The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติและผลงานสุนทรภู่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornthip mansap, 2019-11-23 01:19:43

ประวัติสุนทรภู่

ประวัติและผลงานสุนทรภู่



สุนทรภ ู : 
มหากวีข้ีเมาชาวบาน 
ยากจนจรงิ ๆ  หรอื ? 

สจุ ิตต  วงษเ ทศ  :  บรรณาธิการ 
ปรับปรุงมาจากพระนพิ นธข อง 
หมอ มเจาจนั ทรจ ิราย ุ  รัชน ี (พ.  ณ ประมวญมารค)

“อ๊ัวใหล้ือหนึ่งชุด...หนังสือดีนะโวย...ลื้อจะไดหายโง” หมอมเจาจันทรจิรายุ  รัชน ี
หรือทีเ่ อยพระนามทา นสัน้ ๆ ยน ๆ ยอ ๆ วา   “ทานจนั ทร”  มีรับส่ังกบั ผมในตอนเยน็ วนั หนงึ่  

เมื่อ พ.ศ.  ๒๕๑๙ ทโ่ี รงแรมแถบบางขุนพรหม แลวทานก็ทรงหันไปคุยหอกระดาษหยิบ 

เอาหนงั สือ ๒ เลมมาสง ใหผม  “…ลือ้ จะอา นรูเร่ืองหรอื เปลา วะ อ๊ัวชักไมแ นใจ...โงๆ อยาง 
ลือ้ จะรเู ร่ืองรอ้ื ...” 

ทานทรงชักพระหัตถกลับหลังจากทรงยื่นใหและกอนท่ีผมจะประนมมือนอมรับ 

หนังสือ ๒ เลม นนั้  

ผมรวู า ทานทรงแกลงสัพยอก  เพราะทานทรงทําอยางน้ีเสมอๆ  เม่ือจะประทาน 

หนงั สือ 

ผมจึงลอ เลยี นทานบางวาถาหากทานไมใหคนดีๆ อยางผมอาน แลวหนังสือของ 

ทา นจะดไี ดยังไง 

ทา นจนั ทรท รงพระสรวล แถมดวยรับสัง่ ผรวุ าทใี สห นาผมพรอ มกบั ทรงย่ืนหนงั สอื ให 

“โธเอย นึกวาหนังสืออะไร ชุดนี้ผมอานมาจนจําไดเกือบหมดท้ังเลมแลว” ...ผม 

ตอบทา นจันทรใ นขณะที่กราบกรานรบั หนังสือ 

“ไอน่ันมันของเกา น่ีพิมพใหมโวย แลวก็เขียนเพิ่มเติมปรับปรุงใหมดวย   ลื้อไป 
อานดใู หมจ ะไดหายโง อว๊ั บอกแลว ไงวาล้อื มันโง  เอาไปอา นใหมไ ป. ..”  ทา นจันทรทรงอบรม 

ส่งั สอน 

หนังสือท่ีผมกําลังพูดถึงน้ีคือ...ประวัติคํากลอนสุนทรภู...โดย พ.  ณ ประมวญ 

มารค  ซึ่งพิมพคร้ังแรกตั้งแต พ.ศ.  ๒๔๙๙  และฉบับแกไขปรับปรุงพิมพใหมซ่ึงทาน 
ประทานใหผม ๑ ชดุ น้ีตีพมิ พเ ม่อื  พ.ศ.  ๒๕๑๙  พอพิมพเสร็จหมาดๆ  ทานจนั ทรก ท็ รง 
เรียกใหผ มไปพบทันทีเพ่อื ผมจะไดหายโง 

ผมโงอยางท่ีทานจันทรมีรับสั่งไวจริงๆ เสียดวย  เพราะไดความรูใหมจากทาน 

เปน อนั มาก 

ทานจันทรทรงเร่ิมกลาวถึงเร่ืองราวของ...สุนทรภ ู :  มหากวีกระฎมพี... 

ดงั ตอ ไปน้ี



ประวตั ิสนุ ทรภูท ่ีเรารแู ลอานกนั ทุกวนั นี้    ถือพระนิพนธสมเด็จกรมพระยาดาํ รงรา 
ชานุภาพเปนสําคัญ  เรื่องน้ีทรงพระนิพนธข้ึนเปนคร้ังแรกใน พ.  ศ.  ๒๔๖๕  เพ่ือลง 
พมิ พเปน คาํ นําหนงั สอื เสภาเรื่องพระราชพงศาวดาร  ของสุนทรภู   ซ่ึงทรงแจกเปนมิตร 
พลีในโอกาสท่ีทรงทําบุญกุศลพระชันษา  คํารบ  ๕  รอบ พระนิพนธแยกออกเปน  ๗ 
ตอน  คอื  

๑.  ตอนกอ นรับราชการ 
๒.  ตอนรับราชการ 
๓.  ตอนออกบวช 
๔.  ตอนตกยาก 
๕.  ตอนสิน้ เคราะห 
๖.  วา ดว ยหนงั สือทสี่ นุ ทรภแู ตง 
๗.  วาดว ยเกียรตคิ ณุ ของสุนทรภ ู
หลังจากท่ไี ดทรงพิมพแ จกครง้ั น้ัน  ในเมื่อไดหลกั ฐานเพิ่มมาใหม (เปนตนเมื่อทรง 
พระนพิ นธค รั้งแรกยังมไิ ดพบเพลงยาวถวายโอวาท)  ก็ไดทรงแกไขเพิ่มเติมใหฉบับเดิม 
สมบูรณข้ึนเปนลําดับ  แลพิมพอีกหลายคร้ัง  (ครั้งท ี่ ๒ เมื่อแรกพิมพเรื่องพระอภัยมณ ี
ฉบับหอพระสมุดฯ)  จนในท่ีสุดเสด็จออกจากราชการไป  เปนอันส้ินโอกาสที่จะทรงแกไข 
เพ่ิมเติมพระนิพนธใหดีขึ้นตอไปได  แตถึงกระน้ัน  พระนิพนธก็ยังคงเปนหลักเก่ียวกับ 
ประวตั ิสนุ ทรภทู จี่ ําเปน ตอ งศกึ ษาแลอางถึงอยจู นทกุ วนั น ้ี
ตอจากท่ีไดเสด็จออกจากราชการไปแลวหลายป  พระยาราชสมบัต ิ (เอิบ  บุรา 
นนท)  ไดใหเรื่องรําพันพิลาป  ของสุนทรภูแกหอสมุดฯ สําหรับพระนครอีกเรื่องหน่ึงเมื่อ 
พ.ศ.  ๒๔๘๐ เรื่องนี้มีขอความหลายอยางที่ทําใหพระราชนิพนธของสมเด็จฯ 
คลาดเคลือ่ นไปบา งเปนธรรมดา (เปนตน สนุ ทรภูบอกปบ วชแลปสกึ ไวในเร่ือง)  ถา จะวา มาก 
ก็วาได ถาจะวานอ ยกว็ าได เพราะท่ีคลาดเคล่ือนสวนมากอยูในตอนที่ ๓ แลท่ ี ๔ (ตั้งแต 
ออกบวชตลอดจนส้ินเคราะหไ ปอยูกบั พระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจาอยูหัว ขณะทท่ี รงพระ 
ยศเปน เจา ฟา กรมขนุ อิศเรศรงั สรรค)  สวนใน ๕ ตอนอ่ืนยังคงเปนหลักที่สําคัญในประวัติ 
สุนทรภูอยูนน่ั เอง 
เมื่อกรมศิลปากรไดตนฉบับเร่ืองรําพันพิลาปมาแลว ก็ให คุณธนิต  อยูโพธ์ิ  ทํา 
เชงิ อรรถอธบิ ายประกอบพระนิพนธฯ  ตามแนวความในเร่ืองท่ไี ดมาใหม   เปนท่ีนา เสยี ดายท ี่

คุณธนิตมิได “ยกราง”  พระนิพนธตอนท่ีคลาดเคลื่อนเสียใหม  เพราะทั้งๆ ที่คุณธนิตได 

คนความาอกี หลายเง่ือนท่ีนาฟง  แตเชิงอรรถของคุณธนิตกลับทําใหพระนิพนธอานเลอะ 
เทอะโดยใชเ หต ุ  เพราะบางแหง ในที่ที่ของทานถูกอยางไมมีปญหา  คุณธนิตกลับทําใหคน 
อานสงสัย



อยางไรก็ดี ขาพเจาพบรําพันพิลาปเขาใน พ.ศ.  ๒๔๙๗ เมื่ออานแลวก็เขียน 
บทความสั้นๆ ลงในวารสารศิลปากร  (ปท ี่ ๘ เลมท ่ี ๔  กันยายน พ.ศ.  ๒๔๙๗) 
ดงั ตอ ไปน้ ี

หนง่ึ ศตวรรษแหงสุนทรภ ู

ขณะที่เขียนนี้เปนป พ.ศ.  ๒๔๙๗  ขอน้ีเห็นสมควรบันทึกไวอยางแมนยํา 
เพราะสุนทรภูตายใน  พ.ศ.  ๒๓๙๘ หน่ึงรอยปเต็มถึงเวลาท่ีเขียน ในโอกาสที่เปน 
Centenarp  นี ้ สมควรแกเวลาแลวกระมังทจ่ี ะพจิ ารณาสุนทรภแู ละกลอนสุนทรภูกันใหม 
อกี คํารบหนึ่ง 

ประวัติสนุ ทรภแู บง ออกเปน  ๔ ตอน คือ 
๑)  พ.ศ.  ๒๓๒๙-๒๓๕๒ (ตั้งแตกําเนิดตลอดจนส้ินรัชกาลท ่ี ๑)  ใน 
ระยะนส้ี ุนทรภเู ปน ขา อยูใ นกรมพระราชวังหลัง  จนเมื่อทิวงคตใน พ.ศ.  ๒๓๙๔ ก็ไดไป 
เปนมหาดเล็กพระองคเ จา ปฐมวงศลูกเธอในกรมพระราชวังหลัง ขณะที่ทรงผนวชอยูที่วัด 
ระฆงั ฯ 
๒)  พ.ศ.  ๒๓๕๒–๒๓๖๗  (ตง้ั แตพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั  
เสวยราชยตลอดจนสวรรคต)  ในรัชกาลนี้สุนทรภูเปร่ืองเปนท่ีโปรดปรานและไดเปนขุน 
สนุ ทรโวหารในกรมพระอาลักษณ 
๓)  พ.ศ.  ๒๓๖๗–๒๓๘๕ (ตั้งแตสุนทรภูออกบวชตลอดจนสึก)  ความ 
ที่วา สนุ ทรภบู วชตง้ั แตปพ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา ฯ สวรรคต  และไดบวชอยู ๑๘ ป 
มีอยูในเรื่องรําพนั พิลาปวา 

แตปวอกออกขาดราชกจิ  
บรรพชติ พสิ วาทพระศาสนาฯ 

“ปว อก”  คอื  พ.ศ.  ๒๓๖๗  ตรงกับปส วรรคต 
โอย ามนป้ี ขาลสงสารวัด 

เคยโสมนัสในอารามสามวษา 
ส้ินกุศลผลบุญกรุณา 
จะจําลาเลยลบั ไปนับนานฯ 

ในหนังสือประวัติวัดเทพธิดาราม  มีวา วัดเทพธิดาเร่ิมสรางใน พ.ศ.  ๒๓๗๙ 
ผกู พัทธสีมาใน พ.ศ.  ๒๓๘๒ ฉะนน้ั  “ปขาล”  ท่ีสุนทรภ ู “สงสารวัด”  หลังจากท่ีอยูวัด 
นั้นสามวษา  จึงตรงกับ พ.ศ.  ๒๓๘๕  รวมเวลาบวชอย ู ๑๘ ป



๔)  พ.ศ.  ๒๓๘๕-๒๓๙๘  (ตงั้ แตส กึ ตลอดจนถึงแกกรรม)  เม่ือสุนทร 
ภูสึกแลว ไดไปอยูกับพระบาทสมเดจ็ พระปนเกลาเจาอยูหัวท่ีพระราชวังเดิม (ขณะนั้นดํารง 
พระยศเปนสมเด็จเจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรค แตเรียกกันเปนสามัญวา  “เจาฟานอย”) 
เม่ือถึงรัชกาลท ่ี ๔  หลังจากบวรราชาภิเษกแลว (๒๓๙๔)  ไดทรงตั้งใหสุนทรภูเปน 
พระสุนทรโวหารอาลักษณกรมพระราชวังบวรฯ  และสุนทรภูถึงแกกรรมใน พ.ศ. 
๒๓๙๘  ท่ีบานพระยามณเฑยี รบาล (บวั )  สิรชิ นมาย ุ ๗๐  ปบริบูรณ 

ประวัตสิ ุนทรภูตอนปลายนม้ี อี ยูใ นภาคผนวก  หนงั สือสามกรุง วา  

“สนุ ทรภเู ปรอ่ื งในรัชกาลที่ ๒ ในรัชกาลท ่ี ๓  เกรงพระราชอาญาหนีเขาวัดบวช 

เปนภิกษอุ ยูคราวหน่ึง   เม่อื สกึ แลว ไปอยกู ับเจาฟานอยซ่ึงเวลาน้ันประทับอยูท่ีพระราชวัง 
เดมิ   ท่ีหอนั่งเลนใหญของทวด   ขาพเจาผูเปนพระพ่ีเลี้ยงเจา ฟานอ ยมาแตย งั ทรงพระเยาว 
มีฝาเฟยมจีนก้ันท่ีเฉลียงดานกวางเปนหองๆ  หนึ่งซึ่งญาติของขาพเจาที่บานนั้นบอกวา 

เปน หองสนุ ทรภ ู  และนายพดั   บุตรสุนทรภอู ยตู อ มา”

(ขา พเจา แทรกคาํ อธิบายในตอนหลังน้ีวา   ไมเคยทอดพระเนตรเรื่องรําพันพิลาป 
เลย เพราะเม่ือมีหอสมุดฯ ไดต น ฉบับมา  ไดท รงออกจากราชการไปแลว   ขาพเจา เองกเ็ พง่ิ  
อานเร่ืองนหี้ ลังทานสิน้ พระชนม) 

ในนริ าศพระประธมมีคาํ วา  “ถวายพระพร”  พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลา ฯ  วา  

ถึงลวงแลว แกวเกดิ กบั บญุ ฤทธิ ์
ยังชว ยปดปกอยูไมรูศูนย 
ส้นิ แผนดินทินกรจรจํารูญ 
ใหเพม่ิ พนู พอสวางหนทางเดนิ  
ดังจนิ ดาหาดวงชว งทวปี  
ไดชชู พี ชวยทกุ ขเมื่อฉกุ เฉิน 
เปน ทํานอุ ปุ ถัมภไมก ํ้าเกนิ  
จงเจริญเรียงวงศทรงสุธาฯ 

นิราศเรื่องนี้แตงใน พ.ศ.  ๒๓๘๕  หลังจากสึกออกมาใหมๆ เปนการบงวา 
สุนทรภูสกึ แลวตรงไปพง่ึ เจาฟา นอยทันที ไมไ ดไปตกทกุ ขไ ดย ากทไี่ หนเลย 

ประวัติสุนทรภูตามขางบนน้ ี (เรียกส้ันๆ วา ตอนวังหลัง,  วังหลวง,  ตอนบวช, 
และตอนวังหนา)  ครบถวนขบวนความ  หากจะมีอะไรเพ่ิมเติมก็เปนเพียงแตฝอย แต 
ประวัติสุนทรภูตามท่ีเขียนกันจากคําบอกเลาสืบกันตอๆ   มามี “ตํานาน”  และ  “นิทาน” 
ปนอยูมาก จําเปนท่ีจะตองนํามาพิจารณาวาสวนไหนสมควรจะรักษาไวเปนสวนหนึ่งใน 
ประวัติสุนทรภู สวนไหนควรจะตดั ทงิ้ ไปเสยี เลย



หากจะเชอ่ื วาสุนทรภูไดอ อกบวชต้ังแตพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาฯสวรรคต 
และเมอ่ื สกึ ออกมา ๑๘ ป ภายหลัง  ไดไปอยูก บั เจาฟานอยจนถึงอนิจกรรม (จนกวาจะมี 
หลักฐานใหมมาลางรําพันพิลาปก็ไมเห็นทางที่จะไมเช่ือ)  ก็เทากับเช่ือวาเรื่องตางๆ ท ่ี
ประกอบประวัติสุนทรภูมาแตกอนเปนนิทานทั้งส้ิน แมแตท่ีวาสุนทรภูถูกถอดก็ไมเห็นมี 
หลกั ฐานอะไรยนื ยนั นอกจากเปนคําบอกเลากันมา  ในที่นี้จะขอยกตัวอยางเพียงรายสอง 
รายกอน 

การออกบวชของสุนทรภู ดูเปนสองนัยอยูหนอย นัยหนึ่งวาหนีราชภัย และเมื่อ 
บวชแลว ไดห ลบไปหวั เมืองเสยี สองสามปจึงกลับมากรุงเทพฯ ใน  พ.ศ.  ๒๓๗๐ และไป 
อยวู ดั ราชบรู ณะ อีกนัยหน่ึงวา  สนุ ทรภอู อกไปบวชตางจังหวัด จําพรรษาอยูที่นั่นสามปจึง 
ไดมาอยูที่วัดเลียบ ทั้งสองนัยน้ียังไมพบหลักฐานยืนยันหรือคัดคานเพราะยังไมทราบวา 
สุนทรภบู วชท่วี ดั ไหน ประวตั สิ ุนทรภตู อนบวชตั้งตน ดวยนิราศภเู ขาทอง  (๒๓๗๑)  ความ 
ในเรอ่ื งนแี้ ละในเพลงยาวถวายโอวาทชวนใหเ ช่ือวาไมไดบ วชในกรงุ เทพฯ 

หลงั จากกลับมาจากกรุงเกา คราวไปภูเขาทอง  เจา ฟากณุ ฑลฯ  ไดใหเจาฟากลาง 
และเจาฟาปวไปเรียนหนังสือกับสุนทรภู (เพลงยาวถวายโอวาท,  วาแตงราว พ.ศ. 
๒๓๗๒)  ดเู ปนการคานวาสนุ ทรภูถูกกร้ิวอยูในตัว 

เหตทุ ่สี ุนทรภูมิไดแตงเพลงยาวถวายสําหรับจารึกที่วัดพระเชตุพน ดูเปนขอใหญท่ี 
นาํ มาอา งวาสนุ ทรภถู กู กริว้ และเปนท่รี ังเกียจ หากจะพิจารณาคําจารึกอยา งละเอียด อยาง 
ยง่ิ คําพระราชปรารภประกอบเพลงยาวกลบท กลอกั ษร กเ็ หน็ ทันทวี าสุนทรภูไมอยูในฐานะ 
ที่จะแตงเพลงยาวสงั วาสถวายไดเ พราะขณะนั้นบวชเปน พระอยู 

หากทีข่ าพเจาอธิบายนีย้ งั ไมเปน ท่สี ิ้นสงสัยสําหรับทานท่เี ชอ่ื มานานวา สุนทรภูไมได 
แตงเพลงยาวจารึกเพราะถูกกร้ิว ขาพเจา จะขอเชิญพระราชนพิ นธใ นพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั  
เกลาเจาอยูหัวมาช้ีขาดในเรื่องน้ีเสียที  มิฉะน้ันก็ไมมีวันท่ีจะเขาใจสุนทรภูกันได พระราช 
ปรารภประกอบเพลงยาวกลบทและกลอักษรวา  

อนั อกั ษรกลอนเพลงนกั เลงเลน 
จะรักใครใ หพอเปนแตพ าเหยี ร 
อยาหลงใหลในฝป ากคดิ พากเพียร 
แทบาปเบียนตนตามรูปนามธรรม 
กท็ รงทราบวาสังวาสนีบ้ าดจติ  
ยอมเปน พษิ กบั สัลเลขคือเนกขัม 
แตบ ชู าไวใหค รบจบลาํ นํา 
เปน ทีส่ ําราญมนสั ผมู ัสการฯ



อน่ึง   ท่ีอางกันวาสุนทรภูแตงเพลงยาวคําผวน  “ลอ”  ตํารายาและกลบทที ่
จารึกวา  “โรคมากรากโมกตมกินหาย”  น้ันเปนนิทานท้ังเพ  หากจะดูบาทกอนน้ัน 
เพียงบาทเดียวก็จะเห็นวาไมใ ชส ํานวนสุนทรภ ู เปนบทท่แี ตงในช้นั หลงั   เขาใจวา จะเปน ใคร 
เชน เปโมราเปนผแู ตง   แตขอน้ขี า พเจาไมขอยืนยัน 

ตามที่ไดแบงประวัติสุนทรภูออกเปนสี่ตอน  มีตอนวังหลัง  (๒๓๒๙- 
๒๓๕๒)  วังหลวง  (๒๓๕๒-๒๓๖๗)  ตอนบวช  (๒๓๖๗-๒๓๘๕) 
และตอนวังหนา  (๒๓๘๕-๒๓๙๘)  ยอมแสดงอยูในตัววา สุนทรภูเปนคนมีบุญ 
ท่ีสุด  เพราะนอกจากจะไดรับอุปการะจากพระเจาแผนดินถึงสามพระองคยังไดไปเปน 
“พทุ ธบุตร”  ในเม่ือไมมีพระเจาแผน ดนิ อปุ การะ  (แตก็มีเจา ฟาสามสี่พระองค)  ฉะน้นั ยากท ่ี
จะเหน็ วา  ตกทกุ ขไ ดยากในตอนไหน  (เวนแตดวยความสมัครใจของเจาตัว)  แตในกลอน 
ของสนุ ทรภกู ลับมคี วามตรงขา ม  เชนในรําพันพิลาปกลาวถงึ ความยากจนวา  

โอย ามจนลนเหลือสนิ้ เสื่อหมอน 
สูซุมซอ นเสยี มใิ หใครๆ เห็น 
ราหทู ับยบั เยนิ เผอิญเปน  
เปรียบเหมือนเชนพราหมณชีมณจี ันท 
จะสึกหาลาพระอธฐิ าน 
โดยกนั ดารเดอื ดรอ นสุดผอนผนั  
พอพวกพระอภยั มณศี รสี วุ รรณ 
เธอชวยกนั แกรอ นคอ ยหยอ นเย็น 
อยมู าพระสิงหะไตรภพโลก 
เห็นเศราโศกแสนแคนสดุ แสนเข็ญ 
ทุกคํ่าคนื ฝน หนาน้ําตากระเดน็  
พระโปรดเปน ทพ่ี ึ่งเหมอื นหน่งึ นกึ  
ดังไขหนกั รกั ษาวางยาทพิ ย 
ฉนั ทองหยบิ ฝอยทองไมต อ งสึก 
คอยฝา ฝน ช่นื ฉาํ่ ดงั อํามฤก 
แตต กลึกเหลือทจ่ี ะไดสบาย 
คอยเบาบางสา งโศกเหมือนโรคฟน 
จะเดินยนื ยังไมไ ดยังไมหาย



ไดห ม สีมหี มอนเสื่อออ นลาย 
คอ ยคลายอายอตุ สาหตรองฉลองคุณฯ 

การท่ีจะสาวเรื่องราวของสุนทรภูเปนเรื่องของนักวรรณคดีท่ีจะทํากันตอไป ถาจะ 
พดู ไปแลว  เรื่องของสุนทรภูไมใชยากท่ีจะเขาใจแตคงจะไมงายที่จะอธิบาย  เพราะถึงแม 

เรื่อ งรําพัน พิล าปจะไ ดพิ มพอ อกมาเ ปน ครั้งแรก  ๑๖  ปแ ลวก็ตา ม   แต หนั งสือ ประวั ติ 
วรรณคดีและวรรณคดีวจิ ารณท ่แี ตง หลงั จากนน้ั ยังคงถอื วาสนุ ทรภูตองลอยแพกินเหลาอย ู
นั่นเอง  กลอนของสุนทรภูชวนอานเสมอ  แลในเมื่อชวนอานแลวก็ยอมชวนใหเช่ือดวย 
ท้ังๆ  ที่ในบทมีขัดกันหลายแหง  ในขณะน้ียังไมไดฤกษที่ขาพเจาจะอธิบาย  แตเพ่ือเปน 
การประเดิมศตวรรษใหมชว ยนกั วรรณคดีท่เี ช่อื วา อยใู นศตวรรษใหมวิจารณกอนตามสบาย 
ขาพเจาจะชี้ขอขัดในตัวบทเพียงแหงเดียว  คือในเร่ืองภรรยาที่ชื่อจัน  และบุตรท่ีช่ือพัด 
(นักวรรณคดที ่เี ช่ือวา อยใู นศตวรรษเกา อยาไดพ ยายามเห็นจะดีกวา  เพยี งแตร ับทราบเรื่อง 
ศกั ราชก็พอ)

ตามความในนิราศพระบาทแตง ใน  พ.ศ.  ๒๓๕๐  สุนทรภูไดภรรยาคนหน่ึงช่ือ 
จนั เปน ชาววังหลัง  ตอจากน้ัน ๑๗ ป (พ.ศ.  ๒๓๖๗)  สุนทรภูออกบวช  ตอจากนั้น 
อีก  ๑๗ ป ในนิราศสุพรรณ  (วาแตงปลายปฉลู พ.ศ.  ๒๓๘๔)  ปรากฏวาภรรยาท ่ี
ชือ่ จันนน้ั ไปไดส ามีใหม  เรามกั เชอ่ื กนั จากนริ าศพระบาทวา    สุนทรภอู ยกู ับภรรยาชอ่ื จนั ได 
ไมเทา ไรก็แตกกนั   มบี ตุ รดวยกันคนหนง่ึ ช่ือพัด 

ในนริ าศภูเขาทอง  ซงึ่ เปน บทประพนั ธชิ้นแรกในชีวิตอุปสมบทของสุนทรภู (แตง 
พ.ศ.  ๒๓๗๑)  มีกลาวถึง  “หนูพัด”  วาไดติดตามไปดวย (กับหนูพัดมัสการสําเร็จ 
แลว)  ตอ จากน้ันอีกประมาณ  ๑๗ ป ในนิราศเพชรบุร ี ซึ่งวาเปนนิราศเรื่องสุดทาย 
ของสุนทรภู  (เขา ใจกนั วาแตงหลังกรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพสิ้นพระชนมใน พ.ศ.  ๒๓๘๘ 
แตย ังไมทนั เปล่ียนแผนดินใน พ.ศ. ๒๓๙๔)  มีกลาวถึง “หนูพดั ”  วา 

กับหนพู ัดจัดธปู เทยี นดอกไม 
จะขึ้นไหวพ ระสมั ฤทธ์พิ ิษฐานฯ 

หากจะเช่ือวาเม่ือหนพู ดั ไปภูเขาทองอายุจะตอ ง ๕-๖ ขวบเปนอยา งนอ ย (มฉิ ะนน้ั  

สุนทรภคู งไมพาตระเวนไปหวั เมือง)  เมื่อไปเพชรบุรีก็จะตองเลยอายุบวช  ดูเปน “หนู”  ท่ี 

โตชาหนอย  ยิ่งกวา นัน้ หากจะเชื่อตามนิราศพระบาทวา   อยูกับภรรยาที่ช่ือจันไดไมเทาไร 
ก็เลกิ กนั แลว ไซร  “หนูพดั ”  ท่ไี ปเพชรบุรีอายุจะมติ องรวม ๔๐  หรอื ? 

สุนทรภูตายไปเพียงรอยปเ ทา นั้น ฉะนั้นทนี่ กั วรรณคดจี ะคนหาหลักฐานมาประกอบ 

ประวตั สิ นุ ทรภูเสยี ใหม  ก็คงไมยากเหมอื นคนเรอื่ งเกี่ยวกับกวสี มัยกรุงศรีอยธุ ยา (เร่ืองของ 
สุนทรภูยังมีผูใหญในเชื้อสายของพระยามณเฑียรบาล (บัว)  เลากันตอมาจนทุกวันน้ี)



หากนักวรรณคดสี บื สาวราวเร่ืองหรืออธิบายขอตางๆ ในตัวบทที่ขัดกันไดแลวกลับไปอาน 
กลอนของสุนทรภูใ หม  กอ็ าจจะไดร สท่ีอรอยกวา เกามาก แตถา หากอธิบายไมได ก็นากลัว 
จะตกคา งอยูในศตวรรษเกาไปอกี นาน  แตกลอนของสุนทรภเู ปนของชวนอานเสมอ  ฉะนั้น 
ถึงแมจะตกคางอยูสักศตวรรษสองศตวรรษก็ไมแปลกอะไร  กลอนของสุนทรภูยังคงชวน 
อา นอยูน ัน่ เอง 

(จบขอความจากวารสารศิลปากร) 

เมือ่ ปลายเดือนธนั วาคม พ.ศ.  ๒๔๙๘ อาจารยฉ นั ท   ขําวไิ ล ไดแตงหนังสอื เลม  
หนึ่งชื่อ ๑๐๐ ปของสนุ ทรภ ู

หนังสือของอาจารยฉันทหนาประมาณ ๖๐๐ หนา  นอกจากม ี “นิราศพระ 
อภัยมณี”  และ “เฉลิมเกียรติสุนทรภู”  แตงเปนคํากลอนแลว  อาจารยฉันทยังไดแตง 

ประวัติสนุ ทรภปู ระกอบอยางละเอียด 
ตอไปน้ีเปน  “สังเขปประวัติ”  ซ่ึงเปนสวนหน่ึงในบ้ันปลายของหนังสือ ๑๐๐ ป 

ของสนุ ทรภ ู ที่ทา นจันทรท รงกลาวถึง 

สังเขปประวัตสิ นุ ทรภู 

พระสุนทรโวหาร เจา กรมพระอาลกั ษณฝา ยพระบวรราชวัง  นามเดิมช่ือ “ภู”  หรือ 
ท่ีเรียกกันเปนสามัญวา  “สุนทรภู”  นั้น ถ่ินเดิมบรรพบุรุษของทานเปนชาว 
พระนครศรีอยุธยา ทางฝายบิดาไดอพยพลงมาอย ู ตําบลบานกร่ํา อําเภอแกลง  จังหวัด 
ระยอง  ในสมัยเมือ่ ชาติไทยตองเสียกรงุ ศรีอยุธยาใน พ.ศ.  ๒๓๑๐ 

คร้ังนั้น ปูและบิดาของสุนทรภูไดอพยพตามสายของพระเจาตากสินลงมา  ซ่ึง 
เขาใจวาปูจะเปนคหบดีหรือขาราชการช้ันผูใหญ  ดวยมีพาหนะชางอพยพ  สวนบิดาใน 
ขณะน้นั อายยุ งั เยาวอ ยู  เม่อื พระเจาตากสินกูอิสรภาพสรางกรุงธนฯ  ขึ้นเปนราชธานี  ปู 
ของสนุ ทรภูคงมหี นาทอี่ ยางใดอยางหนงึ่   เปน กาํ ลังอยูในครงั้ นนั้ ดว ย  ฝายบิดาคงยงั อยใู น 
วัยการศึกษา  ในสมยั กรุงธนบรุ ี 

เมื่อสิ้นกรงุ ธนฯ  แลว   ปขู องสนุ ทรภคู งกลับไปอยบู านกร่ําอันเปน สถานที่ไดอพยพ 
ลงมาต้ังหลักแหลง อยูก อน  สืบตระกูลวงศเ ปนลําดบั มา 

สว นบดิ าของสนุ ทรภู   เมื่อเจริญวยั ไดรับการศึกษาอยูพอสมควร จนถึงสมัยสราง 
กรุงรัตนโกสินทรข้ึนเปนราชธานีแลว  ไดมีการสัมพันธกันกับทางฝายมารดาของสุนทรภู 
ซ่งึ บรรพบรุ ษุ ทางฝายมารดาคงไดอพยพลงมาตามสายของพระบาทสมเด็จฯ พระพุทธยอด 
ฟา จฬุ าโลกในครง้ั นนั้ ดว ย 

เม่ือความสัมพันธท างฝา ยบดิ ากบั มารดาเปนไปอยา งฉันสามีภรรยาจนไดใหกําเนิด



สุนทรภู   เมอ่ื   ณ  วนั จันทร   เดือน ๘ ข้นึ  ๑ คํ่า  ปม ะเมีย  จุลศกั ราช  ๑๑๔๘  เวลา 
๒  โมงเชา (ตรงกับวันท ่ี ๒๖  มิถุนายน  ๒๓๒๙)  ณ บริเวณดานเหนือของ 
พระราชวงั หลัง  อันเปนทตี่ ้งั บรเิ วณสถานรี ถไฟสายบางกอกนอ ย  และบรเิ วณพระราชวงั  
หลังนั้นเปนท่ีต้ังโรงพยาบาลศิริราชอย ู  ณ  บัดน้ี 

การรวมคูในระหวา งบิดากบั มารดาของสนุ ทรภนู น้ั   คงมเี หตอุ ยา งใดอยางหนง่ึ   ซงึ่  
ตองใหเ ลิกรา งกันไป  อาจเปนระยะเวลาทสี่ ุนทรภยู ังอยใู นครรภหรอื พึ่งคลอดแลว ไมน านนกั  
ปรากฏวาฝายบิดาไดออกไปบวชอยูที่วัดปา  ตําบลบานกร่ํา  อําเภอแกลง  ในจังหวัด 
ระยอง  และเขา ใจวาในตอนน ี้  ปขู องสุนทรภูยังมีชีวิตอยูท่บี า นของตนนน้ั  

กลาวถึงฝายมารดาของสุนทรภู  กอนที่จะไดสามีคงเปนขาหลวงอยูกับเจานาย 
พระองคใดพระองคหน่ึงในพระราชวังหลัง  เม่ือออกมามีบุตรและตองรางกันกับสามีใน 
ระยะเวลาอันส้ันน้ันแลว  จึงกลับเขาอยูในพระราชวังหลัง  และไดถวายตัวเปนแมนม 
พระธดิ าในกรมฯ  นัน้   ซึง่ มีพระนามวาพระองคเ จาหญิงจงกล (คงประสูติในปเดียวกันกับ 
สุนทรภูเกิด)  ตอมาจึงไดสามีใหม  มีบุตรหญิงดวยกัน ๒ คน  คือ  ฉิม คนหนึ่ง  ชื่อ 
นมิ่   คนหน่งึ   และเปนขาอยใู นพระราชวงั หลงั นน้ั  

เมื่อสุนทรภูเจริญวัย  ไดรับการศึกษาตามสมควรแกฐานะแลวปรากฏวาเปนผู 
เปรอื่ งปราดในวชิ าอกั ษรศาสตรม าแตเ ยาว  เม่ือรุน หนมุ ก็สามารถบอกดอกสรอยสักวาและ 
มีอาชีพเปน ครสู อนหนังสอื อยูท่ีวัดชปี ะขาว (วัดศรีสุดาราม)  ในคลองบางกอกนอย  และ 
ขณะท่เี ปน มหาดเล็กอยูในกรมพระราชวงั หลัง  ไดแตงกลอนสุภาษติ   และแตง กลอนนิทาน 
ข้ึนไวเมื่ออายุอยูในราว ๒๐ ป  ในระยะนี้ไดไปลอบรักกับหญิงในวังคนหนึ่งชื่อ  “จัน” 
เมอื่ ทราบถึงกรมพระราชวงั หลงั ก็ทรงกริ้ว  รบั ส่งั ใหเวนจาํ เสยี ทง้ั หญิงและชาย 

สุนทรภูจะถูกเวนจําอยูไมนานนัก  กรมพระราชวังหลังก็ประชวรทิวงคตใน พ.ศ. 
๒๓๔๙  จงึ ไดอ อกจากเวนจํา  คร้ันถงึ ตน ป  พ.ศ.  ๒๓๕๐  ไดเดินทางไปหาบิดาซึ่ง 
ยังบวชอยูทีว่ ัดปา   ตําบลบา นกรํา่   ในจังหวดั ระยอง  ขณะนน้ั บดิ าบวชได  ๒๐  พรรษา 
กอ นที่สนุ ทรภจู ะไปพบกบั บิดาคร้ังน้ี  เขาใจวาคงไดพบกันที่กรุงเทพฯ บางแลวและเมื่อได 
พักอยูกับบิดาทวี่ ัดปา ประมาณ ๒ เดือนเศษ  จึงกลับมาอยูท่ีพระราชวังหลังตามเดิม  ใน 
การเดินทางครัง้ น้สี ุนทรภูไดแตงนิราศเรื่องหนึ่ง  เรียกช่ือวา  “นิราศเมืองแกลง”  ปรากฏ 
วา เปนนริ าศเร่อื งท่แี ตงขึ้นกอ นนริ าศเรอ่ื งอ่นื ๆ แลวไดถวายตัวอยูกับพระองคเจาปฐมวงศ 
พระโอรสในกรมพระราชวังหลัง ซึ่งทรงผนวชอยูท่ีวัดระฆังฯ และในตอนนี้ก็ไดแมจันหญิง 
คนที่รักซ่ึงตองเวนจํามาดวยกันเปนภรรยา ชะรอยเจาครอกขางใน (ทองอยู)  พระอัคร 
ชายากรมพระราชวังหลังจะทรงจัดแจงให แตสุนทรภูอยูกับภรรยาไดไมก่ีเดือนก็โกรธกัน 
คงจะเน่ืองดวยสุนทรภูเมาหนกั ขึ้นหรอื ชอบเปน คนเจาชู  เพราะปรากฏวาแมจันก็เปนคนข ้ี
หึงอยู  เม่ือถึงปลายป  พ.ศ.  ๒๓๕๐  น้ัน  สุนทรภูไดตามเสด็จพระองคเจาปฐมวงศ 
เดินทางไปนมสั การพระพุทธบาท  ไดแตงกลอนนิราศพระบาทไวอีกเร่ืองหนึ่งใน  พ.ศ.  นี้

10 

เม่ือเดินทางกลับมาแลวก็ยังไมไดคืนดีกับภรรยา  สุนทรภูจึงตองอยูตัวคนเดียว  และคง 
ออกจากมหาดเล็กทองเที่ยวไปตามความพอใจ  เขาคณะบอกดอกสรอยสักวา  และบอก 
บทละครตามอารมณทชี่ อบและถนดั อยใู นดา นน้ ี  ตอ มาจึงไดเ ดนิ ทางไปเมอื งเพชรฯ  พํานัก 
อยูที่บานหมอมบุนนากในกรมพระราชวังหลัง  ซึ่งออกไปทํานาอยูท่ีจังหวัดน้ี  เมื่อกรม 
พระราชวังหลังทิวงคตแลว  หมอมบุนนากก็รับรองดี  เวลาปวยไขก็รักษาพยาบาล 
ตลอดจนคดิ หาลูกหาเมยี ใหเ ปนหลักฐาน  ตอ มาสุนทรภไู ดย า ยไปพกั อยูทบี่ านขนุ รองที่บาน 
โพ  คงจะไมห างไกลจากบา นหมอมบนุ นากนกั   วาเปน เพอื่ นรกั ใครก นั มาก เวลานั้นขนุ รอง 
ก็อยูตัวคนเดียว  สุนทรภูทองเที่ยวอยูในเมืองเพชรฯ เห็นจะเปนเวลานานจนถึงปลายป 
พ.ศ. ๒๓๕๖ จงึ ไดจ ากขนุ รองกลับคนื มาอยกู รุงเทพฯ แตจะไปพํานักอยูแหงใดหาปรากฏ 
ไม  อาจจะเขา พรรคเดิม คอื คณะดอกสรอยสักวา หรือคณะละครตามอัธยาศัยของตนและ 
ประกอบอาชพี ในทางแตง หนังสอื  สอนหนังสืออยูด วยตามที่เคยปฏบิ ตั ิมาไมวาจะอยูแหงใด 
ในระหวางน้ีคงพยายามจะคนื ดกี บั แมจ ัน แตจ ะขัดขวางอยูเพราะผูใหญ สวนตัวแมจันก็คง 
จะคลายโกรธแลว  

ตอ มาในราว พ.ศ.  ๒๓๕๙  ปรากฏวา มีการทิ้งบัตรสนเทหกันชุกชุมในรัชกาลท ี่
๒ จนกรมหมื่นสุเรนทรตองถูกชําระ สุนทรภูก็ถูกสงสัยดวย จึงคิดหาทางหลบหนีไปเสีย 
จากกรุงเทพฯ เพราะเกรงอาชญา อันเปนมูลเหตุที่ใหสุนทรภูตองกลับไปอยูเมืองเพชรฯ 
เปนครั้งท ี่ ๒ ประการหนง่ึ  อีกประการหน่งึ กลา วตามแนวทางของเรอ่ื งวาสนุ ทรภกู ลบั ไปอย ู
เมืองเพชร ฯ คร้ังนเ้ี พราะพาแมจ ันซงึ่ ไดลอบคนื ดีกันแลวหลบหนีไป ดวยกลัวเจานายหรือ 
ญาติผใู หญจะลงโทษ  หรอื บางทอี าจจะประจวบกนั ดวยเร่ืองท้ังสองนกี้ ไ็ ด แตอยางไรก็ตาม 
สุนทรภูไดพาแมจันหนีไปหลบซอนอยูในถ้ําเขาหลวงที่จังหวัดเพชรบุรีคร้ังนี้จะอยูในราว 
ปลายป  พ.ศ.  ๒๓๖๐ เมื่อเห็นวาเรื่องคงไมสูรุนแรงนักจึงพากันออกมาจากถ้ํา เขา 
พาํ นักอยูบานขุนรองเพือ่ นเกา ทีเ่ คยมาพกั ครง้ั กอ น แตเวลานี้ขนุ รองไดเลอ่ื นเปน ขนุ แพง และ 
มภี รรยาแลว  ท้งั ปลูกบา นเรือนขึ้นใหม  สุนทรภูจะพํานักอยูบานน้ีแหงเดียวหรือจะไปพัก 
อยูบานอื่นอีกไมปรากฏชัด แตก็ไดอาชีพครูบาง แตงหนังสือข้ึนบาง พอปะทะปะทังการ 
ครองชีพอยูตามสมควรจนถึงตนป พ.ศ.  ๒๓๖๓  อายุได  ๓๕ ป จึงอพยพเขามาอยู 
กรงุ เทพฯ 

การเดินทางกลับคร้ังน้ี คงเน่ืองดวยเหต ุ ๒ ประการ  คือ  งานท่ีสุนทรภูสรางไว 
นับแตเ ริม่ แรกจนมาถึง พ.ศ.  ๒๓๖๓ ไดแพรหลายเปนทน่ี ยิ มในหมูชนชั้นผูดีมากขึ้น จน 
มีชื่อเสียงเกียรติคุณกระจายไปท่ัวเมือง  ซึ่งเปนแนวทางท่ีสุนทรภูจะไดกลับคืนมายัง 
กรงุ เทพฯ ประการหนง่ึ  อีกประการหนึ่งแมจันซึ่งอยดู วยกนั มาถงึ ตอนน ้ี  เขา ใจวา ใกลเ วลา 
ท่ีจะใหกําเนิด “หนูพัด”  ซึ่งจะครบกําหนดคลอดใน พ.ศ.  ๒๓๖๓ จึงไดพรอมใจพากัน 
เดินทางเขามากรุงเทพฯ  เพ่ือเขาหาผูใหญและเจานาย (เจาครอกขางใน)  เพราะเห็นวา 
เปนเวลาลวงมานานคงจะคลายความโกรธ ท้งั แมจ นั ก็มีครรภอย ู อาจจะไดร ับความเมตตา

11 

บางตามสมควร แลวแมจนั กไ็ ดใหกาํ เนิดหนพู ดั ใน พ.ศ.  ๒๓๖๓ นั้น 
ตามท่ีกลาวมาวางานทสี่ ุนทรภูไ ดสรา งข้ึนไว จนปรากฏชือ่ เสยี งน้ันเมอ่ื ทรงทราบถงึ  

พระเนตรพระกรรณ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั ในรชั กาลท ี่ ๒ ซึ่งพระองคก ็ทรงเปนพระ 
มหากวีพระองคหน่ึง จะทรงเห็นแนวความคิดและสํานวนท่ีสุนทรภูแตงไวหลักแหลมอย ู
ดวยน้ําพระทัยที่มิไดทรงถือวาสุนทรภูจะมาเปนคูแขงพระบารมีกับพระองค  มีพระราช 
ประสงคอยแู ตเพียงวา  ขอใหงานศิลปะของชาติเจริญรุงเรืองไปดวยดี  ประกอบกับเวลา 
น้นั จะทรงเริ่มพระราชนิพนธบ ทละครเรอื่ งรามเกียรต์ิอย ู  เมอื่ ไดทรงเห็นความสามารถของ 
ราษฎรสามัญคนหนึ่งเชนนี้  หรืออาจจะทรงเห็นแววมาแตเม่ือครั้งท้ิงบัตรสนเทหน้ันดวย 
จึงมีพระกระแสรับสงั่ ใหห าตัวสุนทรภูเขารับราชการในกรมพระอาลักษณ  ในตอนน้ีจะเปน 
เวลาทสี่ ุนทรภยู ังอยูในจงั หวัดเพชรบุรีก็ได  จงึ พากันเดินทางเขามา  ฝายญาติผใู หญก็หมด 
ความรังเกียจ  จงึ ใหเขาอยอู าศัยตามเดิม 

เมื่อสุนทรภูไดรับราชการ  ใน  พ.ศ.  ๒๓๖๓  นั้นแลว  ไดทําความชอบใน 
หนาที่  คอื สามารถตอพระราชนิพนธบ ทละครเรือ่ งรามเกียรติเ์ ปนท่ีถูกพระราชหฤทัยหลาย 
ครั้ง  จนทรงโปรดปรานเปน อนั มาก  ถงึ กบั นับสุนทรภูเปนกวีที่ทรงปรึกษาดวยอีกคนหน่ึง 
และทรงต้ังเปนทีข่ นุ สุนทรโวหาร  พระราชทานบานใหอยูใกลชิดพระองคและมีตําแหนงให 
เฝาฯ เปนนิจ  แมเวลาเสด็จประพาสก็โปรดใหลงเรือพระที่น่ังเปนพนักงานอานเขียนใน 
เวลาทรงพระราชนพิ นธบ ทกลอน 

บานที่สุนทรภไู ดร ับพระราชทานนน้ั อยูใกลท าชาง  แตอยูในกําแพงวังช้ันนอก  ถา 
เขา ทางดา นเหนือของพระบรมมหาราชวังก็เขาทางดานประตูสุนทรทิศา  ประตูนี้ต้ังอยูมุม 
พระบรมมหาราชวงั ดา นตะวันตกเฉียงเหนือ  ติดถนนหนาพระลานท่ีผานตรงไปสุดทาชาง 
วังหลวง  บานของสุนทรภูอยูในระหวางประตูสุนทรทิศาลงไปทางดานใต  ถึงประตูเทวา 
ภิรมย (ประตูขุนนาง)  ซ่ึงเปน ประตูดา นตะวนั ตกของพระบรมมหาราชวังในบัดน้ ี

เม่ือสุนทรภูรับราชการเปนกวีท่ีปรึกษา  ในพระบาทสมเด็จฯ  พระพุทธเลิศหลา 
นภาลัยน้ัน  ก็มีสมเด็จเจาฟา  กรมหลวงพิทักษมนตรีและพระเจาลูกยาเธอ  กรมหมื่น 
เจษฎาบดนิ ทร  ซ่ึงเปน กวีทป่ี รึกษาอยูรวมกัน 

กลา วกันวา   ครงั้ หนง่ึ สุนทรภมู เี ร่อื งขดั แยงพระนิพนธข องกรมหมื่นเจษฎาบดินทร 
ตอพระท่ีน่ัง  ในบทละครเรื่องอิเหนาตอนบุษบาลงสรง  และกรมหม่ืนเจษฎาบดินทรตอง 
ยอมตามท่สี ุนทรภูแกไ ขนนั้  

อกี ครัง้ หนง่ึ   สนุ ทรภูข ัดแยงพระนพิ นธข องกรมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทรใ นบทละครเรอื่ ง 
สงั ขทอง  จนตองทรงแกเสียใหมตามที่สุนทรภูแยงนั้น  จึงเปนมูลเหตุใหกรมหมื่นเจษฎา 
บดินทรข ดั เคอื งพระทัย  ถงึ กบั มนึ ตงึ สนุ ทรภอู ยตู ลอดมา 

ในระหวางทสี่ นุ ทรภรู บั ราชการอยูน ้ัน  ไดไ ปชอบพอรกั ใครกับหญิงอีกคนหนึ่ง  ชื่อ

12 

นิ่ม  เปนคนชาวบางกรวย  อําเภอบางกอกนอย  จังหวัดธนบุรี  เมื่อไดเปนภรรยาแลว 
ฝายแมจันภรรยาเกาจึงโกรธพาลูกไปอยูเสียกับผูใหญที่บริเวณพระราชวังหลัง  ตอมา 
สุนทรภูคิดจะคืนดีดวย  จึงตามไปหาที่บานและเปนเวลาท่ีตนมึนเมาอยู  เมื่อเรื่องไม 
เปน ไปดังประสงคจ งึ ไดเกดิ เปน ปากเปนเสียงกันขึ้น จนผูใหญตองมาหามปราม  กลาวกัน 
วา   เปน ลุงหรอื นา กลับพลอยไดรับบาดเจ็บไปดว ย  เขาจงึ ทลู เกลาฯ  ถวายฎีกา  เมื่อทรง 
ทราบถงึ พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัวกท็ รงกร้วิ   มรี ับสัง่ ใหเ อาตวั สุนทรภูไปจาํ ไวในคุก  คง 
เน่อื งดว ยเหตุท่วี ิวาทกันกบั ภรรยาครั้งน้ี  ในทสี่ ดุ แมจนั กต็ ัดสินใจหยา ขาดจากสุนทรภู  อัน 
เปนวาระสดุ ทา ยมไิ ดก ลับมาคืนดีกันอกี ตอไป  เร่อื งท่วี วิ าทกนั กับแมจนั   และที่สุนทรภูตอง 
ตดิ คกุ นใี้ นราว  พ.ศ.  ๒๓๖๔ 

เมื่อสุนทรภูอยใู นทีค่ มุ ขังคงไมนานนกั   พอถึงปลายป พ.ศ.  ๒๓๖๔  นนั้ หรอื ใน 
ราวตนป พ.ศ.  ๒๓๖๕  ก็พนโทษ เลากันมาวาพระบาทสมเด็จฯ  พระพุทธเลิศหลา 
นภาลัย  ทรงพระราชนพิ นธบ ทละครเรอ่ื งใดเร่อื งหนึ่งเกดิ ติดขัด  ไมมีผูใดจะตอใหเปนที่พอ 
พระราชหฤทยั ไดจงึ มรี ับสั่งใหเ บิกตัวสุนทรภูออกมาจากคกุ   สุนทรภูต อกลอนไดดังพระราช 
ประสงค  ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ  ใหพนโทษ  กลับเขารับราชการตามเดิม  และเมื่อ 
ในราว  พ.ศ.  ๒๓๖๕  น ้ี  ฝา ยภรรยาคนใหมที่มีช่ือนิ่ม  ก็คลอดบุตรคนหนึ่งเปนชาย 
ซึ่งปรากฏภายหลงั วา ช่ือหนตู าบ  สนุ ทรภูไดอยูกบั ภรรยาคนนีต้ อไปเมื่อออกจากคุกแลว 

จะอยูในราว พ.ศ.  ๒๓๖๕–๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จฯ  พระพุทธเลิศหลา 
นภาลยั โปรดใหส ุนทรภูเ ปน ครสู อนหนงั สือถวายสมเด็จพระเจาลกู เธอ  เจาฟาอาภรณ   ซึ่ง 
มีพระชนมอยูใ นระหวา ง ๗-๙ พรรษา  สุนทรภไู ดแ ตง กลอนเร่ืองสวสั ดริ กั ษาถวายไวเรื่อง 
หนงึ่   เขา ใจวา จะแตงเพือ่ เปนอนสุ รณ  คลา ยกบั เปนจดหมายเหตุไว  (เชนเดียวกับเพลง 
ยาวถวายโอวาทเจาฟากลางและเจาฟาปว    ถาจะแตงใหทรงอานก็เห็นจะทรงไมได 
เพราะพระชนมยังนอ ยอยใู นเวลาน้ัน) 

คร้ันถึง พ.ศ.  ๒๓๖๗ เมื่อพระบาทสมเด็จฯ พระพุทธเลิศหลานภาลัยทรง 
ประชวรสวรรคต    ตอจากนัน้ มาไมน านสุนทรภูก็ถูกกลาวหาในคดีเรื่องเสพสุราหรือเร่ือง 
ใดอกี ไมป รากฏ    จึงตองถูกถอดจากบรรดาศกั ดิ์ท่ขี ุนสนุ ทรโวหาร   และออกจากราชการ 
คงเนอ่ื งดว ยกรมหมืน่ เจษฎาบดนิ ทร   เม่อื เสดจ็ ขึ้นเสวยราชยเปนพระบาทสมเด็จฯ พระนั่ง 
เกลาเจา อยูหวั  (รัชกาลท่ ี ๓)  ซ่งึ ทรงรังเกียจสุนทรภูอ ยใู นอดีต ประกอบดวยหมูอํามาตย 
เหน็ โอกาสจะดําเนินการใหเ ปนไปตามพระราชประสงค   เพ่ือหวงั ความดีแกต นในครง้ั นี้  จึง 
ชวยกนั ตอ เตมิ เพ่มิ ความใหท รงเห็นโทษของสุนทรภูย่ิงข้ึน  โดยขอหาตางๆ จนเปนผลสม 
ประสงค 

เม่ือสุนทรภูรูตววาตองโทษเชนนั้น  จึงรีบออกบวชที่วัดราชบูรณะ  (วัดเลียบ) 
แลวก็เดินทางไปอยูจําพรรษาท่ีเมืองเพชรบุรีอีกครั้งหน่ึง  ไดแตงหนังสือไปบาง  สอน 
หนังสือไปบาง  และเขาใจวาจะแตงกาพยเทียบสอนอานภาษาไทย  เร่ืองพระไชยสุริยา

13 

เมือ่ พรรษาแรกใน พ.ศ.  ๒๓๖๘ ทอี่ ยใู นเพชรฯ  ครง้ั น ี้
ครั้นออกพรรษาแลว   สุนทรภูก็เดินทางทองเที่ยวไปในจังหวัดราชบุรี  จังหวัด 

กา ญ จน บุ รี  แ ต ห าไ ด อยู จํ า พ ร ร ษ าใ น ส อง จั ง ห วั ด น้ีไ ม แ ลว ท อ ง เ ที่ ย ว ไ ป จน ถึ ง จัง ห วั ด 
สพุ รรณบรุ ี  และไดอ ยจู ําพรรษาทีอ่ ําเภอสองพีน่ องในจังหวดั สพุ รรณบุรีนั้น (ไมใชบานสอง 
พี่นองในจังหวัดเพชรบุรี)  อย ู ๑ พรรษา  ใน พ.ศ.  ๒๓๖๙ เม่ือออกพรรษาแลวได 
เดินทางไปจังหวัดพิษณุโลก ไปอยูจําพรรษาใน พ.ศ.  ๒๓๗๐ อีก ๑ พรรษา  เที่ยว 
แสวงหาลายแทงจนเม่ือออกพรรษาแลวจึงไดเดินทางกลับมาลงอยูท่ีวัดราชบูรณะใน 
กรุงเทพฯ  นับเวลาท่ีสุนทรภูทองเที่ยวไปอยูตามหัวเมืองนั้น   นับพรรษาแต พ.ศ. 
๒๓๖๘ ถึง พ.ศ.  ๒๓๗๐ ได ๓ พรรษา อายุได ๔๒ ป เม่ือแรกบวชออกไปอยูตาม 
หัวเมอื งไดรบั บุตรคนที่ชื่อหนูพัด  ซ่ึงเกิดแกแมจันภรรยาหลวงรวมเดินทางไปดวย  เวลา 
นนั้ บุตรอายุราว ๖ ป 

เม่ือสุนทรภูกลับจากพิษณุโลก  มาอยูจําพรรษาท่ีราชบูรณะได  ๒ พรรษา  ใน 
พ.ศ.  ๒๓๗๒  เจาฟา กุณฑลทพิ ยวดี   พระอคั รมเหสีในพระบาทสมเด็จฯ พระพุทธเลิศ 
หลานภาลัย  ก็ทรงฝากพระโอรส ๒ พระองค  คือ  เจาฟากลางและเจาฟาปว   ซ่ึงเปน 
พระอนชุ าของเจา ฟาอาภรณ    ขอใหส ุนทรภูถวายพระอกั ษรแลว ไดทรงอุปการะสนุ ทรภเู ปน 
ลําดับมา  เวลานน้ั เจา ฟากลางพระชนมไ ด ๑๑ พรรษา  เจาฟาปวพระชนมได ๘ พรรษา 
แตสุนทรภูถวายพ ระอักษรไดไมนานนักเจาฟาท้ัง  ๒  พ ระองคก็เส ด็จจากวังกลาง   ไป 
ประทบั อยใู นพระบรมมหาราชวงั   สุนทรภจู งึ ไดห า งกันไปจากท่ีวงั น ี้ แตในระยะนั้นพระองค 
เจาลกั ขณานุคุณ  ซงึ่ เปนพระเจายาเธอในพระบาทสมเด็จฯ  พระนั่งเกลาเจาอยูหัว   ซึ่ง 
ประทับอยูท่วี งั ตะวันตก  ตรงขา มประตูสนุ ทรทศิ า  เปนวงั ติดตอกนั กบั วังกลาง  ไดท รงรจู กั  
กนั กับสุนทรภู   เหตทุ ี่ทรงรูจักนนั้ เหน็ จะเนอื่ งดวยเรอื่ งบทกลอน   หรือเรื่องบทดอกสรอย 
สักวา  จึงทรงนับถืออุปการะสนุ ทรภตู อ ไปอีก 

ถึง  พ.ศ.  ๒๓๗๓  ในระหวางพรรษา  สนุ ทรภูเ กิดความไมสบายใจ  เน่ืองดวย 
ความรําคาญพวกคนรายคนพาล  จึงคิดจะไปอยเู สียท่วี ดั อนื่   ไดแ ตงเพลงยาวถวายโอวาท 
ทูลลาเจาฟา กลางกับเจา ฟาปว ข้นึ ไวเปนอนุสรณเรอื่ งหนึง่   ครั้นออกพรรษาอนุโมทนากฐิน 
แลว ไดเดินทางขึ้นไปนมัสการพระเจดียภูเขาทองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา  แตงนิราศ 
ภเู ขาทองข้ึนไวอีกเรอื่ งหนงึ่  

เมื่อเดินทางกลับลงมาแลว  จึงไปอยูจําพรรษาท่ีวัดอรุณฯ (วัดแจง)  ใน พ.ศ. 
๒๓๗๔  ครัน้ ออกพรรษาในราวเดอื นยห่ี รือเดือนสาม  ไดเ ดินทางไปเมอื งเพชรบุรีอีกดวย 
เรอ่ื งที่รับอาสาพระองคเจา ลกั ขณานุคุณไป  การเดินทางคร้ังน้ันไดตระเตรียมเขาของเพื่อ 
จะตอบแทนผูที่เคยมีคุณแทบทว่ั ทุกคน  (คงจะรา่ํ รวยข้ึนในตอนน)้ี   และไดแ ตงนิราศเมือง 
เพชรฯ  ไวอีกเร่อื งหนึง่   เลาความหลงั ทีเ่ คยมาอยอู าศัยหลายคร้งั หลายหน 

เม่ือสุนทรภูเดินทางกลับมาแลว  คงเน่ืองดวยพระองคเจาลักขณานุคุณจะทรง

14 

ผนวชใน พ.ศ.  ๒๓๗๕ มาประทบั อยวู ดั โพธิจ์ งึ นมิ นตใ หส นุ ทรภูยา ยจากวัดอรุณฯ  มาอย ู
เปน พระพี่เลี้ยง  เพราะชอบพออธั ยาศยั กันมาก   เวลานน้ั กรมหมื่นนชุ ิตชโิ นรส  เปน อธบิ ดี 
สงฆในวดั   เมอ่ื พระองคเ จาลักขณานคุ ุณทรงลาผนวชแลว   สนุ ทรภกู ย็ งั จําพรรษาอยตู อ มา 
จนถึงตน  พ.ศ.  ๒๓๗๗ ในระยะน ้ี แมน ิ่มภรรยาคนทีอ่ ยูบางกรวยไดตายลง  สวนหน ู
ตาบจงึ ไดม าอยกู บั บิดาและไดรวมเดินทางไปแสวงหายาอายุวัฒนะท่ีวัดเจาฟาอากาศ  ใน 
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  แตปรากฏวาไมเปนผลสําเร็จจึงไดกลับลงมากรุงเทพฯ  ใน 
ระหวางนส้ี นุ ทรภไู ดร ับความอัตคดั ขัดสนอยู  เม่อื พระองคเจาลักขณานคุ ุณทราบ  จึงมีพระ 
ประสงคใ หส ุนทรภมู าอยใู กลวงั ที่พระองคป ระทบั   เพ่อื สะดวกแกธ ุรกิจและการทรงอุปการะ 
สนุ ทรภจู งึ ยายมาอยูท่ีวัดมหาธาตุในตน พ.ศ.  ๒๓๗๗  น้ัน แตเมื่อจําพรรษาอยูได  ๑ 
พรรษา  ครน้ั ตนป  พ.ศ.  ๒๓๗๘ พระองคเจา ลักขณานคุ ณุ ทรงประชวรสิ้นพระชนมเสีย 
ในตน  พ.ศ.  น ี้  จะขาดผูอ ุปการะหรอื มแี นวคดิ ใครที่จะสึกอยูกอน   สุนทรภูจึงไดลาสิกขา 
ในตน พ.ศ.  ๒๓๗๘ นน้ั  

รวมอายพุ รรษาทีส่ ุนทรภูบ วชในครัง้ นีไ้ ด  ๑๐ พรรษา  สึกเม่ืออายุยางเขา ๕๐ ป 
เมื่อออกมาดาํ รงชีวติ ในเพศฆราวาสแลว  การครองชพี กเ็ ปนไปอยา งลมุ ๆ  ดอนๆ และการ 
ครองคูก เ็ ปน ไปอยา งที่เรียกกันวา “ปลอยแก”  คือเท่ียวมีภรรยาเรื่อยไปตามโอกาส  แต 
ภรรยาที่อยูดวยกันเปนหลักฐานจนเกิดบุตรคนหน่ึง  ปรากฏวาช่ือ “มวง”  และตามท ่ี
กลาวกนั วาสนุ ทรภตู อ งตกยากถงึ กบั ลงเรอื เที่ยวคา ขายนั้น  คงเปนในระยะเวลาที่ไดอยูกับ 
แมม วงคนน ้ี  สวนบตุ รที่เกดิ ขึน้ นน้ั จะอยใู นราว พ.ศ.  ๒๓๓๐–๒๓๘๑ 

ตอ มาเมอ่ื สุนทรภูไดร บั ความลําบากในการครองฆราวาสย่งิ ขน้ึ   ประจวบกับหนูพัด 
อายุครบอุปสมบท  ในป  พ.ศ.  ๒๓๘๓  จึงเขากราบทูลปรารภเร่ืองที่เปนมาถวาย 
สมเด็จกรมพระปรมานุชติ ชโิ นรส   ณ วดั พระเชตพุ นฯ  ใหทรงทราบ  จึงไดรบั พระอุปการะ 
บวชใหทงั้ บิดาและบุตรใน พ.ศ.  ๒๓๘๓ น้ัน  แลว ทรงแนะนาํ ใหก ลบั ไปอยทู ีว่ ัดราชบรู ณะ 
อีก    แตสุนทรภูไปอยูไมทันไดจําพรรษาดวยเกรงพวกอันธพาลจะกอใหเดือดรอนดังแต 
กอ น  จึงทูลขอพระบารมีสมเด็จกรมพระปรมานุชิตฯ  ใหยายไปอยูท่ีวัดเทพธิดาในพรรษา 
แรกซึ่งบวชครั้งท่ ี ๒ นี้  เม่ืออยูจําพรรษาได ๒ พรรษา ใน พ.ศ.  ๒๓๓๔  วามีธุระ 
เดนิ ทางไปยงั จังหวัดสพุ รรณบรุ  ี  และไดแ ตง โคลงนิราศสุพรรณบุรีขึ้นไวอีกเรื่องหนึ่ง  เม่ือ 
กลบั มาอยทู ีเ่ ดิมแลว   ในระยะนไี้ ดรับความอัตคดั และคบั แคบใจจงึ คดิ ใครจะสึกอกี   เผอญิ ได 
รูจักกันกับพระเจาลูกยาเธอ  กรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ  ซึ่งเปนพระพี่นางของพระองคเจา 
ลักขณานคุ ุณ  ไดทรงรบั อุปการะตามอธั ยาศยั ของสุนทรภซู ึ่งคิดใครจะสึก  เพราะฉะนั้นใน 
พรรษา พ.ศ.  ๒๓๘๕ สุนทรภูจึงตกลงใจจะสึกในเมื่อออกพรรษาแลว  และไดแตง 
หนังสอื เร่อื งรําพันพิลาปเปน ทาํ นองลาสิกขาไวอ กี เรื่องหน่ึง  คร้ันเม่ือออกพรรษาแลวจึงได 
ลาจากเพศสมณะ ใน พ.ศ.  ๒๓๓๕  นัน้  

รวมเวลาท่ีสุนทรภูเมื่อสึกคร้ังแรกอยูในเพศฆราวาสได ๕ ป  และเม่ือบวชครั้งที่

15 

๒  อยจู ําพรรษาท่ีวดั เทพธดิ าได ๓ พรรษา  ใน พ.ศ.  ๒๓๘๕ น้ัน อาย ุ ๕๗ ป เมอ่ื สกึ  
แลว จงึ ไปถวายตัวกบั สมเดจ็ เจา ฟากรมขุนอิศเรศรงั สรรค  ณ พระราชวังเดิม  ชะรอยกรม 
หม่ืนอัปสรสุดาเทพจะทรงสนับสนุนอยูบาง  และสมเด็จเจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรค  ก ็
ทรงรจู ักสนุ ทรภมู าแตครง้ั บวชอยูว ัดอรณุ ฯ  ดว ยก็ได 

เม่ือสุ นทรภู สึกคร้ั งน้ีได กลับ อยูรว มกันกั บภรร ยาที่ชื่ อมว ง  แล ะต อน เดินท างไ ป 
นมัสการพระปฐมเจดีย  จึงพาบุตรคนท่ีเกดิ กับแมม ว งนนั้ ไปดวย  ไดแ ตงนิราศเลา เร่ืองการ 
เดินทางในครั้งน้ ี  เรียกช่อื วา นริ าศพระประทม  อันเปน นริ าศเรื่องสุดทายในชีวิตของสุนทร 
ภซู ึ่งมีฉบบั ปรากฏอยใู นบดั น้ี 

สุนทรภเู มอื่ เดินทางกลบั จากนมัสการพระปฐมเจดยี แ ลว กไ็ ดเขาอยทู ี่พระราชวงั เดิม 
ตลอดมา จนถึง พ.ศ.  ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จฯ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว   ประชวร 
สวรรคต  บรรดาขาราชการจึงอญั เชิญสมเด็จเจาฟา มงกฎุ   ซึง่ กําลังทรงผนวชอยู  ณ วัด 
บวรนิเวศน ใหทรงลาผนวชเสด็จขึ้นครองราชย    เปนพระบาทสมเด็จฯ  พระจอมเกลา 
เจาอยูหัว (รชั กาลท่ ี ๔)  แลวจึงทรงสถาปนาสมเด็จเจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรค พระ 
อนุชาธริ าช  เปน พระบาทสมเด็จฯ  พระปนเกลาเจาอยูหัว  ประทับอยู  ณ  พระบวรราช 
วงั  (วงั หนา)  สุนทรภจู ึงไดโดยเสด็จมาอยางขาราชบริพารอื่นๆ  และไดรับพระราชทาน 
บรรดาศักดิ์เปนท่ีพระสุนทรโวหาร  ตําแหนง เจากรมพระอาลกั ษณ  ฝายพระบวรราชวงั   ใน 
พ.ศ.  ๒๓๙๔  เม่ืออายุ ๖๖ ป  ไดรบั ราชการสนองพระมหากรณุ าธิคุณเปนลําดับมาจน 
พ.ศ.  ๒๓๙๘  ก็ถึงมรณกรรม  ณ  บา นในบรเิ วณพระบวรราชวังนน้ั   สิริชนมายุ  ๗๐ 
ป 

(จบความจาก ๑๐๐ ปข องสนุ ทรภ)ู  

เมื่อจบขอ ความของอาจารยฉ ันท  ขําวิไล  ทานจันทรทรงพระวิจารณตอไป 
อกี วา  

“ทีข่ าพเจา นําตอน ‘สงั เขปประวตั ’ิ   มาลงเต็ม ก็เพ่ือสะดวกในการวิจารณตอไปจะ 

ไดไมตองตดั ตอนจากตวั เรอ่ื งมาลงมากนกั  เรือ่ งของคุณฉันทผิดกับของขาพเจาท่ีคุณฉันท 
นําความในกลอนมาประกอบประวัติสุนทรภู สวนขาพเจาใชประวัติเพื่อประกอบคํากลอน 

วธิ ไี หนจะผดิ เปน ‘เร่ืองเล็ก’  ใครที่คนความากแลเขียนมาก ยอมตองผิดมากเปนธรรมดา 
ใครท่ไี มกลา  หรือมัวแตเกบ็ ขฟ้ี นเขามาพน  หรือไมคนแตค วาโดยอางวา  ‘สมเดจ็ ฯ ประทาน 
คาํ อธิบาย’  ไวอ ยางน้นั อยา งนี้ เปนวิสัยทาสปญญาแทๆ ไมทําใหความรูของเรากาวหนา 

เลย ฉะนนั้ คุณฉันทจะผิดถูกอยางไร ขาพเจาก็เห็นวา ๑๐๐ ปของสุนทรภูเปนหนังสือท่ี 

สมควรแกการศึกษาอยางยง่ิ ”
“อยางไรก็ดี  ขาพเจาขอรับสารภาพตรงๆ อยางหนาเฉยตาเฉยวา ขาพเจาก ็

ทาสปญ ญาพอดู เพราะเกบ็ ขีฟ้ น เขามาเปนสว นมาก แตใ นบางแหงท่ีเปรอะเปอ นเลือนเลอะ

16 

กต็ องใชก าบมะพราวถกู ันเปน การใหญ ใหข าวเปนดาํ ไปเลยทเี ดียว”
“ทอี่ ธิบายน้ ี หมายความวา สนุ ทรภ ู แตง นทิ านก็ดี แตง นิราศหรือคาํ กลอนใดๆ ก็ดี 

สนุ ทรภแู ตง ประวัติของตนเองหรือ ถาเชนนั้นทําไมไมบอกวาเกิดท่ีไหน แกที่ไหน เจ็บและ 

ตายท่ีไหน จะไดรูแลวรูรอดไป หรือสุนทรภูแตงกลอนเพ่ือ ‘กลอมอารมณ’  ผูอานเปน 
สาํ คญั ?” 

สุนทรภูครูฉัน 
เกดิ วนั จันทรป มา  

สุนทรภู  เกดิ วันจันทร  ขน้ึ  ๑ ค่ํา เดือน ๘ ปม ะเมยี  จลุ ศกั ราช ๑๑๔๘ เวลา ๒ 
โมงเชา  (ตรงกับวันท ่ี ๒๖ มิถุนายน พ.ศ.  ๒๓๒๙ ในรัชกาลที่ ๑)  มีผูผูกดวงชะตา 
ของสุนทรภูไวด งั น้ี 

ดวงนี้มีคํากํากบั วา  “สนุ ทรภู อาลกั ษณข ้เี มา” 

สุนทรภจู ะเกดิ ท่ีไหน หรือบิดามารดาชื่ออะไร ไมปรากฏเทาท่ีเรารูในปจจุบันจากคํา 

ของสุนทรภูเอง (นิราศเมืองแกลง)  ไดเดินทางไปหาบิดาเมื่อ พ.ศ.  ๒๓๕๐ ขณะนั้น 

สุนทรภูอายเุ กือบเต็ม ๒๑ ปบริบูรณ และบิดาไดบวชอยู ๒๐ พรรษา เม่ือกลับจากเมือง 

แกลงแลว ไดไปเปนมหาดเล็กและตามเสดจ็ พระองคเ จาปฐมวงศฯ ซ่งึ ทรงพระผนวชอยูท่ีวัด 

ระฆงั ไปนมสั การพระพทุ ธบาทใน พ.ศ.  เดียวกัน (นิราศพระบาท) 

ไมร วู าผมไปจํากาพยกลอนสนั้ ๆ เกี่ยวกับประวัตสิ ุนทรภมู าแตห นไหน  วา 

สนุ ทรภคู รูฉัน  เกดิ วนั จันทรปมา  
ยส่ี ิบหกมถิ ุนา 
เมื่อเวลา ๘ น. 

กาพยกลอนที่เปนลํานําลําสั้นๆ  บทน้ีมิไดมีความไพเราะเพราะพริ้งอะไร

17 

นักหนา  แตเปนถอยคําคลองจองท่ีมีเน้ือความสรุปเรื่องกําเนิดของสุนทรภูไดกะทัดรัด 
ที่สุด เหมาะสําหรับใครกไ็ ดท่สี นใจเกย่ี วกับประวตั ิสนุ ทรภจู ะไดจดจาํ เอาไว 

ผมคัดเอามาลงไวเปนบันทกึ อนั หนึ่งเทานั้น ไมไดสลักสําคัญอะไร ใครจะจําก็ไดไม 
อยากจะจดจาํ กไ็ มเ สียหาย 

บดิ า-มารดาสุนทรภ ู
อยทู ่ีไหนกันแน? 

นายเสวตร  เปยมพงศสานต  อดีตรองนายกรัฐมนตรีและอดีตผูแทนราษฎร 
จงั หวดั ระยอง  เมื่อครั้งเปน กรรมการจัดสรา งอนสุ าวรียส ุนทรภ ู ในคําปะหนาหนังสือ 
นริ าศเมืองแกลง  ทพ่ี ิมพแ จกเมอื่ วางศลิ าฤกษอ นุสาวรียสุนทรภ ู ไดเขียนเกี่ยวกับบิดา 
สุนทรภูวา 

“ขาพเจาไดสอบถามผูมีอาย ุ ๘๐ ปคนหนึ่ง  ของบานกรํ่า  ซึ่งเชื่อวาตนเองมี 

ความเก่ยี วดองกบั สุนทรภู  ไดความวา  ผูเ ฒา ผูแกไดเลาใหฟงวา  บิดาของสุนทรภู 
อพยพมาจากอยธุ ยาสมยั กรุงแตก  โดยใชช างเปนพาหนะ  ของสําคัญท่เี อามาดว ย 
มีพระพุทธรูปหลายองคซึ่งยังเก็บอยูท่ีวัดเขา  ตําบลชากกะโดนทุกวันน้ี  ขาพเจาได 
ถายรูปพระพุทธรูปเหลาน้ันมาใหคุณหลวงบริบาลบุรีภัณฑ  นักโบราณคดีแหงกรม 
ศิลปากรมาพิจารณาดู  ก็เห็นวาพระพุทธรูปเหลานั้น เปนพระพุทธรูปสมัยอยุธยาจริง 
นอกจากนั้นผูเลายังเลาวา  บานของบิดาสุนทรภูอยูริมทุงนาชายเนินตําบลบานกร่ํา 

กับตาํ บลชากกะโดนตอกัน  และสุนทรภูเ กดิ  ณ ท่นี ัน้ ” 

กรณีนีท้ านจันทรทรงมีขอคิดเห็นวา 

“ในหนงั สอื  ๑๐๐ ปของสุนทรภ ู ของคุณฉันท ก็มีเร่ืองอพยพทํานองเดียวกัน 

ผดิ แตผ อู พยพมิใชบ ดิ าของสนุ ทรภ ู หากเปน ปูและบิดาเกิดแลวแตยังเด็กมาก  เรื่อง 
ทั้งหมดน้ีมีขอนาฉงนอยูเพียงนิดเดียววา  ถาไดอพยพจากอยุธยาเม่ือกรุงแตกจริง 
สุนทรภูก็นาจะกลาวถึงท่ีตางๆ  ในอยุธยาที่ผูใหญเลาใหฟงวา  บานเดิมอยูท่ีไหน 
แตใ นนิราศพระบาท  นิราศภูเขาทอง  และนิราศวัดเจาฟา  ก็ไมกลาวถึงเลย ท้ังๆ ท ่ี

เมอื่ ไปพระบาทน้นั เปน เวลาเพียง  ๔๐ ปหลังเสียกรงุ ใน พ.ศ.  ๒๓๑๐”
“แตส มมตุ ิวาจะเชอื่ วา  ไดอพยพกันมาจากกรงุ เกา จริง  ก็นาเชื่อความตามคุณ 

ฉนั ทม ากกวาคณุ เสวตร  เพราะถาจะเชื่อวาบิดาของสุนทรภูเปนผูอพยพก็จะตองเช่ือวา 
ขณะนั้นบดิ าของสนุ ทรภูโตพอท่ีจะเปนพอเรือนแลว  แตไมมีลูกจนเกือบ ๒๐ ปตอมา 
และเมือ่ มกี ห็ นเี ขา วัดเลย  ฟงดูพิกลอยหู นอ ย  ขาพเจาจึงไดต ัง้ ประเดน็ ไวว า   เมอ่ื บิดา 

ของสนุ ทรภูบ วชน้นั   บวชเมอ่ื อายุครบบวชหรอื เมื่ออายุ ๓๐-๔๐–๕๐?”
“นอกจากน้ัน  ในเรื่องการกินของพวกญาติกาในขณะท่ีอยูบานกรํ่าวา  ‘ได

18 

กระตา ยตะกวดกวางมายางแกง  ทั้งแยบ้ึงอึ่งอางเน้ือคางคั่ว  เขาทําครัวครั้นไปปะ 

ขยะแขยง’  กช็ วนใหค ดิ วา  ชะรอยทางฝา ยบิดาจะเปน  ‘ลว นวงศวานหวานเครือเปน 
เชื้อชอง  ไมเหมือนนองนึกนานํ้าตากระเด็น’  แตเรื่องน้ีขอใหเปนธุระของทานผูอานจะ 

พิจารณาตอไป  เฉพาะขาพเจาเห็นวาบิดาของสุนทรภูมีความสําคัญในวรรณคดีของ 

สนุ ทรภูนอ ยมาก  ไมสมควรเสยี เวลาพิจารณา” 

จากนน้ั ทานจันทรก ท็ รงอธิบายเรือ่ งเกีย่ วกับมารดาของสนุ ทรภูซ่งึ มีความวา 

“มารดาสุนทรภูเปนชาววังหลัง  มีคําเลากันวา  เดิมเปนชาวจังหวัด 

ฉะเชิงเทรา  แตขอน้ีไมสําคัญ  เพราะถึงแมจะเปนชาวฉะเชิงเทราจริง  ก็ 

คงจะไดเขาไปอยใู นขอบรัว้ ขอบวงั แตยังเล็ก”

“สวนท่ีวาเปนชาวระยองนั้น  ขาพเจาเห็นวาฟงไมข้ึน  ท่ีคุณเสวตรจะวา 

สนุ ทรภูคงจะอยทู ่บี านกร่ํานนี้ านพอสมควร  มิฉะน้ันก็คงจําบิดาตลอดจนญาติพ่ีนอง 

ของทานไมได  เพราะจากกันไปนาน การที่สนุ ทรภูรจู ักญาติพี่นองดี  และไมไดแสดง 

วาเปน คนแปลกหนาของบิดาหรอื ญาตพิ น่ี อง  ยอ มชี้ใหเ ห็นวา   สนุ ทรภูม ไิ ดจากบานเกิด 

ไปในวัยยอม  หรือถาจะจากไปในวัยเด็กมาก  ก็คงจะมาเยี่ยมทานบิดากอนหนาไป 

เมืองแกลงครั้งนี้โดยไมตองสงสัย”  ก็อาจมีผูอื่นทักวา  “แลวก็ถาสุนทรภูจําญาติได 

เหตไุ ฉนจึงจาํ ทางไมได?”

“ขา พเจา ไดต้งั ประเด็นไวแ ตแรกวา  เม่อื บดิ าบวชนั้น  สุนทรภูเกิดแลวหรือยัง 

ทีม่ ารดาจะทองแกห รือลกู ออ นแลวเดนิ ทางกันดารสกู รุงตรงเขา ไปในวังเปนแมนมลูกเธอใน 

กรมพระราชวังเหลานั้นเปนไปไมได  อยางย่ิงถาเปนชาวระยองที่มีอุปนิสัย  ‘ลวนออ 

อือเอ็งกูกะหนูกะหนี  ท่ีคะขาคําหวานนานนานม ี เปนวาข้ีครานฟงแตซังตาย’ (ถา 

สุนทรภเู ปน ชาวระยองไซร  หรือจะใชคําอยางน้)ี ”

“ถามารดาเปนชาววังหลังและบิดาเปนชาวบานกร่ํา  ปญหาก็เกิดขึ้นวา  ทําไม 

ท้ังสองจงึ ติดตอกันได  คาํ ตอบนี้พอมีเคา ในเร่อื งของคุณฉันททีว่ า เมื่อขุนหลวงตากอพยพ 

ไปทางระยองหลังกรงุ แตก ปูของสุนทรภูก็อาจเขาสมทบดวยแลว  บิดาสุนทรภูก็อาจมา 

เติบโตในกรุง  อยูในทัพเจาพระยาสุริยอภัย  เขาไปเวาสาวชาววังแลวเลยหนีไปบวช 

บานนอก  พรรษาแรกของบิดาสุนทรภูดูจะเปน พ.ศ.  ๒๓๒๙ ท่ีสุนทรภูเกิดน่ันเอง 

สุนทรภเู กดิ  ๑๕ วนั กอ นเขา พรรษา ฉะนัน้ ขาพเจาไมสามารถตอบประเด็นที่ต้ังไวเองไดวา 

เมอ่ื บดิ าสนุ ทรภูบวชนนั้   สนุ ทรภเู กิดแลวหรือยัง ทั้งขึ้นทั้งลองดูหวุดหวิดหลังลายเต็ม 

ประดา”

“ในไมช ามารดาของสนุ ทรภูกม็ ีสามใี หม มลี ูกสาว ๒ คน ชื่อฉมิ  และน่ิม” 
ทา นจนั ทรทรงบรรยายตอ ไปอีกดังขอ ความวา  

สุนทรภูจะเกิดในวังหลังหรือไมก็ตาม  แตไดเขาไปอยูในวังน้ันตั้งแตเล็ก  เม่ือ 
มารดาไปเปน แมน มลกู เธอในกรมพระราชวังหลัง (ตามรับสั่งสมเด็จกรมพระยาดํารงฯ วา

19 

พระองคเจา หญิงจงกล แตไมป รากฏวา ประสูตปิ ไ หน) 
สุนทรภูเติบโตในวังหลัง  และไดเรียนหนังสือท่ีวัดชีปะขาว มีเรื่องเลากันมาวา 

ขณะทส่ี นุ ทรภูย งั เปน เด็กอยทู วี่ ดั นน้ั   ไดต ามอาจารยเ ดินทางไปทงุ  เกิดลมบาหม ู สุนทร 
ภูถามทานอาจารยวา น่ันอะไร?  ทานอาจารยตอบวา ลมบาหมู!  สุนทรภูกลาวตอไปวา 

“แตลมยงั เปน บา สุกรพัด ไฉนสตั วจ ะไมห ลงในสงสาร”  ทา นอาจารยไดยนิ ดงั น้ันกว็ า  “เอ็งน่ ี
ตอ ไปจะเปน จนิ ตกวีเอกเจียวหรอื ” 

เรื่องน้ีเปนนิทาน ทานจะเช่ือหรือไมก็ตาม แตนํานิทานมาลงไวบางไมเสียหาย 
นิทานชนิดนี้ที่วา เปนคาํ แรกของกวีแสดงวาเปนเจาบทเจากลอนมาแตยังเยาว  ยังมีเลา 
กันอกี  เชนเรอื่ งศรีปราชญตอพระราชนิพนธ  หรอื ครัง้ หน่งึ ในสมยั กรุงธนบุร ี มีจีนคนหนึ่ง 
นาํ ฉากไปถวายพระพทุ ธยอดฟาฯ เม่ือยังเปนเจาคุณ หมอมแวนไมทราบชื่อจีนคนนั้น จะ 
เขา ไปเรยี นทา นวา เปน ใครก็ไมได จะถามกเ็ กรงใจจึงพูดออมคอมเพื่อจะทราบชื่อ พระพุทธ 
เลิศหลา ฯ ยังทรงพระเยาววิง่ เลนอยูทนี่ อกชานหนาหอนั่ง  ทรงไดยินหมอมแวนพูดออม 

คอ มก็ตรสั  “พี่แวน พูดมากถลากไถล ไปเรยี นเจา คณุ เถดิ วาจีนกุนเขาเอามาให” 

เรื่องน้มี ีเลา อยใู นภาคผนวกสามกรงุ  
ตามทเ่ี ลา กนั มาวา   สุนทรภเู ปนนักเพลงตัง้ แตหนุม  และเมอ่ื ไปเมอื งแกลงไดมีลูก 
ศิษยไ ปดวย ๒ คน ชือ่  นอ ย กับพุม เขาใจวาเปนลกู ศษิ ยในเชิงเพลง 

งานกาพยกลอน 
ในชว งแรกๆ 

ทา นจันทรทรงมีความคิดเหน็ กรณีผลงานกาพยกลอนในชวงแรกๆ ของสุนทรภู 
มีดังตอไปน ี้

ตามท่ีเลากันมา เรื่องแรกท่ีสุนทรภูแตงคือนิทานคํากลอนเร่ืองโคบุตร  (๘ เลม 
สมดุ ไทย)  แตง กอนไปเมอื งแกลง นอกจากน้ันยังมนี ทิ านคาํ กลอนเรื่องลักษณวงศอีกเรื่อง 
หน่ึง ทีแ่ ตงในวยั หนมุ  (๙ เลม สมดุ ไทย)  นบั เปน เร่อื งยาวลําดับทสี่ อง 

โคบุตร  ขน้ึ ตนดว ยกลอนขาดแบบเพลงยาวดงั ตอไปนี ้

แตป างหลังครั้งวา งพระศาสนา 
เปนปฐมสมมตนิทานมา 
ดว ยปญญายงั ประวิงทงั้ หญิงชาย 
ฉันชื่อภูร เู รือ่ งประจักษแ จง  
จึ่งสําแดงคําคิดประดิษฐถวาย 
ตามสตริ ิเริม่ เร่ืองนยิ าย

20 

ใหเพรศิ พรายพรง้ิ เพราะเสนาะกลอนฯ 

ลกั ษณวงศ  กข็ ึน้ ตน อยา งเดยี วกนั เกอื บจะคําตอ คํา ซง่ึ จะหมายความวาสุนทรภู 
เอาคําเกามาใช หรือผูอ่ืนใสเขามาทีหลัง ไมใชประเด็นสําคัญ  เพราะทั้งสองเร่ืองเปน 
สํานวนสนุ ทรภูแตง  

นอกจากน้ันยังมเี รอ่ื งพระสมุทร  วา 

ขาพเจาชือ่ ภผู ูประดิษฐ 
ไมแ จง จิตถอยคาํ ในอกั ษร 
แมผ ใู ดไดส ดบั คําสุนทร 
ชว ยเยื้อนกลอนแถลงขา วในราวความฯ 

แลเรื่องนครกายวา  

“นายภูอยนู าวาเท่ยี วคา ขาย” 

สองเรอ่ื งนี้ไมใชข องสุนทรภู แตก ็คงเปน เรื่องชวนใหเกดิ  “ตํานาน”  เก่ียวกับสุนทร 
ภูต อ งตกทุกขไ ดย ากถงึ กับลอยเรอื แตงกลอนขายเปน แน 

ตามศักราชในรําพนั พลิ าป  สุนทรภูไมไดไปตกทุกขไดยากท่ีไหนเลย  ฉะน้ันเรา 
ตดั สองเรอ่ื งนอี้ อกไปได 

ท่สี นุ ทรภอู อกชือ่ ตวั เองยงั มอี ยูในสภุ าษติ สอนหญงิ   แลรําพนั พลิ าป  อกี สองแหง 
ในสุภาษติ สอนหญิง  วา  

ฉันชอ่ื ภผู ปู ระดษิ ฐคิดสนอง 
ขอประคองคณุ ใสไ วเ หนอื ผมฯ 

เรื่องนี้ท่ีออกช่ือตัวเองวา ภู เขาใจวาแตงในวัยหนุมกอนเขารับราชการเปนขุน 

สนุ ทรโวหาร
สภุ าษติ เรือ่ งน้เี ดมิ เรยี กวาสุภาษิตไทย เปนเร่ืองที่กองอยูในหูคนไทยมากกวาเรื่อง 

อ่ืนๆ ของสนุ ทรภ ู ผูพิมพห นังสอื  “เลม สลึง”  ผูหนึง่ เลาวา เรอื่ งอื่นๆ ทีพ่ ิมพทีละพนั  เมือ่  

เทียบกับสภุ าษติ สอนหญิง สุภาษิตสอนหญิงตอ งพมิ พท ลี ะหมนื่  แลวขายหมดทันกัน 
ตามทเ่ี ขา ใจกัน สนุ ทรภแู ตง นทิ านคาํ กลอนเร่อื งโคบุตรกอ นไปเมืองแกลง และเทา ท ี่

เลากันมาวา แตงเร่ืองลักษณวงศหลังนิราศพระบาท  นอกจากนั้นยังมีคําเลากันมาวา 
สนุ ทรภูแ ตง เรอ่ื งจันทโครบถงึ ตอนเขา ถํ้ามจุ ลนิ ท  แตเ ร่ืองหลงั นสี้ มเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงฯ

21 

ไมท รงรบั วาเปน ของสนุ ทรภู  ในประวตั สิ ุนทรภูท รงพระนพิ นธไ วว า 
สวนเร่ืองจันทโครบน้นั  ไดพ เิ คราะหด  ู ไมพบกลอนตอนใดที่จะเชื่อไดวาเปนสํานวน 

กลอนสนุ ทรภสู ักแหง เดยี ว คาํ ทกี่ ลาวกนั กก็ ลา วแตวา  สนุ ทรภูแ ตง กับผูอ่ืนอีกหลายคน จึง 
เหน็ วานา จะเปนสํานวนผูอ่นื แตงตามอยางสุนทรภู หากจะวาเกี่ยวของกับสุนทรภู ก็เพียง 
แตงแลวบางทจี ะเอาไปใหส ุนทรภตู รวจแกไข จึงข้ึนชอ่ื สุนทรภเู กย่ี วขอ ง แตทแี่ ทห าไดแตงไม 

อยา งไรกด็ ี  กลอนตอนตนเร่ืองจันทโครบดีนัก  สุนทรภูจะไดแตงหรือไมก็ตาม 
แตเห็นสมควรนํามาลงไวใหอานกันทั่ว ฉบับที่พิมพน้ีใชฉบับพิมพสองฉบับสอบกับฉบับ 
เขียนสองฉบบั  อนึ่งฉบับเขียนทัง้ สองขึ้นตนไมเหมอื นฉบับพิมพ  ฉบบั หนึง่ วา  

ประสานหัถมัศการข้ึนเหนอื เศียร 
ตางประทีปธปู ทองประทมุ เทียร 
จํานงเนียรนบศิลพระชิณวงษ 
ขา พเจาผแู ตง แมลงภ ู
จะขอกเู ร่อื งความตามประสงค 
แมผดิ เพีย้ นเปลีย่ นอถั ไมห ยัดยง 
ทา นผจู งแจง ชว ยอาํ นวยพร 

อกี ฉบับหนึ่งวา  

ขา ประนมสิบนิว้ ข้ึนเหนือเศียน 
ตางประทปี ประทุมเทียร 
ขา ต้งั เพียรพศิ ถานถวายไป 
ท้ังคุณแกว สามประการสะทานภพ 
ไดสอ งจบจกั ระวารสวา งไสว 
ทง้ั คณุ บดิ ามารดาเมตาใจ 
บํารงุ ใหรอดตายไมวายปราน 
เชญิ ประชุมคุมไภยในไตรโลก 
อยามีโศกใหเ ปน ศขุ สนกุ สนาน 
ทัง้ คณุ ครผู ูฉลาดเฉลมิ การ 
ชว ยแตม สารใหเสนาะสํานวรคํา 
อันช่อื ฉนั ผแู ตง มะแลงภ ู
พึง่ เรียนรเู รยี บความใหง ามขํา 
(กลอนขาด) 
ท้ังส่ิงขางเขนิ ขัดไมชัตเจน

22 

ผสู ะดบั จับอานเอนตูบา ง 
ชังเจบ็ หลังกวา จะแลว นัน่ เหลือเถร 
บางคนจับอกั ษรมกั นอนเอน 
ใหล ูกเลนหลานเลนไมเ กรงใจ 
สดบั จบั ถือสีมอื หนกั  
คนอปั ระลักมาขอยมื ไมนา ให 
ถา คนดแี ลวไมว าใหเ จบใจ 

ฉนั รกั ษ (ให)   แตท ่รี ปู ทา นงาม 

พอจะเห็นไดด อกกระมังวาฉบับเขียนแตกตางกนั ไดถึงเพียงไร 

สองเรื่องแรกในชีวิตบวชของสุนทรภู  คือ  นิราศภูเขาทอง  และเพลงยาว 

ถวายโอวาท

เรือ่ งไหนจะแตง กอนกันเปน ปญหาสําคัญที่สุดในอันที่จะเขาใจสุนทรภู  คุณฉันท 

วา   เพลงยาวฯ  แตงกอน  โดยเหตดุ ังตอ ไปนี้ 

สุนทรภูบวชใน พ.ศ.  ๒๓๖๗ แลวไปตระเวนหัวเมอื งเสีย ๓ ป  จึงกลับมาอย ู

ท่วี ดั ราชบรู ณะอีก  ๓ ป  (สามฤดอู ยูดีไมมีภยั )  กอนขน้ึ ไปนมสั การภเู ขาทองท่ีกรุงศรี 

อยุธยา  (๒๓๗๒)  ในระหวาง ๓ ปท่ีอยูวัดราชบูรณะ  เจาฟากุณฑลทิพยวดีได 

“ประทาน”  เจาฟากลาง  (สมเด็จเจาฟากรมพระยาบําราบปรปกษ)  และเจาฟาปวพระ 

อนุชาใหมาเรียนหนังสือกับสุนทรภู  (“ปฉลูเอกศกแรมหกคํ่า”  ตรงกับ พ.ศ. 

๒๓๗๒)  เพลงยาวฯ  แตงในระหวางพรรษาและเม่ือ  “เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระ 

พระวษา”  ก็ออกเดินทางไป  แตท้ังๆ ท่ีสุนทรภูไดต้ังใจไววา  “จะนิราศแรมไปในไพร 

พฤกษา ตอถึงพระวษาอ่ืนจักคืนมา”  สุนทรภูกลับเปล่ียนใจวกลงมากรุงเทพฯ  แลว 

กลับไปอยูวัดอรุณฯ  (ประทบั ทาหนา อรณุ อารามหลวง) 

เชนนี้ ขาพเจาไมรับประทาน  ขาพเจาวานิราศแตงกอนเพลงยาวฯ  เมื่อ 

สนุ ทรภกู ลบั มาจากอยุธยาแลว  ไมไดไปอยูที่วัดอรุณฯ  สุนทรภูกลับมาอยูท่ีวัดเลียบ 

อยางเดิม เร่ืองน้ีจะตองอธิบายยาวหนอย  ฉะน้ันจะขอลงทั้งสองบทเสียกอน  ทาน 

ผูอ า นควรอา นสองบทติดตอกนั  ลองพิจารณาวา บทไหนแตง กอ นกัน 

อยางไรก็ตาม  สุนทรภูบวชแลวไปตระเวนหัวเมืองสามป  (อาจไปจําพรรษา 

บานนอกส่ีพรรษาในหกปแรกท่ีบวช  คือ  ระหวาง พ.ศ.  ๒๓๖๗–๒๓๗๓)  ใน 

กา ร  “เ รไปป ล ะ รอ ย เ รือ น เ ดื อ น ล ะ ร อ ย บา น ”  ได พ า ลูกไปด ว ย ค น ห นึ่ง ค ง จ ะ ยัง เ ล็กมา ก 

เพราะไปถกู ผีปอบมันลอบใชแ ลขโมยลัก 

สนุ ทรภูจะไดไ ปจาํ พรรษาที่ไหนในปอะไรไมทราบแน พรรษาแรกนาจะเปนที่จังหวัด 

เพชรบรุ แี ตไดไ ปอยทู สี่ ุพรรณบุรีหนง่ึ พรรษา

23 

ครนั้ ไปดา นกาญจนบรุ ีท่ีอยูกระเหรีย่ ง 
ฟงแตเ สยี งเสอื สหี ชนหี นาว 
นอนน้าํ คา งพรางพนมพรอยพรมพราว 
เพราะเชื่อลาวลวงวา แรแ ปรเปนทอง 
ทั้งฝา ยลกู ถูกปอบมนั ลอบใช 
หากแกไ ดใ หไ ปเขากนิ เจา ของ 
เขาวษามาอยทู ่ีสองพีน่ อง 
ยามขดั ของขาดมุงร้ินยงุ ชุมฯ 

แรแปรธาตุเอย  ลายแทงเอย  ยาอายุวัฒนะเอย  ชีวิตของ  “พระภู”  ก ็
นาจะโลดโผนดงั พรรณนาไวในราํ พันพิลาป 

พระภิกษุสนุ ทรภู 
บวชวดั ไหน?  เมื่อไร? 

ปญ หาเกย่ี วกับสุนทรภูบวชเปน ภกิ ษุ  ทานจันทรทรงพระวินิจฉยั ไวอ ยางแยบ 
คาย  จึงขอคดั มาบันทกึ ไวดงั ตอ ไปน ้ี

สุนทรภูออกบวชใน พ.ศ.  ๒๓๖๗  ตรงกับปสวรรคต ไมปรากฏวาบวชที่วัด 
ไหน  แตม าอยวู ัดราชบรู ณะเมอื่ ปลายป  พ.ศ.  ๒๓๗๐ คณุ ฉันทส นั นษิ ฐานวา   บวชท ่ี
วัดราชบรู ณะ  ขาพเจาสงสัยขอน ้ี ถาบวชท่ีวัดน้ันจริง  สมภารก็คงจะเปนอุปชฌาย 
หรอื คูส วด แตส นุ ทรภูแตงนิราศภูเขาทองวา  “จะยกหยิบธิบดีเปนท่ีตั้ง  ก็ใชถังแทนสัด 
เห็นขัดขวาง”  ดูจะไมใชวาจาท่ีเหมาะท่ีจะกลาวถึงครูบาอาจารย  สุนทรภูอาจบวช 
ตางจังหวัด  ขาพเจาพยายามหาเงื่อนท่ีจะใหเปนเมืองแกลง  เพื่อเปนการชวยเหลือ 
กรรมการจัดสรางอนสุ าวรยี ส ุนทรภมู ใิ หต กคา งอยใู นศตวรรษเกา   แตกไ็ มเห็นมอี ะไรจริงๆ 
แมแตทบ่ี ดิ าจะมชี ีวติ อยหู รอื ไม  ๑๗ ปหลังจากทีส่ นุ ทรภไู ดออกไปหาเมื่อแตงนิราศเมืองแก 
ลง  กไ็ มม รี องรอย  ขา พเจานึกวาถา สุนทรภูออกไปบวชหวั เมอื ง  คงจะเปนเมอื งเพชร 
ฯ มากกวา  เพราะไดไปมาติดตอแตแรกกอนเขารับราชการแลว  (ความขอนี้มีอยูใน 
นิราศเมืองเพชร)  แตก็ไมมีหลักฐานอะไรยืนยันหรือคัดคาน  จะพูดมากไปก็เปนการ 
สนั นษิ ฐาน  ฉะนนั้ ขาพเจา ขอตดั สินเปน กลางวา สุนทรภูบวชทีท่ อ งสนามหลวง  มีพระ 
โมคคัลลานสารบี ตุ รเปน คูส วด  มีพระสมั มาสัมพทุ ธเจาเปน อปุ ช ฌาย 

ทา นผูอานไมตอ งพยายามหาหลักฐานมาคัดคานขอ น ้ี เพราะถาจะคนกจ็ ะเห็นวา 
ไดถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย  เม่ือวันจันทร

24 

เดือน  ๖  ข้นึ   ๑๓ ค่ํา ประกา  พ.ศ.  ๒๓๖๘  ซ่ึงเลยปที่สุนทรภูบอกวาออก 
บวช  แตสุนทรภูแตงรําพันพิลาป  ๑๘ ปภายหลัง  อาจลืมวาถวายพระเพลิงเม่ือ 
ขามปแลวก็เปนได  ประสาอะไรแตขาพเจาเอง  ถาจะใหบอกวาพระบาทสมเด็จ 
พระพุทธเจา หลวงสวรรคตปอะไร  ขาพเจาก็บอกไดโดยไมตองเปดหนังสือวา  สวรรคต 
ในปจอ  แตจ ะไดถวายเพลิงในปน ้นั   หรือในพรุงป  ขาพเจาไมส ามารถบอกได  ท้ังน ้ี
หมาย คว ามวาคว ามจําของคน เ ราอาจจําบาง อยาง ไดแมน ยํากวาบาง อยาง 
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา ฯ สวรรคตเม่ือเขาพรรษาไดไมกี่วัน  พระพุทธเจาหลวง 
เมื่อออกพรรษาแลว  แตจะอยางไรก็ตามที่จะใหสุนทรภูบวชหนาไฟพระบรมศพน้ัน 
ขาพเจาเห็นวาถูกตองตามอัธยาศัยของสุนทรภูดี  จึงขอทิ้งไวจนกวาใครจะหาหลักฐาน 
ใหมมาได  เมื่อสุนทรภูบวชแลว  เขาใจวาไปอยูเพชรบุรีแลในระหวางที่อยูเพชรบุรีน้ัน 
คงจะไดเ ร่ิมสนใจในการเลนแรแปรธาตแุ ละแสวงหาลายแทงแลว 

สุนทรภูมาอยูท่ีวัดราชบูรณะ  “สามฤดู”  กอนเดินทางไปนมัสการภูเขาทอง 
ปญหามีวา  “สามฤดูอยูดีไมมีภัย”  เปนระยะนานเทาใด  คุณฉันทวา  สามฤดูฝน 

คอื ฤดูกาลเขาพรรษาผานไป 3  คร้ัง  (พ.ศ.  ๒๓๗๑–๒๓๗๓)  นักวรรณคดีบางทาน 
เห็นวาหน่ึงป  คือฤดูหนาว  ฤดูรอน  และฤดูฝน  ขาพเจาไมรับประทานท้ังสอง 
อยาง  ขาพเจา วาสามฤดูในนี้ หมายท ่ี ๗–๘ เดือนระหวางสงกรานตและออกพรรษา 
(ฤด ู คือ  ฤดเู ทศกาลตรษุ ,  เทศกาลสารท  และเทศกาลพรรษา)  ในบทเขาบอกออก 

แจม แจง วา   “ทัง้ ตรษุ สารทพระวษาไดอ าศัย  สามฤดูอยูด ไี มมภี ัย”  ฉะน้นั เรอ่ื งนีย้ ตุ ิได 

สวนปท่ีสุนทรภูไปภูเขาทองนั้น  คุณธนิตวา  พ.ศ.  ๒๓๗๑  เพราะมี 

ประกาศในรชั กาลท่ ี ๔ วา   “กไ็ ดทรงพระศัทธาเสดจ็ ไปทํามหกรรมการฉลอง  (วัดเขมา 
ภริ ตาราม)  ทรงบําเพญ็ การพระกศุ ลในท่ีนน้ั เปน อันมาก  ในปชวดสัมฤทธิศก  ศักราช 
๑๑๙๐  (พ.ศ.  ๒๓๗๑)”  ตรงกับกลอนของสุนทรภูวา “ถึงเขมาอารามอรามทอง 
เพ่งิ ฉลองเลกิ งานเม่อื วานซนื ” 

เปน ทน่ี า เสยี ดายอยูหนอย  คุณธนิตมิไดคนวันเดือนมาประกอบป  เลยเปนเหต ุ
ใหค ุณฉนั ทเถียงไดว า อาจจะไมใชค ราวฉลองมหกรรมกไ็ ด  เปนการฉลองโบสถวิหารการ 
เปรียญหรือกุฏิเจดีย  หรือแมแตฉลองกฐินผาปาธรรมดาก็ได  ขาพเจาขอชวยคุณ 

ธนติ สักหนอย  โดยอา นคําวา “วานซืน” อยางเถรตรงใหหมายความวา  “วนั กอนวานน”้ี  

ตรงกับขึ้น  ๑๓  คาํ่   เดอื น  ๑๒  พอดิบพอดี 

ตอนน้ีลองกะวันเดินทางของสุนทรภู  “เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวษา”  ออก 
พรรษา  “รับกฐินภิญโญโมทนา”  ระหวางออกพรรษาและกลางเดือน  ๑๒ 
แลว แตจะเสดจ็ พระราชดําเนินถึงวัดราชบูรณะในวันใด  “ชุลีลาลงเรือเหลืออาลัย”  ข้ึน 

๑๓  ค่ํา  เดอื น  ๑๒ 
สุนทรภคู งจะออกเดินทางแตเชามืดในวันขึ้น  ๑๓  คํ่า  ไปคางคืนแรกกลาง

25 

นา  (พระสรุ ิยงลงลับพยบั ฝน  ดูมัวมนมืดมิดทุกทิศา  ถึงทางลัดตัดทางมากลาง 

นา  โอยามเข็ญเห็นอยูแตหนูพัด  ชวยนั่งปดยุงใหไมไกลกาย  จนเดือนเดน 

เห็นนกกระจับจอก)  วนั รุง ขึ้น  (ข้ึน ๑๔  คํ่า)  ถึงกรุงเกาตอนเย็น  แลวจอดเรือ 
คางคนื คนื ทส่ี องท่ีหนา วัดพระเมรขุ าม  (พอรอนรอนออนแสงพระสุรยิ น  ถึงตําบลกรุง 
เกายิ่งเศราใจ  มาจอดทาหนาวัดพระเมรุขาม  ริมอารามเรือเรียงเคียงขนาน) 
แลว จงึ ไปนมัสการพระเจดยี ในวนั รงุ ขึ้น (ครั้นรุงเชาเขาวันอุโบสถ  เจริญรสธรรมาบูชา 
ฉลอง  ไปเจดียที่ชื่อภเู ขาทอง  ดูสงู ลองลอยฟานภาลยั )

“วันอุโบสถ”  ในตอนขางบนน ้ี หมายความวาวันเดือนดับหรือเดือนเต็ม 
(ไมใชวนั พระ ๘  คํา่ )  ท่ีสุนทรภูกลาวถึงพยับฝนและเดือนเดนในฤดูนํ้าที่แลนขามทอง 
นาได ยอ มบงอยใู นตัววาเปน วันอโุ บสถกลางเดอื น  ๑๒  ในเมื่อฝนยังไมท นั ขาดทีเดียว 

คืนวันเพ็ญท่ีไปนมัสการนั้น  กลับมาคางคืนที่อยุธยา  (มานอนกรุงรุงขึ้นจะ 
บชู า)  แลว ออกเดินทางกลับกรุงเทพฯ ในวันแรม  ๑  คํ่า  ถึงในวันเดียวกัน  (พอ 
ตรตู รูสุรยิ ฉายขึ้นพรายพรรณ  ใหลอ งวนั หนึ่งมาถึงธานี) 

เปนอันวา  สุนทรภูออกจากกรุงเทพฯ  เปนเวลา ๔ วัน ๔  คืน ระหวางขึ้น 
๑๓ คํ่า ถึงแรม ๑ ค่ํา เดือน  ๑๒  การไปเชนน้ีไมบงวี่แวววามีเจตนาที่จะไปคาง 

พรรษาทห่ี วั เมอื งอยางท่ีบอกในเพลงยาวถวายโอวาท  (จะนิราศแรมไปไพรพฤกษา  ตอ 
ถึงพระวษาอน่ื จักคนื มา) จงถอื เปนเหตอุ ันหนงึ่ ท่ีวา   นริ าศภเู ขาทองแตง กอ นเพลงยาวฯ 

คุณฉันทวา  สุนทรภูกลับจากภูเขาทองแลวเลยไปอยูวัดอรุณ  ขาพเจาวา 
กลบั มาอยูว ดั เลยี บ  ถา จะพิจารณาเวลาเรือไฟไปอยุธยาทุกวัน  ก็ดูเหมือนจะกินเวลา 
ประมาณ ๖ ช่ัวโมง  หากตามน้ําก็อาจเปนเพียง ๔ ชั่วโมง หากทวนน้ําก็อาจเพ่ิมเปน 
๘  ชวั่ โมง  ฉะนนั้ ในสมยั สุนทรภทู จี่ ะลองลงมากรุงเทพฯ  คงกนิ เวลาไมตํ่ากวา ๑๒ 
ชัว่ โมง  กลอนตอนนีว้ า  

พอตรตู รูสรุ ิยฉายขน้ึ พรายพรรณ 
ใหล องวันหน่งึ มาถึงธานี 

ประทบั ทา หนา อรุณอารามหลวง 
คอยสรางทรวงทรงศีลพระชินสหี ฯ  

ไมไดหมายความวา  มาถึงกรุงเทพฯ  กอนคํ่า  “วันหน่ึง”  ในที่นี้ 

หมายความวา  ภายใน  ๒๔  ช่ัวโมง  คือ  ออกเดินทางแตเชามืดมาจอดท่ีทา 
หนาวัดกอนไดอรุณ  หากผูใดมีความสงสัยในเร่ืองน้ี  พึงเทียบเวลาในนิราศพระบาท 
วา  

วนั รุงแรมสามคา่ํ เปน สําคัญ

26 

อภิวันลาบาทพระชนิ วร 
ถึงทา เรอื ลงเรือไมแรมหยดุ  

……………………………… 

ไดว ันคร่ึงถึงเวยี งประทับวัดฯ 

วัดในที่น้ ี คือวัดระฆัง  สวนทาเรืออยูเหนืออยุธยา  ฉะนั้นเวลาเดินทางซ่ึง 
เร่มิ แตรงุ อรุณเหมอื นกัน  จึงถึงกรุงเทพฯ  กอนค่ําวนั รุงขึ้น  คือ  กลับจากพระบาท 
ถงึ วัดในวนั แรม ๔ ค่ํา 

แผนดนิ หลงั ครัง้ พระโกศกโ็ ปรดเกศ 

ฝากพระเชษฐานน้ั ใหฉ นั สอน 
สน้ิ แผน ดินสิ้นบุญของสุนทร 
ฟาอาภรณแ ปลกพักตรอาลักษณเดิมฯ 

กลอนคําแรกหมายความวา  สุนทรภูเคยถวายอักษรเจาฟาอาภรณเมื่อปลาย 
แผนดนิ กอน  กลอนคําหลงั เปนเรอ่ื งสนั นษิ ฐาน 

เม่ือสมเด็จฯ  กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงพระนิพนธประวัติสุนทรภูครั้งแรก 
ยงั มิไดพ บเพลงยาวถวายโอวาท  พระนพิ นธวา  

“มีเรอ่ื งเลา กนั มาถึงประวตั สิ ุนทรภใู นตอนที่ตกยากอีกเรื่อง ๑  วาสุนทรภูไปเฝา 

เจาฟาอาภรณ  แรกทอดพระเนตรเหน็ ทรงจําไมไ ด  แตเ มื่อไปเฝาสมเด็จเจาฟากรมพระ 
ยาบําราบปรปกษ  ทรงจําไดโปรดประทานเงินแกสุนทรภูในคราวนั้น  และคราวหลังๆ 
ตอมาอีกหลายคราว  สุนทรภูคิดถึงพระเดชพระคุณจึงแตงกลอนเรื่องราชนิติถวายเรื่อง 
๑  เหมือนอยา งไดแ ตงเรอ่ื งสวสั ดิรกั ษาถวายเจาฟาอาภรณมาแตกอน  แตกลอนเร่ือง 
ราชนิติน้ัน  เวลาน้ียังหาฉบับไมพบ  มีแตผูจํากลอนขางตอนทายไวไดหนอยหนึ่งวา 

‘สิน้ แผน ดนิ สน้ิ บุญของสนุ ทร  ฟา อาภรณแปลกพักตรอาลักษณเดิม’  ดังน ี้ กลาวกัน 

วา   สนุ ทรภไู ดแตง กลอนยอพระเกยี รตพิ ระองคเจา ลกั ขณานุคณุ อกี เรอ่ื ง ๑  ฉบบั ยงั หา 

ไมไดเหมือนกัน  แตย งั มตี ัวผทู ีไ่ ดเ คยอา น” 

เรอื่ งราชนิต ิ คอื   เพลงยาวถวายโอวาท  เมอ่ื ไดพบฉบับแลวทรงเปลี่ยนพระ 
นิพนธดงั ตอไปน้ ี

“ครน้ั เม่ือมาถูกถอดในรชั กาลท่ี ๓  จา วนายและผูมีบรรดาศักด์ิ  ก็ไมมีผูใดกลา 

ชบุ เลยี้ งเก้อื หนุนโดยเปดเผย  ดว ยเกรงจะเปนท่ฝี า ฝนพระราชนิยม  ในพระบาทสมเด็จ 
ฯ  พระน่ังเกลาเจาอยูหัว  แมเจาฟาอาภรณซึ่งเปนศิษยก็ตองทําเพิกเฉยมึนตึง 

สุนทรภไู ดก ลา วความขอ นไ้ี วใ นเพลงยาววา  ‘สิ้นแผนดินสิ้นบุญของสุนทร  ฟาอาภรณ 
แปลกพกั ตรอ าลกั ษณเดมิ ’”

27 

ทานผูอานพึงสังเกตวา  เรื่องท่ีสมเด็จฯ  กรมพระยาดํารงฯ  ทรงยินเลามา 
(กอนไดฉบับเพลงยาวถวายโอวาท)  วา  “เจาฟาอาภรณแรกทอดพระเนตรเห็น 
(สุนทรภู)  ทรงจําไมได”  คร้ันเมื่อไดฉบับมาแลว  ทรงวินิจฉัยไปในทํานองวา  เจา 
ฟาอาภรณทรงทําเพกิ เฉยมึนตงึ   เพราะเกรงวา จะเปน การฝาฝนพระราชนยิ ม 

คําวา  “แปลก”  ท่ีใชเปนกิริยาในท่ีน้ี  ยอมหมายความตามสํานวนกวีวาทํา 
เพกิ เฉยไมได  เพราะฉะน้ัน คําที่ทรงยินมาถูกตองกวาท่ีทรงตีความเอง  ขาพเจานํา 
เรือ่ งนม้ี าแจงมิใชเพอื่ เปน การตาํ หนิหรืออะไรในทาํ นองนนั้   แตเพือ่ ช้วี า  “ตํานาน”  และ 
“นทิ าน”  ในประวตั ิสุนทรภู  มที างเกดิ ขึน้ ไดจ ากการเขา ใจเขว  การเขา ใจผดิ เชนนคี้ งมี 
มาแตส มยั เม่ือสนุ ทรภูยงั มีชวี ติ อยแู ลว  

เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเสด็จสวรรคตใน พ.ศ.  ๒๓๖๗ 
เจาฟาอาภรณพระชนมาย ุ ๘ ขวบ  ในปนั้น  สุนทรภอู อกบวช  แลว หายหนาไป ๓ ป 
จึงกลับมาอยวู ดั ราชบูรณะในปลายป พ.ศ.  ๒๓๗๐  ขณะที่สุนทรภูกลับมา  เจาฟา 
อาภรณพระชันษา  ๑๑ ป  ยังมิไดทรงโสกันต  ฉะนั้นท่ีจะจําสุนทรภูไมไดยอมเปน 
ของธรรมดา  แตในกรณีน้ ี สนุ ทรภมู ิไดห ายหนาไปเฉยๆ  เม่ือกลับมายังแถมโกนผม 
หม ผาเหลืองอกี ดว ย  ฉะนน้ั ขา พเจา ใครถามวา  เด็กในวัยนั้นคนไหนบางจะไม “แปลก 
พกั ตรอาลกั ษณเดิม” 

สุนทรภูถกู ถอด? 
เรอื่ งไมเปนเรอื่ งในสมัยรัชกาลท่ ี ๓ 

เร่ืองที่วาสุนทรภูถูกถอดจากตําแหนงเพราะมีขอพิพาทกับรัชกาลท่ี ๓  มา 
กอนนั้น  เปนที่เชื่อถือและกุขาวกันมาก  ทานจันทรทรงคัดคานวาไมนาจะเปนจริง 
ดงั ทท่ี รงชแี้ จงแสดงเหตผุ ลไวดังน้ี 

เหตุท่ีสุนทรภูมิไดแตงเพลงยาวถวายสําหรับจารึกท่ีวัดพระเชตุพนถือกันเปนขอ 
ใหญท่ีนํามาอางวา  สนุ ทรภูถูกถอดและเปนท่ีรังเกียจ  เรื่องนี้ขาพเจาไดยกมาอางแลว 
ในหนงั สอื วารสารศิลปากร  แตในทีน่ ้จี ะขอขยายความอกี เลก็ นอ ย 

จารึกวัดเชตุพนแบงออกอยางกวางๆ เปน ๕ ประเภท  มี  ตํารายา ๑ 
ตาํ ราวรรณคดี ๑  สุภาษติ  ๑  ประวัตกิ ารปฏสิ งั ขรณ  ๑  และคาํ บรรยายประกอบรูป 
ตางๆ  ๑  บางอยางพระแตง  บางอยางฆราวาสแตง  บางอยางแตงทั้งสองฝาย 
ดเู คาจะทรงมอบหมายใหผ ใู หญผ ใู ดผูห นง่ึ รับหนาที่รวบรวมบทตา งๆ  ดงั ตอไปนี ้

ประวตั ิการปฏิสังขรณ  เปนพระนพิ นธส มเดจ็ พระปรมานุชิตชิโนรสสวนมาก  มี 
พระราชาคณะผูใหญชวยบางเล็กนอย  ในประเภทสุภาษิต  ซึ่งใชของเกา  เวนแตใน

28 

เมอื่ ของเกา ไมด ีพอจึงแปลงหรือแตงใหม  ทรงมอบใหสมเดจ็ กรมพระยาเดชาดิศรตรวจแก 
โลกนติ ิสวนที่เปนคําฉันท  ดูเหมอื นสมเดจ็ พระปรมานชุ ิตฯ  จะทรงคุมเองตลอดจนทรง 
แตงกฤษณาสอนนองใหม  สวนคําบรรยายภาพตางๆ  มีภาพคนตางภาษา  รูปฤาษ ี
ดัดตน ฯลฯ  แตงท้ังสองฝาย  รูปเรื่องรามเกียรต ิ์ กรมหมื่นไกรสรวิชิตและฆราวาส 
แตง  สวนตําราโครงและคําฉันท  สมเด็จพระปรมานุชิตฯ ทรงแตงเพลงยาวกลบทกล 
อักษร ดเู คา วา   พระเจาอยหู วั จะทรงคมุ เอง  ไมม ีพระแตง เลยสักบทเดยี ว  เหตทุ ีโ่ ปรด 
เกลา ฯ  ใหแ ตง แตเฉพาะฆราวาส  มเี คา อยใู นคาํ พระราชปรารภ  ประกอบเพลงยาววา  

อันอักษรกลอนเพลงนกั เลงเลน 
จะรกั ใครใหพอเปนแตพ าเหียร 
อยา หลงใหลในฝป ากคดิ พากเพยี ร 
แทบาปเบียนตนตามรปู นามธรรม 
ก็ทรงทราบวาสังวาสน้บี าดจิต 
ยอมเปน พษิ กบั สัลเลขคือเนกขมั  
แตบูชาไวใ หค รบจบลํานาํ  
เปน ทีส่ าํ ราญมนสั ผมู สั การฯ 

ในขณะท่ีแตงเพลงยาวกลบทกลอักษรกัน  สุนทรภูบวชเปนพระ  จึงไมอยูใน 
ฐานะท่จี ะแตง บทสงั วาสถวายได  ดวยเหตุนี้จึงไมปรากฏชื่ออยูในจาํ พวกฆราวาสท่ีชุมนุม 
แตง เพลงยาวกลบทกลอกั ษร 

ขา พเจา เชื่อวา สุนทรภหู นรี าชภยั ไปบวชจริง  แตท วี่ าถกู ถอดน้นั เหตุผลมีนอยเต็ม 

ท ี ดูจะถือกลอน  “ฟาอาภรณแปลกพักตรอาลักษณเดิม”  และที่ไมไดแตงเพลงยาว 
จารึกวดั พระเชตพุ นเปนท่ีต้งั   หากจะถือวาคาํ ของสนุ ทรภเู องในรําพันพิลาปที่วา  “ออก 
ขาดราชกิจ”  เปนการถูกถอด  กลอนตอไปวา   “บรรพชติ พิศวาสพระศาสนา”  ก็ดูวา 

จะเปน บวชดว ยใจสมัคร  หรอื ถา จะวา พิศวาสในท่นี ้เี ปน กลอนพาไปเพื่อสัมผัส  ขาพเจา 

กเ็ หน็ วา   “ออกขาดราชกจิ ”  เปน กลอนพาไปเทา กนั  

ในเร่อื งวา ถูกถอดจริงหรือไมน้ัน  ถาจะดูตัวบทประกอบกลับมีหลายขอที่คานวา 
ถูกถอด  เปนตน

ดวยเหตุวาฝา พระบาทไดขาดเสร็จ 
โดยสมเด็จประทานตามความประสงค 
ทูลกระหมอมยอมในพระทยั ปลง 
ถวายองคอนุญาตเปน ขาดคํา

29 

วนั นัน้ วันอังคารพะยานอย ู
ปฉลเู อกศกแรมหกคํา่  
ทลู ละอองสองพระองคจ งทรงจาํ  
อยาเชื่อคาํ คนอ่นื ไมยืนยาวฯ 

กลอนขา งบนนพ้ี ดู ถึงเจา ฟา กุณฑลทพิ ยวดี  (สมเดจ็ ) “ประทาน”  เจาฟา กลาง 

และเจาฟาปวใหมาเรียนหนังสือ  ในปฉลู  พ.ศ.  ๒๓๗๒  “ทูลกระหมอม”  ใน 
กลอนน ้ี หมายถึงพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว  ไดทรงยินยอมท่ีจะใหเจาฟา 
เล็กๆ ซึ่งยังประทับอยูในวังหลวงมาเปนศิษยสุนทรภ ู หากทานไดเคยถอดสุนทรภูจริง 
ก็ไมนาจะพระราชทานอนญุ าต  ทั้งนี้แสดงวา   ท่ีสนุ ทรภเู กรงพระราชภยั หนีออกบวชน้ัน 
เปนขอ ทีว่ ิตกไปเอง  ฉะนน้ั ในนิราศภเู ขาทองจงึ ถวายพระพรพระเจาอยหู วั วา 

ดูในวังยังเหน็ หออฐั  ิ
ต้งั สติเติมถวายฝายกุศล 
ท้งั ปน เกลา เจาพภิ พจบสกล 
ใหผ องพน ภยั สําราญผานบรุ ินฯ 

ถา จะพจิ ารณาพระราชอธั ยาศยั พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลาเจาอยูหัว  ก็ไมนาจะ 
เชอื่ วาทานจะทรงรงั แก  “อีแตอ าลักษณ”  ทุกวันนี้เราชอบอานกลอนของสุนทรภู  ก็ 
เลยยกยองใหสําคัญเกินกวา ทถ่ี อื กันจริงในสมยั นั้น  พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาฯ  เปน 
พระเจาอยหู ัวท่ีเอากี้เอาการในราชกรณียกจิ ทีท่ รงเหน็ วา สาํ คญั ตอ บา นเมืองมากกวา ในดา น 
วรรณคด ี ซ่ึงไดบํารุงไวในแผนดินกอนพอแลว  แมแตโคลง,  กลอน  และเพลงยาว 
ซึ่งเคยทรงพระนิพนธมากอนก็เลิกส้ินเวนแตท่ีเปนทางการ  ทรงหันพระราชธุระมาทาง 
บาํ รุงบานเมอื งวัดวาอารามเปน สําคัญ  เหตุตางๆ เหลานีบ้ ง วา   มิไดทรงแยแสกับเรื่อง 
ซ่งึ ไดผา นพน ไปแลวที่พระองคเจา ลักขณานุคณุ และกรมหม่ืนอัปสรสดุ าเทพเจา นอ งเจา พ่ีลูก 
เธอในพระองคทานจะไดมาอุปการะเกื้อกูลสุนทรภูในโอกาสตอไป  ยอมสนับสนุนความ 
เชอื่ ทีว่ าสุนทรภมู ไิ ดถ กู ถอด 

โอบาปกรรมนํา้ นรกเจียวอกเรา 
ใหมัวเมาเหมอื นหน่งึ บาเปน นาอาย 

สุนทรภู-อาลักษณขี้เมา  เปนคําพูดท่ีกลาวขวัญกันตอๆ มาชานานจน

30 

จาํ เปน ตอ งเชือ่ ถือวา จริงหรอื เผลอเชื่อวาเปนความจรงิ โดยไมมีขอสงสัยใดๆ 
เรอ่ื งน้ที านจนั ทรไมท รงเช่อื  
ทา นจนั ทรทรงเรม่ิ ตนชี้แจงแสดงเหตุผลวาดงั น ้ี
ตามทเี่ ลากันมาวา   สนุ ทรภูตดิ คกุ ในรัชกาลท ่ี ๒  เพราะสุรา ตอจากน้ันตลอด 

ชีวติ กม็ ไิ ดเลิกกนิ เหลาเลย  ในประวัติสุนทรภู  สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงฯ ทรงเลาวา 
เม่ือสุนทรภูคิดกลอน  ถาไดดื่มเหลาเขาไป  กลอนคลองถึงกับสองคนจดไมทัน 
นอกจากนนั้ ยงั ไดย ินผอู ืน่ เลา วธิ แี ตงกลอนของสนุ ทรภูดังน้ ี ขาหลวงหรือชาววังอาจไป 
หาสนุ ทรภู  ถือเหลา ไปขวดหนึง่   บอกสนุ ทรภูว า   “เสด็จใหมาเอาเรื่อง”  แลว 
สนุ ทรภูก ก็ นิ เหลาพลาง  บอกเรื่องพลาง  แลว ขาหลวงก็ไดเร่ืองไปถวายทันที ท่ีเลาน้ ี
ทั้งกอ นบวชและในขณะบวช  แตถ าจะลองหาคําของสุนทรภูเก่ียวกับเหลาจริงๆ  ก็นึก 

ออกเพียง  “คดิ ถึงตัวหาผัวนี้หายาก  มันช่ัวมากนะอนงคอยาหลงใหล  มันสูบฝนกิน 
สรุ าพาจัญไร  แมน หญงิ ใดรวมหองจะตองจน”  ใน  สภุ าษติ สอนหญิง  ตอนนาง 
ละเวงเลี้ยงโตะฝรั่งกินตะเกียบ  “ถึงนครไชยศรีมีโรงเหลา  เปนของเมาตัดขาดไม 
ปรารถนา”  ใน  นริ าศพระแทนดงรงั   และใน  นิราศภูเขาทอง  วา 

ถึงโรงเหลาเตากลน่ั ควนั โขมง 
มคี ันโพงผูกสายไวป ลายเสา 
โอบ าปกรรมน้ํานรกเจียวอกเรา 
ใหมัวเมาเหมอื นหนงึ่ บาเปนนาอาย 
ทําบญุ บวชกรวดนํ้าขอสําเรจ็  
พระสรรเพชญโพธิญาณประมาณหมาย 
ถึงสุราพารอดไมวอดวาย 
ไมใกลกรายแกลง เมินจนเกินไปฯ 

ในส่ีรายขางบนนี้  ในสุภาษิตสอนหญิง  และพระอภัยมณี ไมไดพูดถึงเหลา 
อยางจริงจัง  ในพระแทนดงรัง  ซ่ึงปจจุบันรับกันวาสุนทรภูมิไดแตง  ก็พูด 
เหมือนคนไมเ คยกินเหลา  สวนในนริ าศภเู ขาทอง  ซึ่งเปนบทแรกแตงหลังจากออกบวช 
สนุ ทรภูพ ดู เหมอื นคนที่เคยเหน็ โทษเหลามาแลว และไดเลกิ ไปอยางเด็ดขาด  ถาจะเถียงวา 
ถึงแมสุนทรภูจะไดศีลขาดทุกวี่วันก็คงจะไมนํามาเขียนในเรื่องประดุจวามีชูหรือจะใหผัวรู 
กจ็ นใจ  อยางไรกด็  ี เร่ืองสนุ ทรภกู ินเหลา เปน เร่อื งท่ีเช่ือกันมานาน  กระทั่งมีผูจดดวง 

ชะตาสุนทรภูไว  ก็เขียนกํากับวา  “สุนทรภู  อาลักษณข้ีเมา”  ฉะนั้นที่จะเปล่ียน 

ความเชื่อคงตองกนิ เวลานานหนอย 
สุนทรภูเปนอาลกั ษณในรัชกาลท่ี  ๒  และขี้เมาจริง  ฉะน้ันท่ีจะเขียนไวใน

31 

ดวงวา   “อาลักษณขเี้ มา”  ก็ถูกตอ ง  แตสุนทรภูเปนชื่อเรียกกนั ทหี ลงั เมือ่ ไมไดเปน 

อาลักษณแลว  ขาพเจายังไมพบหลักฐานที่แนนอนวา  มีใครเรียก  “สุนทรภู”  ใน 
รัชกาลท ี่ ๓  หรือแมแตใ นรชั กาลที่ ๔  เทาที่เคยมีในเพลงยาวเจาพระแตงในรัชกาลที ่

๓  เรียกวา  “ทานสุนทร” (ทานสุนทรแพชัดไมทัดคํา)  แล  “สุนทร” (วา 
สนุ ทรแพฉนั ขนั พอพอ)  ในนริ าศดงรงั วา “พระสุนทร” (พระคณุ ใครไมเ ทาคณุ พระสุนทร) 

ฉะนั้น  ท่ีคํากํากับดวงชะตาวา  สุนทรภ ู อาลักษณขี้เมา  คงจะเปนคําเขียนท ี
หลงั ตามความเขา ใจของผเู ขยี น 

ถาจะกลับยอนดูในอีกแงหนึ่ง  ก็จะเห็นสุนทรภูเขียนไวในนิราศเมืองแกลง 
ซ่งึ เปนนิราศเร่ืองแรกวา 

อยบู รุ ินกินสาํ ราญทั้งหวานเปรยี้ ว 
ตงั้ แตเทย่ี วยากไรมาไพรศร ี
แตน ํา้ ตาลมิไดพ านในนาภ ี
ปฐวีวาโยก็หยอ นลงฯ 

และในรําพันพิลาป  ซึ่งเปนบทสุดทายในชีวิตบวช  แตงหลังนิราศเมืองแก 
ลง  ๓๕  ป   วา 

ดงั ไขห นักรักษาวางยาทพิ ย 
ฉนั ทองหยบิ ฝอยทองไมตองสึกฯ 

(ทองหยิบฝอยทองดูจะเปนของโปรดอยูหนอย)  กลอนท้ังสองรายนี้ประกอบกับ 

คําที่เลากันมาวาเม่ืออยูวัดเทพธิดาชอบฉันนํ้าเช่ือม  ดูสุนทรภูจะเปนคน “คอหวาน” 

อยสู ักหนอย  ผิดวิสัยนกั เลงเหลาถนัด 
เร่อื งนี้ขอปลอ ยไวเพยี งเทา น้พี ลางกอ น  ประเด๋ยี วสนุ ทรภูจ ะขาวเรว็ เกินไป 
ทานจันทรทรงท้ิงประโยคสุดทายเกี่ยวกับความเช่ือถือวาสุนทรภูเปนอาลักษณขี้ 

เมาเอาไววา...เรื่องนี้ขอปลอยไวเพียงเทานี้พลางกอน  ประเดี๋ยวสุนทรภูจะขาวเร็ว 
เกินไป 

แทท ี่จริงผมคิดวา ไมจ าํ เปน จะตองทําใหส ุนทรภขู าว  ในขณะเดียวกันถาหากสุนทร 
ภูจะดาํ ไปบา งกไ็ มเห็นจะเสียหายท่ีตรงไหน 

เรอ่ื งท่วี า สนุ ทรภเู ปนอาลักษณขี้เมานีต้ ามความเขาใจทวั่ ไปดเู หมือนสุนทรภูจะกอด 
ขวดเหลาตลอด  ๒๔  ช่ัวโมง  ตองกินเหลาตลอดเวลา  ไมกินเหลาแลวกลอนไม 
ออก  ขอน้ีเห็นจะเปนไปไมได  คนขี้เมาหยําเปเขียนหนังสือก็แทบจะไมเปนตัวแลว 
ไมต องเขยี นเปนกลอนหรอก

32 

แตสุนทรภูต องเคยกินเหลาแนๆ   ขอนี้ไมตองมาเถียงกันใหเสียเวลา  และการ 
กนิ เหลา ของสุนทรภกู ไ็ มใชเรอื่ งเสยี หายรายแรงอะไร  ใครๆ  ก็กินได  ย่ิงสุนทรภูเปน 
นกั เลงทางเพลงดว ยแลว จะวาไมก นิ เหลา นัน้ เปนไปไมได 

เมือ่ ลอยเรอื ไปจอดอยูท่ีปากคลองสระบวั หนา วัดพระเมร ุ อยุธยา  สนุ ทรภูบอก 
วา 

บางฉลองผา ปาเสภาขบั  
ระนาดรบั รวั คลายกบั นายเสง็  

และวา 

อา ยลาํ หนึง่ ครึ่งทอนกลอนมันมาก 
ชา งยาวจากเล้ือยเจอื้ ยจนเหนอื่ ยหู 
ไมจ บบทลดเลีย้ วเหมอื นเงย้ี วง ู
จนลูกคขู อทุเลาวาหาวนอน 

เหน็ ชดั ๆ วาสุนทรภูเปนนักเลงปพาทย  นักเลงเสภา  และดูเหมือนจะเปนพอ 
เพลงท่ีวาสักวากลอนสดไดทุกประเภท  จะวาไปแลวพ้ืนกลอนเพลงของสุนทรภูจะตอง 
แมน ยํามาก  มฉิ ะนั้นทา นไมอาจจะสรา งฉันทลกั ษณท่เี ปน เอกลกั ษณไ ดอ ยางน้ ี

เมื่อทา นเปน นักเลงเพลงสดท่ีบอกเสภาขับรับปพาทยเปนพ้ืนคูกับครูแจงวัดระฆังฯ 
กไ็ มนา ประหลาดทใ่ี ครจะกราบทลู สมเดจ็ ฯ  กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพวาสุนทรภูน้ันถาได 
ด่มื เหลาเขาไป  กลอนคลอ งถึงกับสองคนจดไมท นั  

นักเลงพอ เพลงสดก็เปน อยางน้ีทง้ั น้นั   ไมจําเปน ตอ งสุนทรภูเพียงคนเดียวท่ีเปน 
อยา งน้ ี เพราะพอเพลงแมเพลงเขารองดนกันสดๆ บอกกันสดๆ  ยิ่งนักเลงเสภาแลว 
ดนกลอนสง สมั ผัสกนั ฉบั ๆ  จดไมทนั   กลอนสดอยางนี้ถาหากไมไดเหลาไปตอเช้ือแลว 
มันฝดอยูเหมือนกัน  แตมืออาชีพจริงๆ  เขาก็ไมฝดนักหรอก  เพราะกลอนจํามีมาก 
หากนักเลงกลอนสดสนุกๆ  แลวตองอาศัยเหลาเขาปากไประเบิดคอจะทําใหคิดกลอน 
คลอ งขนึ้   แมนยําขึ้น  และกลา เลนโวหารทาทายตอบโต 

แตเรื่องอยางน้ีก็จําเพาะตอนที่วากลอนสดเทานั้น  จะกินเหลากันก็ตอนน้ีเทา 
น้ันเอง  เมือ่ พน ไปแลวก็ไมกิน  ย่ิงงานของสนุ ทรภไู มใ ชงานประเภทกลอนดนสดเหมือน 
ครูแจง   หากเปนงานเขียนทีม่ ลี ักษณะกลั่นกรอง  เพราะฉะน้ันถาหากกินเหลาเมาแลว 
คงเขยี นไมไ ด  กรองไมได 

ถาหากสุนทรภจู ะกนิ เหลาเมากจ็ าํ เพาะตอนท่ีไมไ ดแตง กลอน  หรือจําเพาะตอนท ่ี
เลนเสภาสดกับครูแจง   เม่อื จะแตงหนังสือกันจรงิ ๆ แลว ไมกนิ เหลามาแน

33 

ง า น ข อ ง สุ น ท ร ภู ท้ั ง ห ม ด ไ ม ใ ช ง า น ข อ ง ค น กิ น เ ห ล า เ ม า ม า ย อ ย า ง ที่ ว า เ ป น 
“อาลักษณข ี้เมา”  ตรงขามผมกลบั มีความเห็นวาเปนงานของคนท่ีรังเกียจอบายมุขเสีย 
ดวยซ้าํ ไป 

แลว ทาํ ไมจึงมเี รอื่ งบาปกรรมนํ้านรกเจียวอกเรา  ใหมัวเมาเหมือนหนึ่งบาเปนนา 
อาย? 

เรื่องอยางนเ้ี ปนไปไดว า เมอื่ วยั รุน นน้ั สุนทรภูเ คยสมบุกสมบันและเสพสุรามาไมแพ 
นักเลงเหลา อืน่ ๆ  แตห ลงั จากนนั้ ก็เลกิ   หรอื กนิ แตพองามตามมารยาท 

ในอกี แงหนึ่งเปนเง่อื นไขของศลิ ปนหรือกวี 
ทา นจนั ทรทรงอธิบายเก่ียวกับศิลปนหรือกวีเอาไว  โดยทรงยกขอความที่คัดมา 
จากหนังสือชื่อกลอนแลนักกลอน  ของ  น.ม.ส.  ที่มีใจความวา  กวีตองมี 
คุณสมบัติบางอยาง  เชน  เนรมิตภาพข้ึนไดในความนึกของตน  และแปลความน้ัน 
เปนถอยคาํ ไพเราะได  ถา จะเปรยี บชางเขียนก็คือเนรมิตภาพท่ีจะเขียนไดและแปลเนรมิต 
น้ันดว ยสลี งกระดาษหรอื ผา ใบ  หรอื สถาปนิกแปลภาพเนรมติ ดวยอิฐปนู เปนตึกรามได 

“คณุ สมบตั ิของกว”ี  

เม่ือกลาวดังน้ีแลว  ก็เห็นไดวา  ความสามารถเนรมิตภาพขึ้นในความนึกน้ัน 
มใิ ชคณุ สมบตั ขิ องกวีโดยเฉพาะ  แตกวีดีตองม ี ไมมีไมได  เม่ือมีความสามารถเชนนั้น 
แลว   ถา เปน กวดี ีก็ยงั ตองมีคุณสมบตั อิ กี อยา งหนึ่งซ่ึงคนอื่นๆ  นอยจําพวกจะม ี คือ 
ความสามารถทอดน้าํ ใจลงไปเปนจรงิ เปนจังจนลืมอืน่ หมด  จะพูดขอน้ีใหเห็นงายตองเอา 
โขนละครมาเปรียบ  คือ  โขนละครตัวดีถาเปนตัวอะไรก็ลืมตนเอง  จนกลายเปนตัว 
นั่นเปน จริงๆ  เหมอื นโขนตอนถวายลิง  ถา ทศกณั ฐด ีกม็ ักจะโกรธจริงจนคนดูเห็นไดวา 
ไมไดแกลง  โขนตัวลืมเคยมีพอลูกคูหน่ึง  พอเปนฤษ ี ลูกเปนทศกัณฐ  เม่ือเลน 
ตอนถวายลงิ   ทศกัณฐโ กรธจริงตลี ิง  ลิงหลบ  ถูกฤษีเขาจรงิ ๆ  จนเปนรอยไปท้ังตัว 
พอเขา โรงถอดหัวโขนออกแลว ผีทศกณั ฐอ อก  ลูกตกใจเขาไปกราบไหวขอโทษพอ  พอ 
ไมโกรธ  กลบั ชอบใจวาลกู เปน ทศกณั ฐด ี  เลน ถูกบท 

โขนตัวดสี วมหวั ทศกัณฐเ ขากลายเปน ทศกัณฐไ ป  เพราะทอดนํ้าใจลงไปเปนจริง 
เปนจังตามบทฉันใด  กวีดียอมจะทอดน้ําใจลงไปในกาพยที่แตงฉันน้ัน  ถากวีรูสึก 
จริงจังในเวลาแตง  ผูอานจะเห็นความจริงจังในเวลาอาน  ถาทานเคยอานหนังสือวา 
ดว ย เชกสเปยทานอาจเคยพบแลวท่เี ขาเขยี นไววาเมอื่ เชกสเปย เขยี นบรรยายถงึ ตวั แฮมเลต็  
นายโรงเอกน้ัน  ตวั เชกสเปย กลายเปน แฮมเล็ตไปเองหาใชเ พียงแตบรรยายไม 

มีนกั กลอนไทยคนหน่ึงกลา วใหคนอ่ืนฟง วา   เม่ือกาํ ลังแตงกลอนเรื่องหน่ึงอยูน้ัน 
ในเวลาท่ีเขียนวาดว ยนางเอก  ไดเ กดิ เสนห านางน้ันเหมือนรักผูหญิงมีตัวมีตน  เม่ือวา 
ถึงตอนท่ีนางเอกไดทุกขก็สงสารจริงๆ  จนเกิดเศรา  ภายหลังรูสึกตัวก็กลับเห็นขัน

34 

แตพ อใจกลอนของตนในตอนนัน้ ๆ  ย่ิงนัก 
ท่ีเรียกวาความสามารถทอดใจลงไปเปนจริงเปนจังนั้น  หมายความดังที่ 

ยกตวั อยา งมาน ้ี การทอดใจลงไปน้ันเปนไปเอง  ไมไดแกลง ถาจะวาก็เหมือนผีเขาสิง 
แตถา แตง เร่ืองซึง่ ไมพ อใจ  ไมม ปี ติทจ่ี ะแตง ผีไมส งิ  กท็ อดใจลงไปไมได  เหตดุ งั นจ้ี ึงมีคาํ  
ฝรง่ั กลาววา  กวจี ะแตงกาพยเ หมอื นผูทําของขายทาํ สนิ คา ซงึ่ มีผูสั่งซอ้ื นนั้ ไมได 

(จบความจากกลอนแลนักกลอน) 

สุนทรภูทอดตัวลงไปในนิทานเพียงไร  พอจะรูกันไดโดยไมตองอธิบาย  ที่จะ 
อธิบายก็เพียงวาในนิราศตางๆ  สุนทรภูทอดตัวลงไปในสุนทรภ ู กลาวอีกนัยหน่ึง 
สนุ ทรภูเปนทั้งกวีผูแตงนิราศแลตัวเอกในเร่ืองพรอมกัน  อารมณท่ีเกิดในขณะที่แตงน้ัน 
จะเปน อารมณของสุนทรภูผูเปนกว ี หรือสุนทรภูผูเปนตัวละคร  หรือแมแตสุนทรภูผ ู
บวชเปน พระ เปน เรือ่ งทีจ่ ําเปน ตอ งพยายามแยกจากกัน 

ตามทไี่ ดหยิบขอตา งๆ จากนริ าศภูเขาทองและเพลงยาวถวายโอวาทมาจาระไนเปน  
ขอๆ  ดูจะเปนการทําใหเขาใจกลอนของสุนทรภูยากข้ึน  ฉะนั้นจะลองสรุปเสียท ี
กอ นอื่นขาพเจาขอซ้ําวาไมมีความจําเปนที่จะถือวาสุนทรภูเปนกวีดานเดียว  ควรถือวา 
เปนศิลปนมากกวา   และท่สี นุ ทรภูแตง สองเร่ืองน้กี ็เพื่อ “กลอมอารมณ” ผูอาน ไมใชเพ่ือ 
เลาประวตั ติ ัวเองเปน สําคญั  

เมอื่ สนุ ทรภูหนีราชภัยออกบวชในปส วรรคต  และไดหลบไปอยูเพชรบุรี  เรื่องก ็
คงเปนท่ีโจษจันกันมาก  ครั้นเมื่อหายหนาไปสามป  แลวกลับมาอยูท่ีวัดราชบูรณะใน 
ปลายป ๒๓๗๐ เม่ือขาวการกลบั ของสุนทรภูแพรสะพัดออกไป  พวกนักเลงเพลงยาว 
ทงั้ หญิงชายก็คงจะมวั่ สุมเยีย่ มเยยี น “ทานอาจารย”  เจ๊ียวจาวกันพอดู เปนเหตุใหเกิดขอ 

ครหาบาง อันจะมีมูลหรือไมไมสําคัญ  (จะหยิบยกธิบดีเปนท่ีต้ัง ก็ใชถังแทนสัดเห็น 
ขัดขวาง)  นอกจากน้ันยังมีเร่ืองสันนิษฐานตางๆ นานาวา พระเจาอยูหัวจะทําอยางไร 

ฯลฯ  มีผูถามสุนทรภ ู ใจความ ไฉนจงึ กลับมากรุงเทพฯ อีก ก็ไหนวาจะไมเหยียบแผนดิน 
ของทา น สุนทรภกู ็แกว า   ท่บี วชอยูน อี้ ยูธรณีสงฆต างหาก  (และไดย นิ เลา วาท่ีไปเรือก็ไมใช 
แผนดินของทาน เปนของแมคงคา ในที่สุดเมื่อสึกแลว สุนทรภูก็ยอมรับสารภาพวา แพ 
ทา น!  ไดยินเลา มาอยางนีเ้ ทจ็ จรงิ เพยี งไหนไมทราบ)  เรือ่ งชะตาของสุนทรภูก็อยูในตาชั่ง 
เชน นี้จนกระทัง่ ถึงออกพรรษา เสด็จพระราชดําเนินไปทอดกฐินท่ีวัดราชบูรณะ  ไมแสดง 
อาการกริ้วโกรธประการใด (อาจจะทัก “พระภู”  เพราะเคยรูจักกันมาแตกอนก็ได) 
เปนอนั วา ความกลัวหรือสนั นษิ ฐานตา งๆ เปนเรอื่ งโคมลอยทง้ั เพ 

ระหวางนั้น  สุนทรภูไดต้ังใจไวเดิมวา  ออกพรรษาแลวจะไปเท่ียวหัวเมือง 
เมอื่ กลับมาแลว แตงนิราศภูเขาทอง ก็สวมรอยอารมณความเชื่อของคนตางๆ โดยครวญ 

ครํ่าถึงพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลยั   และแตงไปในทํานอง “ไมม แี ผนดินพสุธา

35 

จะอาศัย”  การไปกรุงเกาของสุนทรภูคราวนี้ ดูจะไปเท่ียวมากกวาประโยชนอื่น เม่ือผาน 

จวนขา หลวงในเวลาจวนจะคาํ่  และจะตองเลยไปจอดคางคืนท่ีหนาวัดพระเมรุ  (อาจต้ังใจ 
แวะขาลองกไ็ ด)   ก็ครวญเสียวา  

มาทางทาหนาจวนจอมผรู ้งั  
คดิ ถึงครั้งกอ นมานํา้ ตาไหล 
จะแวะหาถาทา นเหมือนเมอื่ เปน ไวย 
ก็จะไดรับนิมนตขึ้นบนจวน 
แตยามยากหากวาถาทา นแปลก 
อกมแิ ตกเสยี หรอื เราเขาจะสรวล 
เหมอื นเข็ญใจใฝสูงจนเกินควร 
จะตอ งมว นหนา กลบั อัประมาณฯ 

วันรงุ ขนึ้  เม่อื ไปนมสั การภเู ขาทองไดพระบรมธาตุองคหนึ่ง คร้ันเม่ือพระธาตุหนีก็ 
เกดิ โมโหเรงกลับกรงุ เทพฯ ทนั ท ี

บทครวญของสุนทรภูเร่ืองนี้ แปลกกวานิราศธรรมดาท่ีครวญถึงหญิง ผูคนท่ียัง 
รําลึกถงึ พระพุทธเลิศหลานภาลัย  ยังคงมีอยูมากในสมัยน้ัน  จึงเปนท่ีจับใจโจษกันแซ 
สุนทรภูจึงพดู ไดเ ตม็ ปากในบทตอ ไปวา  

อยา งหมอมฉันอันท่ดี แี ลชว่ั  
ถึงลับตวั กแ็ ตช อ่ื เขาลือฉาว 
เปน อาลักษณน กั เลงทําเพลงยาว 
เขมรลาวลอื เลือ่ งถึงเมอื งนครฯ 

คร้ันเมื่อสุนทรภูกลับมาอยูที่วัดเลียบได  ๖  เดือน  เจาฟากุณฑลทิพยวดี 
ไดใหเจาฟากลางและเจาฟาปวไปเรียนหนังสือเหมือนอยางเจาฟาอาภรณในแผนดินกอน 

เมื่อ “ในวันนั้นวันอังคารพะยานอยู ปฉลูเอกศกแรมหกคํ่า” (พ.ศ.  ๒๓๗๒)  แตเม่ือ 

สุนทรภูถวายพระอักษรไปได  ๓-๔ เดือน ก็คิดจะเดินทางไปหัวเมืองอีก คราวนี้จะไปนาน 
หนอ ย (เขาใจวา เกี่ยวกับเรอื่ งเลนแรแปรธาต ุ หรือลายแทง)  สุนทรภูจึงแตงเพลงยาวถวาย 
โอวาทในระหวางพรรษาเปน การออกตัวอยหู นอ ย เพราะไดถ วายอกั ษรเวลาเพียงไมกี่เดือน 
ทข่ี า พเจาอธิบายนีเ้ พราะเจาฟา กลางพระชนมายุเพยี ง ๑๑ ขวบ เจา ฟาปว ๘ ขวบ ดจู ะไม 
ถึงวัยท่ีจะทรงซึมทราบในอรรถรสแหงกลอนอยางเที่ยงแท จึงเช่ือวาสุนทรภูแตงเพ่ือ 
“กลอมอารมณ”   ผูใหญชาววังมากกวา 

สุนทรภูไปหัวเมืองคราวนี้  ถาไปคางพรรษาก็เขาใจวาจะเปนเพียงพรรษาเดียว

36 

(พ.ศ. ๒๓๗๓) แลวกลับมากรงุ เทพฯ 
ท่ีขาพเจาตีความสุนทรภูดั่งน้ี  ทานผูอานพึงพิจารณาศิลปนเชน  ชาลี 

แชปลนิ  เทียบ  ทา นผูน ี้เปน ดาราหนังรุนเกา  เลนเรื่องทีไรคนดูเต็มโรง  เปนเศรษฐี 
มหาเศรษฐี แตบทท่ีเลนเปนบทคนขอทาน  ฉะนั้นเราจะเช่ือบทท่ีชาลี แชปลิน แสดง 
หรือเช่ือขอเท็จจริงจากรายไดของศิลปนผูน้ี?  ฉันใดชาล ี แชปลิน  ฉันน้ันสุนทรภ ู
หากทา นยงั สงสยั ขอ นี ้ ทานจงพจิ ารณาวาเมื่อสนุ ทรภไู ปภูเขาทองนนั้   มีลูกศิษยไปดวยก่ี 
คน  การไปหัวเมืองแตละครั้งไปอยางคนอนาถา หรือไปอยางหรูมีลูกศิษยลูกหาเต็มลํา 
เรอื ?  แลว จะไปอดอยากกนั ทง้ั หมดหรอื ?  หรือ สนุ ทรภ ู คือ ชาล ี ภ?ู  

ไมมที ่พี สุธาจะอาศยั  
เหมือนนกไรรังเรอ ยูเอกา 

ทา นจนั ทรท รงท้ิงปญ หาเอาไววา...เม่ือสุนทรภูไปภูเขาทองน้ันมีลูกศิษยไปดวยกี่ 
คน การไปหวั เมอื งแตล ะคร้งั ไปอยางคนอนาถาหรือไปอยางหรูมลี กู ศิษยลูกหาเตม็ ลําเรือ 

มาถงึ ตรงนผี้ มตองยอ นกลับไปถงึ เร่ืองมาตรฐานของชวี ติ มนุษย 
ทานขนุ ยากจนกวาคุณหลวง...คุณหลวงยากจนวาคุณพระ...คุณพระยากจนกวา 
พระยา..พระยายากจนกวา เจาพระยา เจาพระยายากจนกวา สมเดจ็ เจาพระยา...ฯลฯ ตอ กนั  
ไปเปน ทอดๆ 
แตค วามยากจนของเจาพระยากับความยากจนของทานขุนก็คงจะแตกตางกันไม 
นอ ยทงั้ ๆ  ทบ่ี อกวายากจนเหมอื นกัน 
ดังนนั้ ความยากจนของสุนทรภูทีว่ า ไมม ีพสธุ าจะอาศัยหรือเหมือนนกไรรังอยูเอกา 
นัน้  สนุ ทรภเู ปรยี บกบั ใคร?  สุนทรภูเปรียบเทียบตัวเองกับคนที่มียศถาบรรดาศักด์ิเสมอกัน 
หรือสุนทรภูเ ปรียบเทียบกับฐานะความเปนอยูของเจา พระยาหรือสงู กวา นนั้ ขึ้นไป 
เพราะเมือ่ พยายามตอบปญหาที่ทา นจันทรท รงตงั้ ปุจฉาแลวจะเห็นวา สุนทรภไู มเ คย 
เดนิ ทางอยา งคนอนาถาหากมีบริวารมีลูกศิษยลูกหาไปกันหลายๆ คนทุกคร้ัง  ถาเทียบ 
ถงึ สมัยนก้ี ันอยางสนกุ ๆ  แลวจะเห็นวา สุนทรภูเดินทางดวยรถตูติดแอรเย็นฉํ่าอยางดี 
มเี ฟอรนเิ จอรครบครัน  มคี นขับรถพรอ มและมบี รวิ ารตดิ ตามอีกหลายคนคอยดูแลและ 
คอยบรกิ าร ฯลฯ 
อยางนี้แลวจะวาเหมอื นนกไรรังเรเอกากระไรได 
ทา นจนั ทรทรงเร่ิมชีใ้ หเ หน็ ประเด็นตางๆ เหลานี้นับจากนิราศเมืองเพชร ซ่ึงจะขอ 
คัดมาเสนอดงั นี้

37 

นิราศเรอื่ งนี้  ตามพระนิพนธสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพในเรื่องประวัติ 
สนุ ทรภ ู เปนนริ าศเร่ืองที่สุนทรภูแตงหลังนิราศพระประธม  เหตุท่ีทรงสันนิษฐานเชนน้ัน 

ดูเหมือนจะเปนเพราะ “ลงนาวาหนาวัดนมัสการ อธิษฐานถึงคุณกรุณา” (วัดแจง)  แลว 
นริ าศเริม่ แต “แตนาวาเลี้ยวลองเขา คลองนอ ย” (คลองบางหลวง)  สวนเหตุท่ีไปน้ันเพราะ 

อาสาพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวไปหาของตองพระประสงคที่เมืองเพชรบุรี 

(อนาถหนาวคราวมาอาสาเสดจ็ ...ถึงตา งเขตของประสงคคงอาสา)  แตจะเปนสิ่งของอะไร 

ไมป รากฏชัดแจง  
คุณธนิต  ในเชิงอรรถประกอบพระนิพนธ  กําหนดปท่ีไประหวาง  พ.ศ. 

๒๓๘๘-๒๓๙๒  (หลังกรมหมืน่ อปั สรสดุ าเทพสน้ิ พระชนม  แตยงั ไมทันเปลยี่ นแผน ดิน) 

เชนน้ีขาพเจาไมสามารถตกลงดวยได การไปคร้ังนี้ลูกที่ช่ือพัดไปดวย  (กับหนูพัดจัดธูป 
เทียนดอกไม  จัดขึ้นไหวพระสัมฤทธ์พิ ษิ ฐาน)  สมมุตวิ าหนูพดั เกิดปที่สุนทรภูบวชเปน 

อยางชา (พ.ศ.  ๒๓๖๗)  ถา จะเช่ือตามศักราชทีค่ ณุ ธนติ สันนิษฐานก็จะตองถึงอายุบวช 
เมื่อไปเพชรบุร ี ขาพเจาไมเช่ือวาสุนทรภูจะยังคงเรียกเด็กในวัยน้ันวา “หนู”  ถาจะ 
พิจารณาอาการกิริยาของลูกตามท่ีสุนทรภูแตงไวในเร่ืองนิราศเมืองเพชรฯ ก็จะตองแตง 
กอ น นริ าศวัดเจา ฟา  

กลา วฝายคณุ ฉนั ทในเรอ่ื ง ๑๐๐ ปข องสนุ ทรภ ู คุณฉันทวา เร่ืองนี้แตงใน พ.ศ. 
๒๓๗๔ เหตุท่ีวาเชนน้ันเพราะ ก) สํานวนกลอนยังอยูในวัยท่ีไมแกนัก ข) ออกเดินทาง 
จากวดั อรุณฯ เพราะไดไ ปทว่ี ดั นัน้ ตงั้ แตกลบั มาจากภูเขาทอง  จําพรรษาที่นั่นหน่ึงพรรษา 
กอ นยา ยไปวัดโพธิ์เมื่อพระองคเจาลักขณานุคุณทรงพระผนวชใน พ.ศ.  ๒๓๗๕  (ตาม 
พระนพิ นธสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดาํ รงฯ) 

สวนท่ีอาสาไปหาของท่ีตองพระประสงคน้ัน  คุณฉันทวาอาสาพระองคเจา 
ลักขณานุคุณ  ไมใชพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว แลของที่พระประสงคคือลูก 
สาวขุนแพง แหง เมอื งเพชรฯ กลาวอกี นัยหนง่ึ   สนุ ทรภูเปนแมสื่อไปทําความตกลงขอลูก 
สาวเขา  ดวยเหตุนี้จึงไมบงชัดในกลอนวาเปนพระไปหรือเปนคฤหัสถไป  เพราะเปน 
เรอื่ งทต่ี อ งอาบตั อิ ยา งนา เกลยี ด  จึงงําเง่ือนไว 

ขาพเจา รบั วา  พ.ศ.  ๒๓๗๔ น้ันถกู ตอง (แตดวยเหตผุ ลคนละอยางกบั คณุ ฉนั ท) 
สวนท่ีวาไปเปนแมสื่อก็อาจเปนไป  แลวแตทานจะชอบหรือไม แตท่ีออกเดินทางจากวัด 
อรุณฯ ขาพเจาไมรับเพราะขาพเจาวาสุนทรภูไมเคยไปอยูวัดอรุณฯ เลย  ขาพเจาวา 
สุนทรภอู อกเดนิ ทางจากวดั เลยี บ แจวขามแมน ํา้ เล้ยี วเขาคลองบางหลวง ระยะทางจากวัด 
เลยี บและวัดอรณุ ฯ ถึงปากคลองก็พอๆ  กัน  ไมตองผานพระราชวังเดิมดวย มิฉะนั้น 
สุนทรภูก็คงจะพดู อะไรสักคาํ สองคาํ เปนแนแ ท 

อยา งไรกด็ ี  ท่คี ณุ ฉันทจับเงื่อนในนริ าศเมืองเพชรฯ ถูก  วามิไดแตงเมื่อสึกแลว 
ตอ งถอื วา เปน ชิน้ โบวแ ดงในหนงั สือ ๑๐๐ ปข องสุนทรภ ู สมควรแกก ารสรรเสริญ

38 

นริ าศเรอ่ื งนี้สมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงฯ  ทรงยกยองวากลอนดีนัก นอกจากนั้น 
ยงั มรี ายละเอียดเก่ียวกับประวัติสุนทรภูเม่ือกอนรับราชการปนอยูมาก  ซ่ึงทานผูอานจะ 
หยบิ ข้ึนมาเปน ขอ สาํ คัญในประวตั ิสนุ ทรภูบางกไ็ ด 

ทานผูอานสังเกตหรือเปลาวา เม่ือไปเมืองเพชรฯ นั้น  มีลูกแลลูกศิษยติดสอย 
หอ ยเรอื ไปดว ยก่มี ากนอย ถา ยังไมไดส ังเกตก็ไมเปน ไร สังเกตในเร่อื งตอ ๆ ไปกไ็ ด ลูกคนโต 
ที่ช่ือพัดไปดวยท้งั เม่อื ไปไหวพ ระภูเขาทองและเพชรบุรี เขาใจวาเมื่อบวชใหมๆ ไปหัวเมือง 
คร้ังแรกเปนเวลาสามปกอนมาอยูวัดราชบูรณะ เม่ือตน พ.ศ.  ๒๓๗๑ ก็ดูเหมือนไดไป 

ดวย ไป “ถูกปอบมนั ลอบใช”  

สว นลกู อีกคนหนึ่งท่ีช่ือตาบ คงอยกู ับแมจ นแมที่ช่ือน่ิมตายจงึ ไดม าอยกู บั บดิ าแลได 
ไปวัดเจา ฟา ดวย ในนริ าศเร่อื งน้หี นพู ดั บวชเปนสามเณร 

ในจาํ พวกหนูอืน่ ๆ ทไี่ ปเพชรบุร ี มีหนนู ิลแลหนูนอย (กบั หนูนลิ หนูพัดเขา   มสั  
การ...ใหหนูนอยคอยนับในนาวา)  สวนท่ีไปวัดเจาฟามีหนูกลั่น (ท้ังหนูกลั่นจันทรมากบ ุ
นนากนอ ย) หนูกล่ันผนู เี้ ปน ลูกเล้ียง ดงั มบี อกไวในนิราศสพุ รรณ วา “กลั่นชุบอุปถัมภลวน 
ลกู เลี้ยงเที่ยงธรรมฯ” (ชุบเปนลกู เล้ียงอีกคนหน่ึง ไมใ ชเปนคาํ สมั ผสั ) 

นอกจากที่ออกชื่อมาแลว ยังมีนายมานายแกวคนแจวเรือ นองนายแกวช่ือนาย 
ชอง,  เจกกล่ิน,  นายรอดคนแจวเรืออีกคนหน่ึง ฯลฯ ท้ังน้ีพอจะเห็นไดวาครอบครัวของ 
สุนทรภูใ หญโ ตมาก ฉะนนั้ ทีว่ าสนุ ทรภูต กทุกขไ ดย ากอบั จนถึงกับอด เปน เรื่องท่ียังเชื่อไมได 
เพราะถา เปนเชนน้ันจริง ไปไหนมิตองพากันไปอดทลี ะครึง่ โหลหรอื  

ทา นจันทรทรงวินจิ ฉยั ถงึ นิราศวัดเจา ฟาวา 

เณรหนูพดั หัดประดิษฐคิดอกั ษร 
เปน เรอื่ งความตามติดทานบิดร 
กาํ จัดจรจากนเิ วศนเชตพุ นฯ 

ที่นิราศวัดเจาฟาขึ้นตนดังนี้ เปนเร่ืองใหสันนิษฐานไดหลายอยาง สมเด็จฯ กรม 
พระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานวา เม่ือพระองคเจาลักขณานุคุณทรงพระผนวชใน 
พ.ศ.  ๒๓๗๕ ไดเ สด็จไปประทบั ท่ีวัดพระเชตุพนแลไดชวนสุนทรภูไปอยูดวย ในเวลานั้น 
ลูกทช่ี ื่อพดั กาํ ลงั บวชเปนสามเณร สุนทรภจู ึงแกลง แตงเปนสาํ นวนเณรหนพู ดั  

คุณฉันทถือตามพระนิพนธเปนสวนใหญ ผิดกันแต พ.ศ.  คุณฉันทวามิไดไปใน 
พ.ศ.  ๒๓๗๕ แตไปสองปตอมา คือ พ.ศ.  ๒๓๗๗ เหตุท่ีวาเชนน้ันเพราะหนูตาบไป 

ดวยแลในบทวาหนูตาบเปนกําพรา (เหมือนอกนองตาบนอยกลอยฤทัย มาตามติดบิดา 
กําพราแม)  สวนในเร่ืองนิราศพระประธม แตงใน พ.ศ.  ๒๓๘๕ บอกวาเมียที่ชื่อนิ่มได 

ตายไปแลว เกา ป

39 

เห็นคลองขวางบางกรวยระทวยจติ  
ไมลมื คดิ น่มิ นอยละหอยหา 
เคยรวมสุขทุกขร อนแตกอ นมา 
โอส ้ินอายเุ จา ไดเกาป 
แตกอ นกรรมนําสตั วใ หพ ลัดพราก 
จึงจาํ จากนิม่ นองใหห มองศรี 
เคยไปมาหานอ งในคลองน ้ี
เหน็ แตท ่ที องคลองนองนํ้าตา 
สงสารบุตรสดุ เศรา ทุกเชาคาํ่  
ดว ยเปน กาํ พราแมช ะแงหา 
เขมน มองคลองบา นดูมารดา 
เชด็ นํา้ ตาโทรมซาบลงกราบกรานฯ 

ลูกของน่มิ คือตาบอยา งไมตองสงสัย เพราะพัดไมไ ดไ ปไหวพระประธมดว ย ฉะนั้นที ่

คณุ ฉนั ทจ ะจับนิราศวดั เจาฟา มาชนกบั นริ าศพระประธม บวกลบคณู หารศักราชวานิราศวัด 
เจาฟา แตงใน พ.ศ.  ๒๓๗๗ ก็เปน หลักฐานท่ีด ี ครน้ั แลวคุณฉนั ทผ ิด สมเดจ็ ฯ ถกู  ท้ังจะ 
เปนเพราะสุนทรภูหรือคุณฉันทคนใดคนหนึ่งนับนิ้วไมถวนหรืออยางไรก็ตาม แตหนูตาบ 
ไดมาอยกู ับบดิ าแลว แต พ.ศ.  ๒๓๗๖ ดงั จะเห็นไดต อไป 

ในตอนพระองคเจาลักขณานุคุณที่เขียนไวกอนแลว ขาพเจาไดกลาววายังไมเคย 

พบหลกั ฐานหรอื จดหมายเหตวุ า พระองคเจาลักขณานุคณุ ไดทรงผนวชท่ไี หนแลเม่ือไร ท่ีจะ 

สันนิษฐานวาไดทรงพระผนวชเมอื่ พระชันษาครบก็ควร แลท่วี า เมอ่ื ทรงผนวชแลว  (ทว่ี ดั พระ 
แกว )  จะไดเสดจ็ ไปประทบั ที่วดั พระเชตพุ น ก็ควรเชนเดยี วกัน เพราะสมเด็จพระปรมานุชิต 
ฯ ประทบั อยูทว่ี ัดนั้น (ขณะนั้นดํารงพระยศเปนกรมหม่ืนนุชิตชิโนรส)  แตที่จะวาสุนทรภูได 

ตามเสด็จไปอยูวดั โพธดิ์ ว ยน้นั  เหตุผลมนี อ ยเตม็ ที นอกจากนริ าศวดั เจา ฟา จะวา  “กาํ จดั จร 
จากนิเวศนเ ชตุพน” ในเรื่องพระองคเจาลักขณานุคุณกับสุนทรภู ขาพเจานึกวาจนกวาจะ 

พบบทสรรเสริญทว่ี าสนุ ทรภูแตงถวาย ยิ่งพูดนอยย่ิงเปนกําไร ฉะน้ันในขณะน้ีขาพเจาขอ 

ถือความตามรําพันพิลาปที่ออกช่ือเสียงสองวัดในกรุงเทพฯ ที่สุนทรภูเคยอยู คือวัดราช 

บรู ณะแลวัดเทพธดิ า  สนั นษิ ฐานวา สุนทรภูไมเคยไปอยูที่วัดโพธิ์เลย  แลเมื่อสุนทรภูไปวัด 

เจา ฟา  วดั เทพธดิ ายังไมสราง  ฉะนัน้ ขาพเจา วาสนุ ทรภูอยูท วี่ ัดเลียบตลอดเวลาจนยา ยไป 
อยูวัดเทพธิดาใน  พ.ศ.  ๒๓๘๒  จริงอยูสุนทรภูอาจไดไปคางท่ีโนนท่ีน่ีพรรษาสอง 
พรรษา แตเมื่อกลับมากรงุ เทพฯ กก็ ลบั มา “รงั ” ทว่ี ดั ราชบูรณะ 

แตท ําไมในนริ าศวัดเจาฟา จงึ วา  “กําจดั จรจากนิเวศนเชตพุ น”  นนั้ สนั นษิ ฐาน  ถา  

พระองคเจาลักขณานุคุณไดทรงผนวชแตสุนทรภูมิไดไปอยูที่วัดโพธ์ิดวย ก็อาจใหลูกบวช

40 

เปนสามเณรไปเปนมหาดเล็ก หรือมิฉะนั้นก็สันนิษฐานวา  ทาวัดโพธ์ิเปนทาเรือที่สําคัญ 

นิราศพระแทน ดงรังกต็ ้ังตนทนี่ ั่น (ลงนาวาหนา วดั พระเชตพุ น)  นริ าศถลาง  ของนายม ี
กต็ ั้งตนท่นี ่นั   (กล็ อ งไปจากทาหนา วดั โพธ)์ิ   ใครจะไปลงเรอื ทีท่ า วดั โพธิ์ไมจ ําเปน ตองบวช 

อยูท่ีวัดน้ัน  แมแตทุกวันนี้ใครจะไปอยุธยาก็ไปลงเรือที่ทาเตียนโดยไมตองไปบวชอยูที่วัด 
โพธ์ิเสยี กอน  จะไปเชยี งใหมขึ้นรถไฟที่หัวลําโพง  ก็มิไดหมายความวาบวชอยูท่ีวัดสถาน ี
หรือจะไปเมอื งนอกขน้ึ เรือบินที่ดอนเมือง  ก็มิไดหมายความวาบวชอยูท่ีวัดทาอากาศยาน 
ตรงกันขามใครบวชอยูที่วัดหัวลําโพง ถาจะไปเมืองนอกก็จะตองไปขึ้นเรือบินที่ดอนเมือง 
เชน นเี้ ปนของธรรมดาในการเดนิ ทางไปเมืองนอกเมอื งนา 

นอกจากหนาวัดโพธ์ิท่ีเปนทาเรือสําคัญ  ยังมีมหานาคอีกแหงหน่ึงที่เปนทาเรือ 
สําคญั ในสมยั น้นั ดวย 

นิราศพระแทนดงรัง  อยูในบาญชีหนังสือที่วาสุนทรภูแตงเรื่องนี้ใน  พ.ศ. 

๒๓๗๙ (ในปวอกนักษัตรอัฐศก)  ตามความในรําพันพิลาป  สุนทรภูบวชอยูจน 

พ.ศ.  ๒๓๘๕  ฉะน้นั คุณธนติ จึงไดส นั นษิ ฐานเร่ืองน้แี ลผแู ตง  ใจความวา 
๑.  ใน พ.ศ. ๒๓๗๙  สนุ ทรภเู ปนพระ  ฉะนนั้ ไมน า จะแตงสํานวนโลดโผน 

เชน ในเร่ืองนี้
๒.  ถาสุนทรภูไมไดแตง  ใครแตง?  ตอบวานายมี หรือเสมียนมี หรือหมื่น 

พรหมสมพตั สร  ผูเปน ลูกศษิ ยส นุ ทรภู  (ในนริ าศถลางไดก ลา ววา  “ฉนั เปนศิษยส นุ ทร 
ยังออ นศักด์ิ”)  นายมีเคยบวชอยวู ัดเชตพุ นฯ แลนอกจากนิราศถลาง  แลนิราศพระแทน  

ดงรงั  ยังไดแตงนิราศเดือน  แลนิราศสุพรรณ  (คํากลอน)  ไวอีกสองเร่ือง  จับความใน 
นิราศสุพรรณ  แลนริ าศพระแทน ดงรัง  ชนกัน ก็จะเห็นวาเปนผูเดียวกันแตง  เพราะ 
ความรับกัน 

ในนริ าศพระแทนฯ ซง่ึ เปนบทครวญ  วา 

นิราศรกั หักใจอาลยั หวน 
ไปพระแทน ดงรังตั้งแตค รวญฯ 

แลในนริ าศสพุ รรณ  ซ่งึ ไมแ ตง เปน บทครวญ  วา  

ใชจะคดิ ครวญคร่าํ รํา่ สวาท 
ใชนิราศรา งนชุ สดุ กระสนั  
ประดิษฐก ลอนคอนคาํ เปนสาํ คัญ 
ไปสพุ รรณคราวนีไ้ มมคี รวญ 
ไมเหมอื นไปพระแทนแสนเทเวศ 
ทางประเทศรวมกันคิดหนั หวน

41 

ไมกลา วซํา้ ร่าํ ไรอาลยั ครวญ 
กร็ บี ดว นเรอื มาในสาชลฯ 

ถาขาพเจามีโบวแดงเหลือพอท่ีจะแจกได  (เหตุท่ีไมมีเพราะสงไปไตหวันเสีย 
หมดแลว)  ก็นึกอยากใหคุณธนิตสักสองสามอัน  เพราะคุณธนิตสันนิษฐานไวอยาง 
เด็ดขาดไมมีท่ีสงสัยอีกเลยวาใครเปนผูแตงเรื่องนิราศพระแทนดงรัง  สวนสมเด็จฯ  กรม 
พ ร ะ ย า ดํ า ร ง ร า ช า นุ ภ า พ     เ ห ตุ ที่ ท ร ง สั น นิ ษ ฐ า น ว า สุ น ท ร ภู แ ต ง เ ร่ื อ ง น้ี ก็ เ พ ร า ะ ไ ม ไ ด 
ทอดพระเนตรเร่ืองรําพนั พิลาป  เมอื่ ทรงพระนิพนธ  แตก็ไดทรงสังเกตกระบวนกลอนไว 
วา   “เรอื่ งนิราศทีแ่ ตง ก็วา อยา งดาดๆ ดูไมม อี กมใี จ” 

แตถึงกระนั้นยังมีเกจิอาจารยบางทานที่ชํานาญการอานความในกลอนมากกวา 
อา นรส  ต้ังขอสงสัยวา ในนริ าศพระแทนดงรัง  ครวญถึงหญิงชื่อมวงซึ่งตรงกับชื่อมาดาม 
ของสุนทรภผู หู นง่ึ   จึงสงสยั วาทีค่ ุณธนติ สนั นษิ ฐานน้ัน  จะผดิ หรือถูกไมท ราบ  ขอนี้ไมนา 
นาํ ขึน้ มาเปน ที่สงสัยเลย เพราะช่อื คนสมยั กอนซาํ้ กนั บอ ย เปนตน สุนทรภูมีเมียชื่อนิ่ม ช่ือ 
มวง มีนองชื่อน่ิม ช่ือฉิม  มีหลานท่ีเมืองแกลงชื่อมวง ชื่อคํา รวมเปนสองน่ิมสองมวง 
ฉะนั้นที่เสมยี นมจี ะกลา วถึงมวงคนที่สามกไ็ มนา จะแปลกเลย 

สามปกอนเสมียนมีไปพระแทนในปวอกอัฐศก  สุนทรภูก็ไดไปไหวพระแทนดงรัง 
เหมือนกัน (ในเดอื นสป่ี มะเสง็ เพง็ วนั อังคาร  ตรงกับ  พ.ศ.  ๒๓๗๖)  ในการไปคร้ังนี ้
หนพู ัดแลหนตู าบไปดว ย  หนูพัดยังบวชเปนสามเณรอยู  นอกจากนั้นหนูกลั่นในนิราศวัด 
เจา ฟา   ก็ไปดวย  หนูกล่ันผูนีเ้ ปนลูกเล้ยี งของสนุ ทรภู เรยี กหนูตาบวานอง  เรียกหนูพัด 
วาพีเ่ ณร  ตัวหนูกลน่ั เองบวชเปนสามเณร  (จงึ สนั นษิ ฐานวานิราศวดั เจาฟา   แตง ใน พ.ศ. 
๒๓๗๕  เพราะแตงกอนหนูกล่ันบวช)  ในการไปพระแทนฯ คร้ังน้ี  สุนทรภูมิไดแตง 
นิราศ  เปน สํานวนเณรหนกู ล่นั   เข่ียนชื่อสมุดไทยไวดงั หวั ขางบนน ี้

สุนทรภูออกเดินทางจากมหานาค ผานเชิงเลนคลองโองอางออกแมนํ้าท่ีวัดราช 
บรู ณะเขาคลองบางหลวง  ในปนัน้ วัดเทพธิดายังไมไดสรา ง  ฉะน้ันขา พเจา เขา ใจวา อยทู วี่ ดั  
เลยี บนนั้ เอง  แตไปลงเรือท่มี หานาคเพราะเปน แหลง กลาง  เหมือนลงเรือที่ทาหนาวัดโพธ์ ิ
เมอื่ ไปวัดเจาฟา เพราะเปน ทา สําคญั   ไมใ ชเ พราะบวชอยูท ีว่ ดั โพธิ์ ผปู วารณาเรืออาจอยูใกล 
มหานาค นดั แนะใหไ ปพรอ มกนั ที่นั้นแลว ออกเดินกลางดึกเม่ือนํา้ ขึ้นเต็มคลอง  ยอ นผา นวดั  
โดยไมแ วะ  เพราะเปน เวลากลางคนื  

เรื่องน้ียงั ไมเ คยพมิ พเ ลย  ท่เี รียกชอ่ื เสยี ใหมเพ่อื ใหผดิ กบั ของเสมียนมี 
ถามวา  เณรกลัน่ แตง นิราศพระแทนฯ หรือเปลา หรือสุนทรภูแกลงแตงเปนสํานวน 
เณรหนูกล่ันเหมือนอยางแกลงแตงนิราศวัดเจาฟา  เปนสํานวนเณรหนูพัด  หรือเณร 
หนพู ดั แตงนิราศวัดเจาฟา  
ตอบวา   เณรกลั่นแตง  แลถึงแมส นุ ทรภจู ะไดชวยแกเ กลาใหบางก็ตาม  แตเณร

42 

กลั่นแตงนิราศเณรกล่ันอยางไมมีปญหา  สวนนิราศวัดเจาฟา  เปนสํานวนสุนทรภ ู
สาํ นวนอยางนั้นเปนของผอู ื่นไมได   เมือ่ พดู เชนน้แี ลว   ก็ชกั จะสงสัยวาสุนทรภูเปนกวีชนิด 
ไหนแน  เรอ่ื งน้ีถา มเี นือ้ ที่เหลอื จะนาํ มากลาวอีกทหี นง่ึ   ถา ไมม กี แ็ ลว ไป 

สวนทวี่ า  นิราศพระแทนฯ  เปน สํานวนหนกู ลนั่ น้นั   นอกจากมีกลอนหลวมปนอย ู
มาก  ยังมีขอความบางแหงซ่ึงสุนทรภูแตงไมได  จะยกตัวอยางเพียงรายเดียว  คือตอน 
เลนน้ําท่ีบางแขยง

กบั หนตู าบอาบนํา้ ปลาํ้ กนั เลน 
พเี่ ณรเห็นไลโลดกระโดดหน ี
ชวยคุณพอ กอ พระทรายคลา ยเจดีย 
ไวตรงท่ีทา วัดไดม สั การ 
แลว วง่ิ เตนเลน ทรายทชี่ ายหาด 
ทะลดุ ทะลาดลม ลกุ สนกุ สนาน 
ลงนอนขวางทางนํา้ เลนสําราญ 
วากุมารมทั รไี มม ีเคลือ 
ครัน้ แดดรม ลมรน่ื คอยช่ืนแชม 
ออกจากแหลมบางแขยงขน้ึ แขวงเหนอื  
แมนาํ้ ตืน้ พื้นสงู ลงจงู เรือ 
สนุกเหลอื เลน น้ํายังคํา่ ไป 
ตอบดิ รนอนตน่ื ขนื ใหข้นึ  
ยงั วง่ิ คร้นื โครมครามหามไมไ หว 
ตอ สดุ ขัดผลดั ผา ยังอาลัย 
ถึงบา นใหญช ื่อวาโพธารามฯ 

ท่ีวา สุนทรภูแตงกลอนขางบนน้ไี มได  เพราะในเวลาน้ันสุนทรภูอายุเกือบ  ๕๐ 
เกินวัยท่ีจะสนุกไดเชนน้ัน  ถึงแมจะแกลงแตงก็ไมเหมือน  จะตองขาด  Sincerity 
ในงาน 

เมื่อเณรกลั่นแตงนิราศเรื่องน ้ี อายุนอยกวาสุนทรภูเม่ือแตงนิราศเมืองแกลง 
แลนิราศพระบาท  นอ ยกวานายนรนิ ทรธ ิเบศ  (อิน)  เม่อื แตงนิราศนรินทร  แทบจะไม 
มีบทไหนในวรรณคดีที่ผูแตงอายุนอยเทานี้  ตามธรรมดาโคลงกลอนบทหนึ่งๆ ตองถือ 
เปน “สําเร็จ”  อยูใ นตวั   เราจะพิจารณาไดก็แตตัวบทเทาที่กวีแตงไว  ไมควรพิจารณา 
ใหม ากนักวากวีนัน้ จะอาย ุ ๑๖  หรอื   ๖๐  หรอื   ๑๖๐  แตใ นเร่ืองท่ีหนูกลั่น 
แตง  เห็นสมควรพจิ ารณาใหก วางขวางกวาน้ัน  เพราะเปน เรอ่ื งที่นาํ มาประกอบประวัติ

43 

สุนทรภไู ดอ ยา งดี 
กลา วถึงรสคํา  หนกู ลนั่ ใชล ีลาเดยี วกับสุนทรภ ู มเี สยี งตัวผกู ระทบเสียงตัวเมีย 

ซง่ึ แมแตลกู ศิษยเ อกเชนเสมียนมีหรือหมอมราโชทัย  ในนิราศลอนดอน  ก็ไมถึง  ยิ่ง 
นายตาบผเู ปน บุตร  ซง่ึ แตง นริ าศนายตาบ  ในรัชกาลท ี่ ๕  ย่ิงไมถ งึ ใหญ  ดังจะเห็น 
ไดต อไป 

ขาพระพุทธเจา นายตาบแตงอักษร 
เปน บุตรพระสนุ ทรโวหาร 
จางวางอาลักษณพนักงาน 
ในพระบวรวงั สถานตาํ แหนงใน 
แมนผดิ ม่ังพลัง้ ในคําทาํ อกั ษร 
เปน ดวยกลอนพาความตามวสิ ัย 
ขอพระองคจ งโปรดยกโทษภัย 
มชี ีวติ อยใู ตฝาธลุ ีครง้ั น้เี อยฯ 

กลา วถงึ รสความ ตามธรรมดานริ าศตอ งมีครวญถงึ  “นางในนริ าศ”  ทแ่ี ตงเปนคาํ  

กลอนมกั เลาเรอื่ งการเดนิ ทางผสมเขา ไปกบั การครวญถึงนางนั้น  สวนมากรูสึกวาครวญ 
เปน พธิ ีเทา นั้น  ในนิราศเรอ่ื งตางๆ  ของสุนทรภ ู เพื่อนออกชื่อผูหญิงจริงแทนที่จะ 
ครวญถึงนางอันเปนเพียงแตคุณนาม  แตถึงกระนั้นเราอานก็ยังรูสึกวาครวญเปนพิธี 
มากกวา  อยา งทสี่ ุนทรภูเองเคยแตง ไวใ นนริ าศภูเขาทองวา 

ใชจ ะมที ร่ี กั สมัครมาด 
แรมนริ าศรา งมติ รพิสมยั  
ซง่ึ ครวญครํ่าทําทพี ริ ี้พไิ ร 
ตามนสิ ยั กาพยก ลอนแตกอนมา 
เหมอื นแมค รวั ขว้ั แกงแพนงผดั  
สารพัดเพยี ญชนงั เครือ่ งมังสา 
อันพรกิ ไทยใบผกั ชเี หมือนสกี า 
ตอ งโรยหนาเสียสกั หนอยอรอ ยใจฯ 

นิราศท่แี ปลกจากนิราศธรรมดาท่ีครวญถึง “นางในนิราศ”  มี  นิราศภูเขาทอง 
ของสุนทรภ ู เรื่องนี ้ ถึงแมจ ะมคี รวญถงึ สีกา  “โรยหนา เสียสักหนอ ยอรอยใจ”  เปน 

บทท่คี รวญถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา ฯ  ซึ่งไดเสด็จสวรรคตไปแลวสามส่ีป  ท่ ี
สุนทรภจู ะครวญถึงเมียในระหวา งทีบ่ วช  หรอื แมแตเ มอ่ื เมียท่ีครวญถึงตายไปนานแลว เรา

44 

เช่อื วาครวญเปนพธิ ีมากกวาครวญอยางจริงจงั   แตท่คี รวญถึงในพระโกศ  เราไมทราบ 
แนวาครวญจริงๆ หรือไม  ถาจริงก็เปนบทท่ีมี Sincerity  ปนอยูมาก  ถาไมจริง ก ็
แปลวาสนุ ทรภูเ ปนศลิ ปน อยางเอก  เพราะตง้ั แตแรกแตงจนทุกวันนี้  ผูอานตลอดเวลา 
เปน รอ ยปลวนแตเ ชือ่ วาครวญจริง  ประสาอะไรแมแ ตข า พเจาเองกย็ ังเชื่อ 

นิราศที่เณรกล่ันแตงก็ครวญอยาง  “นอกตํารา”  เพราะแทนท่ีจะครวญเพราะ 

รางนาง  กลับครวญเพราะเปนกําพรา  บทนี้ของเณรกล่ันมี  Sincerity  พอๆ กับ 
นิราศภูเขาทอง  ถาทานไมเช่ือขอน้ีลองพิจารณานิราศวัดเจาฟา  ท ่ี “เณรหนูพัด” 
ครวญแทนหนตู าบวาเปนกาํ พรา แมม าอยูกับพอ  หรือนิราศพระประธม  ท่ีสุนทรภูครวญ 
แทนหนูตาบท่ีเปนกําพราเชนเดียวกัน วาของหนูกลั่น  หนูพัด  แลสุนทรภู  ไหนจะ 
รูสกึ จรงิ กวากัน 

หนูกลน่ั จะไดแตง อะไรไวอ กี หรือไม ไมป รากฏ  คดิ ๆ  ก็นา เสียดายเพราะเด็กใน 
วยั  ๑๕–๑๖  ที่ขนึ้ ตน ไดอ ยา งบทน้นี า จะไดแตง ของดีๆ  ไวอ ีกมาก  หรอื เมื่อมาคิดอีก 
ทที นี่ รนิ ทรอ นิ แลหมอ มราโชทยั   มีเหลอื เพียงนิราศนรินทร  แลนิราศลอนดอน  คนละ 
เรื่องเดียวอาจทําใหส องเร่ืองนัน้ เดนขนึ้ ฉนั ใด  นริ าศเณรกลั่น ก็ฉันน้นั  

เม่ือเราอานนิราศเณรกลั่น  เรารูจักแลเห็นภาพเณรหนูกลั่น  แตในท่ีสุดเณร 
หนูกลั่นยังเปนแตเงาฉายของสุนทภู  ส่ิงตางๆ  ในประวัติสุนทรภูที่เราอาจสงสัยในบท 
อื่นๆ  มาแตกอน  มากระจางแจง ในนิราศเรือ่ งนี ้ เปน ตน ในนิราศวัดเจา ฟา   เมอื่ เรือ 
ไปจอดคา งคืนที่วดั มอญเชงิ รากวา  

ดึกกําดัดสตั วหลบั ประทบั นอน 
ทีว่ ัดมอญเชงิ รากริมปากคลอง 
ตนไทรครึม้ งึ้มเงียบเซียบสงัด 
พระพายพัดแผว ผานหนาวสยอง 
เปน ปา ชาอาวาสปศ าจคะนอง 
ฉนั พนี่ อ งมไิ ดค ลาดบาทบิดา 
ทานนอนหลบั ตรับเสยี งสําเนยี งเงียบ 
เยน็ ยะเยียบเยือกสยองพองเกศา 
เสียงผผี วิ หวิวโหวยโหยวิญญา 
ภาวนาหนาวน่ิงไมต งิ กาย 
บรรดาศษิ ยบดิ รท่นี อนนอก 
ผมี นั หลอกลากปลํา้ พลกิ ควา่ํ หงาย 
ลกุ ขน้ึ บอกกลอกกลัวทุกตวั นาย 
มนั สาดทรายกรวดโปรยเสียงโกรยกราว

45 

ข้นึ สั่นไทรไหวยวบเสียงสวบสาบ 
เปนเงาวาบหวั หกเหน็ อกขาว 
หนกู ล่นั กลาควาไดร ากไทรยาว 
หมายวาสาวผมผรี องนแ่ี น 
พอพระตน่ื ฟน กายคอ ยคลายจิต 
บรรดาศิษยล อ มขา งไมหางแห 
ทานหมดองครองเครงไมเล็งแล 
ขนึ้ บกแตอ งคเ ดียวดูเปล่ียวใจ 
สํารวมเรียบเลียบรอบขอบปาชา 
ภาวนาตามสงฆไ มห ลงใหล 
เหน็ ศพฝงบังสกุ ุลสงบุญไป 
เห็นแสงไฟรางรางสวางเวียน 
ระงับเงียบเซยี บเสียงสาํ เนยี งสงัด 
ประดิพัทธพทุ ธคณุ คอยอนุ เศยี ร 
บรรดาศิษยค ิดกลา ตางหาเทยี น 
จาํ เรญิ เรียนรุกขมูลพูลศรทั ธา 
อสภุ ธรรมกรรมฐานประหารเกต ุ
หวนสังเวชวาชีวังจะสงั ขาร 
อันอนิ ทรียวบิ ัติอนัตตา 
ท่ปี าชา น้แี ลเหมอื นกบั เรือนตาย 
กลบั หายกลัวมวั เมาไมเขาบา น 
พระนพิ านเพม่ิ พนู เพียงสูญหาย 

อันรปู เหมอื นเรือนโรคใหโ ศกสบาย 
แลว ตางตายตามกันไปมนั่ คง 
คอยคดิ เห็นเยน็ เยยี บไมเกรียบกรบิ  
ประสานสบิ นิว้ นงั่ ดงั ประสงค 

พยายามตามจริตทานบิตรุ งค 
สาํ รวมทรงศีลธรรมที่จาํ เจน 
ประจงจดบทบาทคอ ยยาตรยา ง 
ประพฤตอิ ยา งโยคามหาเถร 

ประทบั ทุกรกุ รอบขอบพระเมรุ 
จนพระเณรในอารามตนื่ จามไอ 
ออกจงกรมสมณาษมาโทษ

46 

รม นิโรธนอ งไมเส่ือมทเี่ ล่ือมใส 
แผกุศลจนจบทง้ั ภพไตร 
จากพระไทรแสงทองผอ งโพยมฯ 

เม่ือขา พเจาอานกลอนตอนน้คี รั้งแรกกส็ งสยั ประวตั ิสนุ ทรภใู นตอนบวชเทา ท่ีเชอ่ื กนั  

มา  วาจะคลาดเคลอ่ื นขนาดผิดหมดกแ็ ทบจะวาได  เพราะพระที่ขนึ้ ไปทํากิจจงกรมในปา ชา  
เวลากลางดึกเชนน้ีจะเปนพระข้ีเมา หรือผูที่อาศัยผาเหลืองหากินไมได จะตองเปนพระที่ 
เครง เห็นทุกขแลวอยากหาทางท่ีจะพนทุกขโดยปฏิบัติ แตในเรื่อง “พระภู”  ในเมื่อม ี
หลักฐานแตเพียงในนิราศวัดเจาฟาแหงเดียว ขาพเจาก็ไดแตหุบปากไวกอน ท้ังๆ ที ่
ปากคันอะโข ครั้นเมื่อมาพบความเดียวกันในนิราศเณรกล่ัน  ผิดกันก็เพียงแตเณรหนูพัด 
กลัวผี เณรหนูกล่ันกลัวเสือ ก็เปนโอกาสที่จะพนใหหายคันได ความในนิราศเณรกลั่น 
ตอไปนี้อยูในตอนไปจอดคางคืนท่ีวดั รางบางพัง 

ถงึ บางพงั วังวนสาชลเช่ียว 
เปน เกลียวเกลยี วกลง้ิ ควางเหมือนหางหน ู
เห็นวัดรางขา งซายชายสนิ ธู 
เขาหยุดอยูนอนคางทบี่ างพัง 
พอพลบคาํ่ ลําเดียวดูเปลี่ยวอก 
แตเ สียงนกเซ็งแซดังแตรสงั ข 
ขา งซายปาขวาชลเปน วนวงั  
เสียงคางดังอ้ืออา บนคาไม 
ฝายคณุ พอ บรกิ รรมแลวจาํ วัด 
พ่ีเณรพดั หนตู าบตา งหลับใหล 
ยิง่ ดกึ ดนื่ คร้นื เครงวังเวงใจ 
เสียงเรไรหร่งิ แรแ ซสําเนยี ง 
จะเคลมิ้ หลับวับแวว ถึงแกว ห ู
เหมือนคนกูเกร่นิ เรียกกนั เพรยี งเสียง 
เสียงเผาะเผาะเหาะยอ งคอยมองเมยี ง 
เห็นเสือเล่ียงหลกี ออ มเทย่ี วดอ มมอง 
ดูนา กลัวตวั ขาวราวกบั นนุ  
แบงสวนบญุ บน ภาวนาสนอง 
ท้งั ในนํ้าทําเลตะเขคะนอง 
ขนึ้ คลานรอ งฮูมฮมู นํา้ ฟูมฟาย 
เดชะกจิ บิตรุ งคซึ่งทรงพรต

47 

เหน็ ปรากฏกาํ จัดสัตวทัง้ หลาย 
มนั หลีกเลยเฉยไปไมใ กลกราย 
เหมอื นมคี ายเขอื่ นรอบประกอบกนั  
จนลว งสามยามเวลาบิดาตนื่  
ประเคนผืนกาสานํา้ ชาฉนั  
เงยี บสงดั สตั วป า พนาวัน 
เสยี งไกขนั แจว แจวแวววิญญา 
ทา นอวยพรสอนพระธรรมกรรมฐาน 
ทางนพิ พานพนทุกขเ ปน สุขา 
ไดเรียนธรรมบําเพ็งภาวนา 
เม่ือนอนหนาวดั รา งคุงบางพัง 
แลวบดิ าพาเดนิ ขึน้ เนินวดั  
เงียบสงัดงมึ ปา ขางหนาหลัง 
เขา นโิ ครธโบสถใหญรม ไมรัง 
สาํ รวมนั่งนกึ ภาวนาใน 
ดวยเดชะพระมหาสมาธ ิ
เปนคตติ ามศรทั ธาอชั ฌาสยั  
พอแสงทองสอ งฟา นภาลยั  
ลาพระไทรสาขาลงมาเรอื ฯ 

นอกจากการบําเพญ็ กิรยิ า ตามประสาท่ีเรามักเรียกกนั อยา งสนกุ ๆ ทกุ วนั นีว้ า ยุบ 
หนอ พองหนอ แลว พระภูยังไดแสดงอาการเปนพระที่แทอีก เชน บิณฑบาตไขเตาจาก 
ชาวบา น เพอื่ ฝง ใหสตั วท ่ปี ฏสิ นธไ์ิ ดเกิด 

เตาขนึ้ ไขไวท ุกหาดไมขาดคน 
เท่ียวขดุ คนไขไ ดดว ยงา ยดาย 
สาธุสะพระบดิ าเมตตาเตา 
บณิ ฑบาตเขาเขาเห็นพระกถ็ วาย 
เอาใสไ วในหลุมทกุ ขุมทราย 
แลวเกลี่ยทรายสมุ ทับใหล บั ตา 
เปนประโยชนโปรดสัตวท ป่ี ฏิสนธ์ิ 
ใหรอดพน ความตายไดห นักหนาฯ 

และเมื่อฉันอาหารทช่ี าวปา เขามาถวายอยา งหนา เฉยตาเฉย

48 

ฝา ยพวกเขาชาวปาทาํ อาหาร 
แกงผักหวานกบั ปลารา มาถวาย 
ท้งั แยบึ้งอ่งึ ยางมาวางราย 
ทง้ั หญิงชายชาวปาศรทั ธาครัน 
ท้งั ปลาทปู ปู าประสายาก 
ไมมหี มากเปลือกไมจบี ใสข ัน 
ถวายพระพระประโยชนโปรดพวกนั้น 
อตุ สาหฉนั ของปา ไมอาเจยี น 
แตหนูตาบกับพี่เณรเราเหน็ อ่ึง 
กบั แยบ ึ้งเบือนอายไมหายเหียน 
พอเสร็จพระยถาลานายเกวยี น 
ตามทางเตยี นตัดตรงเขา ดงรงั ฯ 

ตัวอยางที่นํามาลงเหลาน้ี ไมใชคําของสุนทรภูเอง ฉะนั้นจะควรเชื่อไดหรือไมวา 

“พระภ”ู   เปน คนละคนกับ  “ชาลีภ”ู   ผเู ปนศิลปน  

สว นหนกู ลั่นทีม่ าเปนลกู เล้ยี งสุนทรภนู ้ัน เปนผูมตี ระกูล มีปูเปนพระยาสุนทรเสนา 
มีปาซึ่งวาเปนผูสรางวัดหมู (วัดอัปสรสวรรค)  ตามประวัติวัดหมู วาเจาจอมนอยใน 
พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจาอยูหัวเปนผูปฏิสังขรณวัดโบราณที่รางไป เจาจอมนอยผูน้ ี
เปนบตุ รเี จา พระยาพลเทพ (ฉมิ )  มีฉายาเพื่อใหผ ดิ กับเจาจอมนอยอกี สองคนวาจอมนอยส ุ
หรานากง เจาจอมนอยผูนี้เหน็ จะไมใชปาตัวของเณรกล่ัน เพราะไดออกชื่อปูไววาเปนพระ 
ยาสนุ ทรเสนา เหน็ จะพอสันนษิ ฐานไดโ ดยไมพ ยายามเปด หนังสือคน วาพระยาสุนทรเสนา 
เปนนอ งหรือเกีย่ วดองกบั เจา พระยาพลเทพ (ฉิม)  ขาพเจาไมอยากไลเรื่องญาติโกโญติกา 
ของหนกู ลัน่ ไปกวานี้ เอาความส้ันๆ วา สุนทรภูคงจะเปนที่ใกลชิดนับหนาถือตาของพวก 
ขนุ นางแลชาววัง มใิ ชเ ปนพระข้ีเมาอยางท่ีเชือ่ กนั มาแตกอน มิฉะนั้นเด็กมีฐานะขนาดเณร 
กลั่นคงจะไมไดมาเปนลูกเลี้ยง ความขอ นี้มีพยานหลักฐานยืนยันท่ีวาสุนทรภูมีลูกศิษยเปน 
เจาฟาถึงสามพระองค  (เจาฟาอาภรณ,  เจาฟากลาง,  แลเจาฟาปว)  มีเจาฟากุณฑลฯ 
พระองคเจา ลักขณานคุ ุณ แลตอไปกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ แลพระบาทสมเด็จพระปนเกลา 
เจา อยหู ัว ทรงอุปการะเปนระยะๆ ฉะนั้นขาพเจาจึงวาไวแตตนวาสุนทรภูจะไปตกทุกขได 
ยากทไี่ หนกัน ท่จี ะพาลกู แลลกู ศิษยใ นครอบครัวอันใหญโ ตไปอดขา วกันหมดนั้น ยอ มเปนไป 
ไมไ ด  เจา นายผูประทานอุปการะแกสุนทรภูลวนแตเปนเจาใหญนายโตท้ังส้ิน ทานคงไมได 
ทอดท้งิ อยางทีเ่ ขาใจกนั มาแตก อ นในศตวรรษเกาของสุนทรภ ู

ในระหวา งหกปหลังแตก ลบั มาจากไปไหวพระแทน ดงรังใน พ.ศ.  ๒๓๗๖ แลเม่ือ 
ยา ยไปอยูวดั เทพธดิ าใน พ.ศ. ๒๓๘๒ สุนทรภูจะไดทําอะไรบางเปนเร่ืองท่ีเรารูนอยกวา

49 

ใน ๖ ปกอ น คือระหวา งกลบั มาอยูวัดราชบรู ณะแลทีไ่ ปพระแทนฯ ใน พ.ศ.  ๒๓๗๑ เวน  
แตเ ราจะซอยระยะเวลาทส่ี ุนทรภูบวชออกเปนงวด งวดละ ๓ ป แทน ๖ ป ถาทําเชนน้ัน 
ความเคลอื่ นไหวของสุนทรภูก็กระจางแจงขึ้นทันที แตกอนท่ีจะทําได จําเปนตองเสียเวลา 
แลเนอ้ื ท่ีนําขอ สนั นิษฐานตางๆ มาลงบา ง 

คุณฉันทวาเม่ือกลับมาจากวัดเจาฟา ใน พ.ศ. ๒๓๗๗ สุนทรภูไดยายจากวัด 
โพธ์ิไปอยูวัดมหาธาตุ เพื่อใกลชิดกับตําหนักที่ประทับของพระองคเจาลักขณานุคุณ เพื่อ 
สะดวกในการสง เสยี  พอถึง พ.ศ. ๒๓๗๘ พระองคเจาลักขณานคุ ุณส้นิ พระชนม  สุนทรภู 
หมดที่พ่ึงจึงไดลาผนวชไปลอยเรือแตงกลอนประกอบการคาขาย  ครั้นถึงปฉลู พ.ศ. 
๒๓๘๓  ประกอบกับหนูพัดอายุครบบวช สุนทรภูจึงไดเขาไปเฝาสมเด็จพ ระปรมานุชิต 
ชโิ นรสขอประทานบวชใหม แตหาไดอยูท่ีวัดโพธิ์ไม ทรงแนะนําใหไปอยูวัดราชบูรณะที่เคย 
อยมู าแตก อนแลว  แตยังมิทนั ไดจ ําพรรษากย็ ายไปอยวู ดั เทพธดิ า ในระหวางที่สุนทรภูครอง 
เพศฆราวาสอยปู ระมาณ ๕ ปน ั้นเปน ระยะเวลาท ่ี “ปลอยแก”  แตไดเมียอยูประจําคนหนึ่ง 
ชอื่ มว งมลี กู ดวยกันช่อื หนูนอ ย 

ความตางๆ ทค่ี ุณฉนั ทใชป ระกอบการสันนษิ ฐานมีอยูใ นนิราศสุพรรณ รําพนั พลิ าป 
แลนิราศพระประธม  ในทีน่ ้ีไมจําเปนท่ีจะยกเหตุผลของคุณฉันทมามากราย เพียงแตตอน 
ตีความวาสมเด็จพระปรมาฯ บวชใหทั้งพอลูก แลวใหไปอยูวัดราชบูรณะรายเดียวก็พอ 
กลอนในราํ พันพิลาปวา  

พระฤาษีทชี่ ว ยชุบเสือโค 
ใหเรอื งฤทธอ์ิ ศิ โรเดโชชยั  
แลว ไมเลยี้ งเพยี งแตช ุบอปุ ถัมภ 
พระคณุ ล้ําโลกาจะหาไหน 
ชว ยช้ที างกลางปา ใหค ลาไคล 
หลวชิ ัยคาวีจาํ ลลี าฯ 

กอนท่ีทานผูอานจะตั้งคําถามวาสมเด็จพระปรมาฯ  เคยบวชเปนฤาษีเม่ือไร 
ขา พเจา ใครอ ธิบายเสียหนอ ยวา เมอ่ื คณุ ฉนั ทแตง  ๑๐๐ ปของสุนทรภ ู คุณฉันทไมไดอาน 
นิราศเณรกล่ัน  ฉะน้ันก็ไดแตวาไปเทาท่ีมีหลักฐานอยูในมือ ถาไดอานนิราศเณรกลั่น 
เสียกอนก็อาจเขียนเร่ืองไปคนละอยาง ไมตกอยูในศตวรรษเกาใครจะไปรู ในทํานอง 
เดยี วกันก็เม่ือสมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงพระนิพนธเร่ืองประวัติสุนทรภ ู โดยม ิ
ไมทอดพระเนตรเรื่องรําพันพิลาป  (ซึ่งมีบอกท้ังปบวชปสึก)  ยอมตองมีคลาดเคล่ือนบาง 
ธรรมดา ฉะนั้นที่คุณฉันทสันนิษฐานนั้นไมพึงถือเปนขอตําหนิ ท่ีแทควรสรรเสริญในดาน 
การอุตสาหะ

สุนทรภูแตงรําพันพิลาปเปนบทฝน (สุนทรทําคําประดิษฐนิมิตฝน)  กลาวอีกนัย

50 

หน่ึงแกลงแตงเรื่องใหเลอะ (ลืมวันเดือนเชือนเฉยแกลงเลยละ เห็นแตพระอภัยพระทัยดี 
ชวยแจวเรือเก้ือหนุนทาํ บญุ ดวย)  ฉะนัน้ จําเปนตองระวงั ในการอาน มิฉะนั้นก็จะเลอะตาม 

เปนตนในตัวอยา งกลอนทยี่ กมา ถา จะอานอยางเถรตรง ก็จะเห็นวาพระอภัยมณ ี (สมเด็จ 
กรมพระยาบาํ ราบปรปก ษ)   ทรงทาํ บุญโดยแจวเรือ!  สวนในเรื่องลูกเมียที่ไดใหมไมควรจะ 
ลืมวาในนิราศสุพรรณ  สุนทรภูออกชื่อเมียแทบทุกคน มีแมจัน,  นิ่ม,  งิ้ว,  มวง ฯลฯ ไม 
นา จะถือวา ไดแมมว งมาเปน ขา วใหมป ลามนั กวาหรือพิสดารกวา  “นางในนิราศ”  คนอ่ืนๆ 

แลวหนูนอยท่ีไปไหวพระปฐมเจดียดวยนั้น (เจาหนูนอยพลอยวาฟาตกนํ้า)  เผอิญไปชื่อ 
พองกับหนูนอ ยทีไ่ ปเพชรบุร ี (ใหหนูนอยคอยนับในนาวา)  คุณฉันทอธิบายเอาใหญวาหน ู

นอยในสองนิราศผิดกันอยางไร ขาพเจาเห็นจะไมอธิบายแลไมลงคําอธิบายของคุณฉันท 
ดวย 

สว น พ.ศ.  ที่แตง สามเรื่องทีค่ ุณฉันทน าํ มาประกอบการสันนิษฐานตามท่ีเขาใจกัน 
ในปจจบุ นั  นิราศสุพรรณแตง จากวดั เทพธิดาใน พ.ศ.  ๒๓๘๔ (เหตุท่ีวาเชนนั้นดูเหมือน 

จะเปน เพราะออกเดนิ ทางจากมหานาค “ไปทางเรือเหลอื สลดดว ยปลดเปลื้อง”  แลในรําพัน 
พิลาปวา  “จนถึงปลายปฉลูมีธุระ”  รําพันพิลาปแตงใน พ.ศ.  ๒๓๘๕ (โอปน้ีปขาล 
สงสารวดั )  สว นนิราศพระประธม  แตงเมื่อปลายปข าลนนั้ เองเมื่อสกึ แลว) 

ตอนนล้ี องจบั ศกั ราชใหม  ต้ังตนดว ยนริ าศสุพรรณ 

ท่จี ะวา นริ าศสุพรรณแตงใน พ.ศ.  ๒๓๘๔  เพราะในรําพนั พิลาปวา “ปลายปฉล ู
มีธุระ”  ไมเปนเหตุแลที่จะวาแตงจากวัดเทพธิดาเพราะออกเดินทางจากมหานาคก็ไมเปน 

เหตุ เพราะจะตอ งแจวเรือถอยหลัง ระยะทางเดินในเรื่องนนั้  ผา นวดั สระเกศ เชิงเลนคลอง 
โองอา ง ออกแมนํ้าท่วี ัดเลียบแลว เขา คลองบางกอกนอย ระยะทางนี้เหมือนกบั ในนิราศเณร 
กลั่น  (แตง พ.ศ.  ๒๓๗๖ กอนสรางวัดเทพธิดา)  ผิดกันแตท่ีนิราศเณรกล่ันเขาคลอง 
บางกอกใหญแ ลไมไดออกชอ่ื วัดสระเกศ ที่ทง้ั สองเรอ่ื งไมพดู ถงึ วดั เทพธดิ าเลย ชวนใหค ดิ วา  
นิราศสุพรรณก็แตงกอนสรางวัดเทพธิดาเชนเดียวกับนิราศเณรกล่ัน  ขาพเจาวานิราศ 
สุพรรณแตง พ.ศ.  ๒๓๗๙ ทีพ่ ดู น้พี ดู ดวยความรสู ึก มิใชเ พราะสันนิษฐานหรือเดาเทาที่ 
สังเกตมา จะเปน ดว ยเหตผุ ลกลใดไมทราบ ความรูสึกของขาพเจาในเร่ืองวรรณคดีไมคอย 
ผดิ  ในเร่ืองปแตงนิราศสุพรรณ  ขาพเจาอาจพลาดสักปหนึ่งขางหนาหรือหลัง แตรูสึกวา 
ไมไดแตง ใน พ.ศ.  ๒๓๘๔  จากวดั เทพธดิ าอยางแนนอน 

ถา จะเช่อื วา นริ าศสพุ รรณแตง  พ.ศ.  ๒๓๗๙ แลว ยึดปนีเ้ ปนหลักแยกระยะเวลา 
ที่สุนทรภูบวชออก เปนงวดๆ งวดล ะ  ๓  ป ประวัติสุ นทรภูก็จะล งรอย กวาเกาเปนกอ ง 
ในตอนนล้ี องทวนความสักหนอยเพราะเทา ทีแ่ ลวมา ดจู ะไดข ัดคอทานเกจิอาจารยมากกวา 
พูดจาอะไรทเี่ ปนเร่อื งเปน ราว การลม ของเกา น้นั งาย แตการตงั้ ของใหมข้ึนมาแทนยาก 

พ.ศ.  ๒๓๖๗ :  สุนทรภูออกบวชแลวไปหัวเมือง ลูกไปดวยคนหนึ่งอายุจะ 
ประมาณ ๗-๘ ขวบ


Click to View FlipBook Version