The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติและผลงานสุนทรภู่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornthip mansap, 2019-11-23 01:19:43

ประวัติสุนทรภู่

ประวัติและผลงานสุนทรภู่

51 

พ.ศ.  ๒๓๖๘-๖๙-๗๐  :  จาํ พรรษาหวั เมืองสามพรรษา (ทไ่ี หนบางไมทราบ) 
ในราํ พนั พลิ าป  วา 

ทางบกเรือเหนอื ใตเที่ยวไปทั่ว 
จังหวัดหวั เมอื งส้ินทกุ ถนิ่ ฐาน 
เมอื งพรบิ พรีที่เขาทาํ รองนา้ํ ตาล 
รับประทานหวานเย็นก็เปนลม 
ไปราชพรมี ีแตพ าลจัณฑาลพระ 
เหมือนไปปะบอระเพด็ เหลอื เข็ดขม 
ไปข้นึ เขาเลากต็ กอกระบม 
ทุกขระทมแทบจะตายเสียหลายคราว 
คร้ังไปดานกาญจนบรุ ที ่ีอยกู ะเหรย่ี ง 
ฟง แตเ สยี งเสอื สหี ชะนีหนาว 
นอนนํ้าคางพรา งพนมพรอยพรมพราว 
เพราะเช่อื ลาวลวงวา แรแ ปรเปนทอง 
ทัง้ ฝา ยลูกถูกปอบมันลอบใช 
หากแกไ ดใ หไปเขากินเจา ของ 
เขาวษามาอยทู สี่ องพน่ี อ ง 
ยามขดั ของขาดมงุ ร้นิ ยงุ ชมุ ฯ 

นอกจากเพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี แลสุพรรณบุรี สุนทรภูยังไดไปถึงพิษณุโลก 

(คดิ ถึงคราวเจานิพานสงสารโศก ไปพศิ รีโลกลายแทงแสวงหา)  แลว จึงลงมากรุงเทพฯ อยู 
ที่วดั เลยี บ (มาอยวู ิหารวัดเลียบยง่ิ เยยี บเย็น) 

ในระยะเวลาสามปแ รกทบ่ี วช สนุ ทรภูสนกุ สนานอยกู ับการเลนแรแปรธาตุ แสวงหา 
ลายแทง ยาอายวุ ฒั นะ ฯลฯ เปนระยะเวลาที่ชีวิตโลดโผนผจญภัยนานาชนิด แลถึงแมใน 
เร่อื งจะครวญครํ่านํ้าตากระเด็น เราก็ไดแตถามวา ถาเดือดรอนแลว ไปทําไม ไปเพราะใจ 
สมัครใชไ หม? 

พ.ศ.  ๒๓๗๑  :  แตง นริ าศภเู ขาทอง 
พ.ศ.  ๒๓๗๒  :  แตงเพลงยาวถวายโอวาท เพ่ือทูลลาเจาฟานอยลูกศิษยเพื่อ 

“จะนิราศแรมไปไพรพฤกษา ตอ ถึงพระวษาอ่ืนจกั คนื มา” 

พ.ศ.  ๒๓๗๓ :  ไมท ราบวา จาํ พรรษาท่ไี หน 
พ.ศ.  ๒๓๗๔ :  แตงนิราศเมอื งเพชร 
พ.ศ.  ๒๓๗๕ :  แตง นริ าศวัดเจาฟา 
พ.ศ.  ๒๓๗๖  :  แตง นริ าศเณรกลั่น

52 

ในระหวา งหกปต ้ังแตแรกบวชจนกลับมาอยูที่วัดเลียบ สุนทรภูยังไมไดเริ่มจับเรื่อง 
พระอภยั มณีที่คา งมาตั้งแตรัชกาลที ่ ๒ เลย ยังคงสนุกอยูกบั การแสวงหาลายแทงเหลานน้ั  
อย ู ตอ อีกสามป  (พ.ศ.  ๒๓๗๗-๗๘-๗๙)  ขา พเจาก็นึกวายังไมไดเริ่ม เขาใจวาจะลง 
มอื เม่ือกลับจากสพุ รรณแลว  ระหวางน้ันวัดเทพธิดาเร่ิมสรางใน พ.ศ.  ๒๓๗๙ ผูกพัทธ 
เสมาใน พ.ศ.  ๒๓๘๒ สุนทรภูย า ยไปอยูวดั เทพธดิ าจากวัดเลียบโดยตรง ในรําพันพิลาป 
วา  

เปนคราวเคราะหก ต็ องพรากจากวหิ าร 
กลวั พวกพาลผูร า ยจํายา ยหนี 

อยูวัดเทพธิดาดวยบารมี 
ไดผ า ปป จ จัยไทยทานฯ 

อนึ่งพระองคเจาลักขณานุคุณสิ้นพระชนมใน พ.ศ.  ๒๓๗๘ กอนสุนทรภูไป 
สุพรรณ ฉะนั้นทว่ี า กนั มาแตกอนวา แตงเรื่องพระอภยั มณีถวายพระองคเจาลักขณานุคุณ 
จงึ เปน เร่ืองท่ีอยูในเกณฑโ คมลอยไมมหี ลกั ฐานยืนยนั คาํ บอกเลา เลย 

ความตอไปน้ลี กั เขามาจากหนงั สือสบิ กวี  เมอ่ื เจาของเผลอขอ ความอ่นื ๆ ทนี่ ึกได 
หรอื เดาออกเก่ยี วกบั นิราศสพุ รรณ  จะขอพูดหลงั ลงตวั บทแลว 

“นิราศทแ่ี ตง เปนคําโคลงเรอ่ื งนไ้ี มเหมือนนิราศคําโคลงเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีแตงเลียนแบบ 

กันมาตลอด คือเปนบทครวญที่กลาวเขากับตําบลท่ีผานหรือชื่อนกช่ือไมไมมีท่ีจะบันทึก 
เหตุการณอ ะไรเลย นริ าศสุพรรณของสนุ ทรภูเลาการเดินทางเหมือนอยางนิราศท่ีแตงเปน 

กลอน ฉะน้ันในดาน “รสความ”  จึงไมเหมอื นนริ าศคําโคลงอ่นื ๆ ท่คี รวญกค็ รวญอยา งเฉๆ 

ดังในสองบทตอ ไปน ี้ ซ่ึงขาพเจาเห็นวาเปน วิธชี มโฉมทข่ี ันเอาการ 

บางปลาราปลาคลํา่ นา้ํ   ลําคลอง 
คนเหลา ชาวประมงมอง  มุงขา  

สุมซอนชอ นชนางปอง  ปดเรอื ก เฝอกแฮ 

เหม็นเนา คาวปลารา   เรียดคงุ คลุงโขลงฯ 

ริมนํา้ ทาํ ทา ขึน้   ขอดปลา 

เกล็ดติดตวั ตีนตา  ตมกู แกม  

คดิ คูส ูเสนหา  หอมชน่ื  ระรื่นเอย 

โคลนเชนเปน แปง แตม  ติดเนื้อเหลอื หอมฯ 

“กลอนของสุนทรภูมีสัมผสั ในมาก ในกาพยและโคลงก็ใชสัมผัสสระอยางในกลอน 

ซึ่งเปน ขอติวาทาํ ใหล ีลาของโคลงชาลง นอกจากนน้ั ยังติกันวาไมถือเอกโทษโทโทษ หรือใช

53 

โทแทนเอก หรอื แมแ ตจ ะเกินสักคําก็ไมเอ้ือ (ในตัวอยางขางบนมีทุกอยางท่ีวาเปนขอเสีย) 

แตทีแ่ ทนริ าศสุพรรณเปนบททบ่ี รรจงแตงมีระเบยี บท่ีสุด เปนตนตลอดเร่ืองในบาทหนึ่งไมมี 
สรอ ยเลย ในบาทสามไมมีขาดเวน แตแ หงเดยี วในบทนาคบริพันธ  ซงึ่ เปนท่ีตองซํ้าอักษร จะ 
ใสส รอยไมได  นอกจากน้นั ความแนนลงพอดีบททุกบท ถาอานใหถูกอยา งท่ผี ูแ ตงตง้ั ใจ บทน้ี 
ไมแพนิราศนรินทร และนิราศลาํ นํ้านอย แตจ ะเทยี บกนั กเ็ ทยี บไมไ ดแท 

“ที่จะวา นริ าศสามเรอื่ งท่กี ลาวนเี้ ปน เพลงคนละเพลงก็ไมต รงนัก ถาจะวาเปนเพลง 

เดียวกัน แตนรินทรอินตีระนาด พระยาตรังเปาแซกโซโฟน สุนทรภูสีซอไมมีควายฟงก็ไม 
ตรงแท ขา พเจา ชอบมากกวาทจี่ ะเทยี บวาเม่ือเพลงขึ้นแลว นรินทรอินและพระยาตรังออก 
เตนรํา นรินทรอินลีลาศอยางสุภาพ พระยาตรังเตนแซมบาดวยจังหวะบาทกุญชร สวน 
สนุ ทรภูเมื่อเพลงข้นึ แลว ออกไปราํ วงแทนเตนราํ  ใชล ลี ากลอนแทนลีลาโคลง ฉะน้ันจําตอง 
อา นของทา นใหถ กู  มิฉะน้นั ก็จะไมเหน็ ลวดลายในเชงิ ราํ  

“การทีจ่ ะอา นโคลงใหเปนกลอน ผูอานจําเปนตองต้ังพิธีในใจนิดหนอย คือลืมเสีย 

วากําลังอานโคลง พยายามอานขามสัมผัสนอกไปเลย ใชแตสัมผัสในเปนเคร่ืองวรรค 
เก่ียวกบั ท่ีวรรคในการอา นกลอน ขา พเจา นึกวาทา นควรลองเปดพจนานกุ รมภาษาองั กฤษดู 

คาํ  Caeswra  คํานี้เดมิ เปน ภาษาละติน แตนํามาใชกันเปนศัพทกวีในภาษาอ่ืน ถาเซซัวรา 

ยังชว ยทานวรรคโคลงของสุนทรภไู มถูก กค็ วรอานเทิ่งๆ ตลอดบรรทัด โดยไมคํานึงถึงเอก 
โท หากจะเรียงโคลงเสยี ใหมกพ็ อจะเห็นลีลางายเขา บาง 

บางปลารา ปลาคลํ่านาํ้ ลําคลอง 
คนเหลาชาวประมงมองมงุ เขา  
สมุ ซอ นชอนชนางปองปดเรอื กเฝอกแฮ 
เหมน็ เนาคาวปลาราเรียดคุงคลุงโขมงฯ 
รมิ นาํ้ ทําทาขึน้ ขอดปลา 
เกลด็ ตดิ ตวั ตีนตาตมูกแกม  
คิดคสู เู สนห าหอมช่นื ระรน่ื เอย 

“ในการพมิ พคร้งั น้ ี ขา พเจา มิไดเปลีย่ นรูปโคลงหรือเอกโทษโทโทษ เพราะไมใชของ 

ยากทผ่ี อู านจะทาํ เอาเองในใจได  รสู ึกวา งายเทากับบวกสองกับสองใหเปนสี่หรือหาแลวแต 

ใจสมัคร ฉะนนั้ จงึ ปลอยไวต ามเดมิ ”
(จบความจากสบิ กว)ี  

ลูกศิษยส ุนทรภู 
ชว ยแตง พระอภยั มณี

54 

ทานจนั ทรท รงมขี อ สังเกตเกีย่ วกบั สนุ ทรภตู อไปอีกวาในระหวางนิราศสุพรรณคํา 
โคลงและนริ าศพระประธมคาํ กลอนสองเรื่องน้ัน ไดขามขอความในชีวิตสุนทรภูไปเสียหาป 
ระหวาง พ.ศ.  ๒๓๗๙ และ ๒๓๘๔ แตกอ นเคยเช่ือกนั วา นิราศสุพรรณแตงเม่ือ พ.ศ. 
๒๓๘๔ และนิราศพระประธมและนิราศเมืองเพชรแตง เม่อื ลาสกิ ขาแลว ขา พเจาวาทง้ั สอง 
เรือ่ งแตงในระหวางบวช (นิราศเมืองเพชรแตง จากวดั เลียบ พ.ศ.  ๒๓๗๔ และนิราศพระ 
ประธมแตงจากวัดเทพธดิ า พ.ศ.  ๒๓๘๔)  สวนนิราศสุพรรณแตง พ.ศ.  ๒๓๗๙ จาก 
วดั เลียบ (ถากอนหรอื หลังก็เพียงปเดียว)  เม่ือกลับมาจากสุพรรณแลวไดเร่ิมจับเร่ืองพระ 
อภัยมณีที่คางมาแตแ ผน ดนิ กอน เร่ืองนี้แตกอนเคยเชื่อวาถวายพระองคเจาลักขณานุคุณ 
(สนิ้ พระชนม  พ.ศ.  ๒๒๗๘)  แตขาพเจา เช่ือวา แตง ถวายกรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ ผูเปน 
เจาพี่จะตองถูกตองกวา ในท่ีน้ีเอาความวา เม่ือกลับจากสุพรรณแลว ในสามประหวาง 
พ.ศ.  ๒๓๘๐-๘๒ สนุ ทรภูอยูทว่ี ัดเลียบ และสามปร ะหวาง พ.ศ.  ๒๓๘๓-๘๕ อยูท ่ี
วดั เทพธดิ า สนุ ทรภูลาบวชในปข าล พ.ศ. ๒๓๘๕ (แตง รําพันพิลาปและเช่ือวาแตงนิราศ 
พระประธมกอนสกึ หนึ่งป อยา งทีบ่ อกไวในรําพนั พิลาปวา  “ปลายปฉ ลูมธี ุระ” 

กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ พระนามเดิมพระองคเจาหญิงวิลาส ทรงเปนลูกเธอใน 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวพระองคท่ี ๓ เปนพระธิดาพระองคใหญในเจาจอม 
มารดาบาง ประสูติเมื่อปมะแม พ.ศ.  ๒๓๕๔ ไดรับสถาปนาเปนเจาตางกรมเมื่อปจอ 
พ.ศ.  ๒๓๘๑ สน้ิ พระชนม  พ.ศ.  ๒๓๘๘ 

พระองคเจาหญิงวิลาสทรงมีพระอนุชารวมเจาจอมมารดา ทรงพระนามพระองค 
เจาลักขณานคุ ณุ  ตามพระนพิ นธส มเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพในเรือ่ งประวัติสุนทร 
ภ ู พระองคเจาลักขณานุคุณไดทรงอุปการะสุนทรภูจนส้ินพระชนมในป  พ.ศ.  ๒๓๗๘ 
สนุ ทรภไู ดแ ตงบทสรรเสริญพระเกียรติถวายเรอ่ื งหน่งึ  ซ่ึงในขณะที่เขียนนี้ยังไมพบฉบับ แล 
ไดแตเร่ืองพระอภัยมณีถวายดว ย ครัน้ เม่ือพระองคเ จา ลกั ขณานุคุณส้ินพระชนม กรมหม่ืน 
อัปสรสดุ าเทพผูเปนเจาพ่ีชะรอยจะไดรับมรดกของเจานอง ไดประทานอุปการะแกสุนทรภู 
ตอ ไป โปรดใหแตง เรื่องพระอภัยมณตี อ ถวายเดอื นละหนึ่งเลม สมดุ ไทย 

ขาพเจาไดเขียนไวขางหนาแลววา เร่ืองของสุนทรภูท่ีเกี่ยวของกับพระองคเจา 
ลักขณานคุ ุณยังมหี ลักฐานนอกเหนอื จากคาํ บอกเลา กันมานอ ยเหลือเกิน ท้ังนมี้ ิใชจะไมเชอื่  
วาไมไดเกี่ยวของเลยก็หามิได เปนเพียงแตวาหลักฐานทางหนังสือควรจะมีมากกวานี้สัก 
หนอ ยจงึ จะงาม สวนที่สนุ ทรภเู กยี่ วขอ งกบั กรมหม่ืนอัปสรสดุ าเทพ นอกเหนือจากที่ผูใหญ 
เลากันมาวาทรงเปน “นายของสุนทรภู”  ยังมีหลักฐานทางอื่นมาประกอบคําของสุนทรภ ู
เอง 

กรมหม่ืนอัปสรสดุ าเทพทรงสรา งวัดเทพธดิ าเม่ือ พ.ศ.  ๒๓๗๙ ผูกพัทธเสมาใน 
พ.ศ.  ๒๓๘๒ (ในเรื่องการสรางวัดเทพธิดานี ้ จดหมายเหตุบางแหงวา พระบาทสมเด็จ

55 

พระน่งั เกลาเจาอยูห วั ทรงสรางประทานแลกรมหมน่ื อัปสรสุดาเทพทรงสละเงินสมทบ พรอ ม 
กนั นั้นไดทรงสรางวัดราชนัดดาประทานพระองคเจาโสนัล ธิดาพระองคเจาลักขณานุคุณ) 
ในปท ีผ่ กู พทั ธเสมานัน้ สุนทรภยู ายจากวัดราชบูรณะไปอยวู ดั เทพธิดา อยูไดสามพรรษาก็ลา 
สึกในปข าล พ.ศ.  ๒๓๘๕ 

ความตอ ไปนีอ้ ยใู นเร่อื ง ยุคกลางในยโุ รป  ของ น.ม.ส.

“ทา วเจา ลมาน” 

เมอื่ เขียนมาถึงตอนที่จะเริ่มเลาเร่ืองพระเจาชาลมาญนี้ก็ชวนใหอยากออกจาก 
ยคุ กลางในยโุ รปมาเมอื งไทยสักพกั หนงึ่  ถา พูดในสว นวรรณคดีของเราจะเรียกบทกลอน 
ของสนุ ทรภูวายุคกลางแหง วรรณคดีไทยก็เห็นจะได สุนทรภูเปนกวีตัวยงมาแตรัชกาลท ่ี

๒ เปนคนโปรดทํานอง  “เนาวรัตนกวี”  นัยหนึ่งพวกที่ประชุมกันแตงกลอนในท่ีประทับ 
พระเจา อยูหวั รชั กาลท ่ี ๒ ไดเคย  “หมอบรบั กับพระจมืน่ ไวย”  เปนตน 

คร้ัน “สิ้นแผนดนิ ส้นิ รสสคุ นธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ”  กลาวอีกอยาง 

หน่ึง คือเมือ่ พนรัชกาลท่ี ๒ มาถึงรชั กาลท่ ี ๓ แลว  สุนทรภูกอ็ บั วาสนา แกเห็นจะไมใช 
คนชนิดท่ีเก็บหอมรอมริบ คร้ันไมไดทําราชการก็ขัดสน มีวิชาอยูเพียงท่ีจะแตงหนังสือ 
ขาย แตร าคาหนงั สอื ที่ขายไดน้ันก็ไมส มู าก กลาวกันวาแตงเรื่องพระอภัยมณีขายถวาย 
เจา นายในวังไดเลมสมดุ ไทยละ ๔ บาท ซึง่ เปนราคาดที ีส่ ุดที่ใครจะขายหนังสือไดในสมัย 
นนั้  สนุ ทรภูจะมคี วามรูท่ัวไปอยางที่เรารูกันในสมัยน้ีก็ไมไดอยูเอง แตแมในรัชกาลท ่ี ๓ 
ก็มฝี รั่งเขา มาอยูเมืองไทยบา งแลว แลมีไทยหนุมๆ ชั้นเจานายแลลูกหลานของขุนนาง 
ผูใหญหลายคนเรียนภาษาฝรั่งจนพูดไดอานไดเขียนไดแลคงจะรูเรื่องฝร่ังนํามาเลากัน 

บาง สุนทรภูในรัชกาลท ี่ ๓ อาศัยอยูในสํานักพวก “สมัยใหม”  คือพวกรูภาษาฝร่ังใน 

เวลานน้ั  
สุนทรภูอับวาสนาลงในทันใดเมื่อ พ.ศ.  ๒๓๖๗ ดวยสิ้นแผนดินสิ้นรสสุ 

คนธาลงในปน้ันซึ่งตรงกับ ค.ศ.  ๑๘๒๔ ตอนั้นมาอีก ๑๓ ป ค.ศ.  ๑๘๓๗ กวีน 
วิกตอเรียไดเถลิงราชสมบัติอังกฤษ ความทราบมาถึงเมืองไทยตลอดจนสุนทรภู แกจึง 
แตง เรือ่ งนางลเวงเปนเจา แผนดนิ เกาะลงั กาซ่ึงแกเรยี กวา องั กฤษ เราไมทราบวาสุนทรภู 
ไดเริ่มแตง เรื่องพระอภยั มณีเม่ือไร แตก วีนวิกตอเรียเสวยราชยอังกฤษในปท่ี ๑๓ แหง 
รชั กาลที ่ ๓ ของเรา และไดท รงววิ าหกับเจา ชายเยอรมันใน ค.ศ.  ๑๘๔๐ ในเร่ืองพระ 
อภัยมณีนางลเวงหาไดวิวาหก บั เจาฝรง่ั ไม  จึงนาเขาใจสุนทรภูจะไดเร่ิมแตงพระอภัยมณี 
ระหวางปที่กวีนวิกตอเรียเสวยราชยกับปท ่ีทรงววิ าห หรือถาหลังปทรงววิ าหมาก็คงจะไม 
นาน เพราะขาวววิ าหคงจะทราบมาถึงเมืองไทยเหมอื นกัน 

เนือ้ เรือ่ งพระอภัยมณีเปน เรื่องซ่งึ สนุ ทรภูผ กู ขึน้ เอง เพราะนอกจากที่เจาแผนดิน 
อังกฤษเปน สตรีแลวก็ไมมีอะไรอีก แตสุนทรภูอาจรูเรื่องฝร่ังเล็กๆ นอยๆ เก็บเอานาม

56 

ในวรรณคดียุโรปมาแกใหเพ้ียนไปเล็กๆ นอยๆ แลวใชในเร่ืองพระอภัยมณีก็เปนได ท่ ี
กลา วเชนนี้ก็เพราะเจาลมานในพระอภัยมณีน้ันเสียงคลายชาลมาญนัก แตเจา  ลมาน 
เปน เจากรุงยกั ษค ุมทพั ยกั ษมกั กะสันมาชว ยนางลเวงรบพระอภยั  ฤทธ์ิเดชของเจาลมาน 
กด็ ูทจี ะไมนอ ย แตทนเสยี งปข องพระอภัยไมไ ด กห็ ลับอยูในสมรภมู ิ 

เรื่องราวในหนงั สอื ฝรั่งที่เน่อื งแตพระเจา ชาลมาญนั้น ไมเคยเห็นใครนํามาเขียน 
ในหนงั สอื ไทย แตไทยเรากค็ งจะทราบนามเจา กรุงปารีสองคน้นั กนั มานาน  จึงทําใหนา 
สงสัยวาเจาลมานของสุนทรภูเ ปน ช่ือซง่ึ เพยี้ นมาจากชาลมาญ 

(จบความจากยุคกลางในยุโรป) 

นอกจากกวีนวิกตอเรียจะมาเปนนางลเวงในเร่ืองพระอภัยมณ ี แลพระเจาชาล 
มาญจากเร่อื งยุคกลางในยุโรป จะเปนทาวเจาลมาน ยังมีฝรั่งอีกคนหน่ึงในประวัติศาสตร 
อินเดีย ชือ่  วอเรน เฮสติงส  ซึง่ เสียงคลา ยอุสเรนในเรอ่ื งเหลอื เกิน วอเรน เฮลติงส  ผ ู
น้ีมีบทบาทสําคัญพอๆ  กับลอรด ไคลว  ในการที่อังกฤษไดอินเดียเปนเมืองข้ึน 
สนุ ทรภูคงจะไดยินสองชือ่ น้ีเม่อื เลากันถงึ เรือ่ งเมืองอนิ เดีย วอเรน เฮลตงิ ส แปลงเสียงเปน 
กลอนได  แตลอรด  ไคลว  เตม็ ทีหนอ ยเสียงเขาสัมผัสยากเหลือเกิน  เลยไมไดมาเปน 
ตวั ละครของสนุ ทรภู 

อยางไรกต็ าม ถา จะเชื่อวาสนุ ทรภูไดคิดนางลเวงข้นึ จากกวนี วกิ ตอเรีย แลจับเร่ือง 
แตงตอจากที่คางไวในแผนดินกอนในระหวางกวีนวิกตอเรียเสวยราชยและเมื่อทรงวิวาห 
(ระหวาง พ.ศ. ๒๓๘๐–๘๓)  เราก็อาจเชื่อไดอีกข้ันหนึ่งวา แตงถวายกรมหม่ืนอัปสร 
สุดาเทพ ไมใชพระองคเ จาลักขณานุคุณอยางที่เขาใจกันมาแตกอน  (เพราะสิ้นพระชนม 
แต  พ.ศ.  ๒๓๗๘)  คงจะไดเรม่ิ ตงั้ แตอยวู ดั ราชบรู ณะ  แลวไปตออีกเม่ือยายไปอยู 
วัดเทพธิดา 

ถามวา  มอี ะไรในบทของสุนทรภูยนื ยนั บา งไหม?  ตอบวามีแตบางเตม็ ท ี กลอน 
ตอนฤษีทเ่ี กาะแกวพิสดารบอกกับสุดสาครวา 

บิดาเจา เหลากอหนอกษัตริย 
บรุ รี ตั นพ ลัดพรากจากสถาน 
มาถึงกูอยศู าลานช้ี า นาน 
พง่ึ โดยสารไปบรุ เี มื่อปจ อ 
ประเด๋ยี วนีป้ ช วดฉศกแลว  
เกิดหลานแกว สามปเขานีห่ นอ 
แลว บอกความนามกรทั้งเหลา กอ 
แตช อื่ พอชือ่ พระอภัยมณฯี

57 

ปจอตรงกับ พ.ศ.  ๒๓๘๐  ปชวด พ.ศ.  ๒๓๘๓ ปชวดฉศกตรงกับ พ.ศ. 
อะไรไมทราบ แตไมอยูในชีวิตสุนทรภู  ถาจะวาใหตรงตามศักราชปชวด  พ.ศ. 

๒๓๘๓  สุนทรภกู ็จะตอ งแตง กลอนวา  “ประเด๋ียวนี้ปชวดโทศกแลว”  ซึ่งไมเปนเสียง 

กลอนท่ดี ี  จึงเขาใจวา สนุ ทรภูเปลี่ยนศกเสียใหมใ หรนื่ ห ู

สุนทรภูแตงพระอภัยมณีอยูหลายป  แลถึงแมเจานายชาววังจะ  “ติดจนงอม” 

เจา ตวั ก็อาจเบือ่   จงึ ยักไปแตง เรื่องสิงหไตรภพ  ซ่ึงคางมาแตแผนดินกอนเชนเดียวกัน 
แตเรือ่ งน้เี ขาใจวากรมหมื่นอัปสรสุดาเทพจะไมโปรด  จึงรับส่ังใหสุนทรภูกลับไปตอเร่ือง 
พระอภัยมณี  ตามพระนพิ นธสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ  ทรงสันนิษฐานวา 
เรื่องในตอนหลังๆ  (คือตอจากฉบบั หอสมดุ ฯ อีกประมาณเทาตัว)  สุนทรภูใชใหลูกศิษย 

แตงแทน  ลูกศิษยเหลาน้ันจะเปนใครบางไมทราบ คงจะเปนพวก  “เณรหนูกลั่น” 

เสมียนมี ฯลฯ  แตนอกเหนือจากสองคนน้ีแลวไมปรากฏช่ือศิษยของสุนทรภูวาเปนนัก 
กลอน  แตค งจะมีไมนอ ยทเี ดียว 

คร้งั หน่งึ สนุ ทรภูกาํ ลังนง่ั เขียนกลอนอย ู เกิดมีนักเลงดีเดินผานบานเกิดอารมณ 
สนกุ ขึน้ มาอยา งไรกไ็ มทราบ  หยบิ ไดกอนอิฐกอนหน่ึงก็ขวางไปที่บานสุนทรภ ู สุนทรภู 

ตกใจอุทานออกมาวา  “เฮยไอภ ู กําลังน่ังคิดกลอนลงนอนเขลง  คิดตอนพระอภัย 
เกี้ยวละเวง  พออิฐปาฝาเปง-กต็ กใจ!” 

ถาจะเชือ่ วาเรื่องน้เี ปนจริง กต็ อ งเชือ่ วา เร่ืองพระอภัยมณีตอนนางละเวง  แตง ใน 
ระหวา งที่ไมไดบวชเปนพระ  ซงึ่ ไมตรงกับทขี่ า พเจาเขยี นไวข างบนเร่ืองเดียวกันนี้  ยังมี 
เลาอยใู นหนงั สือจนิ ตนาการของสุนทรภ ู ของ คณุ เสง่ยี ม  คุมพวาส  วา 

อีกเร่ืองหนึ่งเลากันวา  ขณะท่ีทานกวีเอกดื่มน้ําอมฤตพอไดขนาดก็มักนอน 
เอกเขนก  หรอื ขาไขวหางวากลอนลั่นบาน  ซ่ึงใครจะฟงหรือไมฟงไมสนใจ  ขอใหได 
วากลอน เลนพอเพ ลินอารมณก็พอใจแ ลว  แตครั้งนี้เ กิดเสีย งดังมา กไปจน คน ขาง บา น 
รําคาญก็เอาอฐิ ประเคนฝาบานปง เขาให  รอนถึงยายนยั วาไมใชยายตวั   แตเ คยเล้ียงมา 
ไดยินคนขา งบานเอาอฐิ ทมุ ก็โกรธสุนทรภู  จึงเกิดโตค ารมกับทานจอมกวีเอกขนึ้   เพราะ 
สาเหตทุ อ งกลอนวา 

“สุนทรภูครูเฒานอนเฉาเฉง  มือกายหนาผากไขวขารองวาเพลง”  พอถึง 
ตอนนี้ก็พอดอี ิฐลอยมากระทบฝาบา นปง เขา  สนุ ทรภูกเ็ ลยวากลอนตอ ไปวา   “เสยี งอฐิ ปาฝา 
เปงสะเทือนไป”  ฝายยายอยูในครัวไดยินคนขวางเพราะรําคาญเสียงสุนทรภู  ก็รอง 
ตะโกนออกไปวา  “อายภูนะอายภ ู มึงไมรูจักอะไรเสียมั่งเลย  ชาวบานเขารําคาญร ู
ไหม”  สุนทรภูก็ตอเปนกลอนออกไปอีกวา  “วาหรือไมวากูรูอยูเต็มจิตต”  ยายก็สง 
เสียงออกมาดวยความโมโหอีกวา  “มึงจะเกรงกลัวใครมั่งไมมีเลย”  สุนทรภูก็ตอเปน 
กลอนไปอีกวา “จะเกรงกลวั สักนิดก็หาไม ”  ยายอดทนตอ คาํ ลอเลียนของสนุ ทรภูไมไหว ก็

58 

ออกปากไลใ หไ ปอยทู อี่ น่ื  “ไปนะอา ยภ ู มึงไปใหพน ใครจะวาจะดาไมนําพาเสียเลย”  แทนที ่
ทานจะสงบกลับตอบไปเปนกลอนอีกวา  “ภูหรือไมภูกูไมไป ใครวาชางใครไมนําพา” 

รวมความวาเรอื่ งน้เี ปนคาํ กลอนขน้ึ มาไดด ังน ้ี

“สุนทรภูค รเู ฒา นอนเฉาเฉง 

มือกา ยหนาผากไขวขารอ งวาเพลง 
เสียงอฐิ ปาฝาเปง สะเทือนไป 
ภูหรอื ไมภ ูกรู อู ยูเต็มจิตต 
จะกลวั เกรงสกั นิดก็หาไม 
ภหู รอื ไมภ กู ไ็ มไ ป 

ใครวาชางใครไมน าํ พา” 

ความวา  เหตกุ ารณข า งบนนเ้ี ปน เรอ่ื งในสมัยรัชกาลที่  ๒  ในระยะท่ีสุนทรภู 
ยงั หนุม แนน และโปรดน้ําอมฤต  เสียแตใ นกลอนเรยี กตวั เองวา   “สุนทรภูครูเฒา”  แต 
ก็ยังมียายมีชีวิตรวมบานเดียวกัน  อยางไรก็ด ี คุณเสงี่ยมไดแถมทายวา  “เท็จจริง 
อยกู บั ผูเลา  แตไ ดย ินมาจากหลายปาก  จงึ นาํ มาเลาสกู นั ฟง” 

เม่ือสนุ ทรภสู ึกแลวไดไปพึ่งพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว  (ขณะนั้นดํารง 
พระยศเปน สมเด็จเจาฟากรมขนุ อิศเรศรงั สรรค)  

พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลา ฯ พระนามเดิมเจาฟา จฑุ ามณี (แตเรียกกันเปนสามัญ 
วา เจา ฟานอย)  ทรงเปน ลกู เธอพระองคท่ ี ๕๐  ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา 
นภาลัย  สมเดจ็ พระศรสี รุ ิเยนทรเ ปนพระราชชนนี  สมภพเม่ือ  พ.ศ.  ๒๓๕๑ 

เมอื่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาฯ  สวรรคตใน  พ.ศ.  ๒๓๖๗  เจา 
ฟานอยไดเสด็จไปประทับท่ีพระราชวังเดิมธนบุรี  พรอมดวยสมเด็จพระศรีสุริเยนทร 
สวนเจาฟา มงกุฎ  ผเู ปนเจา พกี่ ําลงั ทรงผนวช 

บริเวณพระราชวังเดิมในสมัยนั้นเปนเกาะมีนํ้าลอมรอบ  คือแมนํ้าเจาพระยา 
ดานหนา   คลองบางหลวงดานหนึ่งถงึ สดุ เขตวัดทา ยตลาด  มปี อ มวิชัยประสิทธิ์อยูท่ีมุม 
แมน้ํา  คลองวดั ทา ยตลาดอยูดา นหลัง  คลองน้ีผา นหลงั วดั แจง   ตลอดจนบา นขมน้ิ ไป 
ออกคลองบางกอกนอย  หลังวัดอมรินทร  สวนบริเวณวังดานที่ส่ี  คือคลองวัดแจง 
ค่ันวัดแลวงั จากแมน าํ้ ถงึ คลองวัดทายตลาด  ซง่ึ ในสมยั นั้นคลองในตอนนเ้ี รียกช่อื ทางการ 
วา คลองนครบาล 

ตลอดระยะทางดานยาวจากวัดทายตลาดถึงคลองวัดแจง  มีกําแพงขนานกับ 
แมนาํ้ แลคลองนครบาล  เขตประทบั ของเจาฟา นอยอยูด า นหนา  คือที่ตกแมน้ํา  สวน 
ดานหลงั ตกคลองวดั ทา ยตลาด  นอกกําแพงเปนเขตท่ีขุนนางของพระองคทานอย ู ใน

59 

จาํ พวกขนุ นางเหลานัน้ ท่ีสําคญั ท่ีสดุ   คอื พระยามณเฑียรบาล  (บัว)  ผูเปนพระพี่เล้ียง 
เจาฟา นอยมาแตทรงยังพระเยาว  และเปนกรมวังของพระองคทาน  เม่ือสุนทรภูสึกไป 
พงึ่ เจาฟา นอ ยไดไปอยกู ับพระยามณเฑยี รบาล (บัว) 

ความตอ ไปน้อี ยใู นคํานําหนังสอื ประชมุ ปาฐกถา  เลม   ๑  พระนิพนธกรมหม่ืน 
พิทยาลงกรณ 

“พระยามณเฑียรบาล (บวั )  เปนขาหลวงเดิม  แกกวาพระบาทสมเดจ็ พระจอม 

เกลาเจา อยหู ัวสิบสองป  เคยเชญิ เสดจ็ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา ฯ เม่อื ยงั ทรงพระเยาว 
แลเปน พระพ่ีเลยี้ งของพระบาทสมเด็จพระปนเกลาฯ ดวย  ครน้ั พระบาทสมเด็จพระปน เกลา  
ฯ ทรงพระจําเริญแลว  พระพี่เลี้ยงบัวไดเปนจางวาง  แตย่ิงกวาจางวางเปนนายวังคลัง 
เสร็จ  พระบาทสมเด็จพระปนเกลาฯ ไมทรงระแวงเลยวาเงินอาจไมมีพอทรงใช  จึงมี 
เวลาขาดแคลนบอ ยๆ  ในรชั กาลที่ ๓ ฐานะของพระองคไมเหมือนในรัชกาลท ี่ ๒ แลท ่ี
๔  ถงึ จะมีสวยสาอากรขึ้นอยางเจานายอ่ืนๆ  แลคงจะไมถึงขนแคน  เพราะมีทรัพย 
สมบัติสวนพระราชชนนีแลสวนพระองคท่ีมีอยูแลว  แลไดมาโดยตําแหนงที่มีราชการเปน 
ผใู หญอยูใ นแผน ดินกจ็ รงิ   ถงึ กระน้นั ยังมเี วลาเงนิ ขาดวัง  จางวางบวั ก็ตองออกเที่ยว 
ขวนขวายเก็บภาษีอากรลวงหนา  หรือหยิบยืมในที่ตางๆ ในนามของจางวางบัวเอง 
เอาเงินมาทดรองใชในราชการของเจา  ถาตองกูหนี้เมื่อไดเงินอ่ืนมาก็จัดการใชไปเสร็จ 
พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาฯ  ไมทรงทราบ  แลไมใฝพ ระหทยั ทจ่ี ะไตถ ามเลย 

“ในรัชกาลที ่ ๔  พระยามณเฑียรบาล  (บัว)  วาราชการกรมวังวังหนา  แต 

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา ฯ  พระราชทานพานทองไปแตวงั หลวง  เพราะทรงคุนเคย 
โปรดปรานมาแตกอน  พระยามณเฑียรบาลเปนขนุ นางวังหนา กจ็ รงิ   แตเ ปน คนโปรดวงั  
หลวง  มีตําแหนงเฝาไดเหมือนขุนนางวังหลวงอีกสวนหนึ่ง  บางคราวมีราชการ 
เก่ียวกับวังหนา  พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ  มีพระบรมราชโองการใหหาพระยา 
มณเฑียรบาลไปเฝา  หรือมีพระราชหัตถเลขาถึงก็ม ี พระยามณเฑียรบาลเคยเลาวา 
บางคราววังหลวงรับส่ังใหหา  คร้ันไปเฝาแลวกลับไปวังหนาจะนําความไปทูล  เสด็จ 
ออกอยูท องพระโรง  ครนั้ ทอดพระเนตรเหน็ พระยามณเฑียรบาลเขาไปก็เสด็จลงจากพระ 
ราชอาสนท รดุ พระองคล งหมอบแปน   ตรสั บยุ ใบบ อกขา ราชการวา ผูมบี ุณคนโปรดเจาชีวิต 
เขามา  ตองแสดงเคารพใหสมเกียรต ิ ตอเมื่อพระยามณเฑียรบาลคลานเขาไปถึงจะ 
กราบทลู เร่อื งราชการ  จงึ ทรงพระสรวลเสดจ็ กลบั ขึน้ พระแทน  

“ราชการกรมวังในวังหนานั้น  พระยามณเฑยี รบาลเปน ผูสิทธข์ิ าด เรียกกนั วา เจา  

คณุ ผูเฒา  เขาออกวังในไดไ มว า กลางวนั กลางคืน  ไมตองมีโขลนจาควบคุม  ไปเย่ียม 

เยียนตามตําหนักเจานายแลตามเรือนเจาจอมหมอมหามไดทุกแหง  เปน  ‘คุณตา’ 

ของเจา นายลูกเธอโดยมาก 

“พระยามณเฑียรบาล  (บัว)  มีชีวิตตอมาจนขาพเจารูจักอาย ุ ๙๐  ปเศษ

แลวยังไมเห็นเปนคนแกทรุดโทรม  โรคภัยไมมี  จนในท่ีสุดเม่ือตายก็ไมปวย  60 

กลางคืนก็ตายไปเฉยๆ” นอน 
(จบความจากประชมุ ปาฐกถา) 

พระยามณเฑยี รบาล  (บวั )  มีภรรยา  ๒ คน คนท ี่ ๒ เปน ขาของสมเด็จพระศร ี
สรุ เิ ยนทรพระราชทาน  มีบุตรธิดาดวยกัน  ๕  คน  คนท่ ี ๓  เปนหญิงชื่อลโว 
ท ่ี ๔  ไดเปน พระยาเสนาภูเบศร  (ใส  สโรบล)  แลคนสุดทองชื่อสาน  รับราชการ 
ฝายในในพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว  เปนเจาจอมมารดาของพระองคเจา 

หญิงวรพักตร 
สว นธิดาทช่ี ื่อลโวเปนภริยาของนายสุดจินดา  (พลอย  ชูโต)  มีบุตร ๓  คน 

ธิดา ๑  ช่ือ เล่ียม  (เล็ก)  รับราชการฝายในกรมพระราชวังบวร  บวรวิชัยชาญ 
เปนเจาจอมมารดาของพระองคเจาหญิงภัทรวด ี ศรีราชธิดา  แลพระองคเจาชาย 
รชั นแี จมจรัส  (กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ)  นอกจากน้ันนายสุดจินดา  (พลอย)  ยังมี 
ธิดากับภริยาเกาคนหน่ึงช่ือ  เปลี่ยน  เปนทานผูหญิงภาสกรวงศ  (พร  บุนนาค) 
ธิดา ๒ คนของนายสุดจินดา (พลอย)  คือ ยาและยายตัวของขาพเจาเปน “หลานสาว” 
บา นพระยามณเฑียรบาล (บวั )  อนง่ึ กรมหมืน่ พทิ ยาลงกรณ เมือ่ เสดจ็ ออกจากวังหนาแลว 
กไ็ ดไปประทับที่บานนัน้ กอ นเสด็จไปเมืองนอกแลหลังเสด็จกลับใหมๆ บานน้ันในปจจุบันใช 

เปนท่โี รงเรียนนายเรือ 

ยอนกลา วถงึ ประวัติสุนทรภู ท่ีวาเมื่อสึกแลวไดไปพ่ึงพระบาทสมเด็จพระปนเกลา 
เจา อยหู วั  อยูท่ีบา นพระยามณเฑียรบาล (บวั )  นั้น มีเลาอยูในคํานําหนังสือบทละครเรื่อง 
เทพวิไล  ของพระยาเสนาภเู บศร (ใส) (คาํ นาํ เปนพระนพิ นธ กรมหม่ืนพทิ ยาลงกรณ)

“อนง่ึ ควรจะกลาวอกี อยางหนึ่งวา สุนทรภูเ ปน ขา พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลา เคย 
มสี าํ นักอยูท่ีบานพระยามณเฑยี รบาล (บัว)  แลนายพัด บุตรสุนทรภู (‘หนูพัด’  ในนิราศวัด 
เจาฟา )  ก็เคยอยูหอ งขางหอนงั่ ในบานนั้นตลอดมาจนตาย” 

เร่ืองเดียวกันน้ีท่ีวาสุนทรภูไปอยูกับพระยามณเฑียรบาล (บัว)  ยังมีเลาใน 

ภาคผนวกหนังสอื สามกรุง  วา “ท่ีหอน่ังหลังใหญของทวดขาพเจาผูเปนพระพ่ีเล้ียงมาแต 

ยงั ทรงพระเยาว  มฝี าเฟยมกัน้ ทเี่ ฉลียงดานกวา งเปน หอ งๆ หนง่ึ ซ่ึงญาติของขา พเจาที่บาน 

น้นั บอกวา เปน หอ งสนุ ทรภ ู และนายพัดบตุ รสนุ ทรภอู ยตู อมา” 

ถึงรัชกาลท่ ี ๔ (พ.ศ.  ๒๓๙๔)  เจาฟานอยไดรับสถาปนาเปนพระบาทสมเด็จ 
พระปน เกลาเจาอยูหัว เสด็จยายจากพระราชวงั เดิมไปประทับที่พระราชวังบวรสถานมงคล 

สวนพระราชวงั เดิม ซ่งึ เปนวังสาํ คัญอันดบั  ๓ ในแผนดนิ  โปรดเกลาฯ ใหก รมหลวงวงศาธ ิ
ราชสนิทยายไปประทับ พระยามณเฑียรบาล (บัว)  มิไดยายขามฟากตามเสด็จ 
พระบาทสมเด็จพระปนเกลาฯ มาดวย สวนสุนทรภูซึ่งทรงตั้งเปนพระสุนทรโวหาร

61 

อาลักษณฝายกรมพระราชวังบวรฯ ก็ยังคงอยูที่บานพระยามณเฑียรบาลตอไปจนถึง 
อนิจกรรมใน พ.ศ.  ๒๓๙๘ สริ ิชนมายุ ๗๐ ป 

งานเบ็ดเตล็ดของสุนทรภู 
รูแลวอยาเอ็ดไป 

กาพยล าํ นําแลกาพยเหกลอม 
เมอ่ื สุนทรภูบวชอยูทว่ี ดั เทพธดิ า ไดแตง กาพยลํานําเปนนิทานอานเทียบเร่ือง พระ 
ไชยสรุ ยิ า  ซ่ึงพระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย)  นํามาพิมพไวในหนังสือเรียนมูลบทบรรพกิจ 
สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ในเร่ืองประวัติสุนทรภ ู รับสั่งวาพระยาธรรมปรีชา 
(บญุ )  ซงึ่ บวชอยูท่วี ดั เทพธดิ าพรอมกบั สนุ ทรภูเ ลา ถวายวา สนุ ทรภแู ตง เรื่องน้ที ่ีวัดน้ัน 
ในขณะท่ีสุนทรภูอยูที่วัดเทพธิดาไมนาจะมีลูกศิษยเด็กๆ ขนาดเรียน กอ ขอ กอ 
กา (มีก็แตลูกศิษยนักกลอน)  คุณฉันท ขําวิไล จึงสันนิษฐานวาสุนทรภูแตงเมื่ออยูเมือง 
เพชรฯ กอนเขารบั ราชการ จริงอยูส มเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงฯ คงจะมิไดทรงสนพระทัยใน 
เรื่องสุนทรภูเทาไรนักเม่ือยังทรงมีโอกาสสืบถามขอความตางๆ จากพระยาธรรมปรีชา 
(บุญ)  ได มฉิ ะนั้นก็คงจะไดต รัสถามวา สุนทรภเู ปน คนชนดิ ไหน มีรูปรา งสงู โยง โตใหญ หรือ 
ตา่ํ เตย้ี  หนาตาขาวดําแดงอยา งไร เพง่ิ จะไดม าสนพระทัยอยางจรงิ จงั เมอ่ื ทรงจับเขียนเรื่อง 
ของสนุ ทรภ ู หมดโอกาสท่จี ะสอบถามไดท้ังจากพระยาธรรมปรีชา (บุญ)  แลสมเด็จเจาฟา 
กรมพระยาบาํ ราบปรปก ษ  (เจาฟา กลางผูเปน ลูกศษิ ย)   ทง้ั น้เี ปนที่นาเสียดาย แตถึงกระน้ัน 
ก็ไมนาเชอ่ื คําทีพ่ ระยาธรรมปรีชาทูลเรื่องสุนทรภูแตงนิทานเรื่องพระไชยสุริยา  เม่ืออยูวัด 

เทพธดิ า ขอความบางอยา ง เชน นํา้ ทว มเมอื่  “นา้ํ ปา เขาธาน”ี   ดจู ะบงถงึ นา้ํ ทว มครั้งใหญใน 

รัชกาลที ่ ๓ 
นิทานเรือ่ งนจี้ ะแตงข้นึ เพือ่ เตรียมสกึ ออกไปสอนหนังสือลูกเธอในเจาฟานอย หรือ 

จะมีใครขอรองใหแตง เปน เรอื่ งที่ขา พเจาไมท ราบ ในประมาณระยะเวลาเดียวกันยังมีเร่ือง 
อานเทยี บเกิดขน้ึ อกี เร่ืองหน่งึ  คอื  ปถมมาลา ซึ่งพระเทพโมฬ ี (ผ้ึงหรือพึ่ง)  เปนผแู ตง 

นอกจากกาพยลํานําเร่ืองพระไชยสุริยา  สุนทรภูยังไดแตงกาพยเหกลอมพระ 
บรรทม  ไวอ กี ส่เี ร่ือง สมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานุภาพรบั สง่ั วา โอกาสที่จะแตง ดูจะมสี าม 
ระยะ คือในรัชกาลท่ี ๒,  เม่ืออยูในอุปการะของพระองคเจาลักขณานุคุณ,  แลเม่ืออยูกับ 
เจาฟานอ ย ถาจะเดาวาเรื่อง เหจับระบํา เหเรื่องกากี แลเรื่องโคบุตร แตงในรัชกาลที่ ๒ 
เหเร่อื งพระอภัยมณีแตงเมื่อสึกแลว ก็คงไมผิด หรือถาจะวาเรื่องหลังแตงถวายกรมหม่ืน 
อปั สรสุดาเทพสําหรบั กลอมบรรทม หมอมเจา โสมนัสธิดาพระองคเจาลักขณานุคุณก็ดูจะดี 
ขนึ้ อกี  พระองคเ จา ลกั ขณานุคุณส้ินพระชนมเ มอ่ื ประสูติหมอมเจาโสมนัสไมถึงป กรมหม่ืน

62 

อปั สรสุดาเทพผเู ปน ปา ทรงรบั ไปเล้ียงตอ 
จะอยางไรก็ตาม เร่ืองพระไชยสุริยา  ใชเปนบทเรียนหัดอาน ก ข จนกระท่ังเม่ือ 

เร็วๆ น้ี สวนเหกลอมบรรทมใชกลอมลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว 
ตลอดรชั กาลที ่ ๔ 

อภัยนรุ าช 
ในหนังสือพิมพวิทยาสาร ปท ี่ ๗  ฉบับที่  ๖  ลงวันที ่ ๑๕  ธันวาคม พ.ศ. 

๒๔๙๘ ขาพเจาไดเขียนเร่ือง “อานวรรณคดีดวยหู”  โดยยกกลอนเก่ียวกับ  “เขายอม 
เปรียบเทยี บความวา ยามรกั   แตนาํ้ ผักตม ขมชมวาหวาน”  มาลงสามทอน คือ 

ตัวอยา งท ่ี ๑ 
นางคมคอนออ นโอฐวาโปรดเกลา 

พระคณุ เทาดินฟา ชลาไหล 
แตน องนี้วติ กในอกใจ 
กลัวจะไมเหมือนรสพจมาน 
เขายอมเปรียบเทยี บความวายามรกั  
แตนาํ้ ผกั ตม ขมชมวาหวาน 
ครั้นจดื จางหา งเหนิ ไปเน่ินนาน 
แตน้ําตาลกว็ า เปรี้ยวไมเหลยี วแล 
ดว ยโอรสอนชุ าเขามารับ 
กลวั จะกลับทิ้งขวางไปหางแห 
อันอารมณลมหวนมกั ปรวนแปร 
จะขอแตค าํ มั่นทีส่ ญั ญา 
จะจากกันวนั ใดอยา ไปเปลา 
ชว ยตัดเกลานอ งใหขาดเหมอื นปรารถนา 
จะใหพ นทนทเุ รศเวทนา 
แลวผา นฟา จึงไปตามความสบายฯ 

พระแยมย้ิมพรม้ิ เพราวาเจาพ่ ี
ไมห นา ยหนีนชุ นาฏอยามาดหมาย 
ซ่ึงส่ิงใดไดรบั ไมก ลับกลาย 
จะเปน ตายอยางไรไมไ กลกัน 
ถึงแกก กงกเง่ินเดนิ ไมรอด 
จะสูกอดแกวตาจนอาสัญ

63 

ซง่ึ พระนอ งกองทัพมารบั นน้ั  
ถึงผกู พนั พวนลากไมอยากไปฯ 

ตวั อยา งที ่ ๒ 
เม่อื นัน้  

จนิ ตะหราวาตีศรีใส 
ทงั้ รักทัง้ แคนแนน ฤทยั  
นางทรามวยั วันทาแลว พาท ี
ไมลืมคณุ ทูลกระหมอมชบุ ยอ มเลี้ยง 
ไดชอ่ื เสียงสมคะเนมเหสี 
ไฉนพระจะมาใหฆา ต ี
นองไมมขี อเคอื งดวยเรอ่ื งไร 
ฤามผี ูรูเหน็ เปน โจทก 
ทลู กลา วโทษวา นองทําไฉน 
ซึ่งทรงธรรมส ัญญาวาไว 
เลา ก็ไมมีผดิ สักนดิ เลย 
แตนอ งรกั ศกั ด์ติ ่ําเหมอื นนาํ้ มาก 
ขน้ึ ทวมปากสดุ ทีจ่ ะทูลเฉลย 
อยา ลบู หลงั ซังตายภิปรายเปรย 
นอ งกเ็ คยเปนขามาชา นาน 
เหมือนเขาเปรยี บเทยี บความเมอื่ ยามรัก 
แตน า้ํ ผักตมขมกช็ มหวาน 
ถึงยามยืดจดื กรอ ยทัง้ ออยตาล 
เคยโปรดปรานเปรีย้ วเค็มรเู ตม็ ใจ 
ขออยเู ปนขาฝา พระบาท 
ไมแ ขงวาสนาหามไิ ด 
เสดจ็ มาชา อยูแมนรูไป 
จะเคอื งใจพระนอ งจะหมองมวั  
ดว ยแรกเรมิ่ เดมิ พระสละเสีย 
มใิ ชเ มียแลว จะวิ่งมาชงิ ผัว 
เหน็ สงู ศกั ดิ์นกั นองจงึ ตอ งกลวั  
จะฝากตัวตามประสาเปน ขา ไท 
แตหนหลังพลั้งพลาดประมาทจิต

64 

จงึ ตองผิดเพียงวาเลือดตาไหล 
แมน มิจําตําราขางหนา ไป 
จะซ้ําไดค วามอายเพียงวายปราณฯ 

ตัวอยา งท ่ี ๓ 
ครั้นถึงจ่งึ ประทบั เกยทอง 

พระประคองเทวศี รสี าหง 
นาํ ดําเนนิ เดนิ เรยี งเคยี งองค 
เสดจ็ ตรงเขา ยงั วงั ในฯ 

ขน้ึ บนมณเฑยี รเขยี นผนัง 
ใหน างนั่งแทนทองผองใส 
พศิ วงหลงลืมปลืม้ ใจ 
เฝา ลูบไลเลา โลมนางโฉมยงฯ 

นอ งรัก 
ผอ งพกั ตรลกั ขณาศรสี าหง 
เจางามเหมือนเดอื นแรมแจมวง 
ซวดทรงพริง้ พรอ มกลอมกลม 
เจาอยูไ กรลาสวาสนา 
จาํ เพาะพามาพบประสบสม 
จะเลา โลมโฉมหอมถนอมชม 
ชื่นอารมณร วมจติ สนทิ ใน 
อยา เมินเมียงเอียงอายสายสมร 
จงโอนออ นผอนจิตพสิ มยั  
พลางขยับจบั ตองลองใจ 
นางปดกรคอ นใหไ มใ ยดี 
พระแนบนางพลางวานิจานอ ง 
เฝา ขัดของปองกนั ผินผันหนี 
นางพลิกผลกั หนกั หนว งทําทว งที 
พระหยอกเยาเซาซ้ีปรีดาฯ 

ทรงศักด์ ิ
อยารุกรานหาญหกั นกั หนา 
นอ งอุตสา หพ ยายามตามมา 
จะขอเปนเชนขาฝาละออง

65 

ดว ยเกินสาวคราวแกแพผ ม 
ไมค วรคชู ูชมสมสอง 
ท่รี นุ ราวชาวเมืองเนอื งนอง 
อันรปู รา งอยา งนอ งไมตอ งการ 
เหมือนเขาเปรียบเทยี บความเม่อื ยามรัก 

นา้ํ ผักตม ขมก็ชมหวาน 
เมอ่ื จืดจางหางเหนิ เนนิ่ นาน 
แตนาํ้ ตาลวา เปรี้ยวไมเหลยี วด ู

ขอสนองรองบาทเหมอื นมาดหมาย 
อยา ดว นไดใ หอ ายอดสู 
ราชกจิ ผดิ ชอบไมรอบรู 
พระภูวนยั ไดเ มตตาฯ 

ในสามตวั อยา งนี้ ไดขอใหพิจารณาวา  
ก)  อยใู นเรอื่ งอะไร ตรงไหน 
ข)  ทัง้ สามตอน เปน ของสนุ ทรภูหรือไมใ ช?  ถาใช  เปน ทง้ั ตอนหรือเปนบางสวน 
ค)  ถา มีสวนหรอื ตอนท่ีไมใชของสนุ ทรภ ู ใครเปนผแู ตง 
ทา นบรรณาธกิ ารวิทยาสารเห็นสนกุ ดวยกับการเลน  “ทายซิเอย”  นี้จึงประกาศวา 

ถา ใครทายถูกจะมีรางวัลให  วิทยาสารเปน หนังสอื  ซึ่งสมาชกิ สวนมากเปน ครู มีประกวดทไี ร 

มกั ตอบเขามามากๆ แตใ นครานี้เขาใจวาไมม เี ลยสกั รายเดยี ว ฉะนนั้ จะขอแกเสียนะทน่ี ี ้
๑. ตัวอยางท ี่ ๑ อยูใ นเรอื่ งพระอภยั มณ ี ท ี่ ๒ อยใู นบทละครพระราชนิพนธ   ร. 

๒ เรอื่ งอิเหนา  ท่ ี ๓ อยูในบทละครเรอื่ งอภยั นรุ าช 
๒. สวนในเรื่องผูแ ตง ถอื ตามพระนิพนธสมเดจ็ กรมพระยาดํารงราชานุภาพในเรื่อง 

ประวัตสิ ุนทรภ ู และคํานาํ เรื่องอิเหนา 
ก)  ตวั อยางท่ ี ๑ สนุ ทรภูแตง 
ข)  ตัวอยางที ่ ๒ ไมใ ชข องสุนทรภ ู
เรอ่ื งอิเหนาตอนทีเ่ ปน พระราชนพิ นธจบแคสกึ ช ี (เลม  ๒๙ สมุดไทย)  สวนอีก ๘ 

เลมตอเปนของแตงเติมแลแทรกทีหลัง ที่วาตอคือตอนท ่ี ๓๒,  ๓๓,  ๓๔ แล ๓๗ ที ่
หอสมุดพิมพ สวนที่วาแทรกคือเลมที่ ๓๐  แล ๓๑ ตอนหน่ึงเลมท่ี ๓๕ แล ๓๖ อีก 

ตอนหนงึ่  ใครจะเปนผแู ตง ตอ เตมิ แลแทรกเปนของที่ไมมีหลักฐาน สมเด็จกรมพระยาดํารง 

ราชานภุ าพรบั สัง่ วา มกั กลา วกันวา กรมหมน่ื สรุ นิ ทรรักษ ทรงตอพระราชนิพนธ สวนตอนท่ี 

๓๕ แล ๓๖  ท่ีวาแทรก กลาวกันวาเปนพระนิพนธกรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ ์

ตัวอยางท ่ี ๒ อยูในตอนท่ี ๓๖ จึงเปนพระนิพนธกรมหลวงภูวเนตรฯ แตไมมีหลักฐาน

66 

แนนอน 
ค)  ตัวอยางท ่ี ๓ อยูในบทละครเร่ืองอภัยนุราช  ซ่ึงอยูในบาญชีของหอสมุดวา 

สุนทรภูแตง  (สมเด็จฯ รับส่ังวาแตงถวายพระองคเจาดวงประภาพระราชธิดาใน 
พระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจาอยหู ัว) 

สวนกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ในคํานําหนังสือเทพวิไล  รับส่ังวาเปนของพระยา 

เสนาภเู บศร (ใส สโรบล) “พระยาเสนาภูเบศรไดแตงกลอนละครไวหลายเรื่อง ท่ีเหลืออยู 

เปนเร่ืองใหญก็คือเรื่องเทพวิไลเรอื่ ง ๑ เรื่องวเิ ชียรสรุ ยิ วงศเรื่อง ๑ กับบุตรภรรยาพระยา 

เสนาภูเบศรกลาววาเร่ืองอภัยนุราชอีกเร่ือง ๑ (หนังสืออภัยนุราชนี้ บาญชีหนังสือในหอ 
พระสมุดสาํ หรับพระนครวาสนุ ทรภูแตง)” 

พระยาเสนาภเู บศรผูน ้เี ปนบุตรพระยามณเฑยี รบาล (บวั )  นาจะเปนลูกศิษยสุนทร 
ภ ู ถา จะเชื่อวาสุนทรภไู มไดแ ตงอภัยนุราชและเช่ือวา พระยาเสนาภูเบศรผูเปน ลูกศษิ ยแ ตง ก ็
อาจสนั นิษฐานไดอ กี ข้ันหนึง่ วา  เม่ือแตง แลวไดว านใหส ุนทรภูตรวจแก 

ในระหวา ง ๑๔ ปทสี่ ุนทรภูพ ่ึงพระบารมีพระบาทสมเด็จพระปนเกลาฯ อยูน้ัน จะ 
ไดทรงใชอ ยา งไรบางไมป รากฏแนช ัด ที่จะใหแตง กลอนนน้ั ไมมีปญ หา แตบทสญู หายเสียสิ้น 
พระองคทรงเลน กลอนมาแตหนุม ดงั มีเร่อื งเพลงยาวสามชาย  เหลอื เปน พยาน กวพี ระองค 
หนง่ึ ท่ที รงเลน กลอนดวยคือกรมหลวงวงศาธิราชสนิท ผซู ึ่งเปน พระเชษฐารว มพระราชบิดา 
(ประสตู ิปเดียวกัน แตกรมหลวงวงศาฯ แกเดือนกวา ทรงเรียก “พ่ีนวม”)  เม่ือสุนทรภูไป 
อยดู ว ยกจ็ ะตอ งเขา รว มเลน กลอนดวยเปน แน  ขอ น้มี ีบอกในนริ าศซง่ึ นายตาบผูบุตรสุนทรภู 
แตงในรัชกาลท่ี ๕

ถึงพระราชวังสะทอ นจติ  
คะนงึ คิดถึงบดิ านา้ํ ตาไหล 
พระปน เกลา เจา สุธานิคาลัย 
เสด็จไปสูทีน่ ีฤพาน 
เคยชบุ เลย้ี งบิดามาแตกอน 
ใหเปนท่พี ระสนุ ทรโวหาร 
ทัง้ เบ้ยี หวดั ผาปม ปี ระทาน 
พระโปรดปรานชบุ เลี้ยงเปน เท่ยี งธรรม 
เคยมาบอกสักรวาหนาที่น่งั  
แตคราวคร้ังกอนบิดาจะอาสญั  
นอมศโิ รตมก ราบกม บงั คมคัล 
พระคุณนัน้ ลํ้าลบภพไตรฯ

67 

ในภาคผนวกหนังสือสามกรุง  เมื่อกลาวถึงเพลงยาวสมัยกรุงเกาบทหน่ึงซึ่งเปน 
ฝปากหญงิ อันคมกลา  ไดกลา วทาวถึงสนุ ทรภูว า 

“เม่ือขาพเจาพูดกับเพื่อนชายคนหนึ่งถึงเรื่องกาพยเพลงยาวของกุลสตรีคร้ังกรุง 

เกา ผูเ ลอื่ งเกียรติแตไมลอื นามคนน้ัน เขาก็วาถาพบสตรีผูแตงกาพยน้ี เขาก็จะตองรีบหนี 

ออกใหหาง ไมก ลา สหู นา เพราะกลัวฝป าก แตง สแู กไมไหว”
“ท่ีเขาเลาเชนน ี้ ทาํ ใหข าพเจา นึกถงึ เรือ่ งกอนเกดิ เรอ่ื งหน่ึงซ่ึงเคยไดยินญาติผูใหญ 

เลา  ไมเกีย่ วกบั สามกรุง แตเปน เรอื่ งขบขันดีก็นํามาเลา สูก นั ฟงในท่ีน ี้

“เรื่องนั้นเลาวา ในรัชกาลที่ ๓ เจานายตางกรมพระองคหนึ่งทอดพระเนตรเห็น 

หญิงสาวทรงรปู ลักษณเปน ทีต่ อ งพระหฤทัย จ่ึงทรงแตงเพลงยาวไปเกี้ยว ไมทรงทราบวา 

เจาฟานอย (พระปนเกลาฯ)  ทรงติดพันกับแมคนนั้นอยูแลว ฝายแมสวยเมื่อไดรับเพลง 

ยาวของเจาตา งกรม ก็สงถวายเจา ฟา นอยทอดพระเนตร เวลาน้ันสุนทรภูพะพิงอยูกับเจา 
ฟา นอย จงึ ทรงใชใหแ ตง เพลงยาวตอบเจาตางกรมเหมือนวาแมสวยแตงเอง ครั้นแมสวย 
ไดร บั รา งของสุนทรภูกค็ ิดสงไปถวายเจา ตา งกรม เจาตา งกรมไดรบั กเ็ ห็นจะทรงยินดี เพราะ 
ถาหญงิ ไมเ ลน ดวยก็เห็นจะไมต อบเพลงยาว แตครน้ั ทรงเปด ผนึกออกอา น ก็พบคารมกลอน 

เฉียบแหลมเผด็ รอ นที่สดุ  เลยทรงคร่ันครา มไมกลา พยายามกับแมสวยคนนัน้ ตอไป” 

สุนทรภเู ปนคนที่ใชคําใหเปนบาวได  มีความนึกอยางไรก็เอาออกมาเปนกลอนได 
อยางน้นั  นอกจากเรื่องขา งบนนี้ยังมอี กี เรือ่ งหนง่ึ เลา กนั มา ขอ ความวาครัง้ หนึง่ จะเปน กอ น 
เขารบั ราชการหรือในรชั กาลท ่ี ๒ หรือขณะบวชหรือเม่ือสึกแลวไมทราบ มีกระทาชายนาย 
หนงึ่ ไปขอรอ งใหส ุนทรภูแ ตง เพลงยาวใหสักบทหนง่ึ เถดิ  สุนทรภแู ตง ใหต ามคําขอ อยูมาอีก 
สกั หนอยมีหญิงสาวคนหนึ่งมาขอใหแตงตอบเพลงยาวถงึ ชายคนหน่งึ ใหส กั บทหน่ึงเถดิ  

“ทา นอาจารยกรุณาดฉิ ันสกั หนอ ยเถอะคะ”  แมคนนนั้ วา  “รูปเขาหลอเหลอื เกนิ ”
“ออ !  ง้ันหรือ”  สุนทรภูว า  “เขาวา ไงก็เอามาดูซ”ิ  

แมส าวสง เพลงยาวทไ่ี ดร ับให สุนทรภูอานไปไดห นอยกเ็ หน็ วา กลอนดนี ัก อา นไปได 

อีกหนอยก็จาํ ได “อบุ ะ !  ก็บทนเ้ี ราแตง ใหเขาเม่ือสองสามวันมานี้นี่ จะเลนใหเราเกี้ยวตวั เอง 
หรอื ยงั ไงกนั  แตก็ไดเหมอื นกัน”  แลวสุนทรภกู ต็ อบเพลงยาวให  แมส าวดใี จรีบไปจัดการคัด 

เขยี นสงใหชาย 
ฝา ยชายเมื่อไดร ับเพลงยาวของแมส าวแลว ก็มาขอคาํ ตอบจากสุนทรภ ู แลว กห็ ญงิ  

แลวกช็ าย จนความสัมพันธระหวางคูน้ันสนิทสนมขึ้นเปนลําดับ สวนสุนทรภูจะเกิดอยาก 
เปนหมอดูข้นึ มาหรืออยางไรไมท ราบ เห็นวา หนมุ สาวคนู ช้ี ะตาไมตรงกัน ถาไดกันประเดี๋ยว 
จะเดอื ดรอน ฉะนั้นเม่ือเพลงยาวไปทีก็แทรกคําหมางเขาไปคําหนึ่ง กลับมาก็แทรกเขามา 
สองสามคํา มากข้ึนๆ เปนลําดับ จนในที่สุดหนุมสาวโกรธกัน คร้ันมีผูไปรายงานสุนทรภู 
เปนเชิงตอ วา ในฐานะทเ่ี ปนผูแตงบทเก้ยี วใหเขาทง้ั ทีก็เกยี้ วไมสาํ เรจ็  สุนทรภไู มร จู ะวาอะไรดี 

ในทีส่ ดุ กไ็ ดแตวา  “ออ !  งา นเหลอ?”

68 

เสภาเรอ่ื งพระราชพงศาวดาร 
เร่ืองนี้สมเดจ็ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพรับสั่งวา เปนกลอนชิ้นสุดทายในชีวิตของ 
สนุ ทรภ ู เมอ่ื เรอื่ งนีพ้ มิ พครง้ั แรก มคี าํ นาํ พระนิพนธสมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพวา  

“เสภาเร่ืองพระราชพงศาวดารท่ีพิมพในสมุดเลมนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา 

เจา อยูหวั  มีพระบรมราชโองการดํารัสฯ สั่งใหพระสนุ ทรโวหาร ซงึ่ คนท้ังหลายเรียกกันเปน 

สามัญวา ‘สุนทรภู’  นั้นแตงข้ึนสําหรับขับถวายทรงฟงในเวลาทรงเคร่ืองใหญ ตาม 

แบบอยา งครง้ั รัชกาลท่ี ๒ แลตอมาโปรดฯ ใหใชเ ปนบทสาํ หรับนางในขับสงมโหรหี ลวงดว ย 
แตเสภาเรื่องน้ีเม่ือรัชกาลท่ี ๕ ฉบับหายไป ไดพยายามคนหากันมาชานานก็ไมพบ ถึง 
เขา ใจกันวาจะสญู เสียแลว ยงั รูกนั อยแู ตดว ยมีผทู องจาํ กนั ไวไ ดค นละเล็กคนละนอย มาจน 

เมื่อ พ.ศ.  ๒๔๖๓ หอพระสมุดวชิรญาณสําหรับพระนครหาฉบับหนังสือเสภาเรื่องพระ 
ราชพงศาวดารได  จึงปรากฏวา ยังอยูบรบิ ูรณ. ..

“เสภาเร่ืองพระราชพงศาวดารที่พิมพในสมุดเลมนี้ พิจารณาดูเห็นวาเปนหนังสือ 

แตง ยากกวา บทกลอนเรอ่ื งอน่ื ของสนุ ทรภู เพราะตัวเรื่องพระราชพงศาวดารเปนจดหมาย 
เหต ุ ไมมีทาทางทจ่ี ะแตงใหข บขนั ฤาจับใจไดเหมือนเชนเสภาเรื่องขุนชางขุนแผนอันเปนแต 
นทิ านอางแอบพงศาวดาร ถาสุนทรภูเลือกไดเองก็เห็นจะไมแตง แตหากมีกระแสรับสั่งจึง 
ตองแตง ก็เอาหนังสือพระราชพงศาวดารมาเปดอานแลวพยายามแตงเปนกลอนไปตาม 
หนังสือนนั้  แตก็แตง ดหี นักหนา ถา ไมเปน ผูท่สี ามารถจริงก็เห็นจะแตงไมไดอยางนี้ ท่ีเสภา 
เรื่องพระราชพงศาวดารขาดเปน ๒ ตอน ตอนตนแตงแตเร่ืองพระเจาอูทองสรางกรุงศรี 
อยุธยา ไปจนเสร็จการรบขอม แลวขามไปแตงเอาตอนศึกพระเจาหงสาวดีคราวขอชาง 
เผอื กในแผนดนิ สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ ก็คงเปนเพราะเมอื่ สนุ ทรภูแตงตอนตนถวายแลว 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวทรงพระราชดาํ ริวา เรอ่ื งพระราชพงศาวดารตอนตอ 
นั้นถึงจะแตง เสภากค็ งไมนา ฟง  จึงโปรดใหข า มไปแตงเอาตอนศกึ พระเจาหงสาวดีในแผน ดนิ  
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทํานองพระราชประสงคจะใหแตงตลอดไปจนถึงเร่ืองสงคราม 
สมเด็จพระนเรศวรฯ แตแ ตงมาไดถ ึงพระเจาชยั เชษฐากรงุ ศรีสัตนาคนหตุ  ยกกองทัพลงมา 
ชวยกรุงศรีอยุธยา มาถกู กลอบุ ายพระเจา กรงุ หงสาวดตี แี ตกกลับไป กค็ างอยูเพยี งนั้น เหน็  
จะเปน เพราะเหตสุ นุ ทรภถู งึ แกก รรม เสภาเรื่องพระราชพงศาวดารนี้นาจะเปนหนังสือเรื่อง 

หลงั ที่สุดท่สี ุนทรภูแ ตง  เขา ใจวาแตงในราวปขาล พ.ศ.  ๒๓๙๗” 

ความขา งบนนใ้ี หตาํ นานเก่ียวกับเสภาเรื่องนี้เปนอยางดี มีขอฉงนเพียงแตวาพระ 
สนุ ทรโวหาร (ภ)ู   เปนอาลกั ษณวังหนา  เหตไุ ฉนพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวจึง 
มพี ระบรมราชโองการใหแตงได  (อาลักษณวังหลวงชื่อฟก ดูเหมือนเปนท่ีพระสุนทรโวหาร 
เชนเดียวกัน)  แตสุนทรภูจะไดแตงตามพระบรมราชโองการ หรือพระบวรราชโองการใน 
พระบาทสมเด็จพระปน เกลา เจา อยูหัว แลเจานองนําถวายเจาพี่ไปขับถวายเม่ือทรงเครื่อง

69 

ใหญ  กด็ จู ะไมมคี วามสาํ คัญอยา งไรเลย เพราะทานก็เปนพี่นองคลานตามกนั ออกมาแทๆ  

สวสั ดริ ักษา 
สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพรับสัง่ วา  เรอื่ งน้ีแตง ในรัชกาลท ่ี ๒ ถวายเจา 
ฟาอาภรณผูเปนศิษยเมื่อปลายรัชกาลนั้น เรื่องนี้เคยพิมพรวมกับสวัสดิรักษาคําฉันท 
สุภาษติ สอนหญิง แลสุภาษิตสอนเดก็  เรยี กรวมวา สภุ าษติ สามอยาง  เม่ือหนังสือพิมพครั้ง 
แรก (โดยพระยาสมบตั บิ ริหาร (เอ้ือ ศภุ มติ ร)  แจกในงานสตมาหศพเจาพระยาราชศุภมิตร) 
มคี าํ นําพระนพิ นธกรมหมืน่ พิทยาลงกรณ คํานํานเ้ี กี่ยวกบั เรอ่ื งสวัสดิรักษาคาํ ฉนั ทม ากกวา 
เกีย่ วกบั สุนทรภู แตทุกวันน้ีเปน หนงั สอื ทีห่ าไดยาก เพราะเมือ่ พิมพค ร้งั ตอๆ ไปมิไดพมิ พค าํ  
นํานก้ี ็เลยนํามาลงไวเ พ่ือสะดวกในการคนควาในภายหนา 

“สวสั ดิรักษาทีเ่ รยี กวาคําฉันทน น้ั  เรยี กตามเจา ของผแู ตง ผแู ตง คือใครแตง เมอ่ื ไรไม 
ปรากฏ แตสุนทรภูก ลาวไวในสวสั ดริ ักษาคาํ กลอนวา  ‘บทบุราณทานทําเปน คําฉันท’  สนุ ทร 

ภแู ตงกลอนสวสั ดิรกั ษาในตอนปลายรัชกาลที่ ๒ ถา ฉนั ทสวสั ดริ ักษาแตงเพยี งรัชกาลที่ ๑ 

หรอื แมแตสมยั กรุงธนบรุ  ี สนุ ทรภูก ็เห็นจะไมเรยี กวา  ‘บทบุราณ’  เหตุดังน้ีจึงสันนิษฐานวา 

ฉันทน้ันแตงคร้ังกรุงเกา แตเห็นจะกรุงเกาตอนปลาย ดูสํานวนไมเกานัก สวนท่ีเรียกวา 
สวัสดิรักษาคําฉันทนั้น อันท่ีจริงไมใชฉันท แตเปนฉบัง  ๑๖ อยางเดียวเทาน้ัน ธรรม 
เนยี มหนงั สือรนุ เกา ท่เี รยี กวาคําฉนั ทม ักจะแตง ๘ อยา งปะปนกนั ไป คอื  อนิ ทรวเิ ชียรฉันท 

๑๑,  โตฎกฉนั ท  ๑๒,  วสันตดิลกฉนั ท  ๑๔,  มาลนิ ีฉันท  ๑๕,  สทั ทุลวกิ ฬี ิตฉันท ๑๙, 
สทั ธราฉันท ๒๑,  กับฉบัง ๑๖ แลสุรางคณางค  ๒๘ ฉันท ๖ อยางนั้นสมมุติวามีคร ุ

ลห ุ และผแู ตง ก็เพียรทจี่ ะแตง ใหลูกคณะมากท่สี ดุ  แตฉ บงั กบั สรุ างคณางคน น้ั ไมม กี าํ หนดคร ุ
ลหุ เพราะฉะน้ันการท่ีแตงฉบังอยางเดียวแลวเรียกวาฉันท จึงไมตรงตามความนิยมเลย 

อน่งึ ผแู ตงฉันทส วัสดริ ักษากลาวในบทเกือบสุดทายวา ‘ครลุ หขุ ดั แขงแฝงเฝอ  ชวยซอมแซม 
เจือ’  ฉะนั้นก็ดูประหลาด เพราะฉบังไมมีครุลหุจะใหชวยซอมแซมครุลหุอยางไรได ตามที่ 

กลา วนเี้ พ่ือจะแสดงวา การท่ตี ง้ั ชอื่ หนงั สือวาสวัสดิรกั ษาคําฉนั ทน้ัน ความเหน็ สมัยนเ้ี ห็นวา 
เรียกชอื่ ผดิ  แตในสมัยทแ่ี ตง น้นั  ดเู หมือนจะเรยี กอะไรๆ วาฉนั ทก ็ได เพราะไมส ูเครงครัดใน 
เรอื่ งครลุ หนุ ัก สกั แตวาสวดลาํ นําไดแ ลว เปนใชได  ถา จะตรวจฉันทรนุ เกา จะหาท่แี ตง ถูกครุ 
ลหุแตตน จนปลายไมม เี ลย 

“สวนสาํ นวนท่แี ตงสวัสดริ ักษาคําฉันทนี้ ถาอานดวยตาผูพิถีพิถันถอยคํา หรือฟง 

ดวยหูกวีก็ไมมีอะไรดเี ลย แตท่ีวาเชนนี้ ไมใชเปนการแสดงความเห็นวาหนังสือน้ีพิมพเสีย 
กระดาษ อันทจ่ี ริงควรพิมพเ ปนอนั มาก เพราะเหตวุ าการนิยมวาสิ่งใดเปนมงคล สิ่งใดเปน 

อัปมงคล นัยหน่ึงการ ‘ถือ’  ตางๆ ของประชุมชนตางหมูตางเหลายอมเปนวิชาประเภท 

หนึง่  ซึ่งนักปราชญใ สใจสบื สวน แลหนงั สอื ชนิดน้เี ปนเครื่องใชส าํ หรบั การศึกษาเชนนั้น ซ่ึง 
ถายังไมมีใครฝกใฝในเมืองไทยเวลาน้ีก็จะมีในภายหนาเปนแน ถาดูจากแงท่ีกลาวนี้การ

70 

พิมพส วัสดริ กั ษาคาํ ฉนั ทม ปี ระโยชนน ัก เพราะหนังสือน้ีจวนจะศูนยเต็มทีอยูแลว แมในหอ 
พระสมดุ สําหรบั พระนครก็มฉี บบั สมุดดาํ เขยี นตัวดนิ สอขาวอยฉู บบั เดยี วเทา น้ัน 

“สว นสวสั ดริ ักษาคํากลอนนัน้  เปน ของสนุ ทรภู กรมพระดาํ รงราชานุภาพทรงเขียน 

ไวใ นประวัติสนุ ทรภู วาแตงถวายเจา ฟา อาภรณใ นรชั กาลที ่ ๒ ขา พเจา จงึ กลาววาคํากลอน 
น้แี ตงจวนส้นิ รชั กาล เพราะเมือ่ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั สวรรคตนน้ั  เจา ฟา  

อาภรณม ีพระชนมายุ ๘ ปเ ทาน้นั ”
(จบความจากคํานาํ สุภาษิตสามอยาง) 

เมื่อขาพเจาอานขอความขางบนนี้ที่วา เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาฯ 
สวรรคตน้นั  เจา ฟาอาภรณพ ระชนมายุเพียง ๘ ขวบ ก็ทลู ถามวาถา สนุ ทรภูมิไดแตง สวสั ด ิ
รกั ษา  ถวายเจา ฟาอาภรณ  แตงถวายใคร?

“ก็ปแู กนะ ซ”ี   ทานรบั สั่งตอบ ความขอนี้จะมีผูใหญเลาถวายหรือจะทรงตัดเดาเอา 

เอง ขาพเจาไมไดติดใจทูลถาม แตเม่ือมาลองจับศักราชก็นาจะเชื่อวาจริง เพราะกรม 
พระราชวังบวรวิชัยชาญไดทรงผนวชเปนสามเณรกับสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส 
(ส้ินพระชนม พ.ศ.  ๒๓๙๖)  ตอจากนั้นอีก ๒ ป สุนทรภูจึงถึงแกกรรม ขณะน้ันกรม 
พระราชวงั บวรฯ พระชนมายุ ๑๘ ป 

แ ล ะ แ ล ว ...เ ร่ื อ ง ส วั ส ดิ รั ก ษ า ก็ เ ป น หั ว ข อ ใ น ก า ร อ ภิ ป ร า ย แ ส ด ง ค ว า ม เ ห็ น 
วพิ ากษวจิ ารณกันยืดยาว ทา นจนั ทรท รงเรมิ่ วา 

ในระหวางท่ีประวัติคํากลอนสุนทรภู พิมพคร้ังแรกเม่ือประมาณ ๑๕ ปมาแลว 
จนกระทั่งพมิ พใหมค รั้งนี ้ เรื่องของสนุ ทรภูมิไดกาวหนาไปจากท่ีสมเด็จกรมพระยาดํารงรา 
ชานุภาพทรงพระนิพนธไวเทาไรนัก ทางราชการไดสรางอนุสาวรียสุนทรภูที่เมืองแกลง 
จังหวัดระยอง จนสําเร็จ เปนท่ียินดีแกเราทานที่รักกลอนจะไดไปจุดธูปเทียนนมัสการขอ 
เปนกวีกับเขาบาง สว นสโมสรสนุ ทรภูใ นพระนครก็ไดพิมพนิราศสุพรรณคําโคลงท้ังเลม ๑ 
และเลม  ๒ ออกจําหนายตอจากนั้น ก็ยงั ไดจ ดั การอยางขึงขังในวันคลายวันสุนทรภู สวน 
ชุมนุมนักกลอนชาวบางกอกก็ไดไปยึดกุฏิสุนทรภูที่วัดเทพธิดาราม จัดงานรื่นเริงตาม 
กาละเทศะอันควร แตขาพเจา ไดย ายไปอยเู ชยี งใหมเปนชาวเขาเผา คนเมอื งเสยี นาน เลยไม 
รวู า  ชมุ นุมนกั กลอนสุนทรภูไดแตงต้ังอนุสาวรียสุนทรภูไวท่ีวัดเทพธิดารามหรือไม เพื่อให 
ชาวบานอยางหมูเขาหมูเฮาไดเส่ียงเซียมซีขอหวยโดยหวังใหเทพกวีไดเพี้ยงใหเราสักมื้อ 
หน่ึง เหตุการณไดผานพนไปเสียเปนเวลานมนาน เมื่อขาพเจาเขาเวียงแลวก็เลยเขากรุง 
แถมก็มีผูบอกวา มีทานนักวรรณคดีไดถกเถียงเรื่องสุนทรภูกันอยางสุโขๆ พอจบเร่ืองได 
ความวา ปญ หาสุนทรภแู ตงสวสั ดิรกั ษาคํากลอนถวายใคร เปน เรื่องที่หนังสอื พมิ พวทิ ยาสาร 
นํามาเสนอตอประชาชนท้ังที่เปนทหาร ตํารวจ และพวกคุณครูๆ ขอความดังจะไดนํามา 
เสนอดงั นี้

71 

เมื่อสมเด็จกรมพระยาดํารงฯ ทรงพระนิพนธประวัติของสุนทรภูนานมาแลว ทาน 
มไิ ดท อดพระเนตรเรอ่ื งสําคญั บางเรื่อง เชน ราํ พันพลิ าป นิราศเณรกลัน่  หรอื นิราศคาํ โคลง 
เลม ๒ จึงมีคลาดเคล่ือน เชน ทานรับสั่งวาเร่ืองสวัสดิรักษาคํากลอนแตงถวายเจาฟา 
อาภรณในสมัยรัชกาลที่ ๒ (พ.ศ.  ๒๓๕๒-๖๗)  แตขาพเจาเห็นวาสุนทรภูแตงสวัสด ิ
รกั ษาในรัชกาลท ี่ ๔ ถวายกรมพระราชวังบวร บวรวชิ ยั ชาญ ผเู ปน ปขู องขาพเจาเอง 

ขอ ความนข้ี าพเจา ไดฟงรบั ส่ังมาจากกรมหม่ืนพทิ ยาลงกรณผูเ ปน บิดาของขาพเจา 
เอง ขา พเจามิไดทลู ถามตอไปวาทรงยนิ มาจากผใู ด แตก พ็ อสันนิษฐานไดโดยไมไรหลักฐาน 
เสยี ทีเดยี ว ทํานองวา เม่อื สุนทรภูล าสิกขาใน พ.ศ.  ๒๓๘๕ แลวไดไปพ่ึงพระบาทสมเด็จ 
พระปนเกลาเจาอยูหัว (ขณะนั้นเรียกกันเปนสามัญวาเจาฟานอย)  ในรัชกาลท ่ี ๓ 
พระองคท านประทบั อยทู ่พี ระราชวังเดมิ  ธนบุรี และสุนทรภูไดไปอยูในบานของขุนนางของ 
ทานผูหนึ่งชื่อพระยามณเฑียรบาล (บัว)  อยูไปจนสิ้นอายุใน พ.ศ.  ๒๓๙๘ เมื่ออายุ 
๗๐ ป  และนายพดั หรอื หนูพัดในนริ าศ ผูเปนบุตรไดอยใู นหองนัน้ ตอ พระยามณเฑียรบาล 
เปนทวดของกรมหม่ืนพิทยาลงกรณ ทานคงจะมิใชผูที่เลาเรื่องสุนทรภูใหเสด็จในกรมฟง 
เพราะขณะนน้ั ยังพระชนมายนุ อ ยอย ู นาจะเปนลูกหรือหลานของทานผูหน่ึง ถาจะใหเดาก ็
คงจะเปนพระยาเสนาภูเบศร (ใส สโรบล)  ผเู ปน บุตรพระยามณเฑียรบาล และเปนตาของ 
เสด็จในกรมฯ เพราะทานชอบแตงกลอน มีบทละครเร่ืองเทพวิไล และอภัยนุราชยังเหลือ 
เปนพยานอยู  ทา นคงจะนับถอื สนุ ทรภู และมีเร่ืองหน่ึงซึ่งนาจะเก่ียวกับตัวทาน เลาสืบกัน 
มาวา ครัง้ หนงึ่ ในรัชกาลท่ ี ๔ เมือ่ สนุ ทรภูไ ดเ ปน พระสุนทรโวหาร ตาํ แหนงอาลักษณวังหนา 
แลว วันหนึ่งสุนทรภูกําลังแตงตัวแบบไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง เพ่ือเขาวังพา 
กลอนเขาไปทลู เกลา ฯ ถวาย มีใครคนหนึง่  (ซึง่ ขา พเจา สนั นิษฐานวาจะเปนพระยาภูเบศร) 
หยิบกลอนไปอา นแลว ทักขึน้ วา มคี ําผดิ อยูค าํ หนึ่ง สนุ ทรภตู าเขยี วข้นึ ฉบั พลัน ตวาดวา อยา  
ไปแตะตองของเขา เอามาดูกอน เมอ่ื เห็นวา ผิดจริงจึงไดย อมแก  ขอ ความนี้แสดงวา สุนทร 
ภูท ะนงตัวในฝปากของตนแตตามทไี่ ดยนิ มา ไมปรากฏวา เปนเร่ืองในรัชกาลท่ี ๒ หรือท ี่ ๔ 
ไมป รากฏวาผทู ี่ทักน้ัน เปนนายพัดหรือตาบผเู ปน ลกู  แตจ ะตอ งเปน ผูท ี่ใกลชิดพอท่ีจะเขาไป 
ในหองของทานได ที่ขาพเจาสันนิษฐานวา ทานผูนั้นเปนพระยาเสนาภูเบศรอาจผิดก็ได 
ฉะนนั้ เอาความส้นั ๆ วา พระยาเสนาภเู บศรเ คยอยูในบานเดยี วกันกับสุนทรภทู ส่ี นทิ สนมกนั  
พอทีจ่ ะรเู รอ่ื งบางอยาง แลว นาํ มาเลาถวายกรมหม่นื พทิ ยาลงกรณ ผเู ปนหลานของทา นพอ 
นบั เปนหลกั ฐานได 

สวน คุณฉันท ขําวิไล เสนอวา สุนทรภูมิไดแตงสวัสดิรักษาคํากลอนในตอนตน 
รชั กาลท่ ี ๔ อยางขาพเจา วา  แตแ ตงในตอนปลายรัชกาลท ่ี ๒ อยา งสมเดจ็ ฯ รบั สั่ง ผดิ กัน 
แตมไิ ดแ ตงถวายเจาฟา อาภรณ (เพราะพระชนมายนุ อ ยเกนิ ไป)  แตแตงถวายเจาฟามงกุฎ 
(พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว)  เหตุผลของคุณฉันทนาฟงมาก ตอจากน้ัน คุณ 
ฉันทชิ ย กระแสสนิ ธ ุ คดั คานคุณฉันทวา สนุ ทรภแู ตงสวัสดริ กั ษาในรัชกาลท่ ี ๔ ถวายกรม

72 

พระราชวังบวร บวรวิชัยชาญ (พระองคเจายอดยิ่งยศ)  ตรงกับท่ีขาพเจาวา แตคุณฉัน 
ทิชยมิไดอ อกนามขา พเจา วาไดเขียนไวกอ นแลว  ๑๕ ทา นคงจะลมื กระมงั !  แลวคุณฉันทก ็
คัดคานคุณฉันทิชยตอไป คุณเปล้ือง ณ นคร ก็ดูเหมือนออกความเห็นในเร่ืองนี้  แต 
ขา พเจาไมมตี นฉบับ ตอนนีจ้ ะขอนาํ เรอ่ื งของคุณฉันท และคณุ ฉนั ทชิ ยม าลง สวนเร่อื งของ 
คณุ ฉนั ทตอบคุณฉนั ทิชยแ ละของคณุ เปล้ืองขอผานเพราะคอนขางยาวและขอความซ้ํากัน 
เปนสวนใหญ ทานผูใดสนใจอยากศึกษาตออยางละเอียด ก็ขอใหคนดูในหนังสือวิทยาการ 
ในระยะเวลาเดอื นกรกฎา-ตุลา ๒๕๑๕ 

เรื่องสวัสดริ ักษาคาํ กลอน 
สนุ ทรภูแตง ถวายใคร? 
ฉันท ขาํ วิไล 

(วิทยาสาร ปที ่ ๒๓ ฉบบั ท ี่ ๓๒ ประจาํ วันท่ ี ๒๒ สงิ หาคม พ.ศ.  ๒๕๑๕) 

เรื่องสวัสดิรักษาคํากลอนของสุนทรภูน้ี เดิมนักปราชญแตกอนทานแตงไวเปน 
คําฉันท  และถือกนั เปนเสมอื นราชนติ ิ คอื เปนกฎสําหรับทานผูยิ่งใหญจะพึงปฏิบัติสืบมา 
แตโบราณกาล แรกเร่ิมเดิมทีเขาใจวา จะเปนสุภาษิตหรือแบบแผนประเพณีของ 
พราหมณและของไทยเรานบั ถอื ปฏิบัติกันมากอ นทจ่ี ะแตง ขึ้นเปน คาํ ฉันท  และทว่ี า เปนคํา 
ฉันทน้ี ทาน น.ม.ส. (เสด็จในกรมหม่ืนพิทยาลงกรณ)  วาแตงในสมัยกรุงศรีอยุธยา 
ตอนปลาย 

มูลเหตุท่สี ุนทรภูทานแตงแปลงบทคําฉันทสวัสดิรักษาเปนคํากลอนน้ัน ตามความ 
ปรารภของทานผูแ ตงวา คาํ ฉนั ทผ อู านผูฟ งยังไมค อ ยเขาใจแจมแจง จึงไดคิดดัดแปลงแตง 

เปนคํากลอนใหเขาใจไดงายเพ่ือ “ถวายหนอบพิตรอิศรา”  เร่ืองนี้จึงเกิดเปนปญหาขึ้นวา 

สุนทรภูแตง ถวายหนอ บพิตรอศิ ราน้ันหมายถงึ เจา นายพระองคใด เมื่อดูในประวัติสุนทรภูท่ ี
สมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ประทานเลา ไวตอนหน่ึงวา 

“มาถึงตอนปลายรชั กาลสมเด็จฯ พระพทุ ธเลิศหลานภาลัย โปรดใหสุนทรภูเปนคร ู

สอนหนังสือถวายพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาอาภรณ สุนทรภูแตงกลอนเรื่องสวัสดิรักษา 
ถวายเจา ฟาอาภรณข น้ึ ตนวา 

สนุ ทรทาํ คําสวสั ดริ กั ษา 
ถวายหนอ บพิตรอศิ รา 
ตามพระบาลเี ฉลิมใหเพิ่มพูน 
เปน ของคผู มู ีอสิ รยิ ยศ

73 

จะปรากฏเกิดลาภไมสาบสญู  
สบื อายุสุริยวงศพงศป ระยรู  
ใหเพมิ่ พูนภิญโญเดโชชยั  

อยา ลืมหลงจงอุตสา หรักษาศิริ 
ตามคตโิ บราณทา นขานไข 
วา เชาตรสู รุ โิ ยอโณทยั  
ต่ืนนอนใหหา มโมโหอยา โกรธา 

และกลา วกลอนตอนปลายเมื่อกอนจบวา 

ขอพระองคจ งจาํ ไวส ําเหนยี ก 
ดงั นเ้ี รยี กเร่ืองสวัสดริ ักษา 
สําหรับองคพ งศก ษัตรยิ ข ัตยิ า 
ใหผอ งผาสกุ สวสั ดข์ิ จัดภัย 

บทบุราณทานทําเปน คําฉันท 
แตค นนน้ั มใิ ครแ จง แถลงไข 
จึงกลาวกลบั ซบั ซอ นเปนกลอนไว 
หวังจะใหเ จนจาํ ไดช ํานาญ 
สนองคณุ มลุ ิกาสามิภกั ด์ิ 
ใหสงู ศกั ดิ์สบื สมบตั ิพัสถาน 
แมน ผิดเพีย้ นเปลยี่ นเรอ่ื งเบือ้ งโบราณ 

ขอประทานอภยั โทษไดโปรดเอย” 

ตามขอความทไ่ี ดยกมานี้ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพจะทรงเขาพระทัย 
ในกลอน หรอื จะไดทรงทราบจากสมเด็จฯ กรมพระยาบําราบปรปกษ  (เจาฟากลาง)  พระ 
อนชุ าเจาฟาอาภรณท ูลเลาถวายจึงเขาพระทัยวา เมื่อพระบาทสมเด็จฯ พระพุทธเลิศหลา 
นภาลัยโปรดใหสุนทรภูถวายพระอักษรแดเจาฟาอาภรณแลว สุนทรภูก็แตงสวัสดิรักษา 
ถวายดวย และหรือจะมฉี บบั เปน มรดกของเจาฟา อาภรณตกทอดกนั มาซงึ่ มีผรู ูเ ห็นไดท ลู เลา  
ถวาย 

อีกแนวทางหนงึ่  เมอ่ื คน ดูในหนังสือ “สภุ าษิตสามอยา ง”  ซ่ึงพมิ พเปนเลมรวม ๓ 
เรอื่ ง คอื  

๑.  สวสั ดิรกั ษาคาํ ฉนั ท และคํากลอน 
๒.  สุภาษิตสอนเด็ก

74 

๓.  สภุ าษิตสอนหญงิ  

ท้ังสามเร่ืองน้ี พระยาสมบัติบริหาร (เอื้อ ศุภมิตร)  พิมพแจกในงานสตมาหศพ 
เจา พระยาราชศุภมติ ร มีคาํ นาํ พระนพิ นธ  กรมหมื่นพทิ ยาลงกรณป ระทานเลา ไววา  

“สวสั ดิรกั ษาท่ีเรยี กวาคําฉนั ทน้นั เรียกตามเจาของผูแตง  ผูแตงคือใคร แตงเม่ือไร 
ไมปรากฏ แตสุนทรภูกลาวไวในสวัสดิรักษาคํากลอนวา ‘บทบุราณทานทําเปนคําฉันท’ 

สนุ ทรภแู ตงกลอนสวัสดิรกั ษาในตอนปลายรชั กาลที ่ ๒ คําฉนั ทส วัสดิรักษาแตเพียงรัชกาล 

ที่ ๑ หรอื แมส มัยกรุงธนบุรี สุนทรภกู เ็ หน็ จะไมเรียกวา  ‘บทโบราณ’  เหตุดังน้จี งึ สนั นษิ ฐาน 

วา  ฉนั ทน้ันแตง คร้ังกรงุ เกาตอนปลายดูสาํ นวนไมเ กานัก สว นทเี่ รยี กสวัสดริ กั ษาคาํ ฉนั ทน นั้  
อนั ที่จริงไมใ ชฉ ันท  แตเปน ฉบงั  ๑๖ อยา งเดยี วเทานั้น ธรรมเนียมหนังสือรุน เกาที่เรียกวา 
คําฉันท มักจะแตง ๘ อยางปะปนกันไป คือ อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ โตฎกฉันท  ๑๒ 
วสนั ตดลิ กฉนั ท ๑๔ มาลนิ ฉี ันท  ๑๔ สัททุลวิกีฬิตฉันท  ๑๙ สัทธราฉันท  ๒๑ กับฉบัง 
๑๖ แลสรุ างคณางค  ๒๘ ฉันท  ๖ อยา งนนั้ สมมตุ ิวามี ครุ ลหุ และผูแตง กเ็ พียรทจี่ ะแตง  
ใหถูกคณะมากท่ีสุด แตฉบังกับสุรางคณางคไมมีกําหนด คร ุ ลหุ เพราะฉะนั้นการที่แตง 
ฉบังอยางเดียวแลวเรยี กวา ฉันท จึงไมตรงความนิยมเลย ผูแตงฉันทสวัสดิรักษากลาวใน 
บทเกอื บสุดทายวา 

‘ครุลหุขดั แขงแฝงเฝอ  ชวยซอมแซมเจอื ’  ฉะนี้กด็ ปู ระหลาดเพราะฉบงั ไมมีครุลหุ 

จะใหชวยซอมแซมครุลหุอยางไรได ตามท่ีกลาวน้ีเพื่อจะแสดงวา การที่ต้ังชื่อหนังสือวา 
สวัสดริ กั ษาคําฉนั ทน้ัน ความเห็นสมัยน้ีเห็นวาเรียกช่ือผิด แตในสมัยที่แตงน้ันดูเหมือนจะ 
เรียกอะไรๆ วาฉนั ทก็ได  เพราะไมสูเครงครดั ในเร่อื งครลุ หนุ กั  สกั แตว าสวดลาํ นาํ ไดแ ลว เปน  
ใชได ถาจะตรวจฉนั ทร นุ เกาจะหาทแ่ี ตง ถูกครุลหุแตต นจนปลายไมมี 

สํานวนท่แี ตงสวสั ดิรักษาคําฉันทน้ี ถาอานดวยตาผูพิถีพิถันถอยคําหรือฟงดวยหู 
กวกี ็ไมม อี ะไรดีเลย แตที่วาเชน นไี้ มใชเ ปน การแสดงความเหน็ วาหนังสือน้ีพิมพเสียกระดาษ 
อันทจี่ รงิ ควรพิมพเ ปนอันมาก เพราะเหตวุ า การนิยมวาส่ิงใดเปนมงคล สิ่งใดเปนอัปมงคล 

นัยหนึ่งการ ‘ถือ’  ตางๆ ของประชุมชนตางหมูตางเหลา ยอมเปนวิชาประเภทหนึ่ง ซ่ึง 

นักปราชญใสใจสบื สวนแลหนังสือชนิดนเ้ี ปน เครอื่ งใชสําหรบั การศึกษาเชน นั้น ซึ่งถายังไมม ี
ใครฝกใฝในเมอื งไทยเวลาน ้ี ก็จะมใี นภายหนาเปนแน ถา ดูจากแงที่กลาวนี้ การพิมพสวัสด ิ
รักษาคําฉันทมีประโยชนนัก เพราะหนังสือน้ีจวนจะสูญเต็มทีอยูแลว แมในหอพระสมุด 
สําหรับพระนคร กม็ ฉี บับสมุดดําเขยี นตวั ดนิ สอขาวอยูฉ บับเดียวเทา นน้ั  

สวนในสวัสดิรักษาคาํ กลอนน้ัน เปนของสุนทรภ ู กรมพระดํารงราชานุภาพเขียนไว 
ในประวัติสุนทรภู วา แตงถวายเจาฟา อาภรณในรชั กาลท ่ี ๒ ขา พเจาจึงกลา ววา  คาํ กลอนน ี้
แตงเมื่อสิน้ รัชกาลแลว  เพราะเม่อื พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัยสวรรคตนั้น เจา 
ฟาอาภรณม พี ระชนมาย ุ ๘ พรรษาเทาน้ัน 

สุภาษิตสอนเด็กกับสุภาษิตสอนหญิงเปนสํานวนกลอนของสุนทรภูอีก ๒ เรื่อง

75 

กลอนสุนทรภเู ปน ของชวนอานเสมอ การท่นี ํามาพมิ พค ร้ังน้ีกค็ งจะเปนเครื่องนิยมของผูรับ 

แจกท่ยี ังไมมหี นงั สือน้”ี  

ตามขอความในคํานําพระนิพนธของทาน น.ม.ส.  ดังท่ียกมาน้ี ทรงแสดง 
ความหมายวาถาแตงถวายเจาฟาอาภรณ ซึ่งเวลานั้นมีพระชนมเพียง ๘ พรรษา จะเขา 
พระทัยในเร่ืองนี้ไดอยางไร หมอมเจาจันทรจิรายุ (พ. ณ ประมวญมารค)  พระโอรสของ 

ทาน น.ม.ส.  ทรงเลาวา ไดทูลถามพระองคทานในเม่ือไดอานขอความน้ันวา “เม่ือ 

พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลาฯ สวรรคตน้ัน เจาฟาอาภรณพระชนมาย ุ ๘ พรรษา ถา 

สนุ ทรภูม ไิ ดแ ตงสวัสดิรกั ษาถวายเจาฟาอาภรณ แลว แตงถวายใคร”
“ก็ปแู กนะ ซ”ิ   ทานรับส่ัง 

แลว หมอ มเจา จนั ทรฯ ก็มไิ ดทรงซักตอไปอกี วา ความขอ น้ีมีผูใหญเ ลาถวายหรือจะ 
ตรัสเดาเอาเอง เพราะไมไ ดต ดิ ใจทลู ถามไว  แตเ มอ่ื ลองจบั ศกั ราชก็นาเชื่อวาจรงิ  เพราะกรม 
พระราชวังบวรวิชัยชาญ ไดทรงผนวชเปนสามเณรกับสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส 
(สิ้นพระชนม พ.ศ.  ๒๓๙๖)  ตอจากนั้นอีก ๒ ปสุนทรภูก็ถึงแกกรรม  ขณะนั้นกรม 
พระราชวังบวรฯ พระชนม  ๑๘ ป  (ตามท่ีหมอ มเจา จันทรฯ  ทรงเลา ไว)  

คําวา  “ปแู ก”  หมายถึงป ู (พระอัยกา)  ของหมอ มเจาจันทรฯ  และเปนพระบดิ าของ 
ทา น น.ม.ส.  มพี ระนามวาพระองคเจายอดยิ่งยศ (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ)  ซ่ึงเปน 
พระโอรสในเจาฟากรมขนุ อิศเรศรงั สรรค  (พระปน เกลาฯ)  พระองคเจายอดยงิ่ ยศประสูติใน 
พ.ศ.  ๒๓๘๑ 

เมอ่ื นบั ปส วรรคตพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา ฯ ใน พ.ศ.  ๒๓๖๗ ถอยหลัง 
มาถงึ  พ.ศ.  ๒๓๖๓ นบั ตามปได ๕ ป  คือระหวาง พ.ศ.  ๒๓๖๓-๖๗ ในรัชกาลท ่ี ๒ 
พระองคเจายอดย่ิงยศ (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ)  ยังไมประสูติและเจาฟาอีก ๓ 
พระองค คอื

๑.  เจาฟา อาภรณ  ประสตู ิใน พ.ศ.  ๒๓๕๙ พระชนมอยูในระหวางน้ัน ๕-๙ 
พรรษา 

๒.  เจาฟามงกุฎ  (พระจอมเกลาฯ)  ประสูติใน พ.ศ.  ๒๓๔๗ พระชนมอยูใน 
ระหวางนน้ั  ๑๗-๒๑ พรรษา 

๓.  เจา ฟาจฑุ ามณี  (พระปนเกลาฯ)  ประสูติใน พ.ศ.  ๒๓๕๑ พระชนมอยูใน 
ระหวางนน้ั  ๑๓-๑๗ พรรษา 

วาตามฐานันดรศกั ดิ์ของเจา ฟาทงั้ สามพระองคน้ ี แมจะเปนเจาฟาช้ันเดียวกนั  แตก  ็
ตางกันโดยตําแหนงพระชนนีเปนที่อัครมเหสีหรือเอกอัครมเหสีอันจะตองเปนไปตามกฎ 
มณเฑยี รบาล  เจา ฟาอาภรณประสูติแตเจาฟากุณฑลทิพยวดี พระชนนีซ่ึงนับเปนชั้นอัคร 
มเ หสี  ส วน เจาฟ าม งกุ ฎแ ละ เจาฟ าจุฑา มณี  ป ระ สูติ แต เจาฟ าบุ ญรอด  (ส มเ ด็จพระศ รี 
สรุ ิเยนทร)   พระชนนอี นั เปนชัน้ เอกอคั รมเหสี และผูที่จะสืบสันตติวงศเปนพระมหากษัตริย

76 

ก็ตองเปนพระราชโอรสในพระมเหสีที่ย่ิงใหญ อยางที่เราเฉลิมพระนามวา  “สมเด็จ 
พระบรมราชนิ นี าถ”  ดงั น ้ี

เมื่อกลับหวนไปพิจารณาคํากลอนท่ีสุนทรภูทานแตงไวในตอนตนวา “ถวายหนอ 
บพิตรอิศรา”  ซึง่ หมายความวาแตง ถวายแดพ ระราชโอรสของพระมหากษตั รยิ ผ ยู ่งิ ใหญ คํา 

วา  พระหนอ  จะมผี คู า นวา ไมใชหมายถึงพระเจาลูกยาเธออยางเดียว แมจะหมายถึงพระ 
เจา หลานเธอกไ็ ด  คอื หมายถึงหนอ ใหญหนอ เลก็ ก็เปนพระหนอเหมือนกัน เชนน้ีทานผูแตง 

จะหมายถึงใคร ผูอา นก็ยงั ไมแ นใ จนัก และในตอนทา ยที่วา “สาํ หรบั องคพงศกษัตริยขัติยา” 

จะแปลความไปวาสําหรบั พระญาตวิ งศของพระมหากษตั รยิ อ กี ดว ยกไ็ ด แตค วามจริงแลว ใน 
บทกลอนที่สุนทรภูท า นประพันธดังท่นี าํ มากลาวน้ี วาตามหูกวีที่ฟงกันแลว ก็ยอมเขาใจวา 
แตงถวายพระราชโอรส ผูม ีฐานันดรศกั ดจ์ิ ะสืบสนั ตตวิ งศ ดํารงอยูเปนสยามมกุฎราชกุมาร 
คือองคร ัชทายาท ดังกลอนบทสดุ ทา ยท่ีทานแตงถวายพระพรวา เพอื่  

“ฉลองคุณมุลิกาสามภิ ักดิ ์
ใหสงู ศกั ด์ิสืบสมบตั พิ สั ถาน” 

ตามความปรารภและคําถวายพระพรของทานสนุ ทรภดู ังทยี่ กมากลาวน้ี ทําใหหวน 
คิดมากไปวา  ถา ทานผูแตงเรอื่ งสวัสดิรกั ษาแตงถวายเจา ฟา อาภรณอยางนแี้ ลว  แมพ ระองค 
ทานยังทรงพระเยาวอยูในระหวางพระชนมายุ ๕-๙ พรรษา จะยังไมทราบเรื่องราวและ 
ความหมายในบทกลอนนี้กด็ ี แตเ จา ฟา กุณฑลฯ พระชนน ี กย็ อมทรงทราบในฐานันดรศักด ์ิ
ของพระโอรส วา อยูในฐานะเชนไร จะทรงตําหนิผูแตง  วาแตงถวายใหเกนิ กวา เหต ุ ถา เรื่อง 
น้ีจะแพรไปถึงเจาฟามงกุฎหรือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาฯ ก็จะทรงเห็นความไม 
เหมาะสม เปนเสมอื นถวายใหค วามย่ัวยฝุ กใฝในเจา ฟา อาภรณ  ดังน้จี ึงเชื่อวา พระอาลกั ษณ 
ซึ่งมพี ระราชทินนามวาขุนสนุ ทรโวหารจะเขา ใจไดด  ี

เม่อื พจิ ารณาเรอ่ื งตอไปอีกวา ถาสุนทรภูแตงสวัสดิรักษาน้ีถวายพระองคเจายอด 
ยง่ิ ยศ พระโอรสเจา ฟา กรมขุนอศิ เรศรังสรรค  (เจา ฟา จุฑามณีพระอนุชาเจาฟา มงกุฎ)  แลว 
จับปประสูติของพระองคเจายอดยิ่งยศเปนป พ.ศ.  ๒๓๘๑ อันเปนรัชสมัยแผนดิน 
พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา ฯ รัชกาลท ี่ ๓ ในระยะน้ีคือตั้งแต พ.ศ.  ๒๓๘๕ เปนตอนที ่
สุนทรภูลาสิกขาออกจากวัดเทพธิดาไปถวายตัวพึ่งพระบารมีอยูกับเจาฟากรมขุนอิศเรศ 
รังสรรคท ีพ่ ระราชวงั เดิมจนถึง พ.ศ.  ๒๓๙๔ กเ็ ปล่ียนแผนดนิ  เจาฟามงกฎุ ทรงลาผนวช 
ขน้ึ ครองเถลิงถวัลยราชสมบัตเิ ปน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยหู ัว รัชกาลท ี่ ๔ แลว 
ทรงสถาปนาสมเด็จพระอนุชา เจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรค เปนพระบาทสมเด็จพระปน 
เกลา เจา อยหู วั  มพี ระอิสริยยศเสมอดว ยพระองค  ตามนัยทีก่ ลาวมานจ้ี งึ เห็นทางมีอยูว า ถา  
สุนทรภแู ตงสวสั ดิรักษาถวายพระองคเ จายอดย่ิงยศ กค็ งแตง ในระยะเวลาท่ีเปลี่ยนแผนดิน

77 

แลวน้ีเปนตนไปจนถึง พ.ศ.  ๒๓๙๘ คือในระหวาง พ.ศ.  ๒๓๙๔-๙๘ ซ่ึงสุนทรภู 
ไดรับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปนที่พระสุนทรโวหาร ในตําแหนงจางวางพระอาลักษณใน 
พระบาทสมเด็จพระปนเกลาฯ ฝายพระบวรราชวัง (วังหนา)  และถึงมรณกรรมใน พ.ศ. 
๒๓๙๘ 

ระหวาง พ.ศ.  ๒๓๙๔-๙๘ นพี้ ระชนมายุของพระองคเ จายอดยิ่งยศซ่ึงนับแตป 
ประสูต ิ พ.ศ.  ๒๓๘๑ เปนตนมา  ก็จะตกอยูระหวาง ๑๔-๑๘ พรรษา ถาสุนทรภูแตง 
สวัสดิรักษาถวายในระยะนี้ก็ดูจะทรงเขาพระทัยได แตปญหามีอยูวา พระราชอิสริยยศท ่ี
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ ทรงสถาปนาพระปนเกลาฯ เสมอดวยพระองคนั้น ทรง 
พระราชทานเฉพาะองคเ ทานั้นไมมกี ารสืบสันตติวงศท กุ แผน ดินหรือทุกรัชกาลไป ถาสมมุต ิ
วาสุนทรภทู านแตงสวัสดิรักษาดังขอความที่ปรารภและถวายพระพรดังกลาวน้ัน เมื่อทาง 
ฝา ยพระราชวังหลวงเหน็ ขอ ความนีแ้ ลว จะเขาใจในฝา ยพระบวรราชวังไขวเขวไปก็ได คุณ 
พระสุนทรโวหารคงไมก าวกา ยอาจเอื้อมถงึ ปานนั้น 

ตามขอความที่ไดพิจารณามา จึงเห็นแนวทางอีกทางหนึ่งวาคํากลอนเร่ืองสวัสด ิ
รักษาน ้ี สุนทรภคู งจะแตงในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลัย (รัชกาลท่ ี ๒) 
ระหวา ง พ.ศ. ๒๓๖๓-๖๗ ในเมอ่ื มีพระราชประสงคใ หสุนทรภูถวายพระอักษรแดเจาฟา 
อาภรณอันเปน วชิ าสามัญตามวัยวุฒิของพระองคทาน ซ่ึงมีพระชนมายุ ๓-๙ พรรษาน้ัน 
แลว  จึง ทรง พระ รา ชปรารภถึง เจาฟา มง กุฎ  ซ่ึง มีพ ระชนมา ยุอยูใน ระ หวา ง  ๑๗-๒ ๑ 
พรรษา ตามกฎมณเฑียรบาลเทากับเปนองครัชทายาท ควรจะรูราชนิติแบบแผนประเพณี 
สาํ หรับจะไดท รงสืบสันตติวงศตอไป จึงรับส่งั ใหส นุ ทรภหู าเรอื่ งแตงถวาย เร่ืองสวัสดิรักษา 
ซึ่งเดมิ เปนคาํ ฉนั ท  จงึ ไดกลายมาเปน คํากลอนทลู เกลา ฯ ถวายเจาฟามงกุฎไดทรงศึกษาใน 
ระยะเดียวกันกับถวายพระอักษรเจาฟาอาภรณ สมดังพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จ 
พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั ดงั กลาวมา 

เมื่อเรือ่ งกลอนสวัสดิรักษา ไดท ลู ถวายเจาฟา มงกุฎแลว เจานายอื่นๆ ในราชวงศ 
ไดร ไู ดเ หน็  ทราบขอความนน้ั ๆ เปน ประโยชนควรท่ีจะเลือกปฏิบัติเพ่ือความสวัสดิมงคลได 
ก็ขอลอกคัดกันตอๆ ไป และหรือสุนทรภูเองจะคัดถวายเจานายพระองคอ่ืนท่ีนับถือ อีก 
อยางในช้นั หลังคัดถวายพระองคเจายอดย่ิงยศก็เปนได ฉบับจึงตกไปอยูในที่ตางๆ ก็เลย 
เขา ใจกนั วา สุนทรภแู ตง ถวายเจานายองคน้ันองคนี้ ความจริงแลว ทา นคัดถวายบา ง คนอน่ื  
คัดตอๆ กนั ไปบา ง ทแ่ี ทหาใชฉบบั เดมิ น้นั ไม  เมือ่ เชนน้แี ลว  สุนทรภูจะถกู กลา วหาเปน อยา ง 
อืน่ ไปอยา งไรได เพราะสมุฏฐานเดิมเริ่มแรกที่แตงข้ึน เพื่อทูลเกลาฯถวายเจาฟามงกุฎดัง 
พระราชประสงคใ หสงู ศกั ดิส์ บื สมบัติพัสถานตามกฎมณเฑียรบาลนั้นถูกตองแลวหาไดขาม 
ฐานันดรศักดิ์พระองคใ ดไม 

อนึ่ง จะมผี ขู องใจคําประพันธในตอนตนเรื่องสวัสดิรักษาวา “ถวายหนอบพิตรอิศ 
รา”  น้ัน สุนทรภูคงหมายถึงพระองคเจายอดย่ิงยศพระโอรส (หนอ)  ในพระบาทสมเด็จ

78 

พระปนเกลาเจาอยูหัว ซึ่งเดิมทรงพระนามวาเจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรค เพราะมีคําวา 
“บพติ รอิศรา”  คือ อศิ รา  กห็ มายถงึ  อิศเรศ นั่นเอง ดังนี้ก็เปนความเขาใจท่ีใกลเคียงอยู 
แตคาํ บพิตรอศิ ราในที่นี ้ เขาใจวา ผแู ตง จะหมายถงึ กษตั ริยผูยิง่ ใหญจ ะถูกตองกวา เพราะถา 
หมายไปถึงพระนามเดมิ แลวกต็ อ งพองกันกับพระนามเดิมพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา ฯ 
คือเจา ฟากรมหลวงอศิ รสนุ ทร หรือพอ งพระนามเจาฟากรมขุนอิศรานรุ กั ษ (อศิ รางกรู )  อีก 
ดวยก็ได แตพระองคหลงั นี้มิไดเ ปนบพติ ร  ก็พอจะฟง ไดเหมือนกนั  เพราะฉะนนั้ จงึ เหน็ วา  ผ ู
แตงคงไมมุงหมายถงึ พระนามเดิมของเจานายพระองคใ ดพระองคห นงึ่ ตามท่ขี องใจนั้น 

สว นในเร่อื ง “สภุ าษิตสามอยาง”  คือ 

๑.  สวัสดิรักษา 
๒.  สภุ าษติ สอนเดก็  
๓.  สุภาษิตสอนหญิง 

ในทายคํานําของทาน น.ม.ส.  ท่ีทรงไววา สุภาษิตสอนเด็กกับสุภาษิตสอนหญิง 
เปน สาํ นวนกลอนของสุนทรภูอีก ๒ เรื่อง หมอมเจาจันทรฯ พระโอรสทาน น.ม.ส.  ทรง 

เลา วา   “เมอื่ ขาพเจา ไดอ า นคาํ นํานี้กม็ ไิ ดสนใจในเรือ่ งสุนทรภ ู จึงไมไดทูลถามวา ทรงไดยิน 
มาเชนนั้นหรือมีอะไรแฝงอยูในบทหรือเผลอ”  แลวทรงเห็นวา กลอนสุภาษิตสอนเด็กมี 

กลอนตะกกุ ตะกักอยูจ รงิ  และไมใ ชของสนุ ทรภู นา กลวั จะทรงเผลอ 
พดู ถงึ เร่อื งการดาํ เนินงานหรอื การคนควา วินจิ ฉัยทกุ สิ่งทกุ อยา งยอมสดุ วสิ ยั ทจี่ ะให 

สมบรู ณแ บบทีเดยี วนัน้ ยากนัก ทานบุรพชนของเราเปนผูสราง ผูกอ ผูสาน เพื่ออนุชนรุน 
หลังจะไดปฏิบตั ริ กั ษาศึกษาสบื ตอ  หรอื ขดั เกลาใหบ รสิ ทุ ธิ์สดใสถูกตองตามเหตผุ ลทคี่ วรเปน 
ลาํ ดบั ไป บางประการกเ็ ทา กบั ทานโกลนไวใหเกลา เพยี งเทา น้กี เ็ ปน พระเดชพระคุณหาท่ีสุด 
มไิ ดแลว  

สุนทรภูแตง สวสั ดริ ักษา 
ถวายใคร 

ฉนั ทชิ ย  กระแสสนิ ธุ 
(วิทยาสาร ปท ี ่ ๒๓ ฉบับท ี่ ๓๖ ประจาํ วันที ่ ๒๒ กนั ยายน พ.ศ.  ๒๕๑๕) 

ปญ หาทกี่ ําลังสนใจกนั อยใู นขณะนคี้ อื  “พระหนอ บพิตรอิศรา”  ท่ีทานสุนทรภูเขียน 
“สวสั ดิรักษา”  ถวายน้ันเปนใคร สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ 
ทรง เขีย นไ วใน ประวัติ สุน ทรภู วา  “ม าถึง ตอ นปล าย รัชกาลส มเ ด็จฯ  พ ระพุ ทธ เลิศ หล า 

นภาลัย โปรดใหส นุ ทรภเู ปนครูสอนหนังสือถวายพระเจาลูกยาเธอเจาฟาอาภรณ สุนทรภ ู
แตง กลอนเรอื่ งสวสั ดิรักษาถวายเจา ฟาอาภรณ ข้นึ ตน วา

79 

“สนุ ทรทําคาํ สวสั ดริ ักษา 

ถวายพระหนอ บพติ รอิศรา 

ตามพระบาลีเฉลมิ ใหเ พิ่มพลู ” 

พิเคราะหจากคํา “ตอนปลายรัชกาล”  ก็คงอยูในปมะเมียหรือมะแม พ.ศ. 
๒๓๖๕-๖๖ ตามลําดบั  เพราะป พ.ศ.  ๒๓๖๗ เปน ปเ สด็จสวรรคต (ตรงกบั วนั ท่ี ๒๑ 

กรกฎาคม)  สนุ ทรภกู ็ได  “ออกขาดราชกจิ  บรรพชิตพสิ วาทพระศาสนา”  แตปวอกนั้นดว ย 

คุณฉันท ขําวิไล ไดพิจารณาเห็นไปในทางเปนอยางอื่นโดยกวางขวาง ตามท่ีได 

ปรากฏอยูใ นวิทย าสา ร แล วสรุปวา  “คํากล อนเรื่องส วัสดิรักษาน้ี  สุน ทรภูค งจะแ ตงใ น 
รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลัย (รัชกาลท ี่ ๒)  ระหวาง พ.ศ.  ๒๓๖๓- 

๒๓๖๗ ในเมื่อมีพระราชประสงคใหส นุ ทรภูถวายพระอกั ษรแดเ จาฟาอาภรณ อันเปนวิชา 

สามญั ตามวัยวุฒิของพระองคท าน ซ่ึงมพี ระชนมายุ ๔-๙ พรรษาแลวน้ัน จึงทรงพระราช 

ปรารภถงึ เจาฟามงกุฎ ซง่ึ มีพระชนมายุอยูใ นระหวาง ๑๗-๒๑ พรรษา ตามกฎมณเฑียร 

บาล เทากบั เปนองครชั ทายาท ควรจะรรู าชนติ แิ บบแผนประเพณสี ําหรับจะไดทรงสืบสันตติ 

วงศตอไป จงึ รบั สงั่ ใหสุนทรภหู าเรื่องแตงถวาย เรื่องสวัสดิรักษา ซ่ึงเดิมเปนคําฉันทจึงได 

กลายมาเปนคํากลอนทูลเกลาฯ ถวายเจาฟามงกุฎไดทรงศึกษาในระยะเดียวกันกับถวาย 

พระอักษรเจา ฟาอาภรณ สมดังพระราชประสงคใ นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย 

ดงั กลา วมา…” 

พระนิพนธข องสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทที่ รงอา งไวในประวัติสุนทรภ ู

วา แตงกลอนเร่ืองสวัสดิรักษาถวายเจาฟาอาภรณก็ดี และที่ คุณฉันท ขําวิไล วาแตง 

ทูลเกลา ฯ ถวายเจา ฟามงกฎุ ก็ด ี ชวนใหนาคดิ อย ู แตเม่อื คดิ แลว ทําใหเ หน็ วา ไมนาจะเปน 

เชนน้นั  โดยเหตผุ ลทจ่ี ะลองยกเอามาใหทานผูอานรวมทั้ง คุณฉันท ขําวิไล ลองคิดดู เผื่อ 

จะมคี วามเห็นอยา งขาพเจาบาง 

ท่ีสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานหรือทรงเขาพระทัยตามคํา 
กลอน หรือจะทรงทราบจากสมเดจ็ ฯ กรมพระยาบําราบปรปกษ  (เจาฟากลาง)  พระอนุชา 
เจา ฟา อาภรณ วา สุนทรภแู ตงสวสั ดริ กั ษาถวายเจาฟาอาภรณนั้น พิเคราะหตามระยะเวลา 

และความเปน ผมู ีอาวโุ สในการรบั ราชการของสุนทรภดู แู ลว  เห็นวายังไมชวนใหปกใจเชื่อได 

สนิทนัก เพราะเราทราบกันมาวาสุนทรภูเริ่มเขารับราชการในกรมพระอาลักษณ โดย 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลยั  ทรงพระกรุณาโปรดฯ ใหเอาตัวมานั้น เมื่อ พ.ศ. 
๒๓๖๓ ขณะน้ัน สุนทรภูมีอายุได ๓๕ ป และดวยความฉลาดในการแตงกลอนของ 

สุนทรภู ผูซ่งึ คร้ังหนงึ่ ไดลองทรงดํารัสสั่งใหแตง ตอ บทพระราชนพิ นธ บทนางสีดาผกู คอตาย 

บทพระราชนิพนธทที่ รงไวใ หห นมุ านเขาแกโดยรวดเร็ววา  “จึงเอาผาผูกพันกะสันรัด เก่ียว 
กระหวดั กับก่ิงโศกใหญ”  ทรงติดอยเู พยี งน้ีไมอาจทรงแตงบทตอไปอยางไรใหร วดเร็วได แม

80 

กวีทีป่ รกึ ษาหลายคนก็ไมอาจแตง ตอใหพอพระราชหฤทัยไดดุจกัน เม่ือโปรดใหสุนทรภูลอง 

แตง  สนุ ทรภูก ็แตง ตอพระราชนิพนธว า  “ชายหนึ่งผกู ศออรไท แลวทอดองคลงไปจะใหตาย 
บัดนั้น วายุบุตรแกไดด่ังใจหมาย”  ดังนี้ ก็ชอบหฤทัยและอีกคร้ังหน่ึง ทรงพระราชนิพนธ 

เร่ืองรามเกียรติ์ตอนศึกสิบขุนสิบรถ ทรงพระราชนิพนธบทชมรถของทศกัณฐ ซึ่งใหญโต 
มโหฬารเหลอื ขนาดแลวไมอ าจจะหาความใหญโ ตของสง่ิ ไรท่จี ะนาํ มาประกอบใหสมกบั ความ 
ใหญทท่ี รงแตงไวไ ด  จงึ โปรดใหสนุ ทรภูแตงตออกี  สุนทรภกู ็แตง ตอไดพ อพระราชหฤทัยมาก 
โปรดใหสุนทรภูเปน กวีทท่ี รงปรึกษาดว ยอีกคนหนง่ึ  และทรงต้ังเปน ที่ขุนสนุ ทรโวหาร ในกรม 
พระอาลกั ษณ  พระราชทานท่ีใหป ลูกเรอื นอยูท่ีใตท าชาง... 

ปท ่ที รงโปรดเกลาฯ แตง ตัง้ ใหส ุนทรภูเปนขนุ สุนทรโวหารเปน ป พ.ศ.  ๒๓๖๔ 

ตามประวัติของสุนทรภู เราก็ทราบกันวาสุนทรภูด่ืมเหลา “คร้ังหน่ึง กําลังเมาสุรา 

ไปหามารดา มารดาวากลา ว กลบั ขเู ข็ญมารดา ขณะนนั้ มีญาติผูใหญ จะเปนลุงหรือนาคน 
หนึ่งเขาไปหาม สุนทรภูทุบตีเอาบาดเจ็บถึงสาหัส เขาทูลเกลาฯ ถวายฎีกา ก็ถูกกริ้ว มี 

รับสัง่ ใหเ อาตวั ไปจาํ ไว ณ คุก...” 

ปที่ติดคุก ก็เปนป พ.ศ.  ๒๓๖๔ น่ันเอง เปนปที่ไดรับพระราชทานบรรดาศักด ์ิ
เปนขนุ สุนทรโวหารแลว  เขาจึงทลู เกลา ฯ ถวายฎีการองทกุ ขจึงถกู จําคุกตามรับสั่ง 

สุนทรภตู ิดคกุ อยูนานเทา ใดไมอ าจทราบได  ตามประวัตทิ ีส่ มเด็จกรมพระยาดํารงรา 

ชานภุ าพทรงแตง วา “เลากนั แตเ หตุท่จี ะพน โทษวา พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา นภาลยั  

ทรงพระราชนิพนธบทละครเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงเกิดติดขัด ไมมีผูใดตอใหพอพระราชหฤทัยได 
จงึ มรี ับสง่ั ใหไปเบกิ ตัวสุนทรภูมาจากคุก สุนทรภูตอกลอนไดดังพระราชประสงคก็ทรงพระ 

กรุณาโปรดฯ ใหพนโทษกลับมารับราชการตามเดิม...”  แตตอนน้ีเปนปลายรัชสมัยของ 

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเสียแลว ถาจะโปรดเกลาฯ ใหสุนทรภูแตงสวัสดิ 
รักษาถวายเจาฟาอาภรณ ก็ตองแตงในระยะพนโทษ ซึ่งคงจะราวๆ พ.ศ.  ๒๓๖๕ หรือ 
๒๓๖๖ นัน่ เอง 

ฉะนน้ั  ตามประวัตทิ ย่ี กมาก็พอจะสนั นิษฐานไดวา  สุนทรภคู งจะติดคุกอยูราวปเศษ 
ก็โปรดเกลาฯ ใหพนโทษจํากลับเขารับราชการใหม  ปที่เขารับราชการใหม เปนป พ.ศ. 
๒๓๖๕ ปลายรัชกาล ตามทส่ี มเด็จกรมพระยาดํารงราชานภุ าพทรงสนั นิษฐานวา  สนุ ทรภู 
แตงสวัสดิรักษาถวายเจาฟาอาภรณตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา 
นภาลัย ถาสุนทรภูแตงตอนปลายรัชกาลจริงตามท่ีทรงเขียนไวในประวัติ ก็คงเปน พ.ศ. 
๒๓๖๖ เพราะพอถึงวันท ี่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.  ๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ 
หลานภาลัยสวรรคต สุนทรภูก็ออกจากราชการในปน้ัน พอออกจากราชการก็บวชทันที 
โดยเหตนุ ้ี ป  พ.ศ.  ๒๓๖๗ คงไมใชป ท ี่แตงสวสั ดริ กั ษา 

เม่ือ พ.ศ.  ๒๓๖๖ เจาฟาอาภรณมีพระชันษาประมาณ ๘ พรรษา สุนทรภูม ี
อายุได ๓๘ ป ลองพิเคราะหจากกลอนสวัสดิรักษาที่สุนทรภูเขียนดูแลว สงสัยวาเจาฟา

81 

อาภรณมีพระชันษาเพียง ๘ พรรษา คงจะยังไมเขาพระทัยในคํากลอน ไดตระหนักถึงจะ 
ทรงพระปรชี าเฉลียวฉลาดสุขมุ าลชาติอยา งไรๆ กต็ ามแต  เพราะกลอนสวัสดิรักษาน้ันดูจะ 
ไมเ หมาะสําหรับราชกุมารอาย ุ ๘ ขวบเลย และชีวติ รบั ราชการในกรมพระอาลักษณก็เพียง 
๔ ป จะทรงโปรดเกลาฯ ไวว างพระราชหฤทัยใหเปนผูแตงหนังสือเรื่องสวัสดิรักษา ถวาย 
เทียวหรอื  ประกอบท้งั ทางความและทวงทาํ นองของกลอนแสดงใหเห็นวา  แตง สาํ หรบั “พระ 
หนอบพิตรอศิ รา”  ผทู รงเจริญพระชนมายเุ กนิ เจา ฟา อาภรณมากกวา  

ถาเชนนน้ั  ควรจะเปน “พระหนอบพติ ร”  องคใด? 
ตรงน้ีมาเขากับขอเขียนของ คุณฉันท ขําวิไล ท่ีเสนอวาสุนทรภูแตงสวัสดิรักษา 
“เปนคํากลอนทูลเกลาฯ ถวายเจาฟามงกุฎไดทรงศึกษาในระยะเดียวกันกับถวายพระ 
อกั ษรเจา ฟา อาภรณ…”  พอด ี

คุณฉันท ขําวิไล ใหรายละเอียดประกอบวา “ทรงพระราชปรารภถึงเจาฟามงกุฎ 
ซึ่งมีพ ระชนมายุในระหวาง  ๑๗-๒๑  พ รรษา ต ามกฎมณเฑียรบาล เทากับเปนองครัช 

ทายาทควรจะรรู าชนิติ แบบแผนประเพณีสําหรับจะไดทรงสืบสันตติวงศตอไป จึงรับสั่งให 
สนุ ทรภหู าเรือ่ งแตงถวาย เร่อื งสวัสดิรักษาซ่ึงเดิมเปนคําฉันท จึงไดกลายมาเปนคํากลอน 

...”  ตามท่ไี ดย กมาอางขางตน  

พระบรมราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ปรากฏวาทรงมี 
พระสติปญญาเฉลียวฉลาดกวางขวางลึกซึ้งยิ่งนัก พระราชสมภพเม่ือวันที่ ๑๘ ตุลาคม 
๒๒๔๗ ทรงศึกษาอักษรสมัยแตกฉานตั้งแตมีพระชนม ๖ พรรษา ย่ิงเจริญพระชันษาก็ 
ย่ิงทรงพากเพียร ทรงอานเขียนไดท้ังไทยและขอม จากสํานักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย 
(ขนุ )  วัดโมฬโี ลกยาราม ทรงแตกฉานวิชาคํานวณคูณหารถึงกรณฉวางทรงเชี่ยวชาญเพ 
ทางคศาสตร นิติศาสตรราชกรัญราชประเพณี ทรงขับข่ีพาชีพระคชกรรม  ชํานาญเพลง 
อาวุธโดยเจาพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด บุณยรัตพันธ)  เปนผูถวายอนุศาสน “โปรด 
ศึกษากีฬาโลด โปรดไปโปรดเกินสมโปรดสมาคมขัดติยอมาตย โปรดคบปราชญ สมณะ 
พราหมณ  โปรดซักถามคติบรุ าณ พระโวหารเฉลยี วฉลาด” 

จากพระราชพงศาวดารและตามมหามกุฎราชคุณานุสรณพอจะประมวลไดวา 
การศกึ ษานิติศาสตรราชประเพณแี บบแผนสําหรับกษัตรยิ ส บื สันตติวงศน นั้  มีสมเด็จพระสัม 
พันธวงศเ ธอ เจา ฟา กรมหลวงพทิ ักษมนตรกี ับพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลัยทรง 

สอนและทรงอนศุ าสนดวยพระองคเอง “บิดวินทรถวิลฝกเลีย้ ง เช่ยี วชิดราชกติ ยเ พ้ยี งภาคย 
ไทถนองงาร รชั นา รับราชการเกียรตฟิ งุ  ตา งพระเนตรกรรณคุง เชื่อถวนทวยขุนราบนา... 
ฯลฯ ทรงเจริญวยั วุฒแิ กลวสมทอดหฤทยั แลว โปรดใหอ อกวงั ...แลนา” 

เมอื่ โปรดเกลาฯ ใหออกวัง โดยเสด็จไปประทับ ณ พระราชวังเดิมซึ่งเคยเสด็จอย ู
มากอ น และควรจะนํามากลาวไว ณ ทแี่ หง น้ีดวยวา เม่ือ พ.ศ.  ๒๓๖๕ นั้น สมเด็จเจา 
ฟาชายมงกฎุ สมมตุ ิเทวาวงศฯ ทรงมีพระชันษา ๑๘ พรรษา กท็ รงมีพระองคเจาพระโอรส

82 

๑ องค ทรงพระนามพระองคเ จาชายนพวงศฯ  (คอื  พระเจา บรมวงศเธอ กรมหมน่ื มเหศวร 
ศิววิลาศ ตนราชสกุล นพวงศ)  และ พ.ศ.  ๒๓๖๗ ทรงมีพระองคเจาพระโอรสอีก ๑ 
องค  ทรงพระนามพระองคเจาสุประดิษฐฯ (คือ พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นวิษณุนาถ 
นิภาธร ตนราชสกุล สุประดษิ ฐ) 

ขอใหพิเคราะหดสู มเดจ็ เจา ฟา มงกฎุ พระบรมราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระพุทธ 
เลิศหลานภาลัย ทรงมีพระชันษาไมนอยกวา ๑๘ พรรษา ทรงมีพระสติปญญาสามารถ 
ฉลาดลํ้าเลิศ ทรงเลาเรียนเจนจบและมีพระองคเจาถึง  ๒  องค เห็นปานนี้แลว 
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั  ยงั จะทรงโปรดเกลาฯ ใหสุนทรภูแตงสวัสดิรักษา 
คํากลอนถวาย เพ่ือใหทรงเรียนรูถึงราชนิติแบบแผนประเพณี สําหรับจะไดทรงสืบสันตติ 
วงศซ้าํ ซอนกับท่ีไดทรงสอนใหแลวอีกหรือ?  ดูไมนาจะเปนไปได และในป พ.ศ.  ๒๓๖๗ 
น่ันเอง เจาฟามงกุฎกไ็ ดทรงผนวช สรุปส้ันๆ ตรงนวี้ า  

พ.ศ.  ๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัยเสดจ็ สวรรคต สมเด็จเจา 
ฟาชายมงกุฎสมมุติเทวาวงศฯ เสด็จเขาทรงผนวช สุนทรภูออกจากราชการและบวชในป 
นั้นเหมอื นกนั  

ขา พเจา ไมเ หน็ พอ งดวยเลยท่ี คณุ ฉนั ท ขาํ วไิ ล มาเกณฑใ หส ุนทรภูแตงสวสั ดริ กั ษา 
คาํ กลอนถวายเจาฟา มงกฎุ  

ขา พเจา ไมเ ห็นดวยท ี่ คณุ ฉนั ท ขําวไิ ล วา พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา นภาลยั  
รับส่ังใหสุนทรภูหาเร่ืองที่เหมาะสําหรับรัชทายาทไดศึกษาเพ่ือรูราชนิติแบบแผนประเพณ ี
สําหรับจะไดสืบสันตติวงศ ขาพเจามิไดหมิ่นความรูของทานอาจารยสุนทรภู ผูซ่ึงขาพเจา 
เคารพเทดิ ทูนในอัจฉริยภาพของทา นอยางย่งิ  การทข่ี าพเจา ไมเ หน็ ดวยในขอทว่ี า มาทั้งหมด 
เ พ ร า ะ เ ห็ น ว า   ถ า จ ะ เ ป น ก า ร ใ ห เ จ า ฟ า ม ง กุ ฎ ท ร ง ร อ บ รู ร า ช นิ ติ ป ร ะ เ พ ณี   ฯ ล ฯ   แ ล ว 
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา นภาลัย คงจะทรงเปนองคพระราชอนุศาสนมากกวาผูอ่ืน 
สุนทรภูสามารถแตงสวัสดิรักษาถวาย “พระหนอบพิตรอิศรา”  ได แตตองไมใชทั้งเจาฟา 
มงกฎุ และเจา ฟา อาภรณ  และตองไมใชใ นระยะเวลากาลเทศะน้นั อีกดว ย 

ถา เชนน้นั  สนุ ทรภูแตง “ถวายพระหนอ บพติ ร”  องคใ ด?  เมื่อใด? 

เรอื่ งนาจะเปนอยา งน้ี... 
เดมิ สุนทรภูมิไดมงุ มาดปรารถนาจะเขา รับราชการ ตามประวัติก็วาทานหลบหนกี ลวั  
พลอยผดิ เนื่องจากภัยการทิ้งบัตรสนเทหซ่ึงระบาดอยูในยุคกรมหมื่นศรีสุเรนทรถูกจับและ 
ถกู จําขังดว ยเรอื่ งกาคาบขาว จนส้ินพระชนม ไปถึงจังหวัดเพชรบุรี ทานไดเขารับราชการ 
เพราะสํานวนกลอนของทานที่รัชกาลท่ ี ๒ โปรดเกลาฯ ใหสอบสวนหาตัวผูลอบทิ้งบัตร 
สนเทห  เมื่อไดทอดพระเนตรเห็นสํานวนกลอนของสุนทรภู ก ็ “ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ 
ใหเ อาตัวมารับราชการเปนอาลักษณ”  น่ี เปนมูลเหตุการเขารับราชการของสุนทรภ ู ครั้น 
รัชกาลที ่ ๒ สวรรคต สุนทรภูก็ตองออกจากราชการและดูเหมือนจะบวชหนีราชภัยหรือ

83 

บวชถวายพระราชกุศลก็ไดท งั้  ๒ ประการ ณ วัดราชบูรณะราชวรมหาวิหาร เม่ือบวชและ 

ออกพรรษาแลวก็เตร็ดเตรไปทุกแหง “ทางบกเรือเหนือใตเทีย่ วไปทว่ั  จงั หวัดหัวเมืองส้ินทุก 
ถ่ินฐาน...”  และไดรําพันถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ผูเปน “เจาประคุณ” 
ของทานไวในนิราศภูเขาทองวา “ถึงหนาวัดด่ังหน่ึงใจจะขาด คิดถึงบาท บพิตรอดิศร โอ 

ผานเกลาเจาประคุณของสุนทร แตปางกอนเคยเฝาทุกเชาเย็น พระนิพพานปานประหน่ึง 
ศีรษะขาด ดวยไรญาติยากแคนถึงแสนเข็ญ ทั้งโรคซ้ํากรรมซัดวิบัติเปน ไมเล็งเห็นท่ีซึ่งจะ 
พึง่ พา จะสรา งพรตอตสาหสง บญุ ถวาย ประพฤตฝิ า ยสมถะทั้งวสา เปน สง่ิ ของฉลองคณุ มลุ  ิ

กา  ขอเปน ขา เคียงบาททกุ ชาตไิ ป...” 
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยั ทรงเปน   “ผานเกลา เจา ประคุณของสนุ ทร” 

เพราะทรงเอาตัวสุนทรภูเขารับราชการในกรมพระอาลักษณ ซึ่งสุนทรภูไมอาจจะลืมพระ 

มหากรุณาธคิ ุณอันลน พน เกลา พนกระหมอ มของทานได  จงึ  “สรางพรตอตสา หสง บญุ ถวาย 
ประพฤติฝายสมถะทั้งวสา เปนสิ่งของฉลองคุณมุลิกา ขอเปนขาเคียงบาททุกชาติไป...” 

เมอ่ื สุนทรภพู ดู ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลานภาลัยเปนตองพูดไปในทํานอง “ฉลอง 
คุณมลุ กิ า”  ซง่ึ เปน การสนองพระเดชพระคุณตอ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลยั ทกุ  

แหง  เชน “แลว ลาออกนอกโบสถขึ้นโขดหิน กรวดวารินรดทําคําอักษร สงสวนบุญสุนทรา 

สถาพร ถึงบิดรมารดาครูอาจารย ถวายองคมงกุฎอยุธเยศ ทรงเศวตคชงามทั้งสามสาร 
เสด็จถึงซึง่ บรุ ีนีฤพาน เคยโปรดปรานเปรียบเปยมไดเทียมคน สิ้นแผนดินปนเกลามาเปลา 

อก นาํ้ ตาตกตายนอยลงรอ ยหน ขอพบเหน็ เปน ขา ฝายุคล พระคุณลน เลีย้ งเฉลมิ ใหเ พม่ิ พนู ” 

แตในการเขียนสวสั ดริ ักษาคํากลอนนน้ั  เปนท้ังสนองคุณท้ังสวามิภักด์ิ โปรดอานคํากลอน 
ตอ ไปนี้ 

“ขอพระองคจงจําไวส ําเนยี ก ดงั่ นเี้ รยี กเรื่องสวสั ดิรักษา สําหรับองคพงศก ษตั รยิ ข ตั  

ตยิ า ใหผอ งผาสกุ สวสั ดขิ์ จัดภัย บทบูราณทานทําเปนคําฉันท แตคนน้ันมิใครแจงแถลงไข 
จงึ กลาวกลบั ซับซอนเปน กลอนไว  หวังจะใหเจนจาํ ไดช าํ นาญ สนองคุณมุลิกาสวามภิ กั ด ์ิ ให 

สูงศักดส์ิ ืบสมบัติพัสดฐ าน...”  พเิ คราะหจากคํากลอนต้ังแตตน จนจบ ก็จะเกิดความรูสึกวา 

คาํ กลอนสวสั ดริ ักษานน้ั แตง ถวายพระองคเ จาชายยอดย่ิงยศบวรราโชรสรัตนราชกุมาร (ผ ู
ซ่ึงตอมาไดรบั สถาปนาเปนกรมหม่นื บวรวิไชยชาญ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล)  พระ 
ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว (สมเด็จเจาฟาชายจุฑามณี กรมขุนอิศ 
เรศรงั สรรค)   โดยอาศยั ขอวินิจฉยั  ดังตอ ไปน ้ี

เมื่อสุนทรภูออกจากราชการ พ.ศ.  ๒๓๖๗ ไดบวชและทองเที่ยวไปเกือบท่ัว 
ราชอาณาจักร ท้ังเหนือทั้งใต จนสุดทายไดมาจําพรรษาอยูที่วัดเทพธิดา และไดลาสิกขา 
เม่อื  พ.ศ.  ๒๓๘๕ ไดเขาถวายตวั สวามิภักดิต์ อสมเด็จเจา ฟากรมขุนอิศเรศรังสรรคตามท่ี 
กรมหมน่ื อปั สรสุดาเทพทรงแนะนําและสนับสนุน เพราะมีคํากลอนปรากฏอยูในนิราศพระ 
ประธม  สุนทรภูไดกลาวถึงการไดมาสวามิภักดิ์พึ่งบุญอยูกับสมเด็จเจาฟาชายจุฑามณี

84 

กรมขนุ อิศเรศรงั สรรค  และทรงพระกรุณารบั สนุ ทรภูไ วในพระอุปถัมภเ ปน ความวา 

“ถึงลวงแลว แกว เกดิ กบั บญุ ฤทธ์ิ 

ยังชวยปด ปกอยูไมรูสญู  
ส้ินแผนดนิ ทนิ กรจรจาํ รญู  
ใหเ พิ่มพลู พอสวา งหนทางเดนิ  
ด่งั จนิ ดาหา ดวงชวงทวีป 
ใหชูชีพชว ยทุกขเมื่อฉุกเฉิน 
เปนทํานุอปุ ถัมภไมก าํ้ เกนิ  

จงเจริญเรียงองคท รงสุธา” 

ข ณ ะ ที่ สุ น ท ร ภู เ ข า ถ ว า ย ตั ว กั บ เ จ า ฟ า จุ ฑ า ม ณี   ก ร ม ขุ น อิ ศ เ ร ศ รั ง ส ร ร ค   นั้ น 
พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจา อยหู ัว ยงั ดาํ รงสริ ริ าชสมบัตอิ ย ู และพระองคเจาหญิงวิลาศ 
กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ ผูทรงสนับสนุนใหสุนทรภูเขาถวายตัวกับเจาฟา กรมขุนอิศเรศ 
รังสรรค  นน้ั  ก็เปนพระราชธดิ าพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา เจา อยูห ัว กป็ ระทานพระอุปถมั ภ 
แกสุนทรภูดวยดุจกัน ปรากฏตามที่เลากันสืบๆ มาวา เจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรคทรง 
โปรดฝคารมกลอนของสนุ ทรภู  ไดรบั สนุ ทรภูไ วเมื่อลาสิกขาแลว และดูเหมือนใหเปนผูบอก 
สักวาประจาํ วงของพระองคทานดวย 

เฉพาะพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนั้น ก็มิไดมีพระราชหฤทัยผูกโกรธ 
สุนทรภูแตอยางใด พระเจาลูกเธอ พระองคเจาเจาชายลักขณานุคุณ กับพระเจาลูกเธอ 
พระองคเ จา หญิงกรมหมืน่ อัปสรสุดาเทพทรงรบั อปุ การะสุนทรภูถึง ๒ องค ก็มิไดทรงหาม 
ปราม แสดงใหรวู ามิไดทรงสนพระทยั ในเร่ืองที่ผานมาเลย พระจริยคุณและพระเมตตาคุณ 

ของพระองค ท้ังนี้ทําใหสุนทรภูตองเขียนเปนกลอนถวายสรรเสริญพระบารมีไววา “อนึ่ง 

นอมจอมนิกรอปั ษรราช บาํ รุงศาสนาสงฆทรงสิกขา จงไพบูลยพ ูนสวัสด์ิวัฒนา ชนมาหมื่น 

แสนอยา แคน เคือง” 

สุนทรภเู ปรยี บพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยหู วั เปนแกว ดวงที ่ ๕ ขอใหสังเกต 
คํากลอนทที่ า นแตง ไววา ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลัย จะสวรรคตไปแลว กย็ งั  

ม ี “แกวเกิดกับบุญฤทธ์ิ ยังชวยปดปกอยูไมรูสูญ”  แมจะส้ินแผนดินก็ยังม ี “ทินกร”

(จุฑามณี ปน แกว  ยอดแกว ที่สอ งแสงในแผน ดิน คอื ดวงตะวัน) สองหนทางชีวิตสวางอยู 
สุนทรภนู บั พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกเปนแกว ดวงท ่ี ๑ พระพทุ ธเลิศหลา นภาลัยเปน แกว ดวง 
ท ี่ ๒ พระนัง่ เกลาเจา อยูห วั เปน แกวดวงที่ ๓ แกวดวงท ี่ ๔ คือสมเด็จเจาฟามงกุฎสมมุติ 
เทวาวงศ ดวงท่ี ๕ คือสมเด็จเจาฟาจุฑามณี ขอใหแกวหาดวงท่ีผานไดกลาวมานี้ “จง 
เจริญเรียงวงศท รงสธุ า”  หมายถึงใหทรงพระเจรญิ เรยี งพระวงศทรงครองแผนดนิ สืบๆ ไป 

ผทู ่ไี ดอาน “สวสั ดริ กั ษาคํากลอน”  จบแลว คงมีความเห็นเหมอื นขา พเจา ที่วา แตง

85 

ถวาย “พระองคเจายอดยิ่งยศ บวรราโชรสรัตนราชกุมาร”  และแตงเมื่อสมเด็จเจาฟา 
จฑุ ามณี กรมขุนอศิ เรศรงั สรรค ไดรับพระราชทานบวรราชาภิเษกเปนพระบาทสมเด็จพระ 
ปนเกลาเจาอยูหัว รับพระบวรราชโองการแลวเมื่อ พ.ศ.  ๒๓๙๔ พระชนมายุได ๔๔ 
พรรษา 

- ขณะนั้นพระองคชายยอดย่งิ ยศ มีพระชนมประมาณ ๑๔ พรรษา 
- สุนทรภูไดรับพระบวรราชโองการพระราชทานบรรดาศักดิ์เปนพระสุนทรโวหาร 
เมอ่ื มีอายไุ ด  ๖๖ ป 
- และแตงสวัสดิรักษา “ถวายพระหนอบพิตรอิศรา”  เมื่อ พ.ศ.  ๒๓๙๔ หรือ 
พ.ศ. ๒๓๙๕ 

พระองคเจา ชายยอดย่ิงยศ บวรราโชรสรัตนราชกุมาร ทรงพระอิสริยยศเปนเพียง 
พระราชโอรสพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว ซ่ึงเปนพระเจาอยูหัวองคที ่ ๒ 
(พระราชวงั บวรฯ)  จงึ ทรงสทิ ธติ ามกฎมณเฑียรบาลเพียง “พระหนอ บพิตร”  เทา น้นั  หาใช 
“พระหนอ พทุ ธเจา ”  พระราชโอรสพระบาทสมเด็จพระพุทธเจาอยหู ัวแหงวงั หลวงไม สุนทร 
ภจู ึงประหยัดถอยคาํ ท่เี ขยี นถวายใหถกู ตอ งวิสยั พระอาลกั ษณโ ดยเริม่ ตนวา 

สุนทรทาํ คําสวัสดริ ักษา 
ถวายพระหนอ บพิตรอศิ รา 
ตามพระบาลเี ฉลิมใหเพิม่ พูล 
เปนของคผู มู อี ิสริยยศ 
จะปรากฏเกดิ ลาภไมสาบสูญ 
สืบอายสุ ุริยวงศพงศป ระยูร 
ใหเ พิ่มพนู ภญิ โญเดโชชัย 

พึงสังเกตวา สุนทรภูมิไดใชถอยคําตามอยางธรรมเนียมประเพณีที่ใชกับองครัช 
ทายาทหรอื เจา ฟา ผทู ่ีสืบสนั ตติวงศใ หป รากฏอยูใ นเรื่องที่ทานแตงข้ึนเลย ใชเฉพาะถอยคํา 
สําหรับผทู เ่ี ปน พงศก ษตั ริยเ ทานัน้  ตอนทายเร่อื งทานจงึ เขยี นไวว า  

ขอพระองคจ งจําไวสาํ เหนยี ก 
ด่งั นีเ้ รยี กเร่ืองสวัสดิรกั ษา 
สําหรบั องคพงศก ษัตรยิ ข ตั ติยา 
ใหผ องผาสกุ สวสั ดิข์ จัดภัย 

ขณะแตงสวัสดิรักษาถวายนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ยังไมมี

86 

สมเดจ็ พระหนอ พทุ ธางกรู  สนุ ทรภคู งคาดหวังตามขนบธรรมเนียมประเพณีและโบราณราช 
ประเพณีก็ไดวา พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวเปนเสมือนสมเด็จพระมหาอุปราช 
เจา กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลทรงสทิ ธใิ นการรบั ราชสมบัติเมือ่ พระบาทสมเด็จพระจอม 
เกลา เจาอยูหวั เสดจ็ สวรรคต เพราะเปน อารยธรรมและวฒั นธรรมเกา แกของชนชาติไทยมา 

แตปางบรรพวา “พี่ตายไวแกนอง พอตายไวแกลูก  ลูกตายไวแกหลาน หลานตายไวแก 
เหลน...”  ถา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูหัวเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระปน 

เกลาเจาอยหู ัวตอ งไดร ับสิรริ าชสมบัติแหงวังหลวงแทน เพราะเปนพระโสทรานุชา และเมื่อ 
พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาเจาอยูหัว เสด็จขึ้นครองราชสมบัติวังหลวงแลว พระองคเจา 
ยอดย่ิงยศ บวรราโชรสรัตนกมุ าร กต็ องไดร ับราชสมบตั สิ ืบสนั ตตวิ งศในฐานะพระราชโอรส 

แตเปนมงคลอันอุดมอยางหน่ึงของพระราชวงศจักรี ที่กรมพระราชวังบวรสถาน 
มงคลองคผูทรงสิทธิในราชสมบตั ิสืบสันตตวิ งศแทนวังหลวง เสด็จทิวงคตกอนวังหลวงทุก 
รัชกาล พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัวสวรรคตเม่ือพุทธศักราช ๒๔๐๘ ปญหา 
ยงุ ยากในการครองราชบลั ลงั กจ งึ ไมม เี กดิ ขึน้ เหมอื นสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาเปน ราชธานี 

ฉะน้ัน สวัสดิรักษาคํากลอนสุนทรภูจึงเปนเพียงแตงถวายพระองคเจายอดยิ่งยศ 
โดยแปลงจาก 

...บทบูราณทานทําเปนคาํ ฉันท 

แตค นน้นั ยังไมแจงแถลงไข 
จึงกลาวกลบั ซบั ซอนเปนกลอนไป 
หวังจะใหเ จนจําไดชาํ นาญ 
สนองคุณมูลกิ าสามภิ ักด ์ิ
ใหส ูงศกั ดสิ์ บื สมบัตพิ ัดสฐาน 
แมน ผดิ เพ้ียนเปลี่ยนเร่ืองเบ้อื งบรู าณ 
ขอประทานษานโุ ทษไดโปรดเอย 

ตามเหตุผลท่ีไดกลาวมา จึงเปนการเฉลยปญหาที่สนใจกันอยูในบัดน้ีไดวา 
สวัสดิรกั ษาคํากลอนน้ัน สุนทรภูแตงถวายพระองคเจาชายยอดยิ่งยศ บวรราโชรสรัตน 
ราชกมุ าร ดว ยประการฉะน ้ี

อาจารยฉ ันท ขําวิไล และอาจารยฉันทิชย กระแสสินธุ วาไปแลว ตอไปนี้ทาน 
จนั ทรจ ะวา บา ง 

ขา พเจา เห็นวาปญหา  “หนอบพิตรอิศรา”  น้ันมิใชปญหาสําคัญ เพราะเร่ืองน้ีคง 
ไมใชเ ร่ือง “ราชการลบั เฉพาะ”  แตอ ยางไร เม่ือแตงแลว เจานายพระองคใด หรือใครก็อาน

87 

ได ขืนไปคิดวาเปนเร่ืองแตงถวายโดยเฉพาะ เร่ืองสวัสดิรักษาคําฉันท หรือตนฉบับเดิม 
ภาษาบาลี มติ อ งหมายวา เปนบทสําหรับเจานายองคใดองคหน่ึงดวยหรือ คําฉันทตอนตน 
วา  

จะกลา วในเบญจธาตุกถา  ชอื่ สวสั ดิรักษา 
ประกอบดว ยวิชาการ 

สาํ หรบั ผูมีปรีชาชาญ  ประพฤตติ ามโบราณ 
จะเกียจจะกันจญั ไร 

ใหดบั ทกุ ขโศกโรคภัย  อปุ ท วะมีใน 
พิบัตสิ ิ้นสบสรรพ 

โทษอนั ใดในปจ จุบนั   กฤตยาไภยนั  
ตรายอยา ไดแปดปน 

เปน ขายกางก้นั เกยี จกล  ฝา ยซ่ึงศรุ าผล 
มงคลอันดีมีมา ฯลฯ 

ขอความขางบนน้ีหมายความวา สวัสดิรักษามิใชบทสําหรับเจานายพระองคใด 
โดยเฉพาะอยางที่คุณฉันทหรือคุณฉันทิชยเขาใจ เปนบทที่ขุนนางนอยใหญใชไดท่ัวทุก 
ตัวตนตลอดจนตาสีตาสา จะมียกเวนก็เห็นแดทานท่ีมียศเปนชาง หรือขุนนางพระ แลว 
ขาพเจายังสงสัยเพิ่มเติมอีกวา ทานขุนนางที่เปนหลวงพอนั้น ยังจะเอาบทนี้เสกกถาทํา 
น้ํามนตเ ปาหัวชาวบา นทเี่ จ็บทอ งขอ งใจอกี ดวย ทานกว็ า ของทา นวา  ใหม ันเปนสริ มิ งคล ววั  
ควายของมนั จะไดไมลงทองแถมนอ สวัสดิรักษาดูจะเปนบทท่ีใชไดสารพัดอยาง สมดังชื่อ 
ของเร่อื ง 

แตทจ่ี ะรูว าสนุ ทรภูแตงสวสั ดิรกั ษาเม่อื ปลายรัชกาลท ่ี ๒ หรือตนรัชกาลท ่ี ๔ รูได 
งายทส่ี ดุ จาก “เสียงกลอน”  ในเรื่อง เสียงกลอนในท่ีน้ีไมไดหมายความวาสํานวน เพราะ 
สํานวนของสุนทรภูก็คือสํานวนของสุนทรภูน่ันเอง ผิดกับสํานวนกลอนของผูอ่ืนเชน 
เสมียนมี เปนตน  เสียงกลอนหมายถึงลีลาของเรื่อง คือจังหวะที่ใชน้ันเร็วหรือชา จะขอ 
อธิบายโดยยกอทุ าหรณเ ปรยี บเทียบวา  สมมตุ ิวา สุนทรภูขับรถยนตเปน ในวัย ๒๐ ก็อาจ 
ขับโลดโผน ในวยั  ๓๐/๔๐ กอ็ าจขับอยา งราบเรียบดวยความชํานชิ ํานาญ พอถึงวัย ๕๐/ 
๖๐ กอ็ าจขับอยา งเดียวกัน เวนแตความประมาทมีนอยลง ในระหวางวัย ๖๖ (เมื่อเร่ิม 
รัชกาลท ี่ ๔)  และ ๗๐ (เมื่อสนิ้ ชีวิต)  ก็อาจขับอยา งเชื่องชา เพราะกําลังภายในและไหว 
พริบมนี อยกวาเกา  เชนน้ีเปน ธรรมดาของมนุษยทั่วไป ในการแตงกลอนก็เชนเดียวกัน ถา 
สุนทรภแู ตงสวสั ดิรักษาเมอ่ื ปลายรัชกาลที ่ ๒ ก็จะตองแตงกอนอายุ ๓๘ (สวรรคต พ.ศ. 
๒๓๖๗)  ซ่ึงเปน วัยทค่ี ลองวองไวเตม็ ท ่ี แตถา แตงเม่อื ตน รัชกาลท ่ี ๔ กจ็ ะอยูในวยั  ๖๖- 
๗๐ เปนระยะเวลาท่ีเจา ตัวอาจรสู กึ วา  ไมแ ตงดกี วา !

88 

ทีจ่ ะอธิบายวา บทไหนของสุนทรภแู ตงในวัยไหนเปนวิชาท่ีไมม สี อนในโรงเรียน หรือ 
มหาวิทยาลัย (หรอื ถา ม ี ขาพเจา ก็ไมเคยเห็นใครเขียนไวกอน)  ฉะนั้นท่ีจะอธิบายยอๆ ใน 
เนื้อทจี่ าํ กัดเชน น้ีกม็ หี วังอานไมรเู รอื่ ง ดไี มด จี ะกลายเปนเร่ืองของเซนไป รูคนเดียวอธิบาย 
ใหค นอน่ื ไมไ ด แตเ รือ่ งนีไ้ มใ ชเ รือ่ งยากเยน็ อะไรเลย เมื่อสกั สิบหาปมานี ้ ขา พเจาไดรวบรวม 
เรือ่ งสั้นๆ ของสุนทรภู เพ่ือทําหนังสือประวัติคํากลอนสุนทรภ ู ทานมหาหรีดเรืองฤทธ์ิ (ผ ู
ลวงลับไปแลว ) ไดตรวจสอบตนฉบบั  เมื่อมอี ะไรเปนทส่ี งสยั  พดู กันสองสามคํา ก็รูกันทันท ี
วาบทไหนเปน ของสุนทรภหู รอื ไมใ ช เปนบททแ่ี ตงในวยั ไหน แตกอนท่ีจะอธิบายขอน้ี จะขอ 
พูดถึงกลอนของสนุ ทรภเู สยี หนอย 

ในวัยหนุมสุนทรภูแตงกลอน (โคบุตร นิราศเมืองแกลง นิราศพระบาท  ฯลฯ) 
ตามแบบเพลงยาวสมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทรตอนตน (เจาฟากุง เจาพระยา 
พระคลังหน พระยามหานภุ าพ ฯลฯ)  พอถึงวยั  ๔๐ ตนรัชกาลที่ ๓ สุนทรภูแตงกลอนมี 
สัมผัสในอยางที่เรียกในตํารากลอนศิริวิบูลกิติวากลอนมธุรสวาที (นิราศภูเขาทอง  พ.ศ. 
๒๓๗๑ เพลงยาวถวายโอวาท  พ.ศ.  ๒๓๗๒)  แตก ลอนของสุนทรภูอานสบายหูกวา 
ตัวอยางในตํารา เพราะสุนทรภูเปน “นักเลงทําเพลงยาว”  ทุกวันนี้เราชอบแตงกลอน 
“แบบสุนทรภ”ู   กนั มาก แตง กันแตเ ชา ยนั คา่ํ  ต้ังแตแ รกหดั ใหมจนผมหงอกข้ึนคานแลวก็ไม 
รูจกั หยดุ  ขาพเจาเคยเห็นหนังสอื เลม หน่ึง ดูเหมือนจะชือ่ วธิ ีแตง กลอนสําหรับชนะประกวด 
หรืออะไรในเทือกนั้น ชื่อหนังสือก็ฟงดูพิกลแทนท่ีจะหัดแตงกลอนเพราะอยากแตง หรือ 
อยากเปน กวี กลับเอาอามิสเขามาแทรกทนั ท ี นอกจากนนั้ ก็ดูเหมือนตัวอยางจะมีแตกลอน 
“แบบสุนทรภู”  ท่ีพราวไปดวยสัมผัสใน ทั้งนี้เปนการตั้งสมมุติฐานขึ้นมาอยางหนึ่งวา 
กรรมการจะตอ งชอบกลอนแบบสนุ ทรภู ถาไมเ ชน นั้นช่ือหนังสอื ก็จะกลายเปนวิธีแตงกลอน 
สําหรับแพประกวดไปชิบ เร่ืองของเรื่องมีวา กลอนสุนทรภูกับกลอนแบบสุนทรภู ไม 
เหมือนกัน สุนทรภูแตงกลอนแบบมธุรสวาทีมีเสียงเพลงปนอยูดวย (แลวก็มีกลอนพาไป 
เปนองคประกอบ เพราะมุงแตเสียงเพลงมากกวาใจความ)  เราทานท่ีขาดพรสวรรคหูไม 
กระดิกอยางสุนทรภู เม่ือแตงกลอนแบบสุนทรภูแลว ก็มีหวังทานติดคุกไมนาไปเอาอยาง 
เลย  กระทาชายนายเชกสเปยรเปนกวีที่โลกยกยอง ถาเราแตงกลอนหรือฉันทแบบเปนได 
ก็ไมนาเอาอยาง เพราะเราจะไมเปนตัวของตัวเอง  เสด็จในกรมพระนราธิปฯ ทรงพระ 
นพิ นธกลอน ๘ มีสัมผัสอยางสนุ ทรภ ู แตก ลอนของพระองคท า นมเี สียงดนตรปี นอยดู ว ยจงึ  
ไมเ ปน  “กลอนสนุ ทรภู”  น.ม.ส.  ทรงนิพนธกลอน ๘ มีสัมผัสอยางเดียวกัน แตของทาน 
ใชจงั หวะขดั มนั เพ่ือจะเอาความมากกวา เอาเสียงเพลง หรือเสียงดนตรี กลอนของทานจึง 
ไมเ ปน  “กลอนสุนทรภู”  หรือ “กลอนกรมนรา”  เปน กลอน น.ม.ส.  โดยเฉพาะที่ขาพเจา 
นําเรื่องนี้มากลาวก็เพราะถาเรามัวแตหลับหูหลับตาแตงกลอน  “แบบสุนทรภู”  โดยไม 
คํานงึ ถึง “เสยี งเพลง” ของสุนทรภูดว ยแลว เปน วธิ ที ่ีจะพาตัวเองเขารกเขาพงอยางสบาย 
แฮ

89 

ตอนน้ยี อ นกลาวถึงสวัสดิรักษาคํากลอนของสุนทรภู วิธีที่จะศึกษาตองทําเปนข้ัน 
ข้นั แรกคืออา นเร่อื งเสภาพงศาวดาร  ซ่ึงแตงในรัชกาลท ่ี ๔ ระหวาง พ.ศ.  ๒๓๙๔-๙๘ 
เมอ่ื สนุ ทรภอู ายุระหวาง ๖๖-๗๐ เรอื่ งนี้ยาวถึงสองเลมสมุดไทย เพราะฉะนน้ั ไมตองอาน 
ทั้งหมด ประเดีย๋ วความรูสึกในเรื่องจังหวะจะดานเสียหมด อาน ๘ หนา ๑๐ หนา ก็พอ 
อานจนลีลาเขาฝงในเสนโลหิตดํา เสร็จแลวอานสวัสดิรักษาเพ่ือเทียบวาลีลาเหมือนกัน 
หรือไม เมอื่ เทียบแลว ก็ลมื เสียใหหมด ทําขน้ั ทส่ี องตอไป 

ตอนน้ีถอยหลังไป ๑๐ ป ถึง พ.ศ.  ๒๓๘๕ อันเปนปที่สุนทรภูลาสิกขา เวลา 
น้ันอายุ ๕๗ ป กอนสึกไดแตง เร่ืองรําพนั พิลาปเปน ทาํ นองนิราศลาพรต อา นเรื่องนี้สัก ๘ 
หนา ๑๐ หนา  ตอจากน้ันอานนิราศอิเหนา  ซึ่งแตงรําพันพิลาป  สัก ๔๑๕ ป เปนเรื่อง 
เดยี วกนั  ลีลาเดียวกัน เร่ืองนี้ไมยาว จะอานทั้งหมด หลายๆ เที่ยว ถาเห็นวาลีลาเร็ว ก็ 
พยายามฝนอานใหชา หรือถาเห็นวาชา ก็อานใหเร็ว ลองดูวาจะเปลี่ยนลีลาของเร่ืองได 
หรือไม เสร็จแลวจะอานนิราศพระประธมสัก ๘ หนา ๑๐ หนาก็ได  (เร่ืองนี้แตง พ.ศ. 
๒๓๙๔ กอนราํ พนั พิลาปปเ ดียว)  แตถ า นกึ วาจะทาํ ใหส บั สนในระหวา งหดั เชนนี ้ อยา อา น 
เรอื่ งนด้ี กี วา  เมอื่ ลีลาของนิราศอเิ หนาและราํ พนั พลิ าปเขา เสน โลหิตดําแลวก็ลืมเสียใหหมด 
ทําขัน้ ท่ีสามตอไป 

ตอนน้ีลองจับสํานวนเสมียนมีเพื่อเทียบ คือนิราศเดือนและนิราศพระแทนดงรัง 
เรือ่ งหลังน้ันแตกอนเคยเช่อื กันวาสุนทรภูแตง  แตใ นปจจุบนั คงไมมีใครเช่ือ เพราะหลักอาน 
ออกมาใหมวา สุนทรภูไปพระแทนสามปกอนเสมียนมี (พ.ศ.  ๒๓๗๖ นิราศเณรกลั่น) 
นิราศเดอื นอา นใหหมด สวนพระแทนดงรังอาน ๘ หนา ๑๐ หนาก็พอ พอจังหวะอยูตัว 
แลวก็ลมื เสีย ไปทําขน้ั ท ่ี ๔ ตอ ไป 

ขั้นน้ีจะกระโดดขามไปเสียก็ได  (ถารูสึกวาจะทําใหสับสนเปลาๆ)  คือเรากลับไปด ู
สํานวนสุนทรภูอีกที โดยถอยหลังไป ๑๐-๑๕ ป กอนสึก มีนิราศภูเขาทอง  พ.ศ. 
๒๓๗๑ เพลงยาวถวายโอวาท  พ.ศ. ๒๓๗๒ นิราศเมืองเพชร พ.ศ.  ๒๓๗๔ นิราศ 
วัดเจาฟา  พ.ศ. ๒๓๗๕ สองเรื่องแรกสั้น สองเร่ืองหลังยาว ฉะน้ันเลือกอานเร่ืองสั้น 
เรื่อง เดีย ว แล ะเร่ือง ยาว  ๘  หนา  ๑๐  หนา เร่ืองเดีย ว  จะเห็นวาเรื่อง ที่สุนทรภูแตง ใน 
ระหวางอายุ ๔๐ และ ๖๐ เริ่มแตนิราศภูเขาทองจนถึงนิราศอิเหนาดีทุกเร่ือง ในนิราศ 
ตา งๆ กบ็ ดิ ขอความ อา นไมรสู กึ วาซํา้ ซาก นอกจากนั้นยังไดแตงเรื่องพระอภัยมณี  ต้ังแต 
ตนเกาะแกวพิสดารไวดวย แตถึงกระนั้นลีลาของนิราศภูเขาทอง  ซ่ึงขาพเจาเห็นวาเปน 
นริ าศของสนุ ทรภูท ด่ี ที ส่ี ดุ เร่ืองหน่งึ  กบั นิราศอิเหนา  กม็ ผี ิดกันอยูม าก คือนริ าศ     อเิ หนา 
ลลี าเรว็ กวา  

ตอนนถี้ งึ ขัน้ สดุ ทาย ขอใหเ ทียบนิราศอิเหนาของสุนทรภูกับนิราศเดือนของเสมียน 
มี สองเรือ่ งน้นั ขน้ึ ตนดังน ี้ :

90 

นิราศอิเหนา 

นิราศรางหา งเหเสนหา 
ปางอเิ หนาเศราสดุ ถึงบษุ บา 
พระพายพาพัดนองเที่ยวลอ งลอย 
ตะลึงเหลยี วเปลีย่ วเปลา ใหเ หงาหงมิ  
สชุ ลปริม่ เปย มเยาะเผาะเผาะผอย 
โอเ ย็นค่ํานาํ้ คา งลงพรา งพรอย 
นองจะลอยลมบนไปหนใด 
หรอื เทวญั ชั้นฟาจะพานอง 
ไปไวห องชอ งสวรรคที่ชัน้ ไหน 
แมนนองนอ ยลอยถึงชั้นตรึงสไตร 
สหัสนยั นจะชว ยรบั ประคบั ประคองฯ 

นริ าศเดือน 

โอฤดเู ดอื นหา หนาคมิ หนั ต 
พวกมนษุ ยส ดุ สขุ สนุกครนั  
ไดดูกันพิศวงเม่ือสงกรานต 
ทง้ั ผูดเี ข็ญใจใสอ ังคาส 
อภวิ าทพุทธรปู ในวิหาร 
ลวนแตงตวั ทว่ั ทันวนั สงกรานต 
ดูสคราญเพริดพริ้งทง้ั หญิงชาย 
ทเ่ี ฒาแกแมมายมใิ ครเท่ียว 
สูอดเปร้ียวกนิ หวานลูกหลานหลาย 
ท่กี าํ ดัดซดั สสี วยทง้ั กาย 
เทย่ี วถวายนา้ํ หอมพรอมศรัทธา 

เหตทุ ีข่ า พเจาเลือกสองเรอื่ งนเ้ี พือ่ เปรียบเทียบ เพราะคณุ ฉันทม คี วามเห็นวา สุนทร 
ภูมิไดแตงเร่ืองนิราศอิเหนา  คุณฉันทเห็นวานิราศอิเหนาเหมือนนิราศเดือน  และท้ังสอง 
เร่อื งเสมียนมีเปน ผแู ตง  ในปจจบุ ันไมม ีใครรบั ขอเสนอนี้ เพราะลีลาสองเรอ่ื งผิดกนั ไกล ของ 
สุนทรภูเรว็ กวา จนเปรยี บไดว า  สนุ ทรภูข ับรถยนต  สว นเสมยี นมขี บั เกวียน ตอจากน้ันขอให 
นาํ สวัสดริ ักษาของสนุ ทรภมู าเทียบกบั ทัง้ สองเรือ่ งวา สวสั ดิรักษาลลี าใกลนิราศอิเหนาหรือ 
ใกลนิราศเดือนกวากัน ขาพเจาเห็นวาใกลนิราศเดือนของเสมียนมีมากกวานิราศอิเหนา 
เปรียบวาสุนทรภขู ับรถแทรกเตอรแ ทนทีจ่ ะขบั รถยนตอยา งในนิราศ   อเิ หนา แตถึงกระน้ัน

91 

กเ็ รว็ กวาเสมียนมีขับเกวยี น เหตุท่ีเปน เชนน้ันเพราะสุนทรภูแตงเรอ่ื งสวสั ดิรักษาในรัชกาลท ่ี
๔ เมอื่ หมดพลังภายในแลว 

สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทานทรงมีพระมติแปลกอยูอยางหน่ึง ทาน 
ทรงเห็นวาเสภาพงศาวดารของสุนทรภูไมด ี (คือลีลาชา)  เพราะสุนทรภูกางหนังสือแตง 
ไมไดค ดิ เร่ืองของตนเองเร่ืองจงึ ไมดี (เมอื่ เทยี บกับเร่อื งอ่นื ๆ ของสนุ ทรภ)ู   ทงั้ นหี้ มายความ 
วา สนุ ทรภูจะแตงเรอื่ งน้ใี นรชั กาลไหนก็ตาม แตที่ไมดีเพราะกางหนังสือออกแตงตามความ 
ในหนงั สอื น้ัน อนุโลมตามน้เี ร่อื งสวัสดิรักษาอาจแตงในแผนดินไหนก็ได และที่ไมดีก็เพราะ 
กางหนงั สอื แตง ตามเรือ่ งที่มีอยูแ ลว ในปจจุบันจะมใี ครรับขอนี้หรือไมยังสงสัย กรมสมเด็จ 
พระปรมาฯ ทรงกางหนงั สือเรอื่ งกฤษณาสอนนองของเกาเพ่ือทรงพระนิพนธกฤษณาสอน 
นอ งคําฉันท  และพระนิพนธของพระองคท านกเ็ ปนยอดเย่ยี มในภาษาชนิ้ หน่ึง เสด็จในกรม 
พระนราฯ ทรงกางหนังสือโอมารคัยยาม  (ภาษาอังกฤษ)  ทรงพระนิพนธเรื่องรุไบยยา 
ตตาม และพระนิพนธของทานก็เปนยอดในภาษาชิ้นหน่ึง น.ม.ส.  ทรงกางหนังสือนโลป 
กรณัม  (ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาสันสกฤต)  ทรงพระนิพนธเรื่อง พระนลคําฉันท  และ 
เรื่องของพระองคทานก็เปนยอดในภาษาช้ินหน่ึง ฉะน้ันที่สุนทรภูจะกางหนังสือแตงเรื่อง 
สวัสดิรักษาและเสภาเรื่องพงศาวดารก็ไมนาจะเปนเหตุใหสองเรื่องนั้นดอยกวาเร่ืองอ่ืนๆ 
ของทาน สรปุ วาขา พเจาไมเห็นดวยกับคณุ ฉนั ทวา สนุ ทรภูแตงเร่อื งสวัสดิรักษาคํากลอนใน 
รัชกาลท่ ี ๒ ขาพเจาเหน็ วา แตง ในรชั กาลที ่ ๔ เม่ือสุนทรภูแกแลวหมดฟนหมดไฟท่ีจะแตง 
ใหด ีเหมือนที่แตง เรื่องอ่ืนได สวนจะแตง ถวายกรมพระราชวังบวร บวรวิชยั ชาญ หรือไมนั้น 
ขาพเจาก็ไมแนใจวาจะถวายเจานายพระองคใดพระองคหน่ึงโดยเฉพาะ  คงจะไดอานกัน 
อยา งแพรห ลายหลายๆ พระองค 

สรปุ ประวัติคาํ กลอนสุนทรภู 
ตามธรรมดาโคลงกลอนบทหนงึ่  ไมวาจะเปนของไทยหรอื ฝร่งั  ถา จะดีก็เพราะตวั บท 
ไมใ ชเ พราะประวตั ิกวีผูแตง เปนตน เราแทบจะไมรูประวัติของนายนรินทรธิเบศ (อิน)  แล 
เสมียนมีผูเปนลูกศิษยสุนทรภูเลย เรารูประวัตินายตาบลูกสุนทรภูมากกวา แตเรานิยม 
นิราศนรินทร  แลเรื่องของนายมี เชน นิราศเดือน  มากกวานิราศนายตาบ  เรายกยอง 
เร่อื งสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา เชน  ยวนพาย  แลพระลอ  ทง้ั ๆ ท่ีเราไมรูวาใครเปนผูแตง แตเรา 
กลับไมยกยองเรอ่ื ง เชน นริ าศซ้ีซั้ว ทง้ั ๆ ทผี่ ูแ ตง คือขาพเจาเอง ขาพเจา เอง ขาพเจาเอง 
แตในนริ าศที่สนุ ทรภแู ตง เพ่อื นเลน ใสเร่อื งสว นตวั เขา มา ฉะนน้ั จําเปนตอ งรูประวตั ิ 
บาง (แตไมต อ งมากนักก็ได หยากใยมากไมดี)  ตอไปน้ีเปนศักราชประกอบประวัติสุนทรภู 
เทา ทเ่ี ขยี นไวในหนงั สือนี ้
พ.ศ.  ๒๓๒๙  :  กําเนิดสนุ ทรภ ู
พ.ศ.  ๒๓๕๐  : (ตนป)   ไปหาบิดาท่ีเมืองแกลง แตงนริ าศเมอื งแกลง

92 

พ.ศ.  ๒๓๕๐  : (ปลายป)   ตามเสด็จพระองคเ จาปฐมวงศไปนมัสการพระบาท 
แตงนริ าศพระบาท 

พ.ศ.  ๒๓๕๒  :  เปลีย่ นแผน ดนิ  (เปน รัชกาลท ่ี ๒) 
พ.ศ.  ๒๓๕๙  :  ทอดบัตรสนเทห สุนทรภูเขารับราชการ (?)  เปนขุนสุนทร 
โวหาร 
ตามทีเ่ ลากนั มา สนุ ทรภูแตง นทิ านเร่ืองโคบุตร  กอ นไปเมืองแกลง แลเรือ่ ง ลกั ษณ 
วงศ  กอนเขา รบั ราชการ ระหวางนั้นไดแตงเรื่องจันทโครบ  ถึงเขาถ้ํามุจลินท แลสุภาษิต 
สอนหญิง  สวนเร่อื งท่ีแตงในรัชกาลท ่ี ๒ มี  สงิ หไตรภพ  ตอนตน พระอภัยมณี  ตอนตน 
แลเสภาเรอื่ งขนุ ชางขนุ แผนตอน กําเนดิ พลายงาม 
พ.ศ.  ๒๓๖๗ :  เปลี่ยนแผน ดนิ  (เปนรัชกาลท ่ี ๓ )  สนุ ทรภูออกบวช 
พ.ศ.  ๒๓๗๐ :  มาอยูวัดราชบรู ณะ 
พ.ศ.  ๒๓๗๑ :  ไปอยุธยา แตง นริ าศภูเขาทอง 
พ.ศ. ๒๓๗๒  :  เจาฟากลาง เจาฟาปว มาเปนลูกศิษย แตงเพลงยาวถวาย 
โอวาท 
พ.ศ.  ๒๔๗๔ :  ไปเพชรบรุ ี แตงนริ าศเมอื งเพชร 
พ.ศ.  ๒๓๗๕ :  ไปอยุธยา แตง นิราศวดั เจาฟา   (สาํ นวน “เณรหนูพัด”) 
พ.ศ.  ๒๓๗๖ :  ไปพระแทน ดงรงั  “เณรหนกู ลน่ั ”  แตง นิราศเณรกล่นั  
พ.ศ.  ๒๓๗๙ : (ประมาณ)  ไปสุพรรณบรุ ีแตงนริ าศสพุ รรณคาํ โคลง 
พ.ศ.  ๒๓๘๐ : (ประมาณ)  ตอเรอ่ื งพระอภยั มณ ี
พ.ศ.  ๒๓๘๒ :  ยายไปอยูวัดเทพธดิ า 
พ.ศ.  ๒๓๘๓  : (ประมาณ)  ตอ เร่ืองสิงหไตรภพ 
พ.ศ.  ๒๓๘๔ :  ไปพระประธม แตงนิราศพระประธม 
พ.ศ.  ๒๓๘๕ :  แตง รําพันพิลาป  แลว ลาสกิ ขาไปอยกู ับเจาฟา นอ ย 
ระหวา งที่อยวู ดั เทพธิดาไดแ ตงกาพยล ํานําเรื่องพระไชยสุริยา แลอาจไดแตงนิราศ 
อิเหนา  กบั เหกลอมพระบรรทม  เรื่องพระอภยั มณ ี สวนเหเรื่องอน่ื ๆ อาจแตง แตในรัชกาล 
ที ่ ๒ 
พ.ศ.  ๒๓๙๔  :  เปล่ียนแผนดิน (เปนรัชกาลที ่ ๔)  สุนทรภูเปนพระสุนทร 
โวหาร อาลักษณว งั หนา 
พ.ศ.  ๒๓๙๘  :  ถึงแกกรรม ในรัชกาลท ี่ ๔ เขา ใจวา แตงเรอื่ งสวสั ดิรักษา  แล 
เสภาเรอื่ งพระราชพงศาวดาร 
ขอความขางบนน้ี สันนิษฐานตามหลักฐานท่ีมีอยูในมือในขณะที่เขียนในโอกาส 
ตอไป เปนตนเมื่อพบบทที่วาแตง ถวายพระองคเ จาลักขณานุคุณก็อาจเกิดขอพล้ังพลาดได 
ขาพเจา ไมน ึกวา เรอื่ งของสนุ ทรภจู ะเสร็จสนิ้ ลงไดใ นหนังสือเพียงหนึ่งเลม เชน น้ี

93 

แตอ ยางไรก็ตาม หากมขี อ ความใดผิดพลาดขาดตกบกพรองเกิดขึ้นในภายหนา 
ทานผูอานจงเขาใจวาเปนเพราะความโงเขลาเบาปญญาของขาพเจาเอง ขาพเจาเอง 
ขา พเจา เอง

จบประวัติคาํ กลอนสุนทรภ ู
เรื่องสุนทรภูน้ีจะเห็นวาผมเกือบจะไมไดเขียนเลย เพราะลวนแตคัดตัดตอนมา 
ปะตดิ ปะตอกนั ทงั้ ส้ิน 
โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ตัดตอ หวั ขอ พระนิพนธของทา นจันทรเปน สาํ คัญ 
๒๐ กวาปท ผี่ า นมา ผมเขา เฝา ทา นจนั ทรอยา งใกลช ิดคนหนึง่  ทีแ่ นๆ  กค็ ือเขาเฝา 
ทานที่รา นเหลาละแวกหนา พระลานเม่ือครงั้ ทท่ี านยังทรงรับราชการอยใู นกระทรวงการคลัง 
ซง่ึ มที ีท่ ําการอยูในบริเวณพระบรมมหาราชวังทางดา นประตูวิเศษไชยศร ี
ระยะหลงั ไมค อ ยไดเฝา  เหตเุ พราะทานจนั ทรลาออกจากกระทรวงการคลังเสด็จไป 
ประทับอยูที่เชียงใหม ตอเมื่อทานเสด็จลงมากรุงเทพฯ จึงไดเฝาทานตามรานเหลา 
เหมอื นเดมิ  
เมื่อเขาเฝาทานจันทรทุกครั้ง ผมจะไดความรูใหมๆ เพิ่มเติมทุกคร้ังท้ังทางดาน 
ภาษา วรรณคดี ประวัติศาสตรแ ละโบราณคด ี
เมอื่ ประมาณ ๒๐ ปกอนโนน เขาเฝา ทา นคราวใดก็จะตอ งเลนโคลงสดๆ กัน แลว 
ทานก็ประทานเลาเรื่องกวโี บราณสมัยตา งๆ เปน พ้ืน ระยะหลังๆ ทานจันทรทรงมุงไปทาง 
ประวตั ิศาสตรและโบราณคด ี แตก ย็ ังโปรดเร่อื งวรรณคดอี ยปู ระปราย ดังนั้นจึงทรงคุยเร่ือง 
วรรณกรรมทองถน่ิ เหนือโดยไมทรงลืมเร่ืองสุนทรภูแมแตครั้งเดียวเพราะโปรดสุนทรภูมาก 
ผมก็พลอยไดค วามรูจากพระโอษฐทานตามไปดว ย 
ครั้นขณะนท้ี า นจันทรทรงสนพระทยั เรือ่ งโบราณคดสี มัยศรีวิชัย เม่ือเฝาทานคราว 
ใดกจ็ ะตอ งไดยนิ ทา นทรงบรรยายเรือ่ งศรวี ชิ ัย เร่อื งสนุ ทรภูกด็ จู ะหายไป 
เจตนาเมือ่ แรกนั้นผมจะเขียนคํานําเร่ืองสุนทรภูเพื่อจัดพิมพเร่ืองสุนทรภู :  มหา 
กวีกระฎม พ ี ของอาจารยนธิ  ิ เอียวศรวี งศ  เลม น้ ี ครนั้ เขียนๆ ไปเรือ่ ยเจื้อยเขา กก็ ลายเปน  
อยางทเี่ ห็นๆ อยนู ี้ ทา ยท่สี ดุ เลยไมร ูจ ะเรยี กวาคํานาํ หรือจะเรยี กวาอะไรด ี
จะเรยี กอะไรกไ็ ดท ั้งน้ันแหละครับ อยาไปยึดอยาไปติดอะไรเลย แตท่ีแนๆ ก็คือ 
คัดลอกของทานจนั ทรมาปรุงแตงใหมทงั้ ดนุ  
ท้ังหมดน้ีก็เพ่ือเผยแพรเร่ืองราวของสุนทรภูใหกวางขวางออกไปใหมากๆ ความ 
จริงคนสวนมากกจ็ ะรูจ กั สุนทรภดู อี ยูแลว  แตท่ีจัดพมิ พเลม นี้ข้ึนมากเ็ พ่อื ใหรูจกั ดยี ิง่ ขึ้นไปอกี  
เทา นน้ั  

สุนทรภูเกิดเมื่อวันท ี่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ.  ๒๓๒๙ ถาหากวันเดือนปเกิดของ 
สุนทรภูถูก ตองแนๆ  ก็หมาย ความวา ครบ  ๑๙๙  ปนี้ แล ะจะครบ  ๒๐๐  ป  ใน พ.ศ .

94 

๒๕๒๙ ปหนา 
ดังนั้น จึงขอใหหนังสือเลมน้ีชวยกระตุนใหผูมีหนาที่เกี่ยวของไดชวยกันคิดวา 

๒๐๐ ปส นุ ทรภทู ่ีจะถงึ ปห นานี้เราจะทําอะไรกันอยา งไรดีเพื่อใหสมกับความเปนมหากว ี
กระฎม พี 

(ที่มา :  สุนทรภ ู :  มหากวีกระฎมพี โดย สุจิตต วงษเทศ  บรรณาธิการ 
สาํ นกั พมิ พเจาพระยา พ.ศ. 2528)


Click to View FlipBook Version