The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน วิชา การงานอาชีพ 1 (งานเกษตร) ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูภรณภา ตะกรุษ, 2022-05-17 07:05:17

แผนการสอน วิชา การงานอาชีพ 1 (งานเกษตร) ม.5

แผนการสอน วิชา การงานอาชีพ 1 (งานเกษตร) ม.5

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจัดกิจกรรม ( Learning Process )

ใชก้ ระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสัย ส่ิงที่ต้องการพัฒนาคือ

เนื้อหาสาระ ดังนี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้ พัฒนา

ความรู้ความเข้าใจ สรุปสาระสาคญั

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน ( 10 นาที )
๑) ครแู ละนักเรียนสนทนาเกย่ี วกบั สภาพแวดล้อมและประเภทของพืชที่ปลูกในโรงเรียน
๒) นักเรียนยกตวั อย่างพืชทีร่ ู้จกั และเคยปลกู
๓) ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง “ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการปลูกพืช”

2. ขนั้ สอน ( 100 นาที )
๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ออกสารวจพันธุ์ไม้ที่ปลูกในโรงเรียน โดยให้เปรียบเทียบการ

เจริญเติบโตของพันธุ์ไมใ้ นแต่ละพื้นที่
๒) ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอขอ้ มูลจากการสารวจ
๓) ครมู อบใบความรู้ ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษา ดงั นี้
- ความหมายและความสาคัญของการผลติ พืช
- ลกั ษณะการประกอบอาชีพเกี่ยวกับพืช
- การจาแนกประเภทของพืช
๔) ตวั แทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ รับใบงาน การอภปิ ราย “ปัจจยั ที่เกีย่ วข้องและมอี ทิ ธิพลต่อการผลติ พืช”
๕) แต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงานและสรุปแนวคิดที่ไดร้ บั จากการนาเสนอ
๖) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปเก็บตัวอย่างดินในโรงเรียนเพื่อนามาวิเคราะห์ลักษณะของดินในแต่ละ

พืน้ ที่
7) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันวิเคราะห์ลกั ษณะของดินที่ดแี ละเหมาะสาหรบั การปลกู พืช

3. ข้นั สรปุ ( 10 นาที )
๑) นักเรียนรับใบความรู้ เรื่อง “การเตรียมดินสาหรับการปลูกพืช” และเตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับการ

ปลกู พชื ต่อไป (ปฏิบตั ิงานนอกเวลาเรียน)
๒) ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดหาพรรณไม้ในท้องถิ่นกลุ่มละ ๒ ชนิด เพื่อวิเคราะห์ลักษณะที่ดี

ของพรรณไม้ที่เหมาะสม มีลักษณะที่ดี และควรนาไปขยายพันธุ์ต่อไป โดยบันทึกผลในใบงานที่กาหนดให้ (ส่งใน
ชั่วโมงต่อไป)

๓) ครูเสนอแนะให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ตามความเหมาะสม และ
การนาเสนองานโดยใช้สื่อเทคโนโลยีเพ่อื ความสวยงามและสะดวกในการนาเสนอเพอ่ื เผยแพร่ต่อไป

๔) นกั เรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วย
หมายเหตุ การปฏิบตั ิงานการปลูกพืชให้นักเรียนใช้ว่างนอกเหนือจากชั่วโมงเรียน

7. สือ่ การสอน / แหลง่ เรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม งานเกษตร ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกบั การผลติ พืช
๓. ใบงานการศึกษาคน้ คว้า
๔. ตัวอย่างพรรณไมช้ นิดต่างๆ
๕. ตัวอย่างดินชนิดต่างๆ
๖. ชมุ ชนและประชาชนที่นกั เรียนอาศัย
๗. ส่ือ ICT

8. บันทึกผลหลงั แผนการจดั การเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกบั การผลติ พืช

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านกั เรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านักเรียน................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกับการผลติ พืช

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบว่านักเรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่อื มโยงกบั มาตรฐานหลักสูตร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรือ่ ง ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการผลติ พืช

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านกั เรียนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............และ
รองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านักเรียน.............................................
...........................................................................................................................................................

สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกบั การผลติ พืช
1) นักเรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดบั ...................
2) นักเรียนมีทกั ษะในระดบั ..................
3) นกั เรียนมีคุณลักษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

3. การปรับเปลี่ยนแผนการจัดการเรียนรู้ (ถา้ มี)
.............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

5. อืน่ ๆ...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑
เรื่อง “อิทธพิ ลแห่งธรรมชาติ”

วัตถุประสงค์ เพ่อื ใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและเหน็ ความสาคญั ของการปรับปรุงแก้ไขธรรมชาติเพ่อื
เอือ้ แก่การผลติ พืช
คาชี้แจง
๑. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕-๖ คน เพือ่ ศึกษาค้นคว้า เรือ่ ง “ปจั จยั ที่เกี่ยวข้องและมีอิทธิพลต่อการผลติ
พืช”
2. แต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนนาเสนอผลการศึกษาหน้าช้ันเรียน
3. สรปุ ผลการศึกษาส่งครูผู้สอน

.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
...................................

กจิ กรรมที่ ๒

เรื่อง “การวเิ คราะห์ดนิ ”
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสาคญั ของการปรบั ปรุงแก้ไขธรรมชาติเพ่อื
เออื้ แก่การผลติ พืช
คาชีแ้ จง
๑. ให้นักเรียนแต่ละคนเก็บตัวอย่างดินคนละ ๑ แก้ว (๕๐๐ กรัม) จากท้องถิ่นของตนเอง
๒. นาตวั อย่างดนิ มารว่ มกันวิเคราะหค์ ณุ ภาพและสว่ นประกอบของดินแต่ละชนิด
๓. บันทึกผลการวิเคราะห์คณุ ภาพและสว่ นประกอบของดินลงในใบงานที่กาหนดให้

.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๓
เรื่อง “การวเิ คราะหพ์ นั ธุ์ไม้”

วัตถุประสงค์ เพ่อื ใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและเหน็ ความสาคญั ของการปรบั ปรุงแก้ไขธรรมชาติเพ่อื
เอือ้ แก่การผลติ พืช
คาชีแ้ จง
๑. ให้นกั เรียนจัดหาพันธ์ุไม้ทีม่ ีอยู่ในท้องถิน่ มาคนละ ๒ ชนิด เพือ่ วเิ คราะห์ลกั ษณะที่ดี และเหมาะสมในการ
นามาปลูก
๒. สรปุ ลกั ษณะพนั ธ์ุไม้ที่ดีและเหมาะสมสาหรับการปลกู ลงในใบงานทีก่ าหนดให้

.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๔
เรือ่ ง “การเตรียมดินสาหรับปลูกพชื ”

วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหน้ ักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสาคัญของการปรับปรุงแก้ไขธรรมชาติเพ่อื
เออื้ แก่การผลติ พืช
คาชี้แจง
๑. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๕ คน ศึกษาใบความรู้เกี่ยวกบั การเตรียมดนิ สาหรบั ปลูกพชื
๒. นกั เรียนปฏิบตั ิการเตรียมดนิ สาหรบั ปลูกพชื

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2

เรื่อง ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับการผลิตสัตว์ เวลา 2 ช่ัวโมง

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ ส่งิ ทีต่ ้องรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวดั ผลและการ

และตัวชวี้ ดั ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. อธิบายความสาคัญ - การอภิปรายปัจจัยที่ - จากการอภิปราย

และประโยชน์ของการ มีอิทธิพลต่อการเล้ียง กลุ่ม

เลีย้ งสัตว์ได้ (K) สัตว์ - จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า

๒. จาแนกประเภทของ - ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ค้นคว้าข้อมูล
การเลีย้ งสตั ว์ได้ (K) ต่างๆ เกี่ยว กับ กา ร - จากแบบทดสอบ
ประจาหน่วย

๓. บอกปัจจัยที่มีผลต่อ เลยี้ งสัตว์

การเลีย้ งสัตว์ได้ (K) - การนาเสนอผลงาน

๔. มีทักษะในการศึกษา
ส า ร ว จ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ
การเล้ียงสัตว์ในปัจจุบัน
(P)

๕. มีความรับผิดชอบ
และมีจติ สานึกที่ดีในการ
ทางานร่วมกัน (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความสาคัญและประโยชน์ที่ได้จากการเลยี้ งสตั ว์
- วตั ถุประสงค์ของการเลีย้ งสัตว์
- ประเภทของการเลีย้ งสัตว์
- โรงเรือน/อปุ กรณ์ในการเลีย้ งสตั ว์
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- การวิเคราะห์สภาพการเลีย้ งสัตว์เศรษฐกิจในประเทศไทยและตา่ งประเทศ

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)
- การอภิปรายปจั จยั ทีม่ ีอิทธิพลต่อการเลยี้ งสัตว์
- การสบื ค้นข้อมลู ต่างๆ เกีย่ วกบั การเลยี้ งสัตว์
- การนาเสนอผลงาน
- บนั ทึกสรุปผลการอภิปราย “ปจั จยั ทีเ่ กีย่ วข้องและมีอิทธิพลต่อการเลยี้ งสตั ว์”
- สรุปผลงานการศึกษาค้นคว้า “สัตว์เศรษฐกิจของท้องถิ่นและประเทศ”

4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ทีว่ ัดผล วิธีวดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ
แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบประเมนิ
ระดับคณุ ภาพ 2
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) สงั เกตการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ปฏิบัติงาน ผลงาน ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A) สงั เกตการ
ระดบั คณุ ภาพ 2
ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สังเกตการ

ปฏิบตั ิงาน

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจัดกิจกรรม ( Learning Process )

ใชก้ ระบวนการความรู้ความเข้าใจ เปน็ กระบวนการทีใ่ ช้ในการเรียนรู้ดา้ นพุทธิพิสัย ส่ิงที่ต้องการพัฒนาคือ

เนื้อหาสาระ ดังนี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้ พัฒนา

ความรู้ความเข้าใจ สรุปสาระสาคัญ

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน ( 10 นาที )
๑. ครูและนักเรียนสนทนาเก่ยี วกบั การเลยี้ งสตั ว์ในครอบครัวและทอ้ งถิ่นของนกั เรียน
๒. นกั เรียนทคี่ รอบครวั ประกอบอาชีพเลยี้ งสตั ว์ออกมาถ่ายทอดประสบการณ์ใหเ้ พอ่ื นฟัง
๓. ครแู ละนกั เรียนแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับการเลยี้ งสตั ว์ในท้องถิ่น

2. ขั้นสอน ( 100 นาที )
๑. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ ๕-๖ คน รับใบความรู้และศึกษาเรือ่ งทีก่ าหนดใหต้ ่อไปนี้
- ความสาคัญประโยชน์ของการเลยี้ งสตั ว์
- ประเภทของการเลีย้ งสัตว์
- โรงเรือน/อุปกรณ์ในการเลีย้ งสัตว์
๒. ตัวแทนนกั เรียนแต่ละกลมุ่ รับเอกสารใบงานเพื่ออภปิ ราย เรือ่ ง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลีย้ งสตั ว์”
๓. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลการอภปิ ราย
๔. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ บทเรียน
๕. นักเรียนแต่คนรับใบความรู้เพิ่มเติมเรื่อง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเล้ียงสัตว์” ศึกษาเนื้อหา แล้ว

ซกั ถามปญั หา
3. ขน้ั สรุป ( 10 นาที )

๑. ครมู อบหมายงานใหน้ ักเรียนไปศึกษาหาขอ้ มูลเกีย่ วกบั เรอ่ื งที่กาหนดใหด้ งั ต่อไปนี้
- การเลีย้ งสัตว์ในท้องถิน่ ที่ประสบความสาเร็จ (ตามหัวข้อในใบงานทีก่ าหนดให)้
- สตั ว์เศรษฐกิจในท้องถิ่น ในประเทศไทย และในประเทศกลมุ่ อาเซียน

๒. สรุปผลการศึกษาข้อมลู ถ่ายทอดให้เพื่อนฟงั เพ่อื แลกเปลีย่ นเรียนรู้ในช่ัวโมงถดั ไป
๓. นกั เรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วย
7. สื่อการสอน / แหลง่ เรยี นรู้
๑. หนังสอื เรียน รายวชิ าเพ่มิ เติม งานเกษตร ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรือ่ ง “ความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกบั การเลยี้ งสัตว์”
๓. ใบงานประกอบอภิปราย
๔. ชุมชนและสถานประกอบการเลีย้ งสัตว์ในท้องถิ่นของนกั เรียน
๕. ส่อื ICT และห้องสมดุ โรงเรียน

8. บันทึกผลหลังแผนการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับการผลติ สตั ว์

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านักเรียนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านกั เรียน................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง ความรู้ทว่ั ไปเกีย่ วกบั การผลติ สตั ว์

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และรองลงมา
ร้อยละ.................อยู่ในระดับ................และพบว่านักเรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่อื มโยงกบั มาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ความรทู้ ว่ั ไปเกีย่ วกบั การผลติ สตั ว์

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านักเรียนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............และ
รองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านักเรียน.............................................
...........................................................................................................................................................

สรปุ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 ความรู้ทวั่ ไปเก่ยี วกบั การผลติ สตั ว์
1) นักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดบั ...................
2) นกั เรียนมีทักษะในระดับ..................
3) นักเรียนมีคุณลักษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

3. การปรบั เปลีย่ นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
.............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

4. ข้อค้นพบด้านพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
.............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

5. อืน่ ๆ...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑
เรือ่ ง “ปัจจัยทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การเลีย้ งสัตว์”

วัตถุประสงค์ เพ่อื ใหน้ กั เรียนเห็นความสาคญั ของการปรับปรุงและพฒั นาสายพนั ธุ์สัตว์เล้ยี งเพอ่ื เศรษฐกิจของ
ไทย

คาชี้แจง
๑. ให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๔-๕ คน อภปิ รายถึงปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลต่อการเลยี้ งสัตว์
๒. สรปุ ผลการอภปิ รายลงในใบงานทีก่ าหนดให้
๓. แต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนนาเสนอผลการอภปิ รายหน้าชน้ั เรียน

...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

กิจกรรมที่ ๒
เรื่อง “สัตว์เล้ยี งกบั เศรษฐกิจของไทย”

วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ใหน้ กั เรียนเห็นความสาคัญของการปรบั ปรงุ และพัฒนาสายพนั ธุ์สตั ว์เลีย้ งเพ่อื เศรษฐกิจของไทย
คาชแ้ี จง
๑. ให้นกั เรียนแต่ละคนสารวจรายละเอยี ดตามหวั ข้อต่อไปนี้

๑.๑ การเล้ียงสตั ว์เศรษฐกิจและลักษณะทาเลเล้ียงสตั ว์ในท้องถิน่ ของตนเอง
๑.๒ สตั วเ์ ศรษฐกิจของประเทศไทยทีส่ ่งออกไปตา่ งประเทศ
๑.๓ ประเภทของสตั วท์ ี่มกี ารเล้ียงและผลติ เปน็ สินคา้ ส่งออกในประเทศอาเซียน
๒. บนั ทึกผลการศกึ ษาค้นควา้ ลงในใบงานที่กาหนดให้
๓. นาข้อมูลการศกึ ษาค้นควา้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั เพอ่ื นในชั้นเรียน

...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

ปญั หา/สิง่ ทีพ่ ฒั นา / แนวทางแก้ปญั หา / แนวทางการพฒั นา

ปัญหา/สิ่งที่พฒั นา สาเหตุของปัญหา/ แนวทางแก้ไข/ วธิ ีแก้ไข/พัฒนา ผลการแก้ไข/พฒั นา

สิง่ ทีพ่ ัฒนา พัฒนา

ลงชือ่ ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวภรณภา ตะกรษุ )

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงชือ่ ...............................................
(นายมนตรี สขุ พินิจ)

หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ลงชือ่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ลงชือ่ ...........................................
( นายวีระ แก้วกัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

8. ความคิดเหน็ (ผูบ้ รหิ าร / หรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย)

ได้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.................................................แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
8.1 เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรุง
8.2 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ที่ยงั ไม่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ควรปรับปรงุ พัฒนาต่อไป
8.3 เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้
8.4 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ

.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................................
(นายมนตรี สุขพินิจ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ความคิดเหน็ ของรองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ
.................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท์ )

รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
ความคิดเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน

.................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................
( นายวีระ แกว้ กลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี

ผงั มโนทศั น์หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3
เรือ่ ง สร้างสรรคง์ านเกษตร รายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร )
ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 เวลา 4 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3
เรื่อง สร้างสรรคง์ านเกษตร

เรือ่ ง การเกษตรเพื่อการอนรุ ักษ์ เรื่อง การจัดการวัสดเุ หลอื ใช้ทางการเกษตรใน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม แนวทางอนุรักษ์พลงั งานและสิง่ แวดล้อม

เวลา 2 ชั่วโมง เวลา 2 ช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง สร้างสรรค์งานเกษตร จานวน 4 ชว่ั โมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา 2565
รายวชิ า การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหสั วิชา ง 32101 ครผู ู้สอน นางสาวภรณภา ตะกรุษ

_________________________________________________________

สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)
การเกษตรแบบยั่งยืนเป็นการดาเนินงานตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงของ

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล-อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ตามวิถีชีวิตของคนไทยและ
ผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ แต่ไม่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ปัจจุบันมีหลายรูปแบบให้
เลือกตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของไทย หากมคี วามรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
จะทาให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ ต่างๆ น้อยที่สุด

สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐานที่ ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการ
จดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี
คุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจติ สานึกในการใช้พลงั งาน ทรัพยากร และสง่ิ แวดล้อม เพื่อ
การดารงชีวิตและครอบครัว

ตัวช้วี ัด
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อธบิ ายวิธีการทางานเพื่อการดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒ สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะการทางานรว่ มกัน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓ มีทกั ษะการจดั การในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔ มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕ มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพือ่ การดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖ มีคุณธรรมและลกั ษณะนิสยั ในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ใช้พลงั งาน ทรัพยากรในการทางานอยา่ งคุ้มคา่ และย่ังยืน เพ่อื อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐานท่ี ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในการอาชีพ ใช้เทคโนโลยี
เพ่อื พฒั นาอาชีพ มีคณุ ธรรม และมีเจตคติทีด่ ตี ่ออาชีพ

ง 2.๑ ม.๔-๖/๑ อภปิ รายแนวทางสอู่ าชีพที่สนใจ
ง 2.๑ ม.๔-๖/๔มีคณุ ลักษณะทีด่ ตี ่ออาชีพ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ( Competency ) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ( Desired Characteristics )
มีวินัย
1. ความสามารถในการส่อื สาร ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคิด มุ่งม่นั ในการทางาน
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทกั ษะ / กระบวนการ ( Skill during the process )

ทักษะเฉพาะวิชา ทักษะการคิด
- การสนทนาแลกเปล่ียนข้อมูล - ระดมสมอง
- การเขยี นรายการ - การค้นคว้าขอ้ มลู
- ระบุรายละเอียด - การนาเสนอขอ้ มูล

ความเข้าใจทย่ี ่ังยืน
นกั เรียนเข้าใจว่า การเกษตรแบบย่ังยืนเป็นการดาเนินงานตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง

ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ตามวิถีชีวิตของคนไทยและ
ผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ แต่ไม่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ปัจจุบันมีหลายรูปแบบให้
เลือกตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นของไทย หากมคี วามรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
จะทาให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ ต่างๆ น้อยที่สดุ

ความสมั พนั ธก์ ับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่นื
ศิลปะ : การออกแบบชิน้ งานวสั ดเุ หลอื ใช้ทางการเกษตร
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม : การทาเกษตรแบบพอเพยี ง

สุขศึกษาและพลศึกษา : การปฏิบตั ิงานเกษตรเป็นการใช้เวลาว่าง การออกกาลงั กายในการ
ทางาน

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1

เรือ่ ง การเกษตรเพือ่ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เวลา 2 ชว่ั โมง

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรียนรู้ / หลกั ฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ สง่ิ ที่ต้องรู้และปฏิบัติได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

และตัวชวี้ ดั ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. อธิบายความหมาย - รายงานการศึกษา - จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า
ง 2.๑ ม.๔-๖/๑,4
ข อ ง ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ ค้นคว้าและการสืบค้น ค้นคว้าข้อมลู

ยง่ั ยืนได้ (K) ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง - จากการอภิปราย

๒. จาแนกประเภทและ “ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ กลุ่ม

ลักษณะของการเกษตร รูปแบบของการเกษตร - จากการปฏิบัติงาน

แบบย่ังยืนได้ (K) แบบย่ังยืน “ โครงการ

๓. มีทักษะในการทา - รายงานการอภิปราย - จากแฟ้มสะสมงาน

โครงงานการเกษตรแบบ เรื่อง “ประโยชน์และ - จากแบบทดสอบ

ยัง่ ยืนได้ (P) ผลกระทบของการทา ประจาหน่วย

๔. วิเคราะห์และวาง เกษตรแบบย่ังยืนที่มีต่อ

แผนการทางานเกษตร สภาพแวดล้อม

แบบยง่ั ยืนได้ (P) - โครงงานเกษตรแบบ

๕ . มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด ยงั่ ยืน

ร อ บ ค อ บ มี ค ว า ม - แ ฟ้ ม ส ะ ส ม ง า น

รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา โครงการเกษตรภายใต้ - รายงานการสารวจชมุ ช
และมีความสามัคคีใน การนิเทศ
การทางานร่วมกนั (A)

๖. มีจิตสานึกที่ดีต่อการ

ทางานเพื่อการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและ

สง่ิ แวดล้อม (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความหมายและความสาคญั ของการเกษตรแบบย่งั ยืน
- รปู แบบของการเกษตรแบบย่งั ยนื
2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- ประโยชน์และผลกระทบของการทาเกษตรแบบยั่งยืนที่มีต่อสภาพสังคมและ

สง่ิ แวดล้อม

- โครงงานเกษตรแบบยงั่ ยืน (โครงการเกษตรภายใต้การนิเทศ)

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3. หลกั ฐานการเรียนรชู้ ิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)

- รายงานการศึกษาค้นคว้าและการสืบค้นความรู้เรื่อง “ความหมายและรูปแบบของ

การเกษตรแบบยั่งยืน “

- รายงานการอภิปราย เรื่อง “ประโยชน์และผลกระทบของการทาเกษตรแบบยั่งยืนที่มีต่อ

สภาพแวดล้อม

- โครงงานเกษตรแบบยั่งยืน

- แฟ้มสะสมงานโครงการเกษตรภายใต้การนิเทศ

- บันทึกสรุปผลการอภปิ ราย เรือ่ ง “ประโยชน์และผลกระทบของการทาเกษตรแบบย่ังยืนที่มี

ต่อสิ่งแวดล้อม”

- รูปแบบของการทาโครงงานเกษตรแบบยัง่ ยืน “โครงการเกษตรภายใต้การนิเทศ”

- บันทึกสรปุ ผลการปฏิบัติงานโครงการ

- แฟ้มสะสมงานโครงการเกษตรภายใต้การนิเทศ

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ทีว่ ัดผล วิธีวดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) สงั เกตการ แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2

ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A) สงั เกตการ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2

ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สงั เกตการ ผลงาน ระดบั คุณภาพ 2

ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

ใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ส่ิงที่

ต้องการพัฒนาคือเน้ือหาสาระ ดงั นี้ สังเกตและตระหนกั วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบ

ไปแสวงหาความรู้ พฒั นาความรู้ความเข้าใจ สรปุ สาระสาคัญ

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน ( 10 นาที )
๑. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการทาเกษตรแบบพอเพียงตามแนวพระราชดาริ และ

นาเสนอพระราชดารัสเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม
นาถบพิตร

๒. นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
๓. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
2. ข้นั สอน ( 100 นาที )
๑. นักเรียนรับเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ความหมายและความสาคัญของการเกษตร
แบบย่งั ยืน รูปแบบของการเกษตรแบบยั่งยืน นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้จากเอกสาร
๒. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ ๕ – ๖ คน รับใบงานการอภิปราย เรื่อง ประโยชน์และผลกระทบ
ของการทาเกษตรแบบย่งั ยืนทีม่ ผี ลต่อสภาพสังคมและสิง่ แวดล้อม
๓. ตัวแทนนกั เรียนนาเสนอผลการอภปิ ราย และร่วมกนั สรุปบทเรียน
๔. นักเรียนรวมกลุ่มตามความสนใจเพ่อื ทาโครงงานเกษตรภายใต้การนิเทศ และเขียนโครงการ
เสนอครูผู้สอน โดยดูจากตวั อย่างที่ครแู จกให้
๖. นักเรียนวางแผนการปฏิบตั ิงานในคร้ังต่อไป
๗. ครูเสนอแนะให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
ตามความเหมาะสม
3. ข้นั สรุป ( 10 นาที )
๑. ครูทบทวนงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเตรียมงานและการ
วางแผนเพื่อทาโครงการ
๒. นกั เรียนรับแบบประเมนิ ผลการทาโครงการ เพอ่ื รอรับการประเมนิ ใหต้ รงประเดน็
๓. นกั เรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วย

หมายเหตุ การปฏิบัติงานโครงการเกษตรภายใต้การนิเทศนักเรียนใช้ว่างนอกเหนือจาก
ชว่ั โมงเรียน

7. สื่อการสอน / แหลง่ เรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม งานเกษตร ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรือ่ ง “การเกษตรแบบย่งั ยืน”
๓. ใบงานกิจกรรมที่ ๑ - ๓
๔. ตวั อย่างการเขยี นโครงการ
๕. ตัวอย่างแฟ้มสะสมงาน
๖. ส่อื ICT
๗. แผ่นภาพการทาเกษตรแบบพอเพียง

8. บนั ทึกผลหลังแผนการจัดการเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเกษตรเพ่อื การอนรุ ักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ
ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)
พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านกั เรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบวา่ นักเรยี น................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง การเกษตรเพอ่ื การอนรุ ักษ์

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบวา่ นกั เรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกบั มาตรฐานหลกั สูตร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรือ่ ง การเกษตรเพ่อื การอนุรักษ์

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านกั เรียนคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดับ............
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบวา่ นกั เรยี น.............................................
...........................................................................................................................................................

สรปุ ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 การเกษตรเพ่อื การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม

4) นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดบั ...................
5) นกั เรียนมีทกั ษะในระดับ..................
6) นกั เรียนมีคุณลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

3. การปรบั เปลีย่ นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถา้ มี)
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

4. ขอ้ ค้นพบด้านพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู้
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

5. อื่นๆ
...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑
เรื่อง “เดนิ ทางตามพอ่ ”
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้นกั เรียนตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการปฏิบตั ิงานเกษตรแบบยั่งยืนที่มี
ต่อชีวิตประจาวนั
คาชีแ้ จง
๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ศึกษาเอกสารใบความรู้ เรื่อง “ความหมายและรูปแบบของ
การเกษตรแบบยง่ั ยืน”
๒. แต่ละกลุ่มอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบของการทาเกษตรแบบยั่งยืนที่มีต่อสภาพ
สังคมและสง่ิ แวดล้อม (ใช้เวลา ๒๐ นาที)
๓. ตวั แทนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรยี น (กลุ่มละ ๕ นาที)

กจิ กรรมที่ ๒
เรือ่ ง “โครงงานเกษตรแบบยั่งยืน”
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้นกั เรียนตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการปฏิบตั ิงานเกษตรแบบยัง่ ยืนทีม่ ี
ต่อชีวิตประจาวัน
คาชีแ้ จง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการทาโครงงานเกษตรแบบยั่งยืนตามความสนใจ (โครงการเกษตร
ภายใต้การนิเทศ) โดยเขียนโครงงานตามเอกสารที่ไดร้ ับมอบหมาย กลมุ่ ละ ๑ โครงงาน

รปู แบบการเขียนโครงงาน

โครงงาน เรือ่ ง....................................................................................
๑. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงงาน
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
2. อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา
๓. หลักการและเหตุผล
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๔. วตั ถปุ ระสงค์
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

๕. เปา้ หมายของโครงงาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน หมายเหตุ
กิจกรรม ....... ........ .......... ......... ........

๕.๑ ด้านปรมิ าณ
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

๕.๒ ด้านคณุ ภาพ
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

๖. ขน้ั ตอนการดาเนนิ โครงงาน

๗. สถานที่ดาเนินโครงงาน
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

๘. ระยะเวลาการดาเนนิ โครงงาน

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

๙. งบประมาณ

ที่ รายการ ราคา/หน่วย จานวน จานวนเงิน

(บาท)

รวมเป็นเงิน

๑๐. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับจากโครงงาน
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๓

เรือ่ ง “แฟม้ สะสมงาน โครงงานเกษตรแบบย่ังยืน”

วัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้นักเรียนตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการปฏิบัติงานเกษตรแบบยงั่ ยืนที่มี

ต่อชีวิตประจาวนั

คาชีแ้ จง

๑. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ปฏิบัติงานตามโครงงาน พร้อมบันทึกผลการปฏิบัติงาน รายงานต่อครูผู้สอน

สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง

๒. สรุปผลการดาเนินงานโครงงานในรปู แฟ้มสะสมงาน กลุ่มละ ๑ เล่ม

......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

เรื่อง การจัดการวัสดุเหลือใชท้ างการเกษตรในแนวทางอนรุ ักษ์พลังงานและสงิ่ แวดลอ้ ม

เวลา 2 ชัว่ โมง

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลกั ฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ ส่งิ ทีต่ ้องรู้และปฏิบัติได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

และตวั ชวี้ ัด ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. อธิบายวิธีการและ - เรียงความ เรื่อง - จ า ก ก า ร เ ขี ย น
ง 2.๑ ม.๔-๖/๑,4
หลักการจัดการวัสดุ “วัสดุเหลือใช้กับการ เรียงความ

เหลือใช้ทางการเกษตร อนุรักษ์พลังงานและ - จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า

ใ น แ น ว ท า ง อ นุ รั ก ษ์ สง่ิ แวดล้อม” ค้นคว้าข้อมูลและการ

ทรัพยากรธรรมชาติและ - การสารวจชุมชน สารวจชมุ ชน

ส่งิ แวดล้อม (K) เกี่ย ว กับ กา ร น า วั สดุ - จากการประดิษฐ์

๒. มีทักษะในการนา เหลอื ใช้มาประยุกต์ใช้ให้ วัสดุเหลือใช้ให้เกิด

วั ส ดุ เ ห ลื อ ใ ช้ ท า ง เกิดประโยชน์ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น

การเกษตรมาใช้เพื่อให้ - โครงงานส่งิ ประดษิ ฐ์ ชีวิตประจาวนั

เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น - จากแบบทดสอบ

ชีวิตประจาวัน (P) ประจาหน่วย

๓. วางแผนจัดการวัสดุ

เหลือใช้ทางการเกษตร

เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น

ชีวิตประจาวนั (P)

๔. มีความขยัน อดทน มี

ความรับผิดชอบ เห็น

คุณค่าของการนาวัสดุ

เหลือใช้ทางการเกษตร

ม า ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์

(A)

๕. มีจิตสานึกที่ดีต่อการ

น า วั ส ดุ เ ห ลื อ ใ ช้ ท า ง
การเกษตรมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- วิธีการและหลักการในการจดั การวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในแนวทางอนรุ ักษ์

พลงั งานและสิง่ แวดล้อม

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)

- การสารวจชมุ ชนเก่ยี วกบั การนาวัสดุเหลอื ใช้มาประยกุ ต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์

- การจดั การวัสดเุ หลือใช้ทางการเกษตรไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน

4. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3. หลกั ฐานการเรียนรชู้ ิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)

- เรียงความ เรอ่ื ง “วสั ดเุ หลือใช้กับการอนรุ กั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม”

- การสารวจชมุ ชนเกย่ี วกับการนาวัสดุเหลอื ใช้มาประยกุ ต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์

- โครงงานส่งิ ประดษิ ฐ์

- การเขยี นเรียงความ

- สรปุ ผลการสารวจชมุ ชนเกีย่ วกับการนาวัสดุเหลอื ใช้มาประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์

- ชิ้นงานสง่ิ ประดษิ ฐ์จากเศษวัสดุเหลอื ใช้

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

ส่งิ ที่วัดผล วิธีวดั ผล เครื่องมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) สังเกตการ แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2

ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

เจตคติ/คุณลักษณะ (A) สงั เกตการ แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2

ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สังเกตการ ผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2

ปฏิบัติงาน ผ่านเกณฑ์

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รปู แบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

ใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ส่ิงที่
ต้องการพฒั นาคือเน้ือหาสาระ ดงั นี้ สงั เกตและตระหนกั วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบ
ไปแสวงหาความรู้ พัฒนาความรู้ความเข้าใจ สรุปสาระสาคญั

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน ( 10 นาที )
๑. ครแู ละนกั เรียนสนทนาถึงการทากิจกรรมของเกษตรกรหลังการเกบ็ เกย่ี ว
๒. นักเรียนร่วมกันเสนอกิจกรรมต่างๆ จากประสบการณ์ทีพ่ บเหน็ ในชมุ ชน
๓. ครนู าเสนอภาพและตัวอย่างของชิน้ งานที่เกิดจากการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ให้

นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น
2. ขัน้ สอน ( 100 นาที )

๑. นักเรียนแต่ละคนรับเอกสารใบความรู้ เรื่อง การจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรใน
แนวทางอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

๒. นักเรียนซักถามข้อสงสัยและรับใบงานกิจกรรมที่ ๑ การเขียนเรียงความ เรื่องวัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตรกบั การอนุรักษ์พลังงานและส่งิ แวดล้อม (๑ หน้ากระดาษ A๔ )

๓. สมุ่ ตัวอย่างนกั เรียนนาเสนอขอ้ มลู การเขยี นเรียงความ
๔. นกั เรียนร่วมแสดงความคิดเหน็ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมลู ร่วมกัน

๕. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ไปสารวจชุมชนและสืบค้นความรู้
เกี่ยวกับการจัดการวัสดุเหลือใช้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน (ตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง)

๖. ตัวแทนนกั เรียนนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าและการสารวจ
๗. ครูเสนอแนะแนวทางการจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิต
ประจาของนกั เรียน
3. ขัน้ สรปุ ( 10 นาที )
๑. นกั เรียนทกุ คนรับใบงานกิจกรรมที่ ๔ เร่อื ง การทาโครงงานส่ิงประดิษฐ์เกี่ยวกับการนาวัสดุ
เหลอื ใช้ทางการเกษตรทีม่ ีในท้องถิ่นมาประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในชีวิตประจาวัน (ทานอกเวลา
เรียน) กลุ่มละ ๑ ชิ้นงาน
๒. นักเรียนซกั ถามขอ้ สงสัยและร่วมกนั สรุปบทเรียน

7. สื่อการสอน / แหลง่ เรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม งานเกษตร ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรือ่ ง “การจัดการวัสดเุ หลือใช้ทางการเกษตรในแนวทางอนุรักษ์พลังงานและ

สง่ิ แวดล้อม” (ครจู ัดทาข้ึนจากหนังสอื เรียน)
๓. ใบงานกิจกรรมที่ ๑ เรอ่ื ง การเขยี นเรียงความ
๔. ใบงานกิจกรรมที่ ๒ เรอ่ื ง การศึกษาค้นคว้าเกย่ี วกบั การจดั การวสั ดุเหลอื ใช้
๕. ใบงานกิจกรรมที่ ๓ เร่อื ง การสารวจชมุ ชนเกย่ี วกบั การนาวสั ดเุ หลอื ใช้มาทาใหเ้ กิด

ประโยชน์
๖. ใบงานกิจกรรมที่ ๔ เรอ่ื ง การทาโครงงานส่งิ ประดษิ ฐ์จากเศษวัสดุเหลอื ใช้ทางการเกษตร

ต่อการดารงชีวติ ประจาวัน
๗. ชุมชนและสถานประกอบการการเกษตรในท้องถิ่นนกั เรียน
๘. สอ่ื ICT และห้องสมุดโรงเรียน
๙. ตัวอย่างชนิ้ งานที่เกดิ จากวัสดเุ หลือใช้ทางการเกษตร

8. บนั ทึกผลหลังแผนการจดั การเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง การจัดการวัสดเุ หลอื ใช้ทาง
การเกษตรในแนวทางอนุรักษ์พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรยี น ร้อยละ
ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)
พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านกั เรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบวา่ นกั เรยี น................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การจดั การวัสดุเหลอื ใช้ทาง

การเกษตรในแนวทางอนรุ ักษ์พลงั งานและส่งิ แวดล้อม

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบวา่ นกั เรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่อื มโยงกบั มาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรือ่ ง การจดั การวัสดเุ หลือใช้ทาง

การเกษตรในแนวทางอนุรกั ษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านกั เรียนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดับ............
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบวา่ นกั เรยี น.............................................
...........................................................................................................................................................

สรปุ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 การจดั การวสั ดเุ หลือใช้ทางการเกษตรในแนวทาง
อนรุ ักษ์พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม

4) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับ...................
5) นักเรียนมีทกั ษะในระดับ..................
6) นักเรียนมีคณุ ลกั ษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

3. การปรบั เปลีย่ นแผนการจัดการเรียนรู้ (ถา้ มี)
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

5. อื่นๆ
...........................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ ๑

วตั ถปุ ระสงค์ : เพอ่ื ให้นกั เรียนตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของนาวสั ดุเหลอื ใช้ทางการเกษตรมา

ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้

คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนเรียงความ เรื่อง “วัสดุเหลือใช้กับการอนุรักษ์พลังงานและ

ส่งิ แวดล้อม” (๑ หน้ากระดาษ A๔)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กจิ กรรมที่ ๒

วตั ถุประสงค์ : เพื่อให้นกั เรียนตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของนาวสั ดเุ หลอื ใช้ทางการเกษตรมาใช้เพ่ือให้เกิด
ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้

คาชีแ้ จง
๑. นักเรียนแบ่งกล่มุ ศกึ ษาค้นคว้าเกี่ยวกับการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวันจาก
สอื่ อนิ เทอร์เน็ต
๒. สรุปรายละเอียดสง่ ครูผ้สู อนในชวั่ โมงถดั ไป
๓. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั เพื่อนๆ ในชนั้ เรียน

กิจกรรมที่ ๓
วตั ถุประสงค์ : เพ่อื ให้นกั เรียนตระหนักและเหน็ ความสาคัญของนาวัสดเุ หลอื ใช้ทางการเกษตรมา
ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้
คาชี้แจง
๑. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๖ คน สารวจชุมชนเกี่ยวกับการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
๒. แต่ละกลมุ่ สรุปผลและนาเสนอผลการสารวจหน้าชั้นเรียน

กจิ กรรมที่ ๔
วัตถุประสงค์ : เพ่อื ให้นักเรียนตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของนาวัสดุเหลอื ใช้ทางการเกษตรมา
ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
คาชีแ้ จง
นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ทาโครงงานส่ิงประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอย่างน้อย ๑ ชิ้นงาน
สง่ ครผู ู้สอน

ปัญหา/สิง่ ที่พัฒนา / แนวทางแก้ปญั หา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/สิ่งทีพ่ ฒั นา สาเหตขุ องปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วธิ ีแก้ไข/พัฒนา ผลการแก้ไข/พฒั นา
สิ่งที่พัฒนา พัฒนา

ลงชื่อ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวภรณภา ตะกรษุ )

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงชื่อ...............................................
(นายมนตรี สุขพินิจ)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ลงชื่อ............................................
( นายชาญยุทธ สุทธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวีระ แก้วกลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

8. ความคิดเห็น (ผู้บรหิ าร / หรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ของ.................................................แลว้ มีความเห็นดงั นี้
8.1 เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรบั ปรุง
8.2 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ที่ยงั ไม่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป
8.3 เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรงุ ก่อนนาไปใช้
8.4 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
...............................................................................................................................................

ลงชือ่
....................................................................
(นายมนตรี สขุ พินิจ)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
ความคิดเห็นของรองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ

...............................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................
( นายชาญยุทธ สุทธิธรานนท์ )

รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
ความคิดเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน

...............................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................
( นายวีระ แกว้ กัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบรุ ี

ผังมโนทัศนห์ น่วยการเรียนรูท้ ี่ 4
เรื่อง เปิดประตูสูอ่ าชีพ รายวิชา การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร )
ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต

เรื่อง ตลาดสินคา้ เกษตร หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4
เวลา 2 ชั่วโมง เรื่อง เปิดประตสู ่อู าชีพ

เรื่อง แนวทางการประกอบอาชีพทางการเกษตร
เวลา 2 ชัว่ โมง

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง สร้างสรรค์งานเกษตร จานวน 4 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา 2565
รายวชิ า การงานอาชีพ ๑ (งานเกษตร ) รหสั วิชา ง 32101 ครูผู้สอน นางสาวภรณภา ตะกรษุ

_________________________________________________________

สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)
การตลาดเป็นการทากิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค ซึ่งการตลาดมีความสาคัญ

ต่อมนุษย์ทุกคน รวมท้ังเป็นแหล่งจาหน่ายและผลิตสินค้าต่างๆ การติดต่อส่ือสารทางการตลาดที่ดี
จะต้องมีระบบ มีระเบียบแบบแผน จงึ ทาให้การตลาดมปี ระสทิ ธิภาพ

สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐานที่ ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการ
จดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี
คณุ ธรรม และลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจติ สานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสง่ิ แวดล้อม เพื่อ
การดารงชีวิตและครอบครวั

ตัวชว้ี ัด
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑ อธบิ ายวิธีการทางานเพื่อการดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒ สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีทกั ษะการทางานรว่ มกัน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓ มีทักษะการจัดการในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔ มีทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หาในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้เพือ่ การดารงชีวิต
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖ มีคุณธรรมและลักษณะนิสยั ในการทางาน
ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ใช้พลงั งาน ทรัพยากรในการทางานอยา่ งคุ้มคา่ และยง่ั ยืน เพอ่ื อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐานท่ี ง 2.1 เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในการอาชีพ ใช้เทคโนโลยี
เพอ่ื พฒั นาอาชีพ มีคณุ ธรรม และมีเจตคติทีด่ ตี ่ออาชีพ

ง 2.๑ ม.๔-๖/๑ อภปิ รายแนวทางสอู่ าชีพทีส่ นใจ
ง ๔.๑ ม.๔-๖/๒ เลือกใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับอาชีพ

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ( Competency ) คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ( Desired Characteristics )
มีวินัย
1. ความสามารถในการส่อื สาร ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคิด มุ่งมั่นในการทางาน
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทกั ษะ / กระบวนการ ( Skill during the process )

ทกั ษะเฉพาะวิชา ทักษะการคิด
- การสนทนาแลกเปล่ียนข้อมลู - ระดมสมอง
- การเขยี นรายการ - การค้นคว้าขอ้ มูล
- ระบรุ ายละเอียด - การนาเสนอขอ้ มูล

ความเขา้ ใจทย่ี ัง่ ยืน
นักเรียนเข้าใจว่า การตลาดเป็นการทากิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค ซึ่งการตลาดมี

ความสาคัญต่อมนุษย์ทุกคน รวมท้ังเป็นแหล่งจาหน่ายและผลิตสินค้าต่างๆ การติดต่อส่ือสารทาง
การตลาดที่ดีจะต้องมีระบบ มีระเบียบแบบแผน จงึ ทาให้การตลาดมปี ระสทิ ธิภาพ

ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื
ศิลปะ :
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม :

สุขศึกษาและพลศึกษา :

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1

เรือ่ ง ตลาดสินคา้ เกษตร เวลา 2 ช่วั โมง

ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้ ส่งิ ทีต่ ้องรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวดั ผลและการ

และตัวชวี้ ดั ประเมนิ ผล

ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑-7 ๑. อธิบายความหมาย - รายงานการสารวจ - จากการรายงานผล
ง 2.๑ ม.๔-๖/๑-2
และความสาคัญของ ต ล า ด สิ น ค้ า ท า ง การสารวจ

การตลาดได้ (K) การเกษตร - จากการออกแบบ

๒. จาแนกประเภทและ - รายงานการอภิปราย ผังมโนทัศน์ “หน้าที่

อ ธิ บ า ย ห น้ า ที่ ข อ ง เรอ่ื ง “หน้าทีก่ ารตลาด” ของการตลาด ”

การตลาดได้ (K) - บันทึกการศึกษา - จากการศึกษา

๓. สารวจและวิเคราะห์ ค้นคว้า เรื่อง “สินค้า ค้นคว้าข้อมูล เรื่อง

ต ล า ด สิ น ค้ า ท า ง เกษตรในกลมุ่ อาเซียน” “การทาการค้าด้าน

การเกษตรในท้องถิ่นได้ กา ร เ ก ษ ต ร ใ น ก ลุ่ ม

(P) ประชาคมอาเซียน”

๔. ศึกษาค้นคว้าข้อมูล - จากแบบทดสอบ

ต ล า ด สิ น ค้ า ท า ง ประจาหน่วย

การเกษตรของประเทศ

ไ ท ย แ ล ะ ก ลุ่ ม ป ร ะ เ ท ศ

อ า เ ซี ย น โ ด ย ใ ช้

เทคโนโลยี (P)

๕. มีความละเอียด

รอบคอบ ตรงต่อเวลา

และรับผิดชอบต่องานที่

ได้รับมอบหมาย มีความ

ขยัน เสียสละต่อการ

ทางานร่วมกัน (A)

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

- ความหมายและความสาคญั ของการตลาด
- การจาแนกประเภทและหน้าที่ของการตลาด
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- การสารวจตลาดสินค้าทางการเกษตร

- การตลาดสนิ ค้าทางการเกษตรในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น

3. สมรรถนะ (Competency)

1. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3. หลักฐานการเรียนรชู้ ิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)

- รายงานการสารวจตลาดสนิ ค้าทางการเกษตร

- รายงานการอภปิ ราย เรือ่ ง “หน้าที่การตลาด”

- บนั ทึกการศึกษาค้นคว้า เรื่อง “สนิ ค้าเกษตรในกลมุ่ อาเซียน”

- รายงานสรปุ ผลการสารวจตลาดสนิ ค้าทางการเกษตร

- บันทึกผลการอภิปรายและนาเสนอผงั มโนทัศน์

- รายงานการศึกษาค้นคว้า “สนิ ค้าเกษตรในกลมุ่ อาเซียน”

4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ที่วดั ผล วิธีวดั ผล เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ
ระดบั คณุ ภาพ 2
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) สงั เกตการ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ปฏิบตั ิงาน ระดับคณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เจตคติ/คุณลักษณะ (A) สงั เกตการ แบบประเมนิ
ระดบั คุณภาพ 2
ปฏิบตั ิงาน ผ่านเกณฑ์

สมรถนะของผู้เรียน (C) สังเกตการ ผลงาน

ปฏิบตั ิงาน

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รปู แบบการจัดกิจกรรม ( Learning Process )

ใช้กระบวนการความรู้ความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ส่ิงที่
ต้องการพัฒนาคือเน้ือหาสาระ ดงั นี้ สังเกตและตระหนัก วางแผนกาหนดแนวทาง แบ่งความรับผิดชอบ
ไปแสวงหาความรู้ พัฒนาความรู้ความเข้าใจ สรปุ สาระสาคญั

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน ( 10 นาที )
๑. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ทาใบกิจกรรมที่ ๑ การสารวจสินค้าทางการ

เกษตรในท้องถิน่ โดยใหแ้ ต่ละกลมุ่ สร้างแบบแบบฟอร์มสารวจตลาดสนิ ค้าทางการเกษตร
๒. แต่ละกลมุ่ นาข้อมูลที่ไดม้ าสรุป

2. ขนั้ สอน ( 100 นาที )
๑. ตวั แทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ จบั ฉลากเพื่อออกมารายงานผลการสารวจหน้าชั้นเรียน
๒. ครูและนักเรียนสรุปผลการนาเสนอผลการสารวจและการอภิปรายกลุ่ม๓. นักเรียนรับ

เอกสารใบความรู้ เรอ่ื ง
- ความหมายและความสาคญั ของการตลาด
- การจาแนกประเภทและหน้าทีข่ องการตลาด

๔. ตัวแทนนักเรียนรับใบงานกิจกรรมที่ ๒ เรื่อง การสรุปหน้าที่ของการตลาด ในรูปแบบของ
ผงั มโนทศั น์ แลว้ ส่งครู

๕. ครูอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการทาธุรกิจทางการเกษตรกับต่างประเทศ นักเรียนร่วมแสดง
ความคิดเห็น

๖. นักเรียนแต่ละคนรับใบงานกิจกรรมที่ ๓ เรื่อง “การทาการค้าทางด้านการเกษตรในกลุ่ม
ประชาคมอาเซียน” แล้วศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

๗. นกั เรียนสรปุ ผลการศึกษาค้นคว้าในรปู แบบของรายงานตามความเหมาะสม
3. ขัน้ สรุป ( 10 นาที )

๑. นักเรียนรบั แบบประเมนิ ผลการทาโครงการ เพอ่ื รอรบั การประเมนิ ใหต้ รงประเดน็
๒. นกั เรียนทาแบบทดสอบประจาหน่วย
หมายเหตุ การปฏิบัติงานโครงการเกษตรภายใต้การนิเทศ ให้นักเรียนใช้เวลาว่าง
นอกเหนือจากชัว่ โมงเรียน

7. สือ่ การสอน / แหล่งเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม งานเกษตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
๒. ใบความรู้ เรือ่ ง ความหมายและความสาคญั ของการตลาด การจาแนกประเภทและหนา้ ที่

ของการตลาด
๓. ใบงานกิจกรรมที่ ๑ เรอ่ื ง “เกษตรไทยสอู่ าเซียน”
๔. ใบงานกิจกรรมที่ ๒ เร่อื ง “หน้าทีข่ องการตลาด
๕. ใบงานกิจกรรมที่ ๓ เรอ่ื ง “การทาการคา้ ดา้ นการเกษตรในกลุ่มประชาคมอาเซียน”
๖. ส่ือ ICT

8. บันทึกผลหลังแผนการจัดการเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรือ่ ง ตลาดสินค้าเกษตร

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ
ดมี าก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)
พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านักเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบวา่ นกั เรยี น................................
.............................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรื่อง ตลาดสินค้าเกษตร

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบวา่ นกั เรยี น..........................
.........................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกับมาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ตลาดสินค้าเกษตร

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านักเรียนคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............
และรองลงมาร้อยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบวา่ นกั เรยี น.............................................
...........................................................................................................................................................

สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 ตลาดสินค้าเกษตร
7) นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนอยู่ในระดับ...................
8) นกั เรียนมีทกั ษะในระดบั ..................
9) นกั เรียนมีคุณลกั ษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

3. การปรับเปลีย่ นแผนการจัดการเรียนรู้ (ถ้ามี)
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

4. ข้อค้นพบด้านพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

5. อืน่ ๆ

...........................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version