The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน วิชา การงานอาชีพ 1 (งานเกษตร) ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูภรณภา ตะกรุษ, 2022-05-17 07:05:17

แผนการสอน วิชา การงานอาชีพ 1 (งานเกษตร) ม.5

แผนการสอน วิชา การงานอาชีพ 1 (งานเกษตร) ม.5

รหสั วชิ า ง ๓๒๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
ปีการศึกษา ๒๕๖๕

ม.5

นางสาวภรณภา ตะกรุษ

ตาแหนง่ ครู
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบุรี

สังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
โรงเรียนราชประชานุเครากะหร์ ๔ะ๗ทจรงั วหวงดั ศเพึกชรษบุราี ธิการ

สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

บนั ทึกข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี
ที…่ ………………………………………… วันที่ …………………………………………………….
เรื่อง ขออนุมตั ิใช้แผนการจดั การเรียนรู้
เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี
..........................................................................................................................................................

ดว้ ยข้าพเจ้า นางสาวภรณภา ตะกรุษ ตาแหน่ง ครู ได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชา การงานอาชีพ
๑ (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 32101 จานวน 1.0 หน่วยกิต เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง / สัปดาห์ จานวน 20
ชั่วโมง / ภาคการศึกษา ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาดังกล่าว เพื่อใช้ในการประกอบการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนในระดบั ชนั้ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2565 เป็นท่ี
เรียบรอ้ ยแลว้

จึงเรียนมาเพือ่ โปรดอนมุ ัติ
ลงชื่อ ....................................
( นางสาวภรณภา ตะกรษุ )

..........................................................................................................................................................
ความเห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ / ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย

ได้ตรวจสอบองคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาดงั กล่าวแล้ว พบวา่
ครบถ้วน ครอบคลมุ และสอดคล้องตามหวั ขอ้ เน้อื หา สาระมาตรฐานตัวช้ีวัด / ผลการเรียนรู้
ควรปรับปรุง เพิม่ เติม หรือแก้ไข ดงั น้ี …………………………………………………………………………………….

ลงชือ่ ......................................

( นายชาญยทุ ธ สุทธิธรานนท์ )

รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ

............/............./.............

..............................................................................................................................................................

เรียนเสนอเพ่อื โปรดพิจารณา

อนุมตั ิตามเสนอ ไม่อนุมตั ิ เนอ่ื งจาก ......................................................................

ลงชื่อ.....................................................

( นายวีระ แก้วกัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบุรี

คานา

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 32101 ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มนี้ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ท้ังเป็น
รายบุคคลและรายกลุ่ม สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ทาให้นักเรียน
สามารถเชื่อมโยงความรู้ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้อืน่ ๆ ได้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และสรุปความรู้ดว้ ยตนเอง ทาใหน้ ักเรียนได้รับการพฒั นาท้ังดา้ น
ความรู้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี นาไปสู่การอยู่ร่วมกันใน
สังคมอย่างสนั ติสุข

การจัดทาแผนการจัดการรายวิชาการงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 32101 ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มนี้มุ่งเน้นให้นักเรียนได้สารวจและรู้จักเกี่ยวกับ งานเกษตร โดยได้นาเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชว่ั โมงตามหน่วยการเรียนรู้ และในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ยงั มีการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม และอยู่อย่างพอเพยี งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 32101 ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มนีไ้ ด้ออกแบบการเรียนรู้ด้วยเทคนิคและวิธีการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อการ
จดั การเรียนรู้สาหรับนักเรียนให้บรรลเุ ป้าหมายของหลักสูตรต่อไป

นางสาวภรณภา ตะกรษุ

ผู้จัดทา

ผังมโนทัศนร์ ายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร )
ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 เวลา 1 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2
เรื่อง รู้ลักษณ์ รู้จกั
เรือ่ ง งานเกษตร
ก้าวหน้า หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3
เรือ่ ง สร้างสรรคง์ านเกษตร
การงานอาชีพ ๑ (งาน
เกษตร )

ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา
2565

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 4
เรือ่ ง เปิดประตสู อู่ าชีพ

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบรุ ี
ประมวลรายวชิ า (Course Syllabus)

1. ชือ่ วิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร )
2. สถานภาพของวิชา วิชาพืน้ ฐาน
3. รหสั วิชา ง 32101
4. จานวนหนว่ ยกิต 0.5
5. จานวนชัว่ โมง / สัปดาห์ 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
6. เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง/ภาคเรียน
7. ภาคเรียนที่ 1
8. ปีการศึกษา 2565
9. ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 5
10. ชื่อ สกุล ครูผู้สอน นางสาวภรณภา ตะกรุษ
11. ขอบข่ายเนือ้ หาที่สอน ตามคาอธบิ ายรายวิชา

คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

ง ๓๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพ

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑

----------------------------------------------------------------------

ศึกษาและอธิบายวิธีการทางานเพื่อการดารงชีวิต สร้างผลงานอย่างมีความสร้างสรรค์ใน 4

ลักษณะ ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด และความคิด

ละเอียดลออ มีทักษะการจัดการในการทางานเกษตร การปลูกพืช การขยายพันธ์ การเล้ียงสัตว์

และอุปกรณ์อานวยความสะดวกในชีวิตประจาวนั การดาเนินการทางธุรกิจ วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี

สร้างและพัฒนาส่ิงของเครื่องใช้ หรือวิธีการต้องอาศัยความรู้ที่เกี่ยวข้องอ่ืนๆ อีก ตามกระบวนการ

เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายและแบบจาลองเพื่อนาไปสู่การสร้าง

ชิ้นงานหรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจาลองความคิดและการรายงานผลโดยใช้ซอฟต์แวร์

ช่วยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงานทาภาพ 2 มิติและ 3 มิติ มีความคิดริเริ่มแปลกใหม่ ไม่

ละเมิดความคิดผู้อ่ืน เป็นการสร้างนวัตกรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินทางปัญญา วิเคราะห์ผลดี

ผลเสยี และเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมเป็นมิตรกับชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม

อภปิ รายแนวทางเข้าสู่อาชีพและมีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจโดยใช้กระบวนการทักษะการ

ทางาน การจดั การ กระบวนการทางานกลุ่ม การทางานร่วมกับผู้อ่นื มีความรับผิดชอบ ซื่อสตั ย์และ

มีคุณลกั ษณะทีด่ ีต่ออาชีพ มีจติ สานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่าเหมาะสม

และเห็นคุณค่าของการนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน

รหสั ตัวชีว้ ดั
ง ๑.๑ ม.๔-6/๑, ม.๔-6/๒, ม.๔-6/๓, ม.๔-6/๔, ม.๔-6/๕, ม.๔-6/๖, ม.๔-6/๗
ง ๒.๑ ม.๔-6/๑, ม.๔-6/๒, ม.๔-6/๓ , ม.๔-6/๔

รวมท้งั หมด 11 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) (พืน้ ฐาน )
รหสั วิชา ง 32101 รายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5
เวลาเรียน 1 ช่วั โมง / สปั ดาห์ จานวน 20 ชว่ั โมง / ภาคเรียน จานวน 0.5 หน่วยกิต

หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตัวช้วี ดั สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั คะแนน
1 งานเกษตรก้าวหนา้ (ชม.) K A P รวม
311 5
แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 1 : ง1.1 ม.4-6/1 สาระสาคัญ /ความคดิ รวบยอด 2
การเกษตรกับวิถีชีวิตของคน ม.4-6/2 การเกษตรกบั วิถชี ีวิตของคนไทย
ไทย ม.4-6/3 มีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทย
มาช้านาน แม้ยุคสมัยจะเปล่ียนแปลง
ม.4-6/4 ไปเพียงใดการเกษตรก็ยังคงอยู่กับคน
ม.4-6/5 ไทยตลอดมาโดยเฉพาะการประกอบ
ม.4-6/6 อ า ชี พ ข อ ง ค น ไ ท ย ก า ร เ ก ษ ต ร เ ป็ น
อาชีพหลักของประเทศไทยประชากร
ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพ
เกษ ตร กร รมท าให้การเกษ ตร มี
ค ว า ม ส า คั ญ เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ก า ร
พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า
ประเทศเนื่องจากรายได้ส่วนใหญ่ของ
ป ร ะ เ ท ศ ม า จ า ก สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร เ ป็ น

หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั คะแนน
(ชม.) K A P รวม
แผนการเรียนรทู้ ่ี 2: ง1.1 ม.4-6/1 สาคัญ
การเกษตรกับการพฒั นา ม.4-6/2 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2 6 1 3 10
ประเทศ ม.4-6/3 - การทางานเพอ่ื การดารงชีวิต
ม.4-6/4 - การแสวงหาความรู้เพือ่ การ
ม.4-6/5 ดารงชีวิต
ม.4-6/6 สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การเกษตรกับการพัฒนาประเทศ
ประเทศไทย มีสภาพภูมิศาสตร์ของ
ประเทศที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช
และเล้ียงสัตว์จนได้รับการขนานนาม
ว่า อู่ข้าวอู่น้าของเอเชียจึงสามารถ
ผลติ วัตถุดิบสาหรับบริโภคในประเทศ
ไทยอย่างพอเพียง นอกจากนี้ยังแปร
รูปผลผลิตไปจาหน่ายยังต่างประเทศ
ได้ จนเป็นทีย่ อมรบั จากนานาประเทศ
สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศได้
เป็นจานวนมาก
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตัวช้วี ัด สาระสาคญั เวลา น้าหนักคะแนน
(ชม.) K A P รวม
แผนการเรียนรู้ท่ี 3 : ง1.1 ม.4-6/1 การแสวงหาความรู้เพื่อการดารงชีวิต 7 1 2 10
เทคโนโลยีทางการเกษตร ม.4-6/2 สาระสาคัญ /ความคิดรวบยอด 2
ม.4-6/3 เทคโนโลยีทางการเกษตร เป็นการนา 7 1 2 10
ม.4-6/4 วิธีการมาใช้เพื่อพัฒนา ปรับปรุง 2
ม.4-6/5 ผลผลิตทางการเกษตรให้เกิดผลดีต่อ
ม.4-6/6 ผู้บริโภค ผู้ผลิต และส่ิงแวดล้อม
ดังนั้นจึงต้องเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆ
แผนการเรียนรู้ท่ี 4 : การ ง1.1 ม.4-6/1 เพื่อไม่ให้เกิดกระทบต่อมนุษย์และ
ส่งิ แวดล้อม
ผ ลิ ต พื ช โ ด ย ใ ช้ ม.4-6/2 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
การแสวงหาความรู้เพือ่ การดารงชีวิต
เทคโนโลยีชีวภาพ ม.4-6/3 สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การผลิตพืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ม.4-6/4 ปัจจุบันวิทยาศาสตร์มีบทบาทในการ
รงชีวิตเพื่อพา ปรับปรุง เปล่ียนแปลง
ม.4-6/5 ไปตามยุคสมัยทุกด้าน การเกษตรก็
เป็นสายงานหนึ่งที่ต้องพึ่งเทคโนโลยี
ม.4-6/6 ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ผ ลิ ต พื ช ห รื อ สั ต ว์

หน่วยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั สาระสาคญั เวลา นา้ หนักคะแนน
(ชม.) K A P รวม
2 รูล้ กั ษณ์ รู้จัก แผนการเรียนรู้ท่ี 5 : ความรู้ ง1.1 ม.4-6/1 ดังน้ัน มนุษย์ควรเลือกใช้เทคโนโลยี 6 1 3 10
อย่างเหมาะสมเพื่อให้เกิดผลกระทบ 2
เบ้ืองต้นเก่ยี วกับการผลติ พืช ม.4-6/2 ต่อการดาเนินชีวตน้อยที่สดุ 311 5
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 2
ม.4-6/3 การแสวงหาความรู้เพื่อการดารงชีวิต
สาระสาคัญ /ความคดิ รวบยอด
ม.4-6/4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผลิตพืช
การปลูกพืชให้ได้ผลผลิตที่ดีต้องมี
ม.4-6/5 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยและการ
เลือกพนื้ ที่อย่างเหมาะสมนอกจากน้ัน
ม.4-6/6 ต้องมกี ารวางแผนและการเตรียมงาน
ตามข้ันตอนกระบวนการปลูกพืชที่ดี
แผนการเรียนรู้ท่ี 6 : ความรู้ ง1.1 ม.4-6/1 หากมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
จะทาให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงต่างๆ
น้อยทีส่ ดุ
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
การจัดการ
สาระสาคัญ /ความคดิ รวบยอด

หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนักคะแนน
3 สรา้ งสรรคง์ านเกษตร ทว่ั ไปเกี่ยวกับการผลติ สัตว์ (ชม.) K A P รวม
ม.4-6/2 ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับการผลิตสัตว์
ม.4-6/3 สัตว์เป็นอาหารประเภทโปรตีนที่มี 2 4 1 5 10
ม.4-6/4 ความสาคัญอย่างยิ่งของมนุษย์ ซึ่ง
ม.4-6/5 แบ่งได้หลายประเภทนอกจากน้ันยัง
ม.4-6/6 ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ ใ ห้ กั บ เ ก ษ ต ร ก ร แ ล ะ
ประเทศชาติในปริมาณมากสัตว์เป็น
แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 7 : ง1.1 ม.4-6/7 สินค้าส่งออกของประเทศโดยเฉพาะ
ก า ร เ ก ษ ต ร เ พื่ อ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ในประเทศอาเซียนดังนั้นเพื่อให้ได้ผล
ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ผลิตที่มีคุณภาพจาเป็นต้องศึกษา
ส่งิ แวดล้อม ข้อมลู เกี่ยวกับการเลีย้ งสัตว์ที่ถกู ต้อง
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
การจัดการ
สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ก า ร เ ก ษ ต ร เ พื่ อ ก า ร อ นุ รั ก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
เป็นการเกษตรแบบยั่งยืนซึ่งเป็นการ
ด า เ นิ น ง า น ต า ม แ น ว พ ร ะ ร า ช ด า ริ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ข อ ง

หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั สาระสาคญั เวลา นา้ หนักคะแนน
4 เปิดประตสู อู่ าชีพ (ชม.) K A P รวม
แผนการเรียนรู้ท่ี 8 : การ ง1.1 ม.4-6/7 พระบาทสมเด็จพระภูมิพลอดุลยเดช
จั ด ก า ร วั ส ดุ เ ห ลื อ ใ ช้ ท า ง ตามวิถีชีวิตของคนไทยผสมผสานกับ 2 113 5
การเกษตร การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่แต่ไม่มี 2 311 5
ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ปัจจุบันมี
แผนการเรียนรู้ท่ี 9 : ตลาด ง2.1 ม.4-6/1 ห ล า ย รู ป แ บ บ ใ ห้ เ ลื อ ก ต า ม ค ว า ม
เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น
สนิ ค้าเกษตร ม.4-6/2 ท้องถิ่นของไทย
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
-
สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ก า ร จั ด ก า ร วั ส ดุ เ ห ลื อ ใ ช้ ท า ง
การเกษตรในแนวทางอนรุ กั ษ์พลงั งาน
และส่ิงแวดล้อมการนาวัสดุเหลือใช้
จากพืชและสตั ว์มาประยุกต์ใช้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
การแก้ปัญหาในการทางาน
สาระสาคัญ /ความคดิ รวบยอด
ตลา ดสิน ค้า เกษ ตร เป็ นกา รท า

หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ตวั ช้วี ดั สาระสาคญั เวลา นา้ หนักคะแนน
(ชม.) K A P รวม
ม.4-6/3 กิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ผลิตและ
ม.4-6/4 ผู้บริโภค ซึ่งการตลาดมีความสาคัญ 2 4 1 5 10
ต่ อ ม นุ ษ ย์ ทุ ก ค น ร ว ม ท้ั ง เ ป็ น แ ห ล่ ง
แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 1 0 : ง2.1 ม.4-6/1 จาหน่ายและผลผลิตสินค้าต่างๆ การ
แนวทางประกอบอาชีพทางการ ม.4-6/2 ติดต่อสอ่ื สารทางการตลาดที่ดีจะต้อง
เกษตร ม.4-6/3 มี ร ะ บ บ ร ะ เ บี ย บ แ บ บ แ ผ น จึ ง ท า ใ ห้
การตลาดมีประสทิ ธิภาพ
ม.4-6/4 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
แนวทางสอู่ าชีพ
สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
แ น ว ท า ง ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง ก า ร
เกษตร ผู้ที่สนใจจะประกอบอาชีพนี้
สามารถดาเนินการได้ทุกคนไม่จากัด
ถึงแม้ว่าจะทาอาชีพอ่ืนอยู่แล้วก็ตาม
ถ้ า มี ค ว า ม ส น ใ จ แ ล ะ มี ค ว า ม รู้
ความสามารถและเคยมีประสบการณ์
มีการวางแผนที่ดีและได้ร่วมงานที่ดีก็
สามารถทาให้ประสพความสาเร็จได้

หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั สาระสาคัญ เวลา นา้ หนักคะแนน
(ชม.) K A P รวม
เชน่ กนั
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 18 44 10 26 80
แนวทางสู่อาชีพ การเลือกและใช้ 1 6 2 2 10
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ 1 6 2 2 10
ประสบการณ์ในอาชีพ คุณลักษณะที่ 20 56 14 30 100
ดตี ่ออาชีพ

รวม เวลา / คะแนน หน่วยการเรียน
สอบวดั ผลกลางภาคเรียน
สอบวัดผลปลายภาคเรียน
รวมเวลาเรียน / คะแนน ตลอดภาคเรียน

เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

1. อตั ราสว่ นคะแนน หน่วยการเรยี น : กลางภาคเรียน : ปลายภาคเรียน

1.1 รายละเอียดของการใหค้ ะแนน

- งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 45 คะแนน

- แบบฝึกทักษะ 10 คะแนน

- สอบเกบ็ คะแนน 20 คะแนน

- พัฒนาการการเรียนรู้ 5 คะแนน

1.2 คะแนนสอบกลางภาค 10 คะแนน

1.3 คะแนนสอบปลายภาค 10 คะแนน

2. การคิดคะแนน

ระดบั คะแนน 0 คะแนน 0 - 49 คะแนน

ระดับคะแนน 1 คะแนน 50 - 54 คะแนน

ระดบั คะแนน 1.5 คะแนน 55 - 59 คะแนน

ระดับคะแนน 2 คะแนน 60 - 64 คะแนน

ระดับคะแนน 2.5 คะแนน 65 - 69 คะแนน

ระดบั คะแนน 3 คะแนน 70 - 74 คะแนน

ระดบั คะแนน 3.5 คะแนน 75 - 79 คะแนน

ระดับคะแนน 4 คะแนน 80 - 100 คะแนน

3. แหลง่ เรียนรู้

- แหล่งเรียนรู้เกษตร
- แหล่งเรียนรู้ในช้ันเรียน
- แหล่งเรียนรู้ทางอนิ เตอร์เน็ต


ผังมโนทศั น์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรือ่ ง งานเกษตรก้าวหนา้ รายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร )
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 เวลา 8 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต

เรื่อง การเกษตรกบั วถิ ีชีวิตของคนไทย เรือ่ ง การเกษตรกับการพฒั นาประเทศ
เวลา 2 ชั่วโมง เวลา 2 ช่ัวโมง

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1
เรือ่ ง งานเกษตรก้าวหนา้

เรื่อง การผลติ พชื โดยใช้เทคโนโลยีชวี ภาพ เรือ่ ง เทคโนโลยีทางการเกษตร
เวลา 2 ชั่วโมง เวลา 2 ช่วั โมง

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง งานเกษตรก้าวหนา้ จานวน 8 ชัว่ โมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา 2565
รายวชิ า การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหสั วิชา ง 32101 ครผู ู้สอน นางสาวภรณภา ตะกรษุ
_________________________________________________________

สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)
การเกษตรกบั วิถชี ีวิตของคนไทย การเกษตรกบั การพฒั นาประเทศ เทคโนโลยีทางการเกษตร การผลิตพืช

โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

สาระที่ 1 การดารงชีวติ และครอบครัว

มาตรฐานที่ ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ

ลักษณะนิสัยในการทางาน มีจติ สานึกในการใช้พลังงาน ทรพั ยากร และส่ิงแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตและ
ครอบครวั

ตัวช้วี ัด
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อธบิ ายวิธีการทางานเพื่อการดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒ สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกัน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓ มีทกั ษะการจดั การในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔ มีทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕ มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖ มีคุณธรรมและลกั ษณะนิสัยในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ใช้พลังงาน ทรัพยากรในการทางานอยา่ งคุ้มคา่ และยัง่ ยืน เพอ่ื อนุรกั ษ์สิง่ แวดล้อม

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ( Competency ) คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ( Desired Characteristics )
มีวินัย
1. ความสามารถในการส่อื สาร ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคิด มุ่งมน่ั ในการทางาน
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทกั ษะ / กระบวนการ ( Skill during the process ) ทักษะการคิด
- ระดมสมอง
ทกั ษะเฉพาะวิชา - การค้นคว้าขอ้ มูล
- การสนทนาแลกเปล่ียนข้อมลู - การนาเสนอขอ้ มูล
- การเขยี นรายการ
- ระบรุ ายละเอียด

ความเข้าใจทย่ี ่งั ยืน
นักเรียนเข้าใจว่า การเกษตรอยู่คู่กับคนไทยและมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยมาช้านาน แม้ยุคสมัยจะ

เปลีย่ นแปลงไปเพียงใดการเกษตรกย็ ังคงอยู่คู่กบั คนไทยตลอดมา โดยเฉพาะด้านการประกอบอาชีพของคนไทย

ความสมั พันธก์ บั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ น่ื
ภาษาไทย : รายงานการวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสียที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลติ พืช
ศิลปะ : การออกแบบชิน้ งาน
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม : การออกสารวจชมุ ชน

คณิตศาสตร์ : การเก็บข้อมูลการสารวจเพื่อนามาวิเคราะห์

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1

เรื่อง การเกษตรกับวิถีชวี ติ ของคนไทย เวลา 2 ชัว่ โมง

ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลกั ฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ ส่งิ ที่ต้องรู้และปฏิบัติได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวดั ผลและการ

และตวั ชวี้ ดั ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. บอกความหมายและ - การออกแบบผังมโน - จากการอภิปราย

ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ทัศน์ เรื่อง “การเกษตรมี กลุ่ม

การเกษตรได้ (K) ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต - จ า ก ก า ร ส า ร ว จ

๒. จาแนกประเภทของ คนไทยอย่างไรบ้าง” ชุมชน
อาชีพทางการเกษตรได้ - รายงานการสารวจ - จากแบบทดสอบ
(K) ชุ ม ช น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ประจาหน่วย

๓. บอกหลักการของ ประกอบอาชีพและการใช้ - รายงานการสารวจชมุ ชนเก
การเกษตรทฤษฎีใหม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่ นทาง
ตามแนวพระราชดาริได้ การเกษตร
(K)

๔. อธิบายแนวคิดและ
ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
(K)

๕. แ ส ว งห าค ว า ม รู้
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ส า ร ว จ
ชุ มช น ด้าน การ ใช้ภู มิ
ปัญญาท้องถิ่นและการ
ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
เกษตรกรรมในท้องถิ่น
(P)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความหมาย ความสาคัญของอาชีพเกษตรกรรม
- การจาแนกประเภท
- หลักและวิธีการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกจิ พอเพียง
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- ออกแบบผังมโนทัศน์

- สารวจชมุ ชนเกี่ยวกบั การประกอบอาชีพ

4. สมรรถนะ (Competency)
1. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3. หลักฐานการเรียนรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)
- การออกแบบผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง “การเกษตรมีความสัมพนั ธ์กับวิถีชวี ิตคนไทยอย่างไรบ้าง”
- รายงานการสารวจชุมชนเกย่ี วกบั การประกอบอาชีพและการใช้ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ทางการเกษตร

4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

ส่งิ ที่วัดผล วิธีวัดผล เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบประเมนิ
ระดับคุณภาพ 2
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) สังเกตการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ปฏิบตั ิงาน ผลงาน ระดบั คุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A) สงั เกตการ
ระดบั คณุ ภาพ 2
ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สงั เกตการ

ปฏิบตั ิงาน

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รปู แบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )
ใชก้ ระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสัย ส่ิงที่ต้องการพัฒนาคือ

เนื้อหาสาระ ดังนี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้ พัฒนา
ความรู้ความเข้าใจ สรุปสาระสาคญั
6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน ( 10 นาที )
๑) ครแู ละนักเรียนสนทนาเก่ยี วกับการประกอบอาชีพของบุคคลในครอบครวั ของนักเรียน
๒) ให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายกลุ่มแลว้ นาเสนอความคิดเหน็ เก่ยี วกบั ข้อดี-ข้อเสียของอาชีพของผู้ปกครอง

๓) ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรือ่ ง “การเกษตรกับวิถชี ีวิตคนไทย”
2. ขั้นสอน ( 100 นาที )

๑) นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕-๖ คน ศึกษาเอกสารใบความรู้ ดังนี้
- ความหมาย ความสาคัญและการจาแนกอาชีพทางการเกษตร
- หลักแนวคิดการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง

๒) ตวั แทนนักเรียนรับใบงานการอภิปราย เรื่อง “การเกษตรมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนไทย” แล้ว
สรุปเป็นผงั มโนทัศน์

๓) ตวั แทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการอภปิ รายและผงั มโนทัศน์หน้าช้ันเรียน
๔) นกั เรียนร่วมซกั ถามและเสนอแนวคิด
3. ขั้นสรุป ( 10 นาที )

๑) นกั เรียนร่วมกันสรุป เรื่อง การเกษตรมีความสมั พันธ์กับวิถชี ีวิตของคนไทย
๒) ครูมอบหมายงานการสารวจชุมชนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพและการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นทาง
การเกษตร โดยใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกแบบการสัมภาษณ์ขอ้ มลู เพ่อื สารวจชุมชนของตนเองตามความเหมาะสม
(ใช้เวลาวันหยุด)
๓) แต่ละกลมุ่ สรุปผลการสารวจพร้อมภาพประกอบนาเสนอผลในชั่วโมงถดั ไป
๔) นักเรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
7. สือ่ การสอน / แหล่งเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวิชาเพิ่มเติม งานเกษตร ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง ความหมาย ความสาคัญ/การจาแนกประเภทของอาชีพทางการเกษตร
๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
๔. ใบงานการอภปิ ราย
๕. หอ้ งสมดุ
๖. ส่อื ICT
๗. ชมุ ชนและประชาชนที่นักเรียนอาศัย

8. บนั ทึกผลหลังแผนการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง การเกษตรกบั วิถชี ีวิตของคนไทย

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านักเรียนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านักเรียน................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเกษตรกบั วิถชี ีวิตของคนไทย

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบว่านักเรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกับมาตรฐานหลักสตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เรือ่ ง การเกษตรกับวิถชี วี ิตของคนไทย

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านักเรียนคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............และ
รองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านักเรียน.............................................
...........................................................................................................................................................

สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 การเกษตรกบั วิถชี ีวิตของคนไทย
1) นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดบั ...................
2) นักเรียนมีทักษะในระดบั ..................
3) นักเรียนมีคุณลักษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

3. การปรับเปลีย่ นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถา้ มี)
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...................................

4. ข้อค้นพบดา้ นพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...............................

5. อื่นๆ............................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑
เรือ่ ง ความสาคญั ของการเกษตรและการใชภ้ ูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นทางการเกษตร
วตั ถปุ ระสงค์ : เพอ่ื ให้นกั เรียนตระหนกั และเห็นความสาคัญของการเกษตรและการใช้ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ทาง
การเกษตร

คาชี้แจง ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายในหัวข้อ “การเกษตรมี
ความสัมพันธ์กบั วิถชี ีวิตของคนไทยอย่างไรบ้าง” (ใช้เวลา ๑๕ นาที)

- สรปุ ใจความสาคัญ แลว้ ออกแบบเปน็ ผังมโนทัศน์ลงในกรอบที่กาหนดให้
- สง่ ตวั แทนอภิปรายหน้าช้ันเรียน ( ๕ นาที )

...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๒
เรือ่ ง การประกอบอาชีพและการใช้ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ทางการเกษตร
วัตถปุ ระสงค์ : เพ่อื ให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสาคญั ของการเกษตรและการใช้ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ทาง
การเกษตร
คาชี้แจง
๑. ให้แต่ละกลุ่มออกสารวจชุมชนที่สนใจเพื่อสารวจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพและการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ทางการเกษตร (ใช้เวลาวันหยุด) ในการสารวจให้แต่ละกลุ่มสร้างแบบสัมภาษณ์เองตามความเหมาะสมเพื่อให้ได้
ข้อมูลมากทีส่ ดุ พร้อมถ่ายภาพการทากิจกรรม
๒. เกบ็ รวบรวมแล้วสรุปผลการสารวจตามแบบฟอร์มทีก่ าหนดให้
๓. นาเสนอผลการสารวจในชัว่ โมงถัดไป

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2

เรื่อง การเกษตรกบั การพฒั นาประเทศ เวลา 2 ชวั่ โมง

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ สง่ิ ทีต่ ้องรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

และตวั ชวี้ ัด ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. บอกความสาคัญของ - ผั ง ม โ น ทั ศ น์ เ รื่ อ ง - จากการอภิปราย

ก า ร เ ก ษ ต ร ที่ มี ต่ อ บทบาทของการเกษตรที่มี กลุ่ม

ประเทศได้ (K) ผลต่อการพัฒนาประเทศ - จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า

๒. บอกความหมายของ ไทย ค้นคว้าข้อมูล

พืชและสัตว์เศรษฐกิจ - ร า ย งา น กา ร ศึก ษ า - จากแบบทดสอบ

ของไทยได้ (K) ค้นคว้าเกี่ยวกับพืชและ ประจาหน่วย

๓. มีทักษะในการสืบค้น สัตว์เศรษฐกิจของประเทศ

ข้อมูลเกี่ยวกับพืชและ ไทย

สัตว์เศรษฐกิจโดยใช้ส่ือ - รายงานการศึกษาค้นคว้าเ

เทคโนโลยีได้ (P) - รายงานการสารวจชุมชนเก

๔. มีความขยัน ละเอียด

ร อ บ ค อ บ ต่ อ ก า ร

ปฏิบัติงาน (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความสาคญั ของการเกษตรกับการพฒั นาประเทศ
- ความเปน็ มาและจดุ เริม่ ต้นของการพฒั นาประเทศ
- ความหมายของพืชและสัตว์เศรษฐกิจ
- ประเภทของพืชและสัตว์ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- การสบื ค้นข้อมูลเกีย่ วกบั ประเภทของพชื และสตั ว์ทีม่ ีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกิจของประเทศ โดย

ใช้สือ่ ICT ต่างๆ

- การอภิปรายในหัวขอ้ “บทบาทของการเกษตรทีม่ ผี ลต่อการพฒั นาประเทศไทย”

- การออกแบบผังมโนทัศน์

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)

- ผงั มโนทัศน์ เรื่อง บทบาทของการเกษตรทมี่ ีผลต่อการพัฒนาประเทศไทย

- รายงานการศึกษาคน้ คว้าเก่ยี วกบั พืชและสัตว์เศรษฐกจิ ของประเทศไทย

- รปู แบบของการจดั ผังมโนทศั น์

- นาเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกบั พืชและสัตว์เศรษฐกิจ

4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ที่วดั ผล วิธีวดั ผล เครื่องมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) สงั เกตการ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2

ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A) สงั เกตการ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2

ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สงั เกตการ ผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2

ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจัดกิจกรรม ( Learning Process )

ใชก้ ระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสัย ส่ิงที่ต้องการพัฒนาคือ

เนื้อหาสาระ ดังนี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้ พัฒนา

ความรู้ความเข้าใจ สรุปสาระสาคญั

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ขัน้ นาเขา้ สูบ่ ทเรียน ( 10 นาที )
๑) ครูและนกั เรียนสนทนาเกย่ี วกบั การสารวจชมุ ชน เร่อื ง การประกอบอาชีพและการใช้ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ

ของบคุ คลในครอบครัว
๒) ตวั แทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอสรุปผลการสารวจ
๓) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ บทบาทของการประกอบอาชีพการเกษตรในแต่ละชมุ ชน
๔) ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรือ่ ง “การเกษตรกบั การพัฒนาประเทศ”

2. ข้ันสอน ( 100 นาที )
๑) นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕-๖ คน รับใบงานการอภิปราย เรื่อง “บทบาทของการเกษตรที่มีผลต่อการ

พัฒนาประเทศไทย”
๒) จากนั้นใหส้ รปุ ผลลงในใบงานและนาเสนอในรูปแบบผงั มโนทศั น์
๓) สง่ ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลการอภปิ ราย
๔. นักเรียนแต่คนรับใบความรู้ความรู้ ดังนี้
- ความสาคัญและบทบาทของการประกอบอาชีพการเกษตรทีม่ ผี ลต่อการพฒั นาประเทศไทย

- ความสาคัญของพืชและสัตว์ ประเภทของพืชและสตั ว์เศรษฐกิจ
๕) ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมเกีย่ วกบั บทบาทของการเกษตรที่มีต่อประเทศ แล้วให้นกั เรียนซกั ถามปญั หา
3. ขั้นสรปุ ( 10 นาที )
๑) นักเรียนร่วมกันสรุปบทบาทของการเกษตรทีม่ ีผลต่อการพฒั นาประเทศไทย
๒) ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพืชและสัตว์ที่มีความสาคัญทาง
เศรษฐกิจจากแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ ตามความเหมาะสม
๓) สรุปผลเป็นรายงานส่งเป็นรายบคุ คลในช่ัวโมงถดั ไป
๔) นกั เรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
7. สื่อการสอน / แหลง่ เรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพ่มิ เติม งานเกษตร ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรือ่ ง ความหมาย ความสาคัญของการเกษตรกบั การพัฒนาประเทศ
๓. ใบความรู้ เรือ่ ง การจาแนกประเภทของพืชและสตั ว์
๔. ใบความรู้ เรื่อง พืชและสตั ว์ที่มคี วามสาคญั ต่อเศรษฐกิจของประเทศ
๕. ใบความรู้ เรือ่ ง แนวทางในการพฒั นาการเกษตรที่มตี ่อประเทศ
๖. ใบงานการอภปิ ราย
๗. หอ้ งสมดุ
๘. สอ่ื ICT

8. บนั ทึกผลหลงั แผนการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง การเกษตรกบั การพฒั นาประเทศ

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านกั เรียนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านกั เรียน................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรื่อง การเกษตรกับการพฒั นาประเทศ

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดับ................และพบว่านักเรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกับมาตรฐานหลักสูตร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรือ่ ง การเกษตรกับการพฒั นาประเทศ

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านกั เรียนคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............และ
รองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านกั เรียน.............................................
...........................................................................................................................................................

สรปุ ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 การเกษตรกบั การพฒั นาประเทศ
1) นกั เรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดบั ...................
2) นักเรียนมีทกั ษะในระดับ..................
3) นักเรียนมีคุณลกั ษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

3. การปรับเปลีย่ นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...................................

4. ขอ้ ค้นพบด้านพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...............................

5. อื่นๆ............................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑
เรือ่ ง บทบาทของการเกษตรทม่ี ีผลต่อการพัฒนาประเทศไทย
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของพืชและสัตว์ในการสร้างรายได้ให้กับ
ประเทศ
คาชี้แจง
๑. ให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕-๖ คน แต่ละกลมุ่ ร่วมกันอภปิ ราย เรื่อง “บทบาทของการเกษตรที่มีผล
ต่อการพฒั นาประเทศไทย” จากน้ันใหแ้ ต่ละกลมุ่ สรปุ ผลการอภิปรายในรูปของผงั มโนทัศน์ (Mind Mapping)
๒. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการอภปิ รายหน้าชั้นเรียน

กจิ กรรมที่ ๒
เรื่อง พชื และสตั ว์เศรษฐกจิ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของพืชและสัตว์ในการสร้างรายได้ให้กับ
ประเทศ
คาชีแ้ จง
๑. ให้นักเรียนแต่ละคนสบื ค้นข้อมลู เกี่ยวกับพืชและสตั ว์เศรษฐกิจโดยใช้อนิ เทอร์เนต็
๒. สรุปผลการศึกษาค้นคว้าส่งครูผู้สอน
๓. ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ท้ายบท

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3

เรือ่ ง เทคโนโลยีทางการเกษตร เวลา 2 ชว่ั โมง

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ สง่ิ ที่ต้องรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวดั ผลและการ

และตวั ชวี้ ัด ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. บอกความหมายและ - การสรุปใบงานการ - จากการอภิปราย

ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง อ ภิ ป ร า ย ก ลุ่ ม เ รื่ อ ง กลุ่ม

เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง - จา กกา รสา ร ว จ

การเกษตรได้ (K) การเกษตร ชมุ ชน

๒. จาแนกประเภทของ - เ รี ย ง ค ว า ม เ รื่ อ ง - จ า ก ก า ร เ ขี ย น

เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ผลกระทบที่เกิดจาก เรยี งความ

การเกษตรได้ (K) การใช้เทคโนโลยีทาง - จ า ก ก า ร ท า

๓. บอกความหมาย การเกษตร แบบทดสอบ

และวิธกี ารนาภูมิปัญญา - บันทึกรายงานการ

ท้องถิ่นมาใช้ทางการ สารวจชุมชนเกี่ยวกับ

เกษตรได้ (K) ก า ร ใ ช้ ภู มิ ปั ญ ญ า

๔ . มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ท้องถิน่ ทางการเกษตร

สารวจและเลือกใช้ภูมิ -

ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ท า ง ร า ย ง า น ก า ร ส า ร ว จ

ก า ร เ ก ษ ต ร ไ ด้ อ ย่ า ง ชุ ม ช น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร

เหมาะสม (P) ประกอบอาชีพและการ

๕ . ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร ทางการเกษตร

เลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่

ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ

สง่ิ แวดล้อม (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความหมายของการใช้เทคโนโลยีการเกษตร
- ความสาคญั ของการใช้เทคโนโลยีการเกษตร
- หลักและวิธีการใช้เทคโนโลยีในการปลูกพชื และเล้ยี งสตั ว์

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- การสารวจการใช้ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และเทคโนโลยีทางการเกษตรในชมุ ชน

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)
- การสรปุ ใบงานการอภิปรายกลุ่ม เรือ่ ง เทคโนโลยีทางการเกษตร
- เรียงความ เร่อื ง ผลกระทบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร
- บนั ทึกรายงานการสารวจชมุ ชนเกีย่ วกับการใช้ภูมิปญั ญาท้องถิ่นทางการเกษตร
- อภปิ รายกลุ่ม เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร
- เขียนเรียงความ เรือ่ ง ผลกระทบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ที่วดั ผล วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ
แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบประเมนิ
ระดับคุณภาพ 2
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) สังเกตการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ปฏิบัติงาน ผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A) สังเกตการ
ระดบั คณุ ภาพ 2
ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สงั เกตการ

ปฏิบัติงาน

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจัดกิจกรรม ( Learning Process )
ใชก้ ระบวนการความรู้ความเข้าใจ เปน็ กระบวนการทีใ่ ช้ในการเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสัย ส่ิงที่ต้องการพัฒนาคือ

เนื้อหาสาระ ดังนี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้ พัฒนา
ความรู้ความเข้าใจ สรุปสาระสาคัญ

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรียน ( 10 นาที )
๑) ครแู ละนกั เรียนสนทนาเกย่ี วกบั การใช้เทคโนโลยีต่างๆ ในการดารงชีวิตในปัจจุบนั
๒) ให้นักเรียนแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั การนาเทคโนโลยีไปใช้ในชีวิตประจาวันของนักเรียน
๓) ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรือ่ ง “เทคโนโลยีทางการเกษตร”

2. ขัน้ สอน ( 100 นาที )

๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน รับใบงานอภิปราย เรื่อง “ความหมายและความสาคัญของการใช้
เทคโนโลยีทางการเกษตรในปจั จุบนั

๒) ตัวแทนนักเรียนนาเสนอผลการอภปิ รายหน้าช้ันเรียน

๓) ครูและนักเรียนสรปุ ผลการอภปิ รายและสรปุ บทเรียนร่วมกัน
๔) นักเรียนรับเอกสารใบความรู้ เร่อื ง

- ความหมายและความสาคญั ของเทคโนโลยีทางการเกษตร
- เทคโนโลยีทีเ่ กี่ยวข้องกับพืชและสตั ว์
- ประเภทของเทคโนโลยีทางการเกษตร
- การใช้ภูมิปัญญาท้องถิน่ ทางด้านการเกษตร
๕) ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร และให้
นักเรียนแต่ละคนเขียนเรียงความเรื่อง “ผลกระทบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร” ลงในกระดาษ A๔
(ไม่จากดั ความยาว)
3. ข้ันสรปุ ( 10 นาที )
๑) ครแู ละนักเรียนสรปุ บทเรียน เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร
๒) ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสารวจภูมิปัญญาท้องถิ่นทางการเกษตร กลุ่มละ ๑ เรื่อง และ
เตรียมวัสดุ อุปกรณ์เพื่อสาธติ เป็นการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ในชั้นเรียน
๓) นักเรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้

7. สือ่ การสอน / แหลง่ เรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม งานเกษตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรื่อง ความหมายและความสาคญั ของเทคโนโลยีทางการเกษตร
๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง เทคโนโลยีที่เกีย่ วข้องกบั พืชและสัตว์
๔. ใบความรู้ เรอ่ื ง ประเภทของเทคโนโลยีทางการเกษตร
๕. ใบความรู้ เร่อื ง การใช้ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นทางด้านการเกษตร
๖. ใบงานกิจกรรมที่ ๑, ๒ และ ๓
๗. ชุมชนและประชาชนทีน่ กั เรียนอาศัยอยู่

8. บนั ทึกผลหลงั แผนการจดั การเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เทคโนโลยีทางการเกษตร

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านักเรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านักเรียน................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรื่อง เทคโนโลยีทางการเกษตร

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบว่านักเรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกบั มาตรฐานหลักสตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เรื่อง เทคโนโลยีทางการเกษตร

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านกั เรียนคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............และ
รองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านกั เรียน.............................................
...........................................................................................................................................................

สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 เทคโนโลยีทางการเกษตร
1) นกั เรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดับ...................
4) นกั เรียนมีทักษะในระดับ..................
5) นักเรียนมีคุณลักษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

3. การปรบั เปลีย่ นแผนการจัดการเรียนรู้ (ถ้ามี)
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...............................

5. อื่นๆ............................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑

วตั ถุประสงค์ : เพอ่ื ให้นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจและเห็นความสาคญั ของการใช้เทคโนโลยีเพือ่ พัฒนาการ
เกษตร

คาชี้แจง
๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน แต่ละกลุ่มอภิปรายความหมายและความสาคัญ พร้อม

ยกตวั อย่างเทคโนโลยีทางการเกษตรที่นักเรียนพบเหน็ ในปัจจุบัน
๒. บันทึกผลการอภปิ รายลงในใบงานทีก่ าหนด (ใช้เวลาประมาณ ๑๕ นาที)
๓. แต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนอภิปรายผลหน้าชั้นเรียน กลุ่มละไมเ่ กิน ๓ นาที

กจิ กรรมที่ ๒
วัตถปุ ระสงค์ : เพ่อื ให้นกั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจและเหน็ ความสาคัญของการใช้เทคโนโลยีเพือ่ พฒั นาการ
เกษตร
คาชีแ้ จง

ให้นักเรียนเขียนเรียงความเร่อื ง “ผลกระทบที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร” ลงในกระดาษ A๔
สง่ ครูผู้สอนในชว่ั โมงต่อไป

กจิ กรรมที่ ๓
วตั ถุประสงค์ : เพ่อื ให้นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจและเห็นความสาคัญของการใช้เทคโนโลยีเพื่อพฒั นาการ
เกษตร
คาชี้แจง

๑. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสารวจการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นทาง
การเกษตรในชมุ ชนของนกั เรียน

๒. คดั เลอื กภูมิปญั ญาทางการเกษตร จานวน ๑ เร่อื ง เพือ่ ทาการผลติ ในชวั่ โมงถัดไป
๓. บนั ทึกรายละเอยี ดของภมู ิปัญญาทางการเกษตรที่คัดเลอื กลงในใบงานสง่ ครูผู้สอน

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4

เรื่อง การผลิตพืชโดยใช้เทคโนโลยีชวี ภาพ เวลา 2 ชว่ั โมง

ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ ส่งิ ที่ต้องรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

และตัวชวี้ ัด ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑ . บ อ ก ค ว า ม ห ม า ย - รายงานการอภิปราย - จากการอภิปราย

ประเภทและประโยชน์ เ รื่ อ ง “วิ ธี ก า ร ใ ช้ กลุ่ม

ของเทคโนโลยีชีวภาพได้ เทคโนโลยีชีวภาพในการ - จากการวิเคราะห์

(K) ผลติ พืช” - จากการทา

๒. บอกวิธีการผลิตพืช - รายงานการวิเคราะห์ แบบทดสอบ
โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ข้อดี-ข้อเสียที่เกิดจาก

ได้ (K) การนา

๓ . มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร เทคโนโลยีชีวภาพมาใช้

วิเคราะห์ประโยชน์และ ในการผลิตพืช

โทษของการนา

เทคโนโลยีชีวภาพมาใช้

ในการผลิตพืช (A)

๔ . มี จิ ต ส า นึ ก แ ล ะ

รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ง า น ที่

ได้รบั มอบหมาย (P)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
- ประเภทของเทคโนโลยีชีวภาพ
- การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ
- การตดั แต่งพนั ธุกรรม (GMOs
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)

- วิธีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลติ พืช

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3. หลักฐานการเรียนรู้ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)
- รายงานการอภปิ ราย เรื่อง “วิธีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลติ พืช”
- รายงานการวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสียทีเ่ กิดจากการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการผลติ พืช
- สรุปผลการอภิปรายเรื่อง “วิธีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตพืช” และข้อดี-ข้อเสียที่เกิดจากการ

นาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการผลติ พืช

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ที่วัดผล วิธีวัดผล เครื่องมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบประเมนิ
ระดบั คุณภาพ 2
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) สงั เกตการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ปฏิบัติงาน ผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เจตคติ/คุณลักษณะ (A) สงั เกตการ
ระดับคุณภาพ 2
ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สังเกตการ

ปฏิบัติงาน

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

ใชก้ ระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการทีใ่ ช้ในการเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสัย ส่ิงที่ต้องการพัฒนาคือ

เนื้อหาสาระ ดังนี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้ พัฒนา

ความรู้ความเข้าใจ สรปุ สาระสาคญั

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน ( 10 นาที )
๑) ครูและนกั เรียนสนทนา เร่อื ง “ผลสารวจชมุ ชนเกีย่ วกบั การใช้ภูมิปญั ญาท้องถิ่นทางด้านการเกษตร”
๒) นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงานการสารวจ
๓) ให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง “การผลติ พืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ”

2. ขั้นสอน ( 100 นาที )
๑) นกั เรียนรับเอกสารใบความรู้ เร่อื ง
- ความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลติ พืช
- ประเภทของเทคโนโลยีชีวภาพ
- การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่
- การตดั แต่งพันธกุ รรม (GMOs)
๒) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน รับใบงานการอภิปราย เรื่อง “วิธีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ

ผลติ พืช”
๓) ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลการอภปิ รายหน้าช้ันเรียน

๔) ครูและนกั เรียนสรุปผลการอภปิ รายและสรปุ บทเรียน
๕) ครูนาภาพผลผลิตทางการเกษตรที่ใช้เทคโนโลยีชีวภาพมาให้นักเรียนดู ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็น
3. ขนั้ สรปุ ( 10 นาที )
๑) ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสียที่เกิดจากการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการผลิตพืช แล้วส่งใน
ชว่ั โมงถดั ไป
๒) นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
7. สื่อการสอน / แหลง่ เรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม งานเกษตร ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรื่อง ความหมาย ความสาคญั และประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลติ พืช
๓. ใบความรู้ เรื่อง ประเภทของเทคโนโลยีชีวภาพ
๔. ใบความรู้ เรือ่ ง การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่
๕. ใบความรู้ เรือ่ ง การตดั แต่งพนั ธกุ รรม (GMOs)
๖. ใบงานกิจกรรมที่ ๑, ๒
๗. แผ่นภาพการผลติ พืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

8. บันทึกผลหลังแผนการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การผลติ พืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านกั เรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านักเรียน................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรื่อง การผลติ พืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบว่านักเรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกบั มาตรฐานหลักสูตร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง การผลติ พืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านักเรียนคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดับ............และ
รองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านกั เรียน.............................................
...........................................................................................................................................................

สรปุ ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 การผลติ พืชโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
1) นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับ...................
6) นกั เรียนมีทกั ษะในระดับ..................
7) นักเรียนมีคุณลกั ษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

3. การปรับเปลี่ยนแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...................................

4. ข้อค้นพบดา้ นพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ...............................

5. อืน่ ๆ............................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑
เรื่อง “มหศั จรรยเ์ ทคโนโลยีชีวภาพ”
วัตถุประสง ค์ : เพื่อให้นักเรียน มีคว ามรู้ ควา มเข้า ใจ แ ละเห็นคว ามสาคัญของการเลือกใช้
เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตพืช
คาชี้แจง
๑. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕-๖ คน อภิปรายเกีย่ วกบั “วิธีการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตพืช” บันทึก
ผลการอภปิ รายลงในใบงานที่กาหนดให้ จากนั้นตัวแทนแต่ละกลมุ่ เสนอผลการอภปิ รายหน้าชั้นเรียน
๒. ให้นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสียที่เกิดจากการนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการผลิตพืช และ
สง่ ผลการวิเคราะห์ใหค้ รูผู้สอนในชว่ั โมงต่อไป

ปญั หา/สิง่ ทีพ่ ฒั นา / แนวทางแก้ปญั หา / แนวทางการพฒั นา

ปัญหา/สิ่งที่พฒั นา สาเหตุของปัญหา/ แนวทางแก้ไข/ วธิ ีแก้ไข/พัฒนา ผลการแก้ไข/พฒั นา

สิง่ ทีพ่ ัฒนา พัฒนา

ลงชือ่ ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวภรณภา ตะกรษุ )

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงชือ่ ...............................................
(นายมนตรี สขุ พินิจ)

หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ลงชือ่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ลงชือ่ ...........................................
( นายวีระ แก้วกัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

8. ความคิดเห็น (ผู้บรหิ าร / หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.................................................แลว้ มีความเห็นดังนี้
8.1 เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ
8.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้
ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทีย่ งั ไม่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
8.3 เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้
8.4 ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ
.................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ....................................................................
(นายมนตรี สุขพินิจ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ความคิดเหน็ ของรองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ
.................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สุทธิธรานนท์ )

รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
ความคิดเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................
( นายวีระ แกว้ กัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี

ผังมโนทัศนห์ นว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2
เรื่อง รูล้ กั ษณ์ รจู้ ัก รายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร )
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 เวลา 4 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
เรือ่ ง รู้ลักษณ์ ร้จู กั

เรื่อง ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกบั การผลติ พชื เรือ่ ง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการผลติ สตั ว์
เวลา 2 ชั่วโมง เวลา 2 ชั่วโมง

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง รู้ลักษณ์ รู้จกั จานวน 4 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา 2565
รายวชิ า การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 32101 ครผู ู้สอน นางสาวภรณภา ตะกรษุ
_________________________________________________________

สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)
การปลูกพืชจะได้ผลผลิตที่ดีต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยและการเลือกพื้นที่อย่างเหมาะสม

นอกจากน้ันต้องมีการวางแผนและการเตรียมงานตามข้ันตอน กระบวนการปลูกพืชที่ดี หากมีความรู้ ความเข้าใจ
อย่างถูกต้องจะทาใหเ้ กิดผลกระทบต่อสิง่ ต่างๆ น้อยทีส่ ดุ

สัตว์เป็นอาหารประเภทโปรตีนที่มีสาคัญอย่างยิ่งแก่มนุษย์ ซึ่งสัตว์แบ่งได้หลายประเภท นอกจากน้ันยัง
สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและประเทศชาติในปริมาณมาก สัตว์เป็นสินค้าส่งออกของประเทศโดยเฉพาะใน
ประเทศอาเซยี น ดงั น้ันเพื่อให้ไดผ้ ลผลิตที่มีคณุ ภาพจาเป็นต้องศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเลยี้ งสัตว์ที่ถกู ต้อง

สาระที่ 1 การดารงชีวติ และครอบครัว

มาตรฐานที่ ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ

ลกั ษณะนิสัยในการทางาน มีจติ สานึกในการใช้พลงั งาน ทรพั ยากร และส่ิงแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตและ
ครอบครัว

ตัวชว้ี ดั
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อธบิ ายวิธีการทางานเพือ่ การดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒ สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีทกั ษะการทางานรว่ มกัน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓ มีทกั ษะการจัดการในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔ มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้เพือ่ การดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ใช้พลงั งาน ทรพั ยากรในการทางานอยา่ งคุ้มคา่ และย่งั ยืน เพ่อื อนรุ กั ษ์สิง่ แวดล้อม

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ( Competency ) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ( Desired Characteristics )
มีวินยั
1. ความสามารถในการส่อื สาร ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคิด มุ่งมนั่ ในการทางาน
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทักษะ / กระบวนการ ( Skill during the process ) ทกั ษะการคิด
- ระดมสมอง
ทกั ษะเฉพาะวิชา - การค้นคว้าขอ้ มูล
- การสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูล - การนาเสนอขอ้ มลู
- การเขยี นรายการ
- ระบุรายละเอียด

ความเข้าใจท่ยี งั่ ยืน
นักเรียนเข้าใจว่า การปลูกพืชจะได้ผลผลิตที่ดีต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยและการเลือกพื้นที่อย่าง

เหมาะสม นอกจากนั้นต้องมีการวางแผนและการเตรียมงานตามข้ันตอน กระบวนการปลูกพืชที่ดี หากมีความรู้
ความเขา้ ใจอย่างถูกต้องจะทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ น้อยที่สุด

สัตว์เป็นอาหารประเภทโปรตีนที่มีสาคัญอย่างยิ่งแก่มนุษย์ ซึ่งสัตว์แบ่งได้หลายประเภท นอกจากน้ันยัง
สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและประเทศชาติในปริมาณมาก สัตว์เป็นสินค้าส่งออกของประเทศโดยเฉพาะใน
ประเทศอาเซยี น ดงั น้ันเพือ่ ให้ไดผ้ ลผลิตที่มีคณุ ภาพจาเปน็ ต้องศึกษาข้อมูลเกีย่ วกบั การเล้ยี งสตั ว์ทีถ่ กู ต้อง

ความสมั พนั ธก์ บั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื
วทิ ยาศาสตร์ : การเก็บตัวอย่างดินเพ่อื วิเคราะห์ การสารวจศึกษาพรรณไม้
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม : การศึกษาและสารวจขอ้ มลู การประกอบอาชีพการเลยี้ งสตั ว์ใน

ชมุ ชน

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1

เรือ่ ง ความรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกบั การผลิตพชื เวลา 2 ชั่วโมง

ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ ส่งิ ที่ต้องรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

และตัวชวี้ ดั ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑ . อ ธิ บ า ย ปั จ จั ย ที่ - รายงานการศึกษา - จากการอภิปราย

เกี่ยวข้องและมีอิทธิพล ค้นคว้าเกี่ยวกับปัจจัยที่ กลุ่ม

ต่อการผลติ พืชได้ (K) มีอิทธิพลต่อการผลิต - จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า
ค้นคว้าข้อมูลการปลูก
๒. สามารถเตรียมพันธ์ุ พืช พืช
พืชและดินที่จะปลูกได้ - ร า ย ง า น ก า ร เ ก็ บ - จากการปฏิบตั ิงาน
อย่างเหมาะสม (P) ตัวอย่างดิน - จากแบบทดสอบ

๓. สามารถปลูกพืชได้ - รายงานการเตรียม ประจาหน่วย

ถกู ต้องตามวิธีการ (P) พั น ธ์ุ พื ช แ ล ะ ก า ร

๔ . มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด ปฏิบัติงานการปลูก - รายงานการสารวจชุมชนเ
รอบคอบ ตรงต่อเวลา
และรับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมาย (A)

๕. มีจิตสานึกที่ดีต่อการ
ใช้ส่ือเทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสม (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความหมายและความสาคญั ของการผลติ พืช
- ลักษณะการประกอบอาชีพเกย่ี วกบั พชื ในประเทศไทย
- การจาแนกประเภทของการผลติ พืช
2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- การปฏิบัติการปลูกพืช

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)
- รายงานการศึกษาคน้ คว้าเก่ยี วกบั ปจั จยั ที่มอี ทิ ธิพลต่อการผลติ พืช
- รายงานการเก็บตัวอย่างดนิ
- รายงานการเตรียมพันธุ์พชื และการปฏิบตั งิ านการปลูก
- บนั ทึกสรุปผลการอภิปราย “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลติ พืช”
- การวิเคราะห์ดินที่เกบ็ มาจากท้องถิน่
- ผลการปฏิบตั ิงานเตรียมพันธุ์พชื และปลูกพชื

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

ส่งิ ที่วดั ผล วิธีวดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ
แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบประเมนิ
ระดบั คุณภาพ 2
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) สงั เกตการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ปฏิบัติงาน ผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เจตคติ/คุณลักษณะ (A) สังเกตการ
ระดบั คณุ ภาพ 2
ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สงั เกตการ

ปฏิบัติงาน


Click to View FlipBook Version