The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book กนกพร มะลิฉิม เลขที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanokporn.malichim, 2022-03-04 21:06:51

E-Book กนกพร มะลิฉิม เลขที่ 1

E-Book กนกพร มะลิฉิม เลขที่ 1

2

รายงาน
เรอื่ ง นวัตกรรม คอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ นต็ ทางการศึกษา

จดั ทำโดย
นางสาวกนกพร มะลฉิ ิม
รหสั นสิ ิต 64655001-2
นกั ศกึ ษาประกาศนียบัณฑิตวิชาชพี ครู รุน่ ท7่ี หอ้ ง5

เสนอ
ดร.กฤษฎาพนั ธ์ พงษ์บรบิ ูรณ์

รายงานเล่มนเี้ ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การศึกษา
คณะศึกษาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์

3

คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาง
การศึกษา เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศ ความสำคัญนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำนวัตกรรมเทคโนโลยีมา
ประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการศกึ ษา และได้ศกึ ษาอย่างเข้าใจเพ่อื เปน็ ประโยชนก์ ับการเรียน

ผจู้ ัดทำหวงั ว่า รายงานเล่มน้จี ะเป็นประโยชนก์ บั ผูอ้ ่าน หรือนกั เรยี น นักศกึ ษา ทก่ี ำลังหา
ข้อมลู เร่ืองน้อี ย่หู ากมีขอ้ แนะนำหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทำขอต้องขออภัยมา ณ ทีน่ ด้ี ้วย

กนกพร มะลฉิ ิม

สารบัญ 4

เรื่อง หน้า

บทท่ี 1 นวตั กรรมทางการศึกษา 1
2
1.1 ความเปน็ มาของนวัตกรรมทางการศึกษา 3
4
1.2 ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา 7
1.3 แนวคดิ พืน้ ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา 11
1.4 ประเภทของนวัตกรรมการศกึ ษา 18
1.5 ลักษณะของนวตั กรรม
1.6 นวตั กรรมทางการศกึ ษาทีส่ ำคญั ของไทยในปจั จบุ นั 25
1.7 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทม่ี ีผลต่อสถานศกึ ษา 27
บทท่ี 2 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 27
28
2.1 ความรู้เบอื้ งตน้ เกี่ยวกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 29
33
2.2 ความสำคญั ของสารสนเทศ 33
35
2.4 บทบาทของสารสนเทศ 37

2.4 วิวฒั นาการของสารสนเทศ 38
2.5 คอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต 48
2.6 สาเหตุทที่ ำใหเ้ กิดสารสนเทศ 49
2.7 คณุ ลกั ษณะของสารสนเทศทีด่ ี 50
2.8 คุณภาพของสารสนเทศ 51
2.9 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ 53
2.10 การสบื ค้น และรับสง่ ข้อมูล แฟ้มข้อมูล 56
56
และสารสนเทศเพอื่ ใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 57
2.11 ความหมายของขอ้ มูล
2.12 กรรมวิธีการจดั การข้อมูล
2.13 หลักเกณฑ์การประเมินผลลพั ธ์ หรือผลผลิต
2.14 เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
2.15 เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การใช้ชีวติ ในสังคมปัจจุบนั
2.16 ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.17 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.18 ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ

สารบัญ (ตอ่ ) 5
เรอ่ื ง
หน้า
บทท่ี 3 คอมพิวเตอร์และอนิ เทอร์เน็ตกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.1 ส่อื การเรียนรู้ 69
3.2 การออกแบบนวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรยี นรู้ 71
3.3 แหลง่ เรียนรู้และเครอื ขา่ ย เพอื่ การเรียนรู้ 78
3.4 ประเภทแหลง่ เรียนรูแ้ ละเครือขา่ ยการเรยี นรู้ 79
3.5 ความสำคญั ของแหล่งเรียนรูแ้ ละเครอื ข่ายการเรียนรู้ 81
3.6 การจดั การเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ 82
3.7 ระบบการสบื คน้ ผ่านเครอื ขา่ ยเพื่อการเรียน 85
3.8 ประโยชน์ของการรับ-ส่งขอ้ มูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 89
3.9 การวเิ คราะห์ปญั หาทเ่ี กดิ จากการใชน้ วัตกรรม 90
93
ข้อสอบทา้ ยบท 100
บรรณานกุ รม

1

บทท่ี 1
นวตั กรรมทางการศึกษา

1

บทที่ 1
นวตั กรรมทางการศึกษา

ความเปน็ มาของนวตั กรรมทางการศึกษา

คำว่า นวัตกรรม เป็นศัพท์บัญญัติที่ใชแ้ ทนคำยืม ภาษาองั กฤษวา่ “innovation” ซึ่งมรี ากศพั ท์จาก
ภาษา ละติน “innovare” ความหมายของ innovation ตาม Collins Cobuild Advance Learner’s
English Dictionary (2006 : 748) หมายถึง a new thing or a new method of doing something แปล
ความได้ว่า innovation คือ สิ่งใหม่ๆ หรือวิธีการในการทำสิง่ ใดสิ่งหนึ่ง ราชบัณฑิตยสถาน (2556 : 610) ได้
บัญญัติศัพท์โดยใช้คำจากภาษาบาลี “นวตา” ประสมกับคำภาษาสันสกฤต “กรม” ขึ้นเป็น คำภาษาไทยว่า
“นวัตกรรม” และใหค้ วามหมายวา่ น. การกระทำ หรอื ส่งิ ทท่ี ำใหม่ หรือแปลกจากเดมิ ซึง่ อาจจะ เปน็ ความคิด
วิธีการ หรืออุปกรณ์ เป็นต้น กล่าวได้ว่า นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่หรือความคิดใหม่ที่ต่างจากสิ่ง หรือ
ความคิดที่มีอยู่เดิม แต่ในปัจจุบันนี้มีการใช้คำว่า นวัตกรรมอย่างแพร่หลาย ความหมายของนวัตกรรมจึง
เปลี่ยนไปเป็นความหมายในทางทกี่ ว้างยิ่งข้ึน

นวตั กรรม เป็นคำทค่ี ่อนข้างจะใหมใ่ นวงการศกึ ษาของไทย คำน้ี เป็นศพั ท์บญั ญัติของคณะกรรมการ
พิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำกริยาว่า
innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลย่ี นแปลงใหเ้ กิดส่งิ ใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คำว่า “นวกรรม” ตอ่ มาพบว่าคำน้ีมี
ความหมายคลาดเคลื่อน จงึ เปลีย่ นมาใชค้ ำว่า นวัตกรรม (อา่ นวา่ นะ วดั ตะ กำ) หมายถงึ การนำสงิ่ ใหมๆ่ เข้า
มาเปลย่ี นแปลงเพ่ิมเติมจากวิธีการทท่ี ำอยู่เดมิ เพื่อใหใ้ ช้ไดผ้ ลดียง่ิ ขึน้ ดังนน้ั ไม่ว่าวงการหรือกิจการใด ๆ ก็ตาม
เมื่อมีการนำเอาความเปล่ียนแปลงใหมๆ่ เข้ามาใช้เพื่อปรบั ปรุงงานใหด้ ีขึ้นกวา่ เดิมก็เรียกได้วา่ เป็นนวัตกรรม
ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวั ตกรรมการศึกษา” (Educational
Innovation) สำหรบั ผู้ท่ีกระทำ หรือนำความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใชน้ ี้ เรียกว่าเปน็ “นวัตกร” (Innovator)

ทอมสั ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” วา่ เปน็ การนำวิธีการใหม่ ๆ มา
ปฏบิ ัติหลังจากได้ผา่ นการทดลองหรือได้รับการพฒั นามาเป็นขัน้ ๆ แลว้ เริม่ ตง้ั แตก่ ารคิดค้น (Invention) การ
พฒั นา (Development) ซ่งึ อาจจะเป็นไปในรปู ของ โครงการทดลองปฏบิ ตั กิ อ่ น (Pilot Project) แล้วจึงนำไป
ปฏบิ ตั จิ ริง ซึ่งมีความแตกตา่ งไปจากการปฏิบัตเิ ดิมทเ่ี คยปฏิบัตมิ า

2

มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง(Renewal) ซ่ึง
หมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ
นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรอื ล้มล้างสงิ่ เก่าใหห้ มดไป แตเ่ ปน็ การ ปรับปรงุ เสริมแตง่ และพฒั นา

กิดานนั ท์ มลิทอง (2540) ได้กลา่ วไวว้ า่ นวตั กรรมเปน็ แนวความคดิ การปฏิบัติ หรอื ส่งิ ประดษิ ฐ์ใหม่
ๆ ทยี่ ังไม่เคยมีใชม้ าก่อนหรอื เป็นการพฒั นาดดั แปลงจากของเดมิ ทมี่ ีอยู่แลว้ ใหท้ ันสมัยและใชไ้ ดผ้ ลดยี ่งิ ข้นึ เม่อื
นำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย
ประหยัดเวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย

สามารถสรปุ ไดว้ า่ นวตั กรรมหมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ ๆ ท่ไี มเ่ คยมมี าก่อนหรือการ
พัฒนาดัดแปลงจากของเดมิ ให้ดขี ้นึ และเมอ่ื นำมาใช้งานก็ทำใหง้ านมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ เมื่อนำนวัตกรรมมา
ใช้ในการศกึ ษาเรากเ็ รยี กวา่ นวตั กรรมการศึกษา

ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา

นวัตกรรมการศกึ ษา (Educational Innovation) หมายถงึ นวัตกรรมทจี่ ะชว่ ยให้การศกึ ษา และการ
เรียนการสอนมีประสิทธภิ าพดียิง่ ขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อยา่ งรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิด
แรงจูงใจในการเรียน ในแวดวงของการปฏิรูปการศึกษาจึงมีนักวิชาการคิดค้นรูปแบบของการเรียนการสอน
เพอ่ื ให้นักเรียนมสี ว่ นร่วมมากข้นึ ในทีน่ ้จี ะขอกล่าวถงึ นวตั กรรมการศึกษาที่กำลังถกู จับตามอง ไดแ้ ก่

1.นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการของบุคคล โดยออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
ความกา้ วหนา้ ทางด้านเทคโนโลยเี ศรษฐกิจและสงั คมของประเทศและของโลก และสามารถทำการบูรณาการ
จากองค์ความรู้ในสาขาต่างๆ มาประกอบหลักสูตรให้เข้ากับคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีมี
คณุ ธรรม นอกจากน้ยี งั มีหลักสูตรรายบคุ คลสำหรับผเู้ รียนแต่ละประเภท หลักสูตรกจิ กรรมและประสบการณ์ที่
ม่งุ เนน้ กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณใ์ ห้กบั ผูเ้ รยี นเพอ่ื นำไปสูค่ วามสำเร็จ หลกั สูตรท้องถิ่นท่ี
ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความ
เป็นอยู่ของประชาชนท่ีมีอยู่ในแต่ละท้องถิน่ แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใช้วิธีการรวมศูนย์การพัฒนาอยู่ใน
สว่ นกลาง

3

2.นวตั กรรมการเรียนการสอน คอื สิ่งใหมๆ่ ทสี่ ร้างขนึ้ มาเพ่อื ชว่ ยแกป้ ญั หาเกย่ี วกับการเรยี นการสอน
หรือพฒั นาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นร้อู ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ได้แก่ แนวคดิ รูปแบบ วธิ ีการ กระบวนการ สือ่ ต่างๆ
ที่เกี่ยวกับการศกึ ษาเป็นการใชร้ ะบบในการปรับปรุงและคิดคน้ พฒั นาวิธสี อนแบบใหมๆ่ เป็นการใช้วธิ ีการสอน
หรือเทคนคิ การสอนในรปู แบบตา่ งๆ ทน่ี ักการศึกษาไดค้ ิดค้นเพอื่ พฒั นาการดา้ นการเรยี นรใู้ ห้แก่ผูเ้ รยี นทงั้ ใน
ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และเจตนคติ ท่ีสามารถตอบสนองการเรยี นรายบคุ คล การสอนแบบผเู้ รยี น
เป็นศนู ยก์ ลาง การเรียนแบบมีสว่ นรว่ ม การเรียนรู้แบบแกป้ ญั หา การพัฒนาวิธีสอนจำเปน็ ตอ้ งอาศัยวิธีการ
และเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนนุ การเรียนการสอน

3.นวตั กรรมสอ่ื การสอน เน่ืองจากมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เครือข่าย และเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านีม้ าใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
สอนใหมๆ่ จำนวนมากมาย นวตั กรรมสื่อการสอน ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มลั ติมเี ดยี (Multimedia)
การประชุมทางไกล (Teleconference) ชุดการสอน (Instructional Module) วีดิทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์
(Interactive Video)

แนวคิดพนื้ ฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา

ปัจจัยสำคัญทีม่ ีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธกี ารศกึ ษา ไดแ้ กแ่ นวความคิดพนื้ ฐานทางการศกึ ษาที่
เปลย่ี นแปลงไป อนั มีผลทำให้เกิดนวตั กรรมการศึกษาทส่ี ำคญั ๆ พอจะสรุปได้ 4 ประการ คือ

1. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยไดใ้ ห้
ความสำคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไวอ้ ยา่ งชดั เจนซง่ึ จะเห็นไดจ้ ากแผนการศึกษาของชาติ ให้
มุง่ จดั การศึกษาตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตวั อย่างทเ่ี ห็นได้ชัดเจน
ได้แก่ การจัดระบบหอ้ งเรียนโดยใชอ้ ายุเปน็ เกณฑบ์ ้าง ใช้ความสามารถเปน็ เกณฑ์บ้าง นวตั กรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ เพอ่ื
สนองแนวความคดิ พน้ื ฐานนี้ เชน่

- การเรยี นแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)
- แบบเรยี นสำเรจ็ รูป (Programmed Text Book)
- เครอ่ื งสอน (Teaching Machine)
- การสอนเป็นคณะ (TeamTeaching)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
- เคร่ืองคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction)

4

2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น
พัฒนาการตามธรรมชาติ แตใ่ นปจั จบุ นั การวจิ ยั ทางดา้ นจติ วิทยาการเรยี นรู้ ชี้ใหเ้ หน็ ว่าความพร้อมในการเรียน
เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเดก็ แต่ละคน วิชาที่
เคยเชื่อกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กเล็กก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนอง
แนวความคดิ พ้นื ฐานนีไ้ ดแ้ ก่ ศนู ยก์ ารเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐาน
ด้านนี้ เช่น

- ศูนย์การเรยี น (Learning Center)
- การจดั โรงเรียนในโรงเรยี น (School within School)
- การปรับปรงุ การสอนสามชนั้ (Instructional Development in 3 Phases)
3. การใชเ้ วลาเพอื่ การศกึ ษา แตเ่ ดมิ มาการจดั เวลาเพือ่ การสอน หรือตารางสอนมักจะจดั โดยอาศัย
ความสะดวกเปน็ เกณฑ์ เช่น ถอื หน่วยเวลาเปน็ ช่ัวโมง เทา่ กนั ทกุ วิชา ทกุ วนั นอกจากนน้ั ก็ยงั จดั เวลาเรียนเอาไว้
แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจบุ นั ได้มคี วามคดิ ในการจดั เป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพนั ธก์ ับลกั ษณะของ
แตล่ ะวชิ าซง่ึ จะใช้เวลาไม่เทา่ กนั บางวชิ าอาจใช้ช่วงสนั้ ๆ แต่สอนบ่อยครง้ั การเรียนกไ็ มจ่ ำกัดอยแู่ ต่เฉพาะใน
โรงเรยี นเท่าน้ัน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพน้ื ฐานดา้ นน้ี เช่น
- การจดั ตารางสอนแบบยดื หยุน่ (Flexible Scheduling)
- มหาวทิ ยาลยั เปิด (Open University)
- แบบเรียนสำเร็จรปู (Programmed Text Book)
- การเรียนทางไปรษณยี ์
4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้มีสิ่ง
ต่างๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง
จำเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจัยเกีย่ วกับตัวผู้เรยี น และปัจจัยภายนอก
นวัตกรรมในด้านนที้ ่ีเกิดขน้ึ เช่น
- มหาวทิ ยาลยั เปิด

5

- การเรียนทางวิทยุ การเรยี นทางโทรทัศน์
- การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสำเรจ็ รูป
- ชุดการเรียน

ประเภทของนวัตกรรมการศกึ ษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
และนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สำคัญ คือ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและ
พัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทยและใน
มาตรา 22 "การจัดการศึกษาต้องยึดหลกั ว่าผเู้ รียนทกุ คนมีความสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้และถือว่า
ผู้เรยี นมีความสำคญั ท่ีสุด กระบวนการจดั การศกึ ษาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่สี ุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ" การดำเนินการปฏิรปู
การศึกษาให้สำเร็จได้ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จำเป็นต้อง
ทำการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมการศกึ ษาใหมๆ่ ทจ่ี ะเข้ามาช่วยแกไ้ ขปัญหาทางการศึกษาท้ังในรูปแบบ
ของการศกึ ษาวจิ ัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีทน่ี ำมาใชว้ ่ามีความเหมาะสมมาก
น้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นำมาใช้ทงั้ ท่ีผ่านมาแลว้ และทจี่ ะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึน้ อย่กู บั การประยุกต์ใช้
นวัตกรรมในด้านตา่ งๆ ในทน่ี ีจ้ ะขอกลา่ วคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คอื

1.นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สตู ร
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรเป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้นเนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

6

และของโลก นอกจากนก้ี ารพฒั นาหลักสตู รยงั มีความจำเปน็ ที่จะต้องอย่บู นฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา
ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ
วิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรม
ทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรดังตอ่ ไปน้ี

1.หลกั สูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการสว่ นประกอบของหลักสูตรเข้าดว้ ยกันทางดา้ นวทิ ยาการ
ในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุง่ ใหผ้ ู้เรียนเป็นคนดีสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากองค์
ความรู้ในสาขาตา่ งๆ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมอย่างมจี รยิ ธรรม

2.หลักสูตรรายบุคคลเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพเพื่อ
ตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึง่ จะตอ้ งออกแบบระบบเพ่ือรองรับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆ

3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสตู รท่มี ุ่งเน้น กระบวนการในการจดั กิจกรรมและ
ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จเช่นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน
ประสบการณก์ ารเรยี นรจู้ ากการสืบคน้ ด้วยตนเอง เปน็ ตน้

4.หลักสูตรท้องถิ่นเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น
เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนท่ีมีอยู่ในแตล่ ะท้องถิ่น แทนที่
หลกั สูตรในแบบเดิมที่ใช้วธิ ีการรวมศูนยก์ ารพัฒนาอยใู่ นสว่ นกลาง

2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน
เปน็ การใชว้ ิธรี ะบบในการปรับปรุงและคิดคน้ พฒั นาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการ

เรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การ
พัฒนาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน
ตวั อย่างนวตั กรรมท่ใี ชใ้ นการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ การสอนแบบศูนยก์ ารเรยี น การใชก้ ระบวนการกลมุ่ สัมพันธ์
การสอนแบบเรยี นรรู้ ่วมกัน และการเรียนผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต การวิจยั ในชนั้ เรยี น ฯลฯ

3. นวตั กรรมสอ่ื การสอน
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี

โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านีม้ าใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
สอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ท้ังการเรียนดว้ ยตนเองการเรยี นเป็นกลุ่มและการเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนส่ือที่
ใช้เพื่อสนบั สนนุ การฝกึ อบรม ผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ตวั อยา่ ง นวัตกรรมส่อื การสอน ได้แก่

- คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI)
- มลั ตมิ ีเดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Teleconference)

7

- ชุดการสอน (Instructional Module)
- วดี ิทศั นแ์ บบมปี ฎิสัมพนั ธ์ (Interactive Video)
4. นวัตกรรมการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมทีใ่ ช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวดั ผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้
อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มา
สนบั สนุนการวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวตั กรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่
- การพัฒนาคลังขอ้ สอบ
- การลงทะเบยี นผ่านทางเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต
- การใช้บัตรสมาร์ทการด์ เพอ่ื การใชบ้ รกิ ารของสถาบันศึกษา
- การใช้คอมพิวเตอร์ในการตดั เกรด
5. นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ
ตัดสนิ ใจของผบู้ รหิ ารการศึกษาให้มคี วามรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน
หน่วยงานสถานศกึ ษา เช่น ฐานขอ้ มูล นักเรียน นกั ศึกษา ฐานข้อมลู คณะอาจารยแ์ ละบุคลากร ในสถานศึกษา
ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภณั ฑ์ ฐานขอ้ มูลเหล่าน้ีต้องการออกระบบท่ีสมบรู ณม์ ีความปลอดภัยของข้อมูล
สงู

นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย
พระราชบญั ญตั ิ ที่เกีย่ วกบั การจดั การศึกษา ซึ่งจะต้องมกี ารอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นท่ีดี
พอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการ
ผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนา
ฐานข้อมลู อาจต้องทำเป็นกล่มุ เพือ่ ใหส้ ามารถนำมาใช้รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ลกั ษณะของนวัตกรรม

- เป็นสงิ่ ใหม่ที่ไม่เคยมผี ใู้ ดเคยทำมาก่อนเลย
- ส่ิงใหม่ที่เคยทำมาแลว้ ในอดตี แตไ่ ดม้ ีการรื้อฟน้ื ข้นึ มาใหม่

8

- สิ่งใหมท่ ี่มีการพัฒนามาจากของเกา่ ทมี่ ีอยู่เดิม
ลักษณะของนวัตกรรม

1.นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้นเชิง(Radical Innovation) หมายถึง ขบวนการเสนอสงิ่ ใหม่ท่ีใหม่อย่าง
แท้จริง สู่สังคม โดยการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (value), ความเชื่อ (belief ) เดิม ตลอดจนระบบคุณค่า(value
system)ของสังคม อย่างส้ินเชิง ตัวอยา่ งเชน่ อนิ เตอรเ์ น็ต (Internet) จัดวา่ เปน็ นวตั กรรมหนึ่งในยุคโลกข้อมูล
ขา่ วสาร การนำเสนอระบบอนิ เตอร์เน็ต ทำให้คา่ นยิ มเดิมท่ีเชื่อวา่ โลกขอ้ มลู ข่าวสารจำกัดอยู่ ในวงเฉพาะท้ัง
ในด้านเวลา และ สถานทีน่ ้นั เปลย่ี นไป อนิ เตอรเ์ น็ตเปดิ โอกาส ใหค้ วามสามารถในการเข้าถึงข้อมลู ไร้ขีดจำกัด
ทั้งในด้านของเวลา และระยะทาง การเปลีย่ นแปลงในคร้งั น้ี ทำใหร้ ะบบคณุ ค่าของข้อมูลขา่ วสาร เปล่ียนแปลง
ไป บางคนเชื่อว่า อินเตอร์เน็ตจะเข้ามาแทนที่ระบบการส่งข้อมูลข่าวสารในระบบเดิม อย่างสิ้นเชิงในไม่ช้า
อาทเิ ชน่ ระบบไปรษณีย์

2.นวตั กรรม ทมี่ ลี กั ษณะคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปเป็นขบวนการการค้นพบ (discover) หรือ คดิ ค้นสง่ิ ใหม่
(invent)โดยการประยุกต์ ใช้แนวคิดใหม่ (new idea) หรือ ความรู้ใหม่ (new knowledge) ที่มีลักษณะ
ต่อเนื่องไม่สิ้นสุด โดยการประยุกต์ใช้ แนวคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ ของมนุษย์ และการค้นค้น เทคนิค
(technique) หรอื เทคโนโลยี (technology) ใหม่ นวัตกรรมท่มี ลี กั ษณะคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป จึงมีลกั ษณะของการ
สะสมการเรียนรู้ (cumulative learning) อยูใ่ นบรบิ ท ของสงั คมหนึ่ง ในปัจจุบนั สังคมได้เปล่ียนแปลงไปอย่าง
มาก เพราะผลของขบวนการโลกาภวิ ัตน์ ทำใหส้ งั คมมีลกั ษณะไร้ขอบเขต (borderless) เป็นสังคมของชาวโลก
ท่ีมคี วามหลากหลายทางด้านสงั คมวัฒนธรรมและการเมือง สง่ ผลให้นวัตกรรม มแี นวโน้มท่จี ะเป็น ขบวนการ
คน้ พบใหม่อยา่ งต่อเน่ืองในระดบั นานาชาติ มากกวา่ ท่จี ะเป็นนวัตกรรมใหมโ่ ดยสน้ิ เชงิ สำหรับสังคมหนง่ึ ๆ

สุคนธ์ สินธพานนท์ (2553 : 8) กล่าวว่า นวัตกรรมทางการศึกษา ควรมีคุณลักษณะซึ่งพอสรุปได้
ดังตอ่ ไปนี้

1.เปน็ สง่ิ ใหม่เกย่ี วกบั การศึกษาทงั้ หมด เช่น วธิ ีการสอนใหมๆ่ สื่อการสอนใหม่ๆ
ซ่ึงไมเ่ คยมีใครทำมากอ่ น

2.เป็นสิ่งใหม่เพียงบางส่วน เช่น มีการผลิตชุดการสอนรูปแบบใหม่ แต่ยังคงมีรูปแบบเดิมเป็น
หลักอยู่ ตัวอย่างเช่น มีบัตรเนื้อหา บัตรความรู้ บัตรทดสอบ แต่มีการเพิ่มบัตรฝึกทักษะความคิด บัตรงาน
สำหรับผู้เรียน เป็นต้น

3.เปน็ สิง่ ใหม่ทยี่ ังอยู่ในกระบวนการทดลองว่ามีประสิทธิภาพในการนำไปใชม้ ากน้อยเพยี งไร เช่น
การนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงบูรณาการเข้าไปในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทกุ รายวชิ า

4.เป็นส่ิงใหม่ท่ีได้รับการยอมรบั และนำไปใช้บ้างแลว้ แตย่ ังไม่แพร่หลาย เช่น
แหลง่ การเรียนรู้ท้องถิ่น มีวนอทุ ยานอยใู่ นทอ้ งถ่ินนั้นแตเ่ น่ืองจากมอี ปุ สรรคเกีย่ วกบั การเดนิ ทางจึงยังไม่เป็นที่
นิยมของสถานศกึ ษาตา่ งๆ

9

5.เปน็ สงิ่ ท่เี คยปฏบิ ตั มิ าแล้วครั้งหนงึ่ แต่ไมค่ ่อยไดผ้ ลเนือ่ งจากขาดปัจจัย
สนับสนุนตอ่ มาไดน้ ำมาปรับปรุงใหม่ทดลองใช้และเผยแพรจ่ ัดวา่ เป็นนวัตกรรมได้

ในกรณีที่สิ่งนั้นได้นำมาใช้จนกลายเป็นสิ่งปกติของระบบงานน้ันก็ไม่จัดวา่ เป็นนวัตกรรม เช่น การ
จัดทำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของโรงเรียนเมฆวิทยา เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนที่ผู้บริหารสนใจและ
สนับสนนุ ใหท้ กุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ผลติ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทุกระดับช้ัน จนกลายเป็นสื่อการสอน
ชนิดหน่งึ ของโรงเรยี น จงึ ไม่เรียกคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนว่าเป็นนวัตกรรมอีกต่อไป

นคร ละลอกนำ้ (สัมภาษณ์) กล่าววา่ คณุ ลกั ษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา คือ นวัตกรรมที่ผ่าน
วิธีระบบวิเคราะห์ออกมาแล้ว ทดลองและพัฒนาแล้วนำมาใช้ในวงกว้างแต่ยังไม่เป็นปกติวิสัยมีผลยืนยันว่า
ใชไ้ ด้จริงแก้ปญั หาได้จรงิ สามารถยนื ยนั ด้วยขอ้ มูลมหาศาล

ราตรี (2552) ไดก้ ล่าววา่ นวัตกรรมทางการศกึ ษามีลกั ษณะ ดังนี้
1)เปน็ สง่ิ ประดิษฐ์หรอื วธิ กี ารใหม่
- คดิ หรอื ทำข้ึนใหม่
- เกา่ จากทอ่ี น่ื พ่ึงนำเขา้
- คดั แปลงปรบั ปรงุ ของเดมิ
- เดิมไมเ่ หมาะแตป่ ัจจบุ ันใช้ได้ดี
- สถานการณ์เออ้ื อำนวยทำให้เกดิ ส่งิ ใหม่
2) เปน็ ส่งิ ได้รับการตรวจสอบหรือทดลองและพฒั นา
3) นำมาใช้หรือปฏิบตั ิไดด้ ี
4) มกี ารแพร่กระจายออกส่ชู ุมชน

จริ าพร (2552) ไดก้ ลา่ วว่านวัตกรรมทางการศกึ ษามีลกั ษณะ ดังน้ี
1) เปน็ สิ่งใหมท่ ่ไี ม่เคยมีผใู้ ดเคยทำมากอ่ นเลย
2) ส่ิงใหม่ที่เคยทำมาแลว้ ในอดีตแตไ่ ดม้ ีการรอ้ื ฟ้ืนข้ึน มาใหม่
3) สง่ิ ใหมท่ ีม่ ีการพัฒนามาจากของเกา่ ที่มีอยู่เดมิ
4) เปน็ สงิ่ ท่อี ยู่ในระหวา่ งการทดลอง

กระบวนการการสรา้ งและพัฒนานวัตกรรม 5 ขัน้ ตอน
ขัน้ ตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารแนวคดิ หลกั การ
เป็นขั้นตอนของการสำรวจว่าในทางวิชาการมพี ัฒนาเรื่องนี้ไวว้ ่าอย่างไร มีใครที่เคยประสบปัญหา

การพัฒนาการเรียนรู้หรือการบริหารสถานศึกษาเช่นเดียวกันนี้มาก่อน และคนที่หาปัญหาเช่นเดียวกันนี้มี
แนวทางในการแก้ไขปัญหาน้ใี นห้องเรยี นของตนเองอย่างไร เพอื่ ใหไ้ ด้แนวคิดและแนวทางท่ีจะนำมาแก้ปัญหา
ของตนเองต่อไป

10

1.1 การแลกเปล่ยี นเรยี นร้แู ละการแสวงหาแนวคดิ และหลักการ
1.2 การศกึ ษาเอกสารงานวจิ ัยและประสบการของผูเ้ กยี่ วข้อง
ขั้นตอนที่ 2 การเลือกและการวางแผนสร้างนวัตกรรม โดยพิจารณาเลือกจากลักษณะของ
นวตั กรรมการเรยี นร้ทู ี่ดี ดังนี้
2.1 เป็นนวัตกรรมการเรียนรูท้ ่ีตรงกบั ความตอ้ งการและความจำเปน็
2.2 มีความหน้าเชื่อถือและเป็นไปได้สูงที่จะสามารถแก้ปัญหา และพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น
2.3 เปน็ นวัตกรรมทม่ี ีแนวคิดหรือหลักการทางวิชาการรองรับจนน่าเชื่อถอื
2.4 สามารถนำไปใชใ้ นห้องเรียนไดจ้ ริง ใชไ้ ด้งา่ ย สะดวกตอ่ การใชแ้ ละการพัฒนานวัตกรรม
2.5 มีผลการพิสูจน์เชิงประจักษ์ว่าได้ใช้ในสถานการณ์จริงแล้วสามารถแกป้ ัญหาหรือพฒั นา
คณุ ภาพการจดั การเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งนา่ เพง่ิ พอใจ
ขน้ั ตอนท่ี 3 สร้างและพัฒนานวตั กรรม
จากแผนการสร้างนวัตกรรม ครูต้องศึกษาถึงรายละเอียดของนวัตกรรมที่จะสร้างและดำเนินการ
ตามข้นั ตอน เชน่ การสร้างนวตั กรรมทีเ่ ปน็ ชุดการเรยี นรู้ ครูอาจดำเนนิ การสร้างตามข้นั ตอนต่อไปนี้ เช่น
– วิเคราะหจ์ ดุ ประสงค์การเรียนรู้
– กำหนดและออกแบบชดุ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
– ออกแบบสือ่ เสริม
– ลงมอื ทำ
– ตรวจสอบคุณภาพครงั้ แรกโดยผู้เชี่ยวชาญ
– ทดลองใช้ระยะสัน้ เพ่อื ปรบั ปรงุ เน้อื หาสาระ
– นำไปใชเ้ พอื่ แก้ปัญหาหรอื การพัฒนาการเรยี นรู้

ขน้ั ตอนที่ 4 การหาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนทีพ่ ิสูจน์ว่านวัตกรรมที่สรา้ งข้ันน้ันเมื่อนำไปใช้จะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่
สามารถแกป้ ัญหาในชัน้ เรยี นหรือพัฒนาผ้เู รียนไดจ้ ริงหรอื ไม่การประสิทธภิ าพของนวัตกรรมมีหลายวิธี เช่น

4.1 การตรวจสอบโดยผู้เชย่ี วชาญ
4.2 การบรรยายคณุ ภาพ
4.3 การคำนวณค่าร้อยละของผู้เรยี น
4.4 การหาประสิทฺธภิ าพของนวัตกรรม
4.5 การประเมนิ สื่อมลั ติมเี ดีย

11

ขน้ั ตอนที่ 5 ปรับปรุงนวตั กรรม
หลงั จากที่หาประสิทธิภาพของนวตั กรรมท่ีสร้างขั้น ไม่วา่ จะโดยวธิ ีการใดก็ตามควรนำความคิดเห็น
หรือข้อเสนอแนะเล่านั้นมาปรับปรุงนวัตกรรมให้มีคุณภาพเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในห้องเรียนได้มากข้ึน
โดยเฉพาะคา่ หาประสทิ ธิภาพโดยการให้ผเู้ ชยี่ วชาญชว่ ยตรวจและการบรรยายคุณภาพก่อนการทดลองใช้และ
หลงั การทดลองใช้กบั ผู้เรียนกลมุ่ เล็กจะทำใหไ้ ดข้ ้อมูลท่ีชัดเจนและเป็นรายละเอียดทจ่ี ะปรับปรุงนวัตกรรมได้
งา่ ยขน้ึ
ขนั้ ตอนการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษา

ทิศนา แขมมณี (2548) ไดใ้ หห้ ลักการพัฒนานวตั กรรมทางการศึกษาไวพ้ อสรปุ ไดด้ งั นี้
1. การระบุปญั หา (Problem) ความคดิ ในการพฒั นานวัตกรรมนน้ั ส่วนใหญ่จะเรมิ่ จากการ

มองเห็นปัญหา และต้องการแก้ไขปญั หานน้ั ให้ประสบความสำเรจ็ อยา่ งมีคณุ ภาพ
2. การกำหนดจุดมุ่งหมาย (Objective) เมื่อกำหนดปัญหาแล้วก็กำหนดจุดมุ่งหมายเพ่ือ

จัดทำหรอื พฒั นานวัตกรรมใหม้ คี ุณสมบตั ิ หรอื ลักษณะตรงตามจุดม่งุ หมายท่ีกำหนดไว้
3. การศกึ ษาข้อจำกัดตา่ งๆ (Constraints) ผู้พัฒนานวัตกรรมทางด้านการ

เรยี นการสอนตอ้ งศึกษาข้อมูลของปญั หาและขอ้ จำกัดทจ่ี ะใช้นวตั กรรมนนั้ เพือ่ ประโยชนใ์ นการนำไปใช้ได้จริง
4. การประดษิ ฐ์คดิ ค้นนวตั กรรม (Innovation) ผจู้ ัดทำหรือพัฒนานวัตกรรมจะตอ้ งมีความรู้

ประสบการณ์ ความริเรมิ่ สร้างสรรค์ ซงึ่ อาจนำของเก่ามาปรับปรงุ ดดั แปลง เพื่อใช้ในการแกป้ ญั หาและทำให้มี
ประสทิ ธิภาพมากขึน้ หรืออาจคดิ ค้นขนึ้ มาใหม่ทั้งหมด นวัตกรรมทางการศึกษามีรปู แบบแตกตา่ งกัน ข้นึ อยู่กบั
ลักษณะปัญหาหรือวัตถุประสงค์ของนวัตกรรมนั้น เช่นอาจมีลักษณะเป็นแนวคิด หลักการ แนวทาง ระบบ
รปู แบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนคิ หรอื ส่ิงประดษิ ฐ์ และเทคโนโลยี เป็นต้น

5 การทดลองใช้ (Experimentation) เมอื่ คดิ ค้นหรอื ประดิษฐน์ วัตกรรมทางการศึกษาแล้ว
ต้องทดลองนวัตกรรม ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อเป็นการประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขผลการทดลองจะทำให้ได้
ข้อมูลนำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมต่อไป ถ้าหากมีการทดลองใช้นวัตกรรมหลายครั้งก็ยอ่ มมี
ความมัน่ ใจในประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมนั้น

6 การเผยแพร่ (Dissemination) เม่ือมั่นใจนวัตกรรมท่สี ร้างข้นึ มีประสทิ ธิภาพ
แลว้ ก็สามารถนำไปเผยแพรใ่ หเ้ ป็นทีร่ ู้จัก

นคร ละลอกนำ้ (สมั ภาษณ์) กล่าวว่า การพัฒนานวตั กรรมทางการศึกษาเร่ิมตน้ จากปัญหาที่พบ
ในการสอนจึงรวบรวมปัญหาและสร้างนวัตกรรมขึ้นเพื่อนำไปพัฒนาระบบการสอนใหม่ และทดลองใช้
นวัตกรรมนำไปปรับปรงุ และพฒั นาจนสามารถแกไ้ ขปญั หาท่ีพบไดจ้ ริง

12

นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับ
กาลสมัย

ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของ
โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)

ระยะท่ี 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ท่ัวไป ซ่ึงจัดว่าเป็นนวัตกรรมข้ันสมบูรณ์

นวตั กรรมทางการศกึ ษาท่ีสำคัญของไทยในปจั จุบัน

นวตั กรรม เปน็ ความคดิ หรอื การกระทำใหมๆ่ ซง่ึ นักวชิ าการหรอื ผู้เชีย่ วชาญในแต่ละวงการจะมีการ
คดิ และทำสงิ่ ใหม่อยเู่ สมอ ดังน้นั นวัตกรรมจงึ เปน็ สิง่ ทีเ่ กดิ ข้ึนใหม่ได้เร่ือย ๆ ส่งิ ใดที่คิดและทำมานานแล้วก็ถือ
ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งที่เรียกว่า นวัตกรรมทาง
การศึกษา หรือ นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เปน็ จำนวนมาก บางอยา่ งเกิดขึน้ ใหม่ บางอย่างมีการใช้มา
หลายสิบปีแลว้ แตก่ ย็ ังคงถือวา่ เปน็ นวตั กรรม เนอื่ งจากนวัตกรรมเหลา่ นน้ั ยงั ไมแ่ พรห่ ลายเปน็ ท่ีรู้จักทั่วไปในวง
การศกึ ษา

ประเภทของการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติท่ี
เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สำคัญ คือ มาตรา 67 รัฐ
ต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับ
กระบวนการเรียนรู้ของคนไทยและในมาตรา 22 "การจัดการศกึ ษาต้องยดึ หลักว่าผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผูเ้ รยี นมีความสำคัญทีส่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่า
ผู้เรยี นมคี วามสำคญั ท่ีสดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาต้องสง่ เสริมให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม
ตามศักยภาพ" การดำเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จได้ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จำเป็นต้องทำการศกึ ษาวิจัยและพฒั นานวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไข
ปญั หาทางการศึกษาทั้งในรูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมนิ ผลนวัตกรรมหรอื เทคโนโลยี

13

ที่นำมาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นำมาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมี
หลายประเภทขึ้นอยกู่ ับการประยกุ ต์ใช้นวตั กรรมในด้านต่างๆ ในทีน่ ้จี ะขอกลา่ วคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คอื

1. นวตั กรรมทางด้านหลกั สตู ร
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ

สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
และของโลก นอกจากนกี้ ารพัฒนาหลักสูตรยงั มคี วามจำเปน็ ท่จี ะต้องอยบู่ นฐานของแนวคดิ ทฤษฎีและปรัชญา
ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ
วิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรม
ทางดา้ นหลกั สตู รในประเทศไทย ไดแ้ ก่ การพัฒนาหลักสตู รดงั ต่อไปนี้

1.1 หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้าน
วทิ ยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางดา้ นจริยธรรมและสงั คม โดยมงุ่ ให้ผูเ้ รยี นเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์
จากองคค์ วามรใู้ นสาขาต่างๆ ใหส้ อดคล้องกับสภาพสังคมอยา่ งมจี รยิ ธรรม

1.2 หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อ
ตอบสนองแนวความคดิ ในการจัดการศึกษารายบุคคล ซ่งึ จะต้องออกแบบระบบเพอื่ รองรับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีด้านตา่ งๆ

1.3 หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัด
กิจกรรมและประสบการณ์ใหก้ บั ผู้เรียนเพ่ือนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมใน
บทเรยี น ประสบการณก์ ารเรยี นรู้จากการสบื คน้ ด้วยตนเอง เป็นต้น

1.4 หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่
ทอ้ งถ่นิ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสง่ิ แวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนท่มี อี ยู่ในแต่ละท้องถิ่น
แทนทหี่ ลกั สูตรในแบบเดิมทใี่ ช้วธิ กี ารรวมศนู ย์การพฒั นาอยูใ่ นส่วนกลาง

2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน
เป็นการใช้วิธรี ะบบในการปรับปรงุ และคิดค้นพฒั นาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการ

เรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การ
พัฒนาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน
ตัวอย่างนวัตกรรมท่ใี ช้ในการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ การสอนแบบศนู ยก์ ารเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
การสอนแบบเรยี นรรู้ ่วมกนั และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ต การวจิ ัยในชนั้ เรียน ฯลฯ

3. นวัตกรรมสอื่ การสอน

14

เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
สอนใหมๆ่ จำนวนมากมาย ท้งั การเรยี นด้วยตนเองการเรยี นเปน็ กลมุ่ และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนส่ือท่ี
ใช้เพอ่ื สนบั สนนุ การฝกึ อบรม ผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรต์ ัวอยา่ ง นวัตกรรมสื่อการสอน ไดแ้ ก่

- คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (CAI)
- มัลติมเี ดยี (Multimedia)
- การประชมุ ทางไกล (Teleconference)
- ชดุ การสอน (Instructional Module)
- วีดที ัศนแ์ บบมีปฏิสมั พันธ์ (Interactive Video)
4. นวตั กรรมทางดา้ นการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้
อย่างรวดเรว็ รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มา
สนับสนุนการวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางดา้ นการประเมินผล ได้แก่
- การพัฒนาคลงั ข้อสอบ
- การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอรเ์ น็ต
- การใช้บตั รสมารท์ การด์ เพื่อการใช้บรกิ ารของสถาบนั ศกึ ษา
- การใช้คอมพวิ เตอร์ในการตดั เกรด
5. นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ
ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกนวัตกรรม
การศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา
เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี
พสั ดุ และครภุ ัณฑ์ ฐานขอ้ มลู เหลา่ นี้ตอ้ งการออกระบบทส่ี มบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสงู
นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย
พระราชบญั ญัติ ท่ีเก่ยี วกบั การจัดการศึกษา ซ่งึ จะตอ้ งมีการอบรม เก็บรกั ษาและออกแบบระบบการสืบค้นท่ีดี
พอซ่ึงผู้บรหิ ารสามารถสบื คน้ ขอ้ มลู มาใชง้ านได้ทันทตี ลอดเวลาการใช้นวัตกรรมแตล่ ะด้านอาจมีการผสมผสาน
ทีซ่ อ้ นทบั กันในบางเรือ่ ง ซ่งึ จำเป็นตอ้ งมีการพัฒนารว่ มกนั ไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจ
ตอ้ งทำเป็นกลุ่มเพอ่ื ใหส้ ามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
นวัตกรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆ ทกี่ ลา่ วถงึ กนั มากในปัจจุบัน

15

E-learning หมายถึง การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning รูปแบบการเรียนการสอน
ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหา(delivery methods) ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์
เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอก็ ซทราเน็ต หรอื ทางสญั ญาณโทรทัศน์ หรือ สญั ญาณดาวเทียม และใช้
รูปแบบการนำเสนอเนื้อหาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เราคุ้นเคยกันมา
พอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based
Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรืออาจอยู่ในลักษณะ
ทย่ี งั ไม่ค่อยเปน็ ท่แี พรห่ ลายนกั เช่น การเรียนจากวิดที ศั น์ตามอัธยาศยั (Video On-Demand) เปน็ ตน้

อย่างไรก็ดี ในปัจจุบัน เมื่อกล่าวถึง e-Learning คนส่วนใหญ่จะหมายเฉพาะถึง การเรียนเนื้อหา
หรือสารสนเทศซึ่งออกแบบมาสำหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology)
ในการถา่ ยทอดเน้ือหา และเทคโนโลยรี ะบบการบรหิ ารจัดการการเรยี นรู้ (Learning Management System)
ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนและงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนจาก e-Learning น้ี
สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ นอกจากนี้ เนื้อหาสารสนเทศของ e-Learning จะถูกนำเสนอโดย
อาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive
Technology)จากความหมายที่คนส่วนใหญน่ ิยาม e-Learning นั้น จำเป็นตอ้ งทำความเข้าใจให้ชัดเจนว่า e-
Learningไม่ใช่เพยี งแคก่ ารสอนในลักษณะเดมิ ๆ และนำเอกสารการสอนมาแปลงใหอ้ ยใู่ นรปู ดิจิตัล และนำไป
วางไว้บนเว็บ หรือระบบบริหารจัดการการเรียนรู้เท่านั้น แต่ครอบคลุมถึง กระบวนการในการเรียนการสอน
หรือการอบรมที่ใช้เครื่องมือทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อให้เกิดความยดื หยุ่นทางการเรียนรู้ (flexible
learning) สนับสนุนการเรียนรู้ในลักษณะที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered) และการเรียนใน
ลักษณะตลอดชีวิต (life-long learning) ซึ่งอาศัยการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ของ
ทั้งกระบวนการในการเรียนการสอนด้วย นอกจากนี้ e-Learning ไม่จำเป็นต้องเป็นการเรียนทางไกลเสมอ
คณาจารยส์ ามารถนำไปใชใ้ นลกั ษณะการผสมผสาน (blended) กบั การสอนในชนั้ เรยี นได้

ลักษณะสำคัญของ e-Learning (Feature of e-Learning) ที่ดี ควรจะประกอบไปด้วยลักษณะสำคัญ 4
ประการ ดังน้ี

1. ทุกเวลาทุกสถานที่ (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้องช่วยขยายโอกาส
ในการเข้าถึงเนื้อหาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ในที่นี้หมายรวมถึง การที่ผู้เรียนสามารถเรียกดูเนื้อหาตาม
ความสะดวกของผู้เรียน เช่น ผเู้ รยี นมีการเข้าถงึ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ที่เชอื่ มตอ่ กับเครอื ขา่ ยไดอ้ ย่างยดื หยุ่น

2. มัลติมีเดีย (Multimedia) หมายถงึ e-Learning ควรต้องมกี ารนำเสนอเนอ้ื หาโดยใช้ประโยชน์
จากส่ือประสมเพอื่ ชว่ ยในการประมวลผลสารสนเทศของผู้เรียนเพอื่ ใหเ้ กิดความคงทนในการจดจำและ/หรือ
การเรียนรูไ้ ดด้ ขี ้ึน

16

3. การเชอ่ื มโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งมีการนำเสนอเนอ้ื หาในลกั ษณะที่ไม่
เป็นเชิงเสน้ ตรง กลา่ วคือ ผูเ้ รยี นสามารถเขา้ ถึงเนอื้ หาตามความตอ้ งการ โดย e-Learning จะต้องจัดหาการ
เชื่อมโยงทีย่ ืดหยนุ่ แก่ผเู้ รียน นอกจากน้ยี ังหมายถึงการออกแบบให้ผเู้ รยี นสามารถเรยี นไดต้ ามจังหวะ(pace)
การเรยี นของตนเองด้วย เช่น ผเู้ รยี นท่เี รียนช้าสามารถเลือกเนือ้ หาที่ตอ้ งการเรยี นซ้ำได้บ่อยครงั้ ผู้เรยี นท่ีเรยี น
ดสี ามารถเลือกท่ีจะขา้ มไปเรียนในเน้อื หาท่ตี อ้ งการได้โดยสะดวก

4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมกี ารเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนโต้ตอบ(มี
ปฏสิ มั พนั ธ)์ กับเนื้อหา หรอื กับผู้อ่ืนได้ กล่าวคือ

1) e-Learning ควรตอ้ งมีการออกแบบกจิ กรรมซ่ึงผู้เรียนสามารถโต้ตอบกบั เนอ้ื หา
(InteractiveActivities) รวมทงั้ มีการจัดเตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้ผู้เรยี นสามารถตรวจสอบความ
เขา้ ใจด้วยตนเองได้

2) e-Learning ควรต้องมีการจัดหาเครื่องมือในการให้ช่องทางแก่ผู้เรียนในการ
ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร(Collaboration Tools) เพื่อการปรกึ ษา อภปิ ราย ซกั ถาม แสดงความคิดเห็นกับผู้สอน วทิ ยากร
ผูเ้ ช่ยี วชาญ หรือเพื่อน ๆ รว่ มช้นั เรียนโดยในส่วนของการโต้ตอบนี้ จะต้องคำนึงถงึ การใหผ้ ลป้อนกลับที่ทันต่อ
เหตุการณ์ (ImmediateResponse) ซึ่งอาจหมายถึง การที่ผู้สอนต้องเข้ามาตอบคำถามหรือใหค้ ำปรึกษาแก่
ผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอและทันเหตุการณ์ รวมถึง การที่ e-Learning ควรต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ
การวัดผล และการประเมินผล ซึ่งสามารถให้ผลป้อนกลับโดยทันทีแก่ผู้เรียน ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะของ
แบบทดสอบกอ่ นเรียน (pre-test) หรือ แบบทดสอบหลังเรยี น (posttest) ก็ตาม

ขอ้ ได้เปรยี บ และขอ้ จำกัดของ e-Learning (advantage of e-Learning)

ประโยชน์ท่ีได้รับจากการนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรยี นการสอนมี ดังนี้
1. e-Learning ชว่ ยให้การจดั การเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ข้นึ เพราะการถ่ายทอด

เนอื้ หาผ่านทางมัลติมเี ดยี สามารถทำใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรไู้ ด้ดกี ว่าการเรียนจากส่อื ขอ้ ความเพียงอย่างเดียว
หรือจากการสอนภายในห้องเรียนของผู้สอนซึ่งเน้นการบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แต่เพียงอย่าง
เดียวโดยไม่ใช้สื่อใด ๆ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับ e-Learning ที่ได้รับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e-
Learning สามารถช่วยทำใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากกวา่ ในเวลาทเี่ ร็วกวา่ นอกจากน้ี
ยังเป็นการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้เป็นอย่างดี เพราะผู้สอนจะสามารถใช้ e-
Learning ในการจัดการเรียนการสอนที่ลดการบรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ( autonomous
learning) ได้ดียิ่งขึ้น

17

2. e-Learning ช่วยทำให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของ
ผู้เรียนได้อย่างละเอียดและตลอดเวลา เนื่องจาก e-Learning มีการจัดหาเครื่องมือที่สามารถทำให้ผู้สอน
ตดิ ตามการเรยี นของผู้เรียนได้

3. e-Learning ช่วยทำให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เนอ่ื งจากการนำเอา
เทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีลักษณะการเชื่อมโยงข้อมูลไม่ว่าจะเป็นในรูปของข้อความ
ภาพนิ่ง เสียงกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ที่เกี่ยวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Non-
Linear) ทำให้ Hypermedia สามารถนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบใยแมงมุมได้ ดังนั้นผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึง
ข้อมูลใดก่อนหรอื หลังกไ็ ด้ โดยไมต่ ้องเรียงตามลำดับ และเกิดความสะดวกในการเข้าถงึ ของผเู้ รยี นอีกด้วย

4. e-Learning ช่วยทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (Self-paced
Learning) เนื่องจากการนำเสนอเนอ้ื หาในรูปแบบของ Hypermedia เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการ
เรียนรูข้ องตนในด้านของลำดับการเรยี นได้ (Sequence) ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของ
ตน นอกจากนี้ผเู้ รียนยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองกอ่ นเรียนได้ทำใหส้ ามารถชีช้ ัดจุดอ่อนของตน และเลือก
เนอ้ื หาใหเ้ ขา้ กบั รูปแบบการเรยี นของตัวเอง เช่นการเลือกเรยี นเน้ือหาเฉพาะบางส่วนทต่ี อ้ งการทบทวนได้ โดย
ไมต่ ้องเรียนในส่วนทเ่ี ขา้ ใจแลว้ ซ่งึ ถอื ว่าผู้เรียนไดร้ ับอสิ ระในการควบคุมการเรียนของตนเอง จงึ ทำใหผ้ ู้เรียนได้
เรยี นร้ตู ามจงั หวะของตนเอง

5. e-Learning ชว่ ยทำให้เกดิ ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งผ้เู รียนกับครูผู้สอน และกบั เพอื่ น ๆ ได้ เนอ่ื งจาก e-
Learning มีเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-mail เป็นต้น ที่เอื้อต่อการโต้ตอบ
(Interaction) ที่หลากหลาย และไม่จำกัดว่าจะต้องอยู่ในสถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global Choice)
นอกจากนนั้ e-Learning ท่อี อกแบบมาเปน็ อยา่ งดีจะเออื้ ใหเ้ กดิ ปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผู้เรียนกบั เนื้อหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เชน่ การออกแบบเนอ้ื หาในลกั ษณะเกม หรอื การจำลอง เปน็ ต้น

ขอ้ จำกัด
1. ผู้สอนที่นำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเลย
กล่าวคือ ผู้สอนยังคงใช้แตว่ ิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และสั่งให้ผู้เรยี นไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-
Learning ไม่ได้ออกแบบให้จงู ใจผเู้ รยี นแล้ว ผ้เู รียนคงใช้อยู่พักเดยี วก็เลิกไปเพราะไม่มีแรงจงู ใจใด ๆ ในการใช้
e-Learning กจ็ ะกลายเป็นการลงทนุ ทไ่ี ม่คุ้มค่าแต่อยา่ งใด
2. ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เนื้อหาแก่ผู้เรียน มาเป็น (facilitator)
ผู้ช่วยเหลือและใหค้ ำแนะนำตา่ ง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
จาก e-Learning ท้งั น้ี หมายรวมถึง การทผ่ี สู้ อนควรมีความพร้อมทางด้านทกั ษะคอมพวิ เตอร์และรับผิดชอบ
ต่อการสอนมีความใส่ใจกับผเู้ รยี นโดยไมท่ ้ิงผเู้ รียน

18

3. การลงทนุ ในด้านของ e-Learning ต้องครอบคลมุ ถงึ การจัดการให้ผู้สอนและผูเ้ รียนสามารถเข้าถึง
เนื้อหาและการติดต่อสื่อสารออนไลน์ได้สะดวก สำหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอนหรือผู้เรียนที่ใช้รูปแบบการ
เรียนในลักษณะนี้จะต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนที่พร้อมเพรียงและมี
ประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในลักษณะมัลติมีเดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบใน
การตดิ ต่อสือ่ สารและการเข้าถงึ เนื้อหาได้สะดวก รวมท้งั ขอ้ ได้เปรยี บสอ่ื อนื่ ๆ ในลักษณะในการนำเสนอเนอ้ื หา
เช่น มลั ติมีเดีย แลว้ นนั้ ผ้เู รยี นและผู้สอนกอ็ าจไมเ่ หน็ ความจำเป็นใด ๆ ทต่ี อ้ งใช้ e-Learning

ระดบั ของสือ่ สำหรบั e-Learning (Level of media for e-Learning) การถ่ายทอดเนือ้ หาสามารถ
แบ่งไดเ้ ป็น 3 ลกั ษณะดว้ ยกนั กล่าวคอื

1. ระดับเนน้ ขอ้ ความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เนอ้ื หาของ e-Learning ในระดับนี้
จะอย่ใู นรปู ของข้อความเปน็ หลัก e-Learning ในลักษณะน้จี ะเหมอื นกับการสอนบนเวบ็ (WBI) ซ่ึงเน้นเนอื้ หา
ทเี่ ปน็ ขอ้ ความ ตวั อักษรเป็นหลัก ซ่ึงมขี ้อดี กค็ ือการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลติ เนือ้ หาและการ
บรหิ ารจดั การการเรยี นรู้

2. ระดบั รายวิชาออนไลน์เชงิ โตต้ อบและประหยัด (Low Cost Interactive Online
Course)หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดบั นีจ้ ะอยู่ในรปู ของตัวอักษร ภาพ เสยี ง และวิดที ัศน์ ทผ่ี ลติ
ขนึ้ มาอยา่ งงา่ ย ๆ ประกอบการเรยี นการสอน e-Learning ในระดับหน่งึ และสองนี้ ควรจะต้องมีการพฒั นา
LMS ที่ดี เพือ่ ช่วยผู้ใช้ในการสร้างและปรบั เนื้อหาใหท้ ันสมัยไดอ้ ย่างสะดวกด้วยตนเอง

3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสงู (High Quality Online Course) หมายถึง เนอื้ หาของ
e-Learning ในระดับนจี้ ะอยใู่ นรปู ของมัลติมเี ดยี ท่มี ีลกั ษณะมอื อาชพี กล่าวคือ การผลิตตอ้ งใช้ทีมงานในการ
ผลิตทีป่ ระกอบดว้ ย ผู้เช่ียวชาญเนอื้ หา (content experts) ผู้เชย่ี วชาญการออกแบบการสอน (instructional
designers) และ ผู้เชีย่ วชาญการผลติ มัลติมีเดีย (multimedia experts)

ระดับของการนำ e-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอนสามารถทำได้ 3 ระดบั ดงั น้ี
1. ใช้ e-Learning เปน็ ส่ือเสรมิ (Supplementary) หมายถึงการนำ e-Learning ไปใช้ใน

ลกั ษณะส่อื เสรมิ กลา่ วคอื นอกจากเนือ้ หาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผเู้ รยี นยงั สามารถศกึ ษา
เน้อื หาเดียวกันน้ีในลกั ษณะอ่นื ๆ เช่น จากเอกสาร(ชที ) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ
การใช้ e-Learning ในลักษณะนเี้ ท่ากบั วา่ ผู้สอนเพยี งต้องการใช้ e-Learning เป็นอีกหน่ึงทางเลอื กสำหรบั
ผู้เรียนในการเขา้ ถึงเนื้อหาเพ่อื ให้ประสบการณพ์ เิ ศษเพิม่ เติมแก่ผ้เู รียนเทา่ นั้น

2. ใช้ e-Learning เป็นสื่อเติม (Complementary) หมายถึงการนำ e-Learning ไปใช้ใน
ลักษณะเพิม่ เตมิ จากวิธีการสอนในลกั ษณะอื่น ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในห้องเรยี นแล้ว ผ้สู อนยังออกแบบ

19

เนือ้ หาให้ผ้เู รยี นเข้าไปศกึ ษาเนอื้ หาเพ่มิ เติมจาก e-Learning โดยเน้ือหาทีผ่ ้เู รยี นเรียนจาก e-Learning ผู้สอน
ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งสอนซ้ำอีก แตส่ ามารถใชเ้ วลาในช้นั เรียนในการอธิบายในเนื้อหาที่เข้าใจได้ยาก คอ่ นข้างซับซ้อน
หรอื เป็นคำถามที่มีความเขา้ ใจผิดบอ่ ย ๆ นอกจากน้ี ยงั สามารถใชเ้ วลาในการทำกจิ กรรมท่เี น้นให้ผเู้ รียนได้เกิด
การคดิ วเิ คราะห์แทนได้ ในความคดิ ของผเู้ ขียนแล้วในมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ของเรา เมอ่ื ได้มีการลงทุนในการ
นำ e-Learning ไปใช้กับการเรียนการสอนแล้วอย่างน้อยควรตั้งวัตถุประสงค์ในลักษณะของสื่อเติม
(Complementary) มากกว่าแค่เพยี งเป็นส่ือเสริม(Supplementary) เพื่อให้เกดิ ความคุ้มทุน นอกจากน้ีอาจ
ยังไม่เหมาะสมที่จะใช้ในลกั ษณะแทนที่ผู้สอน (Replacement) ตัวอย่างการใช้ในลักษณะสือ่ เติม เช่น ผู้สอน
มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งก่อนหรือ
หลังการเขา้ ชัน้ เรยี น รวมท้งั ให้กำหนดกิจกรรมท่ีทดสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี นในเน้อื หาดังกล่าวใน session
การเรียนตามปรกติ เป็นต้น ทั้งนี้เพือ่ ให้เหมาะสมกับลกั ษณะของผู้เรียนของเรา ซึ่งยังต้องการคำแนะนำจาก
ครูผูส้ อน รวมท้งั การท่ผี ูเ้ รยี นสว่ นใหญ่ยังขาดการปลูกฝงั ให้มคี วามใฝร่ โู้ ดยธรรมชาติ

3. ใช้ e-Learning เป็นสื่อหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึงการนำ e-
Learning ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน์ และ
โตต้ อบกบั เพ่ือนและผู้เรียนอืน่ ๆ ในชัน้ เรยี นผ่านทางเครอื่ งมอื ติดต่อสอื่ สารต่าง ๆ ท่ี e- Learning จัดเตรียม
ไว้ ในปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการนำ e-Learning ไปใช้ในต่างประเทศจะอยู่ในลักษณะlearning through
technology ซึ่งหมายถึง การเรียนรู้โดยมุ่งเน้นการเรียนในลักษณะมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น
ผู้สอน ผู้เรียน และผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนำเสนอเนื้อหา
และกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งต้องการการโต้ตอบผ่านเครื่องมือสื่อสารตลอด โดยไม่เน้นทางด้านของการเรียนรู้
รายบุคคลผ่านสื่อ (courseware) มากนัก ในขณะที่ในประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะสื่อหลัก
เช่นเดียวกับต่างประเทศน้ัน จะอยู่ในวงจำกัด แต่การใช้ส่วนใหญ่จะยงั คงเป็นในลกั ษณะของ learning with
technology ซึ่งหมายถึง การใช้ e-Learning เป็นเสมือนเครื่องมือทางเลือกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความ
กระตือรือร้น สนุกสนาน พรอ้ มไปกับการเรยี นรใู้ นช้ันเรยี น

การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยที ม่ี ผี ลต่อสถานศกึ ษา
สถานศึกษาในยุคปัจจุบันมี การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก อิทธิพลของความ

เจริญก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้สภาพแวดล้อมทางการเรียนและสถานการณ์ของการเรียน
การสอนแตกต่างไปจากเดิม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีผลกระทบต่อการบริหารและการจัดการ
สภาพแวดล้อม ทางการเรียนซึง่ จำเปน็ ต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นในสถานศึกษา
ปัจจุบันถูกกำหนดด้วยเทคโนโลยีที่ได้มี การพิจารณานำเข้ามาใช้ การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ทำให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงทมี่ ีผลตอ่ สถานศกึ ษาอย่าง น้อย 3 ประการ ได้แก่

20

1. เทคโนโลยีเปลย่ี นแปลงวถิ ชี ีวติ (Technology alters orientation.) สถานศกึ ษา สภาพของผู้เรียน
และผสู้ อนไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากเทคโนโลยีมีลักษณะของการใช้ชีวิตในฐานะผูเ้ รียน และผสู้ อนเปลีย่ นไป วิถีชวี ิต
ของท้ังผู้เรยี นและผูส้ อนผกู พนั และข้ึนอยูก่ บั เทคโนโลยีมากขน้ึ เช่น วนั น้ไี ฟดับงดจ่ายกระแสไฟฟ้า นักเรยี นไม่
สามารถทนน่งั ในหอ้ งเรยี นท่ีรอ้ นอบอา้ วได้ เช่นเดยี วกับครทู ไี่ ม่สามารถทำการสอนได้ เพราะเคร่ืองฉายภาพ
จากคอมพวิ เตอร์ไม่ทำงาน สอื่ ต่างๆ ทีผ่ ู้สอนเตรยี มมาไม่สามารถนำมาใช้ได้ และมกี ารเรยี นการสอนภาคนอก
เวลาซง่ึ มักจะสอนในเวลากลางคืนคงไมม่ ีการจดุ เทียน หรือจดุ ตะเกียงเพอ่ื การเรยี นการสอน ส่งิ เหล่านี้แสดงให้
เหน็ ถงึ วถิ ีชีวติ ของการเปน็ ผู้เรยี นและการเปน็ ผูส้ อนใน สถานศึกษาเปล่ยี นแปลงไปจากเดมิ และผูกพันกบั
เทคโนโลยมี ากข้ึนจนบางทา่ นอาจคิดวา่ เทคโนโลยีมอี ิทธิพลในการ กำหนดวถิ ีชวี ิตไม่เพียงการเปลยี่ นแปลงวถิ ี
ชีวิตเท่าน้นั

2. เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงวิธีการ (Technology alters techniques.) วิธีการเรียนการสอนใน
สถานศึกษาปัจจุบันมีหลายรูปแบบหลายลักษณะ และในจำนวนรูปแบบต่างๆ ของการเรียนเหล่านั้น
จำเป็นต้องพึ่งพาเทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนทางไกลแบบสองทาง การเรียนด้วยสื่อโทรทั ศน์ผ่าน
ดาวเทยี ม หรอื รูปแบบของการเรียนการสอนทไ่ี ม่จำเปน็ ต้องมีชนั้ เรียนให้ผเู้ รียนเรียน ไดด้ ้วยตนเองจากแหล่ง
วิทยบริการที่มีอยู่หรือจากชุดการเรียนที่ทำขึ้นสำหรับ ผู้เรียนลักษณะนี้โดยเฉพาะ นอกจากนี้เทคนิควิธีการ
เรยี นการสอน การประเมนิ ผล ยงั เปลยี่ นแปลงไปจากเดิมที่มีครูเป็นศนู ยก์ ลาง กลายเป็นผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง
ของการเรยี นมากขน้ึ

3. เทคโนโลยีเปล่ยี นแปลงสถานการณ์ของการเรยี น (Technology alters situations of learning.)
การเปลย่ี นแปลงสถานการณ์ของการเรียนในสถานศึกษา เปน็ สภาพใหมท่ ่เี กิดขนึ้ พรอ้ มๆ กบั นำเทคโนโลยีใหม่
เข้ามาใช้ สถานการณข์ องการเรยี นการสอนในสภาพของสง่ิ แวดล้อมในสถานศกึ ษาทีเ่ ตม็ ไปด้วย เทคโนโลยีเพื่อ
ช่วยการเรียนรจู้ ะมีบรรยากาศของการเรียน เงอ่ื นไขในการเรียน ทแ่ี ตกตา่ งจากเดิม ผู้เรยี นสามารถเลอื กเรยี น
ในสถานการณแ์ ละเงือ่ นไขท่ตี นเองต้องการได้มากขนึ้ สถานการณ์ที่ทำให้เกิดการเรยี นรไู้ มจ่ ำเปน็ ตอ้ งสรา้ งขึ้น
ด้วยครูผู้สอน เท่านน้ั อยา่ งแต่ก่อน แต่เทคโนโลยสี ามารถจะสรา้ งสถานการณ์ของการเรียนให้เกิดขน้ึ ได้และมี
ความหลาก หลายอีกดว้ ย

จากผลของการเปลยี่ นแปลงโดยมีเทคโนโลยีเปน็ ตัวกำหนดดงั กล่าวข้างต้น ทำให้สภาพแวดลอ้ ม
ทางการเรียนในสถานศกึ ษาตอ้ งมกี ารวางแผนและจดั การกับ เทคโนโลยที เ่ี ปน็ ตัวกำหนดนั้นอยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพและใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ สงู สุด เพอ่ื เป็นแนวทางทจ่ี ะนำไปสู่การจัดการศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพ ที่
สถานศกึ ษาทกุ แหง่ ตอ้ งการให้เกิดข้ึน

แนวโน้มการเปลย่ี นแปลงที่สำคัญท่เี กดิ จากเทคโนโลยี

21

แนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยสี ารสนเทศทำให้การกระจายข้อมูลข่าวสารเป็นไป
อย่างรวดเร็ว ทุกทิศทาง และมีระบบตอบสนอง ด้วยเหตุนี้ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกจิ
การเมือง และสังคม ผลของความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศทำใหเ้ กิดแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงท่ี
สำคญั หลายด้าน แนวโนม้ ที่สำคัญทเี่ กดิ จากเทคโนโลยที ีส่ ำคัญและเปน็ ทก่ี ลา่ วถึงกันมาก ดังน้ี

1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ สภาพ
ของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคมความเป็นอยู่แบบเร่ร่อนมาเป็นสังคมเกษตรที่มีการ
เพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางการเกษตร ทำให้มีการสร้างบ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง ต่อมามีความจำเปน็ ต้อง
ผลิตสินค้าให้ได้ปริมาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของ
มนษุ ย์เปล่ยี นแปลงมาเปน็ สังคมเมอื ง มีการรวมกลุ่มอยูอ่ าศัยเปน็ เมอื ง มีอุตสาหกรรมเปน็ ฐานการผลิต สังคม
อุตสาหกรรมได้ดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน และเข้าสู่สังคมสารสนเทศ การดำเนินธุรกิจใช้สารสนเทศอย่าง
กว้างขวาง เกิดคำใหม่ว่า ไซเบอร์สเปซ มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุยผ่านอินเทอร์เน็ต การซ้ือ
สนิ คา้ และบรกิ าร ฯลฯ

2) เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน็ เทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความตอ้ งการของผู้ใช้แต่ละคน เช่น การ
ดูโทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเราเปดิ เคร่ืองรบั โทรทศั นห์ รอื วทิ ยุ เราไมส่ ามารถเลอื กตามความตอ้ งการได้ หากไมพ่ อใจก็
ทำได้เพียงเลือกสถานใี หม่ แนวโน้มจากนี้ไปจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะท่ีเรียกวา่ on demand เราจะมี
โทรทัศน์และวิทยุแบบเลือกดู เลือกฟังได้ตามความต้องการ หากระบบการศึกษาจะมีระบบ education on
demand คือสามารถเลือกเรียนตามต้องการได้ การตอบสนองตามความต้องการ เป็นหนทางที่เป็นไปได้
เพราะเทคโนโลยมี ีพฒั นาการท่ีกา้ วหนา้ จนสามารถนำระบบสอื่ สารมาตอบสนองตามความต้องการของมนุษย์

3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลา เมื่อการสื่อสาร
ก้าวหน้าและแพร่หลายขึน้ การโต้ตอบผ่านเครือข่ายทำให้มีปฏสิ ัมพันธไ์ ด้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์
ระบบประชุมบนเครือขา่ ย ระบบโทรศกึ ษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลกั ษณะของการดำเนินงานเหล่าน้ี ทำให้
ผูใ้ ช้ขยายขอบเขตการดำเนินกจิ กรรมไปทกุ หนทุกแหง่ ตลอด 24 ชัว่ โมง เราจะเห็นจากตัวอยา่ งที่มีมานานแล้ว
เช่น ระบบเอทีเอ็ม ทำให้การเบิกจ่ายได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกล้ตัวผู้รับบริการมากขึ้น และด้วย
เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าข้ึน การบริการจะกระจายมากยิ่งขึ้นจนถึงทีบ่ ้าน ในอนาคตสังคมการทำงานจะกระจาย
จนงานบางงานอาจนงั่ ทำทบี่ ้านหรอื ที่ใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้

4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่นไปเป็นเศรษฐกจิ โลก ระบบ
เศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก ทั่วโลกจะมีกระแสการ
หมุนเวยี นแลกเปล่ยี นสินค้า บริการอยา่ งกวา้ งขวางและรวดเรว็ เทคโนโลยสี ารสนเทศมีสว่ นเอ้ืออำนวยให้การ

22

ดำเนนิ การมีขอบเขตกวา้ งขวางมากยงิ่ ขน้ึ ระบบเศรษฐกิจของทกุ ประเทศในโลกเชื่อมโยงและมีผลกระทบต่อ
กนั

5) เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทำให้องคก์ รมีลักษณะผูกพันหนว่ ยงานภายในเปน็ แบบเครือข่ายมากขึ้น แต่
เดมิ การจดั องค์กรมกี ารวางเปน็ ลำดับข้ัน มสี ายการบงั คบั บญั ชาจากบนลงล่าง แตเ่ ม่ือการสื่อสารแบบสองทาง
และการกระจายขา่ วสารดีข้นึ มกี ารใช้เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกนั เป็นกลุ่มงาน มีการเพิ่มคุณค่า
ขององคก์ รด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสรา้ งขององค์กรจึงปรับเปลย่ี นจากเดมิ และมีแนวโน้มท่ีจะ
สร้างองค์กรเปน็ เครือข่ายที่มลี ักษณะการบงั คับบญั ชาแบบแนวราบมากข้ึน หนว่ ยธรุ กิจจะมีขนาดเล็กลง และ
เชือ่ มโยงกันกับหนว่ ยธุรกจิ อื่นเป็นเครอื ข่าย โครงสร้างขององค์กรจึงเปล่ยี นแปลงไปตามกระแสของเทคโนโลยี

6) เทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการ
ตัดสินใจรอบคอบมากขึ้น แต่เดิมการตัดสินปัญหาอาจมีหนทางให้เลือกได้น้อย เช่น มีคำตอบเดียว ใช่ และ
ไม่ใช่ แต่ดว้ ยข้อมูลข่าวสารที่สนับสนนุ การตัดสนิ ใจ ทำใหว้ ิถีความคดิ ในการตัดสินปญั หาเปลี่ยนไป ผู้ตัดสินใจ
มีทางเลอื กได้มากและมีความรอบครอบในการตดั สินปัญหาได้ดขี ึ้น

7) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีเดียวที่มีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม การศึกษาเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก ลองนึกดูว่าขณะน้ี
เราสามารถชมข่าว ชมรายการทีวี ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก เราสามารถรับรู้
ข่าวสารได้ทนั ที เราใช้เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตในการสื่อสารระหว่างกนั และติดต่อกบั คนได้ท่ัวโลก จึงเป็นที่แน่
ชดั วา่ แนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งจงึ มีลักษณะเป็นสังคมโลกมากขน้ึ

ปญั หาและอปุ สรรคในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา
สภาพปัจจุบนั และปัญหาการใช้เทคโนโลยกี ารศึกษาในประเทศไทย
จากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการจึงทำให้กระบวนการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลง

ตามไปด้วยอย่างตอ่ เน่ือง ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาไมว่ ่าจะเป็นสื่อวัสดุอุปกรณ์ประเภทต่างๆรวมทั้งเทคนิค
วธิ กี ารและแหล่งสนับสนุนการเรยี นรู้ต้องเปล่ียนแปลงตามไปด้วยเช่นกัน คอมพิวเตอร์ ไดเ้ ขา้ มามีอิทธิพลและ
มบี ทบาทตอ่ การจัดการศึกษาอย่างเด่นชัดมากยง่ิ ขนึ้ และดเู หมือนว่าจะเปน็ สื่อที่น่าสนใจและเปน็ สอ่ื ท่ีต้องการ
ของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกๆระดับ ทั้งนี้สังคมคาดหวังว่าสื่อยุคใหม่หรือนวัตกรรม
ทางการสอนที่แปลกใหม่และมีความหลากหลายเหล่านั้นจะช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ทางการเรยี นรู้และการจัดการศึกษาโดยรวมในที่สุด หากมองย้อนหลงั สกั หน่อย จะพบว่าเราเร่ิมจาก การไม่มี
อยากมี แล้วไดม้ ี ติดตามด้วยใช้ไมค่ อ่ ยเปน็ แล้วกใ็ ช้เปน็ กันมากข้นึ แต่ได้ประโยชน์ มแี กน่ สารสาระหรอื ไม่เป็น
เร่ืองนา่ คดิ สว่ นมากจะเขา้ ลักษณะใชเ้ ป็น แตไ่ ม่คอ่ ยได้ประโยชน์ ดูที่กล่มุ เยาวชนกแ็ ลว้ กันว่าเขากำลังทำอะไร

23

กันอยู่กับอินเตอร์เน็ต เสียเวลาและทรัพยากรไปเท่าไร และได้อะไรตอบแทนกลับมา ส่วนมากจะเข้าข่ายไร้
สาระมากกว่า

ปญั หาทพี่ บในการใชน้ วัตกรรมการศึกษา
1. ปัญหาด้านบุคลากร บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตสื่อประกอบการจัด

กจิ กรรม บุคลากรขาดประสบการณ์ในการใช้สื่อนวตั กรรมทางการศึกษา ไมเ่ ข้าใจและรจู้ กั วิธกี ารใช้นวัตกรรม
ท่ีทางโรงเรียนจัดทำขึน้ ขาดความชำนาญในการใชน้ วัตกรรม ขาดสอ่ื ประกอบการเรียน บคุ ลากรส่วนใหญ่ให้
ความร่วมมือในการใช้นวัตกรรม แต่ขาดความต่อเนื่องแนวทางแก้ไข คือ สร้างความตระหนัก ความ
รบั ผิดชอบในส่วนที่ยังบกพร่องทางนวตั กรรมของบคุ ลากร สง่ เสรมิ ให้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา ส่งเสริมให้เกิด
การศึกษาด้วยตนเอง เพือ่ ให้ความรแู้ ละประสบการณ์ในการใช้ส่อื นวตั กรรมทางการศกึ ษาทมี่ ากขึน้

2. ปัญหาดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ และงบประมาณ เก่ียวกบั นวตั กรรม คือ ขาดงบประมาณในการ
พัฒนานวัตกรรม ขาดวัสดุ – อุปกรณ์และงบประมาณที่จะพัฒนาสื่อนวัตกรรม การจัดหา การใช้ การดูแล
รักษาและขาดงบจัดหาสื่อทันสมัย แนวทางการแก้ไข เพิ่มงบประมาณให้เพียงพอ ให้หน่วยงานที่มีส่วน
เกี่ยวข้องจัดหางบประมาณสนับสนุน สำนักงานเขตพื้นที่ต้องช่วยดูแลและให้ความช่วยเหลือจัดสรร
งบประมาณได้ เพื่อใช้ในการพัฒนานวัตกรรมให้มีคณุ ภาพดีย่ิงข้ึน และระดมทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น มาช่วย
สนบั สนนุ

3. ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม และสถานที่การใช้นวัตกรรม สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปยังไม่
เหมาะสมกับการใช้สื่อ เนื่องจากความยุง่ ยากและไม่คล่องตัว มีสถานที่ไม่เปน็ สัดส่วน ไม่มีห้องท่ีใช้เพื่อเกบ็
รกั ษาสื่อ นวัตกรรมเป็นการเฉพาะ ทำให้การดแู ลทำไดย้ ากและขาดการพฒั นาที่ตอ่ เนือ่ ง แนวทางการแก้ไข
คือ ใช้สื่อนวัตกรรมตามความเหมาะสมของเนื้อหาวิชาตามความยากง่ายของเนื้อหา จัดทำห้องสื่อเคลื่อนท่ี
แบ่งสอ่ื ไปตามหอ้ งให้ครรู ับผดิ ชอบ ควรจัดหาหอ้ งเพื่อการนีเ้ ป็นการเฉพาะ

4. ปญั หาดา้ นสภาพการเรียนการสอน เดก็ มีความแตกตา่ งกนั ด้านสติปัญญา และด้าน
ร่างกาย ปญั หาครอบครัวแตกแยก เดก็ อาศัยอยู่กับญาติ มเี นอื้ หาวิชาที่มากและสาระ การเรียนการสอนแต่
ละครั้งไมต่ อ่ เน่ือง นักเรยี นบางคนไมส่ บายใจในกจิ กรรม และทำไมจ่ ริงจงั จึงมผี ลต่อการจดั กิจกรรม นักเรยี น
ต้องเข้าควิ รอนานกับนวตั กรรมบางชนดิ และสภาพการเรียนการสอน ครยู ังยึดวิธีการสอนแบบเดิม คอื
บรรยายหน้าช้นั เรียน แตสว่ นใหญม่ ีแนวโน้มในการพฒั นาทดี่ ขี นึ้ ครยู ังไมม่ ีการนำส่อื นวัตกรรมมาใช้ในการ
จัดการเรยี นการสอนอยา่ งตอ่ เนื่อง แนวทางการแกไ้ ข คอื จัดกลมุ่ ให้เพ่อื นช่วยเพ่อื น คอยกำกบั แนะนำ
ช่วยเหลอื จัดครเู ขา้ สอนตามประสบการณ์ความถนัด ควรจดั อบรมเพอ่ื ให้ความรู้ จัดทำนวัตกรรมทีม่ ีโอกาส
เป็นไปได้ และสรา้ งการมีส่วนรว่ มจากชุมชน สอนเพิ่มเติมนอกเวลา และจัดการสอนแบบรวมชัน้ โดยใช้
กระบวนการเรียนการสอนตามชว่ งช้ัน

24

5. ปญั หาด้านการวดั ผลและประเมินผล คือ บุคลากรขาดความรู้ในการที่จะนำสอ่ื นวตั กรรม
มาใชใ้ นการวัดผลและประเมนิ ผล นักเรียนท่ีไมค่ ่อยสนใจหรือไม่ชอบกจิ กรรมกจ็ ะมีผลต่อการจดั ผลประเมนิ ผล
ขาดนวัตกรรมสือ่ คอมพวิ เตอร์ อินเตอรเ์ นต็ การวัดประเมนิ ผล ครูสว่ นใหญ่ยังใช้วิธีการทำแบบทดสอบ
แบบปรนยั แนวทางการแกไ้ ข จดั ทำแบบสอบถามสุ่มเปน็ รายบุคคล เพศชาย หญิง เนน้ นักเรยี นไดฝ้ กึ ปฏิบัติ
จริง และสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง จดั แบบทดสอบทีห่ ลากหลาย ทั้งแบบปรนยั และอตั นัย และประเมินผล
ตามสภาพจริง ประเมนิ ผลงานจากแฟม้ สะสมงาน

ปญั หา อปุ สรรค การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของสถานศึกษา
1. ด้านการกระจายโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพอื่ การศึกษา มสี ถานศึกษาจำนวนหน่ึงที่โทรศัพทย์ ัง

เข้าไม่ถึง และคอมพิวเตอรย์ ังไม่มีหรือมแี ตไ่ มเ่ พยี งพอต่อความต้องการ และที่มีอย่กู ข็ าดการบำรงุ รกั ษา รวมท้งั
ไม่อยใู่ นสภาพที่ใชก้ ารได้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ โครงสร้างพ้นื ฐานเพือ่ การศกึ ษาโดยเฉพาะคู่สายโทรศพั ท์ยังมบี ริการ
ไม่ทัว่ ถึง อาจจะเป็นไปได้ว่าสถานศึกษาเหลา่ นี้อยู่ในท้องถิน่ ทหี่ า่ งไกล ดงั นัน้ สถานศกึ ษาต้องรบี ดำเนินการ
เพราะเป็นพ้ืนฐานท่จี ำไปสู่ระบบอนิ เทอร์เนต็

2. ด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ครใู ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอ่ื สารเพ่อื พัฒนาทกั ษะวิชาชพี ครูนอ้ ยมาก และคอมพวิ เตอรม์ จี ำนวนไมพ่ อกับความต้องการทค่ี รูจะใช้
แสดงใหเ้ ห็นว่าครูยังต้องไดร้ บั การพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อกี เปน็ จำนวนมาก และ
สถานศึกษาก็ต้องจัดหาคอมพวิ เตอร์ใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของครู

3. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการและ
ให้บริการทางการศกึ ษา สถานศึกษายังขาดรูปแบบระบบสารสนเทศ ผบู้ รหิ ารใหม้ ีความรู้ความเข้าใจในการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดับเบื้องต้น แสดงให้เห็นว่าสถานศึกษายังไม่มีระบบข้อมูล
สารสนเทศที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ผู้บริหารต้องได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารเสนเทศและการ
สอื่ สารเพ่อื ใหเ้ กิดความตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีจะนำมา
พฒั นาการบริหารจดั การและการบรกิ ารทางการศึกษา

4. ดา้ นการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาตนเองของ
ครูด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยังขาดความต่อเนื่อง บางคนใน 3 ปีที่ผ่านมายังไม่เคยไปเข้ารับการ
ฝึกอบรมด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลย แสดงให้เห็นว่า ครูได้รบั การพัฒนาด้านการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารยงั ไมท่ ่ัวถงึ เพราะมีครอู ีกจำนวนหน่งึ ทใ่ี นรอบ 3 ปที ่ีผา่ นมายงั ไมเ่ คยได้รับ
การอบรมดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเลย

25

บทที่ 2
ความร้เู บือ้ งตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ

26

บทที่ 2
ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้าน หลัก ๆ ที่
ประกอบด้วยเทคโนโลยรี ะบบคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสือ่ สารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ใน
กระบวนการจัดหา จัดเก็บ สรา้ ง และเผยแพรส่ ารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว
ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทนั
ต่อการนำไปใชป้ ระโยชน์

เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บประมวลผล และเผยแพร่
สารสนเทศ ซึ่งรวมแลว้ กค็ ือ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีการสอ่ื สารโทรคมนาคม หรอื Computer
and Communications ที่นิยมเรียกกันย่อ ๆ ว่า C & C อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มท่ีจะนับเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่
เป็นองค์ประกอบของ C & C และเกี่ยวเนื่องเข้ามาเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย เช่นเทคโนโลยีไมโคร
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เทคโนโลยีระบบอตั โนมัติ เทคโนโลยีการพมิ พ์ เทคโนโลยีสำนกั อัตโนมัติ เทคโนโลยีการศึกษา

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนำวิทยาการท่ี
กา้ วหน้าทางดา้ นคอมพวิ เตอร์และการสอ่ื สารมาสร้างมูลค่าเพ่ิมใหก้ ับสารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์
และใช้งานไดก้ ว้างขวางมากข้ึน เทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ ในการรวบรวมจดั เก็บ
ใช้งาน ส่งต่อ หรือสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องโดยตรงกับเครื่องมือเครื่องใช้ในการ
จัดการสารสนเทศ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ขั้นตอนวิธีการดำเนินการซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ซอฟต์แวร์ เกย่ี วข้องกับข้อมลู บคุ ลากร และกรรมวิธกี ารดำเนนิ งานเพ่ือใหข้ ้อมูลเกิดประโยชนส์ งู สุด

ปัจจุบันหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปประยุกต์กัน
อยา่ งกวา้ งขวาง งานประยุกตท์ ส่ี ำคญั อยา่ งหนง่ึ ก็คือ การสรา้ งระบบสารสนเทศแบบต่าง ๆ มีการนำเครื่องมือ
และอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ ระบบการส่ือสารโทรคมนาคมไปใช้ในหนว่ ยงานหรอื ธุรกิจต่าง ๆ มุ่งไปที่การ
คิดค้นวิธีการจดั เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูล การจัดระบบขอ้ มูลให้ผู้ใชส้ ามารถใช้ข้อมลู ร่วมกันได้อย่างรวดเร็ว
รวมถึงการจดั ทำรายงาน ตลอดจนการจัดทำผลลัพธข์ องขอ้ มลู ใหส้ ามารถคน้ คืนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

27

วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา (2542) ได้ให้ความหมายของ ระบบสารสนเทศ (Information
System) หมาย ถึง ขบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่เป็นประโยชน์สูง สุด เพื่อ
เปน็ ข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการบริหารและการตัดสนิ ใจทั้งในระดับปฏิบตั ิ การ ระดับกลาง และระดับสูง ระบบ
สารสนเทศจึงเป็นระบบทไ่ี ดจ้ ัดต้ังขน้ึ เพ่ือปฏิบตั ิการเกย่ี วกับข้อมลู ตงั ต่อไปน้ี

1. รวบรวมขอ้ มลู ทัง้ ภายใน ภายนอก ซ่ึงจำเป็นต่อหนว่ ยงาน
2. จัดกระทำเกีย่ วกบั ขอ้ มูลเพอื่ ใหเ้ ป็นสารสนเทศท่พี ร้อมจะใช้ประโยชน์ได้
3. จัดใหม้ ีระบบเก็บเปน็ หมวดหมู่ เพอ่ื สะดวกตอ่ การค้นหาและนำไปใช้
4. มีการปรบั ปรุงขอ้ มลู เสมอ เพอ่ื ใหอ้ ย่ใู นภาพที่ถูกตอ้ งทันสมยั
ซาเรซวคิ และวูด (Saracevic and Wood 1981 : 10) ไดใ้ ห้คำนยิ ามสารสนเทศไว้ 4 นยิ ามดงั นี้
1. Information is a selection from a set of available message, a selection
which reduces uncertainty. สารสนเทศ คอื การเลือกสรรจากชุดของขา่ วสารท่ีมีอยู่ เปน็ การเลือกทช่ี ว่ ย
ลดความไม่แนน่ อน หรอื กล่าวไดว้ ่า สารสนเทศ คือ ขอ้ มลู ที่ไดม้ ีเลือกสรรมาแล้ว (เป็นข้อมูลทีม่ คี วามแน่นอน
แลว้ ) จากกล่มุ ของข้อมูลทมี่ อี ยู่
2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of
conventions used in their presentation. สารสนเทศ คือ ความหมายทีม่ นษุ ย์ (สัง่ ) ใหแ้ ก่ ข้อมูล ด้วย
วธิ ีการนำเสนอทเี่ ปน็ ระเบียบแบบแผน
3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the
image-structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully structured by a
sender with the intention of changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คอื โครงสร้าง
ของขอ้ ความใดๆ ท่สี ามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทาง จนิ ตภาพ (ภาพลักษณ)์ ของผ้รู บั (ขอ้ ความ หมายถงึ
ทร่ี วมของสัญลักษณต์ ่างๆ มโี ครงสร้างทมี่ ี จดุ มุง่ หมาย โดยผู้ส่งมีเป้าหมายทีจ่ ะ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
จินตภาพ (+ความรูส้ กึ นกึ คิด) ของผ้รู ับ(สาร)
4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คอื ข้อมลู ท่ีมีคา่
ในการตดั สินใจ
นอกจากน้นั ยงั มีความหมายทน่ี า่ สนใจดงั นี้
สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีการปรับเปลี่ยน (Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting) การ
กล่ันกรอง (Filtering) และการสรปุ (Summarizing) ใหเ้ ปน็ ผลลพั ธ์ที่มี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ
หรอื วีดทิ ศั น)์ และเนอื้ หาทีต่ รงกบั ความตอ้ งการ และเหมาะสมตอ่ การนำไปใช้ (Alter 1996 : 29, 65, 714)
สารสนเทศ คอื ตวั แทนของข้อมูลทผี่ ่านการประมวลผล (Process) การจดั การ (Organized)
และการผสมผสาน (Integrated) ให้เกิดความเข้าใจอย่างถอ่ งแท้ (Post 1997 : 7)

28

สารสนเทศ คอื ขอ้ มลู ท่ีมีความหมาย (Meaningful) หรอื เปน็ ประโยชน์ (Useful) สำหรับ
บางคนทจี่ ะใช้ช่วยในการ ปฏิบัตงิ านและการจดั การ องค์การ (Nickerson 1998 : 11)

สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มคี วามหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39)
สารสนเทศ คอื ขอ้ มูลทม่ี ีความหมายเฉพาะภายใตบ้ รบิ ท (Context) ทเี่ กยี่ วข้อง (Haag,
Cummings and Dawkins 2000 : 20)
สารสนเทศ คือ ขอ้ มลู ทผ่ี ่านการปรับเปล่ยี น (Converted) มาเป็นสิง่ ท่มี ีความ หมาย
(meaningful) และเป็น ประโยชน์ (Useful) กับเฉพาะบุคคล (O’Brien 2001 : 15)
สารสนเทศ คือ ขอ้ มลู ท่ีผ่านการประมวลผล หรือขอ้ มูลท่มี ีความหมาย (McLeod, Jr. and
Schell 2001 : 12)
สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลทไ่ี ด้รบั การจัดระบบเพือ่ ให้มคี วามหมายและมคี ุณค่าสำหรบั ผู้ใช้
(Turban, McLean and Wetherbe 2001 : 7)
สารสนเทศ คือ ท่รี วม (ชุด) ข้อเท็จจรงิ ท่ีได้มกี ารจัดการแลว้ ในกรณีเช่น ขอ้ เท็จจริงเหล่าน้ัน
ได้มีการเพิ่มคุณคา่ ภายใตค้ ุณคา่ ของข้อเทจ็ จริงนน้ั เอง (Stair and Reynolds 2001 : 4)
สารสนเทศ คือ ขอ้ มลู ท่ีไดร้ บั การประมวลผล หรือปรงุ แต่ง เพ่ือใหม้ ีความหมาย และเป็น
ประโยชนต์ อ่ ผู้ใช้ (เลาว์ดอน และเลาวด์ อน 2545 : 6)
สารสนเทศ คอื ขอ้ มูลท่ีไดร้ บั การประมวลผลใหอ้ ยู่ในรปู แบบทีม่ คี วามหมายต่อผ้รู บั และมี
คณุ ค่าอนั แท้จริง หรือ คาดการณ์ว่าจะมีค่าสำหรับการดำเนินงาน หรือการตดั สินใจใน ปัจจบุ ัน หรืออนาคต
(ครรชิต มาลยั วงศ์ 2535 : 12)
สารสนเทศ คือ เร่อื งราว ความรตู้ า่ งๆ ที่ได้จากการนำขอ้ มูลมาประมวลผลดว้ ยวิธีการอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง และมี การผสมผสานความรู้ หรอื หลักวชิ าทเี่ กีย่ วขอ้ ง หรือความคิดเหน็ ลงไปดว้ ย (กลั ยา อุดม
วทิ ิต 2537 :3)
สารสนเทศ คือ ข้อความรู้ทป่ี ระมวลไดจ้ ากข้อมลู ตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องในเรือ่ งน้นั จนได้ ขอ้ สรปุ
เปน็ ขอ้ ความร้ทู ่ี สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ โดยเนน้ ที่การเกดิ ประโยชน์ คือความรทู้ ีเ่ กดิ ข้ึนเพม่ิ ขน้ึ กับผใู้ ช้
(สุชาดา กรี ะนันท์ 2542 : 5)
สารสนเทศ คือ ข่าวสาร หรือการช้ีแจงข่าวสาร (ปทีป เมธาคุณวฒุ ิ 2544 : 1)
สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลที่ผ่านการประมวลผล ผ่านการวิเคราะห์ หรอื สรปุ ใหอ้ ยู่ในรูปที่มี
ความหมายที่สามารถนำไป ใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ ามวตั ถุประสงค์ (จติ ติมา เทยี มบญุ ประเสริฐ 2544 : 4)
สารสนเทศ คือ ผลลัพธท์ ีเ่ กิดจากการประมวลผลข้อมลู ดบิ ที่ถูกจดั เก็บไวอ้ ย่างเป็นระบบ ที่
สามารถนำไป ประกอบการทำงาน หรอื สนบั สนนุ การตดั สินใจของผบู้ รหิ าร ทำให้ผูบ้ รหิ ารสามารถแก้ไขปัญหา

29

หรือทางเลอื กในการ ดำเนิน งานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ (ณัฏฐพนั ธ์ เขจรนนั ทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล 2545
: 40)

สารสนเทศ คอื ข้อมูลที่ไดผ้ ่านการประมวลผล หรือจดั ระบบแลว้ เพอ่ื ให้มีความหมายและ
คุณค่าสำหรบั ผใู้ ช้ (ทิพวรรณ หลอ่ สุวรรณรตั น์ 2545 : 9)

สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของข้อมลู ดิบ (Raw Data) ประกอบไปดว้ ย
ข้อมูลต่างๆ ที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข เสียง และภาพ ที่นำไปใช้สนับสนุนการ บริหารและการตัดสินใจของ
ผูบ้ รหิ าร (นิภาภรณ์ คำเจริญ 2545 : 14)

สรุป สารสนเทศ คอื ขอ้ มูล ข่าวสาร ขา่ ว ข้อเท็จจริง ความคดิ เหน็ หรอื ประสบการณ์ อยู่ใน
รูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง สัญลักษณ์ หรือกลิ่น ที่ถูกนำมาผ่าน
กระบวนการประมวลผล ดว้ ยวธิ กี ารที่ เรียก ว่า กรรมวิธจี ดั การขอ้ มลู (Data Manipulation) และผลที่ได้อาจ
แสดงผลออกมาในรูปแบบของสื่อประเภทต่าง เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ แผนที่ แผ่นใส ฯลฯ และ
เปน็ ผลลัพธ์ที่ผูใ้ ช้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง ตรงและทนั กับความต้องการหรือ สารสนเทศ คือ
ผลลัพธ์ที่มีความถูกต้อง ตรงตามต้องการ และทันต่อความต้องการของผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นผลลัพธ์ท่ี
ไดม้ าจากการนำข้อมลู มาประมวลผลด้วยกรรมวธิ ีจัดการข้อมูลหรือ สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ทไี่ ดม้ าจากการนำ
ข้อมูลมาประมวลผลด้วยกรรมวิธีจดั การขอ้ มูล ซึ่งจะต้องเป็น ผลลัพธ์ที่มี คุณสมบัติถูกตอ้ ง ตรงตามต้องการ
และทนั ต่อความตอ้ งการของผ้ใู ช้ หรอื ผู้ทเี่ กยี่ วข้อง

ความสำคญั ของสารสนเทศ

สารสนเทศได้กลายมาเปน็ ปจั จัยสำคัญตอ่ การดำเนนิ ชวี ิตของคนในสงั คมปจั จุบนั ในองค์กรต่างๆ
สารสนเทศได้กลายเป็นทรัพยส์ ินอนั มีค่า จนมีคำกล่าววา่ สารสนเทศ คอื อำนาจ (Information is power)
ใครทีม่ สี ารสนเทศมากก็จะสามารถควบคมุ หรือต่อรองได้ ฝ่ายทม่ี สี ารสนเทศมากกว่ามกั จะได้เปรียบคแู่ ขง่
เสมอ จนอาจนำไปสูย่ คุ “ สงครามขอ้ มลู ข่าวสาร ” ได้

ดงั น้ัน สารสนเทศจงึ มีประโยชนม์ ากมาย เช่น ช่วยลดความอยากรู้ คลายความสงสัย ช่วยแก้ปญั หา
ช่วยวางแผนและการตดั สินใจได้อย่างถกู ตอ้ ง สารสนเทศจงึ ชว่ ยพฒั นาบคุ คล ช่วยการปฏิบตั งิ าน ช่วยในการ
ดำเนนิ ชวี ติ ซง่ึ สง่ ผลต่อการพฒั นาสังคมและประเทศ สารสนเทศจึงมคี วามสำคัญต่อบุคคล องค์กร และสังคม
ดังนี้

1. ความสำคัญของสารสนเทศต่อบุคคลและต่อองคก์ ร
ในชีวติ ประจำวัน ไม่วา่ จะเป็นการศกึ ษา การประกอบอาชีพ หรือการดำรงชพี สารสนเทศมี

บทบาทต่อมนษุ ย์มากเกนิ กวา่ ทบี่ างคนตระหนักถงึ
ในด้านการปฏบิ ตั ิงานและในการจัดการ สารสนเทศทีถ่ กู ต้องนับเป็นองคป์ ระกอบสำคญั

โดยเฉพาะการแกป้ ญั หา การตดั สินใจ และการปฏิบตั งิ านใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคไ์ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

30

2. ความสำคญั ของสารสนเทศตอ่ สังคม
สารสนเทศมคี วามสำคญั ต่อสงั คม 2 ด้าน คือ ดา้ นการปกครอง และดา้ นการพฒั นา
ดา้ นการเมืองการปกครอง สารสนเทศจำเปน็ ตอ่ การดำเนินชวี ิตและการตดั สนิ ใจของ

ประชาชนอันเป็นพ้ืนฐานของสังคม ผู้ปกครองจึงต้องจดั การใหป้ ระชาชนทุกคนสามารถเขา้ ถึงสารสนเทศท่ี
ตอ้ งการได้ จึงจะเกดิ การบริหารทโ่ี ปร่งใส เปน็ สงั คมประชาธปิ ไตย ไม่เกิดความวุ่นวาย

ในดา้ นการพฒั นา สารสนเทศมีความสำคญั ยิง่ ทั้งในการเตรียมแผนพฒั น าและการปฏบิ ตั ิ
ตามแผน เช่น สารสนเทศเกย่ี วกบั ชมุ ชน สารสนเทศเก่ยี วกับสง่ิ แวดลอ้ ม สารสนเทศเกยี่ วกบั การเมืองการ
ปกครอง สารสนเทศเกย่ี วกบั เทคนคิ การแกป้ ญั หา สารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ งานวจิ ยั หรอื การประดษิ ฐ์ซ่งึ จะ
ชว่ ยในการพฒั นาต่อไป

บทบาทของสารสนเทศ

การนำสารสนเทศไปใช้ 3 ดา้ น ดงั นี้ (จติ ติมา เทยี มบุญประเสรฐิ 2544 : 5) ด้านการวางแผน ดา้ น
การตัดสินใจ และ ด้านการดำเนนิ งาน นอกจากนนั้ สารสนเทศยงั มบี ทบาท ในเชงิ เศรษฐกจิ ดังนี้ (ประภาวดี
สบื สนธ์ 2543 : 7-8)

1. ช่วยลดความเสี่ยงในการตดั สนิ ใจ (Decision) หรอื ชว่ ยชแ้ี นวทางในการแก้ไขปญั หา
(Problem Solving)

2. ชว่ ย หรอื สนบั สนุนการจดั การ (Management) หรือการดำเนินงานขององค์การ ใหม้ ี
ประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลมากขนึ้

3. ใช้ทดแทนทรพั ยากร (Resources) ทางกายภาพ เช่น กรณกี ารเรียนทางไกล ผู้เรียนท่ี
เรียนนอกห้องเรยี น จรงิ สามารถเรียนรูเ้ ร่อื งต่างๆ เชน่ เดยี วกับ หอ้ งเรียนจริง โดยไม่ต้องเดนิ ทางไปเรยี นท่ี
หอ้ งเรยี นนน้ั

4. ใชใ้ นการกำกบั ตดิ ตาม (Monitoring) การปฏิบตั ิงานและการตัดสนิ ใจ เพือ่ ดู
ความกา้ วหนา้ ของงาน

5. สารสนเทศเป็นช่องทางโนม้ น้าว หรอื ชักจูงใจ (Motivation) ในกรณขี องการโฆษณาที่ทำ
ให้ผู้ชม, ผู้ฟัง ตัดสนิ ใจ เลอื กสินค้า หรือบรกิ ารน้นั

6. สารสนเทศเปน็ องคป์ ระกอบสำคญั ของการศกึ ษา (Education) สำหรบั การเรียนรู้ ผา่ นสื่อ
ประเภทต่างๆ

31

7. สารสนเทศเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญท่ีส่งเสริมวัฒนธรรม และสนั ทนาการ (Culture &
Recreation) ในดา้ น ของการเผยแพร่ในรูปแบบตา่ งๆ เช่น วีดทิ ัศน์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นตน้

8. สารสนเทศเปน็ สินค้าและบรกิ าร (Goods & Services) ทสี่ ามารถซ้อื ขายได้

9. สารสนเทศเปน็ ทรพั ยากรท่ตี อ้ งลงทุน (Investment) จงึ จะได้ผลผลิตและบรกิ าร เพือ่ เป็น
รากฐานของการ จัดการ และการดำเนินงาน

วิวัฒนาการของสารสนเทศ

ในระบบสารสนเทศน้นั จะมีการนำเสนอข้อมูลต่างๆ มาประมวลผลให้ขอ้ มูลนัน้ เป็นประโยชน์ต่อการ
นำไปใช้งานในอดีตที่ยังไม่มี คอมพิวเตอร์ก็ยังมีเครื่องมืออื่นมาช่วยในการประมวลผลข้อมูลและช่วยในการ
สร้างผลผลิตได้ จนถึงปัจจุบันได้มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลข้อมู ล ก็ทำให้ระบบ
สารสนเทศนพ้ี ฒั นาไปได้มากข้ึน ช่วยให้การดำรงชีวติ ของมนุษย์ดีขึ้นในโลกของเราได้มีการนำเสนอเครื่องมือ
มา ชว่ ยในการดำรงชีวิตมากมาย จนปจั จุบนั น้นั ถอื ไดว้ า่ เป็นยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ หากแบ่งววิ ัฒนาการ
ของยุคสารสนเทศจะแบ่งไดด้ งั น้ี

- โลกยุคกสกิ รรม (Agriculture Age) ยคุ นี้นบั ตง้ั แต่กอ่ นปี ค.ศ. 1800 ถือวา่ เป็นยุคทีก่ ารดำเนิน
ชีวิตของมนุษย์ขึ้นอยู่กับการทำนา ทำสวน ทำไร่ โลกในยุคนี้ยังมีการซื้อขายสนิ ค้าระหว่างกัน แต่ก็ถือวา่ เปน็
สินค้าเกษตรกรเป็นหลัก มกี ารนำเครอ่ื งมอื เคร่ืองทุ่นแรงมาใชใ้ หไ้ ด้ผลผลติ ดีขึ้น ในระบบหนงึ่ ๆ จะมีผู้ร่วมงาน
เป็นชาวนา ชาวไร่เปน็ หลัก

- ยุคอุตสาหกรรม (Industrial Age) ยุคนี้นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1800 เป็นต้นมา โดยในประเทศ
อังกฤษไดน้ ำเครือ่ งจักรกลมาช่วยงานทางดา้ นการเกษตร ทำให้มีผลผลิตมากขึ้นและมผี ู้รว่ มงานในระบบมาก
ขน้ึ เริ่มมโี รงงานอตุ สาหกรรม เร่ิมมคี นงานในโรงงาน ต่อมาการนำเคร่ืองจักรมาใช้งานนไี้ ด้ขยายไปสู่ประเทศ
ต่างๆ และได้มกี ารแปรรปู ผลิตผลทางดา้ นการเกษตรออกมามากขนึ้ และเคร่ืองจักรกลกเ็ ป็นเครอ่ื งมอื ท่ีทำงาน
ร่วมกับมนุษย์ และเริ่มมีโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น ซึ่งทำให้โลกของเรามีทั้งภาคอุตสาหกรรม และภาค
เกษตรกรรมควบค่กู ันไป

- ยุคสารสนเทศ (Information Ago) ยุคนี้นับตัง้ แต่ประมาณปี ค.ศ.1957 จากที่การทำงานของ
มนุษย์มีทั้งด้านการเกษตรและด้านอตุ สาหกรรมรม ทำให้คนงานต้องมีการสื่อสารกนั มากขึน้ ต้องมีความร้ใู น
การใช้เครือ่ งจักรกล ตอ้ งมกี ารจดั การขอ้ มูลเอกสาร ข้อมูลสำนกั งาน งานด้านบญั ชี จึงทำให้มีคนงานส่วนหนึ่ง
มาทำงานในสำนักงาน คนงานเหล่านี้ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้และต้องทำหนา้ ที่ประสานงานระหว่าง ฝ่ายผลิต
และลกู ค้า ทำให้มกี ารพฒั นาเครอื่ งมือตา่ งๆ มาช่วยในการประมวลผล จัดการใหร้ ะบบงานมปี ระสทิ ธภิ าพดีขึ้น
ทำใหเ้ กิดการใชเ้ คร่ืองมอื ทางสารสนเทศขน้ึ มา ซ่ึงถอื ว่าเปน็ จุดเริม่ ต้นของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

32

เม่อื เขา้ สู่ยคุ สารสนเทศ องค์กรตา่ งๆ ที่นำเทคโนโลยีส่ือสารมาใช้ในการจัดการงานประจำวัน จะ
ทำงานได้สำเร็จเร็วขึ้น การผลิตทำได้เร็วขึ้น เนื่องจากผู้ผลิตสามารถประมวลผลข้อมูลต่างๆได้รวดเร็วขึ้น มี
การนำระบบอตั โนมัตดิ ้านการผลิตมาใช้ มีระบบบญั ชี และมีโปรแกรมทีท่ ำงานเฉพาะดา้ นมากขน้ึ

คอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต

เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ เป็นอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสอ์ ย่างหนึ่งทใ่ี ช้สำหรับชว่ ยในการประมวลผลข้อมูล
โดยจะทำงานตามคำสัง่ ที่เก็บเอาไว้หน่วยความจำ เพื่อประมวลผลข้อมูล สื่อสารและเคลื่อนย้ายขอ้ มูลไปยงั
สว่ นต่างๆ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนนั้ จะมกี ารปอ้ นขอ้ มูลต่างๆ ใหก้ บั คอมพวิ เตอรป์ ระมวลผล เพ่ือให้
เอาพุตออกมาเป็นข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน ตัวอย่างเช่น ในการประมวลผลการสอบของ
นักเรียน ข้อมูลที่เข้าไปทางอินพุตอาจเป็นคะแนนสอบต่างๆ คะแนนการบ้าน คะแนนเวลาเรียนจากนั้นให้
ระบบสารสนเทศประมวลผลตามกฎเกณฑ์ทตี่ ัง้ เอาไว้ และให้เอาต์พตุ ออกมาเป็นเกรดและคะแนนรวมเปน็ ตน้

ขบวนการทำงานของระบบสารสนเทศนั้นจะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ
(Input) ประมวลผล (Processing) และให้ข้อมูลผลลัพธ์ออกมาทางเอาต์พุต (Output) โดยในระหว่างการ
ประมวลผลของระบบสารสนเทศนั้นอาจมีการรับส่งขอ้ มูลระหว่างอิน พุตเอาต์พตุ อยู่ตลอดเวลา ข้อมูลที่เป็น
ผลลัพธ์ทางเอาต์พุตอาจมีการนำกลับไปปรับปรุงข้อมูลที่เข้ามา ทางอินพุต เรียกว่าวงจรการประมวลผล
สารสนเทศ (information processing cycle) ซึ่งขั้นตอนการทำงานต่างๆ จะถูกโปรแกรมอยู่ในเครื่อง
คอมพวิ เตอร์

ตัวเครอ่ื งคอมพวิ เตอรป์ ระกอบด้วยวงจรไฟฟ้าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์จะเรยี กฮารด์ แวร์ (Hard ware)โดย
มีสว่ นประกอบที่สำคญั คอื อุปกรณอ์ ินพุต อปุ กรณ์เอาตพ์ ตุ ระบบประมวลผล หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มูล และอุปกรณ์
สอ่ื สารต่าง

อปุ กรณ์อนิ พุต
อุปกรณ์อนิ พตุ เปน็ ส่วนท่ใี ช้รับขอ้ มูลและคำส่งั จากภายนอกเข้าสู่เครอื่ ง คอมพิวเตอรเ์ พื่อนำไป

ประมวลผล ไดแ้ ก่ แปน้ พิมพ์ เมาส์ สแกนเนอร์ อปุ กรณอ์ นิ พตุ นจี่ ะเปลย่ี นขอ้ มูลท่ีมนษุ ยเื ขา้ ใจไปเป็นรหสั
ขอ้ มูลท่ีเครื่อง คอมพิวเตอรเ์ ข้าใจ
อุปกรณ์เอาต์พุต

เปน็ ส่วนที่ใชแ้ สดงผลลพั ธ์จาการประมวลผลออกมาในรปู แบบต่างๆ ทม่ี นษุ ยต์ ้องการ ได้แก่
จอภาพ ลำโพง และเครอ่ื งพิมพ์โดยอปุ กรณเ์ อาต์พตุ นจี้ ะทำหน้าที่เปลี่ยนรหัสขอ้ มลู ที่ คอมพวิ เตอร์เขา้ ใจ
ออกมาเปน็ ขอ้ มูลทมี่ นษุ ย์เข้าใจ
หนว่ ยประมวลผล

33

เม่ือเขา้ สรู่ ะบบแลว้ หน่วยประมวลผลจะทำหนา้ ทีป่ ระมวลผลตามคำส่ัง หรอื โปรแกรมทีก่ ำหนด
ไว้ โดยโปรแกรมทกี่ ำหนดไว้ โดยโปรแกรมและขอ้ มูลตา่ งๆ จะถูกเกบ็ เอาไวใ้ นหน่วยความจำ เม่ือหนว่ ย
ประมวลผลทำงานเสร็จแลว้ กจ็ ะเกบ็ ข้อมูลลงหน่วยเก็บข้อมูลหรอื สง่ ผลลัพธ์ท่ีได้ออกมาทางเอาต์พุต

อุปกรณเ์ ก็บขอ้ มูล
อปุ กรณเ์ กบ็ ขอ้ มลู เป็นอปุ กรณท์ ใี่ ช้เกบ็ ขอ้ มูลหรอื คำสงั่ ตา่ งๆที่จะตอ้ งใช้ ในอนาคต ตวั อยา่ ง

ของหน่วยเก็บขอ้ มูลไดแ้ ก่ การ์ดความจำ แผ่นซีดี หรือดวี ดี ี หนว่ ยความจำแบบ USB Flash Drive
อุปกรณ์สอื่ สาร

อุปกรณ์สอ่ื สารประเภทนีม้ ไี วใ้ ห้คอมพวิ เตอร์สามารถรบั หรอื ส่งขอ้ มลู ให้ คอมพวิ เตอร์เครอื่ ง
อ่ืนๆ ไดโ้ ดยการส่อื สารนี้อาจสง่ ผ่านทางสายเคเบิล ตวั อยา่ งอุปกรณส์ ื่อสารได้แก่ โมเดม็

ประเภทของคอมพวิ เตอร์
เครอื่ งคอมพิวเตอร์นนั้ สามารถจำแนกได้หลายประเภท ขึ้นกบั ขนาด ประสิทธิภาพ และลักษณะ

การใชง้ าน โดยทั่วไป
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือ ซีพี (Personal Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีใช้งานกนั

ทั่ว เป็นแบบตั้งโต๊ะที่เหมาะสำหรับใช้งานในบ้าน ในสำนักงานราคาไม่แพง ที่นิยมใช้กันมีอยู่สองตระกูลคือ
PC-Compatible ที่มีต้นแบบเป็นคอมพิวเตอร์ของบริษัท IBM และคอมพวิ เตอรต์ ระกูล Apple คอมพิวเตอร์
แบบ Apple คอมพิวเตอร์แบบ PC มีการผลิตออกมาหลายรุ่นหลายแบบโดยส่วนใหญ่และวจะใช้โปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ Windows ส่วนคอมพิวเตอร์ Apple จะใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติการของ Macintosh ท่ี
เรียกว่า Mac OS

คอมพวิ เตอรโ์ น้ตบุก๊ (Notebook Computer) เป็นคอมพิวเตอรส์ ว่ นบคุ คลขนาดเล็กที่มีน้ำหนัก
เบา สะดวกกับการเคลื่อนย้ายไปยังที่ต่างๆ คอมพิวเตอร์แบบนี้อาจเรียกได้ว่าเป็น Mobile computer
สามารถใช้พลังงานไฟฟ้าทั่วไปเหมือนพลังงานจากแบตเตอรี่ได้ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ประเภทนี้อาจมี
ประสิทธิภาพสูงไม่แพ้แบบคอมพิวเตอร์แบบ พีซี แต่หากเปรียบกับพีซีที่มีประสิทธิภาพเท่ากันแล้ว
คอมพวิ เตอรแ์ บบโนต้ บุกจะมรี าคาสูงกว่า

คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Handheld Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เหมาะสำหรับ
พกพาไปท่ตี า่ งๆ เน่ืองจากเครื่องมีขนาดเล็กจงึ ไม่เหมาะที่จะออกแบบคียบ์ อร์ดไว้บนตัวเครื่อง แต่ใช้ปากกาที่
เรียกวา่ สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณส์ ำหรบั ปอ้ นข้อมูล คอมพวิ เตอรป์ ระเภทน้ีสามารถใช้งานพื้นฐานท่ัวไป
ได้ รับส่ง email และใช้ในการสื่อสารได้ เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จะรวมถึงคอมพิวเตอร์แบบ PDA
(Personal Digital Assistant) หรอื พดี ีเอ ทใ่ี ชก้ นั ทัว่ ไป ปจั จุบนั คอมพิวเตอรป์ ระเภทน้ยี งั มกี ล้องถ่ายภาพติด
มาบนตัวเคร่อื งด้วย

ชนิดของคอมพวิ เตอร์

34

1) ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)
2) สถานงี านวิศวกรรม (engineering workstation)
3) มนิ คิ อมพิวเตอร์ (minicomputer)
4) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
5) ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ (supercomputer) หรอื คอมพิวเตอร์ประสทิ ธิภาพสงู (high
performance computer)

สาเหตุท่ีทำใหเ้ กิดสารสนเทศ

1. เมอื่ มวี ทิ ยาการความรู้ หรอื สง่ิ ประดิษฐ์ หรอื ผลิตภณั ฑ์ใหม่ๆ พรอ้ มกันน้ัน ก็จะเกดิ สารสนเทศมา
พร้อมๆ กนั ด้วย จากนน้ั ก็จะมกี ารเผยแพร่ หรอื กระจายสารสนเทศ เกี่ยวกบั วทิ ยาการความร้หู รือสิ่งประดิษฐ์
ผลติ ภัณฑ์ ชนิดนนั้ ๆไปยัง แหลง่ ตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ ง

2. เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ เปน็ เครือ่ งมือสำคญั ในการผลติ สารสนเทศ เน่ืองจากมี ความสะดวกในการ
ปอ้ น ขอ้ มูล การปรับปรุงแก้ไข การทำซ้ำ การเพิ่มเตมิ ฯลฯ ทำใหม้ ีความ สะดวกและง่ายตอ่ การผลิต
สารสนเทศ

3. เทคโนโลยีส่ือสารยุคใหมม่ ีความเรว็ ในการสื่อสารสงู ข้นึ สามารถเผยแพรส่ ารสนเทศ จากแหล่งหน่งึ
ไปยัง สถานที่ตา่ งๆ ทั่วโลกในเวลาเดยี วกนั กบั เหตุการณ์ท่ีเกิดข้นึ จริง อกี ทั้งสามารถสง่ ผ่านข้อมูลได้อยา่ ง
หลากหลาย รูปแบบ พรอ้ มๆ กนั ในเวลาเดยี วกัน

4. เทคโนโลยกี ารพิมพท์ ่มี ีความสามารถในการผลิตสารสนเทศสงู ขนึ้ สามารถผลิตสารสนเทศได้ครง้ั
ละจำนวน มากๆ ในเวลาส้ันๆ มสี ีสันเหมือนจรงิ ทำใหม้ ีปรมิ าณสารสนเทศใหมๆ่ เกดิ ขึ้นอยู่ตลอดเวลา

5. ผู้ใชม้ ีความจำเปน็ ตอ้ งใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษา เพอ่ื การค้นคว้าวจิ ัย เพ่ือการ พฒั นาคุณภาพ
ชวี ติ เพือ่ การ ตัดสนิ ใจ เพ่ือการแกไ้ ขปญั หา เพ่อื การปฏบิ ัติงาน หรือปรบั ปรุง ประสิทธภิ าพการปฏิบัติงาน,
การบรหิ ารงาน ฯลฯ

6. ผูใ้ ช้มีความต้องการใช้สารสนเทศ เพอื่ ตอบสนองความสนใจ ต้องการทราบแหล่งที่อยูข่ อง
สารสนเทศ ตอ้ งการเขา้ ถงึ สารสนเทศ ต้องการสารสนเทศทีม่ าจากต่างประเทศ ตอ้ งการสารสนเทศอย่าง
หลากหลาย หรือต้องการ สารสนเทศอยา่ งรวดเรว็ เป็นต้น

คณุ ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้นั้น ดังที่กล่าว
มาแลว้ วา่ ขอ้ มูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีมีความสำคัญอย่างมากตอ่ ทกุ องคก์ าร ท้งั นี้สารสนเทศที่ดีควร
มีลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้

35

1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององคก์ ารที่ดีจะตอ้ งมีความเท่ียงตรงและเชื่อถือได้ โดย
ไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กบั
ความถูกต้องหรือความเทยี่ งตรง ยอ่ มส่งผลกระทบทำใหก้ ารตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย

2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความ
เที่ยงตรงหรือความถกู ต้องแลว้ ยังจะต้องมคี ณุ สมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใชไ้ ด้ทนั ทีเม่ือต้องการ
ใชข้ ้อมูล หรอื เพ่อื การตดั สินใจ ทงั้ น้เี น่อื งจากเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ทางการบรหิ ารทงั้ ภายในและภายนอกองค์การ
มกี ารเคล่อื นไหวเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลติ ตลอดจนด้านการเงิน
ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการ
ดำเนนิ งานของผบู้ รหิ ารที่จะลดลงตามไปดว้ ย

3. ความสมบรู ณ์ (Completeness) สารสนเทศขององคก์ ารท่ดี ี จะต้องมคี วามสมบูรณ์ท่จี ะช่วยทำให้
การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิผลของการดำเนนิ งาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเปน็ สารสนเทศที่ไมม่ ีความสำคัญ เช่นเดียวกับ
การมสี ารสนเทศที่มปี ริมาณนอ้ ยเกินไป กอ็ าจทำใหไ้ ม่ได้สารสนเทศที่สำคญั ครบเพยี งพอทุกด้านที่จะนำไปใช้
ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100
เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ
ราคาตอ่ หนว่ ย แหลง่ ผผู้ ลิตค่าใช้จา่ ยในการสง่ั ซอ้ื ค่าใช้จ่ายในการเกบ็ รักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละ
ชนดิ ดงั นัน้ จะตดั สนิ ใจเก่ียวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ กจ็ ำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศ
ในทุกเรื่อง การขาดไปเพยี งบางเรอื่ งจะส่งผลกระทบตอ่ การตดั สินใจอย่างมากเป็นต้น จากตวั อย่างจะเหน็ ได้ว่า
ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มหี รือมีไมเ่ พียงพอตอ่
การตัดสินใจ แตจ่ ะต้องได้รับสารสนเทศทีส่ ำคัญครบในทุกดา้ นท่ีทำการตัดสินใจ

4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมี
คุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการ
ตดั สินใจได้ ดังนน้ั ในการทอ่ี งค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนัน้ การสอบถามความ
ต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มคี วามสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลติ
การตลาด และการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ เป็นต้น

5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะ
แหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การท่ี
ผบู้ รหิ ารมองเหน็ สารสนเทศบางเรอ่ื งแล้วพบว่าทำไมจงึ มีคา่ ที่ต่ำเกนิ ไป หรอื สูงเกนิ ไป อาจตอ้ งตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งของสารสนเทศท่ีไดม้ า ทงั้ นกี้ ็เพอ่ื มิใหก้ ารติดสินใจเกิดความผิดพลาด

36

คุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหารงานบุคคลจะต้องพยายามจัดระบบให้มี
ความพร้อมครบถ้วนและพร้อมที่จะใช้งานได้ ปัญหาสำคัญที่องค์การส่วนมากมักจะต้องเผชิญ คือ การไม่
สามารถสนองข้อมูลทีเ่ กี่ยวกับบุคคลให้ทนั กับความจำเป็นใช้ในการที่จะต้องดำเนินการหรือตัดสินปัญหาบาง
ประการ ดงั เช่น ถา้ หากมีเหตเุ ฉพาะหนา้ ที่ตอ้ งการบุคคลท่มี ี คณุ สมบัตอิ ยา่ งหนึ่งในการบรรจเุ ขา้ ตำแหนง่ หน่ึง
อยา่ งรวดเร็วในเวลาอนั สน้ั ซ่งึ หากผูจ้ ัดเตรียม ขอ้ มลู จะตอ้ งใชเ้ วลาประมวลข้ึนมานานเปน็ เดอื นก็ย่อมถือได้
วา่ ข้อมูลทสี่ นองใหน้ ้ันช้ากวา่ เหตกุ ารณ์ หรือในอีกทางหน่ึง บางคร้งั แม้จะเสนอขอ้ มลู ได้อย่างรวดเร็ว แต่เป็น
ขอ้ มลู ท่ีเป็นรายละเอยี ดมากเกินไปท่ีไมอ่ าจพจิ ารณาแยกแยะคุณสมบัติท่ีสำคญั หรอื ข้อมลู ทส่ี ำคัญที่เก่ียวข้อง
กับบุคคลอยา่ งเด่นชัด ก็ย่อมทำใหก้ ารใช้ข้อมูลนน้ั เป็นไปดว้ ยความยากลำบาก

นอกจากลักษณะที่ดีของสารสนเทศดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีคุณสมบัติที่แอบแฝงของสารสนเทศอกี
บางลักษณะที่สมั พันธก์ ับระบบสารสนเทศ และวิธีการดำเนินงานของระบบ สารสนเทศ ซึ่งจะมีความสำคัญ
แตกต่างกนั ไปตามลักษณะงานเฉพาะอย่าง ซ่งึ ไดแ้ ก่

1. ความละเอียดแม่นยำ คือ สารสนเทศจะต้องมีความละเอียดแม่นยำในการวัดข้อมูล ให้
ความเชื่อถอื ได้สูง มีรายละเอียดของขอ้ มลู และแหล่งท่มี าของข้อมลู ท่ีถกู ต้อง

2. คณุ สมบัตเิ ชิงปริมาณ คือความสามารถทจ่ี ะแสดงออกมาในรูปของตวั เลขได้ และสามารถ
เปรยี บเทียบในเชงิ ปรมิ าณได้

3. ความยอมรับได้ คือ ระดับความยอมรับได้ของกลุ่มผู้ใช้สารสนเทศอย่างเดียวกัน
สารสนเทศควรมีลักษณะเดียวกันในกลุ่มผู้ใช้งาน หรือใกล้เคียงกันโดยสามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น การใช้
เคร่ืองมอื เพอ่ื วัดคุณภาพการผลิตสินค้า เคร่ืองมือดังกล่าวจะต้องเป็นที่ยอมรับได้ว่าสามารถวัดค่าของคุณภาพ
ได้อย่างถูกต้อง

4. การใช้ได้ง่าย คือ ความสามารถนำไปใช้งานได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทั้งในส่วนของ
ผ้บู ริหารและผูป้ ฏิบัติงาน

5. ความไม่ลำเอียง ซึ่งหมายถึง ไม่เป็นสารสนเทศที่มีจุดประสงค์ที่จะปกปิดข้อเท็จจริง
บางอย่าง ซ่งึ ทำให้ผ้ใู ชเ้ ข้าใจผดิ ไปจากความเป็นจรงิ หรือแสดงขอ้ มูลท่ีผิดจากความเปน็ จรงิ

6. ชดั เจน ซึง่ หมายถงึ สารสนเทศจะต้องมีความคลมุ เครอื น้อยที่สุด สามารถทำความเข้าใจ
ไดง้ า่ ย

คณุ ภาพของสารสนเทศ

คุณภาพของสารสนเทศ จะมีคุณภาพสงู มาก หรอื น้อย พิจารณาที่ 3 ประเด็น ดงั นี้ (Bentley 1998 :
58-59)

37

1. ตรงกับความต้องการ (Relevant) หรือไม่ โดยดูวา่ สารสนเทศนั้นผู้ใช้สามารถนำไปใช้เพ่ิม
ประสิทธิภาพได้ มากกว่าไม่ใช้สารสนเทศ หรือไม่ คุณภาพของสารสนเทศ อาจจะดูที่มันมีผลกระทบต่อ
กิจกรรมของผูใ้ ช้ หรือไม่ อยา่ งไร

2. นา่ เช่อื ถอื (Reliable) เพียงใด ความนา่ เชื่อถอื มีหัวขอ้ ทีจ่ ะใช้พิจารณา เชน่ ความทันเวลา
(Timely) กับผู้ใช้ เมื่อ ผู้ใช้จำเป็นต้องใช้มีสารสนเทศนั้น หรือไม่ สารสนเทศที่นำมาใช้ต้องมีความถูกต้อ ง
(Accurate) สามารถพสิ จู น์ (Verifiable) ได้ว่าเป็นความจริง ด้วยการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเ่ี กย่ี วข้อง เป็นตน้

3. สารสนเทศนั้นเข้มแข็ง (Robust) เพียงใด พิจารณาจากการที่สารสนเทศสามารถเคลื่อน
ตัวเองไปพร้อมกับกาลเวลาที่เปลี่ยนไป (Rigorous of Time) หรือพิจารณาจากความอ่อนแอของมนุษย์
(Human Frailty) เพราะมนุษย์ อาจทำความผิดพลาดในการป้อนข้อมูล หรือการประมวลผลข้อมูล
เพราะฉะนั้นจะต้องมีการควบคุม หรือตรวจสอบ ไม่ให้มีความผิดพลาดเกิดขึ้น หรือพิจารณาจากความ
ผิดพลาด หรือล้มเหลวของระบบ (System Failure) ที่จะส่งผล เสียหายต่อสารสนเทศได้ ดังนั้นจึงต้องมกี าร
ป้องกันความผิดพลาด (ที่เนื้อหา และไม่ทันเวลา) ที่อาจเกิดขึ้นได้ หรือ พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลง การ
จดั การ (ข้อมูล) (Organizational Changes) ทอี่ าจจะสง่ ผลกระทบ (สรา้ งความเสยี หาย) ต่อสารสนเทศ เช่น
โครงสรา้ ง แฟม้ ขอ้ มลู วธิ กี ารเขา้ ถงึ ข้อมูล การรายงาน จักตอ้ งมกี ารป้องกัน หากมกี าร เปลี่ยนแปลงในเร่ือง
ดังกล่าว
นอกจากนั้นซวาสส์ (Zwass 1998 : 42) กลา่ วถงึ คณุ ภาพของสารสนเทศจะมีมากนอ้ ยเพยี งใดข้ึนอยูก่ ับ การ
ทันเวลา ความสมบรู ณ์ ความกะทดั รดั ตรงกบั ความต้องการ ความถกู ตอ้ ง ความเท่ยี งตรง (Precision) และ
รูปแบบท่เี หมาะสม ในเรอื่ งเดียวกัน โอไบร์อัน (O’Brien 2001 : 16-17) กลา่ ววา่ คุณภาพของสารสนเทศ
พจิ ารณาใน 3 มิติ ดงั นี้

1. มิติดา้ นเวลา (Time Dimension)
- สารสนเทศควรจะมกี ารเตรยี มไวใ้ หท้ ันเวลา (Timeliness) กับความตอ้ งการของผู้ใช้
- สารสนเทศควรจะต้องมีความทันสมยั หรอื เป็นปัจจบุ นั (Currency)
- สารสนเทศควรจะต้องมคี วามถ่ี (Frequency) หรือบ่อย เท่าท่ีผูใ้ ช้ตอ้ งการ
- สารสนเทศควรมเี ร่ืองเก่ียวกบั ช่วงเวลา (Time Period) ตง้ั แต่อดีต ปัจจุบัน และ

อนาคต
2. มิตดิ า้ นเน้ือหา (Content Dimension)
- ความถูกตอ้ ง ปราศจากข้อผิดพลาด
- ตรงกบั ความต้องการใช้สารสนเทศ
- สมบูรณ์ สิ่งที่จำเปน็ จะตอ้ งมใี นสารสนเทศ

38

- กะทัดรัด เฉพาะที่จำเปน็ เทา่ น้ัน
- ครอบคลมุ (Scope) ทง้ั ดา้ นกวา้ งและดา้ นแคบ (ด้านลึก) หรือมจี ุดเนน้ ทง้ั ภายในและ
ภายนอก
- มีความสามารถ/ศกั ยภาพ (Performance) ท่แี สดงให้เห็นไดจ้ ากการวดั คา่ ได้ การบ่ง
บอกถึงการพัฒนา หรอื สามารถเพมิ่ พูนทรพั ยากร

3. มติ ิดา้ นรูปแบบ (Form Dimension)
- ชัดเจน ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
- มที ั้งแบบรายละเอยี ด (Detail) และแบบสรุปย่อ (Summary)
- มกี ารเรยี บเรยี ง ตามลำดบั (Order)
- การนำเสนอ (Presentation) ที่หลากหลาย เชน่ พรรณนา/บรรยาย ตัวเลข กราฟิก

และอื่น ๆ
- รูปแบบของส่อื (Media) ประเภทต่าง ๆ เชน่ กระดาษ วีดทิ ัศน์ ฯลฯ

สว่ นสแตรแ์ ละเรยโ์ นลด์ (Stair and Reynolds 2001 : 7) กลา่ วถึง คุณคา่ ของสารสนเทศข้ึนอยู่กบั
การที่ สารสนเทศนัน้ สามารถช่วยให้ผ้ทู ี่มีหน้าทต่ี ัดสินใจทำให้เป้าหมายขององคก์ ารสมั ฤทธผิ์ ลได้มากน้อย
เพียงใด หาก สารสนเทศ สามารถทำให้บรรลุเปา้ หมายขององค์การได้ สารสนเทศนนั้ กจ็ ะมีคุณค่าสูงตามไป
ดว้ ย

ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ

ปจั จบุ ันเทคโนโลยีสารสนเทศไดร้ ับความสนใจนำมาใชง้ านในหลายลักษณะและเกอื บทกุ ธุรกิจ โดยที่
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ส่งผลกระทบในวงกว้างไปทุกวงการทั้งภาคเอกชนและราชการ ระบบ
สารสนเทศช่วยสรา้ งประโยชน์ตอ่ การดำเนินงานขององคก์ รได้ดังนี้

1. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์
เนื่องจากข้อมูลถูกจัดเก็บและบริหารอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วใน
รปู แบบทเ่ี หมาะสมและสามารถนำข้อมลู มาใชป้ ระโยชน์ทนั ต่อความตอ้ งการ

2. ช่วยในการกำหนดเป้าหมายกลยทุ ธ์และการวางแผนปฏิบัตกิ าร โดยผู้บริหารสามารถนำ
ข้อมูลที่ได้จากระบบสารสนเทศมาช่วยในการวางแผนและกำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานเนื่องจาก
สารสนเทศถูกรวบรวมและจัดการอย่างเป็นระบบ ทำให้มีประวัติของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง สามารถที่จะบ่งช้ี
แนวโน้มของการดำเนินงานว่านา่ จะเปน็ ไปในลกั ษณะใด

39

3. ช่วยในการตรวจสอบการดำเนนิ งาน เมอ่ื แผนงานถกู นำไปปฏิบัติในชว่ งระยะเวลาหน่ึง ผู้
ควบคุมจะต้องตรวจสอบผลการดำเนินงานโดยนำข้อมูลบางส่วนมาประมวลผลเพื่อประกอบการประเมิน
สารสนเทศทไ่ี ด้จะแสดงใหเ้ ห็นผลการดำเนนิ งานว่าสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายท่ตี ้องการเพยี งไร

4. ช่วยในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตูของปัญหา ผู้บริหารสามรถใช้ระบบสารสนเทศ
ประกอบการศึกษาและการค้นหาสาเหตุ หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน ถ้าการดำเนินงานไม่
เปน็ ไปตามแผนท่ีวางไว้ โดยอาจจะเรยี กขอ้ มูลเพ่มิ เติมออกมาจากระบบ เพื่อให้ทราบวา่ ความผิดพลาดในการ
ปฏิบตั งิ านเกดิ ข้ึนจากสาเหตุใด หรอื จดั รูปแบบสารสนเทศในการวิเคราะหป์ ัญหาใหม่

5. ช่วยใหผ้ ใู้ ช้สามารถวิเคราะห์ปญั หาหรืออปุ สรรคที่เกิดขน้ึ เพ่ือหาวธิ ีควบคุม ปรับปรุงและ
แก้ไขปัญหา สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลจะช่วยให้ผู้บริหารวิเคราะห์ว่าการดำเนินงานในแต่ละ
ทางเลอื กจะชว่ ยแกไ้ ขหรอื ควบคมุ ปญั หาทีเ่ กิดข้นึ ได้อย่างไร ธรุ กจิ ต้องทำอยา่ งไรเพอ่ื ปรับเปลยี่ นหรอื พัฒนาให้
การดำเนินงานเปน็ ไปตามแผนงานหรือเป้าหมาย

6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพช่วยให้ธุรกิจลดเวลา แรงงาน และ
ค่าใช้จ่ายในการทำงานลง เนื่องจากระบบสารสนเทศสามารถรับภาระงานที่ต้องใช้แรงงานจำนวนมาก
ตลอดจนช่วยลดขั้นตอนในการทำงาน ส่งผลให้ธุรกิจสามารถลดจำนวนคนและระยะเวลาในการประสานงาน
ให้น้อยลง โดยผลงานที่ออกมาอาจเท่าหรือดีกว่าเดิม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการ
แขง่ ขนั ของธรุ กจิ

จากทีก่ ลา่ วมาจะเห็นได้วา่ ระบบสารสนเทศมีความสำคญั ในการบรหิ ารจัดการภายในองค์กร
เพราะทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมโลกมีการ
เปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลาและมกี ารแขง่ ขันทางธุรกิจสูงองค์กรท่ีมีระบบการบรหิ ารงานท่ีมีประสิทธิภาพและ
เขา้ ถึงข้อมลู ไดเ้ รว็ เทา่ นัน้ ถึงจะอยู่รอดไดใ้ นปจั จุบันดงั น้นั ผบู้ ริหารขององคก์ รนับว่าเป็นผู้ท่มี บี ทบาทในการที่จะ
พัฒนาระบบสารสนเทศของตนเองให้มีความทันสมัยและนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะปัจจุบันการ
นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในวงการธุรกิจก็เพื่อลดต้นทุนการผลิต สนับสนุนการตัดสินใจในการ
บริหารงานและใช้ในการแข่งขันทางธุรกิจ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆสำหรับองค์กร นอกจากนี้ยงั
สรา้ งความแข็งแกร่งทางด้านธุรกจิ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการผลิตสนิ ค้าและบริการ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการ
แข่งขันนำไปสู่เศรษฐกจิ ยุคใหม่ตอ่ ไปในอนาคต

การสบื ค้น และรับสง่ ขอ้ มลู แฟ้มขอ้ มลู และสารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้

การสืบค้นข้อมลู
การนำความรูเ้ กี่ยวกับอินเทอร์เนต็ มาประยุกต์ใช้ในการศกึ ษาหาความรู้ ไดแ้ ก่ การสบื คน้ ข้อมูลทาง
อนิ เทอรเ์ นต็ โดยการใช้งานอินเทอรเ์ นต็ เกย่ี วกบั การศึกษานจ้ี ะสามารถแบ่งเนื้อหาออกเปน็ 3 ระดบั ดงั น้ี

40
1. การสบื ค้นขอ้ มูลทางอนิ เทอร์เน็ต
2. การนำข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ น็ตมาใชง้ าน
3. การสร้างแหล่งข้อมลู ดว้ ยตนเอง
การคน้ คว้าด้วยการใช้ Search Engine
การใช้งานงานอนิ เทอรเ์ น็ตทนี่ ยิ มใช้กนั อย่างมาก จะได้แก่การเขา้ เย่ยี มชมเวบ็ ไซตต์ ่างๆ เพ่อื หาความรู้
แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณีทีเ่ รารู้ว่าเวบ็ ไซตเ์ หล่านน้ั มชี ือ่ ว่าอะไร เน้อื หาของเวบ็ มุ่งเนน้ เกี่ยวกบั ส่งิ ใด เรา
สาสามารถที่จะเข้าเย่ยี มชมได้ทนั ท่ี แต่ในกรณีทเ่ี ราไม่ทราบชือ่ เว็บเหล่านัน้ แต่เรามีความตอ้ งการท่ีจะค้นหา
เนื้อหาบางอยา่ ง มวี ธิ ีการจะเข้าสบื คน้ ขอ้ มลู ได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine

Search Engine จะมหี น้าท่รี วบรวมรายชื่อเวบ็ ไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเปน็ หมวดหมู่ ผู้ใช้งาน
เพียงแต่ทราบหวั ข้อท่ีต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรอื ข้อความของหวั ขอ้ น้นั ๆ ลงไปในชอ่ งท่ีกำหนด คลิกปมุ่
ค้นหา เท่านนั้ ขอ้ มลู อยา่ งยอ่ ๆ และรายชอ่ื เว็บไซต์ที่เก่ยี วขอ้ งจะปรากฏใหเ้ ราเข้าไปศึกษาเพ่ิมเติมไดท้ นั ที

Search Engine แต่ละแห่งมวี ิธกี ารและการจัดเก็บฐานข้อมูลทีแ่ ตกต่างกนั ไปตามประเภทของ
Search Engine ท่ีแตล่ ะเวบ็ ไซตน์ ำมาใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเขา้ ไปหาขอ้ โดยวธิ กี าร Search น้นั
อย่างนอ้ ยเราจะตอ้ งทราบวา่ เวบ็ ไซต์ท่ีจะเขา้ ไปใช้บริการ ใช้วิธกี ารหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร
เน่อื งจากแต่ละประเภทมคี วามละเอยี ดในการจดั เกบ็ ข้อมูลตา่ งกนั ไป

การคน้ หาขอ้ มลู ทางอินเตอร์เน็ต
ผู้คนจะนยิ มใหเ้ วบ็ ไซตห์ ลกั ๆ ในการคน้ หาขอ้ มลู ท่ีต้องการ มหี ลักๆ 3 เว็บไซต์คือ
Google (กลู เก้ลิ ) www.google.co.th

Yahoo (ยาฮู) www.yahoo.com

41

Bing (บิง้ ค)์ www.bing.com

รับ-สง่ ขอ้ มูล
หมายถึง การส่งข้อมูลหรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่อง
ทางการสื่อสารเพ่ือเป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นแบบใช้สาย หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมูลหรอื
ขา่ วสารน้ันอาจจะเป็นข้อความ เสยี ง ภาพเคลื่อนไหว หรือขอ้ มลู ทเ่ี ป็นมัลตมิ ีเดยี กไ็ ด้ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูล
จึงเป็นสว่ นหนึง่ ของการสื่อสารโทรคมนาคม โดยเน้นการสง่ ผา่ นขอ้ มลู โดยใชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์และเครือข่าย
เป็นหลกั
การรบั -ส่งขอ้ มูลผา่ นเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็

42

การโอนถา่ ย (Transmission) ข้อมลู หรือการแลกเปล่ียนข้อมูลระหวา่ งผู้สง่ ต้นทางกับผู้รับปลายทาง
ทั้งข้อมูลประเภท ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลสื่อผสมโดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปสัญญาณทางไฟฟ้า (Electronic
data) จากนั้นถึงสง่ ไปยงั อุปกรณ์หรือคอมพวิ เตอรป์ ลายทาง

1. ผูส้ ่ง เปน็ ส่งิ ท่ที ำหน้าท่ีสง่ ข้อมูลข่าวสารออกไปยงั จุดหมายปลายทางท่ีตอ้ งการ ซึ่งอาจเป็นบุคคล
หรืออุปกรณ์ เชน่ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ เปน็ ตน้

2. ข้อมูลข่าวสาร เปน็ ส่งิ ท่ีผ้สู ง่ ต้องการสง่ ไปให้ผ้รู บั ทอี่ ยู่ปลายทางซ่งึ อาจเปน็ เสียง ข้อความหรอื ภาพ
เพอื่ ส่ือสารใหเ้ กดิ ความเข้าใจตรงกัน

3. สื่อกลาง หรือช่องทางการสื่อสาร เป็นสิ่งที่ช่วยให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยังผู้รับได้
โดยสะดวก ซงึ่ มหี ลายรปู แบบ ดังนี้

* สายสัญญาณชนิดตา่ งๆ เช่น สายโทรศพั ท์ สายเคเบลิ เสน้ ใยแก้วนำแสง เปน็ ตน้
* คล่ืนสัญญาณชนิดต่างๆ เช่น คล่นื วทิ ยุ คลน่ื ไมโครเวฟ คลน่ื แสง คลน่ื อนิ ฟราเรด
* อปุ กรณ์เสริมชนิดต่างๆ เชน่ เสาอากาศวทิ ยุ เสาอากาศโทรศพั ท์ ดาวเทยี ม โมเด็ม
4. ผู้รับ เป็นสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ซึ่งส่งผ่านสื่อกลางชนิดต่างๆ เช่น เครื่อง
คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ โทรทัศน์ วทิ ยุ เปน็ ตน้
การที่จะส่งข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะขาดส่วนประกอบใด
ส่วนประกอบหนงึ่ ที่กล่าวมาแลว้ ไมไ่ ด้ และตอ้ งรู้จกั เลือกใชอ้ ปุ กรณ์และวิธกี ารใหเ้ หมาะสมกับลักษณะงาน
แฟม้ ขอ้ มูล
แฟ้มข้อมลู , ไฟล์ (File) คอื การเกบ็ หรอื รวบรวมขอ้ มลู ท่ีบันทึกไว้เป็น ระเบยี น (record) ใน
Auxiliary Storage คะ่ โดยการเก็บข้อมูลทม่ี ีประสทิ ธิภาพตอ้ งมีการบำรงุ รกั ษาขอ้ มูล และอัพเดทให้ทนั สมยั
ดว้ ย function ตา่ งๆ ดังน้ี
Add Record (การเพมิ่ )
Change Record (การเปล่ียนแปลง)
Delete Record (การลบ) แฟ้มขอ้ มลู (File) คือ การเก็บ หรอื รวบรวมขอ้ มลู ที่บนั ทกึ ไว้
เป็น ระเบียน (record) ใน Auxiliary Storage
ระเบยี น (Record) คือ การรวมเขตขอ้ มูล ทส่ี มั พันธ์กันไวด้ ว้ ยกนั
เขตขอ้ มลู (Field) คือ ข้อมูลชุดหนงึ่ เช่น ช่ือ นามสกุล รหัสประจำตัวประชาชน เป็นตน้
Add Record
คือการเพมิ่ ข้อมลู ใหม่ลงไปในแฟ้มข้อมูล เชน่ การเปดิ บัญชใี หม่ท่ีธนาคาร ต้องมีการเพ่ิมรายละเอียด
ของ record ใหม่เข้าไปในฐานขอ้ มลู ซึ่งมขี ัน้ ตอนดังตอ่ ไปนี้

43

1. แฟ้มข้อมลู ที่ใช้เกบ็ บัญชีลกู ค้าตอ้ งมีอยู่แล้ว และ พรอ้ มทจ่ี ะ Update ได้
2. เสมยี นท่ีธนาคารป้อนขอ้ มูลของผทู้ ี่จะเปดิ บัญชีใหม่ ท่ี Terminal โดยใส่ขอ้ มูลดังน้ี

Account Number :.................
Account Name :................
Deposit :.................
3. โปรแกรมที่ทำหนา้ ที่ Update จะนำข้อมูลที่ถูกป้อนมาเหลา่ น้ี เกบ็ ไวใ้ นหนว่ ยความจำ
หลกั
4. หลังจากนัน้ โปรแกรมจะบันทึก record ใหมล่ งไปในแฟ้มขอ้ มูล
ตำแหน่งทจ่ี ะไปเก็บขอ้ มลู บน HardDisk จะถกู จดั การโดยโปรแกรมท่ีควบคมุ Hard Disk บางกรณี
record อาจจะไปถูกแทรกไว้ระหวา่ ง record อนื่ (กรณที ม่ี ีการส่ังให้เรียงลำดับข้อมูล) หรือตอ่ ท้ายแฟ้มขอ้ มูล
Changing Record
การเปล่ียนแปลงแกไ้ ขอาจเกิดได้ 2 กรณีคือ
1. ขอ้ มลู ของเก่าท่ีใสไ่ ว้มีการผดิ พลาด
2. เม่อื มีขอ้ มูลใหมม่ าทำให้ข้อมูลเก่าไมถ่ กู ต้อง
ตัวอยา่ ง กรณีท่ี 1 ผู้ทปี่ ้อนข้อมลู ใส่ช่ือคนผิด เช่น ช่ือ HUGH DUNN ใส่เป็น HUGH DONE
* ลูกค้าไม่ไดต้ รวจสอบตอนเปดิ บัญชี และ ออกจากธนาคารไป
* พอลกู คา้ ไดร้ ับ statement จากธนาคารจึงรู้วา่ ชื่อถูกสะกดผิด
* ลูกคา้ ขอใหธ้ นาคารแกไ้ ขช่อื ใหถ้ ูก
* เสมียนธนาคารกจ็ ะเปลย่ี นข้อมูลให้ถกู ตอ้ ง
ตวั อยา่ ง กรณที ี่ 2 เมอื่ ต้องการฝากเงนิ เพิม่ หรือ ถอนเงินจากธนาคาร ธนาคารต้องเปล่ียนแปลง
ยอดเงนิ คงเหลอื ในบัญชีให้ถูกตอ้ ง สมมุติว่าคนชื่อ Jean Matino ต้องการถอนเงิน 5000.00 บาท จะมี
ขัน้ ตอนต่างๆ ดงั นี้
1. ใช้ Account Number เพ่ือเรยี กดูข้อมูลของ Jean Matino เมื่ข้อมลู ของ Jean Matino
ปรากฏบนจอภาพแล้วพนกั งานธนาคารจะใส่ขอ้ มูลดงั น้ี
Enter Account Number : ..52-4417.....
Enter Widthdrawal Amount : 5000.....
2. โปรแกรมท่ี Update จะไปเรยี กข้อมูลจาก Hard Disk สำหรบั record ของ Account
Number = 52-4417 และ อ่านข้อมูล ซ่ึงประกอบด้วย ชอื่ เจา้ ของบัญชี และ จำนวนเงิน มาเก็บไวใ้ น
หนว่ ยความจำหลัก
3. โปรแกรมทำหนา้ ทห่ี ักลบเงนิ ท่ีถอนจากเงินในบัญชีท่ีมีอยู่ ถา้ มจี ำนวนเงนิ เพียงพอ และ
เกบ็ ไวใ้ นหนว่ ยความจำหลัก
4. หลังจากนั้น โปรแกรมจะนำข้อมลู นี้ไปเขียนบนั ทึกกลบั ลงไปใน hard Disk เมือ่ ขอ้ มูลถกู
Update แล้ว ขอ้ มูลทีอ่ ยูใ่ น Hard Disk จะเปน็ ข้อมลู ท่ีถกู ต้อง

44

Deleting Records
คอื การท่ขี อ้ มูลจะถูกลบไปเมือ่ ไม่ตอ้ งการใช้งานแลว้ ตัวอยา่ ง การลบ record ของ Hal Gruen เมื่อ
เขามาขอปิดบญั ชี จะมขี น้ั ตอนดังนี้

1. พนักงานธนาคารใส่ Account Number ของ Hal Gruen ดังนี้
Enter Account Number : 45-6641

2. โปรแกรมทใ่ี ช้ Update จะอา่ นข้อมลู จาก Hard Disk โดยดจู าก Account Number
ข้อมูลประกอบไปด้วย Account Number, ชือ่ เจ้าของบัญชี และ จำนวนเงนิ

3. การลบข้อมูลออกจาก Hard Disk จริงๆ นั้นข้ึนอย่กู ับเทคนิคท่ีใช้ บางที record อาจจะ
ถกู ลบออกไปเลยจริงๆ หรอื ว่าทำเครื่องหมายไว้ (Flag) เชน่ ใช้ * เพือ่ ให้คอมพิวเตอร์ร้วู า่ record น้ีจะไม่
นำมาใช้อกี ต่อไป

4. เมอ่ื เพม่ิ * เข้าไปหนา้ record ที่ต้องการจะลบ คอมพวิ เตอร์กจ็ ะบันทกึ ข้อมลู ของ record
นก้ี ลบั ลงไปใน Hard Disk อีก ส่วนโปรแกรมทีใช้เรียกดขู ้อมูลจาก Hard Disk จะไมอ่ ่าน record ที่มี
เคร่ืองหมาย * นำหนา้

ประเภทของแฟ้มขอ้ มลู (File Type) เราสามารถจำแนกแฟ้มขอ้ มูลออกตามลกั ษณะของขอ้ มลู ที่เก็บ
บนั ทึกไว้และสามารถแบ่งแฟ้มข้อมูลออกเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คอื

1. แฟม้ ขอ้ มลู หลกั (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลซงึ่ เก็บขอ้ มูลที่สำคัญ เช่น แฟ้มขอ้ มูล
ประวตั ิ ลกู คา้ (Customer master file) ตามท่กี ลา่ วไว้ขา้ งตน้ แฟ้มข้อมลู ประวตั ิผจู้ ัดส่งสินค้า (Supplier
master file) แฟ้มข้อมูลสินค้าคงเหลือ (Inventory master file) แฟม้ ขอ้ มูลบัญชี (Account master file)
เปน็ ต้น ซง่ึ แฟม้ ข้อมลู หลกั เหล่านเี้ ป็นสว่ นประกอบของระบบงานบญั ชี (Account system)

2. แฟม้ รายการปรบั ปรงุ (Transaction file) เป็นแฟ้มที่บนั ทึกขอ้ มลู เก่ียวกับแฟ้มขอ้ มูลหลกั
ท่ีมีการเปลยี่ นแปลงในแตล่ ะวนั รายการท่ีเกิดข้ึนต้องนำไปปรับปรุงกับแฟม้ ข้อมูลหลกั เพ่อื ใหแ้ ฟ้มข้อมลู หลกั มี
ข้อมูลที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา

การปรบั ปรุงแฟ้มข้อมลู สามารถทำได้หลายอย่าง เช่น การเพิ่มรายการ (Add record) การลบ
รายการ (Delete record) และการแก้ไขรายการ (Edit)

การจดั ระเบยี บแฟ้มขอ้ มลู (File organization) มวี ิธกี ารจดั ได้หลายประเภท เชน่
1. การจดั ระเบียบแฟ้มขอ้ มลู แบบตามลำดบั (Sequential File organization) ลักษณะการ

จดั ขอ้ มูลรายการจะเรียงตามฟิลดท์ ก่ี ำหนด (Key field) เช่น เรียงจากนอ้ ยไปหามากหรอื จากมากไปหาน้อย
หรือเรียงตามตัวอักษร โดยสว่ นมากมักจะใชเ้ ทปแม่เหล็กเป็นส่ือในการเกบ็ ข้อมลู ซึง่ การเก็บโดยวิธีนจ้ี ะมที ง้ั
ข้อดีและข้อเสีย

ขอ้ ดี ขอ้ เสีย


Click to View FlipBook Version