โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบือ้ งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะก่วั สารบัญ
อันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลุง
รายงานการเรมิ่ งาน (Inception Report) หนา้
-ก-
โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบื้องตน้ อ่างเก็บนา้ เหมืองตะกัว่ -ฉ-
อันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง -ช-
สารบัญ 1-1
1-2
สารบญั 1-3
สารบัญรปู 1-3
สารบญั ตาราง 1-3
1-4
บทท่ี 1 บทนา้ 1-4
1.1 ความเป็นมาของโครงการ
1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2-1
1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา 2-1
1.4 ขอบเขตพน้ื ทศ่ี กึ ษา 2-1
1.5 ขอบเขตการศึกษา 2-2
1.6 แนวทางการศึกษา 2-5
1.7 องคป์ ระกอบของรายงานเริ่มงาน 2-24
2-26
บทที่ 2 ข้อมูลพน้ื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ 2-37
2.1 รายงานการศกึ ษาและข้อมูลท่เี กย่ี วขอ้ งกับโครงการ 2-38
2.2 ขอ้ มูลสภาพทั่วไปของพืน้ ที่ศึกษาโครงการ
2.2.1 ทีต่ ั้งและลกั ษณะโครงการ
2.2.2 สภาพภมู ิประเทศ
2.2.3 สภาพอุตุนยิ มวทิ ยา อทุ กวทิ ยา
2.2.4 โครงการพัฒนาแหลง่ นา้
2.2.5 สภาพธรณีวิทยา/แผน่ ดินไหว
2.2.6 ทรพั ยากรดิน
2.2.7 อุทกธรณีและน้าใตด้ นิ
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด -ก- รายงานการเรม่ิ งาน
บริษัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบื้องตน้ อ่างเก็บน้าเหมอื งตะก่วั สารบญั
อันเน่อื งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พัทลงุ
หนา้
สารบญั (ต่อ) 2-41
2-42
2.2.8 ทรพั ยากรปา่ ไม้และสัตว์ปา่ 2-42
2.2.9 พื้นที่ชน้ั คณุ ภาพลมุ่ นา้ 2-44
2.2.10 การใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน 2-47
2.2.11 การเกษตร ปศสุ ัตว์ ประมงและการเลยี้ งสัตว์นา้ 2-48
2.2.12 สภาพเศรษฐกจิ และสงั คม 2-48
2.2.13 การชดเชยทด่ี นิ และทรัพยส์ ิน 2-50
2.2.14 การศกึ ษาด้านเศรษฐศาสตร์ของโครงการ 2-54
2.2.15 การสา้ รวจภาคสนาม 2-54
2-59
2.3 สภาพปญั หาด้านอุทกภัยและภยั แลง้ 2-59
2.3.1 สภาพปญั หาด้านอทุ กภัย 2-59
2.3.2 สภาพปัญหาด้านภัยแล้ง
3-1
2.4 แนวคดิ การแก้ไขปญั หา 3-1
2.4.1 มาตรการหลักในการบรรเทาอุทกภัย 3-2
3-2
บทท่ี 3 การศึกษาทบทวนความเหมาะสม 3-5
3.1 ภาพรวมการศกึ ษาทบทวน 3-5
3.2 การรวบรวมและทบทวนข้อมลู /เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง 3-5
3.3 การศกึ ษาและวิเคราะห์ทางวิชาการดา้ นตา่ งๆ 3-6
3.3.1 การศกึ ษาด้านอุตนุ ิยมวทิ ยาและอทุ กวทิ ยา 3-8
3.3.2 การศึกษาด้านธรณวี ทิ ยา อทุ กธรณวี ิทยาและแหลง่ นา้ บาดาล 3-8
3.3.3 การศกึ ษาดา้ นธรณวี ทิ ยาฐานราก ปฐพกี ลศาสตร์ และวัสดุก่อสร้าง 3-9
3.3.4 การศกึ ษาด้านการใชท้ ดี่ นิ และผงั เมือง 3-9
3.3.5 การศกึ ษาด้านเกษตรกรรม ปศสุ ตั ว์ ประมง และการเพาะเล้ียงสตั ว์นา้ 3-10
3.3.6 การศกึ ษาด้านประชากรและอุตสาหกรรม 3-10
3.3.7 การศึกษาด้านความต้องการใชน้ ้า 3-10
3.3.8 การศึกษาด้านเศรษฐกจิ และสังคม
3.3.9 การศึกษาสมดุลน้า
3.4 การศกึ ษาทางเลือกในการพฒั นาโครงการ
3.4.1 ภาพรวมการศกึ ษาทางเลือก
3.4.2 การคัดเลือกและจดั ล้าดบั ความสา้ คญั ของแผนงาน
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด -ข- รายงานการเริม่ งาน
บริษทั เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบื้องต้น อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะกั่ว สารบัญ
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลงุ
สารบญั (ต่อ) หน้า
3.5 การทบทวนการออกแบบและประมาณราคาเบือ้ งต้น 3-16
3.5.1 ข้อมูลสา้ หรับการพิจารณาออกแบบ 3-16
3.5.2 การสา้ รวจดา้ นวิศวกรรม 3-17
3.5.3 การประมาณราคาก่อสรา้ งเบื้องตน้ 3-17
บทท่ี 4 การศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบื้องต้น 4-1
4.1 หลกั การและเหตผุ ล 4-2
4.2 วัตถปุ ระสงค์ 4-2
4.3 ขอบเขตพ้นื ทศ่ี ึกษาโครงการ 4-2
4.4 ขอบเขตการศึกษา 4-3
4.5 แนวทางการศึกษา 4-3
4.5.1 แนวทางการจัดทา้ รายงานผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบ้ืองต้น 4-3
4.5.2 แนวทางการประเมนิ ผลกระทบทางสุขภาพ 4-3
4.5.3 แนวทางการประชาสมั พันธ์ มวลชนสมั พันธ์และการมีสว่ นรว่ มของประชาชน 4-3
4.5.4 จัดท้าแผนงาน 4-3
4.5.5 วิธีการศึกษา 4-4
4.5.6 ดา้ เนนิ การขออนุญาตเขา้ ท้าการศึกษาตามพื้นทีร่ บั ผดิ ชอบของแตล่ ะหน่วยงาน 4-4
4.6 ขน้ั ตอนและวธิ กี ารศึกษา 4-8
4.7 การศึกษาและจดั ทา้ รายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบอื้ งตน้ (IEE) 4-8
4.7.1 การศกึ ษาข้อมลู รายละเอียดโครงการ 4-9
4.7.2 การศึกษาสภาพทรพั ยากรสิ่งแวดลอ้ มปจั จุบนั และการส้ารวจขอ้ มลู เพิม่ เตมิ 4-28
4.7.3 การประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 4-32
4.7.4 การจดั ทา้ มาตรการปอ้ งกนั แก้ไขผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 4-32
4.7.5 การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
5-1
บทท่ี 5 การประชาสมั พันธ์ มวลชนสัมพนั ธ์ และการมสี ่วนร่วมของประชาชน 5-1
5.1 ค้าน้า 5-2
5.2 วัตถุประสงค์ 5-2
5.3 กลยุทธก์ ารประชาสัมพนั ธ์ มวลชนสมั พนั ธแ์ ละการมีส่วนร่วมของประชาชน 5-2
5.3.1 การทบทวนการด้าเนนิ งานโครงการทเ่ี กีย่ วข้อง
5.3.2 เทคนิคเพือ่ สร้างการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด -ค- รายงานการเร่ิมงาน
บริษทั เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบื้องต้น อ่างเก็บน้าเหมอื งตะก่ัว สารบญั
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลุง
หน้า
สารบัญ (ต่อ)
5-2
5.4 การด้าเนินงานในขั้นการศึกษาทบทวนผลการศึกษาความเหมาะสม
และศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบอ้ื งต้น 5-2
5.4.1 การเข้าพบและประสานงานหนว่ ยงาน/ผนู้ ้าชมุ ชน 5-4
5.4.2 การจัดประชมุ 5-7
5.4.3 แผนการประชาสมั พนั ธ์ 5-8
5.4.4 การจดั ทา้ รายงานการประชมุ และการสัมมนา 5-8
5.5 กลุ่มเปา้ หมาย 6-1
6-1
บทท่ี 6 แผนการทา้ งานและการจดั กา้ ลังบุคลากร 6-4
6.1 แผนการท้างานและส่งมอบงาน 6-7
6.1.1 แผนการท้างาน 6-7
6.1.2 แผนการสง่ มอบงาน 6-10
6-16
6.2 การจัดก้าลงั บุคลากรและหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ
6.2.1 การจดั บคุ ลากรและบรหิ ารโครงการ
6.2.2 หนา้ ที่ความรบั ผิดชอบของบคุ ลากรหลักดา้ นเทคนคิ
6.2.3 การจดั กา้ ลังบุคลากรหลักและสนับสนนุ
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด -ง- รายงานการเริม่ งาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบื้องต้น อา่ งเก็บน้าเหมืองตะก่ัว สารบัญ
อันเนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลงุ
สารบัญรูป
รูปที่ หนา้
2.1-1 ตวั อย่างรายงานการศึกษาวางโครงการ พ.ศ.2552 2-1
2.2-1 ทต่ี ้ังโครงการอา่ งเก็บน้าเหมอื งตะกว่ั อนั เนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ 2-3
2.2-2 สภาพภูมิประเทศ 2-4
2.2-3 ทิศทางและช่วงเวลาการเกดิ ของลมมรสุมและพายุจรท่ีเข้าสปู่ ระเทศไทย 2-6
2.2-4 การผนั แปรรายเดอื นเฉลี่ยของตวั แปรภมู ิอากาศที่สา้ คญั ของสถานีตรวจอากาศพทั ลุง 2-8
2.2-5 การผันแปรรายเดอื นเฉล่ียของตวั แปรภมู อิ ากาศที่สา้ คัญ ของสถานตี รวจอากาศสงขลา 2-10
2.2-6 ตา้ แหน่งที่ตั้งของสถานีวัดนา้ ฝนที่ได้ทา้ การคัดเลอื ก ในพ้นื ทศ่ี ึกษาและบรเิ วณใกล้เคยี ง 2-14
2.2-7 แผนที่เสน้ ชัน้ นา้ ฝนรายปเี ฉล่ีย ในพื้นทศ่ี ึกษาและบริเวณใกลเ้ คยี ง 2-15
2.2-8 โครงขา่ ยรปู เหล่ียมธีเอสเสน ในพื้นท่ศี ึกษาและบริเวณใกล้เคยี ง 2-16
2.2-9 ตา้ แหนง่ ท่ตี ั้งของสถานีวดั น้าท่า ในพ้นื ที่ศกึ ษาและบรเิ วณใกลเ้ คียง 2-19
2.2-10 กราฟความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณนา้ ท่ารายปเี ฉลี่ยและพื้นท่ีรบั น้าของสถานีวดั นา้ ทา่ 2-20
ในพ้ืนทโี่ ครงการและบริเวณใกลเ้ คยี ง
2.2-11 กราฟความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปริมาณนา้ นองสงู สุดรายปีเฉลี่ยและพื้นท่รี บั นา้ ของสถานวี ดั น้าใน 2-22
พนื้ ที่โครงการและบริเวณใกลเ้ คยี ง
2.2-12 กราฟความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปริมาณตะกอนแขวนลอยปีเฉลย่ี และพ้ืนท่ีรับน้าฝนของสถานีวัดตะกอน 2-24
ในพ้ืนทโี่ ครงการและบริเวณใกลเ้ คียง
2.2-13 โครงการพัฒนาแหล่งนา้ ในปจั จบุ นั ของพ้ืนทล่ี ุม่ นา้ ทะเลหลวง 2-25
2.2-14 แผนที่ธรณีวทิ ยาจังหวัดพทั ลุง 2-30
2.2-15 แผนทธ่ี รณีวิทยาพนื้ ที่โครงการ 2-32
2.2-16 แผนทร่ี อยเลอื่ นมพี ลงั ในประเทศไทย 2-35
2.2-17 แผนท่ีภยั พบิ ัตแิ ผ่นดินไหวประเทศไทย 2-36
2.2-18 กลุ่มชดุ ดนิ ตา่ งๆ บรเิ วณพื้นทโี่ ครงการ 2-39
2.2-19 ปริมาณนา้ บาดาลบริเวณพนื้ ที่โครงการ 2-40
2.2-20 พนื้ ทีช่ นั้ คณุ ภาพลมุ่ นา้ บริเวณพน้ื ท่โี ครงการและพน้ื ทใ่ี กลเ้ คียง 2-43
2.2-21 การตรวจสอบภาคสนามเบ้ืองตน้ ในขน้ั การจดั ทา้ ขอ้ เสนอ 2-52
2.3-1 ลักษณะพนื้ ทลี่ ุ่มน้าและระบบคลองธรรมชาติของโครงการ 2-55
2.3-2 ภาพถา่ ยดาวเทยี มพนื้ ทน่ี ้าท่วมบรเิ วณพื้นท่โี ครงการ 2-57
2.3-3 บริเวณพื้นท่นี ้าทว่ มซ้าซาก จังหวัดพทั ลงุ 2-58
2.4-1 พืน้ ทเี่ ส่ียงตอ่ การเกิดภยั แลง้ บรเิ วณพนื้ ทโ่ี ครงการและขา้ งเคียง 2-60
2.4-2 แนวคิดของโครงการเสนอเปน็ แผนพฒั นาปี 60 2-61
3.2-1 แผนภูมิแสดงแนวทางการเก็บรวบรวมและทบทวนขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ ง 3-3
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด -จ- รายงานการเรมิ่ งาน
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบื้องตน้ อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกัว่ สารบัญ
อันเนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลงุ
หนา้
สารบญั รูป
รูปท่ี 3-11
4-5
3.4.1-1 กรอบแนวคิดและวธิ ีการศึกษาทบทวนความเหมาะสม 4-11
4.6-1 ขัน้ ตอนการศกึ ษาศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบ้อื งต้น 4-15
4.7.2-1 สถานีเก็บตวั อยา่ งคุณภาพนา้ ผิวดนิ และนิเวศวิทยาทางนา้ ของโครงการ 4-20
4.7.2-2 สถานีเก็บตวั อยา่ งคุณภาพน้าใตด้ ินของโครงการ
4.7.2-3 แผนทพ่ี นื้ ที่ปา่ สงวนแห่งชาติปา่ เทือกเขาบรรทัด (โซน C) และ 5-3
6-2
เขตรกั ษาพันธสุ์ ัตวป์ ่าเขาบรรทดั และบรเิ วณพ้นื ท่ีโครงการ 6-3
5.4-1 กระบวนการดา้ เนนิ งานประชาสมั พนั ธ์ มวลชนสมั พนั ธ์ และการมีสว่ นร่วมของประชาชน 6-8
6.1.1-1 แผนการดา้ เนนิ งานของโครงการ
6.1.1-2 การวิเคราะหห์ าวถิ วี ิกฤตของข่ายงาน CPM (Critical Path Method)
6.2.1-1 แผนภมู กิ ารจดั องคก์ รการบรหิ ารงาน
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด -ฉ- รายงานการเรม่ิ งาน
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกั่ว สารบญั
อนั เนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลุง
สารบญั ตาราง
ตารางท่ี หน้า
2.2-1 สถติ ิขอ้ มลู ภมู อิ ากาศเฉลยี่ ในคาบ 11 ปี (พ.ศ.2549-พ.ศ.2559) ของสถานีตรวจวัดอากาศพทั ลงุ 2-7
2.2-2 สถติ ิข้อมูลภมู ิอากาศเฉลย่ี ในคาบ 30 ปี (พ.ศ.2530-พ.ศ.2559) ของสถานีตรวจวดั อากาศสงขลา 2-9
2.2-3 ปรมิ าณการคายระเหยของพืชอา้ งองิ ในพ้นื ท่ศี ึกษาและบริเวณใกลเ้ คยี ง 2-12
2.2-4 ข้อมูลสถานีวดั น้าฝนทไี่ ดท้ า้ การคัดเลอื ก ในพืน้ ทศ่ี ึกษาและบริเวณใกล้เคยี ง 2-13
2.2-5 สถานีวัดนา้ ท่า ตา้ แหนง่ ที่ตงั้ และปรมิ าณนา้ ท่ารายปเี ฉลีย่ ในพ้ืนที่ศึกษาและบริเวณใกล้เคียง 2-18
2.2-6 สถานีวัดนา้ ตา้ แหน่งทตี่ ้งั และปรมิ าณนา้ นองสงู สุดรายปีเฉล่ีย ในพื้นที่ศึกษาและบรเิ วณใกล้เคยี ง 2-21
2.2-7 รายช่ือสถานวี ัดตะกอนและสถติ ปิ รมิ าณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ยในพ้นื ทีโ่ ครงการและบริเวณใกล้เคียง 2-23
2.2-8 สถติ กิ ารเกดิ แผน่ ดินไหวของกรมอตุ ุนิยมวทิ ยา ปี พ.ศ.2550-2560 2-33
2.2-9 แสดงกลุ่มชดุ ดนิ ตา่ งๆ บรเิ วณพน้ื ที่โครงการ 2-38
2.2-10 การแบง่ เขตการปกครองของอ้าเภอป่าบอน จังหวัดพทั ลงุ 2-47
2.3-1 พ้ืนที่นา้ ทว่ มรายปใี นบริเวณโครงการ พ.ศ.2548-2556 2-56
3.4.2-1 การค้านวณตัวถ่วงน้าหนักในแตล่ ะกลุ่มปัจจัย 3-13
3.4.2-2 เง่ือนไขและเกณฑก์ ารให้คะแนน 3-15
4.6-1 แผนการศึกษาและจัดทา้ รายงานการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบ้อื งต้น อ่างเกบ็ น้าเหมืองตะกั่ว 4-6
อันเนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพัทลุง 4-12
4.7.2-1 ดัชนคี ณุ ภาพนา้ ที่ทา้ การวเิ คราะหบ์ ริเวณพืน้ ทีโ่ ครงการ 4-14
4.7.2-2 ลักษณะคุณสมบัตขิ องน้าใต้ดนิ และวิธีการทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ 5-3
5.4-1 แผนดา้ เนนิ การดา้ นการประชาสมั พนั ธ์ มวลชนสัมพนั ธ์ และการมสี ่วนรว่ มของโครงการ 6-6
6.1.2-1 การส่งมอบรายงานผลการศึกษา 6-9
6.2.1-1 สรุปคณุ สมบตั ขิ องบุคลากรหลกั 6-10
6.2.2-1 บคุ ลากรหลกั และหนา้ ทรี่ ับผิดชอบโครงการ 6-15
6.2.2-2 ความสมั พนั ธข์ องหนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบของบุคลากรหลัก 6-16
6.2.3-1 แผนปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรหลัก
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด -ช- รายงานการเร่ิมงาน
บริษทั เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบอ้ื งตน้ อ่างเก็บนา้ เหมืองตะกัว่ บทท่ี 1
อันเนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลงุ บทนา้
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเปน็ มำของโครงกำร
ตามท่นี ายโสภณ กสวิ งศ์ ประธานสภาราษฎรจังหวดั พทั ลุงได้มหี นงั สอื ถงึ ฯพณฯ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ เมื่อวนั ที่ 27 กันยายน 2533 แจ้งว่าได้มีการตัดไมท้ าลายป่าบริเวณเทอื กเขาบรรทัด ซ่งึ เป็นป่าต้น
นาลาธารของจังหวัดพัทลุง ทาให้เกิดผลกระทบตามมาคือ ในฤดูแล้งเดิมนาจะไหลเข้ามาถึงลาคลองต่างๆ จนไม่
สามารถใช้นาเพ่ือการอุปโภค-บริโภคและการเกษตรได้ นายโสภณ กสิวงศ์ ได้เสนอแนวทางแก้ไขโดยขอให้กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์สนับสนุนงบประมาณเพื่อสร้างอ่างเก็บนาให้พอเพียงแก่พืนที่การเกษตรนัน สานักงานเลขานุการ
รฐั มนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีหนังสือถึงกรมชลประทาน เม่ือวันที่ 26 ตุลาคม 2533 เพ่ือให้ทาการศึกษา
รายละเอียดความเปน็ ไปได้ของโครงการอ่างเก็บนาเหมอื งตะก่วั อาเภอปา่ บอน จังหวดั พทั ลุง
ต่อมาราษฎรจาก 9 หมู่บ้าน ในเขตตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ได้ประชุมปรึกษาเพ่ือหา
แนวทางแก้ปัญหาการขาดแคลนนาอย่างยั่งยืน มีความเห็นร่วมกันว่าควรสร้างอ่างเก็บนาเหมอื งตะก่ัว ซงึ่ จะส่งผลให้มี
นาเพื่อการเกษตรครอบคลุมพืนที่ทัง 9 หมู่บ้าน ของตาบลหนองธงอย่างเพียงพอ โดยราษฎรแต่ละหมู่บ้านได้ลงนาม
สนับสนุนในการสรา้ งอ่างเก็บนาและมติที่ประชุมสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหนองธงสนบั สนุนให้กอ่ สรา้ งอ่างเก็บนา
เหมืองตะกั่ว เพื่อสนองความต้องการของราษฎรโดยรวมนายกองค์การบริหารส่วนตาบลหนองธงพร้อมด้วยผู้นา
ท้องถิ่นได้ทูลเกล้าขอพระราชทานสร้างอ่างเก็บนาหมืองตะก่ัว ผ่านทางราชเลขาธิการสานักพระราชวัง เม่ือวันที่ 8
กันยายน 2546
ต่อมาสานักราชเลขาธิการได้มีหนังสือที่ รล 0005.5/19188 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2548 ได้ขอให้สานักงาน
คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ พิจารณาเร่ืององค์การบริหารส่วนตาบล
หนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ขอพระราชทานพระมหากรุณาในการก่อสรา้ งอ่างเก็บนาเหมืองตะก่ัว บริเวณ
หมู่ที่ 1 ตาบลหนองธง เพ่อื ช่วยเหลือราษฎรตาบลหนองธง จานวน 9 หมู่บ้าน ซ่ึงประสบความเดือดร้อนจากการขาด
แคลนนาสาหรับทาการเกษตรและขอให้ทรงรับไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สานักงาน กปร. ให้ความ
เห็นสมควรช่วยเหลอื ระยะสัน โดยการปรบั ปรุงฝายทมี่ อี ยู่เดิมและวางท่อสง่ นามายงั พืนทีต่ าบลหนองธง ส่วนระยะยาว
สมควรช่วยเหลือ โดยการก่อสร้างอ่างเก็บนาเหมืองตะก่ัว หมู่ท่ี 1 ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง พร้อม
ระบบส่งนา และอาคารประกอบ ได้นาความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝา่ ละอองธลุ ีพระบาทแล้วทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ รับโครงการอ่างเก็บนาเหมืองตะก่ัวพร้อมทังระบบส่งนาและอาคารประกอบไว้เป็นโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริโครงการก่อสร้าง 1 สานักงานชลประทานที่ 16 ได้มีหนังสือท่ี กษ 0325.13/2513 ลงวันที่
23 ธันวาคม 2548 อ้างหนังสือสานักราชเลขาธิการ ท่ี รล 0005.5/19188 ขอให้สานักออกแบบวิศวกรรมและ
สถาปัตยกรรมดาเนินการออกแบบรายละเอียดโครงการ ต่อมาทางสานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมจึงได้
จดั สง่ เร่ืองมายงั สานักบรหิ ารโครงการ เพือ่ ดาเนนิ การศกึ ษารายละเอียดและจัดทารายงานวางโครงการตอ่ ไป
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 1-1 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบ้อื งต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะก่วั บทที่ 1
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง บทน้า
สานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน ได้ศึกษาและพิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาขาดแคลนนา
เพอื่ การเกษตรและอปุ โภค-บริโภค ของราษฎรในพืนท่ีตาบลหนองธงและใกล้คียง เหน็ ว่ามลี ่ทู างสามารถดาเนนิ การได้
จึงได้จัดทารายงานวางโครงการแล้วเสร็จปี พ.ศ.2552 จากผลการศึกษาพบว่าบริเวณท่ีเหมาะสมสาหรับการก่อสร้าง
โครงการอ่างเก็บนาเหมืองตะก่ัวอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ตังอยู่หมู่ที่ 1 ตาบลหนองธง ที่ระดับนานองสูงสุด
+111.650 เมตร (รทก.) ในบริเวณพืนท่ีอ่างฯ จะมีพืนท่ีนาท่วมประมาณ 350 ไร่ เม่ือตรวจสอบข้อมูลและติดต่อ
สอบถามไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในขณะนัน มีพืนที่ติดต่อคาบเก่ียวหรืออยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่า หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ซ่ึงมีสภาพเป็นป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายอยู่ในอานาจหน้าท่ีดูแลรับผิดชอบของสานัก
บริหารพืนที่อนุรักษ์ท่ี 6 สังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช และติดอยู่ในเขตพืนที่ป่าสงวนแห่งชาติป่า
เทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1 ตอน 3 ตามผลการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและท่ีดินป่าไม้ในพืนท่ีป่าสงวน
แห่งชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 10 และ 17 มนี าคม 2535 เมอ่ื ตรวจสอบกับแผนที่การกาหนดชันคณุ ภาพลุ่มนา
ภาคใต้ปรากฎว่าโครงการอ่างเก็บนาเหมืองตะกั่วอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ติดอยู่ในเขตชันคุณภาพลุ่มนาท่ี 2 , 3
และ 4 ดังนันโครงการอ่างเก็บนาเหมืองตะกั่วอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จะต้องดาเนินการศึกษาผลกระทบ
ส่งิ แวดลอ้ มเบืองต้น (IEE) ตอ่ ไป
ดังนัน กรมชลประทานจึงเห็นควรจัดทารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบืองต้น (IEE)
เพื่อประเมินผลกระทบจากการพัฒนาโครงการต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม พร้อมทังจัดทามาตรการป้องกัน
แกไ้ ขผลกระทบสง่ิ แวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่งิ แวดล้อมเพ่ือนาไปประกอบการขอใช้พืนที่ป่า
สงวนแหง่ ชาตปิ า่ เทอื กเขาบรรทดั ประมาณ 264 ไร่ และเขตรักษาพนั ธุ์สัตวป์ ่าเขาบรรทัด ประมาณ 188 ไร่
1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงกำร
1.2.1 เพอ่ื ใหเ้ ปน็ แหลง่ เกบ็ กักนาต้นทุนไว้ใช้เสรมิ การเพาะปลูกให้กับพนื ท่ีชลประทานของโครงการ
1.2.2 เพ่ือเป็นแหล่งนาสาหรับอุปโภค-บริโภค และเลียงสัตว์ของราษฎรในเขตตาบลหนองธงและตาบล
ใกลเ้ คียง
1.2.3 เพ่ือยกฐานะความเป็นอยู่ของราษฎร ในเขตพืนที่ท่ีได้รับประโยชน์จากโครงการให้ดีขึน โดยให้การ
สนบั สนนุ แหลง่ นา ซงึ่ เป็นปัจจยั พนื ฐานของผลผลิตทางดา้ นเกษตร อตุ สาหกรรม การท่องเที่ยว ฯลฯ
1.2.4 เพ่ือเปน็ แหลง่ เพาะพนั ธุ์ปลาและสัตวน์ าอน่ื ๆ
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 1-2 รายงานการเรมิ่ งาน
บริษทั เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบ้อื งตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะก่ัว บทที่ 1
อันเนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง บทน้า
1.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรศึกษำ
1.3.1 ทบทวนโครงการในการพฒั นาแหล่งนาในพืนที่ให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชน
1.3.2 เพื่อจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบืองต้น (Initial Environmental Examination : IEE)
ที่สอดคล้องและเป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวข้องและแนวทางของสานักงานนโยบายและ
แผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (สผ.)
1.3.3 เพ่ือจัดทามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบ
ผลกระทบสงิ่ แวดล้อม
1.3.4 ดาเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของประชาชนและของทุกภาคส่วน
โดยให้สอดคล้องและเปน็ ไปตามขอ้ กาหนดของกฎหมายและระเบยี บทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
1.4 ขอบเขตพ้นื ทีศ่ กึ ษำ
เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตพืนที่ศึกษาของโครงการต้องพิจารณาให้ครอบคลุมพืนที่ท่ี
คาดว่าจะได้รบั ผลกระทบจากการดาเนินโครงการ ได้แก่ พืนที่รับนาของโครงการ พืนที่อ่างเก็บนา พืนท่ีหัวงาน พืนท่ี
ท้ายนา พนื ทช่ี ลประทาน และพืนท่ีอ่ืนๆ (หากมี)
โครงการอ่างเก็บนาเหมืองตะก่ัวอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัดพัทลุง หัวงานตังอยู่บ้านเหมืองตะกั่ว
หมู่ 1 ตาบลหนองธง อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง Latitude 7- 11- 47 เหนือ Longitude 101- 04- 29
ตะวันออก พิกัดตามแผนท่ีมาตราส่วน 1: 50,000 พิกัด 47 NPH 185-958 ระวางหมายเลข 5023 III (รายงาน
การศกึ ษาวางโครงการอ่างเกบ็ นาเหมอื งตะกั่วอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จงั หวดั พทั ลงุ กรมชลประทาน, 2552)
1.5 ขอบเขตกำรศกึ ษำ
1.5.1 ศึกษาทบทวนความเหมาะสม การศึกษาทางเลือกของโครงการและเหตุผลประกอบ ในรายงาน
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบืองต้นจะต้องเสนอทางเลือกในการพัฒนาโครงการ ได้แก่ ประเภทการพัฒนาท่ี
เหมาะสม ที่ตังหัวงานท่ีเหมาะสม ปริมาณนาเก็บกักที่เหมาะสม พืนที่ชลประทานท่ีเหมาะสม ระบบชลประทานที่
เหมาะสม เป็นต้น โดยต้องมีรายละเอียดเบืองต้น รวมทังสรุปข้อดขี ้อเสยี ของแต่ละทางเลือก และเหตุผลประกอบการ
ตดั สนิ ใจเลือกทางเลือกนันๆ ทังทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ ส่ิงแวดลอ้ ม และสังคม โดยคานึงถึงความสอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการพัฒนาโครงการ และจะต้องระบุทางเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุดที่จะดาเนินโครงการ
พรอ้ มแสดงเหตผุ ลและความจาเปน็ ประกอบ
1.5.2 ศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบืองต้นจากการพัฒนาโครงการ โดยให้ครอบคลุมองค์ประกอบทาง
ส่ิงแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ ท่ีคาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกายภาพ
ด้านชีวภาพ ด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ และด้านคุณค่าต่อคุณภาพชีวิต โดยประกอบด้วยการศึกษา
สภาพแวดล้อมในปัจจุบนั การประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มท่ีเกดิ จากการพฒั นาโครงการ เปน็ ตน้
1.5.3 ดาเนินการตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมทาง
สังคมให้เปน็ ส่วนหนง่ึ ในรายงานผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบืองตน้ หรือรายงานการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบืองต้น
1.5.4 ศึกษารายละเอียดขันพืนฐานทางด้านสังคม - เศรษฐกิจเก่ียวกับผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจาก
โครงการ ตลอดจนการวิเคราะหท์ างเศรษฐกิจ และเรอ่ื งอ่ืนๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
บรษิ ัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กดั 1-3 รายงานการเริม่ งาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบือ้ งตน้ อ่างเกบ็ นา้ เหมืองตะกั่ว บทท่ี 1
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลุง บทนา้
1.5.5 จัดทามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมท่ีมีความสาคัญ จะต้องกาหนดเป็นแผนปฏิบัติการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับผลกระทบส่ิงแวดล้อมที่
ประเมินได้และสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง โดยระบุรายละเอียดมาตรการฯ ทังหมด วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ
แผนการปฏบิ ตั ิ คา่ ใช้จา่ ยโดยประมาณ ระยะเวลาดาเนินการ และผู้รบั ผดิ ชอบ
1.6 แนวทำงกำรศึกษำ
1.6.1 แนวทางการจดั ทารายงานผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบืองตน้ ใหด้ าเนินการศกึ ษาตามแนวทางต่างๆ ดงั นี
1) แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการพัฒนาแหล่งนา
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (มกราคม, 2559)
2) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมตาม
ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม เรอ่ื ง กาหนดโครงการ กิจการ หรอื การดาเนินการ ซึง่ ต้องจัดทา
รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจัดทารายงานการประ เมินผล
กระทบสิง่ แวดลอ้ ม ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมอื่ วนั ท่ี 4 มกราคม 2562
3) อ่ืนๆ ที่เกย่ี วข้องตามกฎหมายและระเบยี บที่กาหนด
1.6.2 แนวทางการประเมินผลกระทบสุขภาพ ให้ดาเนินการศึกษาตามแนวทางต่างๆ ดังนี
1) แนวทางการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดลอ้ มของสานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (เมษายน, 2556)
2) แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการพัฒนาแหล่งนา ของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข (มถิ นุ ายน, 2557)
1.6.3 แนวทางการประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ดาเนินการศึกษา
ตามแนวทางต่างๆ ดังนี
1) แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม (มกราคม, 2562)
2) คมู่ อื การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน โดยกองสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน กรมชลประทาน (2552)
1.7 องค์ประกอบของรำยงำนเริม่ งำน
รายงานเริ่มงาน (Inception Report) มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอกรอบ แนวทาง หลักการดาเนินงาน
วิธกี าร แผนงานรวม แผนงานและแนวทางในการศึกษาแต่ละด้านของบคุ ลากรหลกั ทรี่ ับผิดชอบในแตล่ ะแผนงานของ
โครงการ และความสัมพนั ธ์ของแผนงานแตล่ ะดา้ น โดยมีเนือหาสาระของรายงานดังนี
บทท่ี 1 บทนำ เพ่ือให้ทราบถึงความเป็นมา วัตถุประสงค์ของโครงการ วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตพนื ท่ีศกึ ษา ขอบเขตการศกึ ษา แนวทางการศกึ ษา และวตั ถุประสงค์ของรายงานเรมิ่ งาน
บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐำนและสภำพทั่วไปของโครงกำร เป็นการแสดงข้อมูลพืนฐาน และสภาพทั่วไปของ
โครงการในพนื ท่ีศึกษา
บทที่ 3 แนวกำรศึกษำควำมเหมำะสม เปน็ การแสดงข้อมลู และปัญหาต่างๆ วิเคราะห์และเสนอแนวคิดท่ี
เหมาะสม ถกู หลกั ทางวชิ าการและมาตรฐานของกรมและเปน็ ไปได้ในทางปฏบิ ัติ พร้อมขอ้ เสนออ่นื ท่ีเป็นประโยชน์
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 1-4 รายงานการเร่มิ งาน
บริษัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบือ้ งต้น อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะกัว่ บทท่ี 1
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง บทน้า
บทที่ 4 แนวทำงกำรประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม เป็นการแสดงข้อมูล และเสนอแนวทางการศึกษา
ขนั ตอนการศกึ ษา การวางแผนการรวบรวมข้อมลู ท่ใี ช้ในการศกึ ษา การวิเคราะหข์ อ้ มลู รวมทังแนวทางการประเมินผล
กระทบ และการจัดทามาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โดยให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดทารายการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม สาหรับโครงการพัฒนาแหล่งนา
ของสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มกราคม, 2559) พร้อมข้อเสนออ่ืนท่ีเป็น
ประโยชน์
บทท่ี 5 กำรประชำสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์ และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน เป็นการนาเสนอ
วัตถุประสงค์ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน การดาเนินงานในขัน
การศกึ ษาทบทวนผลการศึกษาความเหมาะสมและศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบอื งต้น และการกาหนดกลมุ่ เปา้ หมาย
บทที่ 6 แผนกำรทำงำนและกำรจัดทำบุคลำกร เป็นการนาเสนอรูปแบบการจัดองค์กรปริมาณงาน
ลาดับการทางาน ความเหมาะสมของบุคลากร และสอดสัมพันธ์กัน โดยมีรายละเอียดและความชัดเจน เหมาะสมกับ
ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายท่ีมี พร้อมทังทาการวิเคราะห์หาวิธีวิกฤตของข่ายงาน CPM (Critical Path Method)
วิเคราะห์กิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องทาในโครงการอย่างประหยัดท่ีสุดและให้เสร็จทันเวลา เพื่อให้ทราบถึงเวลาแล้วเสร็จ
โครงการว่าเป็นเท่าใด และกิจกรรมใดบ้างท่ีอยู่ในวิถีวิกฤต ซ่ึงนาไปสู่การวางแผนตัดสินใจเพื่อควบคุมโครงการ
หรอื เร่งรดั โครงการตอ่ ไป
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั 1-5 รายงานการเร่มิ งาน
บริษัท เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบอื้ งตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมอื งตะกวั่ บทที่ 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พทั ลงุ ข้อมูลพน้ื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
บทท่ี 2
ข้อมลู พน้ื ฐานและสภาพทัว่ ไปของโครงการ
2.1 รายงานการศกึ ษาและขอ้ มลู ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับโครงการ
รายงานการศึกษาและข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับโครงการ เพ่ือขอความอนุเคราะห์จากกรมชลประทานเมื่อเริ่ม
งานมีดังนี้
1) รายงานการศึกษาวางโครงการอ่างเก็บน้าเหมืองตะก่ัวอันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพัทลุง
พ.ศ.2552 ดังแสดงในรูปท่ี 2.2-1
2) แผนทีม่ าตราสว่ น 1 : 50,000 หรอื 1 : 250,000 ของกรมแผนท่ที หาร
3) ผลการเจาะส้ารวจภูมิประเทศ บริเวณหัวงาน พื้นท่ีชลประทาน และองค์ประกอบต่างๆ
ท่ีไดด้ า้ เนินการไวแ้ ลว้
4) สถติ ิขอ้ มูลอุตนุ ยิ มวทิ ยา อุทกวทิ ยา จากสถานีตรวจวัดกรมชลประทานและหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง
รปู ท่ี 2.1-1 ตัวอยา่ งรายงานการศึกษาวางโครงการ พ.ศ.2552
2.2 ขอ้ มูลสภาพท่ัวไปของพ้ืนทศ่ี ึกษาโครงการ
2.2.1 ที่ตง้ั และลกั ษณะโครงการ
ท่ีตง้ั บ้านเหมอื งตะก่วั หมู่ 1 ตา้ บลหนองธง อา้ เภอป่าบอน จงั หวดั พัทลงุ ดงั แสดงในรูปท่ี 2.2-1
Latitude 7-11’-47” เหนือ
Longtitude 101-04’-29” ตะวนั ออก
พกิ ัดตามแผนท่มี าตราส่วน 1:50,000 พกิ ดั 47 NPH 185-958 ระวางหมายเลข 5023 III
ประเภทโครงการ อา่ งเก็บน้า
พ้ืนท่รี ับน้าเหนอื จุดที่ตัง้ หัวงาน 20.27 ตร.กม.
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-1 รายงานการเริม่ งาน
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบ้ืองต้น อา่ งเก็บน้าเหมืองตะกั่ว บทท่ี 2
อันเนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พัทลุง ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
ความยาวล้าน้าจากตน้ น้าถงึ เข่อื นดินประมาณ 9.63 กม.
ส่วนลาดเทของลา้ น้าบริเวณที่ต้งั อ่างฯ ประมาณ 1 : 29
ฝนเฉลย่ี ตลอดปี 2,017.00 มม.
ปริมาณน้าฝนเฉลยี่ รายปี 1,771.20 มม.
ปรมิ าณนา้ ไหลลงอ่างฯ ในเกณฑเ์ ฉล่ีย 19,150,000 ลบ.ม./ปี
อาคารหัวงาน : เขื่อนดินกว้าง 8.00 เมตร ยาวประมาณ 420 เมตร สูงประมาณ 48.00 เมตร
ปรมิ าณน้านองสงู สุดในรอบ 50 ปี 120.67 ลบ.ม./วนิ าที
ปรมิ าณนา้ นองสูงสดุ ในรอบ 100 ปี 148.05 ลบ.ม./วนิ าที
ปรมิ าณนา้ นองสงู สดุ ในรอบ 200 ปี 178.21 ลบ.ม./วินาที
ปรมิ าณนา้ นองสงู สุดในรอบ 500 ปี 222.14 ลบ.ม./วินาที
ระบบการส่งน้า : สง่ ผ่าน River Outlet ลงล้านา้ เดิมตามธรรมชาติและระบบท่อสง่ น้าเพอ่ื อปุ โภค-บริโภค
ระดับท้องน้าประมาณ +66.00 ม.(รทก.)
ระดับ Dead Storage ประมาณ +75.00 ม.(รทก.)
ระดับเก็บกกั +110.00 ม.(รทก.)
ระดบั น้านองสงู สุด +110.65 ม.(รทก.)
ระดับสนั เข่ือน +114.00 ม.(รทก.)
ความจขุ องอ่างทรี่ ะดับ Dead Storage ประมาณ 200,000 ลบ.ม.
ความจุของอา่ งฯ ท่รี ะดับเก็บกกั ประมาณ 10,410,000 ลบ.ม.
ความจุของอ่างฯ ทีร่ ะดับน้านองสงู สดุ ประมาณ 11,130,000 ลบ.ม.
ส่วนสูงทสี่ ดุ ของเขือ่ นดนิ ประมาณ 48.00 ม.
ความยาวของเขอื่ นดนิ ประมาณ 420 ม.
พน้ื ทผ่ี ิวอา่ งฯ ท่ีระดบั Dead Storage ประมาณ 31.25 ไร่
พนื้ ทีผ่ วิ อ่างฯ ที่ระดบั เก็บกักประมาณ 343.75 ไร่
พน้ื ที่ผิวอ่างฯ ที่ระดับน้านองสงู สดุ ประมาณ 350.00 ไร่
พน้ื ทช่ี ลประทานฤดฝู นประมาณ 7,500 ไร่
พื้นท่ีชลประทานฤดูแล้งประมาณ 2,000 ไร่
ส่งน้าเพือ่ อุปโภค-บริโภค ประมาณ 0.562 ลา้ น ลบ.ม./ปี
2.2.2 สภาพภมู ิประเทศ
โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น อ่างเก็บน้าเหมืองตะกั่วอันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ
จังหวัดพัทลุง อยู่ในพ้ืนที่ลุ่มน้าทะเลหลวง ซึ่งเป็นลุ่มน้าสาขาของลุ่มน้าภาคใต้ฝ่ังตะวันตกในจังหวัดพัทลุง มีพ้ืนที่รับน้า
ทั้งหมด 4,522.98 ตร.กม. หัวงานของโครงการตั้งอยู่ที่ บ้านเหมืองตะกั่ว หมู่ที่ 1 ต้าบลหนองธง อ้าเภอป่าบอน
จังหวัดพัทลุง พิกัดที่ ละจิจูด 7 11’47” เหนือ ลองติจูด 101 04’29”ดังแสดงในรูปท่ี 2.2-2 ลักษณะภูมิประเทศ
มีท้ังลักษณะเป็นท่ีราบค่อนข้างสูง เป็นลูกคล่ืน ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ของพื้นท่ี เป็นเขตเทือกเขาบรรทัด
และท่ีลาดตา้่ ลงมาทางทิศตะวันออก
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-2 รายงานการเริ่มงาน
บริษัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบือ้ งต้น อ่างเกบ็ นา้ เหมืองตะกวั่ บทท่ี 2
อันเนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พทั ลุง ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะก่ัว
รูปที่ 2.2-1 ท่ตี ้งั โครงการอา่ งเก็บน้าเหมืองตะกวั่ อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-3 รายงานการเริ่มงาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้อื งต้น อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะกว่ั บทที่ 2
อันเนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพัทลงุ ขอ้ มลู พื้นฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะกั่ว รายงานการเร่มิ งาน
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กัด รูปที่ 2.2-2 สภาพภูมปิ ระเทศ (Inception Report)
2-4
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มเบ้อื งตน้ อ่างเก็บน้าเหมืองตะก่ัว บทท่ี 2
อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พทั ลงุ ขอ้ มูลพ้นื ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
2.2.3 สภาพอุตุนิยมวทิ ยา อทุ กวิทยา
การศึกษาด้านอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา เพ่ือให้ทราบถึงสภาพภูมิอากาศโดยท่ัวไปของพื้นท่ีโครงการ
การเปล่ียนแปลงของฤดูกาล ศึกษาและวิเคราะห์ปริมาณน้าฝน ปริมาณน้าท่า ปริมาณน้าหลาก และปริมาณตะกอน
ของโครงการ เพ่ือน้าไปใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ด้านระบายน้าและอุทกภัย การศึกษาแนวทางการเพิ่มปริมาณน้า
ต้นทุนและบรรเทาปญั หาภยั แลง้ และการศึกษาด้านการบริหารจัดการนา้ โดยมีหวั ข้อการศึกษา ดงั นี้
1) สภาพภูมอิ ากาศ
พื้นท่ีศึกษาครอบคลุมพื้นท่ีลุ่มน้าทะเลหลวง ประกอบด้วยพ้ืนที่ 13 อ้าเภอคือ อ.กระแสสินธุ์
อ.ระโนด อ.ควนขนุน อ.ตะโหมด อ.เขาชัยสน อ.ป่าบอน อ.บางแก้ว อ.ปากพะยูน อ.สทิงพระ อ.ศรีบรรพต
อ.ศรีนครนิ ทร์ อ.กงหรา และ อ.เมืองพัทลงุ สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมที่พัดประจ้าเป็น
ฤดกู าล 2 ชนิดคือ ฤดูมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือหรือฤดูหนาว จะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นลมทีม่ ีความ
เย็นและแห้งจากประเทศจีน พัดปกคลุมประเทศไทย ท้าให้ภาคต่างๆ ทางตอนบนของประเทศต้ังแต่ภาคกลางขึ้นไป
มอี ากาศหนาวเย็นและแห้งแล้งท่ัวไป แต่ภาคใต้ต้งั แต่จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ลงไปรวมถึงจังหวดั พัทลุงกลบั มีฝนตกชุก
เพราะลมมรสุมน้ีพัดผ่านอ่าวไทย จึงพาเอาไอน้าและความช่มุ ชื้นไปตกเป็นฝน อากาศจึงไม่หนาวเย็นเหมือนภาคอื่นๆ
ที่อยู่ตอนบนของประเทศ แต่อาจมีอากาศเย็นเป็นคร้ังคราว ลมมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ซ่ึงพัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย จึงได้พาเอาไอน้าและความชุ่มช้ืนมาสูป่ ระเทศไทย แต่เน่ืองจากเทือกเขาตะนาวศรซี ่ึงอยู่
ทางด้านตะวนั ตกกันกระแสลมไว้ ทา้ ให้ภาคใต้ฝ่ังตะวันออกและจังหวัดพัทลุงมฝี นน้อยกว่าภาคใต้ฝง่ั ตะวันตก ซึ่งเป็น
ดา้ นรบั ลม ดังแสดงทิศทางและชว่ งเวลาการเกดิ ของลมมรสุมและพายุจร ท่ีพดั เขา้ สู่ประเทศไทย ในรูปที่ 2.2-3
ฤดกู าลของจังหวัดพัทลงุ แบ่งออกเปน็ 2 ฤดูกาลดังน้ี ฤดูรอ้ น เรม่ิ ต้งั แต่ในชว่ งเดอื นมีนาคมถึงเดือน
มิถุนายน ระยะน้ีเป็นช่วงที่ไม่มีลมมรสุม จะมลี มจากทิศตะวันออกเฉยี งใต้พัดปกคลุม ท้าให้มีอากาศร้อนอบอ้าวท่ัวไป
เดือนท่ีมีอากาศรอ้ นท่ีสุดคือเดือนเมษายน แต่จังหวัดพัทลุงอยู่ใกล้ทะเลจึงไม่ร้อนมากนัก เพราะได้รับกระแสลมและ
ไอน้าท้าให้อากาศคลายความร้อนลงไปมาก ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลมุ ประเทศไทย และเน่อื งจากเป็นจังหวัดท่ีอยู่ทางด้านตะวนั ออกของภาคใต้ จึงไดร้ ับอิทธิพล
จากมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือทพี่ ดั ผา่ นอ่าวไทย ทา้ ให้มีฝนตกชกุ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนและธันวาคมอกี ดว้ ย
ในพน้ื ที่ศึกษาและบรเิ วณใกลเ้ คยี ง มีสถานีตรวจอากาศของอตุ นุ ิยมวทิ ยาตงั้ อยู่ 2 สถานี ไดแ้ ก่
สถานีตรวจอากาศพัทลุง ต้ังอยู่ท่ี ต.ล้าปา อ.เมือง จ.พัทลุง (ละติจูด 7o 35’ 00” N และลองติจูด
100o 10’ 00” E) อยู่สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 4.15 เมตร โดยมีสถิติข้อมูลเฉลี่ย 11 ปี (พ.ศ.2549-2559)
ดังแสดงสถิติข้อมูลภูมิอากาศเฉล่ีย ไว้ในตารางที่ 2.2-1 และแสดงการผันแปรรายเดือนเฉลี่ยของตัวแปรภูมิอากาศที่
สา้ คญั ไว้ในรูปที่ 2.2-4
สถานีตรวจอากาศสงขลา ตั้งอยู่ที่ ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา (ละติจูด 7o 10’ 56.6” N และ
ลองติจูด 100o 36’ 27.7” E) อยู่สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 6.56 เมตร โดยมีสถิติข้อมูลเฉล่ีย 30 ปี
(พ.ศ.2530-2559) ดังแสดงสถิติข้อมูลภูมิอากาศเฉลี่ย ไว้ในตารางที่ 2.2-2 และแสดงการผันแปรรายเดือนเฉลี่ยของ
ตัวแปรภมู ิอากาศทสี่ า้ คัญ ไวใ้ นรูปที่ 2.2-5
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากดั 2-5 รายงานการเริ่มงาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกวั่ บทท่ี 2
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลุง ข้อมูลพ้นื ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
ทม่ี า : กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา
รปู ท่ี 2.2-3 ทศิ ทางและช่วงเวลาการเกดิ ของลมมรสุมและพายจุ รทพี่ ดั เขา้ สู่ประเทศไทย
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากดั 2-6 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษทั เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้อื งตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะกัว่ บทที่ 2
อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลงุ ขอ้ มลู พืน้ ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
ตารางท่ี 2.2-1 สถิติขอ้ มูลภูมอิ ากาศเฉลี่ยในคาบ 11 ปี (พ.ศ.2549-พ.ศ.2559) ของสถานตี รวจวดั อากาศพัทลุง
สถานี พทั ลุง ระดบั ของสถานเี หนอื ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง 2.00 เมตร
รหสั สถานี 48560 ความสูงของบาโรมิเตอร์เหนอื ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง 4.15 เมตร
ละตจิ ดู 7° 35' 0.0" N ความสูงของเทอร์โมมิเตอร์เหนอื พนื ดนิ 1.25 เมตร
ลองตจิ ดู 100° 10' 0.0" E ความสูงของเคร่อื งมือวัดความเร็วลมเหนอื พนื ดนิ 11.00 เมตร
ความสูงของเครอื่ งมือวัดนา้ ฝน 0.90 เมตร
ตวั แปร จา้ นวนปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รายปี
ความกดอากาศ (เฮคโตปาสคาล)
เฉล่ีย 11 1,011.6 1,011.0 1,010.2 1,009.1 1,008.4 1,008.1 1,008.4 1,008.6 1,009.2 1,009.7 1,009.6 1,010.4 1,009.5
เปลี่ยนแปลงตอ่ วัน 11 3.7 3.7 4.2 4.2 3.9 3.4 3.4 3.6 4.0 4.1 3.9 3.7 3.8
สูงสุด 11 1,019.3 1,018.6 1,016.5 1,015.6 1,013.7 1,015.1 1,013.8 1,013.7 1,014.9 1,015.9 1,015.7 1,017.1 1,019.3
ตา่้ สุด 10 1,003.9 1,004.4 1,003.4 1,002.8 1,002.6 1,002.3 1,003.2 1,003.6 1,004.0 1,003.4 1,001.6 1,004.0 1,001.6
อณุ หภูมิ (องศาเซลเซยี ส, oC)
เฉล่ียสูงสุด 11 30.5 31.6 32.8 33.9 34.0 33.5 33.3 33.4 33.0 32.1 30.4 29.8 32.4
สูงสุด 11 32.8 34.5 36.3 39.4 37.7 36.7 36.7 37.7 36.8 36.4 34.4 32.8 39.4
เฉลี่ยตา่้ สุด 11 23.8 23.8 24.3 25.0 25.1 24.6 24.4 24.3 24.4 24.3 24.3 24.2 24.4
ตา้่ สุด 11 20.3 18.5 20.3 23.0 23.0 22.5 22.0 21.9 22.5 21.2 19.8 21.8 18.5
เฉลี่ย 11 26.9 27.5 28.2 28.9 28.6 28.3 27.9 27.9 27.7 27.3 26.9 26.6 27.7
ความชนื สัมพทั ธ์ (%)
เฉลี่ย 11 84 81 80 80 81 80 80 80 81 84 87 87 82
เฉล่ียสูงสุด 11 94 93 93 94 94 94 94 94 94 95 96 95 94
เฉลี่ยตา่้ สุด 11 72 67 65 64 63 62 61 60 62 67 76 77 66
ตา่้ สุด 11 55 47 49 39 44 42 38 34 40 43 52 58 34
จดุ น้าค้าง (องศาเซลเซยี ส, oC)
เฉล่ีย 11 23.8 23.6 24.2 24.9 24.8 24.2 23.9 23.8 23.8 24.1 24.5 24.2 24.2
ปริมาณการระเหยจากถาด (มม.)
รวม 11 87.4 103.4 121.0 121.8 121.6 114.5 119.4 125.2 109.6 95.2 70.5 68.8 1,258.4
เมฆปกคลุม (1-10)
เฉล่ีย 11 6.2 4.7 4.9 5.5 6.6 6.8 7.2 6.8 7.2 7.5 7.4 7.2 6.5
ชวั่ โมงทมี่ ีแสงแดด (ชม.)
เฉล่ีย 11 175.9 237.2 225.8 214.7 202.1 180.2 176.8 187.6 159.1 157.7 133.8 146.1 2,197.0
ทศั นวิสัย (กม.)
เฉล่ีย 11 8.5 8.9 9.2 9.2 9.1 9.0 8.8 9.1 8.8 8.4 7.9 8.0 8.7
07.00 L.S.T. 10 7.0 7.5 7.6 8.0 8.0 8.0 8.0 8.0 8.0 7.6 7.2 7.2 7.7
ความเร็วลม (นอ๊ ต)
ทศิ ทางลม * 11 E E E E W W W W W W NE,W E -
ความเร็วเฉลี่ย 11 1.9 2.1 2.0 1.9 1.9 2.2 2.3 2.5 2.6 2.1 1.4 1.7 2.1
ความเร็วสูงสุด 11 21.0 20.0 25.0 25.0 30.0 25.0 33.0 30.0 32.0 31.0 40.0 22.0 40.0
ปริมาณฝน (มม.)
รวม 30 124.5 71.7 118.2 111.8 100.6 80.4 86.0 98.7 112.6 239.5 539.6 473.0 2,156.6
จา้ นวนวันทฝ่ี นตก 30 12.0 5.0 7.3 9.3 12.7 10.4 12.0 12.7 13.8 19.6 21.8 20.7 157.3
รายวันสูงสุด 30 176.1 312.8 199.1 128.2 120.3 68.2 76.2 134.4 84.5 111.6 312.7 302.4 312.8
จา้ นวนวันทเ่ี กดิ (วัน)
หมอก 11 0.6 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.3 0.5 0.3 0.5 2.5
เมฆ 11 0.7 2.6 3.2 4.4 3.9 6.6 5.7 4.7 5.1 1.8 0.6 0.2 39.5
ลูกเหบ็ 11 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.1
ฟา้ คะนอง 11 0.9 0.5 3.7 6.2 9.6 5.6 5.3 5.4 5.6 7.8 7.8 3.3 61.7
ลมพายุ 11 0.0 0.0 0.2 0.5 0.5 0.5 0.5 1.2 0.6 0.4 0.0 0.1 4.5
หมายเหตุ * : E หมายถงึ ทศิ ตะวนั ออก , W หมายถงึ ทิศตะวันตก , NE หมายถงึ ทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
ที่มา : กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-7 รายงานการเร่มิ งาน
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบือ้ งต้น อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกั่ว บทที่ 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลงุ ข้อมูลพน้ื ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
องศาเ ลเ ียส 45 เปอรเ ็นต (%)100
40 สูงสุด 95 เฉลีย่
90
35 85 เฉลย่ี
30 เฉล่ีย 80
75
25 70
20 ต้่าสุด 65 เฉลี่ย
60
15 55
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
อุณหภมู ิ (องศาเซลเซยี ส, oC)
ความชืนสัมพัทธ์ (เปอร์เซน็ ต์, %)
1,020 45
40
1,018 35 สงู สุด
1,016 สงู สดุ 30
25
เ คโตปาสคาล1,014 20
15
1,012 นอต 10
5 เฉล่ีย
1,010 เฉลย่ี 0
1,008
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
1,006
ความเร็วลม (น๊อต)
1,004 ตา้่ สดุ
1,002
1,000
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ความกดอากาศ (เฮคโตปาสคาล, Hecto Pascal)
ิมลลิเมตร600 ิมลลิเมตร 600
500 500
400 400
300 300
200 200
100 100
0 0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ปริมาณการระเหยจากถาด (มิลลเิ มตร) ปริมาณฝน (มิลลเิ มตร)
ท่มี า : กลมุ่ บริษัทที่ปรกึ ษา, 2562
รูปท่ี 2.2-4 การผนั แปรรายเดือนเฉล่ียของตวั แปรภูมิอากาศท่ีส้าคญั ของสถานตี รวจอากาศพทั ลุง
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-8 รายงานการเร่ิมงาน
บริษัท เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มเบ้อื งต้น อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกวั่ บทท่ี 2
อนั เน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลุง ข้อมลู พื้นฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
ตารางที่ 2.2-2 สถติ ขิ อ้ มูลภูมอิ ากาศเฉลี่ยในคาบ 30 ปี (พ.ศ.2530-พ.ศ.2559) ของสถานตี รวจวดั อากาศสงขลา
สถานี สงขลา ระดบั ของสถานเี หนอื ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง 4.57 เมตร
รหสั สถานี 48568 ความสูงของบาโรมิเตอรเหนอื ระดบั น้าทะเลปานกลาง6.56 เมตร
ละตจิ ดู 7° 10' 55.6" N ความสูงของเทอรโมมิเตอรเหนอื พน้ื ดนิ 1.30 เมตร
ลองตจิ ดู 100° 36' 27.7" E ความสูงของเคร่ืองมือวัดความเร็วลมเหนอื พน้ื ดนิ 17.78 เมตร
ความสูงของเคร่อื งมือวัดนา้ ฝน 0.80 เมตร
ตวั แปร จา้ นวนปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค. รายปี
ความกดอากาศ (เ คโตปาสคาล)
เฉล่ีย 30 1,012.0 1,011.7 1,010.3 1,009.6 1,009.0 1,009.3 1,009.5 1,009.9 1,010.8 1,010.7 1,010.0 1,011.8 1,010.4
เปลี่ยนแปลงตอ่ วัน 30 4.8 5.0 4.2 5.4 5.2 5.9 5.9 6.1 7.5 6.4 3.9 5.7 5.5
สูงสุด 29 1,017.8 1,017.7 1,018.7 1,015.3 1,013.4 1,014.9 1,013.9 1,015.0 1,016.2 1,016.1 1,016.7 1,018.6 1,018.7
ตา้่ สุด 29 1,005.0 1,004.5 1,002.7 1,003.3 1,002.9 1,003.0 1,002.6 1,003.6 1,003.4 1,003.4 1,003.0 1,004.2 1,002.6
อณุ หภมู ิ (องศาเ ลเ ยี ส, oC)
เฉลี่ยสูงสุด 30 29.8 30.5 31.5 32.6 33.3 33.3 33.2 33.1 32.6 31.5 30.0 29.4 31.7
สูงสุด 30 32.4 34.3 35.2 37.3 38.6 37.1 37.0 37.3 35.9 38.5 34.0 33.4 38.6
เฉลี่ยตา้่ สุด 30 24.9 24.9 25.2 25.7 25.7 25.4 25.1 24.9 24.8 24.5 24.6 24.6 25.0
ตา้่ สุด 30 20.5 19.3 22.1 21.3 22.6 22.0 21.6 21.7 21.4 22.0 21.7 21.7 19.3
เฉล่ีย 30 27.1 27.5 28.1 28.9 28.9 28.7 28.4 28.3 28.0 27.4 27.0 26.8 27.9
ความชืน้ สัมพทั (%)
เฉลี่ย 30 78 77 78 77 77 76 76 76 78 82 84 82 78
เฉลี่ยสูงสุด 30 87 87 89 89 90 89 89 89 90 92 93 90 90
เฉลี่ยตา้่ สุด 30 69 67 67 65 63 60 60 59 62 68 74 73 66
ตา่้ สุด 30 49 32 48 35 38 34 39 35 39 42 48 54 32
จดุ นา้ ค้าง (องศาเ ลเ ยี ส, oC)
เฉลี่ย 30 22.7 22.8 23.6 24.3 24.3 23.8 23.4 23.3 23.4 23.7 23.9 23.3 23.5
ปริมาณการระเหยจากถาด (มม.)
รวม 30 143.2 154.7 175.5 168.9 155.4 139.7 143.9 148.6 136.1 125.2 103.7 113.5 1,708.4
เมฆปกคลุม (1-10)
เฉลี่ย 30 5.7 5.1 5.1 5.3 6.4 6.6 7.0 6.9 7.1 7.4 7.4 7.0 6.4
ชว่ั โมงทมี่ ีแสงแดด (ชม.)
เฉล่ีย 30 234.4 247.9 269.1 263.4 223.1 171.3 195.0 203.7 176.7 166.2 141.3 156.7 2,448.8
ทศั นวิสัย (กม.)
เฉล่ีย 30 9.7 10.1 10.2 10.4 10.5 10.1 9.9 10.0 10.1 9.6 9.1 9.1 9.9
07.00 L.S.T. 30 8.7 8.8 9.0 9.4 9.8 9.5 9.2 9.4 9.5 8.9 8.2 8.2 9.1
ความเร็วลม (นอต)
ทศิ ทางลม * 27 E E E NE SW SW SW SW W SW NE E -
ความเร็วเฉล่ีย 30 4.9 4.6 3.8 2.8 2.4 2.5 2.8 3.0 2.8 2.5 3.1 4.3 3.3
ความเร็วสูงสุด 30 28.0 26.0 34.0 33.0 37.0 29.0 38.0 40.0 37.0 34.0 32.0 29.0 40.0
ปริมาณฝน (มม.)
รวม 30 97.6 50.5 71.0 82.8 112.8 97.6 93.1 133.4 123.1 270.9 545.0 458.7 2,136.5
จา้ นวนวันทฝี่ นตก 30 10.6 6.0 7.7 8.9 13.1 13.3 12.9 15.0 15.2 20.0 23.2 20.9 166.8
รายวันสูงสุด 30 182.0 353.6 87.5 115.8 193.2 86.0 99.5 99.3 88.0 150.8 521.8 290.5 521.8
จา้ นวนวันทเ่ี กดิ (วัน)
หมอก 30 0.1 0.1 0.1 0.1 0.0 0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 0.1 0.2 1.2
เมฆ 30 1.3 1.4 1.8 2.6 1.2 2.5 3.9 2.2 1.0 1.1 0.3 1.7 21.0
ลูกเหบ็ 30 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
ฟา้ คะนอง 30 0.5 0.3 2.6 5.2 11.2 8.7 7.5 7.1 8.5 10.3 7.2 3.3 72.4
ลมพายุ 30 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
หมายเหตุ * : E หมายถึงทิศตะวันออก, NE หมายถงึ ทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ, SW หมายถึงทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต,้ W หมายถงึ ทิศตะวนั ตก
ทีม่ า : กรมอตุ ุนิยมวิทยา
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-9 รายงานการเรมิ่ งาน
บริษัท เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบอื้ งต้น อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะกว่ั บทที่ 2
อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพัทลงุ ขอ้ มูลพืน้ ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
องศาเ ลเ ียส 40 สงู สดุ เปอรเ ็นต (%) 95
35 90 เฉล่ีย
30 เฉลีย่ 85
25 80 เฉลีย่
ต่้าสดุ 75
20 70
15 65 เฉลยี่
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค. 60
อุณหภูมิ (องศาเซลเซยี ส, oC) 55
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ความชืนสัมพทั ธ์ (เปอร์เซน็ ต์, %)
เ คโตปาสคาล1,020 นอต 45
1,018 40 สงู สดุ
1,016 สูงสดุ 35
1,014 30
1,012 25
1,010 เฉลี่ย 20
1,008 15
1,006 10
1,004 ต่า้ สดุ 5 เฉล่ยี
1,002 0
1,000
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ความเร็วลม (น๊อต)
ความกดอากาศ (เฮคโตปาสคาล, Hecto Pascal)
600ิมลลิเมตร ิมลลิเมตร600
500
500 400
300
400 200
100
300
0
200 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
100 ปริมาณฝน (มิลลเิ มตร)
0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค.
ปริมาณการระเหยจากถาด (มิลลิเมตร)
ที่มา : กลุ่มบรษิ ทั ที่ปรกึ ษา, 2562
รูปที่ 2.2-5 การผันแปรรายเดือนเฉลี่ยของตัวแปรภูมอิ ากาศท่ีส้าคัญ ของสถานตี รวจอากาศสงขลา
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-10 รายงานการเริม่ งาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้อื งตน้ อา่ งเก็บน้าเหมืองตะก่วั บทท่ี 2
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พัทลงุ ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
ในภาพรวมข้อมูลภูมิอากาศจากทั้งสองสถานี มีค่าใกล้คียงกัน ยกเว้นค่าการระเหยที่สถานีตรวจ
อากาศสงขลา 1,708.4 มม./ปี ส่วนท่ีพัทลุง 1,258.4 มม./ปี ช่ัวโมงท่ีมีแสงแดดท่ีสถานีตรวจอากาศสงขลา
2,448.8 ชม./ปี ส่วนท่ีพัทลุง 2,197.0 ชม./ปี เนอ่ื งจากสถานีตรวจอากาศสงขลา ตั้งอยใู่ กล้ทะเลมากกว่า จึงท้าใหไ้ ดร้ ับ
อทิ ธพิ ลของลมและฝนมากกวา่ สถานตี รวจอากาศพัทลุง
แตเ่ น่ืองจากสถานตี รวจอากาศพัทลงุ ต้งั อยใู่ กล้พ้นื ท่ีโครงการมากกวา่ จงึ ถกู เลือกให้เปน็ ตวั แทน
ข้อมลู ภูมิอากาศของโครงการ โดยสรุปตัวแปรภูมอิ ากาศท่ีส้าคัญเฉพาะของสถานีตรวจอากาศพัทลุง ได้ดังน้ี
อุณหภูมิ จังหวัดพัทลุงอยู่ใกล้ทะเล ฤดูร้อนมีอากาศไม่ร้อนมากนัก ส่วนฤดูฝนจะมีอากาศเย็น
สบาย อุณหภูมิเฉล่ียตลอดปีประมาณ 27.7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 32.4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต้่าสุด
เฉล่ีย 24.4 องศาเซลเซียส เดือนท่ีมีอากาศร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน เคยตรวจอุณ หภูมิสูงที่สุดได้
39.4 องศาเซลเซียส และตรวจอณุ หภมู ิต้่าทีส่ ดุ ได้ 18.5 องศาเซลเซยี ส ในเดอื นกุมภาพนั ธ์
ความช้ืนสัมพัทธ์ มีความสัมพันธ์กับมวลอากาศและอิทธิพลของลมมรสุมเป็นส้าคัญ เนื่องจาก
ได้รับอิทธิพลจากมรสุมทั้งสองฤดู คือมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมท้ังสองชนิดนี้
ก่อนที่จะพัดเข้าสู่บริเวณจังหวัด ได้พัดผ่านทะเลและมหาสมุทรจึงได้พาเอาไอน้าและความชุ่มชื้นมาด้วย ท้าให้มี
ความช้ืนสัมพัทธส์ ูง ความชืน้ สัมพัทธเ์ ฉลี่ยตลอดปีประมาณ 82 % ความชื้นสัมพทั ธ์สูงสดุ เฉลีย่ 94 % ความช้ืนสมั พัทธ์
ต่า้ สดุ เฉลี่ย 66 % เคยตรวจความชนื้ สมั พทั ธ์ตา่้ ท่ีสุดได้ 34 % ในเดอื นสิงหาคม
ความกดอากาศ โดยมคี า่ เฉลย่ี ตลอดปปี ระมาณ 1,009.5 เฮคโตปาสคาล ความกดอากาศสูงสุดท่ี
เคยวัดได้ 1,019.3 เฮคโตปาสคาล ในเดือนมกราคม และเคยตรวจวัดความกดอากาศต้่าท่ีสุดได้ 1,001.6
เฮคโตปาสคาล ในเดือนพฤศจิกายน
ลม จังหวัดพัทลุงมีลมพัดผ่านประจ้าตลอดปีดังนี้ ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเมษายน เป็นลมทิศ
ตะวันออก ความเร็วเฉลี่ย 1.7–2.1 น๊อต เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมเป็นลมทิศตะวันตก ความเร็วลมเฉลี่ย
1.9–2.6 น๊อต ส่วนเดือนพฤศจิกายนเป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือและลมตะวันตก ความเร็วลมเฉล่ีย 1.4 น๊อต
ก้าลังลมสูงที่สุดเคยตรวจได้มีดังนี้ ฤดูร้อนเคยตรวจลมสูงที่สุดได้ 30 น๊อต เป็นลมทิศตะวันตก ในเดือนพฤษภาคม
ฤดฝู นเคยตรวจลมสูงท่ีสดุ ได้ 40 น๊อต เป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือและลมตะวันตก ในเดอื นพฤศจกิ ายน
ปริมาณการระเหยจากถาด มีค่าเฉล่ียต่อปีเท่ากับ 1,258.4 มิลลิเมตร โดยเดือนที่มีการระเหย
จากถาดมากที่สุดคือเดือนสิงหาคม เท่ากับ 125.2 มิลลิเมตร และเดือนท่ีมีการระเหยจากถาดน้อยท่ีสุดคือเดือน
ธันวาคม เทา่ กับ 68.8 มลิ ลิเมตร
ฝน พัทลุงจัดว่าเป็นจังหวัดที่มีฝนค่อนข้างดขี องภาคใต้ ในฤดมู รสุมตะวันออกเฉยี งเหนือจะมฝี น
ตกชุกมากกว่าในฤดูมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ เพราะอยู่ทางด้านตะวันออก ไม่มภี เู ขาสูงปิดก้ัน จงึ ไดร้ ับมรสมุ เต็มที่ ท้าให้
มีฝนตกชุกโดยเฉพาะระหว่างเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ส่วนในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีฝนน้อยกว่าฤดูมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือเพราะมีเทือกเขาตะนาวศรีปิดกั้นท้าให้ได้รับกระแสลมไม่เต็มที่ ฝนเฉล่ียประมาณ 2,156.6
มลิ ลิเมตรตอ่ ปี และมจี ้านวนวันที่ฝนตกต่อปี ประมาณ 157 วัน เดอื นที่มฝี นตกมากท่ีสุดคอื เดือนพฤศจกิ ายน มฝี นตก
เฉล่ียประมาณ 539.6 มิลลิเมตร และมีฝนตกประมาณ 22 วัน เคยวัดฝนสูงสุดใน 24 ช่ัวโมงได้ 312.8 มิลลิเมตร
ในเดือนกมุ ภาพันธ์
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-11 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเบื้องต้น อ่างเกบ็ น้าเหมืองตะกว่ั บทที่ 2
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลงุ ขอ้ มลู พนื้ ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
พายุหมุนเขตร้อน ท่ีพัดผ่านบริเวณภาคใต้และมีอิทธิพลกับจังหวัดพัทลุง ส่วนมากเป็นพายุ
ดีเปรสชั่น ซึ่งเกิดจากทะเลจีนใต้และมหาสมุทรแปซิฟิค ท้าให้มีฝนตกหนักและลมกรรโชกแรงเป็นคร้ังคราว บางคร้ัง
ท้าให้เกิดน้าท่วมได้ ก้าลังแรงของลมและคล่ืนในทะเลจะสร้างความเสียหายต่อเรือขนาดเล็ก พืชผลการเกษตร และ
อาคารบ้านเรือนท่ีอยู่ตามชายฝั่ง ส้าหรับสถิติในช่วงต้ังแต่ปี พ.ศ.2494 – 2556 ปรากฎว่ามีพายุหมุนเขตร้อนเคล่ือน
เข้าสู่จังหวัดพัทลุงจ้านวน 7 ลูก โดยพายุที่มีความรุนแรงและท้าความเสียหายให้แก่จังหวัดพัทลุงและภาคใต้เป็น
บริเวณกว้าง ได้แก่พายุโซนร้อน “แฮเรียต” ซึ่งก่อตัวในทะเลจีนใต้ใกล้ปลายแหลมญวน เม่ือวันท่ี 24 ตุลาคม 2505
แล้วเคล่ือนตัวเข้าสู่อ่าวไทยพร้อมทวีความรุนแรงข้ึนเป็นพายุโซนร้อน และได้เคลื่อนตัวผ่านจังหวัดนครศรีธรรมราช
สรุ าษฎร์ธานี และสงขลา ระหว่างวันที่ 25 – 26 ตุลาคม 2505 ลงสู่ทะเลอันดามัน พายุนี้ได้ท้าความเสียหายให้เกือบ
ทกุ จังหวัดในภาคใต้ โดยมีผู้เสียชีวิตถึง 935 คน และบาดเจ็บ 445 คน ทรัพย์สนิ ของทางราชการและราษฏรเสียหาย
คดิ เป็นมลู ค่าถึง 1,320 ล้านบาท นับเปน็ ความเสียหายจากภัยธรรมชาติทรี่ า้ ยแรงครั้งหนึ่งของประเทศไทย
การวิเคราะห์ปริมาณการคายระเหยของพืชอ้างอิง (Reference Crop Evapotranspiration)
โดยใช้วิธี Penman-Monteith เนื่องจากในปี ค.ศ.1990 ทาง American Society of Civil Engineers (ASCE) โดย
Jensen และคณะ ได้ท้าการศึกษาเปรียบเทียบจากวิธีการต่างๆ ถึง 20 วิธีด้วยกัน ภายใต้สภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกัน
และได้ผลสรุปว่าวิธีของ Penman-Monteith เป็นวิธีท่ีให้ผลการค้านวณใกล้เคียงกับค่าท่ีทดลองตรวจวัดได้ดีท่ีสุด
ไมว่ ่าจะอยู่ในสภาพอากาศช้ืน (Humid) หรือแห้งแลง้ (Arid) อกี ทง้ั ไดร้ วบรวมองคป์ ระกอบทีส่ ้าคัญท่ีมีผลต่อการใชน้ ้า
มาอยู่ในสูตร ได้แก่ ค่ารังสีแสงอาทิตย์ อุณหภูมิ ความช้ืนของอากาศ และความเร็วลม ซึ่งเป็นปัจจัยหลักท่ีท้าให้เกิด
การระเหยและการคายน้า ได้ผลการค้านวณ ดังตารางท่ี 2.2-3 โดยมีสมการการค้านวณ ดังนี้ (จากเอกสาร Crop
evapotranspiration - Guidelines for computing crop water requirements - FAO Irrigation and
drainage paper 56 , 1998)
โดย ETo = ปรมิ าณการคายระเหยของพืชอ้างอิง (mm/day)
Rn = ปรมิ าณรังสสี ุทธิท่ีบริเวณต้นพืช (MJ/m2/day)
G = Soil heat flux density (MJ/m2/day)
T = อณุ หภูมิ ท่ีความสงู 2 เมตรจากพ้ืนดนิ (oC)
U2 = ความเร็วลม ทีค่ วามสูง 2 เมตรจากพื้นดิน (m/sec)
= Slope vapour pressure curve (kPa/ oC)
= Psychrometric constant (kPa/ oC)
(es–ea) = ความต่างความดนั ไอน้าอิ่มตัวกับความดนั ไอน้าจริง (kPa)
900 = ตวั คูณแปลงหนว่ ย
ตารางที่ 2.2-3 ปริมาณการคายระเหยของพืชอา้ งอิง ในพนื้ ที่ศกึ ษาและบรเิ วณใกลเ้ คยี ง
หน่วย : มิลลิเมตร/เดอื น
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. .ค. รายปี
สถานตี รวจอากาศพัทลงุ
105.0 124.0 138.1 136.2 132.8 122.4 124.5 131.3 121.0 114.0 94.0 94.0 1,437.0
สถานีตรวจอากาศสงขลา
129.2 133.8 153.7 150.5 139.0 121.3 131.9 138.2 126.6 117.3 100.1 104.8 1,546.3
ที่มา : กลุม่ บริษทั ทป่ี รกึ ษา, 2562
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-12 รายงานการเรมิ่ งาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบอ้ื งตน้ อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกว่ั บทท่ี 2
อันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลุง ข้อมลู พ้นื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
(2) ปริมาณน้าฝน
กลุ่มบริษัทที่ปรึกษาได้ท้าการรวบรวมข้อมูลฝนที่อยู่ในพ้ืนท่ีศึกษาและบริเวณใกล้เคียงจาก
หน่วยงานต่างๆ และท้าการคัดเลือกสถานีที่มีช่วงสถิติข้อมูลและต้าแหน่งที่ต้ังที่เหมาะสม ซ่ึงจากการรวบรวมพบว่า
มีสถานีวัดปริมาณฝน 14 สถานี รายละเอียดชื่อสถานี ต้าแหน่งท่ีต้ัง รหัสสถานี ช่วงสถิติข้อมูล และปริมาณฝนราย
ปีเฉล่ยี แสดงในตารางที่ 2.2-4 และมตี ้าแหน่งทต่ี ั้งของสถานฝี น ดังแสดงในรูปท่ี 2.2-6
ตารางที่ 2.2-4 ขอ้ มลู สถานวี ดั น้าฝนท่ีได้ทา้ การคัดเลือก ในพน้ื ทศี่ กึ ษาและบรเิ วณใกล้เคียง
ล้าดบั ท่ี ชอ่ื สถานี พิกัดต้าแหน่งที่ตงั ชว่ งสถิติขอ้ มลู ปริมาณฝนรายปีเฉล่ยี (มม.)
อา้ เภอ จังหวัด รหัสสถานี
ละติจูด ลองตจิ ูด
1 ปากพยูน ปากพยูน พัทลุง 350022 7.35 100.33 1972-2012 1,659.20
1957-1982,1984-2013 2,030.30
2 เขาชัยสน เขาชัยสน พัทลุง 350022 7.46 100.14 2,161.40
1958-2014 2,490.40
3 บา้ นนาทอ่ ม (X.24) เมืองพัทลุง พัทลุง 350061 7.61 100.07 2002-2008 2,241.20
1963-2009 2,132.90
4 คลองทา่ เชียด เขาชัยสน พัทลุง 350081 7.45 100.13 1984,1986-2015 2,919.50
1990,1992-2004,2008-2015 2,418.10
5 โครงการนาทอ่ ม เมืองพัทลุง พัทลุง 350100 7.59 100.01 1990-2015 2,464.60
1992-2015 2,785.70
6 สถานเี กษตรพัทลุง เมอื งพัทลุง พัทลุง 350153 7.70 100.20 1994-1995,1998,2012-2015 2,560.90
1994-2015 2,023.30
7 หนว่ ยพิทกั ษ์ปา่ บา้ นโตน ตะโหมด พัทลุง 350184 7.55 99.93 1994-2001,2005-2015 2,161.30
1994-2005,2008-2015 2,613.00
8 หนว่ ยพิทกั ษ์ปา่ บา้ นตะโหมด ตะโหมด พัทลุง 350204 7.31 100.01 1970-2016
9 เขตรักษาพันธ์สัตว์ปา่ เขาบรรทดั เมอื งพัทลุง พัทลุง 350214 7.45 99.92
10 หนว่ ยพิทกั ษ์ปา่ บา้ นพูด กงหรา พัทลุง 350224 7.36 99.96
11 กงหรา กงหรา พัทลุง 350242 7.40 99.95
12 ปา่ บอน ปา่ บอน พัทลุง 350262 7.27 100.17
13 บางแก้ว บางแก้ว พัทลุง 350292 7.43 100.18
14 ฝายทา่ เชียด บางแก้ว พัทลุง ฝายทา่ เชียด 7.36 100.11
ท่มี า : กรมชลประทาน และกรมอตุ ุนิยมวิทยา
ท้าการสร้างแผนที่เส้นชั้นน้าฝนรายปีเฉลี่ย จากข้อมูลของสถานีวัดน้าฝนต่างๆ เพ่ือให้ทราบถึง
การผันแปรของปริมาณฝนในพ้ืนที่ศึกษา ดังแสดงในรูปท่ี 2.2-7 และท้าการสร้างโครงข่ายรูปเหลี่ยมธีเอสเสนของ
สถานีวดั น้าฝนดังกลา่ ว เพื่อใหท้ ราบถึงขอบเขตอทิ ธพิ ลของสถานีฝนแต่ละสถานี ดังแสดงในรปู ท่ี 2.2-8
จากผลการศึกษาดังกล่าว พบว่าปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยจะผันแปรจาก 1,600 มม. ทางด้านทิศ
ตะวันออกของพื้นท่ีศึกษา โดยมีปริมาณฝนน้อยที่สุดที่บริเวณอ้าเภอปากพะยูน มีปริมาณฝนรายปีเฉล่ีย 1,659 มม.
แลว้ ปริมาณฝนจะเพิม่ ขน้ึ จนถึง 2,900 มม. ไปทางดา้ นทิศตะวนั ตกของพ้ืนท่ีศกึ ษา โดยมปี รมิ าณฝนมากท่ีสุดท่ีบริเวณ
หน่วยพิทักษ์ป่าบ้านโตน อ้าเภอตะโหมด (350184) มีปริมาณฝนรายปีเฉล่ีย 2,920. มม. ส่วนบริเวณพ้ืนท่ีของ
โครงการ จะมีปรมิ าณฝนรายปเี ฉลีย่ ประมาณ 2,100-2,400 มม.
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-13 รายงานการเร่ิมงาน
บริษัท เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบ้อื งต้น อา่ งเก็บน้าเหมืองตะกัว่ บทท่ี 2
อันเนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลงุ ข้อมูลพน้ื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
ทีม่ า : กลมุ่ บริษทั ทีป่ รึกษา, 2562
รปู ที่ 2.2-6 ต้าแหนง่ ที่ตงั้ ของสถานวี ดั น้าฝนทไ่ี ด้ท้าการคัดเลอื ก ในพนื้ ที่ศกึ ษาและบรเิ วณใกล้เคียง
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-14 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษัท เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้ืองตน้ อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะกว่ั บทท่ี 2
อันเน่อื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลงุ ข้อมูลพนื้ ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
ทม่ี า : กลมุ่ บรษิ ัทท่ีปรึกษา, 2562
รปู ที่ 2.2-7 แผนที่เส้นชนั้ น้าฝนรายปีเฉลี่ย ในพื้นท่ศี ึกษาและบรเิ วณใกล้เคยี ง
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-15 รายงานการเริ่มงาน
บริษทั เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบื้องตน้ อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะก่ัว บทท่ี 2
อันเนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลงุ ข้อมูลพน้ื ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
ทมี่ า : กลุม่ บรษิ ัททปี่ รกึ ษา, 2562
รปู ที่ 2.2-8 โครงข่ายรปู เหลี่ยม ีเอสเสน ในพนื้ ท่ศี กึ ษาและบริเวณใกล้เคียง
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กดั 2-16 รายงานการเร่มิ งาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบือ้ งตน้ อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกัว่ บทที่ 2
อันเนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลุง ขอ้ มูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
(3) ปริมาณน้าท่า
ทา้ การรวบรวมข้อมูลน้าท่าท่ีอยู่ในพ้ืนที่ศึกษาและบริเวณใกล้เคียง จากหน่วยงานต่างๆ ซ่ึงจาก
การรวบรวมข้อมูลพบว่า มีสถานีวัดปริมาณน้าท่า 21 สถานี รายละเอียดชื่อสถานี รหัสสถานี และต้าแหน่งที่ต้ัง
แสดงในตารางที่ 2.2-5 และมีต้าแหน่งที่ตั้งของสถานีน้าท่า ดังแสดงในรูปที่ 2.2-9 โดยข้อมูลที่ท้าการรวบรวม
ประกอบด้วย ขอ้ มลู ปรมิ าณนา้ ท่ารายวัน รายเดือน และสูงสุดรายปี ที่มชี ว่ งสถติ ิขอ้ มลู ตง้ั แต่เรมิ่ มกี ารจดบันทึกจนถงึ ปัจจบุ นั
วเิ คราะห์ความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าณน้าท่ารายปีเฉลี่ยและพ้นื ที่รับนา้ ฝน โดยการวิเคราะห์การ
ถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression Analysis) ในเบ้ืองต้นใช้ข้อมูลจากทุกสถานีน้ามาวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ดงั แสดงในรูปท่ี 2.2-10 จะไดส้ มการถดถอย (Regression Equation) ในรูปแบบเลขยกกา้ ลัง ดงั นี้
Qm = 5.9972 A 0.6279 ; R2 = 0.7825
เมือ่ Qm = ปริมาณน้าทา่ รายปเี ฉล่ีย (ล้าน ลบ.ม./ป)ี
A = พื้นทร่ี บั น้าฝน (ตร.กม.)
R2 = สมั ประสิทธ์กิ ารตัดสินใจ (Coefficient of Determination)
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากดั 2-17 รายงานการเริม่ งาน
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั ตารางที่ 2.2-5 สถานวี ัดนา้ ทา่ ตา้ แหนง่ ที่ตง้ั และปริมาณน้าทา่ รายปีเฉลย่ี ในพ้ืนท่ีศึกษาและบริเวณใกล้เคยี ง
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั
ล้าดับที่ ช่ือสถานี ล้านา้ อา้ เภอ จงั หวดั พกิ ดั ต้าแหนง่ ทีต่ ัง รหสั สถานี พืนทร่ี บั นา้ ช่วงสถติ ิ จา้ นวนปี ปริมาณนา้ ทา่ รายปี ปริมาณนา้ ทา่ ต่อพนื ท่ี
Lat long ข้อมูลรายเดือน ท่ขี ้อมูลครบ (ล้าน ลบ.ม.) (ลิตร/วนิ าท/ี ตร.กม.)
1 คลองอู่ตะเภา บา้ นหาดใหญ่ใน คลองอตู่ ะเภา หาดใหญ่ สงขลา 7.00 100.46 X.44 1,719.95 2510-2558 815.14 โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้ืองตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะก่ัว
รัตภมู ิ สงขลา 7.13 100.28 2510-2558 41 188.02 15.03 อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลงุ
2 คลองรัตภูมิ บา้ นนาสที อง คลองรตั ภมู ิ เมือง พทั ลงุ 7.57 100.05 X.67 , X.67 A 248.75 2510-2559 46 141.76 23.97
หาดใหญ่ สงขลา 6.98 100.34 2510-2559 49 99.36 14.87
3 คลองทา่ แค บา้ นทา่ แค คลองทา่ แค คลองหอยโขง่ สงขลา 6.93 100.44 X.68 302.27 2514-2559 43 781.55 21.29
ตะโหมด พทั ลงุ 7.34 100.06 2522-2559 45 200.53 16.02
4 คลองตา่ บา้ นควนลงั คลองอตู่ ะเภา สะเดา สงขลา 6.66 100.44 X.71 , X.71 B 148 2522-2551 36 118.52 48.56
สะเดา สงขลา 6.70 100.44 2522-2559 30 212.46 14.68
5 คลองอ่ตู ะเภา บา้ นบางศาลา คลองอตู่ ะเภา สะเดา สงขลา 6.63 100.40 X.90 1,546.82 2522-2559 27 60.22 13.67
บางแกว้ พทั ลงุ 7.39 100.11 2526-2547 38 321.36 16.12
6 คลองบางแกว้ บา้ นบางแกว้ คลองทา่ มะเดอื ศรีนครินทร์ พทั ลงุ 7.56 99.99 X.109 130.96 2532-2559 22 390.12 30.69
สะเดา สงขลา 6.78 100.43 2533-2559 28 496.28 48
7 คลองสะเดา บ้านไพร คลองลา่ หาดใหญ่ สงขลา 7.00 100.48 X.111 256 2533-2559 25 132.72 14.79
ป่าบอน พทั ลงุ 7.03 100.10 2550-2559 14 26.53 36.31
8 คลองอู่ตะเภา บา้ นปรกิ คลองอตู่ ะเภา ตะโหมด พทั ลงุ 7.33 100.08 X.112 493 2550-2559 9 185 22.14
สรีบรรพต พทั ลงุ 7.70 99.83 2552-2559 10 88.74 19.89
9 คลองเหลา้ ปงั บ้านทงุ่ ปราบ คลองอู่ตะเภา หาดใหญ่ สงขลา 6.94 100.23 X.113 118.45 2523-2557 8 26.42 59.24
ศรีนครนิ ทร์ พทั ลงุ 7.50 99.91 2526-2557 34 77.14 59.85
10 คลองทา่ มะเดอื บา้ นคลองอา้ ยโต ทะเลหลวง กงหรา พทั ลงุ 7.39 99.94 X.129 332 2528-2557 31 62.89 97.84
เมือง พทั ลงุ 7.63 100.14 2542-2557 29 123.26 110.17
2-18 11 คลองลา่ บา้ นคลองล่า คลองทา่ แค บางแกว้ พทั ลงุ 7.36 100.11 X.170 257.7 2527-2559 15 365.75 12.86
33 37.63
12 คลองอู่ตะเภา บา้ นม่วงกอ็ ง คลองอู่ตะเภา X.173 , X.173 A 1,063.90
13 คลองหวะ บา้ นคลองหวะ คลองอู่ตะเภา X.174 115.91
14 คลองป่าบอน บา้ นโหละ๊ หาร คลองรัตภมู ิ X.266 38
15 คลองตะโหมด บา้ นแม่ขรี คลองทา่ มะเดอื X.267 295
16 คลองทา่ แนะ (บน) บ้านเขาปู่ คลองทา่ แนะ X.266 47.5
17 คลองวาด น่าตกโตนงาชา้ ง คลองตา่ 230102 14 บทที่ 2
ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
18 คลองลา่ สนิ ธิ์ บ้านโตน คลองทา่ แค 230301 25
19 คลองนาบอน บ้านทุ่งโพธ์ิ คลองใหญ่ 230301 18.1
20 คลองนา่ เชียว บ้านหัวควน คลองทา่ แค 230301 304
21 คลองทา่ เชยี ด ฝายทา่ เชยี ด คลองทา่ เชยี ด ฝายทา่ เชยี ด 308.19
รายงานการเร่มิ งาน ทีม่ า : กรมชลประทาน และกรมทรพั ยากรน่า
(Inception Report) หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ : กรมชลประทาน
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบอ้ื งต้น อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกว่ั บทท่ี 2
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพัทลงุ ขอ้ มูลพื้นฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
ท่ีมา : กลมุ่ บรษิ ัททป่ี รึกษา, 2562
รปู ท่ี 2.2-9 ต้าแหน่งทีต่ ั้งของสถานวี ัดนา้ ท่า ในพนื้ ทีศ่ ึกษาและบรเิ วณใกลเ้ คยี ง
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-19 รายงานการเร่มิ งาน
บริษทั เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้ืองต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกัว่ บทที่ 2
อันเนอ่ื งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พทั ลุง ขอ้ มูลพ้ืนฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
1,000 X.90 X.44
X.173A
100 X.276
ป ิรมาณ ้นาท่ารายปีเฉ ่ลีย ( ้ลาน ลบ.ม./ ีป) X.170 ฝายท่าเชียด
230301
230302 X.129
X.112
X.109 X.67A X.267
X.174 X.111 X.68
230303
X.71
X.113
X.266
230102 Qm = 5.9972 A0.6279
R² = 0.7825
10 100 1,000
10 10,000
พืน้ ท่รี บั นา้ ฝน (ตร.กม.)
ท่มี า : กล่มุ บรษิ ทั ท่ปี รึกษา, 2562
รูปที่ 2.2-10 กราฟความสัมพัน ระหวา่ งปริมาณนา้ ท่ารายปเี ฉลีย่ และพ้ืนทร่ี ับนา้
ของสถานวี ัดน้าทา่ ในพ้นื ที่โครงการและบริเวณใกล้เคยี ง
(4) ปริมาณน้านองสูงสุด
ท้าการรวบรวมข้อมูลปริมาณน้านองสูงสุดรายปี ของสถานีวัดน้าในพื้นที่ศึกษาและบริเวณ
ใกล้เคียง จากหน่วยงานต่างๆ ซ่ึงจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า มีสถานีวัดปริมาณน้านองสูงสุด 14 สถานี ท่ีมีข้อมูล
เพียงพอท่ีสามารถน้ามาใช้ในการศึกษาได้ รายละเอียดช่ือสถานี รหัสสถานี และต้าแหน่งท่ีตั้ง แสดงใน
ตารางท่ี 2.2-6 แล้วท้าการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้านองสูงสุดรายปีเฉลี่ยและพ้ืนที่รับน้าฝน โดยการ
วเิ คราะหก์ ารถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression Analysis) ดงั แสดงในรปู ที่ 2.2-11 จะได้สมการถดถอย (Regression
Equation) ในรูปแบบเลขยกกา้ ลัง ดงั นี้
QF = 9.2176 A 0.489 ; R2 = 0.7099
เม่ือ QF = ปรมิ าณนา้ นองสงู สดุ รายปเี ฉล่ยี (ลบ.ม./วินาท)ี
A = พื้นท่รี ับน้าฝน (ตร.กม.)
R2 = สัมประสทิ ธ์ิการตดั สนิ ใจ (Coefficient of Determination)
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-20 รายงานการเริม่ งาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั ตารางท่ี 2.2-6 สถานีวดั น้า ตา้ แหน่งท่ีตง้ั และปรมิ าณนา้ นองสูงสดุ รายปีเฉล่ยี ในพื้นท่ีศึกษาและบริเวณใกลเ้ คยี ง
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั
ล้าดับ ช่ือสถานี ล้าน้า อ้าเภอ จังหวดั หน่วยงาน รหัส พืนท่ีรับน้า ชว่ งสถิติ ปริมาณน้านองสูงสุดรายปี (ลบ.ม./วนิ าที) Yield (ลบ.ม./ โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้ืองตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะก่ัว
ท่ี ท่ีรับผดิ ชอบ สถานี (ตร.กม.) ขอ้ มลู รายเดอื น เฉล่ีย สูงสุด ตา่้ สุด วนิ าที/ตร.กม.) อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลงุ
1 คลองอตู่ ะเภา บ้านหาดใหญ่ใน คลองอตู่ ะเภา หาดใหญ่ สงขลา RID X.44 1,720.0 2510-2558 325.72 894.00 79.00 0.19
2 คลองรัตภมู ิ บ้านนาสที อง คลองรัตภมู ิ รัตภมู ิ สงขลา RID X.67, X.67A 248.8 2510-2558 100.09 254.50 22.13 0.40
3 คลองต่า บ้านควนลงั คลองอตู่ ะเภา หาดใหญ่ สงขลา RID X.71, X.71B 148.0 2510-2559 118.54 552.00 8.00 0.80
4 คลองอตู่ ะเภา บ้านบางศาลา คลองอตู่ ะเภา คลองหอยโขง่ สงขลา RID X.90 1,546.8 2514-2559 395.19 2,390.75 69.64 0.26
5 คลองบางแกว้ บ้านบางแกว้ คลองท่ามะเดือ ตะโหมด พทั ลงุ RID X.109 131.0 2522-2559 183.85 747.00 55.50 1.40
6 คลองอตู่ ะเภา บ้านปริก คลองอตู่ ะเภา สะเดา สงขลา RID X.112 493.0 2522-2559 117.99 309.00 11.00 0.24
7 คลองหลา้ ปัง บ้านทุ่งปราบ คลองอตู่ ะเภา สะเดา สงขลา RID X.113 118.5 2522-2559 83.36 302.40 16.32 0.70
8 คลองท่ามะเดือ บ้านคลองอา้ ยโต ทะเลหลวง บางแกว้ พทั ลงุ RID X.129 332.0 2526-2547 179.88 263.90 78.98 0.54
9 คลองอตู่ ะเภา บ้านม่วงกอ็ ง คลองอตู่ ะเภา สะเดา สงขลา RID X.173, X.173A 1,063.9 2533-2559 244.50 1,056.00 37.02 0.23
2-21 10 คลองหวะ บ้านคลองหวะ คลองอตู่ ะเภา หาดใหญ่ สงขลา RID X.174 115.9 2533-2559 173.97 425.00 17.49 1.50
11 คลองตะโหมด บ้านแม่ขรี คลองท่ามะเดือ ตะโหมด พัทลงุ RID X.267 295.0 2550-2559 100.11 172.40 41.34 0.34
12 คลองท่าแนะ (บน) บ้านเขาปู่ คลองท่าแนะ ศรีบรรพต พัทลงุ RID X.276 47.5 2552-2559 121.69 276.50 30.93 2.56
13 คลองวาด นา่ ตกโตนงาชา้ ง คลองต่า หาดใหญ่ สงขลา DWR 230102 14.0 2523-2557 13.47 75.13 2.60 0.96
14 ห้วยล่าสนิ ธิ์ บ้านโตน คลองท่าแค ศรีนครินทร์ พทั ลงุ DWR 230301 25.0 2526-2557 49.89 98.01 11.25 2.00
ทมี า : กรมชลประทาน และกรมทรพั ยากรนา่ (RID หมายถึง กรมชลประทาน DWR หมายถึง กรมทรพั ยากรน่า) บทที่ 2
ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
รายงานการเร่มิ งาน
(Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบื้องต้น อ่างเก็บน้าเหมอื งตะก่ัว บทท่ี 2
อนั เน่ืองมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พัทลุง ขอ้ มลู พื้นฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
1,000
ป ิรมาณน้านองสูงสุดรายปีเฉลี่ย (ลบ.ม./วินาที) X.90
X.44
X.174 X.109 X.129 X.173A
X.276 X.71B X.267 X.112
X.67A
100 X.113
230301
230102 100 1,000 QF = 9.2176 A 0.489
R² = 0.7099
10 พื้นทีร่ ับนา้ ฝน (ตร.กม.)
10 10,000
ที่มา : กลมุ่ บริษทั ท่ปี รึกษา, 2562
รูปท่ี 2.2-11 กราฟความสมั พัน ระหว่างปริมาณน้านองสงู สดุ รายปีเฉล่ียและพื้นท่ีรับนา้
ของสถานีวดั นา้ ในพนื้ ที่โครงการและบริเวณใกล้เคยี ง
(5) ปริมาณตะกอน
ท้าการรวบรวมข้อมูลปริมาณตะกอนแขวนลอยรายเดือนจากสถานีตรวจวัดตะกอนที่ตั้งอยู่ใน
พื้นที่โครงการ และพ้นื ท่ใี กลเ้ คียง โดยรายชื่อสถานวี ดั ตะกอนและสถติ ปิ ริมาณตะกอนแขวนลอยรายปเี ฉลย่ี แสดงไว้ใน
ตารางท่ี 2.2-7 โดยที่ตั้งสถานแี สดงไว้แล้วในรปู ที่ 2.2-12 ซ่ึงพบว่าปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลยี่ ต่อพื้นที่ลุ่มน้า มี
ค่าเฉล่ีย 192 ตัน/ปี/ตร.กม. โดยที่สถานีในคลองรัตภูมิ ที่บ้านนาสีทอง (X.67A) มีค่าสูงสุดเท่ากับ 329
ตนั /ปี/ตร.กม. และทสี่ ถานใี นคลองหล้าปงั ท่บี ้านทุง่ ปราบ (X.113) มคี ่าต่า้ สดุ เท่ากบั 91 ตนั /ปี/ตร.กม.
จากสถานวี ดั ตะกอนดงั กล่าวข้างต้น นา้ มาวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหวา่ งปริมาณตะกอนแขวนลอย
รายปีเฉล่ียและพ้ืนที่รับน้าฝน โดยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression Analysis) ดังแสดงกราฟ
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉล่ียและพ้ืนที่รับน้าฝน ของสถานีวัดตะกอนในบริเวณพื้นท่ี
โครงการ และพนื้ ท่ีใกลเ้ คยี ง และไดส้ มการถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression) ของความสมั พนั ธด์ งั น้ี
QS = 247.04 A 0.9333 (R2 = 0.8988)
เมือ่ QS คอื ปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉล่ีย, ตัน
A คอื พ้ืนที่รบั น้าฝน, ตร.กม.
R2 คือ สมั ประสิทธิก์ ารตัดสินใจ (Coefficient of Determination)
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-22 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษทั เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั ตารางที่ 2.2-7 รายชอ่ื สถานีวัดตะกอนและสถติ ปิ ริมาณตะกอนแขวนลอยรายปเี ฉลีย่ ในพ้ืนทีโ่ ครงการและบรเิ วณใกลเ้ คียง
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั
ล้าดับ ชอื่ สถานี ล้าน้า อ้าเภอ จังหวดั หน่วยงาน รหัส พนื ที่รับน้า ชว่ งสถิติ ตะกอนแขวนลอย ตะกอนแขวนลอยต่อพนื ท่ี โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้ืองตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะก่ัว
ท่ี ท่ีรับผดิ ชอบ สถานี (ตร.กม.) ขอ้ มลู รายเดือน รายปเี ฉล่ีย (ตนั ) (ตัน/ปี/ตร.กม.) อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลงุ
1 คลองรัตภมู ิ บ้านนาสที อง คลองรัตภมู ิ รัตภมู ิ สงขลา RID X.67 A 248.75 2551 - 2557 81,951 329
2 คลองอตู่ ะเภา บ้านบางศาลา คลองอตู่ ะเภา คลองหอยโขง่ สงขลา RID X.90 1,546.82 2526 - 2557 176,703 114
3 คลองหลา้ ปัง บ้านทุ่งปราบ คลองอตู่ ะเภา สะเดา สงขลา RID X.113 118.45 2524 - 2557 10,792 91
4 คลองล่า บ้านคลองลา่ คลองท่าแค ศรีนครินทร์ พทั ลงุ RID X.170 257.70 2548 - 2556 54,444 211
5 คลองหวะ บ้านคลองหวะ คลองอตู่ ะเภา หาดใหญ่ สงขลา RID X.174 115.91 2546 - 2555 25,761 222
6 คลองวาด บ้านหูแร่ คลองอตู่ ะเภา หาดใหญ่ สงขลา RID X.240 127.42 2547 - 2555 33,617 264
7 คลองตะโหมด บ้านแมข่ รี คลองท่ามะเดือ ตะโหมด พัทลงุ RID X.267 295.00 2550 - 2557 35,626 121
8 ห้วยล่าสนิ ธ์ิ บ้านโตน คลองท่าแค ศรีนครินทร์ พทั ลงุ DWR 230301 25.00 2526 - 2555 5,413 217
2-23 9 คลองนาบอน บ้านทุ่งโพธ์ิ คลองใหญ่ กงหรา พทั ลงุ DWR 230302 18.10 2528 - 2555 2,852 158
ทมี า : กรมชลประทาน และกรมทรพั ยากรนา่ RID หมายถึง กรมชลประทาน DWR หมายถึง กรมทรพั ยากรน่า
รายงานการเร่มิ งาน บทที่ 2
(Inception Report) ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
โครงการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบือ้ งตน้ อา่ งเกบ็ นา้ เหมอื งตะก่วั บทท่ี 2
อันเนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลงุ ข้อมลู พ้นื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
1,000,000
ปริมาณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ย ( ัตน/ ีป) X.90
100,000 X.67A
X.170
X.240
X.174 X.267
10,000 230301 X.113
230302 QS = 247.04 A0.9333
1,000 R² = 0.8988
10 100 1,000 10,000
พ้นื ท่ีรับน้าฝน (ตร.กม.)
ทมี่ า : กลุ่มบรษิ ทั ทปี่ รกึ ษา, 2562
รปู ท่ี 2.2-12 กราฟความสัมพัน ระหวา่ งปรมิ าณตะกอนแขวนลอยรายปีเฉลี่ยและพื้นท่ีรบั น้าฝน
ของสถานีวดั ตะกอนในพ้นื ท่ีโครงการและบรเิ วณใกล้เคยี ง
2.2.4 โครงการพัฒนาแหล่งนา้
โครงการพัฒนาแหล่งนา้ ของกรมชลประทานที่ได้ดา้ เนินการในพื้นที่ลุม่ น้าทะเลหลวง ซ่ึงเปน็ ขนาดกลางข้ึนไป
มีจ้านวน 5 แห่ง ได้แก่ โครงการอ่างเก็บน้าคลองบางคราม, โครงการอ่างเก็บน้าโหล๊ะจังกระ, โครงการอ่างเก็บน้า
คลองหัวช้าง, โครงการอ่างเก็บน้าป่าบอน และโครงการอ่างเก็บน้าโคกไทร แสดงต้าแหน่งของโครงการดังไว้รูปท่ี 2.2-13
สามารถเก็บกักน้าได้ความจรุ วม ประมาณ 87.45 ล้าน ลบ.ม. ดังนี้
ลา้ ดบั ที่ ช่ือเขื่อน ความจกุ กั เกบ็ ปริมาณนา้ ไหลเข้าอา่ งเฉลย่ี UTM (GIS) Zone
(ลา้ น ลบ.ม.) (ลา้ น ลบ.ม./ป)ี EN
1 โครงการอา่ งเกบ็ น่าโคกไทร อันเนอื งมาจากพระราชด่าริ (ศกั ยภาพ) - 605221.53 815376.44 47
2 โครงการอ่างเกบ็ น่าโหละ๊ จังกะ (ศกั ยภาพ) 0.112 30.25 607309.31 809805.08 47
3 โครงการอา่ งเก็บน่าคลองหัวชา้ งอันเนอื งมาจากพระราชดา่ ริ (ศกั ยภาพ) 25 36.63 612282.00 808200.00 47
4 โครงการอา่ งเกบ็ น่าคลองบางคราม (ศกั ยภาพ) 30.339 19.44 615803.44 799045.41 47
5 โครงการอ่างเก็บน่าป่าบอนอนั เนอื งมาจากพระราชดา่ ริ (ศกั ยภาพ) 12 33.18 620000.00 792400.00 47
20
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากดั 2-24 รายงานการเริ่มงาน
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบ้ืองตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะกัว่ บทที่ 2
อันเนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พัทลุง ข้อมลู พน้ื ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
1
2
3
4
5
ท่ีมา : กล่มุ บรษิ ัททป่ี รึกษา, 2562
รปู ท่ี 2.2-13 โครงการพฒั นาแหลง่ นา้ ในปจั จุบนั ของพ้นื ทลี่ ุ่มน้าทะเลหลวง
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากดั 2-25 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษทั เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบ้อื งต้น อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะกวั่ บทท่ี 2
อันเน่อื งมาจากพระราชด้าริ จงั หวัดพทั ลุง ข้อมูลพ้นื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
2.2.5 สภาพ รณวี ทิ ยา/แผน่ ดินไหว
ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปของจังหวัดพัทลุงเป็นเทือกเขาสูงทางด้านบริเวณตะวันตกตอนกลางและด้าน
ตะวันออกของจังหวัด เป็นท่ีราบลมุ่ แม่น้าและท่ีราบระหว่างหุบเขา บรเิ วณแนวรอยต่อระหว่างเทือกเขาดา้ นตะวันตก
กับท่ีราบตอนกลางเป็นท่ีเนินและท่ีราบลอนลาด และมีที่ราบชายฝ่ังทะเลเป็นแนวแคบๆ ขนานกับทะเลทางด้าน
ตะวันออกของจังหวัด พ้ืนท่ีจังหวัดพัทลุงรองรับด้วยหินแข็งอายุตั้งแต่ 570 ล้านปี มีทั้งหินตะกอน หินแปร และ
ตะกอนรวนแสดงในรปู ท่ี 2.2-14
1. ลา้ ดบั ชั้นหิน
พื้นที่จังหวัดพัทลุงร้อยละ 75 รองรับด้วย หินตะกอน หินแปร และตะกอนร่วน สามารถจ้าแนกย่อย
เปน็ หินตะกอนและหินแปร 9 หน่วย และตะกอนรวน 7 หน่วย
หินตะกอน เกิดจากการสะสมและตกตะกอนทั บถมของเศษหิน ดิน ทราย ที่แต กหลุดหรือ
ถกู ชะล้าง ละลายออกมาจากหินเดมิ โดยตัวการตามธรรมชาติ เชน่ นา้ ลม ธารน้าแข็ง น้าทะเล พัดพาตะกอนไปทบั ถม
ในแอ่งสะสมตัวตะกอน ท่ีสะสมตัวมากขึ้นมีการกดทับอัดตัวกันแน่น การเช่ือมประสานและกลายเป็นหินในท่ีสุด
หนิ ตะกอนบางประเภทเกิดจากการตกตะกอนโดยมปี ฏิกริ ิยาทางเคมี เชน่ หนิ ปูน หินโดโลไมต์
หินแปร เป็นหินท่ีเกิดจากการแปรสภาพของหินเดิม ซ่ึงเป็นได้ทั้งหินตะกอน หินอัคนี และหินแปร
ภายใต้อิทธิพลของความร้อนหรือความดัน หรือทั้งสองอย่าง กระบวนการแปรสภาพอาจท้าให้เกิดการเรียงตัวของ
เมด็ แรห่ รอื เกดิ แร่ใหมข่ น้ึ
ลา้ ดบั ช้ันหินที่พบในจงั หวัดพทั ลงุ เรียงอายุจากแก่ไปอ่อน ได้ดังนี้
1) หนิ ยุคแคมเบรยี น (ε)
กลุ่มหินตะรุเตา เป็นช่ือที่ใช้เรียกหินยุคแคมเบรียน (อายุประมาณ 570-505 ล้านปี) ทางภาคใต้ของประเทศ
ประกอบ ด้วย หินทราย และหินควอร์ตไซต์สีขาว สีเทาอ่อน เม็ดละเอียดแสดงลักษณะเป็นชั้นหนาถึงบาง
มีการวางช้ันเรียงระดับ และแถบชั้นบาง พบกระจายตัวอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด บริเวณที่ติดต่อกับ
จังหวัดสตูลและตรงั
2) หินยคุ ออรโดวเิ ชยี น (O)
กลุ่มหินทุ่งสง ใช้เรยี กหินปูนยุคออรโ์ ดวิเชียน (อายุประมาณ 505-438 ล้านปี) ซ่ึงมลี ักษณะคล้ายคลึงกัน
ทั้งประเทศ ประกอบด้วย หินปูน สีเทา ผลึกละเอียดถึงหยาบ ชั้นบางถึงไม่แสดงช้ัน มีเนื้อดินชั้นบางๆ แทรก
พบซากดึกดา้ บรรพจ์ ้าพวกแกสโตรพอดและแบรคโิ อพอด
หินปูนมีส่วน ประกอบทางเคมีเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) มีประโยชน์สามารถใช้
เป็นวัตถุดิบท้ังในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์และอุตสาหกรรมเคมีนอกจากน้ียังสามารถใช้เป็นวัสดุก่อสร้างได้ดีหินปูนมี
คุณสมบัติสามารถละลายน้าได้ในน้าที่มีสภาพเป็นกรดอ่อนๆ ดังน้ันจึงมักพบถ้าท่ีมีหินงอกหินย้อยอยู่ในภูเขาหินปูน
หินปูนที่อยูใกล้หินแกรนิตจะแปรสภาพกลายเป็นหินอ่อน สามารถน้ามาใช้เป็นหินประดับได้ ส่วนดินที่ผุพังมาจาก
หนิ ปูนมักมีสีส้มแดงที่เรียกว่าดินแดงหรือดนิ แทร์รารอสซ่า (Terra rosa) มีแร่ธาตุที่จ้าเป็นต่อพืชอยูหลายชนิด ดังนั้น
พื้นที่ราบที่อยู่ใกล้หินปูนจึงเป็นแหล่งเพาะปลูกได้ดีแม้ว่าภูเขาหินปูนจะมีความสูงชันและแสดงหน้าผาชัดเจน
แต่เน่ืองจากไม่มีตะกอนดินสะสมตัวอยู่บนยอดเขา ดังน้ันจึงไม่ใช่พ้ืนที่ท่ีเส่ียงภัยต่อดินถล่ม แต่อาจพบปรากฏการณ์
หลมุ ยุบในบริเวณทร่ี าบใกล้ภูเขาหินปนู
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กดั 2-26 รายงานการเริ่มงาน
บริษัท เอ็นริช คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบือ้ งตน้ อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกั่ว บทท่ี 2
อนั เนอื่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พัทลุง ขอ้ มลู พ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
กลุ่มหินทุ่งสงพบกระจายตัวทางด้านตะวันตกของจังหวัด ต้ังแต่อ้าเภอศรีบรรพตลงมาจนถึง
อ้าเภอกงหรา ปรากฏเป็นเทือกเขาสูง เช่น เขาเขียว เขาพญาโฮ้ง เขาในวัง เขาครามเขาทุ่งโตน สามารถจ้าแนก
กล่มุ หนิ ท่งุ สงท่ีพบในจงั หวัดพทั ลงุ ออกเป็น 2 หมวดหนิ ยอ่ ย คือ
- หมวดหินแลตอง (Olt) ประกอบด้วย หินดินดาน และหินทรายแป้ง แทรกสลับด้วยหินปูน หินดินดานและ
หิ น ท รายแ ป้ งมี สี เท าแกม เขียว สี น้ าตาล แสดงลัก ษ ณ ะ เป็ น ช้ั น บ าง หิ น ปู น มี สี เท า แส ด งลั กษ ณ ะ
เป็นเลนส์ พบซากดึกด้าบรรพ์จา้ พวกหอยกาบคู่
- หมวดหินรังนก (Ork) ประกอบด้วย หินปูนเน้ือปนดิน สีเทาด้า แสดงลักษณ ะเป็นช้ันบางถึง
ชัน้ หนามาก พบซากดึกด้าบรรพจ์ ้าพวกแซฟาโลพอด ชนดิ นอติลอยด์
3) หินยคุ ไ ลเู รยี น - ดโี วเนียน (SD)
หมวดหินป่าเสม็ด (SDps) ประกอบด้วย หินดินดาน และหินโคลน มสี ีด้า พบซากดึกด้าบรรพจ้าพวกหอย
กาบคู่แบรคิโอพอด แกรบโตไลต์ไทรโลไบต์และไครนอยด์ หมวดหินนี้อายุประมาณ 438-360 ล้านปี
พบกระจายตัวทางด้านตะวันตกของอ้าเภอศรีบรรพต และด้านเหนือของอ้าเภอกงหรา ดินท่ีผุพังมาจากหินดินดานมี
แร่ธาตุอุดมสมบูรณพ์ อสมควร โดยเฉพาะแรธ่ าตุอาหารเสรมิ ส้าหรับพชื จึงสามารถใชป้ ระโยชน์ในดา้ นการเพาะปลูกได้
ค่อนข้างดีแต่ดินอาจมคี วามรว่ นซยุ ต่้า
4) หินยคุ คารบอนิเฟอรัส (C)
หมวดหินควนกลาง (Ck) ประกอบดวย หินโคลน หินโคลนเนื้อซิลิกา หินดินดาน หินเชิร์ต
และหินทราย มีสีเทา แสดงลักษณะเป็นช้ันบางถึงหนา พบซากดึกดา้ บรรพจ์ า้ พวกหอยกาบคู่ ไทรโลไบตแ์ ละไครนอยด์
หมวดหินน้ีอายปุ ระมาณ 360-286 ล้านปี ส่วนใหญ่พบกระจายตวั ทางดา้ นตะวันตกของจังหวดั พัทลุง และพบทีอ่ ้าเภอ
ปากพยูน
5) หนิ ยุคคารบอนิเฟอรัส - เพอรเมยี น (CP)
กลุมหินแกงกระจาน (CPk) เป็นช่ือท่ีใช้เรียกหินยุคคาร์บอนิเฟอรัส-เพอรเมียน (อายุประมาณ 320-255
ล้านปี) ประกอบด้วย หินโคลน และหินโคลนปนกรวด แทรกสลับด้วยหินทรายเกรย์แวก หินโคลนและ
หนิ โคลนปนกรวดมีสเี ทาแกมเขียวและสีเทาด้า แสดงลักษณะเปน็ ชั้นหนา พบซากดกึ ด้าบรรพ์จ้าพวกไทรโลไบตแ์ บรคิ
โอพอด หินทรายเกรย์แวกมีสีเทาด้าและสีเทาแกมเขียว เม็ดละเอียดถึงหยาบปานกลาง ส่วนใหญ่พบกระจายตัว
ทางด้านตะวนั ตกเฉียงเหนือของจังหวัด ตั้งแตอ่ ้าเภอปา่ พะยอมลงมาจนถึงกิง่ อ้าเภอศรีนครินทร์วางตัวในแนวตะวนั ตก
เฉยี งเหนือ-ตะวันออกเฉียงใตแ้ ละพบที่อา้ เภอตะโหมด
6) หินยุคเพอรเมยี น (P)
กลุ่มหินราชบรุ ีเป็นช่อื ท่ีใช้เรยี กหนิ ยุคเพอรเ์ มยี น (อายุประมาณ 286-245 ล้านป)ี ท่ีแพร่กระจายอยู่ต้ังแต่
อ้าเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ลงมาจนถึงจังหวัดยะลาส่วนมากมีลักษณะเป็นเขาโดด กลุ่มหินสระบุรีโดยส่วน
ใหญแ่ ล้วเป็นหินปนู แสดงลักษณะภมู ปิ ระเทศแบบคาสต์ (karst)
หินปูนมีส่วนประกอบทางเคมีเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) มีประโยชน์สามารถใช้เป็นวัตถุดิบท้ังในอุตสาหกรรม
ปูนซีเมนต์และอตุ สาหกรรมเคมี นอกจากน้ียังสามารถใช้เป็นวัสดุก่อสร้างได้ดีหินปูนมีคุณสมบัติสามารถละลายน้าได้
ในนา้ ที่มสี ภาพเป็นกรดอ่อนๆ ดังน้ันจึงมักพบถ้าที่มหี นิ งอกหินย้อยอยู่ในภูเขาหินปูน หนิ ปูนท่ีอยู่ใกล้หนิ แกรนิตจะแปร
สภาพกลายเป็นหนิ อ่อน สามารถน้ามาใช้เป็นหินประดับได้ส่วนดินท่ีผุพังมาจากหินปูนมักมีสีส้มแดงที่เรียกวา่ ดินแดง
หรือดินแทร์รารอสซ่า (Terra rosa) มแี ร่ธาตุท่ีจ้าเปน็ ต่อพืชอยู่หลายชนิด ดังน้ันพ้ืนที่ราบท่ีอยู่ใกล้หินปูนจึงเป็นแหล่ง
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-27 รายงานการเรมิ่ งาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเบื้องต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะก่ัว บทท่ี 2
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพัทลงุ ข้อมลู พ้นื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
เพาะปลูกได้ดีแม้ว่าภูเขาหินปูนจะมีความสูงชันและแสดงหน้าผาชัดเจน แต่เนื่องจากไม่มีตะกอนดินสะสมตัวอยู่บน
ยอดเขา ดังน้ันจึงไม่ใชพ่ ้ืนท่ีที่เสี่ยงภัยต่อดินถลม่ แตอ่ าจพบปรากฏการณ์หลมุ ยุบในบรเิ วณที่ราบใกล้ภูเขาหินปนู
กลุ่มหนิ ราชบุรี ประกอบด้วย หนิ ปนู และหินปูนเนื้อโดโลไมต์ มีสเี ทาขาว แสดงลกั ษณะเปน็ ชั้นดี ชั้นหนา
ถึงหนามาก พบซากดึกด้าบรรพ์จ้าพวกปะการังและแกสโตรพอด มีการกระจายตัวเป็นเขาโดดลูกเล็กๆ ท่ีมีความสูงไม่
เกิน 300 เมตร บริเวณเขาปู่ เขาย่า เขาวัง ในเขตอ้าเภอศรีบรรพต เขาชัยสน ในเขตอ้าเภอเขาชัยสนและเขาลูกโดด
ทางตะวันตกของอ้าเภอเมอื งพัทลุง
7) หินยุคไทรแอส ิก (TR)
หมวดหินไชยบุรี (TRch) ประกอบด้วย หินปูน สีเทาถึงเทาอ่อน แสดงช้ันหนิ ชัดเจนช้ันหนาถึงไมแ่ สดงช้ัน
เนื้อหนิ ตกผลึก พบซากดึกดา้ บรรพจ์ ้าพวกโคโนดอนต์หมวดหินนี้อายุประมาณ 245-210 ล้านปี พบกระจายตัวเป็นเขา
ลูกโดดด้านเหนือของอ้าเภอเมือง เชน่ เขาชัยบุรี เขารุน เขานางชีเขาพลุ เขาจิงโจ้เขาอน้ เขาหินแท่น เขาผีเขาแดงเขา
อกทะลุ เขาคหู าสวรรค์ หินปนู บริเวณเขาพนมวังก์เปน็ แหล่งหนิ ปนู เพ่ืออตุ สาหกรรมก่อสร้างภายใน จังหวัดพทั ลงุ
8) หินยคุ จแู รส ิก – ครีเทเชียส (JK)
กลุ่มหินตรัง เป็นชื่อท่ีใช้เรียกหินตะกอนที่เกิดบนภาคพ้ืนทวีปในช่วงตอนต้นยุคจูแรสซิกถึงยุคครีเทเชีย
สตอนปลาย (อายปุ ระมาณ 210-65 ลา้ นป)ี ที่พบในภาคใต้ จังหวัดพทั ลุง พบหมวดหินย่อยของกลุ่มหนิ ตรังเพยี งหมวด
หินเดยี ว คือ หมวดหนิ ล้าทับ
หมวดหินห้วยล้าทับ (JKI) ประกอบไปด้วย หินทรายอาร์โคส และหินทรายแป้ง สลับด้วยหินกรวดมน
หินทรายอาร์โคสมีสีน้าตาลอ่อนถึงน้าตาลแดง เน้ือละเอียดถึงปานกลาง การคัดขนาดไม่ดีแสดงลักษณะเป็นชั้นบาง
หินทรายแป้งมีสีเทาแกมน้าตาล สีน้าตาลแกมแดง แสดงการวางชั้นเฉียงระดับ พบการกระจายตัวทางด้านตะวันตก
ของทะเลน้อย และดา้ นใต้ของอา้ เภอป่าบอน
หินทรายเนื้อละเอียดสามารถใช้เป็นแหล่งหินประดับและหินลับมีดได้บริเวณท่ีราบใกล้ภูเขาหินทรายใช้
ประโยชน์ในการเพาะปลูกได้คอ่ นข้างดี เน่ืองจากดินมแี ร่ธาตุที่อุดมสมบูรณ์พอสมควรส้าหรับพืช ยกเว้นบริเวณท่เี ป็น
หินทรายเนอื้ ควอตซ์ซง่ึ จะมีแร่ธาตุค่อนข้างต้่า
9) หนิ ยคุ เทอรเชียรี (T)
ประกอบด้วย หินโคลน หนิ ทรายแป้ง หินทราย หินมารล์ และหินปูนเน้อื ดิน ท่ีมีลักษณะกึ่งแข็งตัวเปน็ หิน
พบซากดึกด้าบรรพ์มาก อีกท้ังพบลิกไนต์และยิปซัม หินยุคน้ี (อายุประมาณ 65-1.8 ล้านปี) พบกระจายตัวเป็นพื้นท่ี
เลก็ ๆ ทางด้านตะวันออกของอา้ เภอเขาชัยสนบรเิ วณแหลมจองถนน
10) ตะกอนรว่ นยุคควอเทอรนารี (Q)
ตะกอนยุคควอเทอร์นารีหมายถึง กรวด ทราย ดิน และดินเหนียว ท่ียังไม่แข็งตัวกลายเป็นหิน อายุ
ประมาณ 1.8 ล้านปีจนถึงปัจจุบัน กระจายตัวครอบคลุมพื้นท่ีจังหวัดพัทลุงเป็นบริเวณกว้างทางตอนกลางและด้าน
ตะวันออกของจังหวัด บริเวณด้านตะวันตกของขอบที่ราบซึ่งติดต่อกับแนวเทือกเขาทางด้านตะวันตกของจังหวัดเป็น
พวกตะกอนเศษหินเชิงเขา บริเวณตอนกลางเป็นที่ราบตะกอนนา้ พา สามารถจ้าแนกตะกอนรว่ นในพื้นท่ีโดยอาศัยชนิด
ของตะกอนและสภาวะแวดลอ้ มของการตกตะกอนออกเป็น 7 หนว่ ยตะกอนย่อย คือ
1) ตะกอนน้าพา (Qa) ประกอบด้วย กรวด ทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว เกิดจากน้าพัดพา กรวด หิน
ดิน ทราย ไปสะสมตัวอย่างไม่เป็นระบบ มีอิทธิพลของความลาดชันและน้าผิวดินปะปนบ้างจึงได้ตะกอนหลากหลาย
ชนิดปนกัน ลักษณะเป็นภูมิประเทศท่ีราบริมแม่น้าพ้ืนท่ีราบนี้มักเป็นแหล่งสะสมตัวของชั้นทรายแม่น้า บางแห่ง
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กัด 2-28 รายงานการเริม่ งาน
บริษัท เอ็นริช คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดล้อมเบ้ืองตน้ อ่างเกบ็ น้าเหมอื งตะกั่ว บทที่ 2
อันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวัดพทั ลงุ ข้อมูลพื้นฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
สามารถหาแหล่งทรายก่อสร้าางและดินเหนียวส้าหรบั เปน็ วัตถุดิบในอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา โดยท่ัวไปสภาพดิน
เป็นดินร่วนท่ีมีแร่ธาตุที่จา้ เป็นต่อพชื อดุ มสมบูรณเ์ หมาะตอ่ การเพาะปลูกมากที่สุด แตเ่ น่ืองจากเปน็ ที่ราบจึงมักประสบ
กับน้าทว่ มขงั ในช่วงฤดูฝนเป็นประจา้
2) ตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังอยู่กับท่ี (Qc) เศษหินประกอบด้วย หินควอร์ตไซต์หินทราย
หินทรายแป้ง หนิ แกรนิต ทราย ทรายแป้ง ดินลูกรงั และศิลาแลง เกดิ จากการผุพังของหนิ เดิม ตะกอนถูกพัดพาไม่ไกล
จึงมักพบตามเชิงเขาหรือขอบแอ่ง หน่วยตะกอนน้ีใช้เป็นแหล่งดินถมส้าหรับการก่อสร้างได้และเป็นหลักฐานส้าหรับ
แสดงถงึ การเกิดแผ่นดินถล่มในอดีต เนื่องจากการปรับตัวสู่สมดุลของธรรมชาติซ่ึงหลายพื้นท่ียังคงมีความเส่ียงต่อการ
เกดิ ดนิ ถลม่ ได้อกี จงึ ไม่เหมาะสา้ หรบั การต้ังท่ีอยู่อาศยั
3) ตะกอนที่ลุ่มป่าชายเลน (Qmp) ประกอบด้วย พีต สีด้าถึงน้าตาลเข้ม ผุมาก พบซากไม้ ใบไม้ล้าต้น และราก
แทรกดว้ ยดินเหนียวเน้ือนมุ่
4) ตะกอนลากนู (Qlg) ประกอบด้วย ทรายแปง้ ทรายเน้ือละเอยี ดมาก มีสีเทาจาง เน้ือแนน่ ร่วน มีจดุ ประนอ้ ย
5) ตะกอนที่ราบลุ่มน้าขึ้นถึง (Qtf) ประกอบด้วย ดินเหนียว มีสีเทาและสีเทาแกมเขียว มีชั้นบางๆ ของ
ทรายเน้ือละเอียดมากหรอื ทรายแป้งแทรก พบเปลือกหอยและซากพืช
6) ตะกอนท่ีราบน้าท่วมน้าข้ึนถึงบนตะกอนป่าชายเลน (Qtm) ประกอบด้วย ดินเหนียว สีเทา สีเทาแกมเขียว
อ่อนนุ่ม วางตัวบนพีตหรอื ดินเหนียวเนื้อพีต ผุมาก
7) ตะกอนสันทรายเก่า (Qbo) ประกอบด้วย ทราย สีน้าตาลจาง เม็ดละเอียดมากถงึ ปานกลาง รวน การคัด
ขนาดดีเมด็ กลม
2. หินอคั นี
หนิ อัคนีแบ่งตามลักษณะการเกิดได้ 2 ชนิด คือ 1) หินอัคนีแทรกซอน ซ่ึงเป็นหินอัคนีท่ีเกดิ อยู่ในระดับลึก
โดยการตกผลึกจากหินหนืด มลี ักษณะเนื้อหยาบหรอื ค่อนข้างหยาบ (เมด็ แรม่ ีขนาดตั้งแต่ 1 มิลลิเมตรขน้ึ ไป) ท่ีรู้จักกนั ดี
ก็คือหินแกรนิต ซ่ีงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการก้าเนิดแร่เศรษฐกิจหลายชนิด เช่น แร่ดบี ุก วุลแฟรม ฟลูออไรด์ และ
แบไรต์ หินแกรนิตมีความแข็งแกรง่ สามารถน้ามาใช้เปน็ หินประดับได้และ 2) หินภเู ขาไฟ เป็นหินท่ีเกดิ จากการระเบิด
ของภเู ขาไฟท่ีพุขนึ้ มาเย็นตัวบนผิวโลก หนิ ชนิดนี้จะมีเนื้อละเอียดหรือเนียนเปน็ เนื้อเดยี วกันหมด มีความสัมพันธอ์ ยา่ ง
ใกล้ชดิ กับแร่ทองคา้ ทองแดง และแร่โลหะหลายชนิด ดินที่ผพุ ังมาจากหินภเู ขาไฟจะอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตทุ ่ีจ้าเป็น
ต่อพชื จึงเป็นพ้ืนที่ที่เหมาะสมส้าหรบั การเกษตรกรรมมาก
ประเทศไทยอยู่ในเขตป่าร้อนชื้นหินอัคนีจึงถูกกระบวนการผุพังไดง้ ่าย ทา้ ให้เกิดชั้นดินหนาสะสมตวั อยู่บน
ยอดเขา เม่ือมีฝนตกเป็นจ้านวนมากดินเหล่านี้จะไหลถล่มลงมา ดังนั้น พ้ืนท่ีที่อยู่ใกล้ภูเขาหินอัคนีจึงมีความเส่ียงต่อ
การเกดิ แผน่ ดินถล่มมาก จังหวดั พทั ลุงพบหินอัคนีเพยี งประเภทเดียว คอื
หินอัคนแี ทรก อนชนดิ หินแกรนติ ยุคไทรแอส ิก (Trgr)
ประกอบด้วย หินไบโอไทต์-มัสโคไวต์แกรนิต เน้ือปานกลางถึงหยาบเน้ือสม้่าเสมอ และเน้ือของหินยุคนี้
อายปุ ระมาณ 245-210 ล้านปี พบกระจายตัวเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนทางด้านตะวันตกของจังหวัด วางตวั ทอดยาว
ในทิศทางตะวันตกเฉยี งเหนือ-ตะวันออกเฉียงใตเ้ ป็นแนวเทือกเขาที่กน้ั ระหวา่ งจังหวดั พทั ลุงกับตรงั
บริษทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-29 รายงานการเรมิ่ งาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้ืองตน้ อา่ งเก็บนา้ เหมืองตะก่ัว บทที่ 2
อนั เนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั พัทลงุ ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
รูปท่ี 2.2-14 แผนที่ ร ีณ ิวทยา ัจงหวัด ัพทลุง
ท่ีมา : กรมท ัรพยากรธร ีณ, 2550
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั 2-30 รายงานการเร่มิ งาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศึกษาผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบ้ืองต้น อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะกว่ั บทที่ 2
อันเนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวัดพทั ลุง ขอ้ มลู พ้นื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
3. สภาพ รณีวทิ ยาในพน้ื ที่โครงการ
สภาพธรณีวิทยาพื้นที่โครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้ืองต้น อ่างเก็บน้าเหมืองตะก่ัว
อนั เน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพัทลุง พบตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพงั อยู่กบั ท่ี (Qc) และ หินอัคนแี ทรก
ซอนชนิดหนิ แกรนิต ยุคไทรแอสซิก (Trgr) ดังแสดงในรปู ท่ี 2.2-15
4. การเกิดแผ่นดินไหว
จากการศึกษารอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย ฉบับ พ.ศ.2561 โดยกรมทรัพยากรธรณี กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ก้าหนดรอยเล่ือนมีพลังจ้านวน 15 กลุ่มรอยเลื่อนดังแสดงในรูปท่ี 2.2-16
ไม่พบกลุ่มรอยเล่ือนที่อยู่ใกล้พื้นท่ีศึกษา
จากการศึกษาแผนที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวประเทศไทย ของกรมทรัพยากรธรณี พ.ศ.2556 พบว่า พื้นที่โครงการ
ตั้งอยู่ในพื้นที่ภัยพิบัติแผ่นดินไหวระดับ ≤ III ตามมาตราเมอร์คัลลี ดังแสดงในรูปที่ 2.2-17 ซ่ึงอยู่ในระดับเบา
คนธรรมดาจะไม่รสู้ ึก แต่เครอื่ งวัดสามารถตรวจจับได้
ทั้งนี้ จากตารางที่ 2.2-8 พบว่า ไมม่ สี ถิติการเกิดแผ่นดินไหวท่ีมีศนู ย์กลางอยู่ในบริเวณพื้นท่ีศกึ ษา
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-31 รายงานการเร่มิ งาน
บริษทั เอน็ ริช คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบอ้ื งตน้ อ่างเก็บน้าเหมอื งตะกว่ั บทท่ี 2
อันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวัดพทั ลงุ ขอ้ มูลพื้นฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
อา่ งเก็บน้าเหมอื งตะกั่ว
ทม่ี า : ดดั แปลงจาก กรมทรัพยากรธรณีวทิ ยา, 2550
รปู ท่ี 2.2-15 แผนที่ รณีวิทยาพน้ื ทโี่ ครงการ
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-32 รายงานการเริ่มงาน
บริษทั เอ็นรชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบอ้ื งต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกั่ว บทท่ี 2
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พัทลงุ ข้อมูลพืน้ ฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
ตารางที่ 2.2-8 สถิตกิ ารเกิดแผ่นดนิ ไหวของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา ปี พ.ศ.2550-2560
วนั เดือน ปี ตา้ แหน่ง ศูนยกลาง/สถานท่ีรสู้ กึ สนั่ ไหว ขนาด เหตุการณ
(รกิ เตอร)
6-ม.ค.-2550 อ.แม่ริม จ.เชยี งใหม่ 3.1 รู้สึกส่ันสะเทอื นไดท้ ี่ อ.แมร่ มิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
22-เม.ย.-2550 อ.เวยี งป่าเปา้ 4.5 รู้สึกสนั่ สะเทือนได้ท่ี อ.เวยี งปา่ เปา้ จ.เชยี งราย และ จ.พะเยา
27-เม.ย.-2550 ตอนเหนอื เกาะสุมาตรา 6.1 รู้สึกสนั่ สะเทอื นได้ท่ี จ.ภูเก็ต
15-พ.ค.-2550 พรมแดนลาว-เมียนมาร์ 5.1 รสู้ ึกสนั่ สะเทือนได้ที่ จ.เชยี งราย
16-พ.ค.-2550 พรมแดนลาว-เมยี นมาร์ 6.1 รู้สกึ สน่ั สะเทือนได้ท่ี จ.เชียงราย และหลายจังหวดั ภาคเหนอื
19-ม.ิ ย.-2550 อ.แม่ริม จ.เชยี งใหม่ 4.5 รสู้ ึกสน่ั สะเทอื นได้ท่ี อ.แม่รมิ จ.เชียงใหม่ และ จ.ล้าพนู
20-ก.พ.-2551 ตอนเหนอื เกาะสุมาตรา 7.5 รู้สกึ ส่นั ไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ และ จ.ภูเกต็
รู้สึกส่ันไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ หลายแห่ง ประเทศจีนมี
12-พ.ค.-2551 มณฑลเสฉวน, จีน 7.8 ผูเ้ สียชวี ิตประมาณ 20,000 คน
รู้สึกส่ันไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ หลายแห่ง ประเทศจีนมี
21-ส.ค.2551 พรมแดนพม่า-จีน 5.7 ผูเ้ สยี ชีวิต 1 คน บาดเจบ็ หลายคน
22-ก.ย.-2551 รู้สึกสนั่ ไหวบนตึกสูงหลายแหง่ ในกรงุ เทพฯ
30-ก.ย.-2552 ชายฝั่งตอนใต้ของพมา่ 5.2 รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ ประเทศอินโดนีเซียมี
ผเู้ สยี ชวี ติ ประมาณ 1,000 คน
20-ม.ี ค.-2553 ตอนกลางเกาะสมุ าตรา 7.9
7-เม.ย.-2553 รสู้ กึ ส่นั สะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย
9-พ.ค.-2553 ประเทศเมียนมาร์ ห่างจากพรมแดนไทย (แม่สาย) ประมาณ 5.0
4-ก.พ.-2554 80 กิโลเมตร รู้สกึ ส่นั สะเทือนได้ท่อี าคารสงู กทม. หลายแห่ง
23-ก.พ.-2554 รู้สึกสั่นไหวอาคารสูง จ.ภูเก็ต พังงา สุราษฏรธ์ านี จ.สงขลา
ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 7.6 และกรงุ เทพมหานคร
รสู้ กึ บนอาคารสูง กทม. หลายแหง่
ตอนเหนือสุมาตรา 7.3 รู้สึกที่ แพร่ น่าน อุดรธานี เลย หนองคาย หนองบัวล้าภู
ขอนแกน่ มหาสารคาม
พรมแดนพม่า-อินเดีย 6.8 รู้สกึ ได้ในภาคเหนือ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือและ อาคาร สงู ใน
กทม.หลายแห่ง และมคี วามเสียหายที่ อ.แมส่ าย จ.เชยี งราย
ลาว 5.4 มผี ู้เสียชวี ิต 1 คนจากผนังบา้ นพังทับศรษี ะ
รสู้ ึกสน่ั สะเทอื นที่ จ.ภเู ก็ต
24-มี.ค.-2554 พมา่ 6.7 รู้สกึ สั่นสะเทือนท่ี อ.แม่สาย จ.เชยี งราย
รู้สึกสน่ั สะเทอื นที่ อ.เมอื ง จ.ภเู ก็ต อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
30-เม.ย.-2554 ทะเลอันดามัน 4.4 รสู้ กึ ไหวเลก็ น้อยที่ จ.ภเู กต็
10-พ.ค.-2554 พมา่ 4.0 ร้สู ึกไดใ้ นหลายจงั หวัดในภาคใตแ้ ละภาคกลาง รวมถึง ภาค
6-ก.ย.-2554 ตอนเหนอื เกาะสุมาตรา 6.7 อีสาน เกิดคล่ืนสนึ ามิสูง 80 ซม. ทป่ี ระเทศอินโดนีเซีย และ
5-มี.ค.-2555 ตอนเหนอื เกาะสุมาตรา 5.2 30 ซม. ที่เกาะเมียง จ.พงั งา
รู้สึกไหวในหลายพื้นที่ใน จ.ภูเก็ต บ้านเรือนแตกร้าวหลาย
11-เม.ย.-2555 ชายฝง่ั ตะวนั ตกทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา 8.6 หลงั ใน อ.ถลาง จ.ภเู ก็ต เกดิ อัฟเตอรช์ อ็ คมากกวา่ 26 ครงั้
รู้สึกสั่นไหวท่ี ต.เขานิเวศน์ ต.บางนอน อ.เมืองระนอง
16-เม.ย.-2555 ต.ศรีสุนทร อ.ถลาง จ.ภเู กต็ 4.3 จ.ระนอง
รู้สึกบนอาคารสูง จ.ภูเกต็ และ จ.สงขลา
4-ม.ิ ย.-2555 อ.เมอื ง จ.ระนอง 4.0 รู้สึกส่นั ไหวที่จ.เชยี งใหม่ จ.นนทบุรี จ.กรงุ เทพมหานคร
23-ม.ิ ย.-2555 ตอนเหนอื เกาะสมุ าตรา 6.3 รู้สึ ก สั่น ไห วท่ี จ .เชี ย งให ม่ แ ล ะ บ น ตึ ก สูงข อ ง
11-พ.ย.-2555 เมยี นมาร์ 6.6 กรุงเทพมหานคร
11-พ.ย.-2555 เมยี นมาร์ 5.8
ท่ีมา : สา้ นกั เฝ้าระวังแผ่นดนิ ไหว กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา (2560)
บริษัท เอช ทู โอ คอนซัลท์ จ้ากัด 2-33 รายงานการเรม่ิ งาน
บริษทั เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จ้ากัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มเบอ้ื งตน้ อ่างเกบ็ นา้ เหมอื งตะกัว่ บทที่ 2
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลงุ ข้อมูลพ้ืนฐานและสภาพท่ัวไปของโครงการ
ตารางที่ 2.2-8 สถิตกิ ารเกิดแผ่นดนิ ไหวของกรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ปี พ.ศ.2550-2560 (ตอ่ )
วัน เดือน ปี ตา้ แหนง่ ศูนยกลาง/สถานท่ีรสู้ กึ สน่ั ไหว ขนาด เหตุการณ
(ริกเตอร)
20-ธ.ค.-2555 เมียนมาร์ 4.6 รู้สึกส่ันไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย และบนอาคารสูง
7-ก.พ.-2556 เมยี นมาร์ 4.3 จ.เชียงใหม่
11-เม.ย.-2556 เมียนมาร์ 5.1 รู้สึกส่ันไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชยี งราย
7-พ.ค.-2556 เมียนมาร์ 5.4 รู้สกึ สั่นไหวที่ จ.แม่ฮอ่ งสอน
รู้สึกส่ันไหว ที่บ้านและบนอาคาร อ.แม่สาย อ.เมือง
2-ก.ค.-2556 ตอนเหนอื ของเกาะสมุ าตรา ประเทศอนิ โดนีเซีย 6.0 จ.เชยี งราย
11-ต.ค.-2556 ต.ท่งุ หลวง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 4.1 รู้สึกสั่นไหวบริเวณ จ.ภูเก็ต จ.พังงา และอาคารสูงใน
21-มี.ค.-2557 หมู่เกาะนโิ คบาร์,ประเทศอนิ เดยี 6.4 กรงุ เทพมหานคร
รู้สกึ ส่ันไหวที่ ต.สนั ทราย อ.พรา้ ว จ.เชียงใหม่
5-พ.ค.-2557 ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว จ.เชยี งราย 6.3 รสู้ กึ สน่ั ไหวที่ อ.เมือง จ.ภูเกต็
ถนน อาคารและบ้านเรือน บริเวณใกล้จุดศูนย์กลาง
6-ธ.ค.-2557 ยนู นาน ประเทศจีน 5.9 ได้รับความเสียหายอย่างหนัก มีผู้เสียชีวิต 1 คน เกิด
โค ล น ผุ ด รู้สึ ก ส่ั น ไห ว ที่ จ .เชี ย งรา ย , จ .แ พ ร่ ,
20-ก.พ.-2558 อ่าวพังงา ทางทิศใต้ของเกาะยาวใหญ่ อ.เกาะยาว 4.0 จ.แม่ฮ่องสอน, จ.อุตรดิตถ์, จ.พิษณุโลก, จ.เชียงใหม่
จ.พังงา และตึกสงู ในกรุงเทพมหานคร
6-พ.ค.-2558 ในทะเลบริเวณ อ.เกาะยาว จ.พงั งา 4.6 รู้สึกสั่นไหวท่ี ตึกสูง จ.เชียงราย, จ.เชียงใหม่และ
7-พ.ค.-2558 ในทะเลบริเวณ อ.เกาะยาว จ.พงั งา 4.5 กรุงเทพมหานคร
24-พ.ค.-2558 5.1 รู้สึกสั่นไหวท่ี อ.เมือง อ.กะทู้ อ.ถลาง จ.ภูเก็ต, เกาะ
เมียนมาร์ ยาวใหญ่ จ.พังงา
ร้สู กึ สน่ั ไหวบรเิ วณ จ.พังงา จ.ภเู ก็ต และ จ.กระบ่ี
รู้สึกสั่นไหวบรเิ วณ จ.พังงา จ.ภเู ก็ต และ จ.กระบี่
รสู้ กึ ส่นั ไหวบริเวณ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย และ จ.แม่ฮอ่ งสอน
14-ก.ค.-2558 ต.ปรังเผล อ.สังขละบรุ ี จ.กาญจนบุรี 4.8 รสู้ ึกส่นั ไหวบรเิ วณ อ.สงั ขละบรุ ี, อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบรุ ี
8-พ.ย.-2558 หมเู่ กาะนิโคบาร์ ประเทศอนิ เดีย
6.2 รสู้ กึ ส่นั ไหวที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ,อ.ตะก่วั ปา่ จ.พังงา ,อ.เมือง
24-ส.ค.-2559 เมียนมาร์ จ.สรุ าษฎรธ์ านี, อ.เมือง จ.กระบี่
29-ต.ค.-2559 เมียนมาร์ 6.8 รู้สึกสั่นไหวท่ีบริเวณ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย และ
7-ธ.ค.-2559 ทางตอนเหนือของเกาะสมุ าตรา, อินโดนเี ซยี กรุงเทพมหานคร
15-ม.ค.-2560 อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
18-เม.ย.-2560 เมยี นมาร์ 4.5 รู้สึกสั่นไหวที่บริเวณ อ.เมืองตาก อ.แม่สอด อ.ท่าสองยาง
22-เม.ย.-2560 อ.นาน้อย จ.น่าน จ.ตาก
6.5 รสู้ กึ สน่ั ไหวทบี่ รเิ วณ จ.กระบ่ี จ.สงขลา และ จ.ภูเก็ต
4.2 รูส้ ึกส่นั ไหวท่ีบริเวณ จ.แมฮ่ อ่ งสอน และ จ.เชยี งใหม่
5.1 รู้สกึ สั่นไหวทบ่ี ริเวณ อ.เมอื ง อ.แม่จนั อ.แมส่ าย อ.เชยี งแสน
จ.เชยี งราย
3.9 รสู้ กึ สั่นไหวทีบ่ รเิ วณ อ.นานอ้ ย อ.เวียงสา จ.น่าน
ท่ีมา : สา้ นักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอตุ นุ ิยมวิทยา (2560)
บริษทั เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จ้ากัด 2-34 รายงานการเร่ิมงาน
บริษัท เอ็นรชิ คอนซัลแตนท์ จา้ กดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มเบอ้ื งต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมอื งตะกัว่ บทที่ 2
อันเนื่องมาจากพระราชดา้ ริ จังหวดั พทั ลุง ขอ้ มูลพ้นื ฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
พน้ื ท่ีศกึ ษา
ทม่ี า : กรมทรพั ยากรธรณี, 2561
รูปที่ 2.2-16 แผนที่รอยเล่ือนมีพลังในประเทศไทย
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กดั 2-35 รายงานการเรมิ่ งาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซัลแตนท์ จ้ากดั (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบอื้ งต้น อ่างเก็บนา้ เหมอื งตะก่วั บทที่ 2
อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จงั หวดั พทั ลงุ ขอ้ มูลพ้ืนฐานและสภาพทั่วไปของโครงการ
พนื้ ทีศ่ กึ ษา
ที่มา : กรมทรพั ยากรธรณี, 2559
รปู ท่ี 2.2-17 แผนท่ีภยั พิบตั ิแผ่นดนิ ไหวประเทศไทย
บริษัท เอช ทู โอ คอนซลั ท์ จา้ กัด 2-36 รายงานการเร่มิ งาน
บริษัท เอน็ รชิ คอนซลั แตนท์ จา้ กัด (Inception Report)
โครงการศกึ ษาผลกระทบส่งิ แวดล้อมเบอ้ื งต้น อา่ งเกบ็ น้าเหมืองตะกว่ั
อนั เนือ่ งมาจากพระราชด้าริ จังหวดั พทั ลุง บทท่ี 2 ขอ้ มูลพ้นื ฐานและสภาพทว่ั ไปของโครงการ
2.2.6 ทรพั ยากรดิน
บริเวณพน้ื ท่ีโครงการศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบื้องตน้ อ่างเก็บน้าเหมืองตะก่ัว อนั เน่ืองมาจากพระราชด้าริ
จังหวดั พัทลุง พบกลุ่มชุดดินทั้งหมด 7 กลุ่มชดุ ดิน กลุ่มชุดดินท่ีพบมากท่ีสุด คือ กลุ่มชุดที่ 34 มีพ้ืนที่ท้ังหมด 4,290.32 ไร่
คิดเป็นร้อยละ 34.02 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด รองลงมา กลุ่มชุดที่ 17 มีพื้นที่ทั้งหมด 3,926.37 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.13
ของพ้ืนทีท่ ้ังหมด และกล่มุ ชดุ ท่ี 32 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 2,074.83 ไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ 16.45 ของพื้นท่ที ้งั หมด และนอ้ ยท่สี ุด
คอื กลมุ่ ชุดท่ี 51 มีพื้นท่ีทั้งหมด 130.18 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 1.03 ของพนื้ ทท่ี ั้งหมด ตามลา้ ดับ ซึ่งรายละเอียดแสดงดัง
ตารางท่ี 2.2-9 และรูปที่ 2.2-18 โดยมรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้
1) บริเวณอ่างเก็บนา้
กลมุ่ ชดุ ที่ 34 ลักษณะโดยทว่ั ไปมีเนื้อดนิ เป็นพวกดินรว่ นปนทราย พบในเขตฝนตกชุก เชน่ ภาคใต้สดี ิน
เป็นสนี ้าตาล สเี หลืองหรือสีแดง มีการระบายน้าดถี ึงปานกลาง มคี วามอดุ มสมบูรณ์ตามธรรมชาตติ ้่า ค่าความเปน็ กรด-
ด่าง เปน็ กรดจัดถงึ กรดจัดมาก
กลุ่มชุดที่ 62 ลักษณะโดยท่ัวไปดินประกอบด้วยพื้นท่ีภูเขา ซ่ึงมีความลาดชันมากกวา่ 35 % ดินที่พบ
ในบริเวณดังกล่าวน้ีมีท้ังดินลึกและดินต้ืน ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไป
แล้วแต่ชนิดของหินต้นก้าเนิดในบริเวณนนั้ มกั มีเศษหิน ก้อนหิน หรอื หินพื้นโผล่ กระจัดกระจายท่ัวไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุม
ด้วยป่าไม้ประเภทต่างๆ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือป่าดิบช้ืน หลายแห่งมีการท้าไร่เล่ือนลอย โดยปราศจาก
มาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้า ซ่ึงเป็นผลท้าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินพื้นโผล่
ไดแ้ กช่ ุดดินท่ีลาดชนั เชิงซ้อน (Sc)
2) บริเวณพนื ที่รับประโยชน์
กลุ่มชุดดินที่ 6 ลักษณะโดยทั่วไปเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีสีเท าแก่ ดินล่างมีสีน้าตาล
ปนเทาหรือสีเทา มีจุดประสีน้าตาลหรือสีแดงตลอดช้ันดินบางแห่งมีศิลาแลงอ่อน หรือก้อนสารเคมีพวกเหล็กและ
แมงกานีสปะปนอยู่ด้วย กลุ่มดินนี้เกิดจากพวกตะกอนล้าน้าเป็นดินลึกมาก มีการระบายน้าเลวพบตามที่ราบ
ดินมีความอุดมสมบรู ณ์ตามธรรมชาติตา้่ หรือค่อนข้างต้่า คา่ ความเป็นกรด-ดา่ ง เป็นกรดจดั ถงึ กรดจดั มาก
กลุ่มชุดที่ 17 ลักษณะโดยท่ัวไปเน้ือดินบนเป็นพวกดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนสีน้าตาล, น้าตาลปนเทา
ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียว มีสีน้าตาลอ่อน, สีเทาอ่อน, สีเทาปนชมพูพบจุดประพวกสี
น้าตาลปนเหลือง สีแดงปนเหลืองหรือสีแดงปะปน บางแห่งอาจพบศิลาแลงอ่อนหรือก้อนสารเคมีพวกเหล็กและ
แมงกานีสในดินชั้นล่าง เกิดจากพวกตะกอนล้าน้า พบตามพ้ืนที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ บริเวณลานตะพักล้าน้า
ระดับต้่า ดินมีการระบายน้าค่อนข้างเลว มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต้่า ค่าความเป็นกรด-ด่าง เป็นกรดจัดถึง
กรดจดั มาก
กลมุ่ ชุดท่ี 32 ลกั ษณะโดยทัว่ ไปมีเนอื้ ดนิ เป็นพวกดนิ ร่วน ดนิ รว่ นเหนยี วปนทรายแปง้ บางแห่งอาจมชี ้ัน
ดินทรายละเอียดสลับชั้นอยู่ พบในเขตฝนตกชุก เช่น ภาคใต้ สีดินเป็นสีน้าตาลหรือสีเหลืองปนน้าตาลและมักมีแร่
ปะปนกับเน้ือดิน ดินมีการระบายน้าดี มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างต้่า ค่าความเป็นกรด-ด่าง เป็นกรด
จัดถึงกรดจดั มาก
กลุ่มชุดที่ 51 ลักษณะโดยท่ัวไปมีเน้ือดินเป็นพวกดินร่วนปนเศษหิน พบในเขตฝนตกชุก เช่น ภาคใต้
เศษหินสว่ นใหญเ่ ป็นพวกเศษหนิ ทรายและควอร์ต หรือหินดินดาน สีดินเป็นสีน้าตาล สีเหลอื งหรือสีแดง มีการระบาย
นา้ ดี มีความอุดมสมบรู ณ์ตามธรรมชาตติ ้่า คา่ ความเปน็ กรด-ด่าง เป็นกรดปานกลางถึงกรดจดั มาก
บรษิ ทั เอช ทู โอ คอนซัลท์ จา้ กดั 2-37 รายงานการเริม่ งาน
บริษัท เอน็ ริช คอนซัลแตนท์ จา้ กัด (Inception Report)