แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พ.ศ.2563 - 2565
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
PHUKET PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE
เอกสารลาดับท่ี 7/2563
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พ.ศ.2563-2565
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู กต็
PHUKET PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE
เอกสารลำดบั ที่ 7/2563
คำนำ
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565)
เพ่อื ใช้เคร่อื งมอื ในการบริหารและการจัดการศึกษา ซง่ึ มคี วามชัดเจนสอดคล้องกบั สภาพบรบิ ทขององค์กร สอดคล้อง
เชื่อมโยงกับนโยบายทุกระดับ ได้แก่ ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579)
นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และยุทธศาสตร์การพฒั นา
จังหวดั ภเู กต็ โดยการบรู ณาการวางแผนรว่ มกนั จากผเู้ ก่ียวข้องในการจัดการศกึ ษา ประกอบด้วย ผบู้ รหิ ารการศึกษา
ผแู้ ทนคณะกรรมกดยารตดิ ตาม ตรวจสอบ ประมนิ และนเิ ทศการศกึ ษา (ก.ต.ป.น.) ประธานกล่มุ โรงเรียน ผู้อำนวยการกลุม่ /หนว่ ย
ตลอดจนบุคลากรท่เี กย่ี วข้องในหนว่ ยงาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ทกุ ทา่ นทใี่ หค้ วามร่วมมือในการจัดทำพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานเลม่ น้ี หวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่าแผนพัฒนาการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2563-2565 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จะเป็นประโยชน์สำหรับ
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นเครื่องมือในการบริการจัดการศึกษาให้บรรลุ
เป้าหมายต่อไป
สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็
สารบญั หนา้
สว่ นท่ี 1 บทนำ 1
1
- สภาพทั่วไป 3
- ข้อมลู พื้นฐาน 7
- ผลการดำเนนิ งาน 13
- การวเิ คราะห์และประเมินสถานภาพ 19
19
สว่ นที่ 2 นโยบายการศกึ ษาท่เี กยี่ วข้อง 22
30
- ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 33
- แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 37
- แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีส่ บิ สอง พ.ศ. 2560-2564 39
- แนวนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 44
- จดุ เนน้ การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 77
- จดุ เนน้ การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 81
- นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 81
- แผนพัฒนาจังหวดั ภูเกต็ (2561-2565) 82
83
สว่ นท่ี 3 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา 89
107
- วิสัยทศั น์ พันธกจิ คา่ นยิ ม 107
- เป้าประสงค์ นโยบาย จดุ เน้นการดำเนินงาน 108
108
- ตัวชว้ี ดั เป้าหมาย 109
110
- มาตรการและแนวทางการดำเนนิ งาน
สว่ นท่ี 4 โครงการ กิจกรรม และงบประมาณ
- สรุปงบประมาณ รายนโยบาย
- โครงการ/กิจกรรม และงบประมาณ
นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายท่ี 2 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
นโยบายที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและสร้างเสรมิ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์
นโยบายท่ี 4 ดา้ นสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มมี าตรฐาน หนา้
และลดความเหลอื่ มล้ำทางการศกึ ษา
112
นโยบายที่ 5 ดา้ นการจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวิทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
114
นโยบายท่ี 6 ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา 115
สว่ นท่ี 5 การขับเคลอื่ นแผนสูก่ ารปฏิบัติ 117
117
- การนำแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ 118
- แนวทางการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล 118
- การจดั ทำรายงานประจำปี 119
119
ภาคผนวก
- คำสัง่ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาภูเกต็
ความเช่อื มโยงระหว่างและนโยบายสาคญั กบั แผนพัฒนาการศกึ ษ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแม่บทภายใต้ แผนการศกึ
พ.ศ.2561-2580 ยุทธศาสตร์ ชาติ พ.ศ.25
1. ความมนั่ คง 1. ประเดน็ ความมนั่ คง 1.การจดั การศ
ความม่นั คงขอ
2. สร้างความสามารถใน 9.ประเดน็ เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ประเทศชาติ
การแข่งขนั
10. ประเด็นการปรับเปลีย่ น 2.การผลติ และ
3. พฒั นา/เสริมสร้าง คา่ นยิ มและวัฒนธรรม การวิจัย นวัตก
ศกั ยภาพมนษุ ย์ ขดี ความสามา
11.ประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพ ของประเทศ
3. พฒั นา/เสริมสร้าง คนตลอดช่วงชีวติ
ศกั ยภาพมนษุ ย์ 3.การพัฒนาศักยภ
12.ประเด็นการพฒั นาการเรียนรู้ และการสรา้ งสังคม
4. สร้างโอกาสและ
ความเสมอภาค 17. ประเด็นความเสมอภาคและ 4. การสรา้ งโอ
ทางสงั คม หลกั ประกนั ทางสงั คม เสมอภาค และ
5. สร้างการเติบโตบน ทางการศกึ ษา
คณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมติ ร 18. ประเด็นการเติบโตอยา่ งยง่ั ยืน
ตอ่ สิง่ แวดล้อม 5.การจัดการ
20.ประเด็นการบรกิ ารประชาชน เสรมิ คณุ ภาพช
6. ปรับสมดลุ และพฒั นา และประสิทธิภาพภาครัฐ กับสงิ่ แวดลอ้ ม
ระบบบริหารจดั การภาครัฐ 2ช1วี .ิตประเด็นการตอ่ ต้าน
การทุจริตและประพฤติมิชอบ 6.การพฒั นาป
ช2ีว3ิต. ประเด็นการวจิ ยั และ ระบบบรหิ ารจัด
พฒั นานวตั กรรม
ษาขนั้ พนื้ ฐานของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
กษาแห่งชาติ นโยบาย สพฐ. แผนพัฒนาการศึกษาฯ
560-2579 ปี งบประมาณ พ.ศ.2563 สพป.ภูเกต็
ศึกษาเพอ่ื 1.ดา้ นการจัดการศกึ ษา 1.ดา้ นการจดั การศึกษา
องสังคมและ เพอ่ื ความมั่นคงของมนษุ ย์ เพื่อความมน่ั คงของมนุษย์
ะพฒั นากำลงั คน 2.ด้านการจดั การศกึ ษา 2.ดา้ นการจัดการศึกษา
กรรม เพื่อสร้าง เพื่อเพม่ิ ความสามารถใน เพ่ือเพมิ่ ความสามารถใน
ารถในการแข่งขัน การแข่งขันของประเทศ การแขง่ ขนั ของประเทศ
ยภาพคนทุกช่วงวยั 3.ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง 3.ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ ง
มแหง่ การเรยี นรู้ ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
อกาสและความ 4.ดา้ นการสร้างโอกาสในการ 4.ดา้ นการสร้างโอกาสในการ
ะความเทา่ เทียม เขา้ ถงึ บริการทางการศกึ ษาที่ เขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาที่มี
า มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลด คณุ ภาพ มมี าตรฐานและลด
รศกึ ษาเพอ่ื สรา้ ง ความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศึกษา ความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษา
ชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ ร
ม 5.ด้านการจดั การศกึ ษาเพอ่ื 5.ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพ่อื
พัฒนาคุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มิตร พฒั นาคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ป็นมติ ร
ประสิทธภิ าพของ กบั สง่ิ แวดล้อม กับสงิ่ แวดลอ้ ม
ดการศกึ ษา
6.ด้านการปรับสมดุลและ 6.ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนา
พัฒนาระบบบริหารจดั ระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา
การศึกษา
สว่ นที่ 1
บทนำ
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 1
ส่วนที่ 1
บทนำ
1. สภาพทวั่ ไป
จงั หวัดภูเกต็ เปน็ จังหวดั ในภาคใต้ตอนบนของประเทศไทยต้ังอยรู่ ะหวา่ งละติจูดท่ี 7 องศา 45
ลิปดาถึง 8 องศา 15 ลปิ ดาเหนอื และลองจจิ ดู ที่ 98 องศา 15 ลิปดา ถงึ 98 องศา 40 ลปิ ดาตะวนั ออก
มีลกั ษณะเปน็ เกาะท่ีมีขนาดใหญ่ท่สี ุดของประเทศไทย ตงั้ อยู่ทางทิศตะวนั ตกของภาคใต้ในทะเล อันดามนั
มหาสมุทรอนิ เดีย มีเกาะบริวาร 32 เกาะ สว่ นกวา้ งทีส่ ดุ ของเกาะภูเกต็ เทา่ กับ 21.3 กิโลเมตร สว่ นยาวทีส่ ดุ
ของเกาะภูเกต็ เทา่ กบั 48.7 กโิ ลเมตร เฉพาะเกาะภูเก็ตมพี ืน้ ที่ 543.034 ตารางกโิ ลเมตร สว่ นเกาะบรวิ ารมี
พน้ื ท่ี 27 ตารางกโิ ลเมตร รวมพน้ื ที่ทั้งหมด 570.034 ตารางกิโลเมตรหรอื 356,271.25 ไร่ อยหู่ ่างจาก
กรงุ เทพมหานคร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4 ระยะทาง 867 กโิ ลเมตร และทางหลวงจังหวัด
หมายเลข 402 ระยะทาง 688 กิโลเมตร ทางอากาศมีอาณาเขตติดตอ่ ดังนี้
ทศิ เหนอื ติดชอ่ งแคบปากพระ จังหวัดพงั งา เช่อื มโดยสะพานสารสนิ และสะพานเทพกระษตั รี
ทศิ ตะวันออก ตดิ ทะเลเขตจังหวดั พงั งา
ทศิ ใต้ ตดิ ทะเลอนั ดามนั มหาสมทุ รอินเดีย
ทิศตะวนั ตก ตดิ ทะเลอนั ดามัน มหาสมทุ รอินเดีย
1.1 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
จงั หวดั ภเู กต็ มีลกั ษณะเปน็ หมเู่ กาะ วางตัวในแนวจากทิศเหนือไปทิศใต้ พ้นื ทสี่ ่วนใหญป่ ระมาณร้อย
ละ 70 เปน็ ภูเขา มียอดเขาทสี่ ูงที่สุด คอื ยอดเขาไม้เท้าสิบสอง สงู จากระดับน้ำทะเลปานกลาง 529 เมตร และ
ประมาณร้อยละ 30 เป็นพื้นที่ราบอยู่ตอนกลางและตะวันออกของเกาะ พื้นที่ชายฝั่งด้านตะวันออกเป็นดินเลน
และป่าชายเลน ส่วนชายฝง่ั ทะเลด้านตะวันตกเป็นภเู ขา และหาดทรายที่สวยงาม
1.2 ลกั ษณะภูมิอากาศ
จงั หวัดภูเกต็ มลี ักษณะภูมิอากาศแบบเขตศนู ย์สตู รอยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้
และลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื มีอากาศร้อนช้ืนตลอดปี มี 2 ฤดู ประกอบด้วย
ฤดูฝน เร่มิ ต้ังแต่เดือนเมษายน ถงึ เดอื นพฤศจิกายน
ฤดูรอ้ น เริ่มต้งั แตเ่ ดือนธนั วาคม ถึง เดือนมีนาคม
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 2
1.3 การปกครอง
จังหวดั ภเู ก็ตบริหารราชการแผ่นดนิ ในรูปแบบการบรหิ ารราชการส่วนภูมิภาค แบง่ ออกเปน็ 3 อำเภอ ประกอบด้วยอำเภอเมอื ง
ภูเกต็ อำเภอกะทู้ และอำเภอถลางมีตำบล17ตำบล96หมบู่ ้าน61ชมุ ชนการบรหิ ารราชการสว่ นท้องถ่นิ จำนวน19แห่งประกอบด้วยองคก์ าร
บริหารส่วนจงั หวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แหง่ เทศบาลตำบล 9 แหง่ และองคก์ ารบริหารส่วนตำบล (อบต.) 6 แห่ง
ตารางที่ 1 ข้อมลู เขตการปกครอง
อำเภอ พ้ืนที่ ระยะหา่ งจากจังหวัด ตัง้ เมอ่ื พ.ศ. ตำบล จำนวน ชุมชน
(ตร.กม.) (กม.) หมู่บา้ น
เมอื งภเู กต็ 224.000 1 2481 8 44 26
กะทู้ 67.034 10 2457 3 6 26
ถลาง 252.000 19 2441 6 46 9
จงั หวัดภูเกต็ 543.034 - - 17 96 61
ทมี่ า : ทท่ี ำการปกครองจังหวดั ภูเกต็ ณ เดือนพฤศจกิ ายน 2561
ตารางท่ี 2 ขอ้ มูลอำเภอ/ตำบล/หมบู่ า้ น/ชมุ ชน จังหวัดภเู กต็
อำเภอ ตำบล จำนวนหมู่บ้าน จำนวนชุมชน รูปแบบการปกครอง
เมอื งภูเกต็ 1. เกาะแก้ว 7 - อบต.
2. ฉลอง 10 - เทศบาลตำบล
3. วิชิต 9 - เทศบาลตำบล
4. รัษฎา 7 - เทศบาลตำบล
5. ราไวย์ 7 - เทศบาลตำบล
6. กะรน 4 5 เทศบาลตำบล
7. ตลาดเหนือ - 21 เทศบาลนคร
8. ตลาดใหญ่
รวม 8 ตำบล 44 26 -
กะทู้ 1. กมลา 6- อบต.
2. กะทู้ - 19 เทศบาลเมอื ง
3. ป่าตอง - 7 เทศบาลเมอื ง
รวม 3 ตำบล 6 26 -
ถลาง 1. เชิงทะเล 6 2 อบต. และเทศบาลตำบล
2. เทพกระษัตรี 11 7 อบต. และเทศบาลตำบล
3. ไม้ขาว 7- อบต.
4. ป่าคลอก 9 - เทศบาลตำบล
5. ศรสี ุนทร 8 - เทศบาลตำบล
6. สาคู 5- อบต.
รวม 6 ตำบล 46 9 -
รวมทง้ั จังหวดั 17 ตำบล 96 61 -
ที่มา : ทที่ ำการปกครองจังหวัดภเู ก็ต ณ วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2561
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 3
1.4 ประชากรและความหนาแนน่ ของประชากร
ประชากรจงั หวัดภูเก็ต ณ 31 ตุลาคม 2561 มจี ำนวน 409,204 คน เปน็ ชาย 193,641 คน หญิง 215,563 คน
อาศัยอยู่ในอำเภอเมืองภูเก็ตมากที่สุดคือ 246,502 คน รองลงมาคือ อำเภอถลาง จำนวน 104,129 คน และอำเภอกะทู้
จำนวน 58,573 คน
ตารางท่ี 3 จำนวนประชากรในจังหวัดภูเก็ต
อำเภอ/เขต จำนวนประชากร (คน)
การปกครอง 2559 2560 2561
รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง
อำเภอเมืองภเู กต็ 238,866 111,874 126,992 240,806 112,685 128,121 246,502 115,437 131,065
เทศบาลนครภเู กต็ 78,923 36,510 42,413 79,252 36,648 42,604 79,811 36,906 42,905
25,350
เทศบาลตำบลรษั ฎา 46,865 21,936 24,929 46,955 21,966 24,989 47,926 22,576 27,017
9,743
เทศบาลตำบลวชิ ติ 48,628 22,967 25,661 49,187 23,196 25,991 50,990 23,973 4,259
21,791
เทศบาลตำบลราไวย์ 17,586 8,304 9,282 18,025 8,487 9,538 18,414 8,671 30,839
10,943
เทศบาลตำบลกะรน 8,147 3,855 4,292 8,128 3,848 4,280 8,105 3,846 16,194
3,702
นอกเขตเทศบาล 38,717 18,302 20,415 39,259 18,540 20,719 41,256 19,465 53,659
4,431
อำเภอกะทู้ 55,767 26,535 29,232 56,344 26,758 29,585 58,573 27,734 3,865
45,363
เทศบาลเมอื งปา่ ตอง 20,628 10,104 10,524 20,721 10,139 10,582 21,307 10,364
215,563
เทศบาลเมืองกะทู้ 28,241 13,133 15,108 28,674 13,309 15,364 30,218 14,024
นอกเขตเทศบาล 6,898 3,298 3,600 6,949 3,310 3,639 7,048 3,346
อำเภอถลาง 99,536 48,197 51,339 100,547 48,684 51,863 104,129 50,470
เทศบาลตำบลเทพกระษตั รี 8,205 4,041 4,164 8,316 4,095 4,221 8,700 4,269
เทศบาลตำบลเชงิ ทะเล 6,841 3,081 3,760 6,938 3,111 3,827 6,976 3,111
นอกเขตเทศบาล 84,490 41,075 43,415 85,293 41,478 43,815 88,453 43,090
จังหวัดภเู กต็ 394,169 186,606 207,563 397,697 188,127 209,570 409,204 193,641
ทีม่ า : สำนกั บรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ที่ 31 ตลุ าคม 2561
2. ขอ้ มลู พ้ืนฐาน
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาภูเกต็ ปัจจุบันตง้ั อยู่ท่ี 4/4 ถนนแม่หลวน ตำบลตลาดใหญ่
อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000 อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ประมาณ 1.5 กิโลเมตร
โทรศัพท์ 076-211591 โทรสาร 076-214553 Website : http://phuketarea.go.th
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเกต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 4
1.5 เขตพ้ืนที่บริการดา้ นการศกึ ษา
สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาภูเกต็ มีภารกิจในการส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานใหก้ บั ประชากรวัยเรยี นในพื้นท่บี ริการ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองภูเกต็ อำเภอกะทู้ และอำเภอถลาง
แผนทแ่ี สดงพืน้ ท่ีบริการด้านการศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภเู กต็ เปน็ หน่วยงานทางการศึกษาซ่งึ มขี ้อมลู พ้นื ฐานดังน้ี
1) จำนวนสถานศึกษาในสังกดั
ตารางที่ 4 แสดงขนาดโรงเรยี นจำแนกรายอำเภอ ปกี ารศึกษา 2561
อำเภอ เล็ก กลาง ใหญ่ ใหญพ่ เิ ศษ รวม
(1-120คน) (121-600คน) (601-1,500คน) (1,501คน ข้นึ ไป)
เมืองภเู ก็ต 2 10 5 1 18
กะทู้ -4 - -4
ถลาง 4 21 2 - 27
รวม 6 35 7 1 49
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเกต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 5
ตารางท่ี 5 แสดงจำนวนสถานศกึ ษาในสังกดั จำแนกตามอำเภอและระดบั ช้นั ท่เี ปิดสอน
ระดบั ทเ่ี ปิดสอน อำเภอเมือง จำนวนโรงเรียน อำเภอถลาง รวม
ประถม 10 อำเภอกะทู้ 23 37
อ. 1- ป.6 3 6 12
อ. 2- ป.6 5 4 16 22
ป. 1- ป.6 2 3 1 3
ขยายโอกาส 7 1 4 12
อ.1 - ม.3 - - 2 2
อ.2 - ม.3 6 1 2 9
อ.2 - ม.6 1 - - 1
17 1 27 49
รวม -
5
ตารางท่ี 6 แสดงจำนวนโรงเรียนขนาดเลก็ แยกตามจำนวนนกั เรยี น ปีการศึกษา 2559-2562
จำนวนนกั เรียน จำนวนโรงเรยี นขนาดเล็ก ปกี ารศกึ ษา
2559 2560 2561 2562
0 – 40 4 3 3 3
41 - 60 1 - -1
61 - 80 2 2 2 -
81 - 120 1 1 12
รวม 8 6 6 6
2) จำนวนนักเรียน
ตารางที่ 7 แสดงจำนวนนักเรียนแยกรายชนั้ ปีการศกึ ษา 2560-2562
ระดบั ช้นั ปกี ารศึกษา2560 ปกี ารศกึ ษา2561 ปกี ารศึกษา2562
นกั เรยี น หอ้ ง นักเรยี น ห้อง นกั เรยี น หอ้ ง
(คน) (คน) (คน)
- ชัน้ อนบุ าล 1 117 9 234 13 67 4
- ชัน้ อนบุ าล 2 1,577 67 1,530 66 1,461 67
- ชนั้ อนบุ าล 3 1,581 62 1,750 68 1,628 68
3,275 138 3,514 147 3,156 139
รวม
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 6
ปกี ารศึกษา2560 ปีการศกึ ษา2561 ปีการศึกษา2562
นักเรยี น หอ้ ง นกั เรยี น ห้อง
ระดับช้นั (คน) (คน) นกั เรียน หอ้ ง
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2,261 77 2,450 76 (คน)
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 2,196 78 2,159 75
- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2,182 73 2}193 75 2,459 80
- ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 2,073 72 2,173 71
- ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 2,140 70 2,094 73 2,328 76
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 2,083 71 2,177 71
12,935 441 13,246 441 2,172 73
รวม
- ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 824 24 820 25 2,177 74
- ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 749 24 716 23
- ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 648 21 647 23 2,222 70
2,221 69 2,183 71
รวม 55 2 60 2 2,122 75
- ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 25 1 49 2
- ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 18 1 24 1 13,480 448
- ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 98 4 133 5
18,529 652 19,076 664 891 25
รวม
รวมทุกระดบั 762 25
ขอ้ มูล ณ 10 มถิ นุ ายน 2562 622 21
2,275 71
67 2
47 2
45 2
159 6
19,070 664
ตารางที่ 8 แสดงจำนวนนักเรยี นแยกตามระดบั ชัน้ ปกี ารศกึ ษา 2558-2562
ระดับช้นั ปกี ารศึกษา 2561 2562
2558 2559 2560 3,514 3,156
13,246 13,480
อนบุ าล 3,001 3,085 3,275 2,183 2,275
133 159
ประถมศึกษา 12,622 12,857 12,935 19,076 19,070
มัธยมศกึ ษาตอนต้น 2,290 2,238 2,221
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 78 73 98
รวม 17,991 18,253 18,529
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 7
ตารางที่ 9 แสดงจำนวนนกั เรยี น ครู ห้องเรียน ปกี ารศึกษา 2558-2562
ปกี ารศึกษา จำนวนโรงเรียน นกั เรียน ครู ห้องเรยี น อตั ราครู:
นักเรยี น
2558 49 17,991 1,073 650 1:17
2559 49 18,253 1,105 646 1:17
2560 49 18,529 1,003 652 1:18
2561 48 19,076 1,087 664 1:18
2562 49 19,070 958 664 1:19
3) จำนวนบคุ ลากร
ตารางท่ี 10 แสดงจำนวนบคุ ลากรในสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาและสถานศึกษา
บุคลากร จำนวน(คน)
บุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา
ผอ.สพป.ภเู ก็ต 1
รอง ผอ.สพป.ภูเกต็ -
บุคลากรทางการศึกษา 38
ศกึ ษานเิ ทศก์ 5
ลกู จา้ งประจำ 3
ลูกจ้างชั่วคราว 8
รวม 55
บคุ ลากรสถานศกึ ษา
ขา้ ราชการครู (สพฐ.) 891
พนักงานราชการ 10
ลกู จ้างชว่ั คราว (สพฐ.) 59
ครูอตั ราจา้ ง(อบจ.) 47
ลูกจ้างชว่ั คราวอน่ื 86
รวม 1,093
รวมทงั้ หมด 1,148
ขอ้ มลู ณ 10 มถิ นุ ายน 2562
3. ผลการดำเนนิ งาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภเู กต็ ได้ดำเนนิ การขบั เคลือ่ นนโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2561 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี
3.1 ด้านคณุ ภาพ
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 8
ตารางท่ี 11 แสดงผลการทดสอบความสามารถขั้นพืน้ ฐานของผูเ้ รยี นระดับชาตเิ พ่อื การประกันคณุ ภาพผ้เู รียน (NT)
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2561
ความสามารถ ระดบั เปรยี บเทยี บปี เพม่ิ /ลด จากตารางท่ี 11 แสดงผลการทดสอบความสามารถ
ประเทศ ฐาน ขั้นพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติเพื่อการประกันคุณภาพ
ด้านภาษา +1.88 ผู้เรียน (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2561 มี
ด้านคำนวณ 53.18 ปี ปี +10.15 ค่าเฉลี่ยสูงกวา่ ปกี ารศกึ ษา 2560 ร้อยละ 5.14 ทุกด้านมี
ด้านเหตผุ ล 47.19 2560 2561 +3.38 คา่ เฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2560 ดงั น้ี ความสามารถด้าน
เฉล่ียทุกด้าน 48.07 50.26 52.14 +5.14 การคำนวณ (ร้อยละ 10.15) ความสามารถด้านเหตุผล
49.48 34.52 44.67 (ร้อยละ 3.38) ความสามารถด้านภาษา (ร้อยละ 1.88)
42.86 46.24 ตามลำดับ
42.54 47.68
ตารางท่ี 12 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พน้ื ฐาน(O-Net) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2561
กลุม่ สาระวิชา ระดับ เปรียบเทยี บปฐี าน จากตารางที่ 12 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษา
ประเทศ ขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-Net) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย ปี ปี เพ่มิ /ลด ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลยี่ รายวิชาหลกั ภาพรวมสูงกว่า
คณติ ศาสตร์ 2560 2561 ปีการศึกษา 2560 ร้อยละ3.15 กลุ่มสาระที่มีค่าเฉลี่ยสูง
วทิ ยาศาสตร์ ได้แก่ วิชาภาษาไทย (ร้อยละ 9.19) วิชาภาษาอังกฤษ
ภาษาองั กฤษ 55.90 46.30 55.49 +9.19 (ร้อยละ 1.95) วิทยาศาสตร์ (ร้อยละ 1.22) และ
คณติ ศาสตร์ (ร้อยละ 0.24) ตามลำดับ
คา่ เฉลย่ี 37.50 35.47 35.71 +0.24
ทุกกลุม่ สาระ
39.93 37.72 38.94 +1.22
39.24 35.10 37.05 +1.95
43.14 38.65 41.80 +.3.15
ตารางที่ 13 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน(O-Net) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561
กลุม่ สาระวิชา ระดบั เปรยี บเทยี บปฐี าน จากตารางที่13 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษา
ประเทศ ปี ปี เพ่มิ /ลด ขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-Net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี
2560 2561 การศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยรายวิชาหลักภาพรวมสูงกว่าปี
ภาษาไทย 54.42 44.04 50.20 +6.16 การศึกษา 2560 ร้อยละ 3.14 กลุ่มสาระที่มีค่าเฉลี่ยสงู ขนึ้
คณติ ศาสตร์ 30.04 19.88 24.11 -4.23 จำนวน 1 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย (ร้อยละ 6.16) กลุ่ม
วิทยาศาสตร์ 36.10 29.12 32.35 -3.23 สาระที่มีค่าเฉลี่ยลดลง จำนวน 3 รายวิชา ได้แก่ วิชา
ภาษาองั กฤษ 29.45 26.95 25.88 -1.07 คณิตศาสตร์ (ร้อยละ 4.23) วิทยาศาสตร์ (ร้อยละ3.23) ,
และภาษาองั กฤษ (ร้อยละ1.07) ตามลำดบั
คา่ เฉลี่ย 37.50 30.00 33.14 +3.14
ทุกกลมุ่ สาระ
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 9
ตารางที่ 14 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-Net) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2561
กล่มุ สาระวชิ า ระดบั ระดบั เขตพืน้ ที จากตารางท่ี 14 ผลการทดสอบการศึกษา
ประเทศ ปี ปี เพ่มิ /ลด ขั้นพื้นฐานระดับชาติ(O-Net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาษาไทย 2560 2561 ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยรายวิชาหลักภาพรวมสูงกว่า
คณิตศาสตร์ 47.31 47.03 48.16 +1.13 ปีการศึกษา 2560 ร้อยละ 7.43 กลุ่มสาระที่มีค่าเฉล่ีย
วทิ ยาศาสตร์ 30.72 16.11 31.04 +14.93 สูงขึ้นเรียงตามลำดับดังนี้วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ
สงั คมศึกษา 30.51 24.58 30.75 +6.17 (ร้อยละ 10.94) วิทยาศาสตร์(ร้อยละ 6.17)
ภาษาองั กฤษ 35.16 31.50 35.48 +3.98 วชิ าสังคมศึกษา (3.98), และวิชาภาษาไทย (ร้อยละ1.13)
31.41 20.21 31.15 +10.94 ตามลำดับ
คา่ เฉลย่ี
ทุกกลุ่มสาระ 35.02 27.89 35.32 +7.43
ผลการประเมินการอ่าน การเขยี นของนกั เรยี น
ตารางที่ 15 แสดงผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (RT)
สมรรถนะ ระดับ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ จากตารางที่ 15 ผลการประเมินความสามารถ
ประเทศ ปี ก.ศ. ปี ก.ศ ผล ด้านการอ่านออกของผู้เรียน (RT) โดยภาพรวม
การอา่ น 2560 2561 การพฒั นา ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าปีการศึกษา
ออกเสียง 66.13 2560 ร้อยละ 2.00 ได้แก่ สมรรถนะการออก
71.28 59.57 - 5.15
การอา่ น 71.24 70.70 70.90 0.54 เสียง ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าปี
รู้เรอ่ื ง 68.69 70.96 65.28 -2.00 การศึกษา 2560 ร้อยละ 25.15 และสมรรถนะ
เฉลย่ี การอ่านรู้เรื่อง ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉลี่ยสูง
2.ด้านโอกาสทางการศึกษา กวา่ ปีการศึกษา 2560 รอ้ ยละ 0.54
2.1 การรบั นกั เรียน
ตารางที่ 16 แสดงผลการเข้าเรียนช้นั ประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562
จำนวนประชากรตาม ประชากรวัยเรยี นเขา้ เรียนช้ันประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
ตำบล/ ทร.14 ที่เกดิ สงั กดั สพฐ. เข้าเรยี น รวม
เทศบาล ปี พ.ศ. 2555 ในเขต สพป. สศศ. จำนวน ร้อยละ
สังกัดอน่ื ชน้ั อืน่ (รวม
พืน้ ที่บรกิ าร(คน) ทุกสังกดั )
อำเภอเมอื ง 1736 406 693 72 1,171 67.45
อำเภอกะทู้ 487 75 136 2 213 43.73
อำเภอถลาง 641 381
รวม 2,864 862 234 26 641 100
1,063 100 2,025 70.70
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 10
2.2 การออกกลางคัน
ตารางท่ี 17 แสดงจำนวนผูเ้ รยี นออกกลางคันในปีการศึกษา 2560 และ 2561
ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 เพิม่ ข้ึน/
ลดลง
ระดับชั้น จำนวนผเู้ รยี น ผู้เรยี น จำนวนผเู้ รยี น ผู้เรยี น รอ้ ยละ
ตน้ ปี ออกกลางคนั ตน้ ปี ออกกลางคนั
(คน) จำนวน(คน) รอ้ ยละ (คน) จำนวน(คน) รอ้ ยละ
ป.1 - ป.6 12,935 4 0.03 13,246 8 0.06 +0.03
ม.1 - ม.3 2,221 3 0.14 2,183 -- -
ม.4 - ม.6 98 - - 133 - - -
รวมท้ังส้ิน 15,168 7 0.05 19,076 8 0.04 -0.01
หมายเหตุ :จำนวนผเู้ รยี นตน้ ปกี ารศึกษา ณ 10 มิ.ย. และจำนวนผเู้ รยี นออกกลางคนั ณ 31 ม.ี ค.
จากตารางท่ี 17 ปกี ารศึกษา 2561 นักเรียนต้นปี จำนวน 19,076 คน มีนักเรยี นออกกลางคันจำนวน 8 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.04 จำนวนนอ้ ยกว่าปกี ารศึกษา 2560 รอ้ ยละ 0.01 โดยมีนกั เรียนระดับช้นั ประถมศึกษาออกกลางคนั
มากทสี่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 0.03
2.3 การศกึ ษาต่อ
ตารางที่ 18 แสดงจำนวนนกั เรียนท่ีท่เี รียนจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เรียนตอ่ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา2561
จำนวนนกั เรียนทีจ่ บ จำนวนนกั เรียนทีเ่ รียนต่อชั้นม.1 จำนวนนกั เรยี น
ชัน้ ป. 6 ท่ไี มไ่ ด้เรยี นตอ่
ในปีการศึกษา 2561 (คน) รอ้ ยละของนักเรยี น ในปกี ารศึกษา 2561
ปกี ารศึกษา 2560 (คน) ท่เี รียนต่อชั้น ม.1
สงั กดั สพฐ. สงั กดั อนื่ รวม (คน)
สพป. สศศ.
1,983 1,560 0 423 1,983 100 0
ตารางท่ี 19แสดงจำนวนนักเรยี นท่ีทีเ่ รยี นจบชัน้ มธั ยมศึกษาปที 3่ี เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย/เทยี บเทา่ ปกี ารศึกษา2561
จำนวนนักเรียน เรยี นต่อ ม.ปลาย ปีการศึกษา 2561
ทจ่ี บชน้ั ม.3
ปีการศกึ ษา 2560 (คน) สามัญ อาชพี เทยี บเทา่ รวม
557 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
(คน) (คน) (คน) (คน)
136 24.42 380 68.22 15 2.69 531 95.33
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 11
3. ดา้ นประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศกึ ษา
3.1 สถานศกึ ษาทีผ่ ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน
ตารางที่ 20 แสดงจำนวนสถานศกึ ษาในสังกดั ไดร้ ับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานการประเมนิ คุณภาพภายนอก
จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
เข้ารบั ได้รับ คิดเปน็ ผลการประเมนิ ในภาพรวม (12 ตวั บง่ ช้ี
ระดบั การประเมิน การรบั รอง ร้อยละ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ระดบั ดี ระดบั ดีข้ึนไป
มาก ร้อยละ
ปฐมวยั 39 39 100 - - 17 22 100
ขนั้ พ้ืนฐาน 47 47 100 - 2 39 6 91.84
1. สถานศึกษาในสงั กดั ทจ่ี ัดการเรียนการสอนระดบั ปฐมวัยเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
และไดร้ ับการรบั รองคุณภาพตามมาตรฐานจำนวน 39 แหง่ มผี ลการประเมนิ ในภาพรวม (12 ตวั บ่งช)้ี ระดับดีขน้ึ ไป
จำนวน39 แห่งคิดเป็นร้อยละ 100
2. สถานศกึ ษาในสงั กดั ท่ีจัดการเรยี นการสอนระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเข้ารบั การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
และได้รบั การรบั รองคณุ ภาพตามมาตรฐานจำนวน 47 แห่งมผี ลการประเมนิ ในภาพรวม (12 ตัวบ่งช)้ี ระดบั ดขี นึ้ ไป
จำนวน 45 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.84
3.2 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตารางที่ 21 แสดงผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใส (ITA) ปี 2561-2562
ผลการประเมนิ ITA
ปงี บประมาณ พ.ศ. ลำดับที่ คะแนน ระดบั
ปี 2561 38 89.82 A
ปี 2562 171 82.22 B
3.3 ผลการประเมนิ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
ตารางที่ 22 แสดงผลการตดิ ตามและประเมินผลการบริหารและการจดั การศึกษาของสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาตามมาตรฐาน
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา พ.ศ. 2560 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2561
มาตรฐาน/ตวั บง่ ช้ี ระดบั คุณภาพ
มาตรฐานที่ 1 การบริหารจดั การองคก์ ารสู่ความเปน็ เลศิ
ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1 การบรหิ ารจดั การทดี่ ี ดมี าก
ตัวบ่งชท้ี ่ี 2 การพัฒนาสูอ่ งคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ ดมี าก
ตวั บ่งช้ีท่ี 3 การกระจายอำนาจและการสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มในการบริหาร และการจัดการศกึ ษา ดเี ยีย่ ม
สรปุ ภาพรวมมาตรฐานท่ี 1 ดีมาก
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 12
มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 2 การบริหารและการจัดการศกึ ษาทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
ตัวบ่งชท้ี ่ี 1 การบรหิ ารงานดา้ นวชิ าการ ดี
ตัวบ่งชี้ท่ี 2 การบริหารงานด้านงบประมาณ ดีเยย่ี ม
ตวั บง่ ชี้ที่ 3 การบรหิ ารงานด้านการบรหิ ารงานบคุ คล ดมี าก
ตวั บ่งชี้ที่ 4 การบรหิ ารงานดา้ นการบริหารทั่วไป ดเี ย่ียม
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 5 การบริหารงานดา้ นการบรหิ ารทวั่ ไป ดมี าก
ดมี าก
สรุปภาพรวมมาตรฐานที่ 2 ระดบั คุณภาพ
มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี
ดี
มาตรฐานที่ 3 การบริหารจัดการองคก์ ารสู่ความเปน็ เลศิ ดีเย่ยี ม
ตวั บ่งชที้ ่ี 1 สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามีผลงานทแ่ี สดงความสำเร็จและเปน็ แบบอยา่ งได้
ตัวบ่งชี้ท่ี 2 สถานศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ดีมาก
ดีมาก
เพือ่ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ตัวบ่งช้ีที่ 3 ผเู้ รียนระดบั ปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีคณุ ภาพตามหลกั สูตร ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4 ประชากรวยั เรยี นไดร้ ับสิทธแิ ละโอกาสทางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเท่าเทยี มกัน
ดีเยี่ยม
ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงขึ้น หรอื มีความรู้ทกั ษะพ้ืนฐานในการประกอบอาชพี
ตัวบ่งช้ที ่ี 5 ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พนักงานราชการ ลูกจา้ งในสำนักงาน ดมี าก
ดมี าก
เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาและสถานศกึ ษามีผลงานเชงิ ประจักษต์ ามเกณฑไ์ ดร้ บั การยกยอ่ ง
เชดิ ชเู กียรติ
ตวั บ่งชี้ท่ี 6 ผู้รบั บริการและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียมคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารและการจดั
การศึกษารวมท้ังการใหบ้ ริการ
สรปุ ภาพรวมมาตรฐานท่ี 3
คะแนนรวมของภาพรวม (3 มาตรฐาน)
ตารางท่ี 23 แสดงผลการเบกิ จ่ายงบประมาณภาพรวมแยกประเภทปงี บประมาณ 2562
ประเภท งบประมาณทไี่ ดร้ บั จดั สรร เบิกจ่าย ร้อยละของการเบิกจ่าย
งบลงทุน 31,156,100 8,520,368.24 27.35
งบดำเนินงาน 42,499,504 41,504,931.29 97.66
งบบุคลากร 2,417,018 2,214,928.61 91.63
งบอุดหนุน 78,763,224 84.58
ภาพรวมทง้ั หมด 154,835,846 78,721,419 84.58
130,961,647.14
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 13
4. การวิเคราะห์และประเมินสถานภาพ
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาภูเกต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 14
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 15
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 16
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 17
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 18
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
ส่วนท่ี 2
นโยบายการศกึ ษาทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 19
ส่วนที่ 2
นโยบายท่เี กีย่ วขอ้ ง
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ตได้ดำเนนิ การจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 จากกรอบแนวคิดและนโยบายทเี่ ก่ียวข้องเป็นหลกั ในการวางแผน ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 กรอบยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
2.2 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
2.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่สี ิบสอง พ.ศ. 2560-2564
2.4 แนวนโยบายดา้ นการศึกษาของรัฐบาล พ.ศ. 2562
2.5 จดุ เน้นการดำเนนิ งานของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ.2563
2.6 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
2.7 แผนพัฒนาจงั หวดั ภูเก็ต (พ.ศ. 2561 - 2565)
2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี รฐั บาลไดก้ ำหนดวิสัยทศั น์ เปา้ หมาย ในการดำเนนิ งานไว้ ดงั น้ี
วิสัยทศั น์ประเทศไทย 2580
“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง” และเปน็ คติพจนป์ ระจำชาตวิ ่า “มน่ั คง มัง่ คง่ั ยงั่ ยนื ”
เปา้ หมาย
1. ประเทศมีความมัน่ คง
1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัย จากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก
ประเทศในทุกระดบั ท้ังระดับประเทศ สงั คม ชมุ ชน ครวั เรือน และปัจเจกบคุ คล และมีความม่ันคงในทุกมติ ิ ท้ังมิติ
เศรษฐกิจ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม และการเมอื ง
1.2 ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่เข้มแข็ง
เป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหาร
ประเทศทตี่ ่อเนื่องและโปร่งใสตามหลกั ธรรมาภิบาล
1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความเข้มแข็ง
ครอบครวั มีความอบอนุ่
1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการดำรงชีวิต มีที่อยู่อาศัย
และความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ
1.5 ฐานทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม มีความมน่ั คงของอาหาร พลังงาน และน้ำ
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 20
2. ประเทศมีความมงั่ คงั่
2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ยกระดับเป็นประเทศ
ในกลุ่มประเทศรายได้สูงความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จาก
การพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น
2.2 เศรษฐกิจ มีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอก
ประเทศสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็น
จุดสำคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทำธุรกิจ มี
บทบาทสำคญั ในระดับภมู ภิ าคและระดบั โลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอยา่ งมีพลงั
2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา
ทุนทางการเงนิ ทุนทเ่ี ป็นเครอื่ งมอื เครื่องจักร ทนุ ทางสังคม และทนุ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
3. ประเทศมีความย่ังยนื
3.1 การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ
สิง่ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนิเวศน์
3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกบั กฎระเบียบของประชาคม
โลกซึ่งเป็นทีย่ อมรับร่วมกนั ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มมีคุณภาพดขี ึ้น คนมี
ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม มคี วามเอ้ืออาทร เสียสละเพ่อื ผลประโยชน์ส่วนรวม
3.3 ประชาชนทกุ ภาคส่วนในสังคม ยดึ ถอื และปฏิบัติตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) มี 6 ยุทธศาสตรใ์ นการดำเนนิ งานในดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ดา้ นความมน่ั คง
1. เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปชั่น สร้าง
ความเชื่อม่นั ในกระบวนการยุติธรรม
3. การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหารจดั การชายแดนและชายฝงั่ ทะเล
4. การพฒั นาระบบกลไกมาตรการและความร่วมมือระหวา่ งประเทศทุกระดบั และรกั ษาดลุ ยภาพความสัมพันธ์
กับประเทศมหาอำนาจเพอ่ื ป้องกันและแกไ้ ขปัญหาความม่นั คงรปู แบบใหม่
5. การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกำลังป้องกันประเทศการรกั ษาความสงบเรยี บร้อยภายในประเทศ
สร้างความร่วมมือกบั ประเทศเพื่อนบ้านและมติ รประเทศ
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 21
6. การพฒั นาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจดั การภัยพิบัติ รกั ษาความม่นั คง
ของฐานทรัพยากรธรรมชาตสิ ิ่งแวดล้อม
7. การปรบั กระบวนการทำงานของกลไกทเ่ี กย่ี วข้องจากแนวดง่ิ สู่แนวระนาบมากข้ึน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2. ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
1. การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ สง่ เสริมการคา้ การลงทนุ พัฒนาสู่ชาติการค้า
2. การพัฒนาภาคการผลติ และบรกิ าร เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งย่งั ยนื และส่งเสริม
เกษตรกรรายย่อยส่เู กษตรยัง่ ยนื เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม
3. การพัฒนาผปู้ ระกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผูป้ ระกอบการ ยกระดบั
ผลติ ภาพแรงงานและพฒั นา SMEs สสู่ ากล
4. การพฒั นาพ้ืนที่เศรษฐกจิ พิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกจิ พิเศษชายแดน และพัฒนา
ระบบเมืองศนู ย์กลางความเจรญิ
5. การลงทุนพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ด้านการขนสง่
6. การเชือ่ มโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกจิ โลก สรา้ งความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา
กับนานาประเทศ ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ ฯลฯ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3. การพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน
1. พฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
2. การยกระดบั การศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีคณุ ภาพเทา่ เทยี มและทว่ั ถงึ
3. ปลกู ฝังระเบยี บวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมทพี่ ึงประสงค์
4. การเสรมิ สรา้ งให้คนมีสุขภาวะท่ีดี
5. การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครวั ไทย
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสงั คม
1. สรา้ งความมั่นคงและการลดความเหล่ือมลำ้ ทางเศรษฐกิจและสงั คม
2. พฒั นาระบบบริการและระบบบริหารจดั การสุขภาพ
3. มีสภาพแวดลอ้ มและนวตั กรรมท่ีเอื้อต่อการดำรงชวี ติ ในสงั คมสงู วัย
4. สรา้ งความเข็มแข็งของสถาบันทางสงั คม ทนุ ทางวฒั นธรรมและความเขม้ แข็งของชมุ ชน
5. พัฒนาการสอ่ื สารมวลชนใหเ้ ปน็ กลไกในการสนับสนุนการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม
1. จดั ระบบอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟแู ละป้องกนั การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
2. วางระบบบริหารจัดการนำ้ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพท้ัง 25 ลุ่มน้ำ เน้นการปรบั ระบบการบริหาร
จัดการอุทกภยั อยา่ งบูรณาการ
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 22
3. การพฒั นาและใชพ้ ลังงานท่ีเป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม
4. การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศและเมืองท่ีเปน็ มติ รกับส่งแวดลอ้ ม
5. การรว่ มลดปัญหาโลกรอ้ นและปรบั ตวั ให้พร้อมกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
6. การใช้เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลังเพ่อื ส่งิ แวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
1. การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครฐั ให้มขี นาดทเ่ี หมาะสม
2. การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ
3. การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การกำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครฐั
4. การตอ่ ต้านการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ
5. การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ให้ทนั สมยั เป็นธรรมและเป็นสากล
6. พฒั นาระบบการให้บริการประชาชนของหนว่ ยงานภาครัฐ
7. ปรบั ปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ
2.2 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
แนวคิดการจดั การศกึ ษา
แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือ
ปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อีกทั้งยึดตาม
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) โดยนำ
ยุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดสำคัญในการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย
เป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ และตัวช้ีวัด ดังนี้
วิสัยทศั น์
“คนไทยทกุ คนไดร้ ับการศึกษาและเรยี นรู้ตลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ ดำรงชวี ติ อยา่ งเป็นสขุ
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21”
พนั ธกิจ
1.พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทค่ี นไทยทกุ คนเขา้ ถึงโอกาสในการศึกษาและเรียนร้ตู ลอดชีวติ สรา้ งความ
เสมอภาคดา้ นการศึกษาแกผ่ เู้ รียนทกุ กล่มุ เปา้ หมายยกระดบั คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของการจดั การศึกษาทุกระดบั และจดั การศกึ ษาที่
สอดคลอ้ งและรองรบั กระแสการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
2.พฒั นาคุณภาพของคนไทยใหเ้ ป็นผมู้ ีความรู้ คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21สามารถพฒั นา
ศกั ยภาพและเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเองอยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 23
3. สรา้ งความมัน่ คงแกป่ ระเทศชาติ โดยสร้างสังคมไทยให้เปน็ สังคมแหง่ การเรียนรู้ และสงั คม คุณธรรม
จริยธรรมท่ีคนเทยทุกคนอยรู่ ่วมกนั อยา่ งปลอดภัย สงบสุข และพอเพียง
4. พัฒนาศักยภาพ และความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพื่อการก้าวข้ามกับดักประเทศ
รายได้ปานกลาง สู่การเป็นประเทศในโลกที่หนึ่ง และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมด้วยการเพิ่มผลิตภาพของกำลัง
แรงงาน (productivity) ให้มีทักษะ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนา
ประเทศ พรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลงทเ่ี ป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21 ภายใต้ยคุ เศรษฐกจิ และสงั คม 4.0
วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เปน็ พลเมอื งดี มีคณุ ลกั ษณะ ทกั ษะและสมรรถนะทีส่ อดคลอ้ งกบั บทบัญญตั ิ
ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ
3. เพอ่ื พฒั นาสงั คมไทยให้เป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ และคณุ ธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และรว่ มมือ
ผนึกกำลงั ม่งุ สกู่ ารพฒั นาประเทศอยา่ งย่ังยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. เพอ่ื นำประเทศไทยกา้ วข้ามกบั ดกั ประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลาง และความเหลือ่ มลำ้ ภายในประเทศลดลง
เปา้ หมายดา้ นผู้เรียน(LearnerAspirations)โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทกุ คนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21(3Rs8Cs)
เป้าหมายของการจัดการศกึ ษา 5 ประการ ดังน้ี
1.ประชากรทกุ คนเขา้ ถงึ การศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพและมมี าตรฐานอย่างทว่ั ถงึ (Access)มีตัวชีว้ ดั ทีส่ ำคัญเชน่ ประชากร
กลมุ่ อายุ 6-14ปี ทกุ คนไดเ้ ขา้ เรียนในระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรอื เทียบเทา่ ทรี่ ฐั ต้องจัดให้ฟรี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จา่ ย
ผู้เรยี นพกิ ารไดร้ บั การพฒั นาสมรรถภาพหรอื บรกิ ารทางการศึกษาทีเ่ หมาะสมทกุ คนและประชากรวัยแรงงานมีการศึกษาเฉล่ยี เพิม่ ขน้ึ เป็นต้น
2. ผู้เรียนทกุ คน ทุกกล่มุ เปา้ หมายได้รบั บรกิ ารการศึกษาทีม่ ีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทียม (Equity)
มีตัวช้ีวดั ทีส่ ำคญั เชน่ ผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานทุกคนไดร้ บั การสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายในการศกึ ษา 15 ปี เป็นต้น
3. ระบบการศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพ สามารถพฒั นาผ้เู รียนใหบ้ รรลุขดี ความสามารถเตม็ ตามศกั ยภาพ (Quality)
มีตวั ชี้วดั ที่สำคญั เช่น นกั เรยี นมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน(O-NET) แตล่ ะวชิ าผ่านเกณฑ์
คะแนนร้อยละ 50 ขึน้ ไปเพ่ิมขนึ้ และคะแนนเฉล่ีย ผลการทดสอบโครงการประเมนิ ผลนกั เรียนร่วมกบั นานาชาติ
(Programme for International Student Assessment : PISA) ของนักเรยี น อายุ 15 ปีสงู ขึ้น เป็นต้น
4. ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ เพอื่ การลงทนุ ทางการศกึ ษาท่ีคมุ้ คา่ และบรรลุเปา้ หมาย
(Efficiency) มีตวั ช้วี ดั ที่สำคัญ เช่น รอ้ ยละของสถานศกึ ษาขนาดเล็กท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพภายนอกลดลง มรี ะบบ
การบรหิ ารงานบุคคล ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน รวมทงั้ มีกลไกส่งเสริมให้
ทุกภาคส่วนสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพอื่ การจดั การศกึ ษา เปน็ ตน้
5.ระบบการศกึ ษาทส่ี นองตอบและกา้ วทนั การเปลยี่ นแปลงของโลกท่เี ป็นพลวตั และบรบิ ททเี่ ปลยี่ นแปลง(Relevancy)
ตวั ช้ีวัดท่ีสำคญั เชน่ อันดับความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศด้านการศกึ ษาดีข้ึนสัดส่วนผ้เู รียนอาชวี ศึกษาสูงข้ึนเมือ่ เทียบกับ
ผ้เู รยี นสามญั ศึกษาและจำนวนสถาบนั อดุ มศึกษาทีต่ ิดอนั ดับ200อันดับแรกของโลกเพมิ่ ข้นึ เปน็ ต้น
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 24
ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมาย และตัวช้ีวดั
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 : การจัดการศึกษาเพื่อความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติ มเี ปา้ หมายดังนี้
1.1 คนทุกช่วงวัยมคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
1.2 คนทุกชว่ งวยั ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพ้นื ทพ่ี เิ ศษได้รบั การศึกษา
และเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
1.3 คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกนั จากภยั คุกคามในชีวติ รปู แบบใหม่
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การผลิตและพัฒนากำลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรรม เพื่อสร้างขดี ความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ มีเปา้ หมาย ดังนี้
2.1 กำลงั คนมีทกั ษะทีส่ ำคัญจำเป็นและมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ
พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
2.2 สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานท่จี ัดการศึกษาผลติ บัณฑติ ที่มีความเชย่ี วชาญ
และเปน็ เลศิ เฉพาะด้าน
2.3 การวิจยั และพฒั นาเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ และนวตั กรรมทสี่ ร้างผลผลิตและมูลคา่ เพ่ิม
ทางเศรษฐกจิ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ มเี ปา้ หมายดังน้ี
3.1 ผูเ้ รียนมที กั ษะและคณุ ลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะท่ีจำเปน็
ในศตวรรษท่ี 21
3.2 คนทุกช่วงวยั มที กั ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ
มาตรฐานวชิ าชีพ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดต้ ามศักยภาพ
3.3 สถานศึกษาทกุ ระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักสตู รอยา่ งมี
คณุ ภาพและมาตรฐาน
3.4 แหลง่ เรยี นรู้ ส่อื ตำราเรียน นวตั กรรม และส่อื การเรยี นรูม้ ีคุณภาพและมาตรฐานและ
ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี
3.5 ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมนิ ผลมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ไดม้ าตรฐานระดบั สากล
3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยุทธศาสตรท์ ี๋ 4 : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษามีเป้าหมาย ดงั นี้
4.1 ผูเ้ รียนทกุ คนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาท่มี ีคุณภาพ
4.2 การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนดลยดี ิจทิ ลั เพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกชว่ งวัย
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 25
4.3 ระบบขอ้ มูลรายบคุ คลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเปน็ ปัจจุบัน เพ่ือ
การวางแผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การติดตามประเมิน และรายงานผล
ยุทธศาสตรท์ ี่ 5: การจัดการศึกษาเพ่อื สรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทเี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มมีเปา้ หมายดังนี้
5.1 คนทุกชว่ งวัย มจี ิตสำนึกรักษ์สงิ่ แวดล้อม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนำแนวคดิ ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติ
5.2 หลักสูตร แหลง่ เรียนรู้ และสอ่ื การเรียนรู้ท่สี ง่ เสรมิ คุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนำแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ
5.3การวิจยั เพือ่ พัฒนาองคค์ วามร้แู ละนวตั กรรมดา้ นการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตที่เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม
ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา มีเปา้ หมาย ดงั นี้
6.1โครงสรา้ งบทบาทและระบบการบริหารจดั การการศกึ ษามคี วามคล่องตัว ชดั เจนและสามารถตรวจสอบได้
6.2ระบบการบริหารจัดการศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลส่งผลตอ่ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
6.3 ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพ้นื ที่
6.4 กฎหมายและรปู แบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลกั ษณะที่แตกต่างกนั
ของผ้เู รียน สถานศึกษา และความตอ้ งการกำลงั แรงงานของประเทศ
6.5ระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามเปน็ ธรรมสรา้ งขวญั กำลงั ใจและ
ส่งเสรมิ ให้ปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ
ตวั ชวี้ ดั ตามเปา้ หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
ตวั ชว้ี ัด ปัจจบุ นั ปีท่ี ปีที่ ปีที่ ปีที่
1 - 5 6 - 10 11 - 15 16 - 20
การเขา้ ถึงโอกาสทางการศกึ ษา (Access)
1) สัดสว่ นนักเรยี นปฐมวยั (3 – 5 ปี) ต่อประชากร 76.2 90 100 100 100
กลุม่ อายุ 3 – 5 ปี เพม่ิ ขนึ้
2) ประชากรอายุ 6 – 11 ปี ได้เขา้ เรียนระดับ 100 100 100 100 100
ประถมศึกษาทกุ คน
3) ประชากรอายุ 12 – 14 ปี ไดเ้ ข้าเรยี นระดับ 88.9 100 100 100 100
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทียบเท่าทกุ คน
4) สดั สว่ นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเทา่ 72.7 80 85 90 95
(15 –17 ปี) ต่อประชากร กลมุ่ อายุ 15 – 17 ปี เพิ่มข้นึ
5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป)ี มจี ำนวน 10.0 10.7 11.5 12.0 12.5
ปกี ารศกึ ษาเฉลี่ยเพิ่มขนึ้
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 26
ตวั ชีว้ ดั ปัจจุบนั ปที ี่ ปที ่ี ปีที่ ปที ่ี
0 1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20
6) ร้อยละของแรงงานทีข่ อเทียบโอนความรู้ และ
ประสบการณ ์เพอื่ ยกระดบั คุณวฒุ ิการศึกษาเพิ่มข้นึ 100 20 25 30 40
7) รอ้ ยละของผ้เู รียนพกิ ารไดร้ บั การพัฒนา N/A 100 100 100 100
สมรรถภาพหรือบรกิ ารทางการศกึ ษาท่ีเหมาะสม 50 75 100 100
8)รอ้ ยละของแหลง่ เรียนรู้ (พิพธิ ภณั ฑ์ สวนสัตว์ N/A
ห้องสมุด ศูนย์ ฯลฯ) ทไ่ี ด้รับการพัฒนา ใหส้ ามารถ 98 100 100 100
จดั บรกิ ารทางการศกึ ษาและ มกี ารจดั กจิ กรรมการ N/A
เรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ท่ีมีคุณภาพเพมิ่ ขึ้น 1.0 1.0 1.0 1.0
9) สถานศึกษาทกุ แหง่ มีอินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูง N/A
และมีคณุ ภาพ 20 30 50 65
ความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา (Equity) N/A
1) 1) ดชั นคี วามเสมอภาคของอัตราการเขา้ เรยี น 100 100 100 100
ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ตามฐานะทางเศรษฐกิจ 72.7
และพนื้ ทล่ี ดลง นอ้ ยกวา่ 85 90 90 90
2) ร้อยละของเดก็ ในวยั เรยี นท่ีมีความต้องการจำเปน็ 50 55 60 65
พิเศษไดร้ บั การศกึ ษาเต็มตามศกั ยภาพ เพิม่ ขน้ึ 50
(จำแนกตามกลุ่มประเภทของ ความจำเปน็ พเิ ศษ) น้อยกว่า นอ้ ยกวา่ นอ้ ยกวา่ 0 0
3) ผูเ้ รียนระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทกุ คนไดร้ ับการ 5 2
สนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการศึกษา 15 ปี 10
คุณภาพการศึกษา (Quality)
1) รอ้ ยละของเด็กแรกเกดิ – 5 ปี มพี ฒั นาการสมวัย
เพิม่ ขนึ้
2) ร้อยละของนักเรียนทมี่ คี ะแนนผลการทดสอบทาง
การศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) แต่ละวชิ า
ผา่ นเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขนึ้
3) ความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนเฉล่ียผลการ
ทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน(O-NET)
ของนักเรียนระหวา่ งพน้ื ท/ี่ ภาคการศกึ ษาในวิชา
คณติ ศาสตรแ์ ละภาษาองั กฤษลดลง
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 27
ตัวชีว้ ัด ปจั จุบนั ปีท่ี ปีท่ี ปที ี่ ปที ี่
421/ 1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20
4) คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบโครงการประเมนิ ผล 409/ 500 510
นกั เรยี นร่วมกับนานาชาติ (Programme for International 415 520 530
Student /Assessment หรอื PISA) ของนกั เรยี น อายุ 15 A1/A2/B A1/A2/B A2/B1/B
ปี ในวิชาวิทยาศาสตร์ การอ่าน และคณิตศาสตรส์ งู ขน้ึ 2 2 2+ B1/B1+/ B2/B2/C
5) ระดบั ความสามารถดา้ นการใชภ้ าษาองั กฤษ เฉลยี่ C1 1+
ของผ้สู ำเร็จการศึกษาในแต่ละระดบั เมอื่ ทดสอบตาม 77.7 85 90
มาตรฐานความสามารถ ทางภาษาอังกฤษ (CEFR) สูงข้นึ 95 100
(ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น/ ระดบั มัธยม ศึกษาตอนปลาย/ N/A 30 60
ระดบั ปริญญาตรี) 40 100 90 100
6) รอ้ ยละการอ่านของคนไทย (อายตุ งั้ แต่ 6 ปขี ึน้ ไป) N/A 30 60 100 100
เพมิ่ ขนึ้ N/A 75 85 90 100
7) ร้อยละของผู้เรยี นทุกระดับการศึกษามพี ฤตกิ รรม 80 90 95 100
ท่แี สดงออกถึงความตระหนกั ในความสำคญั ของ 60 100 100
การดำรงชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ความมี 70
คณุ ธรรม จริยธรรมและการประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดำเนินชวี ติ เพมิ่ ขน้ึ
7.1 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรม/
โครงงานท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ที่
เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ิมขนึ้
7.2 ร้อยละของจำนวนโรงเรยี นทใ่ี ชก้ ระบวนการ
เรียนรู้ เพ่ือสร้างเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมเพ่มิ ข้ึน
7.3 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรม
ตามโครงการนอ้ มนำแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พม่ิ ข้ึน
8) รอ้ ยละของผสู้ ำเร็จการศกึ ษาระดับอาชวี ศกึ ษาและ
อุดมศึกษามสี มรรถนะเป็นที่พอใจของสถานประกอบการเพิ่ม
9) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ ตามเกณฑ์
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพ่ิมขน้ึ
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 28
ตัวชวี้ ัด ปจั จุบัน ปีท่ี ปที ี่ ปีที่ ปที ี่
N/A 1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20
10) จำนวนโครงการ/งานวิจัยเพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้/ N/A
นวตั กรรมที่นำไปใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนา ประเทศ N/A 500 700 900 1,200
เพมิ่ ข้ึน
11) รอ้ ยละของผลงานวจิ ยั ทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในระดบั N/A 10 20 30 40
นานาชาตเิ พิ่มขน้ึ N/A 30 60 100 100
13) ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ ีการจดั การเรยี น N/A
การสอน/กิจกรรมเพื่อเสรมิ สร้าง ความเป็นพลเมอื ง N/A มี มี มี มี
(Civic Education) เพ่ิมขึ้น N/A มี มี มี มี
ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) N/A
1) มีการปรับปรงุ โครงสร้างการบรหิ ารงานของ N/A มี มี มี มี
กระทรวงศึกษาธกิ าร ไม่มี
2) มีระบบการบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และ 8 11 11 11
บคุ ลากรทางการศึกษาที่มปี ระสทิ ธิภาพ และเป็นไป
ตามเกณฑม์ าตรฐาน มี มี มี มี
3) มีระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาทเี่ หมาะสม
สอดคล้องกับบรบิ ทและ ความตอ้ งการจำเปน็ ของ มี มี มี มี
สถานศกึ ษา
4) จำนวนฐานขอ้ มูลรายบุคคลดา้ นการศกึ ษา ของ มี มี มี มี
ประเทศท่ีเปน็ ปจั จุบัน สามารถเชอ่ื มโยง และใชข้ ้อมลู มี มี มี มี
ระหวา่ งหนว่ ยงานได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพเพิ่มขึ้น
5) มีฐานขอ้ มลู ดา้ นการศึกษาเพื่อใชป้ ระโยชน์ ใน
การวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การตดิ ตามและ
ประเมินผล
6) มรี ะบบเคร ือขา่ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่อื การศกึ ษาท่ี
ทันสมัยสนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการอยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ
7) มกี ลไกสง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นสนับสนุน ทรพั ยากร
เพื่อการจดั การศึกษา
8) มกี ารปรบั ระบบการจดั สรรเงนิ ไปสดู่ ้านอุปสงคห์ รอื
ตวั ผู้เรียน
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเกต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 29
ตวั ชวี้ ัด ปจั จุบัน ปีที่ ปีที่ ปีที่ ปีท่ี
6 - 10 11 - 15 16 - 20
1-5
มี มี มี
9) มีการปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมายท่ีเกไี ยวกบั ความเป็นอสิ ระ N/A มี
10 0 0
และความรับผดิ ชอบของ สถานศึกษา (Autonomous & 50 : 50 60 : 40 70 : 30
30 : 70 40 : 60 50 : 50
Accountability)
0.08 0 0
10) ร้อยละของสถานศึกษาขนาดเลก็ ท่ีไม่ ผา่ นเกณฑ์ 30 20 95 98 100
100 100 100
การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกลดลง
400 500 600
11) สดั สว่ นงบประมาณตามประเด็น (Agenda) สูงขนึ้ 30 : 70 40 : 60
44 40 36
เม่ือเทยี บกับงบประมาณตามภารกิจ (Function) 4 5 7
43 41 39
12) สัดสว่ นผเู้ รียนเอกชนสูงขนึ้ เมอ่ื เทยี บกบั รัฐ 20 : 80 25 : 75 60 90 95
10 15 20
13) อตั ราการออกกลางคนั ของผู้เรียนระดบั การศึกษา 0.12 0.10 50 65 80
50 : 50 60 : 40 70 : 30
ขัน้ พน้ื ฐานลดลง
14) ร้อยละของสถานศกึ ษาทปี ลอดยาเสพตดิ เพิ่มขนึ้ 80 90
15) ร้อยละของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ทกุ ระดบั N/A 100
และประเภทการศึกษาที่ไดร้ บั การพฒั นาตามมาตรฐาน
วชิ าชีพ และสามารถ ปฏิบัติงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
เพ่มิ ขน้ึ
16) จำนวนหน่วยงาน องคก์ รภาครฐั /เอกชน ที่มสี ว่ น 60 300
รว่ มจัดการศึกษาแบบประชารัฐเพม่ิ ขน้ึ
การตอบโจทยบ์ รบิ ทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
1) อันดบั ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศด้าน 52 48
การศึกษาดขี ้ึน (IMD)
2) จำนวนสถาบนั อุดมศกึ ษาทตี่ ิดอันดบั 200 อนั ดบั แรก 02
ของโลกเพิม่ ขึน้
3) อันดับความพึงพอใจของผปู้ ระกอบการตอ่ ผ้จู บ 47 45
อุดมศึกษาเพมิ่ ขึ้น (IMD)
4) ร้อยละของสถานศกึ ษาท่จี ัดการศึกษา โดยบรู ณาการ 5 30
องคค์ วามรแู้ บบสะเตม็ ศึกษา เพม่ิ ขึ้น
5) จำนวนหลักสตู รของสถานศกึ ษาทจี่ ัดการศึกษาทววิ ุฒิ 25
(Dual Degree) ร่วมกบั ตา่ งประเทศเพมิ่ ขน้ึ
6) รอ้ ยละของผู้เรียนที่เรียนในระบบทวิภาค/ี สหกิจ N/A 30
ศกึ ษาในสถานประกอบการทีม่ ีมาตรฐาน เพิ่มขน้ึ
7) สดั สว่ นผเู้ รยี นอาชวี ศกึ ษาสงู ขน้ึ เม่อื เทียบกบั ผ้เู รยี น 40 : 60 45 : 55
สามญั ศึกษา
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 30
ตวั ชว้ี ดั ปจั จุบนั ปีท่ี ปที ่ี ปที ่ี ปที ่ี
1 - 5 6 - 10 11 - 15 16 - 20
8) สัดส่วนผ้เู รยี นวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาศาสตร์ และ 25 : 75 30 : 70 35 : 65 40 : 60 50 : 50
เทคโนโลยสี ูงขน้ึ เมือ่ เทยี บกบั ผูเ้ รียนสังคมศาสตร์
9) ร้อยละของประชากรวยั แรงงาน (15 – 59 ป)ี ทมี่ ี 56.25 60 65 70 100
การศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขน้ึ
ไปเพ่ิมขึ้น
10) อตั ราการไดง้ านทำ/ประกอบอาชพี อิสระของ N/A 80 90 95 100
ผู้สำเรจ็ การศึกษาระดับอาชวี ศึกษา (ไม่นับศึกษาตอ่ )
ภายในระยะเวลา 1 ปี เพ่ิมขน้ึ
11) อัตราการได้งานทำ/ประกอบอาชพี อสิ ระของ N/A 75 80 85 90
ผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา ภายในระยะเวลา 1
ปี เพิ่มข้ึน
12) มีฐานข้อมูลความตอ้ งการกำลงั คน (Demand) N/A 100 100 100 100
จำแนกตามกลุ่มอตุ สาหกรรมอยา่ งครบถว้ น
2.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564
หลักการพฒั นาประเทศทส่ี ำคญั ในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยดึ หลัก
“ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาทยี่ ั่งยนื ” และ “คนเปน็ ศูนย์กลางการพฒั นา”
จุดเปลีย่ นสำคัญในแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมฉบบั ที่ 12
การเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพ
ทนุ มนษุ ยข์ องประเทศ โดยพัฒนาคนใหเ้ หมาะสมตามช่วงวยั เพอ่ื ใหเ้ ตบิ โตอย่างมีคุณภาพ การหลอ่ หลอมให้คนไทยมีค่านิยมตาม
บรรทัดฐานที่ดีทางสังคม เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยและมีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวมการ
พัฒนาทักษะทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการในตลาดแรงงานและทกั ษะทจี่ ำเป็นตอ่ การดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21ของคนในแตล่ ะช่วง
วัยตามความเหมาะสม การเตรยี มความพร้อมของกำลงั คนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่จี ะเปล่ียนแปลงโลกในอนาคต ตลอดจน
การยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาพดีที่เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทาง
สุขภาพและการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพ การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำให้
ความสำคญั กบั การจัดบรกิ ารของรฐั ทีม่ ีคณุ ภาพทั้งดา้ นการศกึ ษา สาธารณสุข ใหก้ ับผทู้ ่ดี อ้ ยโอกาสและผทู้ ีอ่ าศยั ในพื้นท่ี
ห่างไกลการจัดสรรท่ีดินทำกนิ สนับสนุนในเร่ือง การสร้างอาชีพ รายได้ และสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพผู้ด้อยโอกาสสตรี
และผูส้ ูงอายรุ วมทัง้ กระจายการจดั บริการภาครัฐใหม้ ีความครอบคลมุ และทวั่ ถึงทงั้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 31
การประเมนิ สภาพแวดล้อมการพฒั นาประเทศ
สถานการณ์และแนวโนม้ ของสงั คมไทย โครงสร้างประชากรไทย เปลย่ี นแปลงเขา้ สู่สังคมสูงวยั
อย่างสมบูรณ์เม่ือสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 โดยปี 2557 ประชากรวัยแรงงานจะมจี ำนวนสูงสดุ และเรมิ่
ลดลงอยา่ งต่อเน่อื ง คณุ ภาพคนไทยทกุ กลมุ่ วัยยังมปี ัญหา คณุ ภาพการศึกษา และการเรียนรูข้ องคนไทยยังอยู่
ในระดับค่อนข้างต่ำ นอกจากนี้ คนไทยส่วนใหญ่ยงั มีปัญหาดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม และไม่ตระหนักถึง
ความสำคญั ของระเบยี บวนิ ัย ความซ่ือสัตย์ และการมจี ติ สาธารณะ
วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายการพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
เพอื่ วางรากฐานให้คนเทยเปน็ คนท่สี มบูรณ์ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมีระเบียบวินัยค่านิยมท่ีดี มจี ติ สาธารณะ
และมีความสุขโดยมีสขุ ภาวะและสขุ ภาพท่ีดี ครอบครวั อบอุ่นตลอดจนเป็นคนเก่งทม่ี ที ักษะ ความรู้ ความสามารถและพัฒนา
ตนเองไดต้ อ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ
การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ทุนมนุษย์ของประเทศไทยยังมีปัญหาในด้านคุณภาพคนในแต่ละ
ช่วงวัย โดยผลลัพธ์ทางการศึกษาของเด็กวัยเรียนค่อนข้างต่ำ การพัฒนาความรู้และทักษะของแรงงานไม่ตรงกับตลาดงาน
ในขณะที่คนไทยจำนวนไม่น้อยยังไม่สามารถคัดกรองและเลือกรับ 12วัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม ซึ่งส่งผลต่อวิกฤตค่านิยม
ทัศนคติ และพฤติกรรมในการดำเนินชวี ิตการพัฒนาในระยะต่อไปจึงต้องให้ความสำคัญกับการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มี
ความสมบูรณ์ เพื่อให้คนไทยมีทัศนคติ และพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงตาม
มาตรฐานสากลและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องมีสุขภาวะที่ดีขึ้นคนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ และความสามารถ
เพิ่มขึน้ รวมท้งั สถาบนั ทางสงั คมมีความเขม็ แข็งและมสี ่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพ่ิมข้ึน แนวทางการพฒั นา
ท่ีสำคญั ประกอบดว้ ย
(1) ปรับเปลย่ี นค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์
อาทิ ส่งเสริมให้มกี จิ กรรมการเรยี นการสอนทัง้ ใน และนอกห้องเรียนทส่ี อดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม ความมรี ะเบียบวนิ ัย และ
จิตสาธารณะ
(2) พฒั นาศักยภาพคนให้มีทกั ษะความรู้ และความสามารถในการดำรงชีวติ อย่างมีคุณค่าอาทิ สง่ เสรมิ เด็กปฐมวัย
ใหม้ ีการพัฒนาทักษะทางสมองและทางสังคมทเ่ี หมาะสมเดก็ วัยเรยี นและวยั รนุ่ มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบ
(3) ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอาทิ ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กให้มี
การจดั ทรัพยากรร่วมกันใหม้ ีขนาดและจำนวนที่เหมาะสมปรบั ปรงุ แหล่งเรียนรใู้ นชุมชนให้เป็นแหล่งเรยี นรเู้ ชงิ สรา้ งสรรค์และมชี ีวิต
เปา้ หมายที่ 1 คนไทยสว่ นใหญ่มที ศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐานท่ีดีของสงั คม
ตวั ชวี้ ัด1.1ประชากรอาย1ุ 3ปีข้ึนไปมีกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิตนทสี่ ะท้อนการมคี ุณธรรมจริยธรรมเพมิ่ ขึ้น
ตวั ชว้ี ัด1.2 คดอี าญามสี ัดสว่ นลดลง
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 32
เป้าหมายท่ี 2 คนในสงั คมไทยทุกชว่ งวัยมีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพ่ิมขึน้
2.1 เด็กปฐมวยั มีพฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพ
ตวั ช้วี ัด 2.1 เด็กมพี ฒั นาการสมวัยไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 85
2.2 เดก็ วัยเรยี นและวยั รุน่ มีสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์เพมิ่ ข้นึ
ตวั ชีว้ ัด 2.2 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
ตวั ชี้วัด 2.3 เด็กรอ้ ยละ 70 มคี ะแนน EQ ไมต่ ่ำากวา่ เกณฑ์มาตรฐาน
ตวั ชว้ี ัด 2.4 ผเู้ รยี นในระบบทวิภาคีเพิม่ ขึ้นเฉลยี่ ร้อยละ30 ต่อปี
เปา้ หมายที่ 3คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
ตวั ชว้ี ัด 3.1 ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไม่ตำ่ กว่า 500
ตวั ชว้ี ดั 3.2 การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเพอ่ื การอ่านหาความรูเ้ พม่ิ ขน้ึ
ตวั ชี้วัด 3.3 การอา่ นของคนไทยเพิม่ ข้นึ เป็นร้อยละ 85 ตวั ชีว้ ัด
แนวทางการพัฒนา
ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรม ที่พึงประสงค์
- ส่งเสริมการเลี้ยงดูในครอบครัวที่เน้นการฝึกเด็กให้รู้จักการพึ่งพาตัวเอง มีความ ซื่อสัตย์ มีวินัย
มศี ลี ธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรับผดิ ชอบในรปู แบบของกิจกรรมท่ีเป็นกิจวตั ร ประจำวัน และให้พ่อแม่
หรือผู้ปกครองเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กสามารถเรียนรู้และยึดถือเป็นต้นแบบในการดำเนินชีวิต
- ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ความมีวนิ ยั จติ สาธารณะ รวมทั้งเร่งสร้างสภาพแวดลอ้ มภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอดจากอบายมุข
อย่างจริงจังพัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
- ส่งเสริมใหเ้ ด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทางสังคมที่เหมาะสมพัฒนาหลักสูตรการสอนที่อิง
ผลงานวิจยั ทางวชิ าการและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานทีเ่ น้นการพัฒนาทกั ษะสำคัญด้านต่างๆ
อาทิ ทักษะทางสมองทักษะด้านความคิดความจำทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบทักษะการรู้จัก
ประเมนิ ตนเอง ควบคกู่ ับการยกระดับบุคลากรในสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีความพร้อมทั้งทักษะ ความรู้ จรยิ ธรรมและความเป็น
มืออาชีพสนับสนุนการผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่มีรูปแบบหลากหลายที่ให้ความรู้ในการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กปฐมวัยอาทิ ครอบครัว
ศึกษาอนามัยแม่และเด็ก วิธีการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทาง สังคม ผลักดันให้มีกฎหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้
ครอบคลมุ ทงั้ การพัฒนาทักษะ การเรยี นรู้เนน้ การเตรียมความพร้อมเข้าสรู่ ะบบการศึกษา การพฒั นาสขุ ภาพอนามัยให้มีพัฒนาการ
ท่สี มวยั และการเตรียมทกั ษะการอย่ใู นสังคมให้มีพฒั นาการอยา่ งรอบดา้ น
-พฒั นาเด็กวยั เรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคดิ วิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบ มคี วามคิดสร้างสรรค์มีทักษะการทำงานและ
การใช้ชีวติ ท่พี รอ้ มเขา้ สู่ตลาดงาน ปรับกระบวนการเรยี นรู้ทสี่ ่งเสริมใหเ้ ด็กมีการเรยี นรูจ้ ากการปฏบิ ัตจิ รงิ สอดคล้องกับพัฒนาการ
ของสมองแต่ละช่วงวัยเน้นพฒั นาทักษะพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ด้านคณิตศาสตร์ ด้านศิลปะ และ
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 33
ด้านภาษาต่างประเทศสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรยี นท่ีเอือ้ ต่อการพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะการเรียนรู้
อยา่ งต่อเน่ืองอาทิ การอ่านการบำเพ็ญประโยชน์ทางสังคมการดูแลสุขภาพการทำงานรว่ มกันเป็นกลุ่มการวางแผนชีวิตสร้างแรงจูงใจ
ใหเ้ ด็กเข้าสู่การศึกษาในระบบทวิภาคี และสหกจิ ศึกษาที่มงุ่ การฝึกทักษะอาชีพให้พร้อมเข้าสู่ตลาดงานยกระดับคุณภาพการศึกษาและ
การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
-ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กที่มีขนาดและจำนวนผู้เรียนต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐานให้มีการจัดทรัพยากร
ร่วมกนั ใหม้ ีขนาดและจานวนทเี่ หมาะสมตามความจำเปน็ ของพนื้ ที่ และโครงสรา้ งประชากรท่ีมสี ัดส่วนวัยเด็กลดลงอยา่ งต่อเนื่อง
-ปรับหลักสตู รการผลิตครูท่ีเน้นสมรรถนะมีจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นผู้แนะนำและสามารถกระตุน้ การเรียนรู้
ของผู้เรียน สร้างมาตรการจูงใจให้ผู้มีศักยภาพสูงเข้ามาเป็นครูปรับระบบ ประเมินวิทยฐานะทางวิชาชีพให้เชื่อมโยงกับพัฒนาการ
และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนที่เป็นการพัฒนาสมรรถนะของครู
อยา่ งต่อเนื่อง
- พฒั นาระบบประเมนิ คุณภาพมาตรฐานท่สี ามารถวดั และประเมินผลคณุ ภาพผู้เรยี น ทงั้ ด้านทกั ษะ
ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรยี นรู้แตล่ ะระดับการศึกษา
- สง่ เสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลางท่ีมีศักยภาพ เขา้ รว่ มระบบทวภิ าคีหรือสหกิจศึกษา
สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ประกอบการ ครูฝึกหรือครูพี่เลี้ยงให้ร่วมวางแผนการจัดการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ และ
การติดตามประเมินผลผเู้ รียน
- ขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา ภาคเอกชน และ ผู้เชี่ยวชาญ
ทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนางานวิจัยไปสู่
นวตั กรรม รวมทง้ั ขยายการจัดทำและการใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะใหม้ ากข้ึน
- จัดทำสอ่ื การเรียนรู้ ทีเ่ ปน็ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณ์ สอื่ สารเคลอื่ นที่
ใหค้ นทุกกลุ่มสามารถเขา้ ถึงได้ง่าย สะดวก ทวั่ ถึง ไม่จำกดั เวลาและสถานที่ และใชม้ าตรการทางภาษจี ูงใจให้
ภาคเอกชนผลติ หนงั สอื ส่ือการอ่านและการเรยี นร้ทู ่ีมีคณุ ภาพและราคาถูก
2.4 แนวนโยบายดา้ นการศกึ ษาของรฐั บาล พ.ศ. 2562
คำแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี ทจ่ี ะแถลงต่อรัฐสภาโดยพล.อ.ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชานายกรฐั มนตรี ตามมมาตรา162
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เม่ือวนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2562 ณหอประชุมใหญ่ บริษทั ทโี อที จำกดั (มหาชน)
การพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมในการดํารงชวี ิตในศตวรรษท่ี ๒๑ เพือ่ ใหค้ นไทยในอนาคตเป็นพลัง
ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมีแบบแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รัฐบาลได้กําหนด
นโยบายในการพฒั นาท่มี ุ่งพฒั นาคนในทุกมิตติ ามความเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวัยให้มีความสมบูรณ์ เปน็ คนดี มี
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 34
วินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม โดยมีนโยบายการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคน
ไทยทุกช่วงวยั ดังน้ี
1. สง่ เสริมการพฒั นาเด็กปฐมวัย
1.1 จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอยา่ งต่อเน่ืองจนถึงเด็กวยั เรียนให้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ เพื่อสร้าง
คนไทยที่มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพผ่านครอบครัวที่อบอุ่นในทุกรูปแบบครอบครัว เพื่อส่งต่อการพัฒนาเด็กไทยให้มี
คณุ ภาพสกู่ ารพัฒนาในระยะถดั ไปบนฐานการให้ความชว่ ยเหลือที่คำนึงถึงศักยภาพของครอบครัวและพ้ืนท่ี เตรยี มความพร้อม
การเป็นพ่อแม่ ความรู้เรื่องโภชนาการและสุขภาพการอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผ่านการให้บริการ
สาธารณะที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทั่วประเทศให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพ
ของบคุ ลากรทางการศึกษาและผ้ดู ูแลเด็กปฐมวัยให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย โดยคำนึงถึงพหปุ ญั ญาที่หลากหลายของเด็กแต่ละคนใหไ้ ดร้ ับการสง่ เสรมิ และ
พัฒนาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับระบบโรงเรยี นปกติท่ีเป็นระบบและมที ิศทาง
ทชี่ ัดเจน
2. พัฒนาบัณฑติ พันธุ์ใหม่
2.1 ปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและอาชีพของคนทุกช่วงวัยสำหรับ
ศตวรรษที่ ๒๑ โดยปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย มีการนำเทคโนโลยีและการเรียนรู้ผ่าน
ประสบการณ์จริงเข้ามามีส่วนในการจัดการเรียนการสอน และปรับระบบดึงดูด การคัดเลือก การผลิตและ
พัฒนาครู ที่นำไปสู่การมีครูสมรรถนะสงู เป็นครูยุคใหมท่ ี่สามารถออกแบบและจดั ระบบการสร้างความรู้ สร้าง
วินยั กระตนุ้ และสร้างแรงบนั ดาลใจ เปิดโลกทศั น์มมุ มองของเดก็ และครูดว้ ยการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็น
ใหม้ ากขึน้ ควบค่กู ับหลกั การทางวิชาการ
2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนทั้งในส่วนฐานความรู้
และระบบความคิดในลักษณะสหวทิ ยาการ และตรงกับความต้องการของประเทศในอนาคต และเป็นผู้เรียนที่
สามารถปฏิบัติได้จริงและสามารถกำกับการเรียนรู้ของตนเองได้ รวมถึงมีทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาท่ี
สามที่สามารถสื่อสารและแสวงหาความรู้ได้ มีความพร้อมทั้งทักษะความรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตก่อน
เขา้ ส่ตู ลาดแรงงาน
3. พฒั นาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวชิ าชพี และพฒั นาแรงงานรองรบั อตุ สาหกรรม 4.0 โดยการจดั ระบบและ
กลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ชัดเจนเป็นระบบในการพัฒนากำลังคนที่มีทักษะ
ขั้นสูงให้สามารถนำความรู้และทักษะมาใช้ในการแก้ไขปัญหา รวมถึงการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ซึ่งต้อง
ครอบคลุมการพัฒนากำลังคนที่อยู่ในอุตสาหกรรมแล้ว กำลังคนที่กำลังจะเข้าสู่อุตสาหกรรม และเตรียมการ
สำหรับผลิตกำลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในอนาคต รวมทั้งเร่งรัด
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 35
และขยายผลระบบคุณวุฒวิ ิชาชีพ การยกระดบั ฝมี ือแรงงานในกลมุ่ อุตสาหกรรมที่มีศกั ยภาพและอุตสาหกรรม
ทใ่ี ชแ้ รงงานเข้มขน้
4. ดงึ ดูดคนเก่งจากท่ัวโลกเขา้ มารว่ มทำงานกับคนไทย และสง่ เสริมผู้มคี วามสามารถสูง สนบั สนุนให้ธุรกิจชน้ั นำใน
ประเทศดึงดูดบุคคลท่ีมีความสามารถระดับสูงจากท่ัวโลกโดยเฉพาะคนไทย เพื่อกลับมาเปน็ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงและ
ถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ ความเชี่ยวชาญให้แก่บุคลากรในองค์กร ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการสร้างธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับประเทศ โดยในระยะแรกให้ความสำคัญกับการดึงดูดนักวิจัยผู้เชี่ยวชาญจาก
ต่างประเทศมาร่วมวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชั้นแนวหน้าในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมายรวมทั้งมีพื้นที่ให้กลุ่มผู้มี
ความสามารถพิเศษที่มีศักยภาพสูงได้ทำงานร่วมกัน หรือร่วมกับเครือข่ายอื่น ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม
ใหม่ ๆ ใหก้ บั ประเทศ
5. วจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมทตี่ อบโจทยก์ ารพฒั นาประเทศ
5.1 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำและความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิต
ของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพื้นที่ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ
สร้างโอกาสสำหรับผู้ดอ้ ยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผูส้ ูงวัยควบคู่ไปกับการพัฒนาทุนมนุษยใ์ ห้พรอ้ มสำหรับโลกยุค
ดจิ ทิ ัลและอุตสาหกรรม ๔.๐ ตามความเหมาะสมได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยระยะแรกจะให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการวิจัย
และพัฒนาดา้ นสขุ ภาพของประชาชนอยา่ งครบวงจร ทงั้ ระบบยา วัคซีน เวชภณั ฑ์ และเทคโนโลยที ี่ทนั สมัย
5.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวตั กรรมทางด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี ัน้ สูง เพื่อสร้างความได้เปรยี บ
ในการแขง่ ขนั สามารถตอบสนองต่อความเปล่ยี นแปลง และสร้างความเปน็ เลศิ ของประเทศในอนาคต โดยมุ่งเน้นการวิจัย
และพัฒนานวัตกรรมเพ่ือนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงธุรกิจ กำหนดวาระการวิจัยแห่งชาติ ส่งเสริมความร่วมมือและ
การเป็นหุ้นส่วนของทุกฝ่ายท้ังภาครัฐ ภาคการศึกษา ชุมชน และภาคเอกชนในทุกสาขาการผลิตและบริการ สร้าง
สภาพแวดลอ้ มและองค์ประกอบของระบบวิจัยและการพัฒนานวตั กรรมให้เขม้ แข็ง รวมทั้งบูรณาการการวจิ ยั และพัฒนา
นวตั กรรมกบั การนำไปใช้ประโยชนใ์ นเชิงพาณิชย์
5.3 สร้างเครือข่ายการทำวิจัยระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ปฏิรูปและบูรณาการระบบการเรียนการสอนกับ
ระบบงานวจิ ัยและพฒั นา ให้เออ้ื ตอ่ การเพิ่มศักยภาพด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็ง
ของธุรกิจไทยทุกระดับในเวทีการค้าโลก ส่งเสริมกระบวนการการทำงานของภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจัยและ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมให้เป็นระบบเปิด และมีการบูรณาการการทำงานกันอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมท้งั เชือ่ มโยงระบบการศกึ ษากับภาคปฏบิ ตั ิจริงในภาคธรุ กจิ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การสร้างนกั วจิ ยั มืออาชพี และนวัตกร
ทส่ี ามารถสรา้ งมูลคา่ เพิม่ และยกระดบั งานวิจยั สู่การเพม่ิ ศักยภาพดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของประเทศ
6. สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละพฒั นาทกั ษะทกุ ช่วงวยั
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 36
6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุก
ระดับบนพื้นฐานการสนับสนุนที่คำนึงถึงความจำเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษาแต่ละแห่ง พร้อมทั้งจัดให้มี
มาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียนและครูที่สะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่
เกิดกับผู้เรียน คืนครูให้นักเรียนโดยลดภาระงานที่ไม่จำเป็น รวมถึงจัดให้มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ โดยการเชื่อมโยงหรือส่งต่อข้อมูลครอบครวั และผูเ้ รียนระหวา่ งหน่วยงานต่าง ๆ ต้งั แต่แรกเกิดจนถึงการพัฒนา
ตลอดชว่ งชีวิต ตลอดจนพัฒนาช่องทางให้ภาคเอกชนมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสร้างสรรค์ทีเ่ หมาะสมมาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดท่ีหลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้และอุทยานการเรียนรู้สำหรับเยาวชนที่เชื่อมโยง
เทคโนโลยีกับวถิ ชี วี ติ และส่งเสรมิ การเรียนการสอนทเี่ หมาะสมสำหรบั ผทู้ เี่ ขา้ สูส่ งั คมสงู วยั
6.3 ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยบูรณ าการการดำเนินงานระหว่างหน่วยจัดการศึกษากับกองทุน
เพอื่ ความเสมอภาคทางการศึกษา ม่งุ เนน้ กลุ่มเด็กด้อยโอกาสและกลุ่มเด็กนอกระบบการศึกษา ปรับเปลี่ยนการจัดสรร
งบประมาณใหส้ อดคล้องกับความจำเปน็ ของผู้เรียนและลักษณะพ้ืนท่ีของสถานศึกษา จดั ระบบโรงเรียนพี่เล้ียงจับคู่ระหว่าง
โรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีคุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมให้
ภาคเอกชน ชุมชนในพืน้ ที่เข้ามามีสว่ นร่วมในการออกแบบการศึกษาในพืน้ ที่ สนับสนุนเดก็ ที่มีความสามารถแต่ไม่มีทุน
ทรัพย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจนแก้ไขปัญหาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือ
การศึกษาและทบทวนรปู แบบการให้กู้ยืมเพ่อื การศึกษาที่เหมาะสม
6.4 พัฒนาทกั ษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกำหนดระบบท่ีเอื้อต่อการพัฒนาทักษะและเพ่ิมประสิทธิภาพ
ของทุกชว่ งวยั อาทิ การพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาให้เชอ่ื มโยงกับระบบคุณวุฒิวชิ าชีพ โดยมีกลไกการวัดและ
ประเมินผลเพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์หน่วยการเรียนที่ชัดเจน ส่งเสริมเยาวชนที่มีศักยภาพด้านกีฬาให้
สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬาอาชีพ การกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัดให้มีระบบท่ีสามารถรองรับความต้องการ
พัฒนาปรบั ปรงุ ทกั ษะอาชีพของทกุ ชว่ งวัย เพ่อื รองรับการเปล่ียนสายอาชีพใหต้ รงกบั ความต้องการของตลาดแรงงานท่ี
อาจจะเปลย่ี นไปตามแนวโนม้ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีในอนาคต
6.5 ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลูกฝังวินัยและอุดมการณ์ที่ถูกต้องของคนในชาติ
หลักคดิ ที่ถกู ต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีจติ สาธารณะการเคารพกฎหมาย และกติกาของสังคมเข้าไปใน
ทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไกสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวในทุก
มิติอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอ้ือต่อการมี
คุณธรรมจริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมทั้งลงโทษผู้ละเมิดบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม ตลอดจนส่งเสริมให้เกิด
การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการขับเคล่อื นประเทศ
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 37
7. จัดทำระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น เน้นออกแบบหลักสูตรระยะสั้นตามความสนใจ
พัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันและทักษะอาชีพของคนทุกช่วงวัยในพื้นที่และชุมชนเป็นหลัก
พร้อมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนาเป็นรูปแบบธนาคารหน่วยกิต ซึ่งเป็นการเรียนเก็บหน่วยกิตของวิชาเรียนเพื่อให้
ผเู้ รียนสามารถเรียนข้ามสาขาวิชาและข้ามสถาบนั การศึกษา หรอื ทำงานไปพร้อมกัน หรอื เลอื กเรียนเฉพาะหลักสูตรท่ี
สนใจ เพือ่ สรา้ งโอกาสของคนไทยทุกชว่ งวัยและทุกระดับสามารถพัฒนาตนเองทัง้ ในดา้ นการศึกษาและการดำรงชวี ิต
2.5. จุดเน้นการดำเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
เพ่อื ให้การดำเนนิ การจัดการศกึ ษาและการยบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารในปงี บประมาณพ.ศ.2563
มีความสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ เปา้ หมายของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ วตั ถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้าน
การศึกษาและนโยบายรฐั บาลโดยเฉพาะนโยบายเรง่ ดว่ นเรือ่ งการเตรยี มคนสู่ศตวรรษท่ี 21
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ
พ.ศ.2563 ดงั นี้
หลักการ
1. ใหค้ วามสำคัญกับประเด็นคุณภาพและประสทิ ธภิ าพในทุกมติ ิ ท้ังผเู้ รียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข้าราชการพลเรือน และผูบ้ ริหารทุกระดบั ตลอดจนสถานศกึ ษาทุกระดบั ทุกประเภทและเปน็ การศกึ ษาตลอดชวี ติ
2. บูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกำกับของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการให้มีความคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่ภูมิภาคให้สามารถ
ปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อดำเนินการปฏิรูปการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตามนโยบาย
ประชารัฐ
ระดบั ก่อนอนุบาล
เนน้ ประสานงานกับส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรียมความพรอ้ มผู้เรยี นในด้านสุขภาพและ
โภชนาการ และจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทเ่ี ชื่อมโยงกับระบบโรงเรยี นปกติ
ระดบั อนุบาล
เน้นสร้างความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพือ่ ออกแบบกิจกรรมการพัฒนาทักษะ
ที่สำคัญดา้ นต่างๆ เชน่ ทกั ษะทางสมอง ทักษะความคดิ ความจำ ทักษะการควบคมุ อารมณ์ ทกั ษะการรูจ้ ักและ
ประเมนิ ตนเอง
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 38
ระดับประถมศกึ ษา
มงุ่ คำนงึ ถึงพหปุ ัญญาของผ้เู รียนรายบุคคลที่หลากหลายตามศกั ยภาพ ด้วยจดุ เน้น ดงั น้ี
1. ปลูกฝังความมีระเบียบวนิ ัย ทศั นคติท่ถี ูกต้อง โดยใช้กระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด
2. เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการเรียนรูว้ ชิ าอืน่
3. เรยี นภาษาองั กฤษและภาษาพน้ื ถ่นิ (ภาษาแม)่ เนน้ เพอื่ การส่ือสาร
4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
หรือจากสถานการณจ์ ำลองผา่ นการลงมือปฏบิ ัติ และเปดิ โลกทศั นม์ ุมมองร่วมกนั ของผู้เรียนและครูดว้ ยการจัดการเรียน
การสอนในเชงิ แสดงความคิดเห็นให้มากขนึ้
5. สร้างแพลตฟอร์มดจิ ิทัลเพ่ือการเรียนรู้ และใชด้ จิ ิทัลเปน็ เครือ่ งมือการเรียนรู้
6. จัดการเรยี นการสอนเพ่ือฝกึ ทักาธการคิดแบบมีเหตุผลและเปน็ ข้ันตอน (Coding)
7. พัฒนาครใู หม้ ีความชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)
8. จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ
ภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นให้เอ้ือตอ่ การสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ
ระดับมัธยมศกึ ษา
มุ่งต่อยอดระดบั ประถมศึกษา ด้วยจดุ เนน้ ดงั น้ี
1. จดั การเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาท่สี าม)
2. จดั การเรียนร้ทู ี่หลากหลาย เพ่ือสรา้ งทักษะพ้ืนฐานท่ีเช่ือมโยงสู่การสรา้ งอาชีพและการมีงานทำ เช่น
ทกั ษะดา้ นกีฬาที่สามารถพัฒนาไปสนู่ ักกีฬาอาชีพ ทักษะภาษาเพ่ือเป็นมัคคุเทศก์
ระดับอาชีวศึกษา
มุ่งจดั การศกึ ษาเพ่ือการมีงานทำและสร้างนวตั กรรมตามความตอ้ งการของพนื้ ทีช่ มุ ชนภูมิภาค
หรือประเทศ รวมท้งั การเป็นผู้ประกอบการเอง ด้วยจุดเน้น ดงั นี้
1. จัดการศึกษาในระบบทวภิ าคี ใหผ้ เู้ รียนมที ักษะและความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน
2. เรยี นภาษาอังกฤษ เพื่อเพิ่มทักษะสำหรบั ใช้ในการประกอบอาชีพ
3. เรียนร้กู ารใชด้ ิจทิ ัล เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื สำหรบั ในการสร้างอาชพี
4. จัดตัง้ ศนู ยป์ ระสานงานการผลิตและพัฒนากำลงั คนอาชวี ศกึ ษาในภมู ิภาค
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
มุง่ สรา้ งโอกาสให้ประชาชนผูเ้ รียนทส่ี ำเรจ็ หลกั สูตร สามารถมงี านทำ ดว้ ยจดุ เน้น ดงั นี้
1. เรียนร้กู ารใช้ดิจิทัล เพื่อใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื สำหรับหาช่องทางในการสรา้ งอาชพี
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภเู ก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ.2563-2565 39
2. จดั ทำหลกั สูตรพัฒนาอาชพี ท่เี หมาะสมสำหรบั ผ้ทู เ่ี ข้าสู่สงั คมสงู วยั
การขบั เคล่ือนสู่การปฏบิ ตั ิ
1. ทกุ หน่วยนงานในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ตั้องปรับปรุงแผนปฏบิ ัตริ าชการให้สอดคล้องกับ
นโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใชง้ บประมาณเปน็ รายไตรมาส รวมท้ังใชจ้ า่ ยงบประมาณให้เปน็ ไปตาม
กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คบั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
2. จดั ทำฐานขอ้ มูล (Big Data) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ใหค้ รบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั
3. ใช้เทคโนโลยีและดิจทิ ัลเป็นเครอ่ื งมอื ในการพฒั นางานทัง้ ระบบ เนการเรียนรแู้ ละบริหารจดั การ
4. ปรับปรุงโครงสรา้ งของกระทรวงศกึ ษาธิการให้เกิดความคล่องตัว หากตดิ ขดั ในเรอื่ งข้อกฎหมายให้
ผ้บู ริหารระดบั สูงร่วมหาแนวทางการแกไขรว่ มกัน
5. ให้หน่วยงานระดับกรมกำหนดแผนงานสนับสนุนทรัพยากร งบประมาณอัตรากำลังตามความต้องการ
จำเปน็ ให้แก่หนว่ ยงานในพน้ื ทภี่ ูมภิ าค
6. .ใชก้ ลไกกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษามาบรู ณาการการดำเนินงานรว่ มกับหนว่ ยจัดการศกึ ษา
7. เรง่ ทบทวน (รา่ ง) พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ... โดยปรบั ปรุงสาระสำคัญ
8. ในระดับพื้นที่หากเกิดปัญหาข้อติดขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษา ตรวจสอบข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึน
เช่น จำนวนเด็กในพื้นที่น้อยลง ซึ่งจำเป็นต้องมีการควบรวมโรงเรียน ให้พิจารณาสื่อสาร อธิบายทำความเข้าใจที่ชัดเจนกับ
ชมุ ชน
9. วางแผนการใช้อัตรากำลังครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดับอาชีวศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และ
จัดทำแผนการประเมินครูอย่างเป็นระบบ รวมทั้งจัดทำหลักสูตรการพัฒนาครูให้มีองค์ความรู้และทักษะในด้านพหุปัญญา
ของผเู้ รียน
10. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทำแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัด นำเสนอต่อคณะกรรมการการ
ศึกษาธิการจงั หวัด และขับเคล่ือนสกู่ ารปฏิบตั ิอยา่ งเป็นรปู ธรรม
11. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม
ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และจดั ทำรายงานเสนอต่อรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
2.5. จดุ เน้นการดำเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
เพื่อให้การดำเนินการจดั การศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการเปน็ ไป
ด้วยความเรียบร้อย บรรลุเป้าหมาย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ จึงประกาศนโยบาย
และจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 เพื่อให้ส่วนราชการในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ
ยดึ เป็นกรอบการดำเนินงานในการจัดทำแผนและงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 พรอ้ มทงั้ ขับเคลื่อน
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาภูเก็ต
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 40
การดำเนินงานด้านการศกึ ษาให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ โดยใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า เพื่อมุ่งเป้าหมาย
คอื ผเู้ รยี นทกุ ชว่ งวัย ดงั นี้
หลักการตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ.2561-2580) ในฐานะหนว่ ยงานเจา้ ภาพขบั เคลอ่ื นทกุ แผนย่อยในประเด็น 12 การพฒั นาการเรียนรู้ และ
แผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ
นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทย
ทุกช่วงวยั และนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการขับเคลื่อน
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติประเดน็ อ่นื ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2561-2564)
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมี
ความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงาน
ภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษา
มีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติกระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ดงั น้ี
1. ปรบั รื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบรหิ ารจัดการ โดยมงุ่ ปฏริ ูปองค์การเพ่ือหลอมรวมภารกิจ
และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการตา่ งประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ ทีส่ ามารถ
ลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพ่ิมประสิทธภิ าพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยดี จิ ิทลั เข้ามาชว่ ย
ท้ังการบริหารงานและการจดั การศึกษารองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทลั
2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบรหิ ารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรปู กระบวนการวางแผนงาน/โครงการ
แบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งกระบวนการจัดทำ
งบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ
เชอ่ื ม่นั และร่วมสนับสนุนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษามากย่งิ ขึ้น
3. ปรับร้ือและเปลยี่ นแปลงระบบการบริหารจัดการและพฒั นากำลังคนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โดยมุ่งบรหิ ารจัดการอัตรากำลังใหส้ อดคล้องกับปฏิรูปองค์การ รวมทัง้ พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถ
ของบุคลากรภาครฐั ให้มีความพรอ้ มในการปฏิบตั งิ านรองรับความเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัล
4. ปรับร้ือและเปลีย่ นแปลงระบบการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษา
เพ่ือคุณวุฒิ และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ท่ีสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21
จุดเน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
1. การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู กต็
Primary Educational Service Area Office Phuket
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2563-2565 41
1.1 การจดั การศกึ ษาเพื่อคณุ วุฒิ
- จัดการศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรียนรู้
เชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพอ่ื พฒั นาผเู้ รียน ท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ
- ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาตามความต้องการจำเป็น
ของกลุม่ เป้าหมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี
- พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จำลอง
ผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสงดความคิดเห็นเพื่อเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกัน
ของผ้เู รียนและครใู ห้มากขนึ้
- พัฒนาผู้เรียนให้มีความรุ้และทักษะชีวิต เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือในการดำรงชีวิตและสร้างอาชพี
อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั สขุ ภาวะและทัศนคติทด่ี ีตอ่ การดูแลสุขภาพ
1.2 การเรียนรตู้ ลอดชีวิต
- จัดการเรียนรู้ตลอดชีวติ สำหรับประชาชนทุกช่วงวยั เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ
(English for All)
- ส่งเสริมการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมสำหรบั ผู้ท่ีเขา้ ส่สู ังคมสูงวัย อาทิ อาชีพท่ีเหมาะสม
รองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร BUDDY โดยเน้น
การมีสว่ นร่วมในการพฒั นาชุมชน โรงเรียน และผูเ้ รยี น หลักสตู รการเรยี นรอู้ อนไลน์ เพื่อส่งเสรมิ ประชาสัมพันธ์สินค้า
ออนไลน์ระดบั ตำบล
- สง่ เสริมโอกาสการเข้าถงึ การศึกษาเพื่อทกั ษะอาชีพและการมีงานทำในเขตพฒั นาเฉพาะ
กิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนท่พี ิเศษ (พ้นื ที่สูง พนื้ ทตี่ ามแนวตะเข็บ ชายแดน และพื้นทเี่ กาะแก่ง ชายฝ่ัง
ทะเล ทง้ั กลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานตา่ งด้าว)
- พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลปญั ญาประดิษฐ์
และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจดั การเรยี นการสอนเพื่อฝกึ ทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตผุ ล
เปน็ ขนั้ ตอน
- พัฒนาครูอาชวี ศึกษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏิบตั ิ (Hand-on Experience) เพ่ือให้มี
ทักษะและความเชี่ยวชาญทางวชิ าการ โดยรว่ มมอื กบั สถาบันอดุ มศึกษาช้นั นำของประเทศจัดหลกั สูตรการพฒั นา
แบบเข้มข้นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี
- พัฒนาสมรรถนะและความรคู้ วามสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการใหม้ ีความพร้อม
ในการปฏิบตั งิ านรองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจิทัลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยจัดให้มศี ูนย์พฒั นาสมรรถนะบุคลากรระดบั จังหวัด
ทั่วประเทศ
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภูเกต็
Primary Educational Service Area Office Phuket