The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narumon Sunthornthip, 2021-05-09 09:57:50

มคอ.2_AVI-2565

มคอ.2_AVI-2565

มคอ.2

- มีความใฝ่หาความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง
- สามารถปรับตัวเขา้ กับสถานการณ์ และวัฒนธรรมองคก์ รท่ไี ปปฏิบตั งิ านได้เป็นอย่างดี
- มีทักษะการใช้และสอื่ สารด้วยภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และ/หรือภาษาตา่ งประเทศอ่นื ๆ
- มที กั ษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการคน้ ควา้ และจัดทําโครงงานนวตั กรรม
5.3 ช่วงเวลา
ทกุ ภาคการศกึ ษาของแตล่ ะชนั้ ปี
5.4 จาํ นวนหนว่ ยกิต
รายวิชาการเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัติ 1 ถึง 5 รายวิชาละ 3 หน่วยกิต
5.5 การเตรยี มการ
นักศึกษาเสนอรายช่ือหน่วยงาน สาขา หรือฝ่ายงานที่ต้องการฝึกปฏิบัติงาน พร้อมเสนอหัวข้อ
โครงงานให้คณะกรรมการพิจารณา โดยมีอาจารย์ทป่ี รกึ ษาและครูพ่ีเลยี้ งคอยใหค้ ําแนะนําและปรับปรงุ โครงงาน
5.6 กระบวนการประเมินผล
มีการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการต้นสังกัด โดยประเมินจากเวลาการฝึก
ปฏิบัติ รายงานหรือโครงงาน และผลการทดสอบความสามารถในการปฏิบัติงาน นําเสนอโครงงานต่อ
คณะกรรมการประเมินผล ซ่ึงประกอบด้วย ตัวแทนจากหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษา และ/หรือตัวแทนจากสถาน
ประกอบการ เป็นต้น

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวัฒน์ 47

มคอ.2

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรขู้ องหลกั สูตร กลยทุ ธ์การจดั การศึกษา และวธิ กี ารประเมนิ ผล

1. แผนการเตรียมความพรอ้ มของนักศึกษาเพื่อให้บรรลผุ ลลพั ธก์ ารเรยี นร้ตู ามท่คี าดหวัง

ผลลัพธ์การเรยี นรตู้ ามทคี่ าดหวัง แผนการเตรียมความพรอ้ ม

PLO1 แสดงออกถึงการปฏิบัติตามระเบียบวินัย - แจ้งกฎระเบยี บ

ความรับผิดชอบ และความซ่ือสัตย์ต่อตนเองและ

สังคม

PLO2 แสดงออกซึ่งการช่วยเหลือบุคคลอื่นโดยไม่ - จัดการเรียนการสอนสอดแทรกการมีจิตอาสาและความ

หวังผลตอบแทนและความมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีและ มีมนุษยสัมพนั ธท์ ่ีดีและปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้

ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้

PLO3 แสดงออกถึงการภาวะความเป็นผู้นําและผู้ - จดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พือ่ คน้ หาความเป็นผนู้ ําและดึง

ตามท่ดี ี ศกั ยภาพของนักศึกษา

PLO4 สอ่ื สารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศใน - จดั การเรยี นการสอนใหผ้ ู้ได้ใชภ้ าษาต่างประเทศใน

บรบิ ทธรุ กจิ การบิน บริบทธุรกิจการบนิ

PLO5 วิเคราะหห์ ลกั การและทฤษฎีพืน้ ฐานดา้ น - เชญิ ผเู้ ช่ยี วชาญในธุรกิจการบิน

การบริหารจดั การธุรกจิ การบนิ - ศึกษาดูงานทเี่ ก่ียวกบั ด้านการบรหิ ารจัดการธุรกิจการบนิ

PLO6 บูรณาการศาสตร์ท่เี กี่ยวข้องกับการบรหิ าร - ศกึ ษาดูงานทีเ่ กี่ยวกับด้านการบริหารจดั การธรุ กิจการบนิ

จดั การธุรกจิ การบนิ

PLO7 วเิ คราะห์และสังเคราะหส์ ถานการณ์โดยใช้ - เชิญผมู้ ปี ระสบการณ์จากการปฏิบัตจิ รงิ ในแตล่ ะดา้ นมา

หลักการบริหารจดั การด้านธุรกิจการบนิ และนาํ ไป เปน็ อาจารย์พเิ ศษหรอื วทิ ยากรเพ่อื ถ่ายทอดประสบการณ์

ประยกุ ตใ์ นสายอาชีพ ตรงจากวทิ ยากรสูน่ ักศกึ ษา

PLO8 แก้ปัญหาสถานการณ์ในธุรกิจการบินโดย - จัดกจิ กรรมเตรยี มความพร้อมกอ่ นการฝกึ ปฏบิ ัตงิ านอกี

เลือกใชห้ ลกั การที่เหมาะสม ทงั้ ยกกรณีศกึ ษาใหแ้ ก่นักศกึ ษาอภปิ ราย

PLO9 นาํ เสนอขอ้ มลู เชงิ วเิ คราะห์โดยใชเ้ ทคโนโลยี - จัดอบรมเรอ่ื งการใชเ้ ทคโนโลยใี หแ้ กน่ ักศึกษา

สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 48

มคอ.2

2. ความสอดคลอ้ งกับกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศกึ ษา (TQF) และประเภทของผลลพั ธก์ ารเรียนรูต้ ามท่ี
คาดหวงั ของหลักสตู ร (Program Learning Outcomes: PLOs)

ประเภทของผลลพั ธ์การเรยี นรู้

ผลลพั ธ์การเรียนรูข้ องหลักสูตร TQF ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ Life-Long
(Program Learning Outcomes: PLOs) ทวั่ ไป เฉพาะสาขา Learning

(Generic LO) (Specific LO) (LLL)

หมวดวชิ าเฉพาะ

PLO1 แสดงออกถึงการปฏบิ ตั ติ าม 1,4  

ระเบยี บวินัย ความรับผดิ ชอบ

และความซื่อสตั ยต์ อ่ ตนเองและ

สงั คม

PLO2 แสดงออกซงึ่ การชว่ ยเหลอื บคุ คล 1  

อนื่ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทนและ

ความมีมนุษยสมั พันธ์ทด่ี แี ละ

ปฏิบัติงานรว่ มกับผอู้ ่ืนได้

PLO3 แสดงออกถึงการภาวะความเป็น 2 

ผ้นู าํ และผู้ตามทดี่ ี

PLO4 ส่อื สารภาษาไทยและ 2 

ภาษาตา่ งประเทศในบริบทธุรกจิ

การบนิ

PLO5 วเิ คราะห์หลกั การและทฤษฎี 3 

พ้นื ฐานด้านการบรหิ ารจดั การ

ธุรกิจการบนิ

PLO6 บรู ณาการศาสตรท์ ี่เก่ยี วข้องกับ 3 

การบรหิ ารจดั การธุรกจิ การบนิ

PLO7 วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ 5 

สถานการณโ์ ดยใชห้ ลักการบรหิ าร

จัดการด้านธรุ กจิ การบินและนาํ ไป

ประยกุ ต์ในสายอาชีพ

PLO8 แก้ปญั หาสถานการณ์ในธุรกิจการ 5 

บินโดยเลอื กใช้หลักการท่ี

เหมาะสม

PLO9 นาํ เสนอขอ้ มลู เชิงวเิ คราะห์โดยใช้ 1,4  

เทคโนโลยี

หมายเหตุ :

1. Generic Learning Outcome; Generic LO หมายถงึ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ท่ัวไปทนี่ กั ศึกษาหรือบัณฑติ ทกุ คนต้องเกิดขึ้น

2. Specific Learning Outcome; Specific LO หมายถงึ ผลลัพธก์ ารเรยี นรเู้ ฉพาะศาสตรส์ าขาวิชาท่นี ักศึกษาหรือบณั ฑติ ทกุ คนต้องเกิดขึ้น

3. Life-Long Learning; LLL หมายถึง ทักษะการเรียนรตู้ ลอดชีวติ

4. TQF หมายถงึ กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ โดย

1 คอื ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 3 คอื ด้านทักษะทางปัญญา

2 คอื ดา้ นความรู้ 4 คอื ด้านทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ

5 คือ ดา้ นทกั ษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์ 49

มคอ.2

3. กลยทุ ธ์การจัดการศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ตามท่ีคาดหวังของหลกั สูตร

หมวดวชิ าท่ัวไป

ผลลพั ธต์ ามทค่ี าดหวังของหลักสูตร

และคณะ/สถาบนั และสอดคล้อง กลยุทธก์ ารสอนท่ีใชพ้ ัฒนา กลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรใู้ น
กบั กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ แตล่ ะดา้ น

ระดบั อดุ มศกึ ษา (TQF)
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
(1) แสดงออกถึงความมวี ินยั และตรงต่อเวลา (1) ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยใน (1) พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การร่วม
(2) ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ตวั เองและเป็นคนตรงต่อเวลา กิจกรรม การฝึกปฏิบัติงาน อย่างสมํ่าเสมอ
มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ (2) ปลูกฝังให้นักศึกษามีความซ่ือสัตย์ และตรงต่อเวลาของนักศกึ ษา
(3) มีความรับผิดชอบท้ังต่อตนเอง สังคม สุจริตโดยต้องไม่กระทําการทุจริตในการ (2) ความซื่อสัตย์สุจริต ไม่คัดลอกผลงาน
และการประกอบอาชีพ สอบ และไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นมา ของผู้อ่ืนมาเป็นของตน และมีส่วนร่วมใน
(4) แสดงออกซ่งึ ประเพณีและวฒั นธรรมไทย เปน็ ของตน กิจกรรมอาสาเพือ่ สงั คม
(5) ปฏิบัติตามระเบียบและกฎเกณฑ์ของ (3) ส่งเสริมให้นักศึกษารับผิดชอบในงานท่ี (3) การส่งงาน และการทํางาน ที่ได้รับ
องค์กรและสงั คม ได้รบั มอบหมาย มอบหมายตามเวลาท่กี าํ หนด
(4) ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงออกซึ่ง ( 4 ) ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ซ่ึ ง ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ
ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมไทย
(5) รณรงค์ให้นักศึกษาปฏิบัติตาม (5) จํานวนพฤติกรรมที่ขัดต่อกฎระเบียบ
กฎระเบียบของสถาบัน และสถาน สถาบนั และสถานประกอบการทล่ี ดลง
ประกอบการ

ด้านความรู้

(1) สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลักการ (1) มีการเรียนการสอนหลายรูปแบบโดย (1) การทดสอบภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติ

พื้นฐาน ที่เรียนรู้และนําไปประยุกต์ใช้ใน เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญโดยสามารถนํา (2) คุณภาพของรายงาน แผนธุรกิจ

ชีวติ ประจาํ วันและศาสตร์ทเี่ กยี่ วข้อง ความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน โครงงาน (Project-based) หรืองานท่ีได้รับ

(2) สามารถอธิบาย ใช้ทฤษฎี หลักการ และศาสตรท์ เี่ ก่ียวขอ้ ง มอบหมาย

ของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และสามารถนํามา (2) มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าและทํา (3) ประเมินผลจากแบบรายงานผล

ประยุกต์หรือเป็นพ้ืนฐานในการเรียนและ รายงานโดยใช้หลักการของศาสตร์ท่ี การศึกษาดูงานนอกสถานท่ี รวมท้ังการฟัง

การทาํ งาน เก่ียวข้องและสามารถนํามาประยุกต์ หรือ วิทยากรทเ่ี ชญิ มาบรรยายพิเศษ

(3) สามารถวิเคราะห์และเลือกใช้ความรู้ เปน็ พน้ื ฐานในการเรียนและการทาํ งาน

ในศาสตร์ท่ีเรียน เพ่ือการวางแผน การ (3) เพ่ิมทักษะการวิเคราะห์และเลือกใช้

เรียนและการทํางาน ความรู้ โดยการพานักศึกษาไปศึกษาดูงาน

นอกสถานที่และเชิญผู้มีประสบการณ์ตรง

มาเปน็ วิทยากรบรรยายพิเศษ

ด้านทักษะทางปัญญา

(1) ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น (1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ (1) คุณภาพของรายงาน โครงงาน (Project-
based) และการอภิปราย
สถานการณ์โดยใช้ศาสตร์ที่เรียน เพื่อใช้ใน กรณีศกึ ษา ให้นักศึกษาค้นควา้ ทาํ รายงาน (2) งานสร้างสรรค์ท่ีได้ค้นคว้า และบูรณา
การวางแผนการทาํ งาน และปฏิบตั งิ านจริง โครงงาน (Project-based) และการ การศาสตรต์ า่ งๆ
(2) สามารถจัดระบบและสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ อภปิ ราย ( 3 ) ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ
โดยนําศาสตร์ที่เรียนมาเชื่อมโยง ต่อยอด (2) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักศึกษา ม อ บ ห ม า ย แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร

ความรู้ และพัฒนาทักษะการปฏบิ ัติงาน ค้นคว้าความรู้ บูรณาการศาสตร์ต่างๆ แลกเปลีย่ นความรู้
(3) มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ เพื่อจัดระบบและสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ๆ

ในศาสตร์ทีเ่ รียนและศาสตร์ทเ่ี กี่ยวข้อง (3) มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

และนํามาแลกเปล่ยี นเรียนรู้

สถาบันการจดั การปญั ญาภิวัฒน์ 50

มคอ.2

ผลลพั ธต์ ามทค่ี าดหวังของหลกั สตู ร

และคณะ/สถาบนั และสอดคลอ้ ง กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ัฒนา กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรูใ้ น
กบั กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ แต่ละดา้ น

ระดบั อดุ มศกึ ษา (TQF)

ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

และความรบั ผดิ ชอบ

(1) สามารถปฏิบัติตามกฏระเบี ย บ (1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา (1) พฤติกรรมและการแสดงออกของ

ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรม เพ่ือให้นักศึกษาเรียนรู้กฏระเบียบ การ นักศกึ ษา

องค์กร ปรับตัว และการทํางานร่วมกันตาม (2) การมีส่วนร่วมระหว่างสมาชิกกลุ่มใน

(2) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบ วฒั นธรรมองคก์ ร งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

มีภาวะผู้นํา และทํางานร่วมกับผู้อ่ืนได้เป็น (2) ฝึกการทํางานเป็นกลุ่ม การทํา (3) คะแนนจิตพิสัยหรือความประพฤติใน

อยา่ งดี โครงงาน (Project-based) และแบ่ง การเรยี น

(3) พั ฒ น า ต น เ อ ง ต่ อ ห น้ า ที่ ค ว า ม หน้าท่ีความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียน (4) สังเกตจากพฤติกรรมทีแ่ สดงออกในการ

รับผิดชอบและงานที่ไดร้ ับมอบหมาย หน้าท่ีกนั ในกลุ่ม รว่ มกิจกรรมต่าง ๆ และการทํางาน

(4) จัดสรรเวลาการทํางาน การดูแล (3) กระตุ้นให้นักศึกษาพัฒนาตนเอง

สุ ข ภ า พ ชี วิ ต ส่ ว น ตั ว แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง สอดแทรกเน้ือหาเก่ียวกับความรับผิดชอบ

ความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานในองค์กรและ ตอ่ ตนเองและงานที่ไดร้ ับมอบหมาย

บคุ คลทว่ั ไป (4) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา

เพ่ือให้นักศึกษารู้จักการจัดสรรเวลาการ

ทํางาน การดูแลสุขภาพชีวิตส่วนตัว และ

การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานใน

องคก์ รและบคุ คลทัว่ ไป

ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข

การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

(1) สามารถใชค้ วามรทู้ างคณิตศาสตร์และ (1) ฝึกแก้โจทย์ปัญหากรณีศึกษาท่ีจําเป็นตอ้ ง (1) ประเมินผลจากการแก้โจทย์ปัญหา

สถิติในการวิเคราะห์ และนําเสนอข้อมูลใน ใช้แบบจาํ ลองคณติ ศาสตรห์ รือสถิติ กรณีศึกษา ที่จําเป็นต้องใช้แบบจําลอง

การเรยี นและการทํางาน (2) ฝึกการใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน และ คณิตศาสตร์หรอื สถติ ิ

(2) สามารถใช้ภาษาไทย ในการอธิบาย เขียนภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร (2) การนําเสนอผลงานเปน็ ภาษาไทย
หลักการและสถานการณ์ รวมถึงการ (3) ฝึกการใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน และ (3) การนาํ เสนอผลงานเป็นภาษาตา่ งประเทศ
สื่อสารความหมายได้อย่างถูกต้องและตรง (4) ความสามารถในการสืบค้น เก็บรวบรวม
เขยี นภาษาตา่ งประเทศเพ่อื การสื่อสาร ข้อมูล การวิเคราะห์ นําเสนอผลงาน และ
ประเดน็
(3) สามารถใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการ (4) บูรณาการการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ การทาํ งาน ทม่ี ีการนําเสนอโดยใชเ้ ทคโนโลยี

ตดิ ตอ่ ส่ือสารอย่างน้อยหน่ึงภาษา สําหรับการสืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูล การ ดิจทิ ัล

(4) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใน วเิ คราะห์ นําเสนอผลงาน และการทํางาน
การสืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูล การ

วิเคราะห์ นําเสนอผลงาน และการฝึก

ปฏิบตั ิงาน

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวัฒน์ 51

มคอ.2

หมวดวชิ าเฉพาะ

ผลลัพธก์ ารเรยี นรูข้ องหลักสตู ร กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ัฒนา กลยุทธ์การประเมนิ ผลการ
(Program Learning Outcomes) เรยี นรู้ในแต่ละดา้ น

PLO1 แสดงออกถึงการปฏิบัติตาม - แจง้ กฎระเบยี บการเขา้ ช้ันเรยี น - การประเมินตนเอง

ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ และความ การสง่ งาน และการสอบ - ประเมนิ การเขา้ เรียน

ซอื่ สตั ยต์ อ่ ตนเองและสังคม - สร้างวนิ ยั การเข้าเรยี น การสง่ งาน - การสง่ งานตามเวลาทกี่ าํ หนด

ในระยะเวลาท่ีกําหนด - ประเมินการสอบและการ

- สอดแทรกความรบั ผดิ ชอบต่อ วัดผล

ตนเองและซื่อสัตย์ตอ่ สังคม

PLO2 แสดงออกซ่ึงการช่วยเหลือบุคคล - ปลูกฝังการมีจิตอาสาช่วยเหลือ - สงั เกตพฤติกรรมของผูเ้ รียน

อ่ืนโดยไม่หวังผลตอบแทนและความมี บุคคลอ่ืนโดยไม่หวังผลตอบแทน ในรายวชิ า

มนุษยสัมพันธ์ที่ดีและปฏิบัติงานร่วมกับ และความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและ - การประเมนิ ตนเอง

ผอู้ ื่นได้ ปฏบิ ัติงานร่วมกับผอู้ ่นื ได้ - จัดกิจกรรมที่เป็นงานกลุ่ม/

- ส่งเสรมิ ให้เกดิ ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั โครงงาน

ผอู้ นื่ ได้

PLO3 แสดงออกถึงการภาวะความเป็น มอบหมายงานกล่มุ ใหท้ ํารว่ มกนั - การมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น

ผนู้ าํ และผตู้ ามท่ดี ี โดยใหน้ ักศกึ ษาได้แสดงออกถึง - การประเมินตนเอง

ความเปน็ ผนู้ ําและผ้ตู ามทีด่ ขี องการ - ประเมินจากมสี ่วนร่วม/

ทาํ งานเปน็ ทมี การแสดงออกในกจิ กรรม

กล่มุ / โครงงาน

PLO4 สามารถสอ่ื สารภาษาไทยและ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยฝึกให้ - ประเมินจากการนาํ เสนอ

ภาษาต่างประเทศในบริบทธุรกิจการบนิ นักศกึ ษามกี ารนําเสนอในชัน้ เรียน การสอบ และผลการปฏบิ ัติ

PLO5 วเิ คราะหห์ ลกั การและทฤษฎี - จัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยฝึกการ - ประเมินจากการสอบและ

พน้ื ฐานดา้ นการบรหิ ารจัดการธุรกจิ การ ต้งั คาํ ถามและวเิ คราะห์หาคาํ ตอบ การมอบหมายงาน

บนิ ด้วยตวั ผ้เู รยี นเอง

PLO6 การบรู ณาการศาสตรท์ เ่ี กย่ี วข้อง - จดั การเรยี นรูห้ ลากหลายรปู แบบ - ประเมินจากการสอบหรอื ผล

กบั การบริหารจัดการธุรกิจการบนิ โดยนาํ หลักการทฤษฎีมา การปฏบิ ตั งิ านท่ไี ดร้ ับ

ประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบตั เิ ช่ือมโยง มอบหมาย

ความร้แู ละใชค้ วามคิดสร้างสรร - ประเมนิ โครงงาน/ชน้ิ งาน

- จดั การเรยี นรูจ้ ากสถานการณ์จรงิ

โดยการมอบหมายงานหรือการทํา

โครงงาน

PLO7 วเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ - จัดการเรยี นรโู้ ดยฝึกใหผ้ ู้เรยี น - ประเมินจากการอภปิ รายผล

สถานการณโ์ ดยใช้หลักการบริหาร วิเคราะห์สถานการณ์ปจั จบุ ันโดยใช้ การปฏิบตั งิ านทไ่ี ดร้ ับ

จดั การดา้ นธุรกิจการบินและนาํ ไป หลักการและทฤษฎที ี่ได้เรียนมา มอบหมาย

ประยกุ ต์ในสายอาชีพ ตลอดจนสามารถนําความร้ไู ป - ประเมินจากการสังเกต

ประยุกตใ์ ช้ในสถานการณ์จรงิ ใน พฤติกรรมในการมีส่วนร่วมใน

การทํางาน แสดงความคดิ เหน็

- จัดการเรยี นรโู้ ดยเชิญวิทยากร - ประเมนิ จากผลการสอบ

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวัฒน์ 52

มคอ.2

ผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องหลกั สูตร กลยทุ ธก์ ารสอนที่ใชพ้ ัฒนา กลยุทธ์การประเมินผลการ
(Program Learning Outcomes) เรยี นรใู้ นแต่ละด้าน

PLO8 แก้ปัญหาสถานการณใ์ นธุรกิจการ - จัดการเรยี นรโู้ ดยฝกึ ใหผ้ เู้ รยี น - ประเมนิ ผลจากการฝกึ

บินโดยเลือกใชห้ ลกั การที่เหมาะสม แกป้ ญั หาในการปฏบิ ตั งิ านจริงดา้ น ปฏิบตั งิ านจากผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง

ธรุ กิจการบนิ ได้ โดยนําหลกั การ - ประเมินจากรายงานทผ่ี ู้เรียน

และทฤษฎีตา่ งๆมาอา้ งอิงได้อย่าง จัดทํา

เหมาะสม - ประเมินจากการนําเสนอผล

การฝึกปฏิบตั ิงาน

PLO9 วิเคราะห์และนําเสนอข้อมูลโดย - จัดการเรียนรู้โดยฝึกให้ผู้เรียน - ประเมินจากผลการวเิ คระห์

ใช้เทคโนโลยี วิเคราะห์และนําเสนอข้อมูลในชั้น และการนําเสนอขอ้ มลู

เรยี นโดยใช้เทคโนโลยีรปู แบบต่างๆ

ความคาดหวงั ของผลลพั ธ์การเรียนรู้เมอื่ ส้นิ ปีการศึกษา

ปีการศกึ ษาท่ี ความคาดหวงั ของผลลพั ธก์ ารเรยี นรเู้ มือ่ สนิ้ ปกี ารศกึ ษา
1
แสดงออกถึงการปฏิบัติตามระเบียบวินัย ความรับผดิ ชอบ ความซอื่ สัตยต์ อ่ ตนเองและสังคม
2 การช่วยเหลือบุคคลอ่ืนโดยไม่หวังผลตอบแทน ความมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีและปฏิบัติงาน
ร่วมกับผอู้ ่นื ได้ และการแสดงออกถงึ ความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมาย
3
4 วิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานด้านการบริหารจัดการธุรกิจการบิน การส่ือสาร
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในบริบทธุรกจิ การบิน และการแสดงออกถึงการภาวะความ
เปน็ ผ้นู ําและผู้ตามท่ดี ี

วิเคราะห์และสังเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการบริหารจัดการด้านธุรกิจการบินและ
นําไปประยุกต์ในสายอาชพี และนาํ เสนอขอ้ มูลเชิงวิเคราะห์โดยใช้เทคโนโลยี

สามารถบูรณาการศาสตรต์ า่ งๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั การบรหิ ารจดั การธุรกิจการบิน และแกป้ ัญหา
สถานการณใ์ นธุรกิจการบิน โดยเลือกใช้หลักการท่เี หมาะสม

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ 53

4. ผงั แสดงความเชอ่ื มโยงผลการเรยี นรู้จากหลกั สูตรสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping)

หมวดวิชาศกึ ษ
 ความรบั ผดิ ชอบหลกั 

รายวิชา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1

1.หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 12345 
1011101 ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สารร่วมสมยั 
1011102 ภาษาอังกฤษในชวี ติ จรงิ  
1011103 ภาษาอังกฤษเพือ่ ธุรกจิ และการทํางาน  
1011204 ภาษาอังกฤษเพื่อการนําเสนออยา่ งสร้างสรรค์  
1012101 อัตลักษณ์ปัญญาภวิ ฒั น์  
1012102 สมดลุ แหง่ ชวี ิต  
1013101 ความเป็นพลเมอื งดจิ ิทัล 
2. หมวดศาสตร์แหง่ ชวี ิต  
2.1 กลุ่มภาษาเพ่อื การสอ่ื สาร 
1021105 ภาษากบั วฒั นธรรมไทย  
1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ  
1021207 หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย  
1021208 การอา่ นออกเสยี งภาษาไทย 
1021309 วถิ ไี ทย ภมู ิปญั ญาไทย และวฒั นธรรมไทย  
1021210 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสมคั รงานและ
 
สมั ภาษณ์ 
1021211 ภาษาองั กฤษในสถานการณป์ จั จุบนั  
1021212 ภาษาอังกฤษเชิงธรุ กจิ 

1021213 ภาษาจนี ในชีวติ ประจําวนั

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ฒั น์

มคอ.2

)

ษาทั่วไป 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะในการวเิ คราะหเ์ ชิง
 ความรบั ผดิ ชอบรอง ระหว่างบุคคลและความ ตวั เลข การส่ือสาร และการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา รบั ผดิ ชอบ
1234
123123 1234





















54

รายวิชา 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม

1021214 ภาษาจีนเพ่ือธรุ กจิ บรกิ าร 123451
2.2 กล่มุ ชีวิตและสงั คมแหง่ ความสุข 
1022203 มนษุ ย์หลากมิติ
1022204 ความรักและสมั พนั ธภาพ 
1022205 รู้โลกกวา้ ง 
1022206 สิง่ แวดลอ้ ม การพัฒนา และความย่ังยืน 
2.3 กลุ่มการจัดการและนวัตกรรม 
1023202 หมากล้อมปัญญาภิวฒั น์
1023203 การจดั การเพอ่ื ความม่ังคัง่ 
1023204 การเปน็ ผปู้ ระกอบการในยคุ ดจิ ทิ ัล 
1023205 นวตั กรรมกับการพฒั นาคุณภาพชีวติ 
1023206 วิทยาศาสตรเ์ พือ่ คณุ ภาพชวี ิต 
1023207 คณติ ศาสตรแ์ ละการตดั สินใจ 


สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์

มคอ.2

2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะในการวเิ คราะหเ์ ชิง
ระหวา่ งบคุ คลและความ ตัวเลข การสอื่ สาร และการ
123 123 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  รับผดิ ชอบ
1234
1234 














55





รายวชิ า

PLO1 PLO2 P

2. กลุ่มวชิ าบงั คบั

1952101 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐานสาํ หรับธุรกิจการบิน √√

1952202 เทคโนโลยีการจัดการสาํ รองท่นี ัง่ เพื่อการท่องเทย่ี ว √√

และการบริการ

1952203 การจดั การธุรกจิ สายการบนิ ในมิติใหม่ √√

1952204 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สารสาํ หรับธุรกจิ การบนิ √√

1952205 การจดั การขนสง่ สินค้าทางอากาศ √√

1952306 การจัดการท่าอากาศยานยคุ ใหม่ √√

1952310 การจัดการงานปฏิบัตกิ ารภาคพ้ืน √√

1952307 การจัดการความปลอดภยั ทางการบิน √√

1952308 การจดั การครัวการบนิ √√

1952309 จิตวิทยาบริการและการจดั การข้ามวัฒนธรรมในธรุ กิจ √ √

การบนิ

1952310 การจดั การงานปฏิบัติการภาคพื้น √√

1952411 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การทดสอบความสามารถทางภาษา √ √

1952412 การพฒั นาบุคลกิ ภาพสําหรบั งานบริการในธรุ กิจการบิน √ √

1952413 การวจิ ัยสําหรบั ธุรกิจการบนิ √√

1952151 การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ดิ ้านธุรกจิ การบิน 1 √√

1952252 การเรียนรภู้ าคปฏิบัติด้านธุรกิจการบิน 2 √√

1952253 การเรียนร้ภู าคปฏิบตั ดิ ้านธุรกจิ การบิน 3 √√

1952354 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติดา้ นธรุ กิจการบนิ 4 √√

1952455 การเรยี นรู้ภาคปฏิบัติด้านธรุ กจิ การบนิ 5 √√

สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์

มคอ.2

Course Learning Outcomes: CLOs ศกึ ษาในช้นั ปี

(ความรู้ ทักษะ และ ทศั นคติ)

PLO3 PLO4 PLO5 PLO6 PLO7 PLO8 PLO9

√√ √ √√ 1
√√ 1

√√ √ √ 1
2
√√ √ √ 2
3
√√ √ √√ 2
3
√√ √ √ √ 3
2
√√ √ √ √

√√ √ √√√

√√ √ √ √

√√ √ √

√√ √ √√ 3
4
√√ √ √ 4
4
√√ √ √ 1
2
√√ √ √√√√ 2
3
√√ √ 4

√√ √ √√

√√ √ √√√

√√ √ √√√

√√ √ √√√√

57

รายวชิ า PLO1 PLO2 P

3. กลมุ่ วชิ าเลอื ก √√
1953301 การจดั การงานบริการผู้โดยสารภาคพนื้ √√
1953302 การจัดการงานบริการบนเครอ่ื งบิน √√
1953403 ภาษาองั กฤษสําหรบั งานบริการผู้โดยสารภาคพื้น √√
1953404 ภาษาองั กฤษสําหรบั การบรกิ ารบนเครอ่ื งบิน √√
1953405 การจดั การคณุ ภาพการบรกิ ารในธรุ กจิ การบิน √√
1953406 การบรกิ ารอาหารและเคร่ืองดืม่ ในธุรกจิ การบนิ √√
1953303 การจัดการควบคุมจราจรทางอากาศ √√
1953407 การจัดการการอํานวยการบิน √√
1953408 การจัดการคลงั สนิ คา้ ทางอากาศ √√
1953409 การจัดการงานตวั แทนการขนส่งสนิ ค้าทางอากาศ √√
1953410 การจดั การโลจิสตกิ ส์ในธรุ กิจการบิน

สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์

มคอ.2

Course Learning Outcomes: CLOs

(ความรู้ ทักษะ และ ทศั นคติ) ศึกษาในชนั้ ปี

PLO3 PLO4 PLO5 PLO6 PLO7 PLO8 PLO9

√√ √ √√ 3
3
√√ √ √√ 3
3
√√ √ √√√ 4
3
√√ √ √√√ 4
4
√√ √ √√ 3
3
√√ √ √√ 4

√√ √ √ √

√√ √ √ √

√√ √ √

√√ √ √

√√ √ √

58

มคอ. 2

หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑใ์ นการใหร้ ะดับคะแนน (เกรด)
การวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษา ใชร้ ะบบการให้คา่ ระดบั คะแนน และ ไมม่ ีค่าระดบั คะแนน ดังนี้
1) การใหค้ ะแนนแบบมคี ่าระดับคะแนน แบ่งเป็น 8 ระดบั ดงั นี้
A คา่ ระดับคะแนน เท่ากับ 4.0
B+ คา่ ระดบั คะแนน เทา่ กับ 3.5
B ค่าระดับคะแนน เท่ากับ 3.0
C+ คา่ ระดบั คะแนน เท่ากับ 2.5
C ค่าระดับคะแนน เทา่ กับ 2.0
D+ คา่ ระดับคะแนน เท่ากับ 1.5
D คา่ ระดับคะแนน เทา่ กบั 1.0
F ค่าระดบั คะแนน เทา่ กบั 0
2) การให้คะแนนแบบไม่มีค่าระดับคะแนนในบางรายวิชา จะให้คะแนนเป็น S หรือ U โดยมี

ความหมาย ดงั น้ี
S หมายถงึ ผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์
U หมายถงึ ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ นตามเกณฑ์

ท้ังน้ี การวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษา เป็นไปตามขอ้ บังคับสถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั นว์ า่
ด้วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิข์ องนกั ศกึ ษา
1) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศกึ ษายงั ไมส่ ําเร็จการศกึ ษา
(1) อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรและคณะกรรมการประเมนิ ขอ้ สอบของแตล่ ะรายวิชาวา่ สอดคล้องกับ

ความรับผิดชอบตอ่ ผลการเรยี นรู้หรือไม่
(2) การประเมินผลของแต่ละรายวิชาต้องผ่านท่ีประชุมของภาควิชาหรือคณะกรรมการที่ภาควิชา

แต่งตง้ั กอ่ นประกาศผลสอบ
(3) พิจารณาจากรายงานการประเมินผลการฝึกงานในรายวิชาการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ซ่ึงทางสถาน

ประกอบการเป็นผรู้ ายงานวา่ นกั ศกึ ษาปฏิบตั งิ านได้ตามมาตรฐานหรอื ไม่
(4) ตรวจสอบจากรายงานรายวิชา

2) การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นร้หู ลงั จากนกั ศึกษาสาํ เร็จการศกึ ษา
1) ภาวะการได้งานทําของบัณฑิต
(2) การทวนสอบจากผปู้ ระกอบการ โดยการขอสมั ภาษณ์จากผ้ปู ระกอบการ
(3) การประเมนิ ตําแหนง่ หรอื ความกา้ วหน้าในสายงานบัณฑติ

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์ 59

มคอ. 2

3. เกณฑก์ ารสําเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร
1) เรียนครบตามจํานวนหน่วยกิตท่ีกําหนดไว้ในหลักสูตร ครบถ้วนตามเกณฑ์ขั้นต่ําของแต่ละรายวิชา

และเกณฑก์ ารสาํ เร็จการศกึ ษาตามหลักสตู ร
2) มีระดับคะแนนเฉล่ียสะสม (GPAx) ของรายวิชาทั้งหมดท่ีนักศึกษาได้ศึกษา ไม่ตํ่ากว่า 2.00 จาก

ระบบ 4 ระดบั คะแนนหรอื เทยี บเทา่
3) ผา่ นการฝึกปฏบิ ตั งิ านตามเกณฑ์ทแ่ี ตล่ ะหลกั สตู รกําหนด
4) ความประพฤติดี และไมม่ ีหนสี้ นิ ใด ๆ ต่อสถาบัน
5) อื่น ๆ เป็นไปตามข้อบังคับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี

พ.ศ. 2560

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 60

มคอ. 2

หมวดที่ 6 การพฒั นาอาจารย์

1. การเตรียมการสาํ หรบั อาจารยใ์ หม่
1.1) มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของสถาบัน คณะตลอดจนใน

หลกั สตู รท่สี อน
1.2) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพ่ือส่งเสริมการสอนและการวิจัย

อย่างตอ่ เน่ือง การสนบั สนนุ ดา้ นการศึกษาต่อ ฝกึ อบรม ดงู านทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรตา่ ง ๆ การประชุม
ทางวิชาการท้ังในประเทศและ/หรือตา่ งประเทศ หรอื การลาเพอ่ื เพ่มิ พนู ประสบการณ์

2. การพฒั นาความร้แู ละทกั ษะใหแ้ กค่ ณาจารย์
2.1 การพฒั นาทกั ษะการจัดการเรยี นการสอน การวดั และการประเมนิ ผล
1) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการสอนและการ

วิจัยอย่างต่อเน่ือง การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ การ
ประชุมทางวิชาการทง้ั ในประเทศและ/หรอื ตา่ งประเทศ หรอื การลาเพอื่ เพ่ิมพูนประสบการณ์

2) การเพ่มิ พนู ทักษะการจดั การเรียนการสอนและการประเมินผลให้ทนั สมัย
2.2 การพัฒนาวชิ าการและวชิ าชพี ดา้ นอื่น ๆ

1) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาความรู้และคุณธรรมในสาขา
วชิ าชพี

2) มีการกระตนุ้ อาจารย์ทําผลงานทางวชิ าการสายตรงในสาขาวชิ า
3) ส่งเสริมการทําวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็นหลักและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและมีความ
เช่ียวชาญในสาขาวิชาชีพ

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวัฒน์ 61

มคอ. 2

หมวดท่ี 7 การประกันคณุ ภาพหลักสูตร

1. การกํากับมาตรฐาน
มีคณาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ดําเนนิ การบริหารหลักสตู ร ดงั น้ี
1.1 ก่อนเปิดภาคเรียน มีการประชุมคณาจารย์ที่สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อยืนยันการ

จัดตารางสอนและมอบหมายให้ คณาจารย์เตรียมความพร้อมในเรื่อง เครื่องมือ อุปกรณ์ประกอบการเรียนการ
สอน ส่อื การสอน เอกสารประกอบการสอนต่าง ๆ

1.2 ในระดบั คณะฯ มีการแตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ หลักสูตรในทุก ๆ ด้าน
1.3 ในหน่งึ ภาคการศึกษา จัดใหม้ ีการประเมนิ ผลอยา่ งนอ้ ยสองครัง้ คอื กลางภาค และปลายภาค
1.4 แจ้งผลการประเมินให้ อาจารยผ์ ้สู อนทราบ เพ่อื ทาํ การปรับปรงุ ต่อไป
1.5 เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละปี ส่งผลการประเมินต่าง ๆ ให้คณะและคณาจารย์ทราบ
เพื่อทาํ การปรบั ปรุงตอ่ ไป
1.6 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการปรบั ปรุงหลักสูตรทกุ 5 ปี ทําการประเมนิ และปรับปรงุ หลักสตู รตอ่ ไป

2. บัณฑิต
คุณภาพบัณฑิตเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยพิจารณาจาก

องค์ประกอบดงั นี้
2.1 ผลประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (โดยผู้ใช้บัณฑิต/

ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย)
2.2 ร้อยละของบณั ฑิตปริญญาตรีท่ีไดง้ านทําหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี

3. นกั ศึกษา
3.1 มกี ระบวนการการรับนักศึกษา กําหนดคณุ สมบตั ิของผู้เข้าศกึ ษา
3.2 มกี ารเตรยี มความพร้อมกอ่ นเข้าศกึ ษา
3.3 มีการแตง่ ตงั้ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาทางวชิ าการใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาทุกคน โดยนกั ศึกษาท่มี ปี ญั หาในการเรียน

สามารถปรึกษากับอาจารย์ท่ีปรึกษาทางวิชาการได้ โดยอาจารย์ที่ได้รับการแต่งต้ังเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาทุกคน
จะตอ้ งกําหนดช่ัวโมงว่าง และอาจใช้ช่องทางการใหค้ ําปรกึ ษาอ่ืน ๆ เชน่ จดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ โปรแกรมสนทนา
ออนไลน์ เพอ่ื เพ่ิมชอ่ งทางการให้คาํ ปรึกษา

3.4 มกี ารจดั กจิ กรรมเพือ่ พัฒนาทักษะและความรู้แกน่ กั ศกึ ษา
3.5 มีหน่วยงานท่ีเก็บข้อมูลเชิงสถิติด้านอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา อัตราการสําเร็จการศึกษา และมี
การทาํ สาํ รวจความพึงพอใจและผลการจดั การข้อร้องเรยี นของนักศึกษา

4. อาจารย์
4.1 มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ โดย

อาจารย์ใหม่จะต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทข้ึนไปในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษธุรกิจ
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสารทางธรุ กิจ การสอนภาษาอังกฤษ หรือสาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

4.2 มกี ระบวนการในการบริหารอาจารย์ตามกระบวนการบรหิ ารงานบุคคลของสถาบนั

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 62

มคอ. 2

4.3 มีกระบวนการในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ตามกระบวนการของสถาบัน โดยจัดทาแผนพัฒนา
อาจารย์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ด้านวุฒิการศึกษา ตําแหน่งทางวิชาการรวมถึงตําแหน่งบริหาร สถาบัน
การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

4.4 ส่งเสริมให้อาจารย์ในหลักสูตรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอ มีความรู้ ความเช่ียวชาญทาง
สาขาวิชาและมคี วามกา้ วหนา้ ในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง

4.5 มีระบบและกลไกในการเกบ็ ขอ้ มูลอัตราการคงอยขู่ องอาจารย์ และสาํ รวจความพงึ พอใจของอาจารย์

5. หลกั สูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผู้เรียน
5.1 การกาํ หนดคณุ สมบัตเิ ฉพาะสําหรบั ตาํ แหนง่
มีการกําหนดคุณสมบัติบุคลากรให้ตรงตามภาระหน้าท่ีท่ีต้องรับผิดชอบ โดยคณะกรรมการ

คัดเลือกบุคลากร ก่อนรับเข้าทํางาน และต้องผ่านการสอบแข่งขันทป่ี ระกอบไปด้วยการสอบขอ้ เขียนและการสอบ
สัมภาษณ์ โดยขอ้ สอบให้ความสําคัญต่อความสามารถในการปฏิบตั งิ านตามตําแหน่ง และทัศนคตติ ่องาน

5.2 การเพ่ิมทักษะความรู้เพ่ือการปฏิบตั ิงาน
มีการพัฒนาอาจารย์ให้มีพัฒนาการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ในอุตสาหกรรม

คอมพิวเตอร์หรือสาขาที่เก่ียวข้องในกรณีการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพื่อส่งเสริมการสอนอย่างต่อเน่ือง รวมท้ัง
สนับสนุนให้อาจารย์มีผลงานวิจัยที่สามารถตีพิมพ์ในระดับนานาชาติเพ่ิมขึ้น โดยอาจร่วมมือกับอาจารย์ต่างสาขา
หรือต่างสถาบัน การสนับสนุนสามารถทําได้ในรูปของการให้ค่าเดินทางไปเสนอผลงานทางวิชาการ การให้เงิน
พิเศษเพิ่มเม่ือมีบทความวิชาการตีพิมพ์ใน Proceedings และ Journals รวมท้ังการอาจลดภาระงานสอนให้
เหมาะกับเวลาทีใ่ ชเ้ พื่อเพมิ่ พูนความรู้ ประสบการณ์ และการทาํ วจิ ยั

ในกรณีท่ีอาจารย์ไม่ถนัดในการเพิ่มพูนความรู้โดยผ่านการทําวิจัยได้ หน่วยงานอาจสนับสนุนให้
อาจารย์เข้าร่วมงานกับภาคอุตสาหกรรมหรือธุรกิจในช่วงปิดภาคการศึกษา เพ่ือให้อาจารย์ได้มีประสบการณ์จริง
ในการพัฒนาแนวคิด หรือพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ทางคอมพิวเตอร์ วิธใี นข้อนีค้ วรดําเนนิ การเม่ือข้อขา้ งต้นไมส่ ามารถทําได้

5.3 การใหค้ าํ ปรึกษาด้านวิชาการและอ่ืน ๆ แกน่ กั ศึกษา
1) เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภาคธุรกิจ หรือภาคอุตสาหกรรมที่มีประสบการณ์ตรงในรายวิชาต่าง ๆ มา

เปน็ อาจารยพ์ ิเศษ เพ่อื ถา่ ยทอดประสบการณ์ใหแ้ ก่นกั ศึกษา
2) มผี ู้ชว่ ยสอนประจาํ หอ้ งปฏบิ ัติการทม่ี ีความรเู้ กีย่ วกับฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบโครงข่าย

หรอื วชิ าทเ่ี กีย่ วข้องในจํานวนท่เี หมาะสม สถาบันอุดมศึกษาสง่ ผชู้ ่วยสอนประจาํ ห้องปฏิบัติการไปอบรมเทคโนโลยี
ใหม่ทางดา้ นคอมพวิ เตอรอ์ ยา่ งนอ้ ยปีละครงั้

5.4 การอุทธรณข์ องนกั ศึกษา
กรณีที่นักศึกษามีความสงสัยเก่ียวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถที่จะยื่นคําร้องขอดู

กระดาษคําตอบในการสอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารยใ์ นแตล่ ะรายวิชาได้ ทัง้ น้ีเปน็ ไปตาม
หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารทส่ี ถาบันฯ กําหนด

6. สิง่ สนบั สนนุ การเรียนรู้
6.1 การบรหิ ารงบประมาณ
ในการดําเนินการตามหลักสูตร จะใช้อาคารที่มีอยู่ของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ สําหรับ

ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับบุคลากรและหมวดค่าใช้สอยและเงินอุดหนุนจะขอรับการสนับสนุนจากเงินรายได้ของสถาบัน
การจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ ซ่งึ เป็นรายรับจากค่าหนว่ ยกติ นกั ศึกษา

สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์ 63

มคอ. 2

6.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนทมี่ อี ยเู่ ดิม
สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ มีความพร้อมด้านหนังสือ ตํารา และการสืบค้นผ่านฐานข้อมูลโดย

มีหน่วยงานบริการทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีหนังสือด้านการบริหารจัดการ และฐานข้อมูลท่ีจะให้สืบค้น โดยใน
ปัจจุบันหน่วยงานบริการทรัพยากรสารสนเทศมีหนังสือภาษาไทย จํานวนประมาณ 12,000 เล่ม และหนังสือ
ภาษาต่างประเทศ จํานวนประมาณ 2,000 เล่ม นอกจากน้ีสถาบันมีอุปกรณ์ท่ีใช้สนับสนุนการจัดการเรียนการ
สอนอย่างพอเพยี ง

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ 64

มคอ. 2

7. ตัวบ่งชผ้ี ลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

ดัชนบี ่งชี้ผลการดาํ เนนิ งาน ปที ี่ ปีท่ี ปีที่ ปีท่ี ปีที่
12345

1. อาจารย์ประจําหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุม     
วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดําเนนิ การงานหลักสูตร

2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ. 2 ที่สอดคล้องกับกรอบ     
มาตรฐานคุณวฒุ ิแห่งชาติ หรอื มาตรฐานคณุ วฒุ สิ าขา/สาขาวิชา (ถ้าม)ี

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภ์ าคสนาม

(ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนใน     

แตล่ ะภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวชิ า

4. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผลการ

ดําเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. 5 และ     

มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลงั สนิ้ สุดภาคการศกึ ษาท่เี ปดิ สอนใหค้ รบทกุ รายวชิ า

5. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ. 7 ภายใน     
60 วนั หลังสนิ้ สดุ ปีการศกึ ษา

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้

ที่กําหนดใน มคอ. 3 และมคอ. 4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ     

รายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละปกี ารศกึ ษา

7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ

การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงาน 

ใน มคอ. 7 ปที ่แี ลว้

8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนําด้านการ     
จดั การเรียนการสอน

9. อาจารย์ประจําทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ     
อยา่ งนอ้ ยปลี ะหน่ึงครัง้

10. จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนา     
วิชาการและ/หรอื วิชาชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ตอ่ ปี

11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพ 
หลักสูตร เฉล่ียไม่นอ้ ยกวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5

12. ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ช้บัณฑิตทมี่ ีต่อบณั ฑิตใหม่ เฉลยี่ ไม่น้อยกว่า 
3.5 จากคะแนนเต็ม 5

รวมตัวบ่งช้ี (ข้อ) ในแต่ละปี 9 10 10 11 12

ตัวบ่งชี้ตอ้ งผ่านรวม (ขอ้ ) 8 8 8 9 10

เกณฑ์ประเมิน: หลักสูตรได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ต้องผ่านเกณฑ์ประเมินดังน้ี ตัวบ่งชี้
บังคับ (ตวั บ่งชีท้ ่ี 1-5) มผี ลดําเนนิ การบรรลุตามเปา้ หมาย และมจี ํานวนตัวบ่งชท้ี มี่ ีผลดําเนนิ การบรรลเุ ปา้ หมาย
ไม่น้อยกว่า 80% ของตัวบ่งชร้ี วม โดยพิจารณาจากจาํ นวนตวั บง่ ชี้บังคบั และตวั บง่ ชีร้ วมในแตล่ ะปี

สถาบันการจดั การปญั ญาภิวัฒน์ 65

มคอ. 2

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาํ เนนิ การของหลกั สูตร

1. การประเมนิ ประสิทธผิ ลของการสอน
1.1 การประเมินกลยทุ ธ์การสอน
1.1.1 การประชุมร่วมของอาจารย์ในสาขาวิชาเพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นและขอคําแนะนําหรือ

ข้อเสนอแนะของอาจารย์ท่ีมีความรใู้ นการใชก้ ลยทุ ธ์การสอน
1.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ผู้สอนรายวิชา ขอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากอาจารย์

ทา่ นอื่นหลังการวางแผนกลยุทธก์ ารสอนสําหรบั รายวิชา
1.1.3 การสอบถามจากนักศึกษา ถึงประสิทธิผลของการเรียนรู้จากวิธีการที่ใช้ โดยใช้

แบบสอบถามหรอื การสนทนากบั กลุ่มนกั ศกึ ษา ระหว่างภาคการศึกษาโดยอาจารย์ผูส้ อน
1.1.4 ประเมินจากการเรียนรู้ของนักศึกษา จากพฤติกรรมการแสดงออก การทํากจิ กรรม และ ผล

การสอบ
1.2 กระบวนการประเมนิ ทักษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยทุ ธก์ ารสอน
1.2.1 การประเมนิ การสอนโดยนกั ศึกษาทุกปลายภาคการศกึ ษา
1.2.2 การประเมินการสอนของอาจารย์จากการสังเกตในช้ันเรียนถึงวิธีการสอน กิจกรรม งานที่

มอบหมายแกน่ กั ศกึ ษา โดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา
1.2.3 การทดสอบการเรียนรู้ของนักศึกษาเทียบเคียงกับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยอ่ืน โดยใช้

ขอ้ สอบกลางของโครงขา่ ยสถาบนั หรอื ของสมาคมวชิ าชีพ
ทําการสํารวจเพื่อประเมินประสิทธิภาพการสอนของคณาจารย์ โดยแจกแบบประเมินให้กับ

นักศึกษาในแต่ละรายวิชาก่อนสิ้นภาคการศึกษา ข้อมูลท่ีได้จะถูกวิเคราะห์สาขาวิชา และส่งให้คณาจารย์ผู้สอน
แต่ละคนในภาคการศกึ ษาถัดไปเพอ่ื ใช้เปน็ ผลป้อนกลับในการปรับปรุงการสอนและรายวิชาของตน

2. การประเมนิ หลกั สตู รในภาพรวม
2.1 ประเมนิ จากนักศกึ ษาและศษิ ย์เกา่
ดําเนินการประเมินจากนักศึกษาโดยติดตามจากการปฏิบัติงานในรายวิชาสหกิจศึกษา ซ่ึงอาจารย์

นิเทศสามารถประเมินโดยสอบถามจากนักศึกษาเป็นรายบุคคลได้ นอกจากน้ี อาจจัดประชุมก่อนนักศึกษาจะ
สาํ เร็จการศกึ ษา สว่ นสาํ หรบั ศษิ ยเ์ กา่ นัน้ จะประเมนิ โดยใชแ้ บบสอบถามหรืออาจจะจัดประชมุ ศิษย์เก่าตามโอกาส
ทเี่ หมาะสม

2.2 ประเมินจากนายจ้างหรอื สถานประกอบการ
ดาํ เนินการโดยสมั ภาษณจ์ ากสถานประกอบการที่นักศึกษาไปฝึกงานหรือใช้วิธีการส่งแบบสอบถาม
ไปยงั ผู้ใชบ้ ณั ฑติ
2.3 ประเมนิ โดยผู้ทรงคณุ วุฒิหรอื ท่ีปรึกษา
ดําเนินการโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็นหรือจากข้อมูลในรายงานผลการดําเนินงาน
หลักสตู ร หรอื จากรายงานของการประเมนิ ผลการประกนั คุณภาพภายใน

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ 66

มคอ. 2

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอยี ดหลกั สูตร
การประเมินคุณภาพการศึกษาประจําปี ตามดัชนีบ่งช้ีผลการดําเนินงานท่ีระบุในหมวดท่ี 7 ข้อ 7 โดย

คณะกรรมการประเมนิ อย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาอย่างน้อย 1 คน ที่ได้รับการแต่งตง้ั
จากสถาบนั  

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรุง
จากการรวบรวมข้อมูลในข้อ 1 ถึง 3 จะทําให้ทราบปัญหาของการบริหารหลักสูตรท้ังในภาพรวม และ

ในแตล่ ะรายวชิ า กรณีที่พบปญั หาของรายวิชากส็ ามารถทจ่ี ะดําเนนิ การปรับปรุงรายวิชาน้ัน ๆ ไดท้ ันที ซึ่งก็จะเป็น
การปรับปรุงย่อย ในการปรับปรุงย่อยนั้นควรทาํ ให้ตลอดเวลาที่พบปัญหาสําหรับการปรับปรงุ หลักสูตรทั้งฉบบั นั้น
จะกระทําทกุ 5 ปี ท้ังน้เี พือ่ ใหห้ ลกั สตู รมคี วามทันสมยั และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้ใช้บัณฑติ

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์ 67

มคอ. 2

ภาคผนวก

  68
 
 
 
 

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์

มคอ. 2

ภาคผนวก ก
ประวตั อิ าจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รและอาจารยป์ ระจําหลกั สตู ร

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวฒั น์ 69

มคอ. 2

ประวัตอิ าจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ การบนิ หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
________________________

อาจารย์อรทยั เกียรติวริ ุฬหพ์ ล อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ
หมายเลขบัตรประจาํ ตวั ประชาชน คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ฒั น์
1. วุฒกิ ารศกึ ษา 3 4098 0005X XX X

2. สถานทีต่ ดิ ต่อ ปริญญาโท
3. โทรศพั ท์ทต่ี ดิ ตอ่ สะดวก - วท.ม. (การบรหิ ารการบิน)
4. ประสบการณ์ทาํ งาน มหาวทิ ยาลยั อสี เทิรน์ เอเชยี , 2563
- ร.ม. (รฐั ศาสตร์)
5. ประสบการณด์ ้านการสอน มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, 2557
/ฝกึ อบรม
ปริญญาตรี
ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, 2545

85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 11120

02-855-1086

ปัจจุบนั
อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการบนิ
คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์

พ.ศ. 2557-2564
อาจารยป์ ระจาํ สาขาการจัดการธรุ กิจการบนิ
คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์

พ.ศ. 2547 - 2557
พนักงานตอ้ นรับบนเครอื่ งบิน สายการบนิ แจแปน แอร์ไลน์

วิชาทส่ี อนระดบั ปรญิ ญาตรี
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

- AV62140 อภิธานศพั ท์การบิน
- AV57313 การจัดการงานบรกิ ารบนเคร่อื งบิน

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 70

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ยั มคอ. 2

  ฝกึ อบรม
- In-flight Safety & Emergency procedure, Aircraft types
training (B-787,B-777,B-747,B-767) Japan Airlines
- Crew Resource Management Training, Japan Airlines
- หลกั สตู ร “พฒั นาศกั ยภาพการเปน็ อาจารย”์
สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น,์ 2557
- หลักสูตร “Aviation Management for Executive Program”
สถาบนั การบนิ พลเรอื น, 2561
- หลกั สตู ร “โครงการเตรียมความพร้อมและพฒั นาทกั ษะดา้ นการบรหิ าร

จัดการ”สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น,์ 2562
ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ีปรากฏ
ในฐานข้อมูลกลุม่ ท่ี 2; 0.6
อรทัย เกียรติวิรุฬห์พล และรพีพร ตันจ้อย. (2563). นวัตกรรมด้าน

เทคโนโลยีการเช็คอินท่ีน่ังของสายการบิน. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม
ชลบุร.ี ปที ี่ 6 ฉบับที่ 3 (เดือนกนั ยายน-ธนั วาคม 2563), หนา้ 9-19.

บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงาน
สบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ; 0.2
Bavornluck Kuosuwan and Orathai Kiattivirunphon (2019). The

Driving forces of International Passengers’ Loyalty of Low
Cost Airlines in Thailand. Actual Economy: Local Solutions
for Global Challenges, PROCEEDINGS OF 20th INTERNATIONAL
CONFERENCE Proceedings of 20th International Conference
18-21 November 2019. Udinburgh, UK. pp 411-415.

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 71

มคอ. 2

ประวัติอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑติ
สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการบนิ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
________________________

อาจารยร์ พีพร ตันจอ้ ย อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรบริหารธุรกจิ บัณฑติ
หมายเลขบัตรประจาํ ตวั ประชาชน คณะวิทยาการจดั การ สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์
3 2599 0013X XX X

1. วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาโท

บธ.ม. (การจัดการการบิน)

จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2555

ปรญิ ญาตรี

กศ.บ. (เทคโนโลยีทางการศึกษา)

มหาวทิ ยาลัยบรู พา, 2540

2. สถานท่ีตดิ ตอ่ 85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี

11120

3. โทรศัพท์ทต่ี ิดต่อสะดวก 02-855-1086

4. ประสบการณ์ทํางาน พ.ศ. 2557 - ปจั จบุ ัน

อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรบริหารธุรกจิ บัณฑติ

สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการบนิ

คณะวิทยาการจัดการ สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์

พ.ศ. 2544 - 2553

Senior Ground Services Officer and Ground Services

Training Coordinator airtanker

5. ประสบการณ์ด้านการสอน/ฝกึ อบรม วชิ าท่สี อนระดับปริญญาตรี

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์

- AV 62204 การจดั การองคก์ ารด้านการบนิ และการทอ่ งเท่ยี ว

- AV 62310 การจัดการงานบรกิ ารผู้โดยสารภาคพ้ืน

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 72

6. ผลงานทางวชิ าการ/งานวจิ ัย มคอ. 2
ผลงานทางวิชาการ
  บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
  ท่ปี รากฏในฐานขอ้ มูลกลมุ่ ท่ี 2; 0.6
  อรทัย เกียรติวิรุฬห์พล และรพีพร ตันจ้อย. (2563). นวัตกรรม
 
  ด้านเทคโนโลยีการเช็คอินท่ีน่ังของสายการบิน. วารสาร
  สหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี. ปีท่ี 6 ฉบับท่ี 3 (เดือนกันยายน-
  ธันวาคม 2563), หนา้ 9-19.
  รพีพร ตันจ้อย และอรปวีณ์ กุลพรเพ็ญ. (2563). ข้อควรรู้เกี่ยวกับ
  เที่ยวบินล่าช้า. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี. ปีท่ี 6 ฉบับที่
  2 (เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2563), หนา้ 1-13.
  รพีพร ตันจ้อย. (2562). ข้อควรรู้ก่อนการใช้อากาศยานที่ควบคุม
  การบิน. วารสารศรีปทุม ชลบุรี. ปีท่ี 15 ฉบับท่ี 4 (เดือน
  เมษายน – มถิ นุ ายน 2562), หน้า 179-188.
 
  73
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

มคอ. 2

ประวัติอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการบนิ หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์
________________________

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์บวรลักษณ์ เกือ้ สุวรรณ อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ

คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบนั การจดั การปัญญาภิวฒั น์

หมายเลขบัตรประจาํ ตวั ประชาชน 3 9305 0049X XX X

1. วุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท
- ศศ.ม. (การจดั การการบนิ )
2. สถานทีต่ ิดต่อ มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต, 2562
3. โทรศัพท์ทต่ี ดิ ต่อสะดวก - กศ.ม (บรหิ ารการศึกษา)
4. ประสบการณท์ าํ งาน มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2547

ปริญญาตรี
ค.บ (สงั คมศกึ ษา)
วิทยาลยั ครสู งขลา, 2533

85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120

02-855-1088

พ.ศ. 2562 – ปจั จุบัน
อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลักสตู รบริหารบัณฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การบิน คณะวิทยาการจดั การ
สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ัฒน์

พ.ศ. 2560 – 2562
อาจารยป์ ระจาํ สาขาวชิ า การจัดการธุรกจิ การบิน
สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์

พ.ศ. 2561-2563
คณะกรรมการในการจดั ทําหลักสูตร การสาํ รองท่นี ัง่ บตั รโดยสาร
สถาบันพฒั นาคณุ วุฒิวิชาชีพ (TPQI)

พ.ศ. 2555 – 2560
อาจารยป์ ระจาํ สาขาธุรกิจการบิน
วทิ ยาลยั นานาชาติ มรภ. สวนสุนันทา
ผอู้ ํานวยการสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ
ประเทศไทย (IATA Authorization)

พ.ศ. 2558 – 2560

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 74

มคอ. 2

เจ้าของบรษิ ัท ธวัลรัตน์ บรกิ ารการทอ่ งเท่ียว
พ.ศ. 2544 – 2555

- ผู้จัดการฝ่ายฝกึ อบรม
- ผจู้ ดั การฝา่ ยขายและการตลาด
บรษิ ทั กาลเิ ลโอ ประเทศไทย
พ.ศ. 2544 – 2555
- อาจารย์พิเศษ วชิ าการสาํ รองทีน่ ั่ง และ
ธุรกจิ บรกิ ารในสายการบนิ
- มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ :การสํารองท่ีน่ังบตั รโดยสาร
- มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร (เพชรบรุ )ี :การสาํ รองที่นงั่ บัตรโดยสาร
- มหาวทิ ยาลัยอีสเทรนิ์ เอเชีย:ธุรกจิ บริการในสายการบิน
- มหาวทิ ยารงั สิต :การสํารองทน่ี งั่ บตั รโดยสาร
- มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี :การสํารองทน่ี ่ังบตั รโดยสาร
- วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ราชมงคลกรงุ เทพ :เทคโนโลยี

เพอ่ื การท่องเท่ียว
พ.ศ. 2542 – 2544

- เจา้ หนา้ ทฝี่ ่ายขาย
สายการบนิ แองเจิ้ล แอรไ์ ลน์
พ.ศ. 2538 – 2541
- เจ้าหนา้ ทฝี่ ่ายขายและเจา้ หน้าทส่ี ํารองที่นงั่
สายการบนิ เมียนมา่ แอร์ไลน์
พ.ศ. 2533 – 2537
- เจา้ หน้าทสี่ ํารองทน่ี งั่ บตั รโดยสาร
บรษิ ทั โอเรยี นทอล ทราเวล จาํ กัด
5. ประสบการณด์ ้านการสอน/ฝกึ อบรม วิชาท่ีสอนระดบั ปริญญาตรี
สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์
- AV62207 การตลาดในกิจการธรุ กจิ การบนิ
- AV 57315 ภาษาองั กฤษสาํ หรับการบริการภาคพ้นื
- AV57311 การพัฒนาบคุ ลิกภาพสาํ หรับนกั ศกึ ษาธรุ กจิ การบนิ
- AV62214 การสาํ รองทนี่ ง่ั บตั รโดยสารเครื่องบนิ
- AV57225 การจดั การความสมั พันธ์ลูกคา้ ทางธุรกจิ การบิน
วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี
สถาบนั อน่ื ๆ
- การสาํ รองทนี่ ั่ง
- การจดั การธกุ จิ การบนิ
- IATA Regulations
- Fare and Ticketing
- การบริการในธรุ กจิ การบนิ

สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์ 75

6. ผลงานทางวชิ าการ/งานวจิ ัย มคอ. 2

ฝึกอบรม
- Amadeus Training in Reservation and Fare,2561
- Galileo Training in Reservation and Fare,2555
- Advance Train the Trainer from IATA (international Air
Transport Association) 2557
- หลกั สตู ร “พฒั นาศักยภาพ การเป็นอาจารย”์ สถาบนั การจัดการ
ปญั ญาภิวฒั น์, 2560
- เจา้ หนา้ ท่สี อบในการเทยี บโอนประสบการณ์การทํางาน เพอ่ื การ
รับรองคุณวุฒิวิชาชพี (Recognition of Existing Skills and
Knowledge Examiner: RESK Examiner) สถาบนั คุณวฒุ ิ
วิชาชพี (TPQI) ในสาขาการสํารองท่นี งั่ บตั รโดยสาร

ผลงานทางวชิ าการ
บทความวจิ ยั หรอื บทความทางวิชาการที่ตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการท่ี
ปรากฏในฐานข้อมลู กลมุ่ ท่ี 2; 0.6
บวรลักษณ์ เก้ือสุวรรณ (2563). การศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ

สายการบินท่ีให้บริการเต็มรูปแบบกับส่วนประสมทางการตลาด
ในเส้นทางบินระหว่างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปยังท่าอากาศ
ยานกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารศรีปทุม ชลบรี.
ปที ี่ 17 ฉบับที่ 1 (เดอื นกรกฎาคม-กนั ยายน 2563), หนา้ ท่ี 81-92
บวรลักษณ์ เกื้อสุวรรณ. (2562). ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
สายการบินต้นทุนต่ําในเส้นทางบินระหว่างท่าอากาศยานดอนเมือง
ไปเมืองกวางโจว ฉางซา และฉงช่ิง สาธารณรัฐประชาชนจีน.
วารสารศรีปทมุ ชลบรุ .ี ปีท่ี 15 ฉบับท่ี 4 (เดือนเมษายน-มถิ ุนายน
2562), หน้า 123-135.

บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในรายงาน
สบื เนื่องจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ; 0.2
Bavornluck Kuosuwan and Orathai Kiattivirunphon. (2019).

The Driving forces of International Passengers’ Loyalty
of Low Cost Airlines in Thailand. Actual Economy: Local
Solutions for Global Challenges, PROCEEDINGS OF 20th
INTERNATIONAL CONFERENCE Proceedings of 20th
International Conference 18- 21 November 2019.
Udinburgh,UK. pp. 411-415.

สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ 76

มคอ. 2

 

ประวตั ิอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรบริหารธรุ กิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการบนิ หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์
________________________

อาจารยล์ ลติ ลกั ษณ์ ธารีเกษ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
หมายเลขบตั รประจําตัวประชาชน คณะวิทยาการจัดการ สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์
3 1005 0409X XX X

1. วุฒิการศึกษา ปริญญาโท

วท.ม. (บริหารการบนิ )

มหาวิทยาลัยอีสเทิรน์ เอเชยี , 2556

ปรญิ ญาตรี

ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ 2545

2. สถานที่ติดตอ่ 85/1 หมู่ 2 ถ.แจง้ วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

3. โทรศัพท์ทตี่ ดิ ต่อสะดวก 02-855-0865

4. ประสบการณ์ทํางาน พ.ศ. 2561 – ปจั จบุ นั

อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจบณั ฑิต

สาขาวชิ า การจัดการธรุ กจิ การบนิ คณะวิทยาการจดั การ

สถาบันการจดั การปัญญาภิวัฒน์

พ.ศ. 2558 – 2561

- ผู้จัดการสว่ นฝกึ อบรม ฝา่ ยช่างซอ่ มอากาศยาน

สายการบินบางกอก แอร์เวย์

- เจา้ หน้าทีต่ รวจสอบคณุ ภาพ สายการบนิ บางกอก แอรเ์ วย์

พ.ศ. 2556 – 2558

อาจารยป์ ระจาํ หลกั สตู ร.การจัดการธรุ กจิ การบนิ

(หลักสตู รนานาชาต)ิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์

ในพระบรมราชปู ถัมภ์

พ.ศ. 2547 – 2557

พนักงานต้อนรับบนเครื่องบนิ สายการบนิ แจแปน แอร์ไลน์

5. ประสบการณด์ ้านการสอน/ฝกึ อบรม วิชาทส่ี อนระดับปริญญาตรี

- AVI 57225 การจดั การความสัมพนั ธ์ลูกคา้ ทางธุรกจิ การบนิ

- AV 62102 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐานเพ่อื การส่ือสารในธุรกจิ การบนิ

สถาบันการจดั การปญั ญาภิวฒั น์ 77

6. ผลงานทางวชิ าการ/งานวจิ ัย มคอ. 2

  - AV 57312 ภาษาอังกฤษเพอ่ื ธุรกิจการบิน 2
  - AV 57310 การจดั การทรัพยากรบุคคลด้านธรุ กิจการบิน
  - AV 57311 การพัฒนาบุคลกิ ภาพสาํ หรบั ธุรกจิ การบิน
  ฝกึ อบรม
  - Train the Trainer, Bangkok Airways
  - Course Design and Development for Trainer, Boston
  Network Institute
  - IOSA (IATA Operational Safety Audit) Airline Auditor
  Training, IATA
  - Safety Management System (SMS) Training , IATA
  - Human Factor Training, EASA
  - EASA Part 145 for Maintenance Personnel Training,
CAAI
สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์ - Aviation Security Training, Bangkok Airways
- Civil Air Regulation Training, Bangkok Airways
- In-flight Safety & Emergency procedure, Aircraft types
training (B-777,B-747,B-767) Japan Airlines
- Crew Resource Management Training, Japan Airlines
- In-flight First Aid Training, Japan Airlines
ผลงานทางวิชาการ
บทความวจิ ยั หรอื บทความทางวชิ าการท่ีตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการที่
ปรากฏในฐานขอ้ มูลกลมุ่ ท่ี 2; 0.6
ลลิตลักษณ์ ธารีเกษ. (2563). บทบาทของการบริหารทรัพยากร
บุ ค ค ล ด้ า น ก า ร บิ น ต่ อ ก า ร ป้ อ ง กั น อ า ก า ศ ย า น อุ บั ติ เ ห ตุ .
วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. ปีที่ 16 ฉบับท่ี 4 (เดือนเมษายน-
มิถนุ ายน 2563), หนา้ 142-151.
ลลติ ลกั ษณ์ ธารีเกษ. (2562). บทบาทของโปรแกรมสะสมไมล์ต่อการ
สร้างความภักดีในธุรกิจสายการบิน. วารสารวิชาการ สสอท. ฉบับ
มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. ปีที่ 25 (ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม-
มถิ นุ ายน). หนา้ 180-188.

78

มคอ. 2

 
 

 

ประวตั ิอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ การบนิ หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
________________________

อาจารยอ์ ชิ ยาพร ชว่ ยชู อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต
หมายเลขบตั รประจําตัวประชาชน คณะวิทยาการจัดการ สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์
3 1201 0139X XX X

1. วุฒิการศกึ ษา ปริญญาโท
บธ.ม. (การจัดการการบนิ )
2. สถานทตี่ ิดต่อ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2553
3. โทรศพั ท์ทตี่ ิดตอ่ สะดวก
4. ประสบการณท์ าํ งาน ปรญิ ญาตรี
อ.บ. (สารนิเทศศกึ ษา)
5. ประสบการณ์ด้านการสอน/ฝกึ อบรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545

85/1 หมู่ 2 ถ.แจง้ วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120

084-999-5142

พ.ศ. 2563 – ปัจจบุ ัน
อาจารยป์ ระจาํ
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการบิน คณะวิทยาการจดั การ
สถาบันการจดั การปัญญาภิวัฒน์

พ.ศ. 2556 – 2563
ผู้อาํ นวยการหลักสูตรบริหารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ ด้านการบิน มหาวิทยาลยั รงั สติ

วิชาทส่ี อนระดับปริญญาตรี
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

- AV 57315 ภาษาองั กฤษสาํ หรับการบริการภาคพืน้ ดนิ
- AV 62203 หลักการจดั การธรุ กิจการบนิ
วิชาท่ีสอนระดับปรญิ ญาตรี
สถาบนั อ่ืนๆ
- การจดั การงานบริการผโู้ ดยสารภาคพน้ื ดิน
- การจดั การขา้ มวฒั นธรรมในธุรกิจการบิน
- ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสารในธุรกจิ การบนิ

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 79

6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ยั มคอ. 2

  ผลงานวิจยั
  บทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ
  นานาชาติที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ
  คณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสาร
  ทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 หรือ
  ตพี ิมพ์ในวารสารวชิ าการที่ปรากฏในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ท่ี 1; 0.8
  Chuaychoo, I. ( 2021) . A study of cabin safety awareness

among Thai passengers using knowledge, attitudes, and
behaviors ( KAB) approach. Humanities, Arts and Social
Sciences Studies, Vol. 21 No. 1 (January-April), pp. 78-87.

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 80

มคอ. 2

 

ประวัตอิ าจารย์ประจาํ หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจการบนิ หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
________________________

 

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์จิตลดา ปิยะทตั อาจารยป์ ระจาํ หลักสตู รบริหารธุรกจิ
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน คณะวิทยาการจดั การ สถาบันการจดั การปญั ญาภิวัฒน์
3 5099 0068X XX X

1. วุฒกิ ารศึกษา ปริญญาโท
- M.ITH. (International Tourism and Hotel Management)
2. สถานท่ีตดิ ตอ่ Southern Cross University, Gold Coast, Australia, 2547
3. โทรศพั ท์ทตี่ ดิ ต่อสะดวก - ศศ.ม. (การจดั การท่องเทย่ี วและโรงแรม) (หลกั สตู รนานาชาติ)
4. ประสบการณ์ทํางาน มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, 2547

ปริญญาตรี
- ศศ.บ. (การจดั การการท่องเท่ยี วและโรงแรม)
มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ, 2537

85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120

02-855-1461

ปัจจบุ ัน
- อาจารย์ประจําหลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การบนิ
คณะวิทยาการจัดการ สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ฒั น์
- อาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวิชาอุตสากรรมการบริการและการทอ่ งเท่ียว
คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์

พ.ศ. 2559 – 2563
อาจารย์ประจําสาขาวชิ าการโรงแรมและการท่องเที่ยว
คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบนั การจัดการปัญญาภิวัฒน์

พ.ศ. 2548 - 2558
อาจารย์พเิ ศษ ประจําคณะวิทยาการจัดการ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต

พ.ศ. 2557 - 2558
Senior advisor to CEO BUSINESS AIR

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 81

มคอ. 2

พ.ศ. 2542 - 2545

พนกั งานภาคพื้นดิน TAGS (Thai Airport Ground Services)

พ.ศ. 2537 - 2540

พนักงานต้อนรับสายการบนิ KOREAN AIR

5. ประสบการณด์ า้ นการสอน/ฝกึ อบรม วิชาที่สอนระดับปริญญาตรี

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์

- AVI 57101 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐานสาํ หรบั ธุรกิจการบิน

- AVI 3201 การจัดการทรพั ยากรบุคคลด้านธรุ กิจการบิน

- AV 62230 หลักการจดั การธุรกิจการบนิ

- AV 62307 การจดั การทา่ อากาศยาน

- HT57408 การจัดการทรัพยากรมนุษยส์ ําหรับการโรงแรมและ

การท่องเทยี่ ว

- HT57456 การท่องเทยี่ วในกลุ่มอาเชียน

วชิ าท่สี อนระดับปริญญาตรี

สถาบนั อื่นๆ

- มนุษยป์ ัจจัยการบนิ

- ความรเู้ บ้อื งตน้ ในการจดั การธรุ กิจการบิน

- การจดั การความเสีย่ งในธุรกิจการบนิ

- การจดั การท่าอากาศยาน

6. ผลงานทางวชิ าการ/งานวิจัย ผลงานทางวชิ าการ

บทความวจิ ัยหรอื บทความทางวชิ าการทต่ี ีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการที่

ปรากฏในฐานข้อมลู กลมุ่ ที่ 2; 0.6

จิตลดา ปิยทัต. (2562). การศึกษาด้านการบินเพื่อธุรกิจการบินตาม

หาความฝันเพ่ือให้มันเป็นความจริง. วารสารสถาบันวิจัยญาณ

สังวร สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 2 (เดือนกรกฎาคม -ธันวาคม 2562), หนา้ 330–341.

 
 

สถาบันการจัดการปญั ญาภิวัฒน์ 82

มคอ. 2

ประวตั อิ าจารยป์ ระจําหลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ การบนิ หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
________________________

อาจารยอ์ รปวีณ์ กุลพรเพญ็ อาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ฒั น์
1 7299 0012X XX X

1. วฒุ กิ ารศึกษา ปริญญาโท
ศศ.ม. (ภาษาและการส่ือสาร)
2. สถานทต่ี ดิ ต่อ สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร,์ 2558
3. โทรศพั ท์ทต่ี ิดต่อสะดวก
4. ประสบการณท์ ํางาน ปริญญาตรี
ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ)
5. ประสบการณ์ดา้ นการสอน/ฝกึ อบรม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, 2554
6. ผลงานทางวชิ าการ/งานวจิ ัย
85/1 หมู่ 2 ถ.แจง้ วฒั นะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

02-855-1318
พ.ศ. 2560 – ปจั จบุ นั

อาจารยป์ ระจาํ หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการบนิ
คณะวิทยาการจดั การ สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์
พ.ศ. 2558 – 2560
พนักงานต้อนรับบนเคร่อื งบนิ สายการบนิ สงิ คโปรแ์ อร์ไลน์
พ.ศ. 2555 - 2557
ครสู อนพิเศษวิชาภาษาอังกฤษ สถาบนั กวดวิชา Smart brain
วิชาท่ีสอนระดบั ปรญิ ญาตรี
สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์
- AV 62102 ภาษาองั กฤษพื้นฐานเพ่ือการส่ือสารในธรุ กจิ การบิน
- AV 62241 พนื้ ฐานภาษาอังกฤษเพอื่ ธุรกิจการบนิ

ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการท่ี
ปรากฏในฐานข้อมลู กลุ่มท่ี 2; 0.6
รพีพร ตันจ้อย และอรปวีณ์ กุลพรเพ็ญ. (2563). ข้อควรรู้เก่ียวกับ

เที่ยวบินล่าช้า. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
(เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม 2563), หน้า 1-13.
อรปวีณ์ กุลพรเพ็ญ และนฤมล สุนทรทิพย์. (2561). ความสําคัญของ
ภาษาอังกฤษและการเรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม

สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ 83

มคอ. 2

สําหรับชาวไทยเพ่ือเตรียมพร้อมสู่การเป็นลูกเรือในสายการบิน
ต่างชาติ. ในการประชุมวิชาการด้านการบินระดับชาติ คร้ังที่ 1.
วันที่ 11 มถิ ุนายน 2561, หน้า CSR_ 207-216.

สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ 84



มคอ. 2

5. ประสบการณ์ดา้ นการสอน/ พ.ศ. 2553 – 2555
ฝึกอบรม Inflight Service Supervisor and Instructor
Sunny Airways. co., ltd.
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวิจยั
พ.ศ. 2552 – 2553
Sales Executive I-Med Laboratory

พ.ศ. 2549 – 2552
Chief Purser and Instructor
Sky star Airlines. co., ltd.

พ.ศ. 2547 – 2549
Purser and Instructor
Thai Sky Airlines. co., ltd.

พ.ศ. 2541 – 2546
Cabin Crew
Japan Airlines. co., ltd.

พ.ศ. 2538 – 2541
Funding and Marketing officer
Siam Commercial Bank. co., ltd.

วชิ าทีส่ อนระดับปริญญาตรี
สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์

- AV 57310 การจัดการทรพั ยากรบคุ คลด้านธุรกิจการบิน
- AV 57311 การพฒั นาบุคลกิ ภาพสาํ หรับนกั ศึกษาธรุ กจิ การบนิ
- AV 57313 การจดั การการบริการบนเครื่องบนิ
- AV 57317 อาหาร เคร่อื งด่ืมในการบริการบนเครอ่ื งบิน
- AV 57419 ภาษาอังกฤษสาํ หรับการบรกิ ารบนเครือ่ งบิน

ผลงานทางวชิ าการ
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงาน
สบื เนอื่ งจากการประชุมวชิ าการระดับชาติ; 0.2
โชติกา พันธ์ผูกบุญ, วายูน เอกสกุลไพบูลย์. (2563). การศึกษาการนํา

นวัตกรรมด้านปัญญาประดิษฐ์มาบริการผู้โดยสารของสายการบิน
ไทยแอร์เอเชีย. การประชุมวิชาการปัญญาภิวัฒน์ ระดับชาติ คร้ังที่ 10
และนานาชาติ ครง้ั ท่ี 3 วนั ที่ 17 กรกฎาคม 2563, หน้า 639-649.

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 86

มคอ. 2

ประวตั อิ าจารยป์ ระจาํ หลักสูตรบรหิ ารธุรกิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจการบนิ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

________________________

อาจารยป์ ิยณฐั สเุ มธาวีนันท์ อาจารย์ประจาํ หลกั สูตรการจัดการบณั ฑิต
หมายเลขบัตรประจําตวั ประชาชน คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์
1 1014 0171X XX X

1. วฒุ ิการศึกษา ปริญญาโท
M.P.A. (Public Administration)
2. สถานทีต่ ดิ ต่อ National University, San Diego, USA, 2557
3. โทรศพั ท์ทต่ี ดิ ต่อสะดวก
4. ประสบการณ์ทาํ งาน ปรญิ ญาตรี
ศศ.บ. (รฐั ศาสตร์) (บรหิ ารรฐั กิจ)
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2555

85/1 หมู่ 2 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 11120

02-855-1361

ปจั จุบัน
- อาจารย์ประจําหลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกจิ การบนิ คณะวิทยาการจัดการ
สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์
- อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รการจัดการบัณฑิต
คณะวิทยาการจดั การ สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์

พ.ศ. 2562 - 2564
อาจารย์ประจํา คณะวิทยาการจัดการ
สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ัฒน์

พ.ศ. 2559 - 2560
Assistant Ground Instructor
Hillsboro Aero Academy, Oregon, USA.

พ.ศ. 2555 - 2560
US Coordinator
PS BIKE CENTER, THAILAND

สถาบันการจดั การปญั ญาภิวฒั น์ 87

มคอ. 2

5. ประสบการณด์ ้านการสอน/ พ.ศ. 2552 – 2555
ฝึกอบรม Chief Taekwondo Instructor
6. ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ัย Taekwondo Thonburi Academy

  วิชาทส่ี อนระดบั ปริญญาตรี
สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์

- AV 57421 การจดั การควบคมุ จราจรทางอากาศ
- AV 57330 การจัดการการอํานวยการบิน

ผลงานทางวชิ าการ
บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงาน
สืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารวิชาการ
ระดับชาติที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ
คณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสาร
ทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ.2556 ; 0.4
N. Umadhay, P. Sumetawenunt, U. Nationale. (2020). Thai Aviation

Amidst the COVID 19 Pandemic. PIM 10th National and 3rd
International Conference 2 0 2 0 ; Digital Transformation and
Globalization 2020 (DTGT) July 17th, 2020. pp. 1462-1467.

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 88

มคอ. 2

 

ประวัติอาจารย์ประจาํ หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ
สาขาวิชาอตุ สากรรมการบรกิ ารและการทอ่ งเท่ียว หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์
________________________

 

Nick Alfred T. Umadhay อาจารย์ประจําหลกั สูตรบริหารธุรกจิ บณั ฑติ
หมายเลขบัตรประจาํ ตัวประชาชน คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์
P0149XXXX

1. วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาโท

2. สถานท่ีติดต่อ M.S. ( Hospitality Management)
3. โทรศพั ทท์ ต่ี ดิ ตอ่ สะดวก
4. ประสบการณท์ าํ งาน Philippine Christian University, 2551

ปรญิ ญาตรี

B.S. (Hotel and Restaurant Management)

St. Therese-MTC Colleges, 2549

85/1 หมู่ 2 ถ.แจง้ วัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกรด็ จ.นนทบุรี 11120

02-855-1461

ปัจจุบัน
- อาจารยป์ ระจาํ หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน
คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์
- อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
สาขาวิชาอตุ สากรรมการบริการและการทอ่ งเท่ียว
คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์

พ.ศ. 2556-2559
Head Program of BBA in Hospitality and Tourism
Management St. Theresa International College

พ.ศ. 2554-2556
Head Program of BS Tourism Management St. Paul
University Iloilo General Luna St. Iloilo, Philippines

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ 89

มคอ. 2

พ.ศ. 2553-2554

Lecturer of BS Hotel and Restaurant Management

Western Institute of Technology Lapaz, Iloilo City

Philippines

พ.ศ. 2550-2554

Head Program of BS Hotel and Restaurant

Management University of Iloilo Phinma Rizal St. Iloilo

City, Philippines

5. ประสบการณด์ า้ นการสอน/ฝกึ อบรม วิชาทีส่ อนระดบั ปรญิ ญาตรี

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์

- AV 62102 ภาษาองั กฤษพน้ื ฐานเพือ่ การสื่อสารในธรุ กิจการบิน

- AV62315 การจดั การครวั การบนิ

- HT57408 การจดั การทรพั ยากรมนษุ ยส์ ําหรบั การโรงแรมและ

การทอ่ งเทย่ี ว

- HT57456 การทอ่ งเท่ยี วในกลุ่มอาเชยี น

6. ผลงานทางวชิ าการ/งานวจิ ยั ผลงานทางวชิ าการ

บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ท่ีตีพิมพ์ในรายงาน

สืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือใน

วารสารวิชาการระดับชาติท่ีมีอยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ.

หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ

พิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

พ.ศ.2556 ; 0.4

N. Umadhay, P. Sumetawenunt, U. Nationale. (2020). Thai

Aviation Amidst the COVID 1 9 Pandemic. PIM 1 0 th

National and 3rd International Conference 2020; Digital

Transformation and Globalization 2020 (DTGT) July 17th,

2020, pp. 1462-1467.

 

 

สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์ 90

มคอ. 2

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

ภาคผนวก ข
1. ขอ้ บังคับสถาบันการจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560
2. ระเบยี บสถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ ว่าดว้ ยการเทยี บโอนผลการเรยี นระดับปรญิ ญา

เข้าสู่การศกึ ษาในระบบ พ.ศ. 2560

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 91


Click to View FlipBook Version