภาษาตาม แนวการสอนภาษาตามแนวการ สื่อสารมุ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้ที่มีการฝึกปฏิบัติ มีการน าภาษาไปใช้ได้จริง ตามหน้าที่ของภาษาใน การสื่อความหมายโดยมีเป้าหมายอยู่ที่การใช้สื่อสารในชีวิตจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ใช้ภาษาให้ เหมาะกับสภาพสังคม ดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนรู้จะมุ่งให้นักเรียนมีโอกาสฝึกใช้ภาษาให้มาก ยิ่งขึ้น และให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีอยู่หลากหลายในการจัด กิจกรรม การเรียนการสอน ผู้สอนควรเลือกใช้กลยุทธ์การเรียนรู้ต่างๆ (Learning Strategies) ที่เหมาะสมกับวัยและ ระดับชั้นของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีรูปแบบการเรียน (Learning Styles) เป็นของตนเอง กลยุทธ์การ เรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ กลยุทธ์ในการสื่อสาร ทักษะการท างาน ทักษะการถาม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิด เชิงสร้างสรรค์ การประเมินตนเอง การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ของตนเอง การใช้วิธีเรียนแบบต่างๆ การ ท างานร่วมกับผู้อื่น ฯลฯ ได้เหมาะสมกับตนเองตามระดับชั้น (Ministry of Education, 2002, pp.18-19) โดยเฉพาะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคสมัยที่ครูควรมีทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับ ผู้เรียนที่เป็น เยาวชนในยุคใหม่ที่เติบโตมาพรอมกับความเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว การจัดการศึกษา จ าเป็นตองยึดหลักที่วาผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได้ สืบเนื่องกันนั้นกระบวนการจัด การศึกษาตองสงเสริมใหผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ศักยภาพ ซึ่งตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดใหการจัดการ เรียนรูเป็นกระบวนการส าคัญในการน า หลักสูตรสู่การปฏิบัติ ซึ่งการจัดการเรียนรูที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญผู้เรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่ หลากหลายเป็นเครื่องมือที่จะน าพาตนเองไปสู่ เป้าหมายของหลักสูตร เชน กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้กระบวนการ คิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณและ แก้ปัญหากระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติลงมือท าจริง กระบวนการจัดการกระบวนการวิจัย กระบวนการ เรียนรูของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการเหลานี้เป็นแนวทางใน การจัดการเรียนรู้ที่ ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนพัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ ดี และบรรลุเป้าหมายของ


2 หลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจ าเป็นตองศึกษาท าความเข้าใจในกระบวนการ เรียนรู้ต่างๆ เพื่อใหสามารถเลือกใช ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ,2551) อย่างไรก็ตามแม้ว่าพระราชบัญญัติการศึกษาและหลักสูตรแกนกลางจะก าหนดกระบวนการ เรียนรู้ไว้อย่าง หลากหลายเพื่อจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาแก่เยาวชนของชาติอย่างมีประสิทธิภาพ กระนั้นกระบวนการ เรียนการสอนในปัจจุบันยังปฏิบัติการสอนไม่เป็นไปตามที่ก าหนดไว้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในการจัดการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษที่เป็นปัญหาและส่งผลกระทบอย่างมากต่อ กระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของคนไทย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดก็คือครูผู้สอนมักจะอ่านหนังสือให้ นักเรียนฟังหนึ่งครั้งหรืออ่านน าให้นักเรียนอ่านตาม หลังจากนั้นให้นักเรียนผลัดกันอ่านถ้านักเรียน อ่านผิดก็แก้ให้แล้วก็ผ่านไป และผ่านไปเรื่อย ๆ จนจบบท อีก ทั้งยังน าเอาหนังสือไวยากรณ์อังกฤษมา สอนให้นักเรียนท าแบบฝึกหัด เป็นต้น ซึ่งการสอนแบบนี้มุ่งเน้นการ ท่องจ าเพื่อสอบมากกว่าเน้นให้ ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองไม่สามารถท าให้ผู้เรียนพูดภาษาอังกฤษได้ (พฤกษะศรี, 2554) ที่ส าคัญยังส่งผลให้คุณภาพการศึกษาไม่เป็นที่พอใจของสังคมดังจะเห็นได้จากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในวิชาหลักของระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-Net) ได้แก่ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ยังมีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าร้อยละ 50(แผนการพัฒนากระทรวงศึกษาธิการ, 2555) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอน แบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) อันเนื่องมาจากเหตุผลที่ ผู้วิจัยฝึกปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษาจริง ซึ่งกลุ่มเป้าหมายนี้ควรได้รับการฝึกฝนพัฒนาในการเตรียม ตัวที่จะเป็นครูในอนาคตและมีส่วน ช่วยเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาครูภาษาอังกฤษ ตลอดจนการเรียนรู้ของนักเรียนรู้รวมทั้งการศึกษาของ ประเทศชาติต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนโดย ใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) ก่อนเรียนและ หลังเรียน 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิค การสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 สมมติฐานการวิจัย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิค การสอนแบบ ตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response) มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง


3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านหนองหาน(วันครู 2502) อ าเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี จ านวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 30 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอนแบบ ตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response) 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ 2.2.2 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอน แบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response) 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง การวิจัยในครั้งนี้ใช้เวลาในการทดลอง จ านวน 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1-2 ชั่วโมง รวม 10 ชั่วโมง ในภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 4. เนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง เนื้อหาที่ใช้ในการทดลองในครั้งนี้ ได้แก่ กลุ่มค าศัพท์และประโยคในเนื้อหาวิชา ภาษาอังกฤษ สาระการเรียนรู้ พื้นฐานภาษาอังกฤษที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จ านวน 170 ค า ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 8 แผนๆ ละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง โดยมีเนื้อหา ดังนี้ 4.1 เรื่อง My body จ านวน 1 ชั่วโมง 4.2 เรื่อง Occupations จ านวน 1 ชั่วโมง 4.3 เรื่อง Sport จ านวน 1 ชั่วโมง 4.4 เรื่อง Animals จ านวน 1 ชั่วโมง 4.5 เรื่อง Action classroom จ านวน 1 ชั่วโมง 4.6 เรื่อง Feeling and Emotion จ านวน 1 ชั่วโมง 4.7 เรื่อง Numbers จ านวน 1 ชั่วโมง 4.8 เรื่อง What do I have จ านวน 1 ชั่วโมง


4 นิยามศัพท์เฉพาะ นิยามศัพท์เฉพาะของการศึกษาในครั้งนี้ประกอบด้วย 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ TPR หมายถึง การสอนภาษาโดยใช้ท่าทาง ประกอบเพื่อช่วยให้ ผู้เรียนเข้าใจความหมายของค านั้นๆ โดยผู้สอนจะออกค าสั่งและแสดงท่าทาง ประกอบ และให้ผู้เรียนปฏิบัติ ตามโดยการเลียนแบบท่าทางของผู้สอนไปพร้อมกัน โดยมีล าดับ ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นสาธิต (Demonstration) ขั้นที่ 2 ขั้นลังเล (Hesitation) ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบ (Test) ขั้นที่ 4 ขั้นออกค าสั่งใหม่ (Novelty) ขั้นที่ 5 ขั้นสลับบทบาท (Role-Reversal) การตอบสนองด้วยท่าทางคือ วิธีการสอนภาษาที่สองที่ไม่ใช่ภาษาแม่ของประเทศตนเอง เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลีเป็นต้น โดยนักเรียนเกิดทักษะการฟังการสื่อสาร และการตอบสนองโดย แสดงออกจากท่าทางตามค าสั่งของครูด้วยวิธีการต่างๆในระหว่างการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งสอดคล้องกับ เนื้อหาบทเรียน แบ่งออกเป็น 6 ประเภท 5ขั้นตอน แต่ละประเภท มีความแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ที่ ต้องการจะเน้น การจัดการเรียนการสอนแบบการตอบสนอง ด้วยท่าทางหรือ TPR นั้นเหมาะสมกับผู้เรียนทุก เพศทุกวัย แต่เหมาะสมที่สุดกับนักเรียนปฐมวัยและ ประถมต้น เนื่องจากการสอนในรูปแบบนี้ผู้เรียนจะเกิด ประสบการณ์เรียนรู้สมจริงมากยิ่งขึ้น 2. ความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารโดย การใช้ภาษาอย่าง ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ทางสังคม หรือวัฒนธรรม รู้ถึงจุดประสงค์การสนทนาของอีก ฝ่ายว่าต้องการจะสื่ออะไร สามารถวิเคราะห์หรือตีความจากประโยคจะได้รับมาได้อย่างถูกต้องตรง ประเด็น มีการเลือกใช้โทนเสียง ค าศัพท์ที่ถูกต้อง 3. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึกทางบวก หรือ ความรู้สึกทาง ลบ ของบุคคลที่มี ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความพึงพอใจของแต่ละบุคคลไม่มีวันสิ้นสุด มีการเปลี่ยนแปลงได้ อยู่ตลอดเวลาและ สภาพแวดล้อม ดังนั้นแต่ละบุคคลจึงมีโอกาสที่จะไม่พอใจในสิ่งที่เคยพึงพอใจ มาแล้ว ประโยชน์ที่ได้รับ 1. นักเรียนมีการพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ และมีความมั่นใจในตนเองในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ 3. ครูผู้สอนหรือผู้ที่สนใจในการสอนภาษาอังกฤษ พบแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้


5 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่1 โดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง ผู้วิจัยได้ศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) พุทธศักราช 2551 แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง ความพึงพอใจ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ตามล าดับดังต่อไปนี้ หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งใน ชีวิตประจ าวัน เนื่องจากเป็นเครื่องมือส าคัญในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การ ประกอบอาชีพ การ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึง ความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก น ามาซึ่งมิตรไมตรีและความร่วมมือกับ ประเทศต่างๆ ช่วยพัฒนาผู้เรียน ให้มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่าง ของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ ความรู้ต่างๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวิสัยทัศน์ในการ ด าเนินชีวิต ภาษาต่างประเทศที่เป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ซึ่งก าหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้น พื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่น อาหรับ บาลี และ ภาษากลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน หรือภาษาอื่นๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาที่จะจัดท ารายวิชาและจัดการ เรียนรู้ตามความเหมาะสม 1. สาระของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หมายถึง องค์ความรู้ที่เป็นสากลส าหรับ ผู้เรียน ภาษาต่างประเทศ ประกอบด้วย สาระด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ภาษาและวัฒนธรรม ภาษา กับความสัมพันธ์ กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication) หมายถึง การใช้ภาษา ต่างประเทศ ในการฟัง-พูดอ่าน-เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ น าเสนอข้อมูล ความคิดรวบ ยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล อย่างเหมาะสม สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม (Cultures) หมายถึง การใช้ภาษาต่างประเทศตาม วัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา ความสัมพันธ์ ความเหมือน และความแตกต่างระหว่างภาษาและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับภาษา และวัฒนธรรมไทย และน าไปใช้อย่างเหมาะสม


6 สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น (Connections) หมายถึง ความสามารถในการ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหา ความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก (Communities) หมายถึง ความสามารถในการใช้ ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือ พื้นฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ สังคมโลก 2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หมายถึง ผลการเรียนรู้ที่ ต้องการให้เกิดขึ้นใน ตัวผู้เรียน เป็นมาตรฐานกลาง ซึ่งเป็นกรอบด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ที่สถานศึกษาสามารถน าไปปรับและพัฒนา เพื่อก าหนดเป็นผลการ เรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐาน การเรียนรู้เป็นข้อก าหนดเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของ ผู้เรียนอันจะน าไปสู่การจัดกระบวนการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 8 มาตรฐานตามสาระทั้ง 4 ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 : เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และ แสดง ความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 : มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดง ความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 : น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็น ในเรื่อง ต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 : ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา และ น าไปใช้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 : เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ วัฒนธรรม ของ เจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และน ามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 : ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่นและ เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 : ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม


7 มาตรฐาน ต 4.2 : ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 3. ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 : เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และ แสดงความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผล มีตัวชี้วัดประกอบด้วย ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง และ ค าแนะน าง่ายๆ ที่ฟัง หรืออ่าน อ่านออกเสียงค า สะกดค า อ่านกลุ่มค า ประโยคข้อความง่ายๆ และ บทพูดเข้าจังหวะถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายตรงตาม ความหมายของประโยคและข้อความสั้นๆที่ฟังหรือ อ่าน ตอบค าถามจากการฟังและอ่านประโยค บท สนทนา และนิทานง่ายๆ มาตรฐาน ต 1.2 : มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึก และแสดงความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มีตัวชี้วัดประกอบด้วย พูด/ เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่าง บุคคล ใช้ค าสั่งค าขอร้องและค าขออนุญาตง่ายๆ พูด/เขียนแสดง ความต้องการของตนเองและขอความ ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพื่อขอให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เพื่อนและครอบครัว พูดแสดง ความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว และ กิจกรรมต่างๆตามแบบที่ฟัง มาตรฐาน ต 1.3 : น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็น ในเรื่องต่างๆโดย การพูดและการเขียน มีตัวชี้วัดประกอบด้วย พูด/เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และ เรื่องใกล้ตัว พูด/วาดภาพ แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆใกล้ตัว ตามที่ฟังหรืออ่าน พูดแสดงความ คิดเห็นง่ายๆ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ ตัว สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา และน าไปใช้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มีตัวชี้วัด ประกอบด้วย พูดและท าท่าประกอบตาม มารยาทสังคม/ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อและค าศัพท์ง่ายๆเกี่ยวกับเทศกาล/วันส าคัญ/งาน ฉลองและชีวิตความ เป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสม กับวัย มาตรฐาน ต 2.2 : เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ วัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และน ามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มี ตัวชี้วัด ประกอบด้วย บอกความแตกต่างงของเสียง ตัวอักษร ค า กลุ่มค า ประโยค และข้อความของ ภาษาต่างประเทศและ ภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาลและงานฉลองตาม วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ ของไทย สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น


8 มาตรฐาน ต 3.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่น และ เป็นพื้นฐาน ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน มีตัวชี้วัด ประกอบด้วย ค้นคว้า รวบรวม ค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและน าเสนอด้วยการพูด/ การเขียน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 : ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มีตัวชี้วัดประกอบด้วย ฟังและพูด/อ่านในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและ สถานศึกษา มาตรฐาน ต 4.2 : ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก มีตัวชี้วัดประกอบด้วย ใช้ ภาษาต่างประเทศในการสืบค้นและรวบรวม ข้อมูลต่างๆ 4. คุณภาพผู้เรียน กระทรวงศึกษาธิการ (2551:192-193) ได้กล่าวว่าหลักสูตรการศึกษาแกนกลาง พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ได้ก าหนดผลการเรียนรู้รายปี ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่4 โดย ค านึงถึงสัดส่วน วัย เวลา ระดับความต้องการของผู้เรียนโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่4 มีคุณภาพ ทางการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยสามารถใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม กับระดับวัยของผู้เรียน ตามสาระส าคัญดังนี้ 4.1 ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง และค าแนะน าที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงประโยค ข้อความ นิทาน และ บทกลอนสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุประโยคและข้อความตรง ตามความหมายของสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายที่อ่าน บอกใจความส าคัญและตอบค าถามจากการฟัง และอ่านบทสนทนา นิทานง่ายๆ และ เรื่องเล่า 4.2 พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าขออนุญาต และ ให้ค าแนะน า พูด/ เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความ ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และ เรื่องใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว กิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผล สั้นๆ ประกอบ 4.3 พูด/เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตาราง แสดงข้อมูลต่างๆ ที่ฟังและอ่าน พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว 4.4 ใช้ถ้อยค า น้ าเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและ วัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันส าคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของ เจ้าของภาษา เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ


9 4.5 บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการล าดับค าตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือน/ความ แตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลองและประเพณีของเจ้าของภาษากับ ภาษาไทย 4.6 ค้นคว้า รวบรวมค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้ และน าเสนอด้วย การพูด/การเขียน 4.7 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา 4.8 ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ 4.9 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่อง เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ และสวัสดิการ การซื้อ-ขาย และลมฟ้า อากาศ ภายในวง ค าศัพท์ประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ ค า (ค าศัพท์ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม) 4.10 ใช้ประโยคเดี่ยว (Simple Sentences) และประโยคผสม (Compound Sentence) สื่อความหมาย ตามบริบทต่างๆ จากการศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตาม หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ตามหลักสูตรกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ที่ เป็นสากล ประกอบด้วย สาระ ด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ภาษาและวัฒนธรรม ภาษากับความสัมพันธ์ กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และภาษา กับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก เน้นให้ผู้เรียนน าความรู้ที่ ได้รับไปใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อติดต่อสื่อสาร และพัฒนาผลสัมฤทธิ์หรือความสามารถในทักษะต่างๆ รอบด้านอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วย ความหมายของ การสอนภาษาแนวสื่อสาร แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการสอนภาษาเพื่อ สารสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ความส าคัญของการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสาร กิจกรรมการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.ความหมายของการสอนภาษาแนวสื่อสาร (Communicative Language Teaching) นักกการศึกษาและผู้เชี่ยวชาญหลายท่านทั้งไทยและต่างประเทศได้ให้ค าจ ากัดความของ การสอนภาษา แนวสื่อสารไว้มากมาย ซึ่งมีแนวคิดที่แตกต่างกันดังนี้


10 ไฮมส์(Hymes,1981 : 4-7) กล่าวว่าการสื่อสารคือความสามารถในการใช้ภาษาหรือ ตีความภาษา ถูกต้องเหมาะสมเมื่อมีการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆในสังคมและสามารถรู้ว่าเมื่อไรควร จะพูด และ ควรจะพูด อะไรกับใคร เมื่อไร ที่ไหนและในลักษณะอย่างไร ลิตเติลวูด (Littlewood,1981 : 17) กล่าวว่าการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารควรเน้นเรื่อง หน้าที่ของ ภาษามากกว่ารูปแบบของภาษา การเรียนภาษาไม่เรียนแต่เฉพาะกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ เท่านั้น แต่ผู้เรียนจะต้อง มีความสามารถในการที่จะสื่อความหมายให้ผู้อื่นฟังเข้าใจ ฟินอคเชียโร (Finocchiaro,1982) กล่าวว่า การสอนการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารเป็นการ สอนที่เน้นการ พัฒนาความสามารถในการสื่อสาร ซึ่งรวมถึงความเหมาะสมและการยอมรับการใช้ และ สถานการณ์ทาง สังคมที่ใช้ภาษานั้นอยู่ ฮาลลิเดย์ (Haliday,1982 : 10-15) กล่าวถึงอีกแง่มุมหนึ่งของการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสารคือเรื่อง หน้าที่ของภาษา(function) ว่าหมายถึงการรวมเอาหัวข้อที่เหมือนกันเข้าไว้ตามหน้าที่ ของมันในรูปของหน่วย ต่างๆ เช่น การทักทาย การขอร้อง การเชิญ (กุลยา เบญจกาญจน์,2530 : 22) ให้ความหมายของแนวการสอนเพื่อการสื่อสาร หมายถึง การสอนให้ ผู้เรียนเรียนรู้ภาษาโดยใช้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์มากกว่าเรียนเพื่อสร้างประโยคที่ ถูกต้องทางไวยากรณ์ เท่านั้น แต่ทั้งนี้ไม่หมายความว่าไวยากรณ์มีความส าคัญน้อยลง ความจริงแล้ว ไวยากรณ์ของภาษายังมี ความส าคัญอยู่ (สุขุมาวดี ข าหิรัญ, 2537 : 8-9) กล่าวว่าการสอนภาษาในแนวทางแบบสื่อสาร (Communicative Approach) คือการสอนภาษาจะเน้นที่จุดประสงค์ของผู้พูดว่าต้องการพูดเรื่อง อะไร และต้องการ อะไรจาก การพูดนั้น โดยมีหลักอยู่ว่าการใช้ภาษาจะแตกต่างไปตามวัตถุประสงค์ ของการสื่อสาร นอกจากนี้ยังข้อดีของ แนวการสอนแบบสื่อสารหรือหน้าที่คือท าให้ผู้เรียนฝึกใช้ภาษา ให้เหมาะกับบริบททางสังคมเพราะการใช้ภาษา ตามหน้าที่ในสังคมหรือ เพื่อการสื่อสารผู้พูดย่อมต้อง นึกถึงความหมายทางสังคมด้วย (สุมิตรา อังวัฒนกุล, 2540) กล่าวว่าการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเกิดจากแนวคิดที่เชื่อว่า ภาษาไม่เป็น เพียงระบบไวยากรณ์ที่ประกอบด้วยศัพท์ เสียง โครงสร้างเท่านั้น แต่ภาษาคือระบบที่ใช้ ในการ สื่อสารหรือสื่อความหมาย ดังนั้นการสอนภาษาเพื่อสื่อสาร จึงควรให้ผู้เรียนสามารถน าภาษา ไปใช้ใน การสื่อสารหรือสื่อความหมาย และใช้ภาษาอย่างเหมาะสมกับสภาพสังคม ไม่ควรสอนให้ ผู้เรียนรู้เฉพาะ รูปแบบหรือโครงสร้างทางภาษาเท่านั้น จากข้อมูลข้างต้น สามารถสรุปความหมายของรูปแบบการสอน CLT ได้ดังนี้ การสอนภาษา เพื่อการสื่อสาร เน้นถึงการใช้ภาษาของผู้เรียนมากกว่ากฎเกณฑ์การใช้ภาษา เป็นแนวการสอนที่ไม่ จ ากัดความสามารถของ ผู้เรียนแค่ความรู้ทางไวยากรณ์เท่านั้น และให้ความส าคัญกับความคล่องแคล่ว ในการใช้ภาษาโดยไม่ละเลย ความถูกต้อง สนับสนุนให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาทุกทักษะ ไม่ว่าจะเป็น การฟัง พูด อ่าน เขียน การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารควรสอนให้สอดคล้องกับการใช้ ภาษาในชีวิตประจ าวันของผู้เรียน และสามารถ น าไปใช้ได้จริง ดังนั้นการเรียนการสอนแนวนี้จึงเน้น กิจกรรมเพื่อการฝึกการใช้ภาษาที่ใกล้เคียงสถานการณ์


11 จริงให้มากที่สุด โดยการฝึกในลักษณะทักษะ สัมพันธ์หรือทักษะรวม โดยผู้สอนเป็นผู้น ามาให้ผู้เรียนฝึก เช่น สร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนสนทนา โต้ตอบกัน ในลักษณะต่างๆ เช่นเป็นคู่ เป็นกลุ่ม 2 หรือ 3 คน กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ การสอนภาษา เพื่อการสื่อสารเป็นการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีการเรียนรู้ซึ่งมุ่งเน้น ความส าคัญของตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกในสิ่งที่ตนต้องการ โดยผู้สอนจัดล าดับการเรียนรู้เป็น ขั้นตอนตามกระบวนการ ใช้ความคิดของผู้เรียน โดยเริ่มจากการฟังไปสู่การพูด การอ่าน การจับใจความส าคัญ ท าความเข้าใจ จดจ าแล้วน าสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการสอนภาษาเพื่อสารสื่อสาร การสอนภาษาต่างประเทศในระยะเวลาที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่ามีวิธีการสอนที่แตกต่าง หลากหลายตามหลัก แนวคิดพื้นฐาน และวิธีการสอนภาษาที่แตกต่างกันออกไปตามแต่ที่ นักภาษาศาสตร์ประยุกต์คิดค้นขึ้นเพื่อใช้ ในการสอน หรือเพื่อปรับปรุงการสอนให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น การสอนภาษาอังกฤษตามแนวทางการสอน ภาษาเพื่อการสื่อสารเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่เกิดขึ้น ประมาณปี ค.ศ. 1970 และได้รับความนิยมอย่างมากใน ประเทศอังกฤษ เนื่องจากเป็นแนวทางการ สอนที่เน้นในเรื่องการสื่อสารตามสถานการณ์ในการใช้ภาษาจริงๆ มากกว่าการเน้นสอนเรื่องรูปแบบ หรือโครงสร้างของภาษาเพียงอย่างเดียว วิลกิน (Wilkins,1976) ได้เสนอแนวคิดการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารไว้ว่าเป็นการให้ ความส าคัญกับการใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสารตั้งแต่เริ่มต้น แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ได้ละเลยในเรื่อง ความส าคัญทางไวยากรณ์และ สถานการณ์ในการใช้ภาษา การสอนภาษาตามแนวทางการสอนเพื่อ การสื่อสารจะมีข้อดีกว่าแนวคิดการสอน ที่เน้นไวยากรณ์คือ มีการฝึกฝนภาษาเพื่อใช้ในการสื่อสาร และเมื่อผู้เรียนได้มีการฝึกฝนการใช้ภาษาได้ใน สถานการณ์จริงแล้ว ยังช่วยให้เกิดแรงจูงใจแก่ผู้เรียน อีกด้วย วิดโดวซัน (Widdowson,1978) อ้างใน Larsen-Freeman (2000:121) ได้กล่าวไว้ว่าใน ช่วงเวลาของ การเปลี่ยนแปลงโดยการน าแนวทางการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมาใช้นั้นมีเหตุผลมา จากการที่ผู้เรียนสามารถผลิตประโยคที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ในชั้นเรียนได้เป็นอย่างดีแต่ก็ยังไม่ สามารถที่ จะน าความรู้ทางตัวภาษาที่ได้เรียนนั้นไปใช้ในสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสมถูกต้องตาม บริบทที่เป็นเช่นนี้ เนื่องมากจากการรู้ถึงกฎในตัวภาษาของผู้เรียนนั้นยังไม่เพียงพอแต่การใช้ภาษาใน สถานการณ์จริงๆนั่นเอง การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารจึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน าความรู้ทางภาษาที่มีไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ ซึ่ง นอกจากที่ผู้เรียนต้องมีความรู้ในเรื่องไวยากรณ์ภาษาแล้ว ผู้เรียนยังต้องมีความรู้ ในสิ่งที่อยู่นอกเหนือตัวภาษา เช่น สถานภาพหรือความสัมพันธ์ของคู่สนทนาในสังคม อายุ เพศ การศึกษา ความสุภาพ ตลอดจนเจตนาทั้ง ทางตรงและทางอ้อมในการสื่อสาร เป็นต้น ซาวิยอง(Savignon,1991:261-275) การสอนตามแนวสื่อสารได้ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรก ใน แถบอเมริกา เหนือและยุโรปในช่วงปี1970 การสอนตามแนวสื่อสารเกิดขึ้นในยุโรป เพราะในช่วงเวลา ดังกล่าวมีผู้อพยพ เข้าไปอาศัยในยุโรปเป็นจ านวนมาก สมาพันธ์ยุโรป (Council of Europe) จึงมี ความจ าเป็นต้องพัฒนา หลักสูตรการสอนภาษาที่สองแบบเน้นหน้าที่และสื่อความหมาย (functional national syllabusdesign) เพื่อช่วยให้ผู้อพยพสามารถใช้ภาษาที่สองในการสื่อสารในส่วนของ อเมริกาเหนือ ไฮมส์ (Hymes) ได้ใช้ค าว่า


12 ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (communicative competence) หมายถึงความสามารถในการ ปฏิสัมพันธ์ หรือปะทะสังสรรค์ ทางด้านสังคม(social interaction) ซึ่งความสามารถทางด้านภาษาที่ส าคัญ ที่สุดคือ ความสามารถที่ จะพูดหรือเข้าใจค าพูดที่อาจไม่ถูกหลักไวยากรณ์ แต่มีความหมายเหมาะสมกับ สภาพการณ์ที่ค าพูด นั้นถูกน ามาใช้ในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร คือ แนวคิดซึ่งเชื่อมระหว่างความรู้ทาง ภาษา (Linguistic Knowledge) ทักษะทางภาษา (Language Skill) และความสามารถในการสื่อสาร (Communicative Ability) เพื่อให้ผู้เรียนรู้โครงสร้างภาษาเพื่อการสื่อสาร การสอนภาษาแบบสื่อสาร (Communicative Language Teaching - CLT) คือแนวคิด ซึ่งเชื่อมระหว่าง ความรู้ทางภาษา (linguistic knowledge) ทักษะทางภาษา (language skill) และ ความสามารถในการ สื่อสาร (communicative ability) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้โครงสร้างภาษา เพื่อการสื่อสาร คเนล และส เวน(Canale & Swain, 1980 ; Widdowson, 1978). และ เซวิกนอน(Savignon, 1982) ได้แยก องค์ประกอบของความสามารถในการสื่อสารไว้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรือโครงสร้าง (grammatical competence) หมายถึงความรู้ทางด้าน ภาษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับค าศัพท์ โครงสร้างของค า ประโยค ตลอดจนการ สะกดและการออกเสียง 2) ความสามารถด้านสังคม (sociolinguistic competence) หมายถึงการใช้ค า และโครงสร้างประโยคได้ เหมาะสมตามบริบทของสังคม เช่น การขอโทษ การขอบคุณ การถาม ทิศทางและข้อมูลต่าง ๆ และการใช้ ประโยคค าสั่ง เป็นต้น 3) ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อความหมายด้านการพูด และเขียน (discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมระหว่างโครงสร้างภาษา (grammatical form) กับ ความหมาย (meaning) ในการพูดและเขียนตามรูปแบบ และสถานการณ์ ที่แตกต่างกัน 4) ความสามารถในการใช้กลวิธีในการสื่อความหมาย (strategic competence) หมายถึงการใช้เทคนิค เพื่อให้การติดต่อสื่อสารประสบความส าเร็จโดยเฉพาะการสื่อสารด้านการพูด ถ้าผู้พูดมีกลวิธีในการที่จะไม่ท า ให้การสนทนานั้นนั้นหยุดลงกลางคัน เช่นการใช้ภาษาท่าทาง (body language) การขยายความโดยใช้ ค าศัพท์อื่นแทนค าที่ผู้พูดนึกไม่ออก เป็นต้น Larsen-Freeman (2000:128-132) ได้กล่าวไว้ว่าเป้าหมายของการสอนภาษาเพื่อ การสื่อสารนั้นคือการ ท าให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารในภาษาที่เรียนได้ โดยการจะท าเช่นนี้ได้จะต้องมี ความรู้ในเรื่องของโครงสร้างทาง ภาษา ความรู้ในเรื่องความหมาย และความเข้าใจในเรื่องของหน้าที่ ของภาษาที่ใช้ ซึ่งผู้เรียนจะต้องเลือก รูปแบบของภาษาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่ใช้ในการสื่อสาร ปริบททางสังคม ตลอดจนบทบาททางสังคม ของผู้ร่วมสนทนาด้วย นอกจากการสอนที่เน้นในเรื่อง หน้าที่ของภาษามากกว่ารูปแบบทางภาษาแล้ว ผู้เรียน ยังต้องเรียนทักษะทั้งสี่ คือพูด ฟัง อ่าน เขียน ไปพร้อมๆกันตั้งแต่เริ่มต้นอีกด้วย โดยสิ่งที่มีความโดดเด่นใน การสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร คือเนื้อหา ของการเรียนการสอนจะอยู่ภายใต้กระบวนการทางการจัดกิจกรรมที่ ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสในการใช้ ภาษาเพื่อการสื่อสารทั้งสิ้น โดยการที่ผู้เรียนจะสามารถสื่อสารได้นั้นต้องมี องค์ประกอบหลักๆ อยู่ 3 ประการด้วยกันคือ


13 1) ช่วงว่างระหว่างข้อมูล (Information gap) คือความต้องการแลกเปลี่ยน ข้อมูลซึ่งกันและกันโดยเมื่อคู่ สนทนาไม่มีข้อมูลหรือมีข้อมูลไม่พอเพียง ท าให้ต่างฝ่ายต้องการที่จะ ทราบหรือให้ข้อมูลซึ่งกันและกัน 2) การเลือก (Choice) คือผู้เรียนมีโอกาสในการเลือกที่จะพูดหรือ เขียน ตลอดจนรูปแบบในการสื่อสาร ความหมาย 3) ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) คือ ผู้เรียนมีโอกาส ที่จะได้ทราบถึงผลของการสื่อสารที่ว่าประสบความส าเร็จ หรือล้มเหลวจากปฏิกิริยาของผู้ร่วมสนทนา นอกจากนี้แล้วการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารยังเน้นการเรียนรู้ที่ เกิดจากการปฏิบัติกล่าวคือ ผู้สอนต้อง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาให้มากที่สุด การให้ผู้เรียนสนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลกันโดยให้เลือกใช้ ภาษาตามต้องการและให้ประเมินการสื่อสารด้วยตนเองเป็นการส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้ใช้ภาษาในการ สื่อสารจริงๆ ส่วนเรื่องข้อผิดพลาดที่ผู้เรียนมีขณะที่มีการเรียนการสอนนั้นไม่ใช้สิ่งที่ ต้องการการแก้ไข เสมอ ทั้งนี้ข้อผิดพลาดจะถูกแก้ไขเฉพาะในส่วนที่ส าคัญๆที่จะไปขัดขวางหรือสร้างความ สับสนของ ความเข้าใจในการสื่อสารเท่านั้น มิฉะนั้นผู้เรียนอาจเกิดความไม่มั่นใจไม่กล้าที่จะใช้ภาษาในการท า กิจกรรมต่างๆได้ จะเห็นได้ว่า CLT หรือการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ไม่ได้ละเลยโครงสร้างทาง ไวยากรณ์ แต่ในการสอน โครงสร้างทางไวยากรณ์ต้องเน้นการน าหลักไวยากรณ์เหล่านี้ไปใช้ เพื่อการ สื่อความหมายหรือการสื่อสาร และมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน าความรู้ทางภาษาที่มีไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ซึ่งนอกจากที่ผู้เรียนต้องมีความรู้ ในเรื่องไวยากรณ์ภาษาแล้ว ผู้เรียนยังต้องมีความรู้ ในสิ่งที่อยู่นอกเหนือตัวภาษา เช่น สถานภาพหรือ ความสัมพันธ์ของคู่สนทนาในสังคม อายุ เพศ การศึกษา ความสุภาพ ตลอดจนเจตนาทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการสื่อสาร เป็นต้น 3. กระบวนการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สุมิตรา อังวัฒนกุล เสนอแนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารที่ คล้ายคลึงกับขั้นตอน การสอนของลิตเติลวูด (Littlewood) โดยแบ่งการสอนออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นน าเสนอเนื้อหา (Presentation or Introducing New Language Item) ใน ขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะ เรียนรู้และท าความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย และวิธีการใช้ภาษาที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ควบคู่ไปกับการ เรียนรู้กฎเกณฑ์ภาษาโดยด าเนินการ ดังนี้ 1.1. ผู้สอนเสนอบริบทหรือสถานการณ์แก่ผู้เรียน โดยอาจใช้รูปภาพและใช้ กิจกรรมการเล่าเรื่องหรืออ่าน บทสนทนาหรือเรื่องราวให้นักเรียนฟัง เนื้อหาที่ใช้ควรมีค าศัพท์หรือ รูปแบบของภาษาที่ต้องการสอน และควร สอดแทรกค าศัพท์ที่ผู้เรียนเคยเรียนมาบ้างแล้ว เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนเข้าใจ เรื่องราวที่ครูเล่าง่ายขึ้น 1.2 กระตุ้นการเรียนรู้ (Elicitation) เป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนเข้าใจเรื่องที่ฟัง หรือ อ่านระดับใดด้วยการ ตั้งค าถามให้ตอบหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนพูด ถ้าผู้เรียนตอบค าถามได้ผู้สอนไม่ ควร เสียเวลากับการเสนอเนื้อหา มากนัก แต่ถ้ามีผู้เรียนตอบได้เป็นจ านวนน้อย ให้ผู้สอนพิจารณาว่า จ าเป็นต้องสอนหรืออธิบายเนื้อหาภาษา หรือไม่ ในการสอนหรืออธิบายเนื้อหาดังกล่าว ผู้สอนต้อง อธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างชัดเจนว่าเนื้อหาภาษามี รูปแบบวิธีการใช้และมีความหมายอย่างไร


14 2. ขั้นฝึก (Practice) หมายถึง ครูให้ผู้เรียนฝึกภาษาที่เสนอในขั้นที่ 1 ใน กิจกรรมที่ ครูเป็นผู้ให้แนวทาง หรือควบคุมอยู่ การฝึกอาจอยู่ในรูปของสถานการณ์จ าลองที่ครูสร้างขึ้น เพื่อให้ ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกใช้รูปแบบ ภาษาที่น าเสนอ อาจเป็นการฝึกทั้งชั้นหรือในรูปกิจกรรมที่ผู้เรียน กระท าร่วมกันโดยครูเป็นเพียงผู้ควบคุมให้ กิจกรรมด าเนินไปด้วยดีเท่านั้น กิจกรรมดังกล่าวมักเป็น กิจกรรมกลุ่มเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกฝึกได้ฝึกรูปแบบ ภาษาที่เรียนมาอย่างทั่วถึง การฝึกโดยใช้กิจกรรม จะช่วยให้ผู้เรียนเพลิดเพลิน และขณะเดียวกันได้มีโอกาสใช้ ภาษาที่เรียนมาเพื่อสื่อสารจริง ๆ ซึ่งจะ ช่วยให้การฝึกมีความหมาย 3. ขั้นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Production / Free Practice) เป็นการฝึกใช้ ภาษาที่เชื่อมโยงระหว่าง การเรียนรู้ภาษาในขั้นเรียนกับการน าไปใช้จริงนอกเหนือขั้นเรียน โดยผู้สอน เป็นผู้ชี้แนะแนวทาง ซึ่งอยู่ในรูป ของการท ากิจกรรมแบบต่างๆ เช่น การมีปฏิสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม การพัฒนากระบวนการคิด โดยผู้สอน เป็นผู้ริเริ่มหรือจัดการขั้นเริ่มต้นของกิจกรรมให้ เช่น การอธิบาย วิธีท ากิจกรรมจัดกลุ่มผู้เรียนหลังจากนั้นผู้เรียนจะเป็นผู้ท ากิจกรรมเอง ผู้เรียนสามารถใช้ภาษา นอกเหนือจาก รูปแบบที่ก าหนดไว้ได้ซึ่งจะท าให้ผู้เรียนมีโอกาสน าความรู้ทางภาษามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ในขั้นนี้ ขั้นตอนในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมี3ขั้นตอนคือ ขั้นน าเสนอเนื้อหา ขั้นฝึก และขั้นการใช้ภาษาเพื่อ การสื่อสาร ครูผู้สอนจ าเป็นต้องเข้าใจขั้นตอนในการด าเนินการเรียนการสอน ภาษาเพื่อการสื่อสารเป็นอย่างดี เพื่อน ามาปรับใช้ในการสอน โดยเริ่มจากการสร้างพื้นฐานให้ผู้เรียนมี ความรู้ความเข้าใจในภาษาที่จะสื่อสารใน ขั้นน าเสนอเนื้อหา สร้างความเข้าใจให้ผู้เรียนมีความกล้าใน การสื่อสารในขั้นการฟังและขั้นการใช้ภาษาเพื่อ การสื่อสาร เมื่อผู้เรียนพร้อมที่จะสื่อสารอย่างมี ความหมาย ครูผู้สอนต้องเปลี่ยนบทบาทโดยให้ผู้เรียนท า หน้าที่เป็นผู้น าในการใช้ภาษาด้วยการท า กิจกรรมต่างๆ ที่ครูผู้สอนจัดขึ้น ดังนั้นครูผู้สอนจึงควรมีความรู้ใน เรื่องกิจกรรมทางภาษาที่ หลากหลาย เพื่อสร้างแรงจูงใจในการท ากิจกรรมให้ผู้เรียนมีความต้องการใช้ภาษาใน การสื่อ ความหมายในสถานการณ์ต่างๆ อย่างถูกต้องและเรียนอย่างสนุกสนาน 4. ความส าคัญของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ปัจจุบันวิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารก าลังเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย หนังสือ วารสารตลอดจนการ ประชุมทางวิชาการต่างๆเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษล้วนกล่าวถึงวิธี สอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ทั้งสิ้น หลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษส าหรับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยม ตอนปลายก็ได้เน้นวิธีการสอน ภาษาเพื่อการสื่อสาร หนังสือแบบเรียนต่างๆ นิยมใช้สอนและได้รับ อนุญาตจากกรมวิชาการให้สอนในระดับ มัธยมศึกษานั้นๆ ล้วนผลิตตามแนววิธีการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสาร ครูสอนภาษาอังกฤษจึงจ าเป็นต้องมี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสาร เนื่องจากเป็นกุญแจส าคัญที่จะช่วยให้ครูสามารถ จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการสื่อสารได้ ถึงแม้ปัจจุบันครูจะมีแบบเรียนที่ ผลิตตามแนววิธีการสอนเพื่อการ สื่อสารที่ดีมากเพียงไรก็ตาม ถ้าปราศจากความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อการสื่อสารที่ถูกต้อง ครูก็ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากแบบเรียนนั้นได้อย่างเต็มที่ เพื่อช่วยให้ครูสอน ภาษาอังกฤษมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสารและสามารถจัด กิจกรรมเพื่อ การสื่อสารของตนเองได้


15 กลุ่มนักจิตวิทยาการเรียนรู้ เชื่อว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุดในการเรียน ผู้เรียนจะสามารถ เรียนได้มากน้อย เพียงใดขึ้นอยู่กับความเข้าใจเป็นส าคัญ ผู้เรียนจะเรียนได้ดีถ้าเข้าใจจุดประสงค์ของ การเรียน ค านึงถึง ประโยชน์ในการน าสิ่งที่เรียนไปใช้ โดยสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนไปแล้วให้เข้ากับ สิ่งที่ก าลังเรียนอยู่ และสิ่งที่ จะช่วยให้เรียนภาษาต่างประเทศได้ดี นอกเหนือจากสองเรื่องที่กล่าว มาแล้วก็คือต้องเข้าใจหลักภาษาที่ใช้ใน การวางรูปประโยคด้วย ในช่วง ค.ศ.1975 ได้มีการเสนอแนวการจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารขึ้น โดยมี ความเชื่อว่าภาษาไม่ได้ เป็นเพียงระบบไวยากรณ์ที่ประกอบด้วยเสียง ค าศัพท์ โครงสร้างเท่านั้น แต่ ภาษาคือระบบที่ใช้ในการสื่อสาร หรือสื่อความหมายได้ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ภาษาจึงควรจัดการ เรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถน าภาษาไปใช้ใน การสื่อสารหรือสื่อความหมายได้ นอกจากนั้นการสื่อสารเป็น กระบวนการอย่างหนึ่ง การรู้รูปแบบหน้าที่และ ความหมายของภาษาเพียงอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ผู้เรียนต้องสามารถน าความรู้ดังกล่าวไปใช้ได้ในชีวิตจริง การสอนภาษาต่างประเทศในปัจจุบัน ได้หันมายึดแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมาก ขึ้นมีการจัดกิจกรรม ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมายได้ฝึกใช้ภาษาใน สถานการณ์ที่มีโอกาสพบจริงใน ชีวิตประจ าวัน โดยยังคงให้ความส าคัญกับโครงสร้างไวยากรณ์ การสื่อสารจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเราสามารถใช้ ประโยคหลายชนิดในโอกาสต่างๆกัน เช่น การอธิบาย การแนะน า การถาม-ตอบ การขอร้อง การออกค าสั่ง เป็นต้น ความรู้ในการแต่งประโยคเป็นสิ่งที่เรา เรียกว่าความรู้ความเข้าใจภาษาเท่านั้น แต่ถ้าจะให้เกิด ประโยชน์จะต้องสามารถน าความรู้ไปใช้เป็น ปกติวิสัยตามโอกาสต่างๆของการสื่อสาร ลิตเติลวูด (Littlewood, 1988) กล่าวว่า หากผู้เรียนมองเห็นประโยชน์ของการเรียน ภาษาในชั้นเรียน ว่า ผู้เรียนใช้ภาษาในการสื่อสารกับผู้อื่น ผู้เรียนจะมีความสนใจ และช่วยให้ผู้เรียน สามารถสื่อสารมากขึ้น นั่น หมายความว่าการใช้กิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารท าให้ผู้เรียนใช้ ภาษาที่มีความหมาย ส่งผลให้ ผู้เรียนมีความตั้งใจในการเรียนมากขึ้นจากการใช้ภาษาอย่างแท้จริงอัน เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ความสามารถด้านการฟัง-พูดของผู้เรียน ลาร์เซน-ฟรีแมน (Larsen–Freeman,2000) ได้ให้ความเห็นว่า ในการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสารนั้นมี ลักษณะเฉพาะ คือความตั้งใจในการสื่อสารของผู้เรียน โดยผู้เรียนจะใช้ภาษาผ่านกิจกรรม ที่ส่งเสริมการ สื่อสาร ซึ่งการเรียนเช่นนี้จะช่วยกระตุ้นผู้เรียนมีความตั้งใจในการเรียนภาษามากยิ่งขึ้น รู้สึกว่าตนก าลังเรียน ภาษาที่เป็นประโยชน์ สามารถใช้ภาษาในการสื่อความหมาย (ส านักวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ,2548) ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กลุ่ม ส่งเสริมการเรียน การสอนและประเมินผล กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียน สามารถสื่อสารด้วยการ ฟัง พูด อ่าน เขียนด้วยการใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ จริงรวมทั้งการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพโดยใช้แนวการสอนแบบผสมผสาน และใช้กิจกรรม การเรียนการสอนทั้งในและนอก ชั้นเรียนตลอดจนสื่อที่หลากหลายอันจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อย่าง สนุกสนานและเพลิดเพลิน เนื้อหาที่ น ามาใช้พัฒนาความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้วยวิธีการให้ผู้เรียนเกิดการปฏิสัมพันธ์และ ร่วมมือกันปฏิบัติงาน (Task-based Learning) โดยใช้ รูปแบบของสาร (text type) หลายประเภท เพื่อให้


16 ผู้เรียนมีความรู้ประสบการณ์ภาษาอังกฤษที่ กว้างขวางและทันสมัย และ ประเมินผลอย่างสม่ าเสมอด้วย วิธีการหลากหลาย 5. กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ฮาร์เมอร์ (Harmer,2000 : 92) เสนอแนะกิจกรรมการพูดไว้ดังนี้ 1) การเจรจาหาข้อตกลง (Reaching a Consensus) กิจกรรมประเภทนี้จะให้ผู้เรียน มีการอภิปราย และ หาข้อตกลงร่วมกันในกลุ่ม กิจกรรมนี้ช่วยให้ผู้เรียนใช้ภาษาอย่างอิสระโดยไม่ต้อง เตรียมตัวล่วงหน้า เช่น การ อภิปรายเพื่อเลือกวัสดุ 10 อย่าง เพื่อใช่ในการเดินทาง เป็นต้น 2) การถ่ายทอดค าสั่งหรือค าแนะน า (Relaying Instructions) กิจกรรมนี้ผู้เรียนจะต้อง ให้ค าสั่งหรือค าแนะน าในการท ากิจกรรมแก่เพื่อน ความส าเร็จของชิ้นงานขึ้นอยู่กับความเข้าใจใน ค าแนะน า 3) เกมเพื่อการสื่อสาร (Communicative Games) เช่น การหาความแตกต่างของ รูปภาพ (Find the Differences) การบรรยายและจัดเรียงล าดับภาพ (Describe and Arrange) และ การเรียงล าดับเรื่องใหม่ (Story Reconstruction) เป็นด้น 4) การแก้ปัญหา (Problem Solving) กิจกรรมนี้ช่วยให้ผู้เรียนพูดเพื่อหาทางแก้ปัญหา จากสถานการณ์ที่รับ 5) การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบุคคล (Interpersonal Exchange) สามารถจัดเป็น กิจกรรมกลุ่มหรือคู่ โดยให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนกันสอบถามข้อมูลส่วนตัวของกันและกัน เหมาะส าหรับ การใช้ในตอนเริ่มบทเรียน แรก เช่น กิจกรรม Ice Breaker 6) สถานการณ์จ าลอง (Simulation) เป็นการสร้างหรือการจ าลองสถานการณ์จริง ในห้องเรียน โดยที่ผู้เรียน ต้องคิดว่าตนเองเป็นตัวละครที่ถูกก าหนดไว้ในสถานการณ์จ าลอง เพื่อรับข้อมูลบทบาทเพื่อใช่ในการแสดง กิจกรรมและการใช้สื่อในขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร มีดังนี้ 1) การใช้สื่อเป็นของจริง (Authentic Materials)เพื่อการแก้ไขปัญหาซึ่งนักเรียน ไม่สามารถน าความรู้ในชั้นเรียนไปใช้ภายนอกได้ และ เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียน เรียนภาษาอย่างเป็น ธรรมชาติในสถานการณ์ต่างๆ วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อการ สื่อสารมักใช้สื่อจริงในการจัดการเรียนรู้ ครูอาจคัดข้อความที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์จริงๆมาจัดการเรียนรู้ และให้การบ้านโดยให้นักเรียนฟัง การพูดจากวิทยุ หรือโทรทัศน์จริงๆ การพยากรณ์อากาศ อย่างน้อยควรเป็น สื่อที่น ามาจากภาษาที่ ใช้จริง อีกวิธีหนึ่งที่สามารถน ามาใช้ได้คือ สื่อที่ไม่มีข้อความ หรือที่ไม่ต้องใช้ภาษามาก นัก แต่ต้อง สามารถน ามาอภิปรายได้อย่างกว้างขวางเช่น เมนูอาหาร ตารางเวลา เป็นต้น 2) การเรียง ประโยคที่จัดวางอย่างสับสน (Scrambled Sentence ) นักเรียนได้อ่าน ข้อความอาจจะมาจากเรื่องที่นักเรียน เคยเรียนมาแล้ว ครูจะให้นักเรียนเรียบเรียงประโยคใหม่ให้ ถูกต้องตามเนื้อเรื่องที่เรียนกิจกรรมนี้จะฝึกให้ นักเรียนรู้เกี่ยวกับ Cohesion และ Coherence โดย เรียนรู้ว่าประโยคต่างๆ เชื่อมต่อกันได้อย่างไร ซึ่งเป็น การเรียนรู้อีกระดับหนึ่งทางภาษาศาสตร์ โดย ต้องรู้การอ้างอิงย้อนหลัง ซึ่งเป็นตัวส าคัญในการเชื่อมข้อความ ครูอาจให้นักเรียนเรียบเรียงประโยค ในบทสนทนาใหม่ให้ถูกต้อง หรืออาจจัดชุดรูปภาพให้เป็นเรื่องราวและ เขียนประโยคประกอบเรื่องขึ้น เป็นต้น


17 3) เกมทางภาษา (Language Games) มีการน าเกมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อ การสื่อสาร นอกจากผู้เรียนจะได้รับความสนุกสนานแล้วยังเป็นการฝึกการใช้ภาษาได้อย่างดียิ่ง เกมที่ จะใช้ได้ดีต้องมี ลักษณะ 3 ประการคือ 3.1) การหาข้อมูลที่ขาดหายไป (Information Gap) เกิดจากผู้พูดไม่ทราบว่าเพื่อนใน ชั้นจะท าอะไร ในสุด สัปดาห์นี้ 3.2) ตัวเลือก (Choice) ผู้พูดมีตัวเลือกว่า จะคาดการณ์ว่าเพื่อนน่าจะท าอะไร และใช้ค าพูดว่าอย่างไร 3.3) การให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ผู้พูดจะได้รับข้อมูลย้อนกลับจากสมาชิกคน อื่นๆในกลุ่ม ถ้า ประโยคที่เขาใช้ไม่เป็นที่เข้าใจก็จะไม่ได้รับค าตอบจากคนอื่น ถ้าผู้พูดได้รับค าตอบก็ แสดงว่าสิ่งที่เขาพูดนั้น ผู้อื่นเข้าใจ 4) ภาพชุดเรื่องราว (Picture Strip Story) มีหลายๆกิจกรรมที่ใช้ภาพชุดและได้น าเสนอ ไว้แล้วเกี่ยวกับ กิจกรรมการเรียงประโยคที่สับสน ในกิจกรรมนี้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้รับภาพชุด คนหนึ่ง ในกลุ่มจะให้เพื่อนดู ภาพแรก และให้ทายว่าภาพที่สองจะเกี่ยวกับอะไร เขามีตัวเลือก (Choice) ที่จะ เลือกทายว่าภาพนั้นควรเป็น อะไร และจะใช้ค าพูดในการทายว่าอย่างไรและจะได้รับข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) อาจจะไม่ใช่รูปประโยค แต่เป็นลักษณะของภาพ ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับการ คาดคะเนของเขา กิจกรรมนี้เป็นเพียงตัวอย่างของ การใช้เทคนิคการแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้เพื่อ การสื่อสาร เพราะมีลักษณะครบทั้ง 3 ประการดังกล่าว นอกจากนี้ผู้เรียนยังมีโอกาสแลกเปลี่ยน ความคิดและท างานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ และยังได้ฝึกสนทนา ด้วย 5) บทบาทสมมติ (Role – play) เป็นกิจกรรมที่ส าคัญในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร เพราะผู้เรียนมีโอกาสฝึกสนทนาสื่อสารในสภาพสังคมต่างๆ และในฐานะต่างๆกัน ใน การใช้บทบาทสมมุติ ผู้สอนจะก าหนดบทบาทของแต่ละคน โดยจะก าหนดว่าผู้เรียนจะแสดงเป็นใคร อยู่ในสถานการณ์อะไร จะพูด เกี่ยวกับอะไร แต่สิ่งที่จะพูดต้องคิดเอาเอง แบบหลังนี้เข้าถึงแนวคิดการ จัดการเรียนรู้เพื่อการสื่อสาร มากกว่า เพราะให้ตัวเลือก (Choice) ผู้เรียนมากกว่า บทบาทสมมุตินี้จะ มีข้อมูลที่ขาดหายไป (Information Gap) เมื่อ ผู้เรียนไม่แน่ใจว่าผู้อื่นพูดอะไร ผู้เรียนจะได้รับข้อมูล ย้อนกลับ (Feedback) ให้เขาทราบว่าสิ่งที่เขาพูดสื่อสาร นั้นเป็นอย่างไรด้วย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส าหรับทักษะการพูดเพื่อการสื่อสารนั้น ควรใช้กิจกรรมที่ หลากหลาย และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้สื่อสารจริงๆ โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครูผู้สอนควรเลือก กิจกรรมที่มีสถานการณ์ ใกล้เคียงความเป็นจริงให้มากที่สุด เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนสนใจในเรื่องที่ จะเรียน ความหมายของการตอบสนองด้วยท่าทาง นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของค าว่า การตอบสนองด้วยท่าทาง ดังนี้ Asher (1979) ได้ให้ ค าจ ากัดความว่าการตอบสนองด้วยท่าทาง คือ การเรียนภาษาที่สอง หรือ ภาษาต่างประเทศ โดยเป็นการ สอนที่ให้นักเรียนฟังค าสั่งพร้อมกับตอบสนองด้วยท่าทางที่ เหมาะสม


18 Widodo (2009) กล่าวว่าการตอบสนองด้วยท่าทาง หมายถึงการกระตุ้น ให้นักเรียนฟังและ ตอบสนอง ผ่านท่าทางจากค าสั่งของครู ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพร (2552) ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่าการตอบสนองด้วยท่าทาง เป็นวิธีการสอนโดยการฟังค าศัพท์และปฏิบัติตามด้วยการออกท่าทาง หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่าการ สอนค าสั่ง และตอบสนองด้วยท่าทาง และมณี อินทพันธ์ (2553) ได้กล่าวว่าการตอบสนองด้วยท่าทาง คือ วิธีการสอนที่ ครูเป็นต้นแบบแสดงท่าทาง พร้อมพูดค าศัพท์หรือประโยคโดยมีสื่อที่เป็นสิ่งของหรือ รูปภาพให้นักเรียนปฏิบัติ ตาม จากความหมายของการตอบสนองด้วยท่าทางที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การตอบสนองด้วยท่าทาง คือ วิธีการสอน ภาษาที่สองที่ไม่ใช่ภาษาแม่ของประเทศตนเอง เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลีเป็นต้น โดยนักเรียนเกิดทักษะการฟังการสื่อสารและการตอบสนองโดย แสดงออกจากท่าทางตามค าสั่งของครูด้วย วิธีการต่างๆในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่ง สอดคล้องกับเนื้อหาบทเรียน ประเภทของการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง นักวิชาการได้จัดแบ่งประเภทของการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง ไว้ดังต่อไปนี้ 1. เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) การสอน โดยการแสดงท่าทางปฏิบัติเพียงอย่างเดียว ครูใช้ค าศัพท์ วลีหรือประโยคที่เกี่ยวกับ ร่างกายในการออกค าสั่ง เช่น “Jump.” เป็นต้น การแสดงท่าทางจะปฏิบัติช้าๆ จ านวน 2-3 ครั้ง หรือจนกว่านักเรียนทุกคนจะ สามารถท าได้ด้วยตนเอง การแสดงท่าทางเป็นสิ่งส าคัญในการสอนภาษา ที่สอง เนื่องจากท่าทางคือเครื่องมือ และสื่อที่จะท า ให้นักเรียนเข้าใจประโยค ในช่วงแรกประโยคค าสั่ง ควรเป็นประโยคแบบสั้นและเข้าใจง่าย จากนั้นค่อยๆ เพิ่มประโยคที่มีความยากและซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางโดยใช้ ร่างกายเป็นการใช้ค าศัพท์ เกี่ยวกับร่างกายทั้งหมด นอกจากนั้นครูสามารถจัดกิจกรรมโดยใช้เกม เช่น เกม Simon says เมื่อครูพดูค าสั่งว่า Simon says: “Jump.” ให้นักเรียนท าท่าทางกระโดด แต่ถ้าเมื่อใดที่ครูไม่ได้พูด ค าสั่งว่า Simon says นักเรียนไม่ต้องท าท่าทาง 2. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางโดยใช้สิ่งของ (Total Physical Response - Object: TPR-O) คือ การสอนโดยครูน าสิ่งของต่างๆ ภายในห้องเรียน เพื่อใช้เป็นสื่อดึงดูดความ สนใจของ ในการออกค าสั่ง ครู ควรใช้ค าศัพท์ควบคู่กับกริยา เช่น “Point to a pencil.” เป็นต้น ทั้งนี้ครูควรเริ่มจากการแนะน าสิ่งของก่อน และ ครูสามารถสอนไวยากรณ์เรื่องพจน์ได้ เช่น “Give me two pencils.” 3. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางโดยใช้รูปภาพ (Total Physical Response - Picture: TPR-P) คือ การสอนโดยครูน ารูปภาพที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนมาใช้ออกค าสั่งเพื่อให้ นักเรียนออกมาชี้ จับ หรือแตะ รูปภาพ หน้าห้องเรียน เช่น ครูพูดค าสั่งว่า “The bird is on the roof of a house.” นักเรียนน ารูปภาพนก มาปะติดบนหลังคาบ้าน เป็นต้น รูปภาพที่น ามาใช้ มี 2 รูปแบบ คือ 1) รูปภาพส าเร็จ เช่น ภาพถ่าย 2) รูปภาพปะติดแกะออก ข้อดีของรูปภาพปะติดแกะ


19 ออกคือ สามารถสลับรูปตามต าแหน่งต่างๆ ของภาพได้นอกจากนี้รูปภาพที่น ามาใช้ครูต้องค านึงถึง ช่วงอายุ ของผู้เรียนและความยากง่ายของบทเรียน 4. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางโดยใช้การเล่าเรื่อง (Total Physical Response -Storytelling: TPRS) คือการสอนโดยครูมีหน้าที่เล่าเรื่องและแสดงท่าทางประกอบให้ดูหลังจากนั้น ให้นักเรียนอาสาสมัคร ออกมาแสดงท่าทางตามเนื้อเรื่อง หรือถ้านักเรียนมีความพร้อมที่จะพูดให้ นักเรียนเป็นคนเล่าเรื่องและให้ เพื่อนๆออกมา แสดงท่าทางประกอบเนื้อเรื่อง เช่น ขณะที่ครูเล่านิทาน เรื่อง Little tiger picks up และพูด ประโยคว่า “Pick up your toys, Little tiger.” ครูท าท่าทาง เก็บของเล่นให้นักเรียนดูจ านวน 3 ครั้ง ทั้งนี้ ครูต้องค านึงถึงความพร้อมในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ นักเรียน การเลือกนิทานควรเหมาะสมกับ ช่วงวัย ภาษาไม่ซับซ้อน และมีเนื้อเรื่องไม่ยาวจนเกินไป 5. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางโดยใช้การวาดรูป (Total Physical Response - Drawing: TPRD) คือ การสอนโดยครูวาดรูปเอง เหมาะส าหรับชุดค าศัพท์ที่ไม่สามารถน ามาให้ นักเรียนดูได้ หรือจับต้องได้ เช่น ท้องฟ้า พระอาทิตย์พระจันทร์ ก้อนเมฆ ภูเขา เป็นตน 6. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทางโดยใช้สถานที่ (Total Physical Response - Location: TPR-L) คือ การสอนโดยครูเขียนค า หรือวาดรูปแล้วน าไปติดบริเวณรอบๆ ห้องเรียน เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาด จากนั้นครูออกค าสั่งให้นักเรียนไปยังสถานที่ต่างๆ ตัวอย่างเช่น ครู ออกค าสั่งว่า “Walk to school.” เป็นต้น ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบ TPR Asher (1979) กล่าวถึงล าดับขั้นของวิธีการสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง มีดังต่อไปนี้ 1. ขั้นสาธิต (Demonstration) ครูแนะน าเป็นตัวอย่างให้นักเรียนดูด้วยการออกค าสั่ง 1 ชุด ประมาณ 7-8 ค าและควรเป็นค ากริยาขณะที่ครูออกค าสั่งเป็นภาษาอังกฤษนั้น ครูจะแสดงทาทางไป ด้วย สวนนักเรียนแสดง ทาตามครูแจ่ไม่พูด ตัวอย่างค าสั่งชุดแรกที่แอชเชอร์แนะน า เชน stand up, walk, stop, jump, run, turn around, turn left, และ sit down 2. ขั้นลังเล (Hesitation) เพื่อเป็นการดูวานักเรียนสามารถแสดงทาทางได้เองหรือไม่ โดยที่ครู จะไม่สาธิตให ดูครูอาจออกค าสั่งหนึ่งค าสั่งเชน stand up แต่ครูไม่ยืนขึ้น นักเรียนบางคนอาจไม่ยืน ตามครูเหมือนกัน เพราะคิดว่าครูท าถูกต้องแล้ว ขั้นนี้เป็นการฝึกนักเรียนให้เกิดความเชื่อมั่น หรือว่า ครูออกค าสั่งว่า turn left แต่ครูแกล้งท า ขวาหัน นักเรียนบางคนอาจจะท าทาสับสน เพราะวาในขั้น ที่ 1 นั้น ครูสั่งวา turn left เห็นครู หันไปทางซ้าย บางคนอาจจะเตือนครูวครูท าผิด แสดงวานักเรียน เริ่มเกิดการเรียนรู้ 3. ขั้นทดสอบ (Test) ใหครูออกค าสั่งที่ออกมาในลักษณะสลับก่อนหลังไปมา (ไม่เรียง ตามล าดับ) แลวให นักเรียนปฏิบัติตามค าสั่งทีละคน ถานักเรียนสามารถแสดงตามค าสั่งได้แสดงว่าเกิดความเขาใจต่อค าเหลานั้น สาเหตุที่สลับต าแหนงค าเพื่อเป็นการปองกันมิใหนักเรียนจ าแบบ นกแกวนกขุนทอง เชน ครูอาจออกค าสั่งวา walk, jump, run, stop, sit down, stand up เป็นต้น นักเรียนจะท านายลวงหน้าไม่ได้ว่าเป็นค าอะไรต่อไป พยายามอย่าให้ล าดับเหมือนในขั้นที่ 1


20 4. ขั้นออกค าสั่งใหม่ๆ แปลกๆ (Novelty) ออกค าสั่งแปลกๆประหลาดๆ เพื่อจะดูวาเด็กมี ปฏิกิริยาอย่างไร กับค าสั่งนั้น ค าสั่งประเภทนี้จะท าให้บรรยากาศในหองเรียนสนุกสนานมากขึ้น ตัวอย่างเช่น walk like a duck, walk with one foot, run to the teacher, sit on the teacher etc. 5. ขั้นสลับบทบาท (Role-Reversal) นักเรียนสลับบทบาทกับครูใหโอกาสนักเรียนออกมา ออกค าสั่งและ ให เพื่อนๆแสดงทาทางรวมทั้งครูเล่นสลับบทบาทกันโดยแสดงทาทางเมื่อได้ยินค าสั่ง จากนักเรียน ในขั้นนี้ นักเรียนจะได้เริ่มพูด ใหนักเรียนผลัดกันออกมาออกค าสั่งใหเพื่อนๆปฏิบัติครูไม่ ควรบังคับ ใหนักเรียนพูด นักเรียนจะพูดเมื่อมีความพรอมและกระตือรือร้นที่อยากจะพูด ครูควร หลีกเลี่ยงการต าหนินักเรียน กรณี นักเรียนพูดผิดหรือออกเสียงผิด แต่มีหนาที่ช่วยเหลือนักเรียน พยายามเปิดโอกาสใหนักเรียนหลายๆคนได้ ออกมาพูด นางสาววันทนี ไพรินทร (2547 : 40)กล่าวว่าขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอน แบบ TPR สรุปได้ดังต่อไปนี้ การสอนภาษาโดยกลวิธีการสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทางนั้น มี ล าดับขั้นตอน อย่าง ค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มจากการสาธิตโดยครูผู้สอนเป็นต้นแบบ ผู้เรียนเริ่มรับ ประสบการณตรงด้าน การฟง และเมื่อผู้เรียนแสดงความเขาใจในสิ่งผู้สอนแสดงใหดูแลว จึงให้ผู้เรียน พูดและปฏิบัติโดยไม่มีการเร่ง ให้ ผู้เรียนพูดโดยที่ยังไม่พร้อม นอกจากนั้นกิจกรรมเสริมที่ใชตรวจ ความเขาใจของผู้เรียนยังนาสนใจ สร บรรยากาศที่ดีในการเรียนภาษา และในตอนท้ายชั่วโมงผู้เรียนยัง ได้ฝึกทักษะการอ่านและเขียน ด้วยการท า แบบฝึกหัดอีกด้วย ทิพย์วลี สุขปาน (2560: 22-23)ได้กล่าวว่าขั้นตอนการสอน เป็นการสอนโดยให้ผู้เรียนฟัง ค าสั่งจาก ผู้สอน แล้วแสดงท่าทางตามค าสั่ง กระทั่งเกิดความเข้าใจและพร้อมพูด เป็นการช่วยลด ความวิตกกังวลของ นักเรียน ท าให้การเรียนภาษาเป็นเรื่องน่าสนุกและง่ายขึ้น การสอนภาษาด้วยการ เล่าเรื่องควรใช้เมื่อผู้เรียนมี ความพร้อมด้านภาษาอังกฤษ โดยครูเล่าเรื่องที่คล้ายกับ ชีวิตประจ าวัน จากนั้นให้ผู้เรียนออกมาแสดงท่าทาง ตามที่ครูเล่า โดยไม่ต้องพูด ต่อมาให้ผู้เรียน เล่าเรื่องเองแล้ว แสดงท่าทางตามที่ผู้เรียนเล่าให้ฟ้ง สรุปได้ว่าการสอนแบบ TPR (Total Physical Response) การสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทางเป็นการสอน โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 ประเภท 5ขั้นตอน แต่ละประเภทมี ความแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ที่ต้องการจะเน้น การจัดการเรียนการ สอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง หรือ TPR นั้นเหมาะสมกับผู้เรียนทุกเพศทุกวัย แต่เหมาะสมที่สุด กับนักเรียนปฐมวัยและประถมต้น เนื่องจากการสอนในรูปแบบนี้ผู้เรียนจะเกิดประสบการณ์เรียนรู้ สมจริงมาก ยิ่งขึ้น ความสามารถในการสื่อสาร 1. ความหมายของการสื่อสาร พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2542, online) ได้ให้ความหมาย ของการสื่อสาร “วิธีการ น าถ้อยค า ข้อความหรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไป ยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่ หนึ่ง .”


21 (Fisher 1978 : 7)ได้กล่าวในเรื่องการให้ค าจ ากัดความของ “การสื่อสาร” ยังไม่เคยมี ข้อสรุปถึง ความหมายทีชัดเจนอย่างถูกต้องตรงกันจากบรรดานักวิชาการด้านการสื่อสารเลย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับมุมมองของ แต่ล่ะบุคคล ฮาร์แนคและเฟสต์ (Harnack and Fest 1964 : 399) กล่าวว่า “การสื่อสาร เป็น กระบวนการซึ่งคนเรามี ปฏิกิริยาต่อกันและกันเพื่อความม่งหมายที่จะให้เกิดการผสมกลมกลืนกัน ทั้งในระหว่างบุคคลและภายในตัว บุคคลผู้นั้นเอง” นิวคอมบ์(Newcomb 5 : 129) กล่าวว่า “การสื่อสาร คือรูปแบบหนึ่งของการ แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกน ระหว่างบุคล ซึ่งหากจะกล่าวในเชิ่งโวหารแลว การแลกเปลี่ยนอาจท า ให้บคคลสามารถเขาถึงจิตใจของผู้อื่น ได้” แชรมม์ (Schramm 1974 : 13) กล่าวว่า “การสื่อสาร คือการมีความเข้าใจร่วมกัน ต่อเครื่องหมายที่แสดง ข่าวสาร” ทับส์และมอส (Tubbs and Moss 1983 หน้า 4) กล่าวว่า “การสื่อสาร เป็น กระบวนการของการร่วมกัน สร้างสรรค์ความหมายระหว่างคนสองคน หรือมากกว่านั้น” เสรีวงศ์มณฑา (2553, ออนไลน์ ) การสื่อสาร คือกระบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อก่อให้เกิด ความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร หรืออย่างน้อย ที่สุดก็เพื่อผู้รับสารได้เข้าใจ เนื้อหาสาระที่ผู้สงสารต้องการจะสื่อ นรินทร์ชัย พัฒนพงศา (2542 : 3) กล่าวถึงความหมายของการสื่อสารว่า เป็นการ แลกเปลี่ยนข่าวสาร์ ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร โดยใช้สื่อหรือช่องทางต่าง ๆ เพื่อมุ่งหมายโนมน้าว จิตใจให้เกิดผลในการให้เกิด การรับรู้หรือเปลี่ยนทศนัคติหรือให้เปลี่ยนพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง โอภส์แก้วจ าปา (2547 :1) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงกระบวนการที่มนุษย์ เชื่อมโยง ความนึกคิดและ ความรู้สกึให้ถึงกันเพื่อให้เกิดการตอบสนองในเชิงพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ กัน วิรัช สงวนวงศ์วาน (2547 หนา 115) ให้ความหมายว่า การสื่อสารคือการถ่ายโอน (transfer and understanding of meaning) ดังนั้นการติดต่อสื่อสารจะประสบความส าเร็จก็ต่อเมื่อ สามารถส่งผลต่อ ความหมายและผู้รับเกิดความเข้าใจถูกต้อง การสื่อสารอาจมีลักษณะเป็นการสื่อสาร ระหว่างบุคคล (interpersonal communication)และเป็นเครือข่ายองค์กรหรือที่เรียกกันโดยทั่วไป ว่าการติดต่อสื่อสารของ องค์กร (organization communication)จากค านิยามดังกล่าวสรุปได้ว่า การสื่อสาร เป็นกระบวนการในการสื่อความหมายโดยมีบุคคล 2 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ส่งสารและผู้รับสาร โดยที่ผู้ส่ง สารส่งข่าวสารใด ๆ ไปยังผู้รับสารโดยผ่านสื่อต่าง ๆ 2. ประเภทของการสื่อสาร 1.จ าแนกตามจ านวนของผู้ท าการสื่อสาร


22 1.1 การสื่อสารภายในบุคคล (Intrapersonal communication) เป็นการสื่อสาร ภายในตัวบุคคล ซึ่งอาจ มีผลมาจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น การอบรมเลี้ยงดู ส าหรับการสื่อสารในตัว บุคคลที่จะส่งผลดีต่องานบริการ คือ การมีใจรักในงานบริการ ไม่เห็นแก่ตัว 1.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal communication) เป็นการสื่อระว่าง บุคคล 2 คนขึ้นไป ซึ่งมีการเห็นหน้า พูดคุย มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เช่น การแนะน าสินค้าของพนักงาน แพทย์หรือ พยาบาล เป็นต้น 1.3 การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (Large group communication) เป็นการสื่อสารกับคนหมู่ มาก เช่น การเรียน การสอน การบรรยาย การหาเสียง การอภิปรายในที่สาธารณะ หรือการประชุม ในบริษัท 1.4 การสื่อสารมวลชน (Mass communication) เป็นการสื่อสารไปสู่ผู้คนจ านวน มาก (การสื่อสาร ระดับมหภาค) โดยวิธีการสื่อสารชนิดต่างๆ กันไป เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ โฆษณา ใบปลิว แผ่นพับ เป็นต้น คือแม้ว่าบุคคลจะอยู่ต่างสถานที่กันก็สามารถรับทราบ ข่าวสารข้อมูลเหมือนกันได้ ผ่านทางสื่อต่างๆ เหล่านี้ 2. การจ าแนกประเภทการสื่อสารเพื่อการบริการ โดยใช้เกณฑ์การเห็นหน้า 2.1 การสื่อสารแบบเผชิญหน้า (Face to face communication)เป็นการสื่อสารที่ ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสาร ต่างเผชิญหน้ากันในการสนทนา เช่น บริกรต้องเข้ามารับ order จากลูกค้า แพทย์ต้องเข้าตรวจรักษา สอบถามอาการกับคนไข้ เป็นต้น 2.2 การสื่อสารแบบไม่เผชิญหน้า (Interposed communication) คือการสื่อสารที่ ไม่สารถเห็นหน้ากันได้ เพราะทั้งผู้รับสารและผู้ส่งสารต่างอยู่กันคนละที่ เช่น การส่งจดหมาย การ โทรศัพท์ เป็นต้น 3. จ าแนกประเภทของการสื่อสารเพื่อการบริการตามหลักวิชาการ 3.1 การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal communication) เป็นการสื่อสาร ภายในตัวบุคคล ซึ่งอาจมีผลมาจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น การอบรมเลี้ยงดู 3.2 การสื่อสารมวลชน (Mass communication) เป็นการสื่อสารไปสู่ผู้คนจ านวน มาก (การสื่อสาร ระดับมหภาค) โดยวิธีการสื่อสารชนิดต่างๆ กันไป เช่น หนังสือพิมพ์ 3.3 การสื่อสารในองค์กร (Organization communication) ซึ่งการสื่อสารภายมน องค์กรนี้มีความส าคัญอย่างมากต่อการพัฒนาสินค้าและบริการ เพราะบุคลากรจ าเป็นต้องทราบ นโยบาย ตลอดจนกลยุทธ์ต่างๆ 3.4 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural communication) มีความส าคัญ เช่นกันในงานบริการ เนื่องจากงานบริการที่ดีนั้น ไม่ควรจ ากัดเฉพาะบุคคลเชื้อชาติ ดังนั้นพนักงาน ควรเรียนรู้ 3.5 การสื่อสารด้านการสอน (Instructional Communication) 3.6 ระบบข่าวสาร (Information System) หากมองง่ายๆ คือระบบ E-Commerce เป็นระบบการสั่งซื้อ สินค้าทางอินเทอร์เน็ต 4. จ าแนกประเภทโดยการใช้ภาษาเป็นเกณฑ์


23 4.1 วจนภาษา (Verbal communication) เป็นการสื่อสารที่ใช้ถ้อยค า มีทั้งภาษพูด และภาษาเขียน เช่น การพูดเพื่อจูงใจให้ซื้อสินค้าและบริการ หรือใบปลิวโฆษณาโปรโมชั่น โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น 4.2 อวจนภาษา (Non-Verbal Communication) เป็นการสื่อสารที่ใช้อากัปกริยา แทนค าพูด เช่น การยก มือไหว้ลูกค้าเพื่อต้อนรับ การแสดงแววตา ท่าทางที่เป็นมิตร การสัมผัสมือ คนไข้เพื่อความอบอุ่นใจ หรือการ น าวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ มาเพื่อบริการลูกค้า ไม่ว่าจะเป็น โต๊ะ เก้าอี้ จาน ชาม ช้อน ส้อม ที่มีความสวยงาม แข็งแรง ทนทาน เหมาะแก่กาลเทศะเป็นต้น 3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร อริสโตเติล (Aristotle) เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับวาทศิลป์ (Rhetoric) เป็นอย่างมาก เนื่องจากในสมัยนัน การพูดชักจูงใจเป็นสื่อที่ส าคัญ จ าเป็นตองอาศยความสามารถในการพูดสูงอริสโตเติลได้วิเคราะห์กระบวนการพูดเพื่อชักจูงใจว่า มี องค์ประกอบที่ส าคัญคือผู้พูด(Speaker) ค าพูด (Speech) และผู้ฟัง (Audience) ซึ่งอาจเขียน เป็นแบบจ าลอง ได้ดังนี้ ภาพแบบจ าลองการสื่อสารของอริสโตเติล โดยที่การสื่อสารของอริสโตเติลนั้นผู้ส่งสารจะต้อง มีบุคลิกน่าเชื่อถือ มีความจริงใจ มี ความปรารถนาดีต่อผู้ฟัง มีการสังเกตอารมณ์และทศนัคติของผู้ฟังเพื่อเลือกถ้อยค าที่เหมาะสม เรียบเรียงค าพูดที่ดี โดยใช้หลักเหตุและ ผล มาสนับสนุนค าพูด การพูดจะต้องมีรูปแบบที่ชัดเจนมี การเน้นย าหากเรื่องนั้นๆ มีความส าคัญถึงแม้ แบบจ าลองการสื่อสารของอริสโตเติลจะเป็นแบบจ าลอง ที่เน้นในเรื่องวาทศิลป์แต่ก็เป็นแบบจ าลองที่เน้น กระบวนการสื่อสารต้นแบบที่คลาสสิก เพราะ แบบจ าลองอื่น ๆ ก็จะมีในเรื่องของ ผู้ส่งสาร (Sender) สาร (Message) และผู้รับสาร (Receiver) ด้วยเสมอตัวอย่างเช่น ผู้พูดเป็นคนขายประกันจะท าการสื่อสารไปยัง ลูกค้า “ถ้าหากว่าลูกของคุณพี เจ็บป่วยบ่อย ถ้าท าประกันให้น้องไว้จะดีนะ เพราะเมื่อเวลาเจ็บป่วยจะท าให้ เราประหยัดค่าใช้จ่ายได้ เยอะ และยงได้เป็นเงินออมสะสมอีกด้วย” จะเห็นได้ว่า จะมีหลักเหตุและผลเขามา สนับสนุนและมีุ การพูดถึงข้อเท็จจริงด้วยและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาที่มักจะใช้สื่อบุคคล ถ้าหากมีการใช้สื่อ บุคคล จะมีความสอดคล้องกับทฤษฎีการสื่อสารของอริสโตเติลอย่างชัดเจน ฮาโรลด์ ลาสแวลล์ (Harold Lasswell) ท าการวิจัยเรื่องการสื่อสารมวลชนไว้ในปีพ.ศ. 2491 และได้คิด สูตรการสื่อสารและกระบวนการสื่อสารที่สอดคล้องกัน โดยในการสื่อสารนั้นจะต้อง ตอบค าถามต่อไปนี้ให้ได้ คือ การจัดรายการวิทยกุระจายเสียงให้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพนั้นเราสามารถน าสูตร ของลาสแวลล์มาใช้ได้ เช่นเดียวกับ การสื่อสารธรรมดา คือ


24 •ใคร (Who) เป็นผู้ส่งหรือท าการสื่อสาร เช่น ในการอ่านข่าว ผู้อ่านข่าวเป็นผู้ส่ง ข่าวสารไปยังผู้ฟังทางบ้าน • พูดอะไรด้วยวัตถุประสงค์อะไร (Says what, with what purpose) เป็นสิ่งที่ เกี่ยวกับเนื้อหาข่าวสารที่ส่งไป ผู้ส่งจะส่งเนื้อหาอะไรโดยจะเป็นข่าวสารธรรมดา เพื่อให้ผู้รับทราบ ความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่าง ๆ ใน แต่ละวัน • โดยใช้วิธีการและช่องทางใด (By what means, in what channel) ผู้ส่งท าการส่ง ข่าวสารโดยการพูด การ แสดงกริยาท่าทาง ใช้ภาพหรืออาจจะใช้อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าเช่นไมโครโฟน หรือเครื่องงเล่นวีซีดี เพื่อถ่ายทอด เนื้อหาข่าวสารให้ผู้รับได้โดยสะดวก • ส่งไปยังใคร ในสถานการณ์อะไร (To whom, in what situation) ผู้ส่งจะส่ง ข่าวสารไปยังผู้รับ เป็นใครบ้าง เนื่องในโอกาสอะไร เช่น การอ่านข่าวเพื่อให้ผู้ฟังทางบ้านทราบ ถึงเหตุการณ์ประจ าวัน ผู้ส่งย่อมต้องทราบว่า ผู้รับเป็นกลุ่มใด เพื่อสามารถเลือกสรรเนื้อหาและ วิธีการส่งให้เหมาะสมกับ ผู้รับ • ได้ผลอย่างไรในปัจจุบันและอนาคต (With what effect, immediate and long term) การส่งข่าวสารนั้น เพื่อให้ผู้รับฟังผ่านไปหรือจดจ าด้วย ซึ่งต้องอาศัยเทคนิควิธีการที่แตกต่างกัน 4. ความส าคัญของการสื่อสาร การสื่อสารมีส่วนส าคัญอย่างยิ่งส าหรับมนุษย์เปรียบเสมือนลมหายใจและเป็นทักษะ ทีจ าเป็นต่อการด ารง อยู่ของมนุษย์อีกทั้งเป็นสิงทีแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการที่สูงส่งเหนือสัตว์ประเภท อื่นการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพจะเป็นตัวก าหนดและส่งผลให้การด ารงชีวิตของมนุษย์เกิดประสิทธิผล สูงสุด โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. การสื่อสารมความส าคัญต่อปัจเจกบุคคล ส าหรับความส าคัญของการสื่อสารต่อปัจเจกบุคคลนัน โดยทั่วไปคนเรามีความ ต้องการพื้นฐานประการหนึ่ง นอกเหนือจากปัจจัย นั่นคือความต้องการที่จะสื่อสารกับเพื่อนมนุษย์ ด้วยกน ความจ าเป็นในด้านการสื่อสาร เป็นความจ าเป็นพื้นฐานที่ต้องมีเพอให้ชีวิตอยู่รอดูซึ่ง แรงจงใจที่จะก่อให้เกิดการสื่อสารกันระหว่างคนเรานี้ อาจจะเป็นแรงจงใจที่เกิดจากความต้องการ อย่างตั้งใจหรือเป็นแรงจงใจที่เกิดจากจิตใต้ส านึกก็ได้แรงจูงใจที่ ก่อให้เกิดการสื่อสารระหว่างคนเรา มี ดังนี้คือ (Devito, 2000 : 6) 1.1 เพื่อค้นพบและเรียนรู้ การที่คนเราได้ติดต่อพูดคุยกับบุคคลอื่น จะท าให้เกิดการ ค้นพบตัวเองเกิดการ เรียนรู้และเข้าใจตนเอง เข้าใจบคคลุอื่นมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงการสื่อสาร ระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นการ แลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึกท าให้เราเรียนรู้ว่าแท้จริงแลวความรู้สึก เจ็บปวด ทุกข์ สุขหรือเศร้าของคนเรา ไม่ได้แตกต่างกันและนั้นเก็ป็นการเรียนรู้ที่จะเอาใจเขามาใส ใจเรา ส่วนการสื่อสารมวลชน ท าให้เราได้เรียนรู้ เกี่ยวกับโลกภายนอกมีความรู้เรื่องเศรษฐกิจ การเมืองการพัฒนากีฬา สงแวดล้อม ฯลฯ ตลอดจนสินค้าและ บริการใหม่ ๆ 1.2 เพื่อสร้างความสัมพันธ์ คนทกคนต้องการที่จะมีความรัก และได้รับความรักจาก บุคคลอื่นโดยพื้นฐานนี้ จึงเป็นแรงจูงใจส าคัญประการหนึ่งที่ท าให้มีการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันดังจะเห็นได้ว่า


25 ในเวลาที่เราเข้าไปอยู่ในสถานที่แปลกใหม่ ท่ามกลางบุคคล แปลกหน้าโดยไม่ได้พูดคุยกับใครเลยเราจะรู้สึก อึดัอดและไม่สบายใจ 1.3 เพื่อโน้มน้าวใจ ในการสื่อสารระหว่างบุคคล คู่สื่อสารซึ่งผลัดกันเป็นผู้สูงสารและ ผู้รับสาร ต่างก็พยายาม ที่จะเปลี่ยนความคิด โน้มน้าวทัศนคติและพฤติกรรมของอีกฝ่ายหนึ่งให้คล้อย ตามและเห็นด้วยกับตน ส่วนการ สื่อสารมวลชนนั้น เป็นที่ชัดเจนัวา เป็นสื่อที่มีการลงทนสูงสื่อดังกล่าว จะอยู่รอดได้ต้องมีการโฆษณา บริษัทผู้ผลิตสินค้าและให้บริการจึงใช้สื่อสารมวลชนี้เป็นสื่อโฆษณาจง ใจให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการสินค้า และบริการ 1.4 เพื่อความเพลิดเพลินแรงจงใจอีกประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการสื่อสารคือความ ต้องการที่จะลดความตึงเค รียดีหรือแสวงหาความพึงพอใจและความเพลิดเพลินในแต่ละวันคนเรา มักจะแสวงหาความเพลิดเพลิน และ ความบันเทิงในรูปแบบที่ตนพอใจ เช่น การฟังเพลง การชมละคร โทรทัศน ฯลฯ 2. การสื่อสารมความส าคัญต่อสังคม ส่วนความส าคัญของการสื่อสารในระดับสังคมนั้น มนุษย์ใช้การสื่อสารเป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอด วัฒนธรรมและกระบวนการขัดเกลาทางสังคมอันท าให้สังคมเกิดขึ้นและด ารงอยู่ได้ เราสามารถจ าแนก ความส าคัญของการสื่อสารต่อสังคมออกเป็น 6 ด้านได้ดังนี้ (Devito,2000 :8) 2.1 ด้านข่าวสาร เป็นการรวบรวม แยกแยะและกระจายข่าว ข้อเท็จจริงและความเห็น ซึ่งเป็นการท าให้เรา เข้าใจบุคคลอื่น ชุมชนอื่น สถานการณ์ภายใน และภายนอกประเทศก่อนที่จะ ตัดสินใจอย่างเหมาะสมในเรื่อง นั้น ๆ 2.2 ด้านการอยู่ร่วมกัน เป็นการสร้างสมความรู้ ความคิดร่วมกัน ซึ่งจะท าให้เราอยู่ใน สังคมได้ ด้วยการ ตระหนักว่า คนแต่ล่ะคนอาจท าตัวให้มีประโยชน์ต่อส่งคมได้ 2.3 ด้านแรงผลักดันนี้เป็นการส่งเสริม จุดมุ่งหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทั้งของ ส่วนตัวและสังคมทั้งนี้เพื่อกระตุ้นให้ทุกคนมีบทบาท เพื่อจดมุ่ง หมายร่วมกัน 2.4 ด้านการอภิปราย เป็นการให้ข้อมูลด้านต่าง ๆ เพื่อท าให้ปัญหาสงัคมชัดเจนขึ้นอัน น าไปสู่การสร้าง ความตระหนักและมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาร่วมกันและเพื่อท าให้ประชาชน สนในปัญหาหาของชุมชน 2.5 ด้านการศึกษาเป็นการกระจายความรู้ความเข้าใจเพื่อพัฒนาสติปัญญา สร้าง ลักษณะนิสัยและทักษะ ตลอดจนถ่ายทอดมรดกทางสังคม 2.6 ด้านความสามัคคี เป็นการให้โอกาสผู้คนกลุ่มชนและเชื้อชาติต่าง ๆ ได้แสวงหา ข้อมูลจากแหล่งที่ หลากหลาย เพื่อช่วยให้พวกเขารู้จักและเข้าใจความคิดเห็นและความใฝ่ ฝันของกัน และกันการสื่อสารจึง เปรียบได้กบเส้นใยของสังคมกล่าวคือเปืนเครื่องมือส าคัญของปัจเจกบุคคและ สังคมเพื่อให้บุคคลและสังคม ด ารงอยู่ได้ผู้ที่เปิดรับการสื่อสาร และมีข้อมูลมากกว่ายอมมอ านาจในการ ตัดสินใจและการต่อรองมากกว่า


26 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ 1. ความหมายของความพึงพอใจ ค าว่า “ความพึงพอใจ” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Satisfaction” ซึ่งมีความหมายโดย ทั่ว ๆ ไปว่า“ระดับ ความรู้สึกในทางบวกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง” และมีนักวิชาการและนักจิตวิทยา ให้ความหมายไว้ดังนี้ เชลลี่ (Shally,1975 : 252) ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ สรุปได้ว่าความพึง พอใจเป็น ความรู้สองแบบของมนุษย์คือความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวก เป็นความรูสึกที่ เกิดขึ้น แล้วจะท าให้มีความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจากความรู้สึก ทางบวกอื่นๆ กล่าวคือ เป็น ความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับ ความสุขสามารถท าให้เกิดความสุขทางบวก เพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ความสุขเป็นความรู้สึกที่ซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคล มากกว่าความรู้สึกทางบวกอื่นๆ ความรู้สึก ทางลบ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึก มีความสัมพันธ์ ของความรู้สึกทั้งสามนี้เรียกว่า ระบบความพึงพอใจ โดยความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อระบบความพึง พอใจมีความรูสึกทางบวกมากกวาทางลบ มัลลิน (Mullin,1985 : 280) กล่าวว่าความพึงพอใจเป็นทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งต่างๆ หลายด้านเป็น สภาพภายในที่มีความสัมพันธ์กับความรู้สึกของบุคคลที่ประสบความส าเร็จในงานทั้ง ด้านปริมาณและคุณภาพ เกิดจากการที่มนุษย์มีแรงผลักดันบางประการในตนเองและพยายามจะ บรรลุเป้าหมาย บางอย่างเพื่อที่จะ ตอบสนองต่อความต้องการ หรือความคาดหวังที่มีอยู่และเมื่อบรรลุ เป้าหมายนั้นแล้วจะเกิดความพึงพอใจเป็น ผลสะท้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นเป็นกระบวนการหมุนเวียน ศิริวรรณ เสรีรัตน (2541 : 56-58) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจ (Satisfaction) หมายถึง ความรูสึกที่ดีของ บุคคลที่ได้รับการตอบสนองเมื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในสิ่งที่ต้องการ และคาดหวัง ความพึงพอใจเป็นความชอบ ของแต่ละบุคคลซึ่งระดับความพึงพอใจของแต่ละบุคคลยอมแตกต่างกัน อาจเนื่องจาก พื้นฐานทางการศึกษา ทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมความพึงพอใจของ มนุษย์เป็น ความพยายามที่จะขจัดความตึง เครียด (Tension) หรือความกระวนกระวาย (Discomfort) หรือ ภาวะไม่สมดุลยภาพ (Disequilibrium) ใน ร่างกายเมื่อมนุษย์สามารถขจัดสิ่ง ต่างๆ เหล่านี้ไปได้แล้ว มนุษย์ย่อมจะได้รับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนเอง ต้องการ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 775) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ชอบใจ พฤติกรรมเกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษย์คือ ความ พยายามที่จะขจัดความตึง เครียด หรือความกระวนกระวาย หรือภาวะไม่ได้ดุลยภาพในร่างกาย ซึ่งเมื่อมนุษย์สามารถ ขจัดสิ่งต่างๆ ดังกล่าวได้แล้ว มนุษย์ย่อมได้รับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนต้องการ วัฒนา เพชรวงศ์ (2542 : 195) ได้ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกหรือ ทัศนคติทางด้าน บวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความ ต้องการให้แก่บุคคลนั้นได้แต่ ทั้งนี้ความพึงพอใจของแต่ละบุคคล ย่อมมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ ค่านิยมและประสบการณที่ได้รับ สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง (2542 : 278-279) สรุปว่า 1) ความพึงพอใจเป็นผลรวมของความรู้สึกของบุคคลเกี่ยวกับระดับความชอบ หรือไม่ชอบ ต่อสภาพต่างๆ


27 2) ความพึงพอใจเป็นผลของทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบต่างๆ 3) ความพึงพอใจในการท างานเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานที่ดีและส าเร็จจนเกิด เป็นความภาคภูมิใจและได้ ผลตอบแทนในรูปแบบต่างๆตามที่หวังไว้ สรุปได้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึก ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึกทางบวก หรือ ความรู้สึก ทางลบ ของบุคคลที่มี ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความพึงพอใจของแต่ละบุคคลไม่มีวันสิ้นสุด มีการเปลี่ยนแปลง ได้อยู่ตลอดเวลาและ สภาพแวดล้อม ดังนั้นแต่ละบุคคลจึงมีโอกาสที่จะไม่พอใจในสิ่งที่เคยพึงพอใจ มาแล้ว 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ มาสโลว์ (Maslow, 1970 : 69) ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกที่ดี ที่ชอบ ที่พอใจหรือที่ ประทับใจของ บุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ได้รับโดยสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการทั้งด้านร่างกาย และจิตใจบุคคลทุกคน มีความต้องการหลายสิ่งหลายอย่าง และมีความต้องการหลายระดับ ซึ่งหาก ได้รับการตอบสนองก็จะก่อให้เกิด ความพึงพอใจ การจัดการเรียนรู้ใด ๆ ที่จะท าให้ผู้เรียนเกิดความพึง พอใจ การเรียนรู้นั้นจะต้องตอบสนอง ความต้องการของผู้เรียนด้วย ฮิลการ์ด และคนอื่นๆ (Hillgard, et al, 1971 : 304-305) กล่าวว่าสิ่งจูงใจ(incentive) ที่ท าให้เกิด ความพึงพอใจเป็นสิ่งจูงใจทางบวก (positive incentive) ซึ่งได้แก่ กิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็น สภาพแวดล้อมทาง วัตถุที่จะสร้างความพึงพอใจตามเงื่อนไขของความต้องการ เช่น อาหาร เป็น สิ่งจูงใจที่สร้างความพึงพอใจต่อ แรงขับ (drives) เกี่ยวกับความหิวน้ าเป็นสิ่งจูงใจทางบวกก็ไม่ได้สร้าง ความพอใจต่อความต้องการทาง กายภาพ แต่อาจเกิดจากสาเหตุเฉพาะตัวของบุคคล เช่น รสอาหาร อาจเป็นความพึงพอใจของแต่ละบุคคล แม้ว่าจะไม่ได้ให้คุณค่าทางอาหาร เชลเลย์ (Shelley, 1975 : 252-268) ได้ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ สรุป ได้ว่า ความพึง พอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์คือความรู้สึกทางบวก และความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็น ความรู้สึกที่เกิดขึ้นแล้วจะท าให้เกิดความสุข ความรู้สึกนี้เป็นความรู้สึกที่ แตกต่าง จากความรู้สึกทางบวกอื่นๆ กล่าวคือเป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับ สามารถท าได้เกิด ความสุข หรือความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ความสุขเป็นความรู้สึกที่ สลับซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึก ทางบวกอื่นๆ คอตเลอร์ (Kotler, 2000 : 36) ได้กล่าวไว้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกยินดีหรือ ผิดหวังของบุคคลจาก การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ได้รับ (perceived) กับความคาดหวัง (expectations) ของเขาถ้า สิ่งที่ได้รับไม่เพียงพอหรือต่ ากว่าความคาดหวังบุคคลนั้นก็จะไม่พอใจ (dissatisfied) ถ้าสิ่งที่ได้รับเป็นไปตาม คาดหวังบุคคลนั้นก็จะเกิดความพึงพอใจ(satisfied)


28 3. ลักษณะและวิธีการประเมินความพึงพอใจ ความพึงพอใจ เป็นสิ่งที่เกิดจากแรงจูงใจ ซึ่งเป็นพลังภายในผลักดันให้เกิดความรู้สึกชอบ ไม่ชอบ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ยินดี ไม่ยินดี เมื่อ ได้รับการตอบสนองความต้องการและ ความ คาดหวัง ที่เกิดจากการประมาณ ค่า อันเป็นการ เรียนรู้ประสบการณ์จากการกระท ากิจกรรมเพื่อให้เกิดการ ตอบสนองความต้องการ ตาม เป้าหมาย ของแต่ละบุคคล เป็นกระบวนการทางจิตวิทยา การประเมิน ความพึงพอใจเป็นการประเมินค่า ความรู้สึกไปในทางที่พอใจและไม่พอใจ ในเชิง ปริมาณ (magnitude) มีรายละเอียด ดังนี้ 1) ลักษณะของการประเมินความพึงพอใจ มีดังนี้ (บังอร ผงผ่าน, 2538) 1.1 การประเมินความพึงพอใจ ด้าน ความรู้สึก เป็นลักษณะการประเมินทาง ความรู้สึก หรืออารมณ์ของบุคคลตามองค์ประกอบทาง ความรู้สึก ได้แก่ ความรู้สึกทางบวก เป็น ความชอบ พอใจ และความรู้สึกทางลบ เป็นความไม่ชอบ ไม่ พอใจ กลัว รังเกียจ 1.2 การประเมินความพึงพอใจ ด้าน ความคิด เป็นการประเมินการรับรู้ของบุคคล และ วินิจฉัยข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับที่เกิดเป็นความรู้ความคิด เกี่ยวข้องกับการพิจารณาที่มาของ ทัศนคติออกมากว่าถูกหรือผิด ดีหรือไม่ ดี ที่เกิด จากการประมวลผลของสมอง 1.3 การวัดความพึงพอใจในด้าน พฤติกรรม เป็นการวัดความพร้อมที่จะกระท าหรือ พร้อมที่จะตอบสนอง ที่มาของพฤติกรรม 2) วิธีประเมินความพึงพอใจ การประเมิน ความพึงพอใจมีการประเมินหลายวิธี ได้แก่ การ สังเกต การ สัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ (พรนภา เตียสุทธิกุล พัฒนา พรหมณีจานนท์ศรีเกตุ นาวิน มีนะกรรณ และสุวุฒิพงษ์วารินศาสตร์,2561; มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมาธิราช, 2556; พรชัย ค า สิงห์นอก, 2550) 2.1 การสังเกต เป็นวิธีการส าหรับใช้ตรวจสอบบุคคลอื่นโดยการสังเกตพฤติกรรม และจดบันทึกความพึงพอใจ ที่แสดงออกมาในประเด็น ที่ต้องการประเมินอย่างมีแบบแผน โดยผู้ สังเกตจะ ไม่มีการปฏิบัติการหรือมีส่วน ร่วมกับผู้ถูกสังเกต ต่อจากนั้นจึงน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ สรุปและ ตีความตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน วิธีนี้เป็นวิธีการศึกษาที่เก่าแก่และเป็นที่นิยมใช้ อย่างแพร่หลายที่ใช้ส าหรับการศึกษาในกรณีศึกษาเท่านั้น 2.2 การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการที่ผู้ประเมินจะต้องออกไปพูดคุยกับบุคคลนั้นๆ โดยตรง มีการเตรียมแผนล่วงหน้า เป็นการถาม ให้ตอบปากเปล่า แต่อาจไม่ได้ข้อมูลที่แท้จริงจาก ผู้ตอบ เนื่องจากผู้ตอบอาจรู้สึกไม่อิสระในการตอบ หรือไม่คุ้นเคยกับผู้ถาม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง มากที่สุด ควร เตรียมตัวให้พร้อมก่อนด าเนินการ สัมภาษณ์ควรลงพื้นที่เพื่อท าความคุ้นเคยก่อน ให้ เกิดความสนิทสนม และ ความไว้เนื้อเชื่อใจ ซึ่งจะช่วยให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุด 2.3 การใช้แบบสอบถามประมาณค่า เป็นการประเมินโดยใช้เครื่องมือที่เป็นการ สร้าง ประโยคข้อความต่างๆ ทั้งที่เป็นข้อความทางบวกและข้อความทางลบที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร ที่ต้องการประเมิน โดยให้ผู้ตอบแสดง ความคิดเห็น ว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับข้อความแต่ละข้อนั้นโดยใช้มาตรประเมินแบบมาตรประมาณค่า


29 (Rating Scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert Scale) เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก สามารถ เก็บ ข้อมูลได้รวดเร็ว 4. การสร้างแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ แบบสอบถามความพึงพอใจให้ความส าคัญ ต่อข้อความค าถามที่ต้องมีความครอบคลุม ในช่วงของความพึง พอใจทั้งหมด แต่ละข้อความจะระบุความพึงพอใจที่มีอยู่วิธีการสร้าง แบบสอบถาม ความพึงพอใจ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556) มีดังนี้ 1) ก าหนดเป้าหมายของความพึงพอใจว่าคืออะไร มี โครงสร้างลักษณะใด ซึ่งควร ก าหนดเป้าหมายให้ชัดเจนเป็นเรื่อง ๆ ลงไปว่าจะประเมิน ความพึงพอใจด้าน ใดบ้าง จากนั้นให้ ความหมาย ของความพึงพอใจว่าหมายถึงอะไรบ้าง ต่อไปจึงก าหนดโครงสร้างของความพึง พอใจว่า ประกอบด้วย ด้านใดบ้าง แต่ละด้านจะประกอบด้วยตัวแปร อะไรบ้าง ซึ่งอาจก าหนดประเด็นกว้าง ๆ เป็นข้อ ๆ 2) รวบรวมข้อค าถามเกี่ยวกับความพึงพอใจ ที่มีต่อเป้าหมาย หลีกเลี่ยงข้อความ ก ากวม ไม่น้อยกว่า 20 ข้อ โดยก าหนดข้อค าถาม จาก โครงสร้างความพึงพอใจที่ได้ก าหนดไว้แล้ว แบ่งเป็นด้าน ๆ แล้วสร้างและรวบรวม ข้อค าถาม แต่ละด้านตามประเด็นที่ก าหนดไว้ 3) น าข้อค าถามที่สร้างแล้วไปทดลองใช้เพื่อตรวจสอบความชัดเจนของข้อค าถามว่า ตรงตาม โครงสร้างของ การประเมินความพึงพอใจตามที่ได้ก าหนดไว้แล้วในแต่ละด้าน และในแต่ละ ประเด็นย่อยหรือไม่ หากมีความ คลุมเครือหรือไม่ชัดเจนจะได้แก้ไขก่อนสร้างเป็นแบบสอบถาม จากนั้นทดลองใช้กับผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 10 เท่า ของจ านวนข้อในพื้นที่ที่คล้ายคลึงกัน หรือใกล้เคียง กับพื้นที่ในการเก็บข้อมูลจริง 4) ก าหนดน้ าหนักในการตอบแต่ละตัวเลือก โดยก าหนดน้ าหนักคะแนนเป็น 5, 4, 3, 2, 5. การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามความพึงพอใจ การตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม ความพึงพอใจ เป็นการตรวจสอบแบบสอบถาม ทั้งฉบับ โดยตรวจสอบ ความตรง (Validity) และ ความเที่ยง (Reliability) มีวิธีการดังนี้ (พรนภา เตียสุทธิกุล และคณะ, 2561; มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2556) 1. การตรวจสอบความตรง มีการตรวจสอบ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.1 การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ด้วยค่าดัชนีความสอดคล้อง( Index of Congruence=IOC) โดยน า แบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 คน พิจารณาตรวจสอบ ให้ คะแนนความตรงเชิงเนื้อหา เป็นรายข้อ แต่ละข้อต้องมีค่า IOC ระหว่าง 0.50-1.0 จากนั้นน าผลการ ตรวจสอบรายข้อมาหาค่าความตรงเชิงเนื้อหา ของแบบสอบถามทั้งฉบับ ซึ่งต้องมีค่า IOC ตั้งแต่0.50 ขึ้นไป วิธีนี้เป็นวิธีที่มีผู้นิยมน าไปใช้มากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยาก แม้ว่าค าตอบที่ได้จะน่าเชื่อถือ น้อยที่สุดก็ตาม ซึ่งมักจะขึ้นอยู่กับความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญเป็นส าคัญ 1.2 การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง โดยน าแบบสอบถามความพึงพอใจไป ทดลองใช้ประเมินในกลุ่มมีคุณลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มที่จะเก็บข้อมูลจริง 2 กลุ่ม ด้วยวิธีเทคนิคกลุ่ม รู้ชัด (Known Group Technique) กลุ่มแรกเป็นกลุ่มที่ทราบว่ามีความพึงพอใจในงานที่ต้องการ ประเมินกับอีก


30 กลุ่มหนึ่งไม่ทราบความพึงพอใจในงาน น าค่าเฉลี่ยของคะแนนของสองกลุ่มมา เปรียบเทียบ กันด้วยค่าสถิติที (t-test) หากผลการทดลองใช้แบบสอบถามมีนัยส าคัญทางสถิติแสดงว่า มีความตรงเชิงโครงสร้าง 2. การตรวจสอบความเที่ยง มีการตรวจสอบ 2 วิธีดังนี้ 2.1 การตรวจสอบความเที่ยงด้วยการทดสอบซ้ า โดยน าแบบสอบถามไปทดลองใช้ กับกลุ่มเป้าหมาย 2 ครั้ง ห่างกัน 1 - 2 สัปดาห์น าผลคะแนนมาหาค่าสหสัมพันธ์ตามสูตร ของเพียร์สัน ซึ่งต้องมีค่าตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป จึงจะเป็นแบบสอบถามที่สามารถน าไปใช้ได้ 2.2 การตรวจสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค โดยน าแบบสอบถามไปทดลองใช้ กับกลุ่มเป้าหมาย 1 ครั้ง น าผลคะแนนมาวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ซึ่งจะต้องมีค่าตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป จึงจะเป็น แบบสอบถามที่สามารถน าไปใช้ได้ 6. การแปลความหมายคะแนนและการก าหนดระดับความพึงพอใจ การก าหนดระดับของความพึงพอใจด้วยแบบสอบถาม มีวัตถุประสงค์เพื่อบ่งชี้ระดับ ความพึงพอใจของ กลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มตัวอย่างซึ่งมีเกณฑ์ในการก าหนดน้ าหนักคะแนน ความพึงพอใจ ดังนี้ (พรนภา เตียสุทธิ กุล และคณะ, 2561; บุญชม ศรีสะอาด, 2545) เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าน้ าหนัก คะแนนเฉลี่ยโดยรวมของความพึงพอใจ มีดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) กล่าวโดยสรุป การวัดความพึงพอใจเป็นการประเมินความรู้สึก ความคิด และ พฤติกรรมที่มีต่อการ จัดการเรียนรู้ สามารถประเมินได้จากวิธีการสังเกต การสัมภาษณ์ และการ สอบถาม ที่นิยมใช้กันส่วนมากคือ การใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นอย่างรอบคอบถูกต้องตามทฤษฎีของ การวัดและประเมินผล และแปลผลเพื่อน าไปปรับปรุง หรือพัฒนา ใช้ประโยชน์ในการด าเนินงานตาม ความ ต้องการต่อไป


31 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการ สอนแบบ ตอบสนองด้วยท่าทาง ที่ผู้วิจัยได้ศึกษาประกอบด้วยงานวิจัยในประเทศและงานวิจัย ต่างประเทศ ดังนี้ 1. งานวิจัยในประเทศ ค าพันธุ์ แสนสุข และ อุบล สรรพัชญพงษ์(2556) ได้ท าการศึกษาทักษะฟัง-พูดของนักเรียน การเรียนการ สอน ที่เน้นท่าทาง และการแสดงประกอบท่าทาง (Total Physical Responses) เพื่อ กระตุ้นให้นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเพิ่งเริ่มเรียนภาษาอังกฤษ ประชากรในการวิจัย ประกอบด้วย ครูผู้วิจัยในชั้นเรียน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยคือ 1.แผนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 4 แผน และ 2.แบบประเมินทักษะการฟังและการพูด ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต และเอกสาร มี สถิติที่ใช้ในการ หาค่าเฉลี่ยร้อยละและค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การสอนด้วยวิธีตอบสนองด้วย ท่าทาง ช่วยให้นักเรียนฟังอย่าง ตั้งใจ ให้ความร่วมมือในการออกท่าทางรวมทั ้งออกเสียงค าศัพท์วลี และ ประโยคสั้นๆ พร้อมแสดง ท่าทางประกอบสิ่งที่ฟังได้ นักเรียนมีความสนุกสนานและให้ความร่วมมือในการ เรียนอย่างดี เมื่อ ทดสอบ การฟังนักเรียนโต้ตอบได้ถูกต้อง ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมที่ใช้ ประกอบการสอน พร้อมท่าทาง เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ช่วยให้นักเรียนสนใจฟัง ส่งผลให้การพูดชัดเจน นักเรียน กล้าแสดงออกและให้ความ ร่วมมือในการเรียนการสอนดีขึ้น แสดงค่าทางสถิติปรากฏว่าอยู่ที่ระดับ 0.05 ซีรีน ชุมวรฐายีและ ดร.สิตา มูสิกรังสี (2557) ได้ท าการศึกษาประสิทธิผลของการสอนแบบ ตอบสนองด้วย ท่าทางต่อการเรียนรู้ค าศัพท์และความคงทนในการจดจ าค าศัพท์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที1 กลุ่ม ตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 จ านวน 25 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่แผนการสอน แบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน และแบบทดสอบหาความคงทน รวมทั้งการสัมภาษณ์ เป็นรายบุคคล ข้อมูลที่ได้น ามาวิเคราะห์ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที ผลสรุปจากการวิจัย พบว่าความสามารถในการ รับรู้ค าศัพท์ของนักเรียนเพิ่มขึ้นอยางมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 คะแนนเฉลี่ยในผลของความคงทนสูง กวาคะแนนเฉลี่ยหลังสอน และหมวดค าศัพท์ ที่นักเรียนเกิดการพัฒนาสูงสุด คือ หมวดค าบอกความรู้สึก พัชรินทร์ เนาว์ศรีสอน (2558) ได้พัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษด้วยเทคนิค CIRC ร่วมกับ เทคนิค TPR ที่ส่งผลต่อการอ่านจับใจความ การคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่าน ภาษาอังกฤษด้วย เทคนิค CIRC ร่วมกับเทคนิค TPR ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบการอ่านจับใจความของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียน 3) เปรียบเทียบการคิด วิเคราะห์ ของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียน 4) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระหว่างก่อนและ หลังเรียน และ 5) เปรียบเทียบการอ่านจับใจความ การคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ของ นักเรียนที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่างกัน หลังเรียนด้วยชุดฝึกทักษะการอ่าน ภาษาอังกฤษด้วยเทคนิค CIRC ร่วมกับเทคนิค TPR กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองบัว


32 สร้างวิทยาคาร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จ านวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยในการ สุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษด้วยเทคนิค CIRC ร่วมกับเทคนิค TPR จ านวนทั้งหมด 10 ชุด 2) แบบทดสอบวัดการอ่านจับใจความ 3) แบบทดสอบวัด การคิดวิเคราะห์ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t – test for Dependent Samples) การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณร่วม ทางเดียว (One – way MANCOVA) และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมทางเดียว (One - way ANCOVA) 2. งานวิจัยต่างประเทศ Ngo Thi Cam Anh and Pham Vu Phi Ho (2014) ได้ท าการศึกษาผลของการใช้แนวทาง TPR ในการ สอนค าศัพท์ส าหรับผู้เรียนที่อายุน้อย และส ารวจทัศนคติของผู้เรียนวัยเยาว์ที่มีต่อการ เรียนรู้ค าศัพท์โดยใช้ แนวทาง TPR เมื่อน า TPR ไปใช้ในการสอน EFL และสร้างประสิทธิผลกิจกรรม ในห้องเรียน จากการทบทวน วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจะเกิดความหมายในการสอนเพื่อช่วยให้ครู EFL ค านึงถึง TPR ในขณะที่สอน ภาษาต่างประเทศและท าความคุ้นเคยกับ EFL ซิซิห์ นูเรนี(2019) ได้ท าการศึกษาการใช้วิธีการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง Total Physical Response (TPR) ในการสอนภาษาอังกฤษส าหรับผู้เรียนรุ่นเยาว์ (ELT) ที่ Panti Asuhan Yauma วิธีการ วิจัยเป็นเชิงคุณภาพเชิงพรรณนา ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้อธิบายถึงกิจกรรมที่ด าเนินการ โดยครูและนักเรียนโดย ใช้วิธี TPR แหล่งข้อมูลมาจากครูและนักเรียนใน Panti Asuhan Yauma Jakarta ชั้นเรียนประกอบด้วย นักเรียน 30 คนซึ่งมีอายุประมาณ 5 ถึง 11 ปี ข้อมูลที่เก็บรวบรวมผ่าน การสังเกตในกิจกรรมการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบก่อนและหลังการทดสอบมีการประเมิน ตามเกณฑ์ คือค าศัพท์และความเข้าใจ แบ่งออกเป็น 5 องค์ประกอบ เช่น ความถูกต้องของค า การ เข้าใจแต่ละค า การเลือกใช้ค า การเข้าใจ ความหมาย และการพูดอย่างง่าย ผลการวิจัยพบว่า คะแนน ค าศัพท์ดีขึ้น 27.40 คะแนน และคะแนนความ เข้าใจ 28.77 คะแนน ผลการวิจัยพบว่าเมื่อใช้วิธี TPR เด็กๆ สนุกสนานและกระตือรือร้นในการเรียน ภาษาอังกฤษเป็นอย่างมาก ผู้วิจัยหวังว่าการศึกษานี้จะ มีส่วนช่วยในกิจกรรมการสอนและการเรียน ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะการสอนภาษาอังกฤษส าหรับ ผู้เรียนรุ่นเยาว์ ได้รับการพิสูจน์โดยคะแนนจากการ ทดสอบก่อนการทดสอบและหลัง


33


34 บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง ซึ่งผู้วิจัยได้ ด าเนินการศึกษาตามหัวข้อ ที่ส าคัญ ได้แก่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบบแผนการวิจัย เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านหนองหาน(วันครู ๒๕๐๒) อ าเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี จ านวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 30 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้าน หนองหาน (วันครู ๒๕๐๒) อ าเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยใช้ วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1.แบบแผนการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One Group Pretest – Posttest Design) (พวงรัตน์, 2543: 60-61) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนแบบแผนการวิจัย T1 หมายถึง การทดสอบก่อนเรียน X หมายถึง การสอนค าศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้บอร์เกม T2 หมายถึง การทดสอบหลังเรียน


35 2.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง จ านวน 8 แผนการ จัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ละ 1 ชั่วโมง รวม 8 ชั่วโมง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบวัดความสามารถในสื่อสารภาษาอังกฤษ สร้างขึ้นเพื่อวัดความสามารถในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย 3 ตัวเลือก เพื่อวัดความสามารถในการ สะกดค าศัพท์ การออกเสียง การบอกความหมาย และการน า ค าศัพท์ไปใช้ จ านวน 20 ข้อ 2.2 แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการ ตอบสนองด้วยท่าทาง จ านวน 20 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ตามวิธีของ ลิเคิร์ท (Likert) 5 ระดับ 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง และเครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบ วัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษก่อนเรียน และหลังเรียน 3) แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้จ านวน 8 แผน แผนการจัดการเรียนรู้ละ 1 ชั่วโมง รวม 8 ชั่วโมง ตามขั้นตอนดังนี้ 1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร และหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 1.2 วิเคราะห์และก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.3 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) โดยให้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ก าหนดไว้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้


36 1.3.1 เรื่อง My body จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.2 เรื่อง Occupations จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.3 เรื่อง Sport จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.4 เรื่อง Animals จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.5 เรื่อง Action classroom จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.6 เรื่อง Feeling and Emotion จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.7 เรื่อง Numbers จ านวน 1 ชั่วโมง 1.3.8 เรื่อง What do I have จ านวน 1 ชั่วโมง 1.4 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ และการวัดผลและประเมินผล เพื่อตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิง เนื้อหา (Content Validity) ของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความ สอดคล้อง (Index of item objective congruence: IOC) ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้และ การวัดประเมินผล โดยให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละท่านพิจารณาตรวจสอบให้ คะแนน ดังนี้ ให้คะแนนเป็น +1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ มี ความเหมาะสมและสอดคล้องกัน ให้คะแนนเป็น 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ มี ความเหมาะสมและสอดคล้องกัน ให้คะแนนเป็น –1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ มี ความไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกัน แล้วน าคะแนนที่ได้มาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยดัชนีความสอดคล้องขององค์ประกอบ ที่มีค่า IOC ที่ใช้ได้มีค่าระหว่าง 0.67 – 1.00 1.5 ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญน าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการ ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน คละ ความสามารถ เพื่อดูความเหมาะสมของกระบวนการจัดการ เรียนรู้ เวลาที่ใช้และปัญหาที่เกิดขึ้น แล้วน ามา ปรับปรุงแก้ไข 1.6 น าแผนการจัดการเรียนรู้ ไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อไป


37 ขั้นตอนการสร้างแผนจัดการเรียนรู้การสอนภาษาอังกฤษโดยเทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) สามารถสรุปสาระส าคัญ ดังแผนภาพที่ 3 ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้การสอนภาษาอังกฤษโดยเทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B)


38 2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า 4 ระดับ โดยใช้ เกณฑ์การประเมิน (Rubric Score) ประเมินทั้ง 4 ทักษะ จ านวน 1 ฉบับ ตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลทางการศึกษาในเรื่องการวัด ความสามารถในการ สื่อสารภาษาอังกฤษ วิธีสร้างแบบทดสอบ และการเขียนข้อสอบตามกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 2.2 วิเคราะห์และก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ค าศัพท์ภาษาอังกฤษ จากนั้นสร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.3 สร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ เป็นแบบปรนัย โดยวัดผลการเรียนรู้ 4 ด้าน ตามแนวคิดของคอล์ฟเฟอร์ (Klopfer, 1971) คือ ด้านความรู้ความจ า ด้านความเข้าใจ ด้านการน า ความรู้ไปใช้ จ านวน 20 ข้อ 2.4 น าแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ เสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ และการวัดผลและ ประเมินผล เพื่อ ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบทดสอบวัด ความสามารถในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item objective congruence: IOC) ระหว่างข้อค าถามและจุดประสงค์การเรียนรู้โดยให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละ ท่านพิจารณาตรวจสอบให้คะแนน ดังนี้ ให้คะแนนเป็น +1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบทดสอบวัด ความสามารถทางการสื่อสาร มีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน ให้คะแนนเป็น 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบทดสอบวัด ความสามารถทางการสื่อสาร มีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน ให้คะแนนเป็น –1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบทดสอบวัด ความสามารถทางการสื่อสาร มีความไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกัน แล้วน าคะแนนที่ได้มาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบทดสอบ โดยดัชนี ความสอดคล้องขององค์ประกอบ ที่มีค่า IOC ที่ใช้ได้มีค่าระหว่าง 0.67 – 1.00 2.5 ปรับปรุงแก้ไขแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ตาม ข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญแล้วน าไปทดสอบกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ที่ผ่านการเรียนรู้ด้วย เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง แล้วน าคะแนนการทดสอบมา วิเคราะห์หาความยากง่าย (p) และ อ านาจจ าแนก (r) เป็นรายข้อ โดยมีความยากง่ายระหว่าง 0.21 – 0.75 และอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.23 – 0.65 2.6 น าแบบทดสอบวัดความสามารถในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ จ านวน 30 ข้อ ที่ คัดเลือกไว้ มาวิเคราะห์ หาความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยค านวณจากสูตร KR -20 โดยพิจารณาค่าความ


39 เชื่อมั่นทั้งฉบับตั้งแต่ 0.72 2.7 น าแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษที่หาคุณภาพ เรียบร้อยแล้วไปทดลองใช้ กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อไป ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ สามารถสรุป สาระส าคัญได้ดังภาพ ที่ 4


40 3. แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบ ตอบสนองด้วยท่าทาง


41 จ านวน 20 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิ เคิร์ท (Likert) 5 ระดับ 3.1 ศึกษาเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบวัดความพึงพอใจตามวิธีของ ลิเคิร์ท (Likert) 3.2 สร้างแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการ สอนแบบตอบสนองด้วย ท่าทาง เป็นแบบวัดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับตามวิธีของไลเคิร์ท (Likert,s Scale) โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ 5 4 3 2 และ 1 ซึ่งหมายถึง มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อยที่สุด จ านวน 1 ฉบับพิจารณา โดยรวม 3 ด้าน คือ 1) ด้านความรู้สึกต่อกิจกรรมการ เรียนรู้ 2) ด้านการแสดงออกต่อกิจกรรมเกมการเรียนรู้ 3) ด้านการเห็นประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response - Body: TPR-B) 3.3 น าแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสอน แบบตอบสนองด้วย ท่าทาง เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความเหมาะสมของข้อความ และความ เที่ยงตรง (Validity) จ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ และการวัดผลและ ประเมินผล เพื่อตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) ของแบบวัดความพึง พอใจ โดยพิจารณาจากค่าดัชนีความ สอดคล้อง (Index of item objective congruence : IOC) ระหว่างข้อค าถามและเนื้อหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ แต่ละท่านพิจารณาตรวจสอบให้คะแนนดังนี้ ให้คะแนนเป็น +1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบวัด มีความเหมาะสมและ สอดคล้องกัน ให้คะแนนเป็น 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบวัด มีความเหมาะสมและ สอดคล้องกัน ให้คะแนนเป็น -1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบของแบบวัด มีความไม่เหมาะสม และไม่สอดคล้องกัน แล้วน าคะแนนที่ได้มาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบวัด โดยดัชนีความ สอดคล้องขององค์ประกอบ ที่มี ค่า IOC ที่ใช้ได้มีค่าระหว่าง 0.67 – 1.00 3.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบวัดความพึงพอใจตามที่ผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะ แล้วน าไป ทดลองใช้ (Try Out) กับ กลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน แล้วน าแบบวัดความพึงพอใจมาหา คุณภาพ 3.5 หาคุณภาพของแบบวัดความพึงพอใจเป็นรายข้อ โดยหาค่าจ าแนกโดยวิธี (Item Total Correlation หรือ t-test) พบว่า ได้ข้อที่เข้าเกณฑ์ที่มีค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.23 – 0.67 3.6 น าแบบวัดความพึงพอใจที่คัดเลือกไว้มาหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (หรือราย ด้าน) ด้วยสัมประสิทธิ์ แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) พบว่า ได้ค่า ความเชื่อมั่นทั้งฉบับของแบบ วัดความพึงพอใจ มีค่าเท่ากับ 0.88 3.7 น าแบบวัดความพึงพอใจที่หาคุณภาพเรียบร้อยแล้วไปพิมพ์เป็นฉบับจริงเพื่อ น าไปเก็บข้อมูลกับ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อไป


Click to View FlipBook Version