บทคัดยอ่
ชอ่ื เรื่อง การพัฒนารปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษา โรงเรยี นบ้านเพียมาต (รัฐราษฎรพ์ ิทยาคาร) สำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต 2
โดย สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2
ปีทที่ ำการวจิ ยั พ.ศ. 2564
การวิจัยครัง้ น้ี มีวตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศกึ ษาสภาพปัจจบุ ันปัญหาการจัดการศึกษาโรงเรยี น
บา้ นเพยี มาต (รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร) สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2
2) เพื่อยกร่างรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร)
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต ๒ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการบูรณาการ
พัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษเขต ๒ 4) เพ่ือนำเสนอรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา โรงเรียน
บ้านเพยี มาต (รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2
กลุม่ เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ สร้างรปู แบบโรงเรียนคุณภาพของชุมชนในสงั กดั สำนกั งานเขต
พนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 จำนวน 1 โรงเรียน เปา้ หมาย เชงิ คณุ ภาพ
โรงเรยี นระดับประถมศึกษา ในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต 2
จำนวน 1 รูปแบบ คือ โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน ไดร้ บั การพฒั นาและยกระดับคณุ ภาพ ใหส้ งู ขน้ึ
อย่างรอบดา้ นเปน็ ที่ยอมรบั ของชุมชนและสังคม ระยะเวลาปีการศกึ ษา 2564 เก็บขอ้ มลู จาก
ผบู้ ริหารโรงเรยี น ครูผ้สู อนทกุ คนรวม ๙ คน ผูป้ กครองนักเรยี น 9 คน นักเรยี น 9 คน ผู้นำ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ 3 คน คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
ของเขตพน้ื ทกี่ การศกึ ษา 9 คน เครอื่ งมอื เก็บรวบรวมข้อมลู ไดแ้ ก่ 1)แบบสมั ภาษณ์ผ้บู ริหาร ๒)แบบ
สมั ภาษณ์ผนู้ ำชมุ ชน 3)แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครองนกั เรยี น ๔)แบบสัมภาษณน์ กั เรียน 5)แบบ
สมั ภาษณ์ผ้นู ำองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ 6)แบบสมั ภาษณค์ ณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่กี การศึกษา
ผลการวิจัยพบวา่
การพัฒนารปู แบบการบรู ณาการพฒั นาการศกึ ษา 5 SUCCESS GOAL MODEL โรงเรยี นบา้ น
เพีมาต (รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร) สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒ ดงั น้ี ดา้ น
นักเรยี น S Sustainability เป็นคนดี มีคณุ ธรรม M Mathematics เลศิ ลำ้ คดิ เลขเปน็ A Academic
เด่นดา้ นวชิ าการR Reading คิด อ่าน เขยี น ก้าวหนา้ T Technology นำพาเทคโนโลยี S Shows
& share มเี วทีแลกเปลี่ยนเพมิ่ สมรรถนะ S Skill ทกั ษะชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 K Kindergarten
ความสำเร็จปฐมวัย Second Language ใสใ่ จในภาษาที่ 2 (ภาษาองั กฤษ) ดา้ นครู S Skills มี
ทักษะและเทคนิคในการจดั การเรยี นรู้ M Mind มีจติ วิญญาณ ความเป็นครู A Assessment มีการ
วดั และประเมนิ ผลอยา่ งเหมาะสมและหลากหลาย R Research มกี ารวจิ ัยในช้นั เรียน T
Technology ใช้สื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ ด้านผบู้ ริหารโรงเรยี น
๒
S Supervision มกี ารนิเทศภายในอยา่ งเปน็ ระบบและมีคณุ ภาพ M Management มีระบบการ
บรหิ ารจัดการภายในโรงเรียนมรี ะบบประกนั คณุ ภาภายในสถานศึกษา A Academic เปน็ ผ้นู ำทาง
วิชาการ R Research ใชก้ ารวจิ ยั เปน็ ฐานในการบริหารโรงเรยี น ส่งเสรมิ ครูทำวิจัยในชัน้ เรียน
T Teamwork การทำงานเปน็ ทมี ด้านโรงเรยี น S Strategy มีแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา M
Management มีระบบการบริหารจัดการ และระบบการเรยี นการสอนที่มปี ระสิทธิภาพ A
Assurance มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ R Research &
Development มกี ารวจิ ยั และพฒั นา T Teamwork มกี ารทำงานเป็นทีม ด้านกรรมการสถานศกึ ษา
และชมุ ชนS Service มีจติ บริการและชว่ ยเหลอื สถานศึกษาเปน็ อย่างดี M Management มรี ะบบ
การบริหารจดั การทม่ี าจากหลายฝ่าย ได้แก่ กรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชนและผู้ปกครอง
นักเรยี น A Ask for cooperation ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ทางโรงเรียนเปน็ อย่างดีทรี่ อ้ งขอ
R Responsibility มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวมT Teamwork การทำงานเปน็ ทมี
สารบญั
หนา้
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและสภาพปัจจุบนั ปัญหา............................................................................๑
1.2 วัตถปุ ระสงค์...................................................................................................................๕
1.3 เป้าหมาย........................................................................................................................5
1.4 ระยะเวลา.......................................................................................................................5
1.5 กรอบแนวคดิ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา....................................................................๖
1.6 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ...........................................................................................................8
1.๘ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ.............................................................................................8
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง
2.1 การพัฒนาและยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของประเทศไทยในสภาวการณ์ปัจจบุ นั … 9
2.2 นโยบายการจดั การศกึ ษาแบบบรู ณาการของจังหวดั ของรัฐมนตรวี ่าการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ (นายณฐั พล ทปี สวุ รรณ).…………………………………...….…………………….....……๑2
2.3 นโยบายการขับเคล่อื นคุณภาพการศึกษาของเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษา
ขัน้ พื้นฐาน สพฐ.วิถใี หม่ วถิ คี ณุ ภาพ (นายอมั พร พินะสา).…………………..………..………..………..…....๑5
2.4 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)...........................๑7
2.4.1 ประเด็นการปรบั เปล่ยี นคา่ นิยมและวัฒนธรรม……………….……….…………๑7
2.4.2 ประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต…………………...………………18
2.4.3 ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้…………………………………………..………………๒1
2.4.4 ประเด็นการเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสุขภาวะท่ีดี……………..…….………………๒3
2.4.5 ประเดน็ การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธภิ าของภาครัฐ…….……...........๒5
2.5 การวิจยั เชิงคุณภาพ..................................................................................................27
2.6 การมีสว่ นร่วม...........................................................................................................32
2.7 ทฤษฎกี ารทำงานเปน็ ทมี ..........................................................................................41
2.8 บรบิ ทดา้ นการศึกษาของจงั หวัดศรีสะเกษ................................................................43
๒.9 สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ………….………...……..….๔5
๒.10 โรงเรยี นบา้ นเพียมาต (รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) ..........................................................50
สารบัญ(ตอ่ )
หน้า
บทที่ 3 แนวทางการดำเนนิ การบูรณาการการศึกษาของสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
๓.๑ กลุ่มเปา้ หมาย …………………………………………….………...……..………………………..….. 89
๓.๒ เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัย …………………………………………….………...……..……………… 90
๓.๓ การสรา้ งและหาคุณภาพของเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย …………………………………… 90
๓.๔ การดำเนนิ การพฒั นาและวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล ……………………………………... 94
๓.๕ การวิเคราะหข์ ้อมูล …………………………………………….………...……..…………………….. 95
บทที่ 4 ผลการวจิ ยั
4.๑ การเลอื กพนื้ ที่ …………………………………………….………...……..………………………..….. 96
4.๒ ข้อมลู เกยี่ วกับโรงเรียน …..………………………………………….………...……..……………… 96
4.๓ ภาระกิจสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………… 90
4.๔ การบรหิ ารแผนสคู่ วามสำเร็จ ……………………………………………………………………...109
4.๕ ปจั จยั ความสำเรจ็ …………………………………………….………...……..………….………….. 109
4.๕ การพัฒนารปู แบบการบูรณาการ 5 SUCCES GOALS MODEL
โรงเรียนบา้ นเพยี มาต (รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2……………………….………...……..……….......……………. 111
บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ
5.๑ สรปุ ผลการวิจัย ………………………………………….………...…….………………………..….. 112
5.๒ อภปิ รายผล …………………………………………….……………………...……….………….… 116
5.๓ ข้อเสนอแนะ………………................................................................…………………… 117
บรรณานุกรม ............................................................................................................................ 118
ภาคผนวก.................................................................................................................................. 122
คณะผูว้ จิ ยั .................................................................................................................................. 131
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและสภาพปัจจบุ นั ปญั หา
การจัดการศึกษาของประเทศไทยในระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษาในปัจจุบัน
พบว่าจำนวนประชากรในวัยเด็กมีแนวโน้มจะลดลงอย่างต่อเน่ือง ส่งผลต่อการเพ่ิมข้ึนของจำนวน
โรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีนักเรียนน้อยกว่า 120 คน กระจัดกระจายตามหมู่บ้านจำนวนมาก โรงเรียน
ขนาดเล็กส่วนใหญ่ประสบปัญหาคล้ายคลึงกันใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารจัดการ เกิดจาก
จำนวนนักเรียนลดลงทำให้มีอัตราส่วนครูต่อนักเรียนลดลง นักเรียนต่อห้องเรียนต่ำกว่ามาตรฐาน
ค่าใช้จ่ายต่อหัวสูงกว่าโรงเรียนขนาดกลางและโรงเรียนขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนขนาดเล็ก
อีกจำนวนหน่ึงท่ีอยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีลักษณะพิเศษ เช่น พ้ืนที่ห่างไกล พื้นที่บนภูเขาสูง บนเกาะ ชายขอบ
ของประเทศ จึงทำให้การบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพยากลำบากส่งผลให้คุณภาพการจัด
การศึกษายังไม่ได้มาตรฐานเท่าที่ควร 2) ด้านการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนขนาดเล็ก มีครูไม่ครบ
ชั้น ครูส่วนใหญ่ขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในสภาพที่ครูไม่ครบชั้นและ
นักเรียนมีจำนวนน้อยในแต่ละชั้น หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ไม่สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน สื่อการเรียน การสอนและแหล่งการเรียนรู้มีจำนวนจำกัด ซึ่งส่งผลให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ 3) ด้านความพร้อมทางปัจจัยของโรงเรียนและด้านการมีส่วนร่วมใน
การพัฒนาโรงเรียน ในการจัดสรรงบประมาณให้กับโรงเรียนท่ีผ่านมาได้ใช้เกณฑ์จำนวนนักเรียนในการ
จัดสรรงบประมาณจึงทำให้โรงเรียนขนาดเล็กได้รับจัดสรรงบประมาณและบุคลากรไม่เพียงพอต่อการ
บริหารจัดการศึกษาภายในโรงเรียน 4) ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาประสิทธิภาพ
ของการศึกษาในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานที่ยังมีบาทบาทไม่มากนัก และมโี รงเรียน
เพียงส่วนน้อยที่มีความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชนในท้องที่ในการสนับสนุนการดำเนินงานของ
โรงเรียน1 ปัญหาด้านความเหลื่อมล้ำทางการการศึกษาที่เชื่อมโยงมาจากจำนวนประชากรวัยเด็ก
ลดลง สภาพสังคมและเศรษฐกิจท่ีมีความแตกต่างกันมากส่งผลต่อความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา
โดยเฉพาะครอบครัวที่มีรายได้น้อยขาดความพร้อมในการดูแลเด็กทำให้สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำ
ทางการศึกษาของประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้น เช่น ปัญหาเด็กในช่วงอายุก่อนวัยเรียนที่ไม่ได้เข้าไปอยู่ใน
ระบบการศึกษาปฐมวัยมีสัดส่วนสูงกว่าร้อยละ 10 ซ่ึงโดยส่วนใหญ่เป็นเด็กจากครอบครัวท่ีมีรายได้
น้อยส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ทักษะการเรียนรู้ และความเส่ียงต่อการออกจากระบบการศึกษา
ก่อนการสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ ไม่ได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพจึงเป็นอุปสรรคในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์เป็นอย่างย่ิงต่อเน่ืองไปจนถึงการขาดโอกาสทางการศึกษาและความเสมอภาค
ทางการศึกษา (Inequality education) ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายการเรียนฟรี 15 ปี มาอย่าง
ต่อเน่ืองกลับพบวา่ เดก็ ยังขาดโอกาสทางการศกึ ษาทีจ่ ะเขา้ ถงึ การศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพ ประกอบกบั ปจั จยั
๒
ด้านที่ตั้งของโรงเรียน คุณภาพของอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน การจัดการด้าน
งบประมาณ การขาดแคลนบุคลากร เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยท่ีส่งผลให้เกิดการเพ่ิมของอัตราการขาด
โอกาสทางการศึกษาในภาพรวม
ในขณะเดียวกันการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา พบว่าสถานศึกษาขนาดใหญ่ที่มีช่ือเสียง
ส่วนใหญ่มักระจุกตัวอยู่ในเมืองซึ่งเป็นส่วนน้อยของสถานศึกษาท้ังหมด ไม่ได้กระจายไปทั่ว
ท้ังประเทศอย่างทั่วถึง ส่งผลให้เกิดอัตราการแข่งขันสูงของโรงเรียนในจังหวัด ส่วนหนึ่งอาจเกิดจาก
ความไม่ม่ันใจของผู้ปกครองต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนในชนบทใกล้บ้าน ซ่ึงอาจพิจารณาจาก
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน ความไม่เท่าเทียมกันของมาตรฐานของสถานศึกษา ทำให้เด็กต้องการ
เรียนโรงเรียนที่มีคุณภาพมากกว่า จึงเกิดความเหลื่อมล้ำอย่างเห็นได้ชัดในสังคมเมืองและสังคม
ชนบท ในโรงเรียนแข่งขันสูงจึงเกิดภาวะนักเรียนเกินอัตราต่อห้องเรียนโรงเรียน เกิดความแออัด
คับแคบของโรงเรียน โรงเรียนมีพื้นที่ไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ ในทางกลับกันโรงเรียน
ในชนบทกลับมีนักเรียนเข้าเรียนน้อยและส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่ครอบครัวมีรายได้น้อย ไม่สามารถ
ส่งบุตรหลานไปเรียนในโรงเรียนแข่งขันสูงได้ ถึงแม้จะมีการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาไปสู่
จังหวัดหากแต่ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษายังคงอยู่และมีแนวโน้มสูงข้ึนตามสภาพ
ของเศรษฐกิจของพื้นท่ี
สำหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาของประเทศไทยจากรายงานของ
เวิลด์แบงก์ (World Bang) ได้มีข้อเสนอให้ประเทศไทยแก้ปัญหาความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา
ที่กำลังถูกซ้ำเติมจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในกระบวนการ
การจัดการศึกษาควรนำเทคโนโลยีมาเชื่อมโยงการจัดการศึกษา พร้อมกับการเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพในการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ เพื่อลดความเหล่ือมล้ำและการเข้าถึงการจัด
การศึกษาได้อย่างมีคุณภาพมีการลงทุนในครูโดยการฝึกอบรมความรู้ทางด้านวิชาชีพ และทักษะ
การสอน เพื่อพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน และมีความยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เพ่ือให้นักเรียนสามารถเรียนรู้
ได้ทุกท่ี ทุกเวลา ตามนโยบายการลงทุนของภาครัฐ อีกท้ังต้องให้ความคุ้มครองและปกป้องเยาวชน
ไม่ให้ถูกซ้ำเติมจากการคุกคามในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการคุกคามทางเพศ การล้อเลียน (Bully) และ
การเหยียดหยามในทุกรูปแบบ ในการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ เพ่ือลดความเหล่ือมล้ำและ
การเข้าถึงการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพซ่ึงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2580) ได้ระบุความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งมีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพื่อพัฒนา
คนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย
ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ
สังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลัก
คิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และ
อนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็น
คนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพ
ตามความถนัดของตนเอง แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปด้านการศึกษา (ฉบับ
๓
ปรับปรุง) ท่ีมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและ
ปฏิรูประบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ สามารถรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษาและ
ตอบโจทย์การพัฒนาของโลกอนาคต โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาที่มี
คุณภาพ ตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ไขปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ
ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต และเป็น
พลเมืองท่ีรู้สิทธิและหน้าท่ีมีความความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภาคภูมิใจใน
ความเปน็ ไทย
ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 7 ตุลาคม 2562 ให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พิจารณาดำเนินการควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระยะทางห่างจากโรงเรียนในสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในตำบลเดียวกันน้อยกว่า 6 กิโลเมตร ให้บังเกิดผล
อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาให้เพ่ิมสูงขึ้น เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการเรียน
การสอน และลดภาระค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านบุคลากรและการบริหารจัดการ โดยที่
กระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาของประเทศและ
ได้เร่งรัดการยกระดับคุณภาพการศึกษาให้เท่าเทียมกันทุกพื้นที่ตามภารกิจหลักตามแผนยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคน
ตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายรัฐบาลที่เก่ียวข้องท้ังนโยบาย
หลักและนโยบายเร่งด่วน โดยประกาศเป็นนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้
แนวคิด “ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง” เพ่ือให้การทำงานของกระทรวงศึกษาธิการเกิดความ
อิสระ คล่องตัว ปรับตัวให้ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลงโดยการปรับร้ือและเปลี่ยนระบบการบริหาร
จัดการให้มีประสิทธิภาพ กระชับ หลวมรวมภารกิจเพ่ือให้เกิดความเป็นเอกภาพ รวมทั้งนำ
เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยทั้งการบริหารงานและการจัดการศึกษา ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบ
การบริหารทรัพยากร มุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผน/โครงการแบบร่วมมือบูรณาการ กระบวนการ
จัดทำงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค้า สร้างความเช่ือมั่นให้ภาคส่วนต่างๆ สนับสนุนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษามากย่ิงข้ึน ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนโดยมุ่ง
บริหารจัดการอัตรากำลังคนให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ พัฒนาสมรรถนะ ความรู้
ความสามารถของบุคลากรให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการจัด
การศึกษาและการเรียนรู้ มุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิและการเรียนรู้ตลอดชีวิต2
โดยนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ีสำคัญในแก้ไขปัญหาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำด้านการจัด
การศึกษา ตามแนวคิด “ทำโรงเรียนเล็ก ให้เป็นโรงเรียนใหญ่” คือ 1) การบริหารจัดการโรงเรียน
ขนาดเล็กที่มีนักเรียนน้อยกว่า 120 คน 2) การลดการกระจุกตัวในโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่
ให้นักเรียนได้เรียนในโรงเรียนมัธยมคุณภาพใกล้บ้านมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนตามความถนัดเฉพาะ
ทาง และ 3) การเพ่ิมคุณภาพให้โรงเรียนระดับประถมศึกษาท่ีอยู่ห่างไกล ทุรกันดารและสามารถ
พึ่งพาตนเองได้ (STAND ALONE)
๔
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานตระหนักถึงความสำคัญในการแก้ไขปัญหา
โรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีแนวโน้มสูงขึ้นซึ่งเป็นผลจากแนวโน้มของประชากรวัยเด็กลดลงส่งผลต่อ
คุณภาพของผู้เรียน ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการกระจาย
ทรัพยากรให้แก่โรงเรียนในสังกัด จึงกำหนดแนวทางการสร้างโรงเรียนคุณภาพให้ชุมชนเป็น
“โรงเรียนคุณภาพของชุมชน” ในระดับประถมศึกษา ยกระดับคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษาที่อยู่ใน
ชนบทให้เป็น “โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง” ในระดับมัธยมศึกษา และเพ่ิมคุณภาพโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษาท่ีอยู่ห่างไกลและมีความสามารถพ่ึงพาตนเองในการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพให้
เป็น “โรงเรียนSTAND ALONE” การขับเคล่ือนการดำเนินงานดังกล่าวกระทรวงศึกษาธิการได้มี
คำส่ังแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ และข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการในแต่ละ
จังหวัด ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 11/2564 เร่ือง การบูรณาการด้านการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ สงั่ ณ วนั ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564
จากนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล โดยการบริหารจัดการโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษาขนาดเล็กในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้สามารถจัด
การศึกษาอย่างมีคุณภาพและเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของโรงเรียน โดยการกำหนด
แนวทางการขับเคล่ือนการดำเนินงานตามนโยบาย “โรงเรียนคุณภาพของชุมชน” และ “โรงเรียน
STAND ALONE” ให้สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาดำเนินการคัดเลือกโรงเรียนท่ีมีความพร้อม และ
เหมาะสม ในองค์ประกอบทุกด้านเป็นโรงเรียนหลักของชุมชน มีการบริหารจัดการงบประมาณ
บุคลากร สิ่งอำนวยความสะดวกให้พร้อม โดยยึดหลักการทำโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็นโรงเรียนขนาด
ใหญ่ท่ีเกิดจากการรวมโรงเรียนเครือข่าย จำนวนไม่เกิน 10 โรงเรียน (จำนวน 7 – 8 โรงเรียน) ให้เป็น 1
กลุ่มโรงเรียนที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกล ทุรกันดาร แต่สามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างมีคุณภาพให้เป็น
“โรงเรียน STAND ALONE” หรือในอัตราส่วนที่มากท่ีสุดท่ีสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสามารถ
ดำเนินการได้ เพื่อให้เป็นโรงเรียนศูนย์กลางการเรียนรู้ให้ผู้ปกครอง ชุมชนเชื่อม่ัน และเกิดการ
ยอมรับ สำหรับโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาจะมีการยกระดับคุณภาพของโรงเรียนท่ีอยู่ในชนบทหรือ
อำเภอต่าง ๆ ให้ท่ัวทั้งจังหวัดเพื่อการกระจายคุณภาพการจัดการศึกษา ไม่ต้องให้นักเรียนเดินทาง
มาสมัครเข้าเรียนในโรงเรียนประจำจังหวัด หรือโรงเรียนที่มีช่ือเสียง โดยจะจัดสรรทรัพยากรทั้งด้าน
งบประมาณ และบุคลากรพร้อมท้ังเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อให้เป็น “โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง” ให้มี
คุณภาพทัดเทียมกับโรงเรียนในจังหวัดต่อไป ในการ“ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง” เพื่อลดความ
เหลอื่ มลำ้ ด้านการศึกษา โดยยดึ คุณภาพผ้เู รยี นและประสิทธิภาพในการบริหารจดั การเป็นสำคัญ
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนท่ี
การการศึกษา (ก.ต.ป.น.) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้ดำเนินการ
ตามกระบวนการ ข้ันตอน และแนวทางที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
ตามนโยบายโรงเรียนคุณภาพของชุมชน และขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติด้วยรูปแบบการพัฒนา
การศึกษา ระดับประถมศึกษา เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีประสิทธิภาพและ
เกิดประสทิ ธผิ ลตอ่ ไป
๕
1.2 วตั ถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยา
คาร) สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2
2) เพ่ือยกร่างรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยา
คาร) สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษเขต 2
3) เพ่ือพัฒนารูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยา
คาร) สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2
4) เพ่ือนำเสนอรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์
พทิ ยาคาร) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2
1.3 เปา้ หมาย
1.3.1 เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ
สร้างรูปแบบโรงเรียนคุณภาพของชุมชนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 จำนวน 1 โรงเรียน
1.3.2 เป้าหมาย เชงิ คณุ ภาพ
โรงเรียนระดับประถมศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะ
เกษเขต 2 จำนวน 1 รูปแบบ คือ โรงเรียนคุณภาพของชุมชน ได้รับการพัฒนาและยกระดับ
คุณภาพ ให้สูงขึ้นอย่างรอบด้านเปน็ ทีย่ อมรบั ของชมุ ชนและสงั คม
1.4 ระยะเวลา
ปกี ารศกึ ษา 2564
1.5 กรอบแนวคดิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การขับเคล่ือนโรงเรียนคุณภาพของชุมชน เป็นการออกแบบแนวทางในการดำเนินงานให้ประสบ
ความสำเร็จ โดยสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้นำเสนอรูปแบบการ
พัฒนาและกรอบแนวคดิ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ดงั แผนภาพที่ 1.1
๖
กรอบแนวคดิ
การพฒั นารปู แบบการบูรณาการพัฒนาการศกึ ษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร)
สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
การผนึกกาํ ลัง ระดับประถมศึกษา ภารกจิ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การศกึ ษาตลอด -บริหารจัดการ
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ชวี ติ งบประมาณท่ีคEมุ คDา
-สพป.ศรสี ะเกษ เขต 2 -สรEางโรงเรยี นคณุ ภาพ
-ศนู ยก? ารศึกษาพิเศษศรี การศกึ ษาสภาพปัจจุบนั ปัญหา ของชุมชน
สะเกษ -จดั สรรบุคลากรใหEเขาE ถึง
กระทรวงมหาดไทย -การบรหิ ารจัดการ โรงเรยี น
-องค?กรปกครองสวD น โรงเรยี นขนาดเล็ก -เพ่ิมประสิทธิภาพการ
ทEองถ่ิน คณุ ภาพการศกึ ษาไมDไดE จดั การเรียนรEขู องครู
-สDวนราชการอ่ืนๆ มาตรฐานตามเปาS หมาย -เพิ่มประสทิ ธภิ าพการ
ของ บริหารองคก? รของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ผูEบรหิ าร
-เพมิ่ คุณภาพทุนมนุษยใ? หE
ตอบโจทยต? ลาดแรงงาน
แผนภาพ 1.1 การพฒั นารูปแบบการพัฒนาการศึกษา โรงเรยี นบ้านเพียมาต
(รฐั ราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ
เขต 2
๗
แรสผะงั นดกบัภัด.าส..พำ..น.ส1กั แงั.ง2กผาดันนแสกเสขำาดนรตงพกัพแงัฒื้นผาทนนนี่กากเขราาูปตรรศพพแึกบัฒนื้ ษบทนาก.่ีา.ปารปรรูปะีงพแบถัฒบมปบนศรากะึกกามษาราารบณศศูรรึกณ2ีสษะา5ากเ6กา5ษรก-เาข2รตศ5ึก62ษ9า
ปงี บประมาณ 2565 – 2569
วิสัยทัศน) Smart Students : นกั เรียนฉลาดรู้
(เป็นคนดี มีปัญญา มีทกั ษะในศตวรรษท<ี =>)
ยุทธศาสตร์ กระบวนการ เป้าหมาย ผลผลติ
1.โอกาสและความ
แผนงาน โรงเรียน -ผ้เู รียนคณุ ภาพ
เสมอภาคทาง โครงการตาม คุณภาพชมุ ชน -โรงเรียน
การศกึ ษา ยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือ คุณภาพ
2. พฒั นาคณุ ภาพ
วางรากฐาน -จังหวัด
และมาตรฐาน ระบบการ ตน้ แบบ
การศกึ ษา พฒั นาผูเ้ รยี น คณุ ภาพ
3. เสรมิ สรา้ งความ
อย่างตอ่ เนอื่ ง การศกึ ษา
เข้มแข็งของโรงเรยี น
4. ส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมของทกุ ภาค
ส่วนในการจดั
การศึกษา
แผนภาพ 1.2 แสดงแผนการพัฒนารปู แบบการบรู ณาการการศกึ ษา สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2 ปีงบประมาณ 2565 – 2569
๘
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
1.5.1 แผนบรู ณาการพัฒนาการศึกษา หมายถึง แนวปฏิบัติท่ีกำหนดขนึ้ โดยใชก้ ระบวนการ
ผสมผสานให้เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึน ในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
1.5.2 โรงเรียนคุณภาพของชุมชน หมายถึง โรงเรียนหลักในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ที่ได้การพัฒนาด้านต่าง ๆ ท้ังด้านกายภาพ ด้านบุคลากร
และด้านเครือข่าย ให้เป็นโรงเรียนใหญ่ของชุมชนที่มีความเพียบพร้อม สามารถรองรับนักเรียนจาก
โรงเรียนเครอื ขา่ ยและทำงานผสมผสานรว่ มกนั กับโรงเรียนเครอื ข่ายในการจดั การศึกษาที่มคี ณุ ภาพ
1.5.3 โรงเรียนปกติ หมายถึง โรงเรียนท่ัวไปในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2ทีน่ อกเหนอื จากโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
1.6 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1.6.1 ได้รูปแบบการบริหารจัดการการศึกษาแบบบูรณาการของสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 จำนวน 1 รูปแบบ ท่ีสอดคล้องกับสภาวการณ์ของโลก
ปัจจบุ นั
1.6.2 เพ่ิมคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสำนักงานเขต
พื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
1.6.3 การลงทุนด้วยการจัดการศึกษาได้แนวทางในการใช้ทรัพยากรเพื่อให้เกิดความคุ้มค่า
มากยิง่ ขึ้น
บทที่ 2
เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง
ในการศึกษาวิจัย เร่ือง การพัฒนารูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา โรงเรียนบ้านเพีย
มาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 มี
เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั นโยบาย หลกั การ แนวคิด และ ดงั น้ี
2.1 การพฒั นาและยกระดับคุณภาพการศกึ ษาของประเทศไทยในสถานการณใ์ นปัจจบุ ัน
2.2 นโยบายการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการของจังหวัดของรฐั มนตรวี า่ การ
กระทรวงศึกษาธกิ าร
2.3 นโยบายการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน “สพฐ. วถิ ีคุณภาพ”
2.4 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580)
2.5 วจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ
2.6 ทฤษฎีการมีสว่ นรว่ ม
2.7 ทฤษฎีการทำงานเปน็ ทีม
2.8 บริบทของจังหวดั ศรสี ะเกษ
2.9 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2
๒.10 บรบิ ทโรงเรียนบา้ นเพยี มาต(รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร)
2.1 การพัฒนาและยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของประเทศไทยในสถานการณใ์ นปจั จบุ ัน
การศึกษามีบทบาทสำคัญในพัฒนาคนทุกช่วงอายุต่อเนื่องตลอดชีวิต และเพ่ือให้ประเทศชาติ
บรรลุเป้าหมายการพัฒนาการศึกษาของประเทศ จึงจำเป็นต้องพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ
มาตรฐาน และประสิทธิดีพอที่จะพัฒนาเยาวชนในประเทศให้ก้าวทันการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
ตามกระแสโลกาภิวัตน์ รัฐจึงได้ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ข้ึนโดยกำหนดให้การศึกษาเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และมีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต
สามารถอยรู่ ว่ มกับผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข สรุปสาระสำคัญ ดงั น้ี
2.1.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2545
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
มาตรา 7 กำหนดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ซ่ึงประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
และระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายนอก
มาตรา 48 ได้กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
จดั การศกึ ษาทต่ี อ้ งดำเนินอยา่ งต่อเนือ่ ง
๑๐
มาตรา 49 กำหนดให้สำนักรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา ทำการ
ประเมินผลการจดั การศึกษาเพือ่ ใหม้ ีการตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา และ
มาตรา 50 กำหนดให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐาน
บุคลากรกรรมการสถานศึกษาผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษาให้ข้อมูลเพ่ิมเติมในส่วน
ทเี่ ห็นวา่ เกยี่ วขอ้ งกบั การปฏิบตั ิภารกจิ ของสถานศึกษาอีกด้วย
ต่อมารัฐจึงออกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2553 ระบุว่า สถานศึกษาต้องมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง
ประกอบด้วย (1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (2) การจัดทำแผนพัฒนาการจัดกร
ศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (3) จัดระบบบริหารและ
สารสนเทศ (4) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (5) จัดให้มีการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (6) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา (7) จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในและ (8) จัดให้มีการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ืองซ่ึงการดำ เนินงานดังกล่าวให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วม
ของชุมชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้องโดยการส่งเสริมสนับสนุนและกำกับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เปน็ ต้นมา (ราชกจิ จานเุ บกษา, 2553 : 22-26)
จากสถานการณ์ในโลกปัจจุบันที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของประเทศไทย
ซ่ึงมีความจำเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพและยกระดับการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานโดยกำหนด
เป็นแผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ดงั น้ี
2.1.2 แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
การพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความม่ันคงม่ังคั่งและย่ังยืนให้เกิดขึ้นในอนาคตน้ันจะต้อง
ให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็งและมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อน
กระบวนการการพัฒนาทั้งในระยะกลางและระยะยาวโดยเฉพาะ “การพัฒนาคน” ให้มีการเตรียม
ความพร้อมรับการเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงมีสิ่งท่ีสำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้
และการเสริมสร้างปัจจัยแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพของคนโดยการน้อมนำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาประยุกต์ใช้ท้ังในเชิง
ระบบและโครงสร้างของสังคมไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนแต่ที่ผ่านมา
ประเทศไทยไม่ได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ประเทศ เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของประเทศในระยะยาว
เม่ือมีการเปลี่ยนรัฐบาลก็ทำให้นโยบายขาดความต่อเนื่อง การพัฒนาจึงเกิดภาวะหยุดชะงักหรือ
ชะลอตัวถือ เป็นการสูญเสียโอกาสและสิ้นเปลืองทรัพยากรประเทศ ดังนั้นเพื่อเป็นการปฏิรูประบบ
บริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยให้มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาวและเพื่อเป็นการ
กำหนดให้ฝ่ายบริหารมีความรับผิดชอบที่จะต้องขับเคล่ือนประเทศไปสู่เป้าหมายท่ีเป็นท่ียอมรับ
ร่วมกันและเป็นเอกภาพ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2559 อันเป็นกฎหมาย
สูงสุดของประเทศจึงได้กำหนดให้รัฐต้องจัดทำ “ยุทธศาสตร์ชาติ” เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผน
ต่าง ๆให้สอดคล้องและบูรณาการกันโดยภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติน้ีประเทศไทยต้องปฏิรูปและ
ปรับเปล่ียนอย่างเป็นระบบขนานใหญ่เพ่ือให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเหมาะสม
กับสถานการณ์ความเปล่ียนแปลงของสังคมโลกท่ีสำคัญในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
๑๑
แห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และต่อเน่ืองสู่แผนพัฒนาฯ ฉบับต่อ ๆ ไปนั้น สำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ยึดยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบแนวทาง
ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องกันไปตลอด 20 ปี นอกจากนี้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะ
หน่วยงานท่ีมีหน้าที่ในการจัดทำแผนการศึกษาระดับชาติในระยะยาวก็ได้พิจารณานากรอบแนวทาง
การดำเนินงานยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี มาใช้ประกอบการพิจารณาจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 – 2574 ด้วยเช่นกันเพื่อให้เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทาง
การพฒั นาการเรยี นรูส้ าหรับพลเมืองทุกช่วงวยั ต้ังแต่แรกเกิดไปจนตลอดชีวติ
ดังน้ันในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.
2560 - 2564) นอกจากจะคำนึงถึงสถานการณ์ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับสังคมไทยภูมิภาค
อาเซียนและสังคมโลกท่ีมีผลกระทบต่อการพัฒนาคนรวมทั้งกฎหมายที่สำคัญต่อการจัดการศึกษา
ของประเทศและมีผลให้อำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการปรับเปลี่ยนไปจากเดิมแล้ว
กระทรวงศึกษาธิการได้ยึดกรอบหลักการท่ีสำคัญอันได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.
2560 - 2579) ๒) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
และ 3) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2574 มาวิเคราะห์เพ่ือกำหนดเป้าหมายการพัฒนา
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการและแนวทางให้สามารถขับเคล่ือนไปสู่เป้าหมายดังกล่าวได้อย่าง
เป็นรูปธรรมเกิดประโยชน์กับผู้เรียนและประชาชนผู้รับบริการได้สอดคล้องกับทิศทางและเป้าหมาย
การพัฒนาประเทศในระยะ5ปีข้างหน้าท้ังในมิติความม่ันคงเศรษฐกิจสังคมและมิติการบริหารจัดการ
ภาครฐั ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพโดยปรากฏสาระสำคญั และประเด็นความเชื่อมโยงดงั น้ี
แผนภาพ 2.1 แสดงกรอบหลกั การของแผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี 12
(พ.ศ. 2560 - 2564)
๑๒
2.2 นโยบายการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการของจงั หวัดของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดประชุมพร้อมทั้งมอบนโยบายแผนบูรณาการการศึกษา
ท่ัวประเทศ โดยมีนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
การประชุม การบูรณาการด้านการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย
คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และนางกนกวรรณ วิลาวัลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการศึกษาธิการภาคศึกษาธิการจังหวัดและผู้แทนจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
เม่ือวันจนั ทรท์ ี่ 18 มกราคม 2564 ณ ห้องประชมุ ครุ สุ ภา มสี าระสำคัญ ดงั นี้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกล่าวว่าการศึกษาถือเป็นเครื่องมือช้ีวัดคุณภาพและ
ศักยภาพในด้านต่าง ๆ ของประเทศ เพ่ือเตรียมความพร้อมและสร้างทุนมนุษย์ (Human Capital)
ท่ีมีความสามารถในการแข่งขันกับนานาอารยะประเทศ และมีทักษะเท่าทันการเปล่ียนแปลง
ของศตวรรษที่ 21 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจึงเป็นสิ่งสำคัญและมีความจำเป็นเร่งด่วน ซ่ึงจาก
การลงพ้ืนที่สำรวจ พบว่าโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กว่า 15,000 แห่ง เป็นโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีจำนวนนักเรียนน้อยกว่า 120 คน ทำให้การบริหาร
จัดการงบประมาณท่ีมีอยู่ ไม่สามารถพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง
ไม่สามารถจัดสรรบุคลากรทางการศึกษาได้อย่างท่ัวถึง ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนการสอน
ของผู้เรียน กระทรวงศึกษาธิการจึงมีแนวทางท่ีจะบูรณาการการศึกษา เพื่อพลิกการศึกษา
ทุกตารางน้ิวของประเทศไทย โดยการผนึกกำลังการทำงานอย่างเป็นเอกภาพของทุกหน่วยงาน
ในกระทรวงศึกษาธิการ อาทิ การบริหารจัดการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพการสร้างโรงเรียน
คุณภาพให้กับชุมชนการจัดสรรบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีอยู่ในระบบให้เข้าถึงในทุกโรงเรียน เป็นต้น
เพ่ือให้เด็กได้เรียนในสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่มีความสมบูรณ์มากขึ้น พร้อมท้ังได้รับการเรียน
การสอนที่มีประสิทธิภาพจากการที่มีครูครบช้ัน ครบวิชา ในส่วนของโรงเรียนก็จะได้รับเงินอุดหนุน
ท่ีสามารถจัดทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนให้ความสำคัญกับวางรากฐานระบบ
การส่งต่อนักเรียน จากช้ันประถมศึกษา ไปยังระดับช้ันมัธยมศึกษาอาชีวศึกษาอุดมศึกษารวมถึงการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยนอกจากน้ีกระทรวงศึกษาธิการมีแนวทางท่ีจะต่อยอดการใช้พ้ืนที่โรงเรียน
บางส่วนในการพัฒนาส่ิงอำนวยความสะดวกให้กับชุมชน ท้ังการเป็นพื้นที่การเรียนรู้สำหรับเด็ก
การสร้างชุมชนครูหรือหอพักสำหรับครูและข้าราชการในพื้นที่ รวมท้ังการจัดพื้นที่สำหรับพัฒนา
ทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนในชุมชนให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละจังหวัดด้วย และให้
จังหวัดทั้ง 77 จังหวัด ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาในจังหวัดของตนเอง เพ่ือนำเสนอแนวทางพัฒนา
รวมถงึ การพจิ ารณาวางแผนงบประมาณท่ตี อ่ เนอ่ื งต่อไป
แผนบูรณาการการศึกษาดังกล่าว ได้มีการลงพ้ืนท่ีสำรวจและพัฒนาโดยใช้พ้ืนท่ีจังหวัดภูเก็ต
เป็นต้นแบบ ใน 3 แนวทางหลัก คอื
แนวทางที่ 1 พัฒนาโรงเรยี นคุณภาพชุมชนระดบั ประถมศึกษา
แนวทางที่ 2 เพิ่มศักยภาพโรงเรียนขนาดเล็กท่ีสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ
(Stand Alone)
แนวทางท่ี 3 ยกระดับโรงเรยี นมัธยมดีสี่มุมเมอื ง
๑๓
ซ่ึงในการจัดทำแผนบูรณาการการศึกษานั้น มีความจำเป็นที่ต้องปรับปรุงโครงสร้างในด้าน
ต่าง ๆ ดังน้ี
1. ครู สภาพปัญหาท่ีเกี่ยวกับครูผู้สอนน้ันมีหลายมิติ ได้แก่ ปัญหาที่เกิดจากโครงสร้าง
ระบบบริหารจัดการ และปญั หาทเี่ กดิ จากครผู สู้ อน
1.1 ปัญหาที่เกิดจากโครงสร้าง และระบบบริหารจัดการหลักสูตร การผลิตครู
ไม่สอดคล้องกับการปฏิบัติจริง จำนวนบัณฑิตท่ีจบใหม่ไม่สอดคล้องกับความต้องการท่ีแท้จริง คือ
มีมากกว่าความต้องการในภาพรวม แต่ครูกับไม่เพียงพอในบางสาขาวิชาที่ขาดแคลนนั้นคือ
ยังไม่สามารถผลิตครูให้ได้ในปริมาณท่ีเหมาะสม หรือเพียงพอในทุกระดับช้ัน ระดับการศึกษา
และสาขาวิชา และด้วยปัญหาการผลิตครูนี้ ทำให้ขาดแคลนครูท้ังในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพ
ครูหน่ึงคนต้องสอนมากกว่า 1 ชั้นเรียน โดยมีหน้าท่ีหลัก คือ การสอน การทำแผนการสอน การสอบ
(การออกข้อสอบ ตรวจข้อสอบ) นอกจากน้ียังมีภาระหน้าที่อ่ืนท่ีไม่เกี่ยวกับการสอนอย่างเช่น
งานการเงิน งานธุรการของโรงเรียน และโครงการต่าง ๆ ท่ีโรงเรียนมอบหมายเพ่ิมเติม อาทิงาน
ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรม ประกวดแข่งขันต่าง ๆ ซ่ึงมีอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้ครูต้องแบ่งเวลาส่วน
หนึ่งไปทำงานเหล่าน้ัน ทำให้งานการสอนซ่ึงเป็นหน้าท่ีหลักถูกลดความสำคัญลงไป ครูต้องท้ิง
ห้องเรียน และเวลาที่ให้กับการสอนในปีหน่ึง ๆ เป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการเรียนรู้
ของผ้เู รียน
1.2 ปัญหาท่ีเกิดจากครูผู้สอนแม้จะเป็นปัญหาที่เกิดจากความจำเป็นส่วนตัวของครู
แต่ละคนแต่เป็นส่วนหนึ่งท่ีส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาของไทย เนื่องจากหนี้สินท่ีเกิดข้ึนทำให้ครู
ขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน มีคุณภาพชีวิตลดลง จนต้องหางานพิเศษอ่ืนมาเสริม เพื่อให้มีรายได้
เพิ่มขึ้น ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิต หรือนำไปใช้หนี้สินที่มีอยู่เดิม ทำให้การอุทิศเวลาให้กับการสอน
เป็นไปอย่างไม่เต็มท่ี ตลอดจนการหาโอกาสที่จะพัฒนาตนเองเพื่อเสริมสร้างความรู้ความสามารถ
ทักษะการสอนท่ีเพียงพอที่จะถ่ายทอดแก่ผู้เรียน รวมถึงการทำผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ ท้ังนี้
สาเหตุหลักมาจากการใช้เวลาไปกับการทำกิจกรรมส่วนตัว เช่น การประกอบอาชีพเสริม อันเน่ืองมาจาก
ภาระหนส้ี นิ ของครู
2. สถานศึกษา สภาพปัญหาของสถานศึกษาในปัจจุบันมีมาตรฐานไม่เท่ากันและมีขนาด
ไม่เท่ากัน ทำให้เกิดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษาภายในประเทศค่อนข้างสูง และจากผลการประเมิน
มีการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อกำกับ ควบคุม ส่งเสริม และพัฒนาการประกันคุณภาพ
ท้ังระดับภายในและภายนอก ยังมีปัญหาด้านคุณภาพการจัดการศึกษา คุณภาพของสถานศึกษา
ยังไม่พัฒนาได้เท่าเทียมกัน มีสถานศึกษาที่พัฒนาแล้ว และสถานศึกษาที่ยังไม่พัฒนา ต้องมีการกำกับ
ติดตามคณุ ภาพตอ่ ไป และเพื่อให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ สถานศึกษาจึงมีความจำเป็น
ทจี่ ะตอ้ งได้รับการพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานทง้ั ดา้ นกายภาพ ด้านบุคลากร และเครอื ขา่ ย
3. หลักสูตร มุ่งเน้นการปรับปรุงหลักสูตร โดยปรับเปล่ียนให้ทันสถานการณ์โลก ทันเทคโนโลยี
พัฒนาทักษะต่าง ๆ เพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนในชุมชนให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละจังหวัด
แนวทางการพัฒนาการศึกษานอกจากจะมุ่งเน้นทางด้านวิชาการแล้ว ยังมีแนวคิดที่จะส่งเสริมทักษะ
ด้านภาษาท่ีสองและสามให้กับนักเรียน นักศึกษา ตลอดจนการสร้างโรงเรียนฝึกอาชีพเพ่ือรองรับ
อุตสาหกรรมการท่องเทยี่ ว และด้านอืน่ ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั บริบทของพ้ืนที่ เปน็ ตน้
๑๔
4. ผู้บริหาร ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาและผู้อำนวยการ
สถานศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมปรับปรุงหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการเข้าสู่ผู้บริหาร
การพัฒนาหลักสูตรสู่แนวใหม่ที่เน้นการตอบสนองผู้เรียนและชุมชน การบริหารงานแบบมืออาชีพ
เพอื่ เตรียมความพร้อมทีส่ ร้างความมัน่ ใจให้ทุกฝ่าย
5. นักเรียน ต้องการการแนะแนวทางให้มีรากฐานท่ีแข็งแรงในโลกปัจจุบัน ปัจจุบัน
การแนะแนวมีบทบาทในการศึกษามากย่ิงขึ้น เน่ืองจาก การแนะแนวมีจุดมุ่งหมายและหลักการ
ที่สอดคล้องหรือเหมือนกันกับจุดมุ่งหมายของกรศึกษา คือ การช่วยให้เยาวชนของชาติเป็นผู้ที่คิดเป็น
โดยเน้นให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาในทุกๆ ด้าน มุ่งสนองความต้องการและความสนใจ
ของผู้เรียน นอกจากนี้กิจกรรมที่จัดขึ้นในโรงเรียนน้ัน ยังกำหนดให้จัดข้ึนโดยต้องครอบคลุม
ทั้ง 3 ด้าน ของการแนะแนว คือ การแนะแนวการศึกษา การแนะแนวอาชีพ การแนะแนวบุคลิกภาพ
และการปรบั ตน โดยเฉพาะด้านความประพฤติ
การที่วิชาการแนะแนว หรือปัจจุบันนิยมเรียกว่าจิตวิทยาการแนะแนวเข้ามามีบทบาทใน
การศึกษามากข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ก็เนื่องจาก
เยาวชนเป็นผู้ที่มีความสำคัญต่อประเทศชาติ เพราะจะเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต ซ่ึงจะต้องรับผิดชอบ
ประเทศชาติต่อไป จึงสมควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ เพื่อช่วยให้เยาวชนเหล่าน้ันสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมท่ีมี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลาได้อย่างมีความสุข และเป็นบุคคลท่ีมีคุณสมบัติเป็นที่
พึงประสงคข์ องประเทศชาติ
6. บุคลากรทางการศึกษา การส่งเสริมแรงจูงใจเป็นกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ซ่ึงเป็นเร่ืองสำคัญในองค์กร ซึ่งถือเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการบริหารทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารงาน
ในองค์กร กลยุทธ์ในการแสวงหา คัดเลือก และบรรจุบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสม
ให้ปฏิบัติงานในองค์กร รวมถึงการบำรุงรักษาบุคคลในองค์กรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง
เต็มความสามารถ ท้ังโดยให้สามารถตอบสนองความต้องการขององค์กรและความต้องการของ
ผู้ปฏิบัติ มีความม่นั คง ความชดั เจนในอัตรากำลงั ความก้าวหน้า
เป้าหมาย
ปัจจุบัน ในประเทศและสังคมโลกท่ีมีการพัฒนาก้าวไกลแล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านความ
เจริญทางเทคโนโลยี การคมนาคม หรือการขนส่งต่าง ๆ นั้น ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยเก้ือหนุนทำให้เกิด
ความเปล่ียนแปลงในสังคมมนุษย์ได้ แม้กระทั่งการศึกษาในยุคปัจจุบันก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป
ตามยุคตามสมัยอยู่ตลอดเวลาตามวิถีทางสังคมมนุษย์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีไร้ขีดจำกัด
การศึกษาไทย แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงตามยุคตามสมัย และวิถีความเปล่ียนแปลงของสังคมโลก
โดยเฉพาะประเทศที่มีการพัฒนาแล้วก็ตาม หลักสูตรและวิธีการจัดการเรียนรู้ใหม่ ๆ ยังไม่สามารถ
บ่งชี้ให้ครูผู้สอนเห็นว่าผู้เรียนเกิดความเปลี่ยนแปลงในการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ให้สูงขึ้นทั้งหมดท่ัวประเทศได้ ซึ่งขณะเดียวกันครูผู้สอนก็ได้พยายามอย่างเต็มที่เพ่ือหาวิธีที่จะทำให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสม และนำมาเพ่ือการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงนอกจาก
๑๕
จะพัฒนาในด้านวิชาการแล้ว ยังมุ่งเน้นการพัฒนาด้านทักษะอาชีพให้แก่ผู้เรียนท่ีตอบสนองต่อความ
ต้องการของตลาดแรงงานตามบริบทของพ้ืนที่ เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ เสริมสร้างทักษะ มองหา
ความถนัดของตนเอง ที่จะพัฒนาเป็นอาชีพต่อไปในอนาคต สร้างรายได้ให้ตนเอง และครอบครัว
อีกท้ังยังเป็นการสนองนโยบายของรัฐบาลในการสร้างความสามารถพัฒนาทักษะและเสริมสร้าง
ประสบการณ์ด้านอาชีพให้แก่เด็กและเยาวชน และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป
ในอนาคต
โรงเรียนคุณภาพ
โครงสรา้ งพน้ื ฐานของโรงเรียนคณุ ภาพ ประกอบดว้ ย
- ห้องดนตรี
- หอ้ งปฏบิ ัตกิ รวิทยาศาสตร์
- หอ้ งคอมพวิ เตอร์
- หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทกั ษะอาชพี หอ้ งศลิ ป/หัตถกรรม
- สระว่ายน้ำ
- สนามกีฬา
- ครูครบวชิ า
- ครคู รบชั้น
- สอนตรงวชิ าเอก
- ครตู ่างชาติ
- มีงบประมาณเพียงพอ ครูครบวิชา
2.3 นโยบายการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
“สพฐ. วิถีคณุ ภาพ”
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ช้ันพ้ืนฐานเรื่อง นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ –
๒๕๖๕ เพ่ือให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานให้สอดคล้อง
กบั นโยบายการขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการศกึ ษา ดังนี้
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนปฏิรูปประเทศ
ด้านการศึกษากำหนดให้มีการพัฒนาเด็กต้ังแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะท่ีดี สมวัย
ทุกด้านโดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ๒1 ตระหนัก
ถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
ตามมาตรฐาน มีทักษะท่ีจำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทำงานร่วมกับ
ผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผลมีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิ
และหน้าที่ มคี วามรบั ผิดขอบและมจี ิตสาธารณะ
สำนักงานคณะกรมภารการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้เป็น
"การศึกษาขั้นพ้ืนฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ" มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาส
ทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนด
๑๖
นโยบายเพื่อการขับเคลื่อนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 – 2565 ดังน้ี
1) ดา้ นความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อม
ทเี่ อื้อต่อการมีสขุ ภาวะทด่ี ีสามารถปรบั ตัวตอ่ โรคอบุ ตั ใิ หม่และโรคอุบัตซิ ้ำ
2) ด้านโอกาส
2.1) สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ
วินยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา ใหส้ มกับวัย
2.2) ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อย่างมี
คุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ
และประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
ทม่ี ีความสามารถพเิ ศษสคู่ วามเป็นเลิศ เพ่อื เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
2.3) พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือป้องกัน
ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมท้งั ชว่ ยเหลือเดก็ ตกหล่นและเดก็ ออกกลางคันให้ได้รบั การศกึ ษาชัน้
พน้ื ฐานอยา่ งเท่าเทียมกนั
2.4) ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓) ด้านคุณภาพ
๓.1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจำเป็น
ของโลกในศตวรรษที่ ๒1 อย่างครบถ้วน เป็นคนตี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้อง
ตอ่ บา้ นเมือง
3.2) พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการ
แข่งขนั และการเลือกศึกษาต่อเพื่อการมีงานทำ
๓.๓) ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็น
ในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้าง
สมดุลทุกด้านส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผล
ผ้เู รยี นทุกระดบั
๓.๔) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียน
การสอนมีการพัฒนาตนเองทางวิชาชพี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทัง้ มจี ติ วิญญาณความเป็นครู
๔) ดา้ นประสิทธิภาพ
๔.1) พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการ
ขับเคลอ่ื นบนฐานขอ้ มลู สารสนเทศท่ีถกู ต้อง ทันสมยั และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
๑๗
4.2) พฒั นา โรงเรยี นคุณภาพของ ให้มีคุณภาพอยา่ งยัง่ ยืน สอดคลอ้ ง กับบรบิ ทของพืน้ ที่
4.3) บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ - 3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบาย
โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน
4.4) ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ
และสถานศกึ ษาทตี่ ้ังในพน้ื ที่ลกั ษณะพเิ ศษ
4.5) สนับสนุนพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
และการเพ่ิมความคลอ่ งตวั ในการบริหารและการจัดการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๔.๖) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
แผนภาพ 2.2 แสดงกลมุ่ เปา้ หมายในการพัฒนา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2.4 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580)
ภายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) มีส่วนที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา
ของประเทศ ดงั น้ี
2.4.1 ประเดน็ การปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ชาติให้ความสำคัญ กับการพัฒ นาทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจาก
เป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของประเทศในระยะยาว โดยการจะพัฒนาประชากรท่ีดี
และสมบูรณ์นั้น นอกจากการยกระดับในด้านสุขภาวะและด้านทักษะการศึกษาแล้ว จะต้องพัฒนา
ด้านค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีของประชาชนทุกกลุ่มวัยควบคู่กันไปด้วย เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย
ของยุทธศาสตร์ชาติ ในการพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ
โดยในช่วงที่ผ่านมาประชากรไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรมและไม่ตระหนัก
ถึงความสำคัญของการมีวินัย ความซ่ือสัตย์สุจริต และการมีจิตสาธารณะดังปรากฏในผลการสำรวจ
ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตา่ ง ๆ อาทกิ ารสำรวจโดยศูนยค์ ณุ ธรรม (องคก์ รมหาชน)
๑๘
เป้าหมาย คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และมีความรัก และภูมิใจ
ในความเป็นไทย คนไทยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิตสังคมไทย
มคี วามสุขและเป็นทีย่ อมรบั ของนานาประเทศมากขนึ้
ตัวช้ีวัด ดัชนีคุณธรรม ๕ ประการ ได้แก่ ความซ่ือสัตย์สุจริต การมีจิตสาธารณะ
การเป็นอยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง การกระทำอย่างรับผิดชอบ ความเป็นธรรมทางสงั คม
แผนแม่บทฯ ประกอบดว้ ย ๓ แผนยอ่ ย ดังน้ี
1) การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้างจิตสาธารณะ
และการเป็นพลเมืองท่ีดีผ่านการเล้ียงดูในครอบครัว การบูรณาการเร่ืองความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรม
จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอน การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางศาสนา การปลูกฝัง
ค่านิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะ จิตอาสาและ
รับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมท้ังการสร้างเสริมผู้นำการเปล่ียนแปลงและต้นแบบที่ดีท้ังระดับบุคคลและ
องคก์ ร
เป้าหมาย คนไทยเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความพร้อมในทุกมิติตามมาตรฐานและ
สมดุลทั้งด้านสติปัญญา คุณธรรม จริยธรรม มีจิตวิญญาณที่ดี เข้าใจในการปฏิบัติตนปรับตัวเข้ากับ
สภาพแวดลอ้ มดีขึน้
ตัวชี้วัด ประชากรอายุ 13 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมการปฏิบัติตนท่ีสะท้อนการมี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพม่ิ ข้นึ
2) การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีพึงประสงค์จากภาคธุรกิจ โดยการเสริมสร้าง
และพัฒนากลไกเพ่ือให้ภาคธุรกิจ ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีดี และการ
ยกระดับการบริหารจัดการรวมถึงมาตรการของภาครัฐเพ่ือให้ภาคธุรกิจร่วมรับผิดชอบในการ
ปรบั เปล่ยี นค่านิยมและวฒั นธรรม
เปา้ หมาย ภาคธุรกิจมีบทบาทสำคญั ในการลงทุนเพือ่ สงั คม
ตวั ช้วี ัด จำนวนธุรกจิ ทีเ่ ปน็ วสิ าหกจิ เพอ่ื สงั คม
3) การใช้ส่ือและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมของคนใน
สังคม โดยการพัฒนาส่ือสร้างสรรค์ และเสริมสร้างค่านิยมที่ดีให้กับเยาวชน และประชาชนท่ัวไป
พัฒนาสื่อเผยแพร่เพ่ือสร้างเสริมศิลปะและวัฒนธรรม และจัดสรรเวลาและเปิดพื้นที่ให้สื่อสร้างสรรค์
สำหรบั เดก็ เยาวชน และประชาชนในการปลกู จิตสำนกึ และสร้างเสรมิ ค่านยิ มท่ีดี
เป้าหมาย สื่อในสังคมไทยมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ประชาชน
ในสังคมทำให้เกิดสังคมแหง่ การเรียนรปู้ ลอดภัย และสร้างสรรค์เพม่ิ ข้ึน
ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการสร้างการรับ รู้ ความตระหนัก และการใช้ส่ือ
อยา่ งปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย (เฉล่ียรอ้ ยละ)
2.4.2 ประเด็นการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ
ยุทธศาสตร์ชาติได้กำหนดเป้าหมายการขับเคล่ือนการพัฒนาให้ประเทศเจริญก้าวหน้า
ไปในอนาคตซ่ึงทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคล่ือนสำคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศ
ในทุกมิติไปสู่เป้าหมายการเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วที่ขับเคลื่อนโดยภูมิปัญญาและนวัตกรรมในอีก
๒๐ ปีข้างหน้า อีกทั้งการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรท่ีมีสัดส่วนประชากรวัยแรงงานและวัยเด็ก
๑๙
ที่ลดลงและประชากรสูงอายุที่เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ืองจะเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญท่ีจะทำให้การพัฒนา
ประเทศในมิติต่าง ๆ มีความท้าทายเพ่ิมมากข้ึน ทั้งในส่วนของเสถียรภาพทางการเงินของประเทศใน
การจัดสวัสดิการเพ่ือดูแลผู้สูงอายุท่ีเพ่ิมสูงข้ึน การลงทุนและการออมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ ความมั่นคงทางสังคม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืนซ่ึงจะเป็น
ประเด็นท้าทายต่อการขับเคล่ือนประเทศไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วโดยปัจจุบัน โครงสร้าง
ประชากรไทยกำลังเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัย และจะเปล่ียนแปลงอย่างสมบูรณ์ในช่วงปี ๒๕๖๔
ซึ่งทำให้ประชากรวัยแรงงานจะมีจำนวนสูงสุดและเร่ิมลดลงอย่างต่อเน่ืองส่งผลกระทบต่อศักยภาพ
การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว นอกจากนี้ อัตราการเจริญพันธุ์รวมของประชากร
ไทยในปี ๒๕๖๑ อยู่ที่ ๑.๕๘ ซ่ึงต่ำกว่าระดับทดแทน นอกจากน้ีกลุ่มวัยต่าง ๆ ยังคงมีปัญหาและ
ความท้าทายในแต่ละกลุ่ม อาทิ โภชนาการในกลุ่มเด็กปฐมวัย ความสามารถทางเชาว์ปัญญา
และความฉลาดทางอารมณ์ของกลุ่มวัยรุ่นผลิตภาพแรงงานต่ำในกลุ่มวัยแรงงาน และปัญหาสุขภาพ
ของกลุ่มผ้สู งู อายุ เป็นต้น
เป้าหมาย คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพ่ิมขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้าน
ร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ท่ีมีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ รักการเรียนรู้
อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต
ตัวชว้ี ดั ดัชนกี ารพัฒนามนษุ ย์(Human Development Index)
แผนแม่บทประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ได้กำหนดแผนย่อยไว้
๕ แผนย่อยเพ่ือพัฒนาและยกระดับทรัพยากรมนุษย์ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เต็มศักยภาพ
และเหมาะสม ดงั นี้
1) การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ โดยจำเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติ
และในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีดี เก่ง และมีคุณภาพ พร้อมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ
ไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพซึ่งจำเป็นต้องมีการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบต้ังแต่ระดับครอบครัว ชุมชน สังคม และการ
มีระบบและกลไกรองรบั การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ท่ีมปี ระสิทธิภาพ
เป้าหมาย ครอบครัวไทยมีความเข้มแข็ง และมีจิตสำนึกความเป็นไทย ดำรงชีวิต
แบบพอเพยี งมากขึ้น
ตัวช้ีวัด ดชั นคี รอบครวั อบอนุ่
2) การพัฒนาเด็กต้ังแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย โดยจัดให้มีการเตรียม
ความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ พร้อมทั้งส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กต้ังแต่เริ่มต้ังครรภ์
ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงพยาบาลทุกระดับดำเนินงานตาม มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก
สู่มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนการเล้ียงลูกด้วยนมแม่
และสารอาหารท่ีจำเป็นต่อสมองเด็ก การกระตุ้นพัฒนาการสมองและการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ให้มพี ฒั นาการทส่ี มวยั ทุกดา้ น
เป้าหมาย เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการ
ทม่ี คี ณุ ภาพมากข้ึน
๒๐
ตัวชว้ี ัด ดชั นีพฒั นาการเด็กสมวยั
3) การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น จัดให้มีการพัฒนาทักษะความสามารถท่ีสอดรับ
กับทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยเฉพาะทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการ
แก้ปัญหาท่ีซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์การทำงานร่วมกับผู้อื่น จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา
ศิลปะ ทักษะด้านดิจิทัล และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับความสามารถ
ความถนัดและความสนใจ จัดให้มีการพัฒนาทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจน
ทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมต่อกับโลกการทำงาน จัดให้มีการเรียนรู้ทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับ
ความต้องการของประเทศและทักษะชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมและทำงานภายใต้สังคมที่เป็น
พหุวัฒนธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการสุขภาพและอนามัยที่เชื่อมต่อกันระหว่างระบบ
สาธารณสุขกับโรงเรียนหรือสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา
และความฉลาดทางอารมณ์ของกลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น รวมท้ังสร้างความอยากรู้อยากเห็นและสร้าง
แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ
เป้าหมาย วัยเรียน / วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ครบถ้วน รู้จักคิด
วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการ
แก้ปัญหา ปรบั ตวั สอ่ื สาร และทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้อยา่ งมีประสทิ ธผิ ลตลอดชีวิตดีขึน้
ตัวชี้วัด คะแนนความสามารถในการแข่งขันการพัฒนาทุนมนุษย์ด้านทักษะ (Skill)
ของ World Economic Forum (WEF)
4) การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน ด้วยการยกระดับศักยภาพทักษะ
และสมรรถนะของคนในช่วงวัยทำงานให้สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการ
ของตลาดแรงงาน เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจและผลิตภาพเพ่ิมข้ึนให้กับประเทศ เสริมสร้าง
ความอยากรู้และยกระดับตนเองสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่พึงประสงค์ และความรู้ความเข้าใจและ
ทักษะทางการเงิน เพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงและหลักประกันของตนเองและครอบครัว ส่งเสริมและ
สนับสนุนการพัฒนาความรู้แรงงานฝีมือให้เป็นผู้ประกอบการใหม่ และสามารถพัฒนาต่อยอดความรู้
ในการสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับวัยทำงานผ่านระบบการคุ้มครอง
ทางสงั คมและการสง่ เสริมการออม
เป้าหมาย แรงงานมีศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนัก
ในความสำคัญท่ีจะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพสามารถปรับตัวและเรียนรู้ส่ิงใหม่ตามพลวัต
ของโครงสรา้ งอาชีพและความต้องการของตลาดแรงงานเพ่มิ ขนึ้
ตัวชี้วัด ผลิตภาพแรงงาน (ร้อยละต่อปี) มีคนไทยท่ีมีความสามารถและผู้เชี่ยวชาญ
ต่างประเทศเขา้ มาทำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในอตุ สาหกรรมเปา้ หมายเพม่ิ ขึ้น
ตวั ชี้วดั สัดส่วนกำลงั แรงงานด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
5) การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ โดยส่งเสริมการมีงานทำของผู้สูงอายุให้พ่ึงพา
ตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และร่วมเป็นพลังสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนและประเทศ ส่งเสริม
และพัฒนาระบบการออมเพ่ือสร้างหลักประกันความม่ันคงในชีวิตหลังเกษียณ และหลักประกัน
ทางสังคมที่สอดคล้องกับความจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต และส่งเสริมสนับสนุนระบบการส่งเสริม
สุขภาพดแู ลผสู้ ูงอายุ พร้อมทั้งจดั สภาพแวดล้อมใหเ้ ปน็ มิตรกบั ผสู้ ูงอายุ
๒๑
เป้าหมาย ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความม่ันคงในชีวิต มีทักษะการดำรงชีวิต
เรยี นรู้พฒั นาตลอดชีวิต มีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคม สร้างมลู ค่าเพม่ิ ใหแ้ ก่สงั คมเพิม่ ขน้ึ
ตัวชว้ี ัด ร้อยละผสู้ ูงอายทุ ี่มศี ักยภาพมีงานทำ และรายได้เหมาะสม
2.4.3 ประเดน็ การพฒั นาการเรยี นรู้
ยุทธศาสตร์ชาติให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของประชากรไทย
ทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ ซึ่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้ให้ความสำคัญกับการ
พัฒนาทั้งสอดคล้องกับศักยภาพ ความสนใจ ความถนัด และการตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์
ที่หลากหลาย อาทิ ภาษาตรรกะและคณิตศาสตร์ ด้านทัศนะและมิติ ดนตรี กีฬาและการเคลื่อนไหว
ของร่างกายการจัดการตนเองมนุษยสัมพันธ์ รวมถึงผู้มีความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรือ
หลายด้าน ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบและปัจจัยส่งเสริมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องไปพร้อมกัน ทั้งใน
ส่วนของระบบการเรียนการสอน และการพัฒนาทักษะฝีมือ รวมทั้งการให้ความสำคัญกับการส่งเสริม
เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้ประเทศไทยสามารถยกระดับเป็นเจ้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ก้าวทันโลก ซ่ึงการศึกษาและการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการพัฒนาศักยภาพของคนให้มีทักษะ
ความรู้ ทักษะอาชีพบนฐานพหุปัญญา มีสมรรถนะที่มีคุณภาพสูงรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงโดยในช่วง
ท่ีผ่านมา แม้ว่าคนไทยได้รับโอกาสทางการศึกษาสูงขึ้น โดยมีจำนวนปีการศึกษาเฉล่ียของประชากร
วัยแรงงานอายุ ๑๕ - ๕๙ ปี เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก ๘.๘ ปี ในปี ๒๕๕๑ เป็น ๙.๔ ปี ในปี ๒๕๕๙
แต่ในภาพรวมคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ แต่เมื่อพิจารณา
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนขั้นพ้ืนฐานในปี ๒๕๖๐ พบว่า มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ
๕๐ และผลคะแนนสอบ PISA ที่อยู่ในระดับต่ำกว่าอีกหลายประเทศท่ีมีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกัน
เน่ืองจากข้อจำกัดที่สำคัญของการศึกษาไทย ทั้งปัญหาเร่ืองหลักสูตรและระบบการเรียนการสอน
ที่เน้นการท่องจำทำให้ขาดความคิดสร้างสรรค์ ปัจจัยสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและครูท่ีมี
คุณภาพยังกระจายไม่ทั่วถึงโดยเฉพาะในพ้ืนที่ห่างไกล ขณะท่ีในระดับอาชีวศึกษายังมีเด็กที่สนใจเรียน
ต่อสายอาชีพในสัดส่วนที่น้อยส่วนระดับอุดมศึกษาพบว่า มีการเปิดหลักสูตรโดยไม่คำนึง
ถงึ ความต้องการของตลาดงาน บณั ฑติ ทจ่ี บออกมาบางสว่ นยงั มปี ญั หาคณุ ภาพ
เป้าหมาย
๑) คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีทักษะท่ีจำเป็นของโลก
ศตวรรษที่ ๒๑ สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล
มีนิสยั ใฝ่เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ติ
๒) คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัดและความสามารถ
ของพหุปัญญา
ตัวชีว้ ัด
1) คะแนน PISA ดา้ นการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
2) อนั ดบั ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศึกษา
3) ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศไทยในระดับสากลดีขนึ้ (GTCI)
โดยแผนแมบ่ ทฯ ประกอบดว้ ย ๒ แผนย่อย ดังน้ี
๒๒
1) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
ด้วยการปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สำหรับศตวรรษท่ี ๒๑ โดยพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ในทุกระดับชั้น ตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษา ท่ีใช้ฐานความรู้และระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรมเสริมทักษะเพ่ือพัฒนา
ทักษะสำหรับศตวรรษท่ี ๒๑ พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมือปฏิบัติ มีการ
สะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง พัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถกำกับการเรียนรู้
ของตนได้ เพื่อให้สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้สร้างรายได้ รวมถึงมีทักษะด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต
เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยวางแผนการผลิต พัฒนาและปรับบทบาท “ครู
คณาจารย์ยุคใหม่” ให้เป็น “ผู้อำนวยการการเรียนรู้” ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูตั้งแต่
การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครู ส่งเสริมสนับสนุนระบบการพัฒนาศักยภาพ
และสมรรถนะครูอย่างต่อเน่ืองครอบคลุมท้ังเงินเดือน สายอาชีพและระบบสนับสนุนอ่ืน ๆ การเพิ่ม
ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับทุกประเภท โดยปฏิรูปโครงสร้างองค์กร
ด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพจัดให้มีมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียนในทุกระดับเพ่ือผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนท่ีสูงข้ึน ปรับปรุงโครงสร้างการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพ
การศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา พัฒนาระบบประกันคุณภาพ
การศึกษา โดยแยกการประกันคุณภาพการศึกษาออกจากการประเมินคุณภาพและการรับรอง
คุณภาพและการกำกับดูแลคุณภาพการศึกษา ปฏิรูประบบการสอบท่ีนำไปสู่การวัดผลในเชิงทักษะ
ที่จำเป็นสำหรับศตวรรษท่ี ๒๑ มากกว่าการวัดระดับความรู้ รวมทั้งส่งเสริมการวิจัยและใช้เทคโนโลยี
ในการสร้างและจัดการความรู้การเรียนการสอน และการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพ
ที่สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่ การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยจัดให้มีระบบการศึกษา
และระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพสูงและยืดหยุ่น มีมาตรการจูงใจและส่งเสริม
สนับสนุนให้คนเข้าสู่ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาตนเอง รวมถึงการยกระดับทักษะวิชาชีพ พัฒนาระบบการเรียนรู้
ชุมชนให้เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม พัฒนา
ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแฟลตฟอร์มเพื่อการศึกษาในทุกระดับทุกประเภท
การศึกษาอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือส่ือการเรียนรู้ดิจิทัลที่มีคุณภาพ
ท่ีนักเรียน นักศึกษาและประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
ผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ รวมถึง การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
โดยส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษาท่ีมีความเช่ียวชาญและมีความโดดเด่นเฉพาะสาขา
สู่ระดับนานาชาติ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและแลกเปล่ียนนักเรียน นักศึกษา
และบุคลากรในระดับนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาศูนย์วิจัยเฉพาะทาง ศูนย์ฝึกอบรม และทดสอบ
ในระดับภูมิภาค จัดให้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จัดให้มีการ
เรียนรู้ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการของประเทศเพ่ือนบ้านในระบบ
การศึกษา และสำหรับประชาชน ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน
และนกั เรียนกับประเทศเพื่อนบ้านในภมู ิภาคเอเชียอาคเนย์
เป้าหมาย คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้
และทกั ษะท่ีจำเป็นของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถเขา้ ถึงการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ
๒๓
ตัวช้วี ัด
1) สดั สว่ นครูผ่านการทดสอบสมรรถนะสาขาในระดับสูงตามมาตรฐานนานาชาติ
2) อัตราความแตกตา่ งของคะแนน PISA ในแตล่ ะกลุ่มโรงเรียนลดลง
3) อตั ราการเขา้ เรียนสุทธริ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
2) การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย ด้วยการพัฒนาและส่งเสริม
พหุปัญญาผ่านครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อ โดยพัฒนาระบบบริหาร
จัดการ กลไกการคัดกรองและการส่งต่อเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคนไทยตามพหุปัญญาให้เต็มตาม
ศักยภาพ ส่งเสริมสนับสนุนครอบครัวในการเสริมสร้างความสามารถพิเศษตามความถนัดและ
ศักยภาพ ทั้งด้านกีฬา ภาษาและวรรณกรรม สุนทรียศิลป์ ส่งเสริมสนับสนุนระบบสถานศึกษาและ
สภาพแวดล้อม ท่ีเอ้ือต่อการสรา้ งและพัฒนาเด็กและเยาวชนท่ีมีความสามารถพิเศษบนฐานพหุปัญญา
ส่งเสริมสนับสนุนมาตรการจูงใจแก่ภาคเอกชน และส่ือในการมีส่วนร่วมและผลักดันให้ผู้มี
ความสามารถพิเศษ มีบทบาทเด่นในระดับนานาชาติ การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการ
ทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสมสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ โดยจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน
และระบบสนับสนุนเพื่อผู้มีความสามารถพิเศษได้สร้างความเข้มแข็งและต่อยอดได้ จัดให้มีกลไกการ
ทำงานในลักษณะการรวมตัวของกลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษในหลากสาขาวิชา เพ่ือรวมนักวิจัยและ
นักเทคโนโลยี ชั้นแนวหน้าเพ่ือพัฒนาต่อยอดงานวิจัยเพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ และสร้าง
ความร่วมมือ และเช่ือมต่อสถาบันวิจัยชั้นนำทั่วโลก เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้นักวิจัยความสามารถ
สงู ของไทยให้มีศกั ยภาพสูงย่ิงขึน้
เป้าหมาย ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพตามพหุปัญญา
เพ่อื ประโยชน์ในการพัฒนาและการสง่ ต่อการพฒั นาให้เตม็ ตามศักยภาพ
ตัวชี้วัด
1) สัดส่วนสถานศึกษาท่ีสามารถจัดการเรียนการสอนท่ีสร้างสมดุลทุกด้าน
และมีการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาพหุปญั ญารายบคุ คล
2) สัดส่วนเดก็ และเยาวชนท่ีไดร้ บั การส่งตอ่ และพัฒนาตามศกั ยภาพ/พหปุ ญั ญา
2.4.4 ประเดน็ การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสุขภาวะที่ดี
ยุทธศาสตร์ชาติให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความพร้อม
ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และสุขภาวะ ประกอบกับการเป็นสังคมสูงวัย จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาทักษะ
และระบบรองรับการพัฒนาท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน รวมถึงการส่งเสริมการพัฒนาและการใชเ้ ทคโนโลยี
การแพทย์ใหม่ ๆ เพ่ือเพ่ิมคุณภาพชีวิตให้กับคนไทย และสร้างความม่ันคงให้กับระบบสาธารณสุข
ของไทยในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพและรักษาผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยสถานการณ์
ด้านสุขภาวะของคนไทยยังมีความท้าทายในหลายประการโดยในช่วงท่ีผ่านมาคนไทยมีแนวโน้ม
เป็นโรคไม่ติดต่อมากขึ้นซ่ึงเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตเนื่องจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
ที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง สภาพการทำงานท่ีส่งผลต่อวิถีชีวิต
ระดับการศึกษา มลพิษในส่ิงแวดล้อม เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
ของคนไทยท่ีมีอตั ราสงู ถงึ ๓๒.๗ คนตอ่ ประชากรแสนคน หรือเปน็ อันดบั ๙ ของโลกในปี ๒๕๕๙
๒๔
เป้าหมายคนไทยมสี ุขภาวะท่ีดีข้ึน และมคี วามเปน็ อย่ดู ี
ตวั ช้วี ดั อายคุ าดเฉลยี่ ของการมสี ุขภาพดเี พม่ิ ขึ้นต่อเนือ่ ง
โดยแผนแม่บทฯ ประกอบด้วย ๕ แผนยอ่ ย ดงั นี้
1) การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะและการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยง
ที่คุกคามสุขภาวะ โดยพัฒนาสื่อเพื่อส่งเสริม และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพและด้านสุขภาวะท่ี
ถูกต้อง พัฒนาภาคีเครือข่ายประชาชน ชุมชน ท้องถ่ิน ให้มีความรู้เกี่ยวกับการเจ็บป่วยและตาย
จากโรคท่ีป้องกันได้ สร้างเสริมความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของคนทุกกลุ่มวัย
การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และกลไกการสื่อสารประชาสัมพันธ์แบบบูรณาการ
ทกุ ระดับ การพฒั นานโยบาย และมาตรการป้องกันและควบคุมปัจจัยเส่ียงท่ีคกุ คามสุขภาวะ
เป้าหมาย ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะสามารถดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรม
สุขภาพท่ีพึงประสงค์และสามารถป้องกันและลดโรคท่ีสามารถป้องกันได้ เกิดเป็นสังคมบ่มเพาะ
จติ สำนกึ การมีสขุ ภาพดี
ตวั ช้ีวัด อตั ราความรอบรู้ดา้ นสุขภาวะของประชากร
2) การใช้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาวะที่ดี
โดยจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพ่ือเอ้ือต่อการยกระดับสุขภาวะของประชาชน ส่งเสริมสนับสนุน
ให้เกิดมาตรการของภาครัฐที่สนับสนุนสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อสุขภาพประชาชน การวิเคราะห์ความเส่ียง
การประเมินความต้องการด้านสุขภาพเพื่อการกำหนดนโยบายและขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการ
ป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงท่ีคุกคามสุขภาวะในระดับชุมชน ตำบล อำเภอ และระดับจังหวัด
สร้างการมีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพบริการอนามัย
แบบบรู ณาการร่วมกับชมุ ชน
เปา้ หมายจำนวนชุมชนสขุ ภาพดีเพิม่ ขึ้น
ตัวช้ีวัด อัตราการนอนโรงพยาบาลโดยไม่จำเป็น ด้วยภาวะท่ีควรควบคุม
ด้านบริการผูป้ ว่ ยภายนอก (Ambulatory care sensitive condition: ACSC) ลดลง
3) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีทันสมัยสนับสนุนการสร้างสุขภาวะท่ีดี
โดยพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ท่ีทันสมัย ภายใต้ระบบการบริหารที่มีการกระจายอำนาจ
มีประสิทธิภาพ พอเพียง เป็นธรรมและยั่งยืน พัฒนาขีดความสามารถในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
การแพทย์และสาธารณสุข ปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพของประชาชนตลอดช่วงชีวิตให้มี
ประสิทธิภาพ โดยอยู่บนพ้ืนฐานความย่ังยืนทางการคลัง นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้
กับระบบบริการสุขภาพ และระบบสุขภาพทางไกล พัฒนาระบบฐานข้อมูลท่ีสามารถเช่ือมโยง
ทุกหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในระบบบริการสขุ ภาพ
เป้าหมาย ระบบสาธารณสุขทีไ่ ดม้ าตรฐานท่ปี ระชากรทุกระดบั เข้าถึงได้
ตวั ชีว้ ดั การจดั อนั ดบั ประสทิ ธิภาพระบบบริการสุขภาพ
4) การกระจายบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ มีเป้าหมายเพ่ือลด
ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการทางสาธารณสุข ด้วยการพัฒนาสถานพยาบาลให้เพิ่มกำลังคนและ
นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในการขยายการให้บริการ รวมทั้งยกระดับคุณภาพการให้บริการ
ตามมาตรฐานสากลท่วั ทกุ พ้ืนที่
๒๕
เปา้ หมาย การเข้าถงึ บริการสาธารณสุขมคี วามเหลื่อมลำ้ ลดลง
ตัวชวี้ ดั ดชั นีความก้าวหน้าของการพัฒนาคนด้านสุขภาพ
5) การพัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำท่ีเกิดจาก
การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ให้ความสำคัญกับเผยแพร่ความรู้สุขภาพและสร้างความตระหนัก
ของประชาชน เรื่องโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ พัฒนา
โครงสร้างระบบสาธารณสุข เครือข่ายเตือนภัยและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพให้มีคุณภาพ
และมีประสิทธิภาพในการรองรับการปรับตัวจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พัฒนา
และยกระดับระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ
ได้แก่ ระบบสาธารณสุขส่ิงแวดล้อมและเวชศาสตร์ป้องกันทั้งระบบ การติดตามตรวจสอบ
และเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ รวมทั้งศึกษาวิจัยสร้างองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
และการป้องกันโรคในประชากรทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง เพ่ิมขีดความสามารถในการ
ติดตาม วิเคราะห์และประเมินแนวโน้มสถานการณ์ปัญหาโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ และสร้างความ
พรอ้ มของภาคเี ครือขา่ ยในการรบั มือกบั ภาวะฉกุ เฉินจากโรคระบาดตา่ ง ๆ
เป้าหมาย ประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพ เร่ืองอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำที่เกิดจาก
การเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศมากข้นึ
ตัวช้ีวัด สัดส่วนประชาชนที่มีความรู้สุขภาพ เรื่องโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ
ท่เี กดิ จากการเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ (ร้อยละของประชากรท้ังหมด)
2.4.5 ประเดน็ การบรกิ ารประชาชนและประสิทธภิ าพภาครฐั
ก า ร ป รั บ ส ม ดุ ล แ ล ะ พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ เป็ น ท้ั ง เป้ า ห ม า ย
และเคร่ืองมือกลไกในการรองรับการขับเคลื่อนของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ ให้สามารถดำเนินการ
จนบรรลุเป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่วางไว้ ดังนั้นแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น การบริการ
ประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐจึงมุ่งเน้นพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้มีความทันสมัย
มีขนาดเหมาะสมกับภารกิจมีสมรรถนะสูง ตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชน
และสนับสนุนให้เป็นประเทศไทย ๔.๐ ท่ีสามารถก้าวทันความเปล่ียนแปลง และพัฒนาได้อย่างย่ังยืน
ด้วยหลักการ “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไป
ตามหลักการข้างต้น แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จึงให้ความสำคัญกับความพึงพอใจ
ของประชาชนในคุณภาพการให้บริการของภาครัฐ ซ่ึงจะต้องมีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ภายในช่วง
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ โดยการประเมินความพึงพอใจของประชาชนฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบว่า
ประชาชนชาวไทยมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของภาครัฐร้อยละ ๘๔ ซึ่งพิจารณาจากสองปัจจัย
หลักได้แก่ความพึงพอใจด้านกระบวนการข้ันตอนในการให้บริการ และด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
อย่างไรก็ตามจะมีการปรับเพ่ิมปัจจัยในการให้บริการเพ่ือให้เกิดการสะท้อนความพึงพอใจ
ของประชาชนไดอ้ ย่างแทจ้ ริง
เป้าหมาย บรกิ ารของรฐั มปี ระสทิ ธิภาพและมีคุณภาพเปน็ ที่ยอมรบั ของผู้ใชบ้ ริการ
ตัวชว้ี ัด ระดับความพงึ พอใจในคุณภาพการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั
นอกจากน้ี แผนแม่บทฯ ฉบับนี้ยังให้ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพภาครัฐ
ให้มีมาตรฐานเทียบเท่าสากล เป็นท่ียอมรับในเวทีโลก ซึ่งสามารถสะท้อนได้จากดัชนีรัฐบาล
๒๖
อิเล็กทรอนิกส์ในการจัดลำดับขององค์กรสหประชาชาติ ท่ีกำหนดให้ประเทศไทยจะต้องได้รับการจัด
อันดับให้อยู่ใน ๑ ใน ๑๐ ของโลกภายในช่วงปี พ.ศ ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ซ่ึงประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี
๗๓ จาก ๑๙๓ ประเทศท่ัวโลกในปี ๒๕๖๑
เป้าหมาย ภาครัฐมีการดำเนินการท่ีมีประสิทธิภาพด้วยการนำนวัตกรรม เทคโนโลยี
มาประยุกต์ใช้
ตัวช้ีวดั อันดับดชั นรี ัฐบาลอิเล็กทรอนกิ ส์
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธิภาพ
ภาครัฐ จึงมุ่งเน้นพัฒนาการให้บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นท่ียอมรับ
ของผู้ใช้บริการโดยเป็นการพัฒนาแบบครอบคลุมทั่วถึง บูรณาการไร้รอยต่อ ให้ความสำคัญกับการ
พัฒนาบริการดิจิทัล และมุ่งดำเนินการพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกในการบริการภาครัฐ เพื่อให้
ประชาชนและผู้รับบริการทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้โดยง่ายสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส มีหลากหลาย
ช่องทาง สามารถตรวจสอบได้ และไม่มีข้อจำกัดของเวลา พื้นที่ และกลุ่มคนรวมท้ังนำนวัตกรรม
เทคโนโลยีดจิ ิทัลมาประยุกต์ใชเ้ พือ่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพและลดคา่ ใชจ้ า่ ยของประชาชน
โดยแผนแมบ่ ทฯ ประกอบด้วย 5 แผนยอ่ ย ดังนี้
1) การพัฒนาบริการประชาชน เพ่ือให้บริการภาครัฐสามารถอำนวยความสะดวก
ประชาชนได้อย่างรวดเร็วโปร่งใส ให้เป็นภาครัฐของประชาชน และเป็นไปเพ่ือประชาชนอย่างแท้จริง
จากการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและนวตั กรรมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการให้บรกิ ารประชาชน
เป้าหมาย งานบรกิ ารภาครฐั ทีป่ รบั เปลี่ยนเปน็ ดิจิทัลเพิ่มขึ้น
ตัวชว้ี ดั สดั สว่ นความสำเรจ็ ของกระบวนงานทไี่ ดร้ ับการปรบั เปล่ียนใหเ้ ป็นดิจิทัล
2) การบริหารจัดการการเงินการคลัง เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดของการใช้
งบประมาณและทรัพยากรของภาครัฐ และการจัดการรายได้และรายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า
เป็นไปอย่างประหยัด และสอดคล้องกับการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงจะก่อให้เกิดการพัฒนา
ประเทศทเ่ี ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกันอยา่ งมีจุดมุ่งหมาย โดยมเี ปา้ หมาย ดังนี้
เป้าหมาย หน่วยงานภาครฐั บรรลผุ ลสมั ฤทธ์ติ ามเป้าหมายยทุ ธศาสตร์ชาติ
ตวั ช้ีวัด ร้อยละของโครงการทมี่ ีผลสมั ฤทธต์ิ ่อเปา้ หมายยุทธศาสตร์ชาติ
3) การปรับสมดุลภาครัฐ เพ่ือให้ภาคส่วนอื่น ๆ อาทิภาคประชาชน ภาคเอกชน
หรือประชารัฐโมเดลเข้ามาแบ่งเบาภารกิจในการแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนในพื้นที่ ส่งผลให้ภาครัฐมีขนาดท่ีเหมาะสมและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
เพ่ือก่อใหเ้ กดิ บริการสาธารณะเพอ่ื ประชาชนมเี ปา้ หมาย ดังนี้
เป้าหมาย
1) เปิดโอกาสให้ภาคส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะและ
กจิ กรรมสาธารณะอยา่ งเหมาะสม
2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสมรรถนะและสร้างความทันสมัยในการ
จดั บริการสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะใหก้ ับประชาชน
ตัวช้ีวัด ระดับความสำเร็จการเปิดให้ภาคส่วนอ่ืนเข้ามาดำเนินการบริการ
สาธารณะ
๒๗
4) การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ เพ่ือประโยชน์ในการบริหารการตัดสินใจ
และการบริการที่เป็นเลิศรวมท้ังเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและภาคประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
ภาครัฐ และเพ่ิมโอกาสในการแข่งขันและประโยชน์ในการดำเนินชีวิต โดยเน้นการพัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลภาครัฐและการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ให้วิธีการทำงานของหน่วยงานราชการ
เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยมีเป้าหมาย ดังนี้
เป้าหมาย ภาครฐั มขี ดี สมรรถนะสงู เทยี บเท่ามาตรฐานสากลและมีความคล่องตัว
ตวั ชี้วดั
1) ระดับ Digital Government Maturity Model (Garthner)
2) สดั สว่ นของหน่วยงานท่ีบรรลุผลสมั ฤทธอิ์ ย่างสูงตามเปา้ หมาย
5) การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เพื่อให้บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีคนเก่ง
มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจิตสำนึก มีความสามารถสูง มีภาวะผู้นำ และมีความรู้ความสามารถในการ
ทำงานรับใช้ประเทศชาติและประชาชนอย่างแท้จริง มีทักษะในการปฏิบัติงานที่ทันสมัยและทันต่อ
การเปลย่ี นแปลงของโลก โดยกำหนดเปา้ หมาย ดังนี้
เปา้ หมาย บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทำงานเพื่อประชาชน ยึดหลักคุณธรรม
จรยิ ธรรมมีจิตสำนึก มคี วามสามารถสูง มงุ่ ม่ัน และเปน็ มอื อาชีพ
ตวั ชวี้ ดั
1) ดัชนคี วามผกู พันของบุคลากรภาครัฐ
2) สดั ส่วนเจา้ หนา้ ที่กระทำผดิ กฎหมายลดลง
2.5 การวิจัยเชงิ คณุ ภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพนั้นแปลมาจากภาษาอังกฤษว่า Qualitative Method ซึ่งทางด้าน
เทคนิคการวิจัย หมายถึง เป็นกระบวนการค้นคว้าวิจัยเพื่อหาความเข้าใจ บนพื้นฐานของระเบียบวิธีอันมี
ลักษณะเฉพาะ ท่ีมุ่งการค้นหาประเด็นปัญหาทางสังคมหรือปัญหาของมนุษย์ มีการวิเคราะห์ข้อมูล
อยา่ ง
ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ
การสืบค้นหาความรู้ ความจริง เพื่อขยายองค์ความรู้ ค้นหาคำอธิบาย ตรวจสอบจน
กระทั้งสามารถสรุปเป็นกฏเกณฑ์ทฤษฎีใหม่ ๆ ได้ การวิจัยเชิงคุณภาพก็เป็นการค้นหาความจริง ซ่ึงมี
นกั การศกึ ษาได้ให้ทศั นะเกีย่ วกับการวิจัยเชงิ คุณภาพ ดังน้ี
สุภางค์ จันทวานิช (2549 : 13) ได้ให้ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ การ
แสวงหาความรู้โดยการพิจารณาปรากฏการณ์สังคมจากสภาพแวดล้อมความเป็นจริงในทุกมิติ เพ่ือหา
ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์กับสภาพแวดล้อมน้ัน วิธีการน้ีจะสนใจข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด
ความหมาย ค่านิยมหรืออุดมการณ์ของบุคคลนอกเหนือไปจากข้อมูลเชิงปริมาณ มักใช้เวลานาน
ในการติดตามระยะยาว ใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ เป็น
วิธีการหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อสรุปแบบ
อุปนัย
เบญจา ยอดดำเนิน-แอ๊ตติกจ์ บุปผา ศิริรัศมี และวาทินี บุญชะลักษมี (2548 :
20) ได้ให้ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ เป็นการแสวงหาความรู้โดยพิจารณา
๒๘
ปรากฏการณ์สังคมจากสภาพแวดล้อมตามความเป็นจริงทุกมิติ เพื่อแสวงหาความสัมพันธ์ของ
ปรากฏการณ์กับสิ่งแวดล้อมนั้น วิธีการนี้จะสนใจข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด ความหมายค่านิยม
หรืออุดมการณ์ของบุคคลภายนอกเหนือข้อมูลเชิงปริมาณ
สรุป การวิจัยเชิงคุณภาพ หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งวิเคราะห์
และแปลความหมายของปรากฏการณ์ทางสังคมหรือพฤติกรรมของมนุษย์ โดยนำเอาความคิด
เทคนิคและวิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพมาประยุกต์ใช้
วิธีเกบ็ ข้อมลู
ในการเกบ็ ข้อมูลวิจยั เชิงคณุ ภาพ (สุภางค์ จนั ทวานชิ 2543 : 71) ได้เสนอวธิ กี ารและ
เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลไว้ดงั นี้
1. การสังเกต (Observation) จำแนกเป็น
1.1 สังเกตแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participant Observation)
1.2 การสงั เกตแบบไมม่ ีส่วนรว่ ม (Non-Participant Observation)
1.3 การสังเกตแบบควบคมุ (Controlled Observation)
1.4 การสังเกตแบบไม่ควบคุม (Non-Controlled Observation)
2. การสัมภาษณ์ (Interview) จำแนกเป็น
2.1 การสมั ภาษณ์แบบเปน็ ทางการ (Formal Interview)
2.2 การสมั ภาษณ์แบบไม่เปน็ ทางการ (Informal Interview)
2.3 การสมั ภาษณแ์ บบเจาะลกึ (In-depth Interview)
2.4 การสมั ภาษณ์แบบใหข้ ่าวสำคัญ (Key-Informal Interview)
3. การศึกษาเอกสาร (Documentary) จำแนกเปน็
3.1 เอกสารทั่วไป (General Document)
3.2 ชวี ประวตั ิ (Biography)
4. การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)
5. การใชช้ ุดเครือ่ งมอื ต่าง ๆ (Obtrusive Measures) จำแนกเป็น
5.1 แบบสมั ภาษณ์ (Interview)
5.2 แบบบันทกึ รายการ (Check-List)
5.3 แบบมาตรประมาณค่า (Rating)
5.4 แบบการจดั อันดับ (Ranking)
6. วิธีและเครื่องมืออ่ืน ๆ ได้แก่ การศึกษาประวัติชีวิต การใช้กล้องถ่ายรูปเคร่ือง
บนั ทกึ เสียงและแบบทดสอบเฉพาะด้าน ฯลฯ
สรุปการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการเก็บข้อมูล เป็นการสังเกต การ
สัมภาษณ์ ศึกษาเอกสาร การใชแ้ บบสอบถาม
ในท่ีนี้ จะนำเสนอในเร่ืองของการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การตรวจสอบข้อมูล การ
ตรวจสอบความเที่ยง การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งจะ
นำเสนอตามลำดับตอ่ ไปนี้
๒๙
การสัมภาษณ์
ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth
Interview) ซง่ึ ขน้ั ตอนในการสมั ภาษณ์แบ่งออกเปน็ 4 ขน้ั ตอน คือ
1. ข้ันเตรียมการ ได้แก่ การกำหนดวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ การศึกษาข้อมูล
และประวัติของผู้ให้สัมภาษณ์ การกำหนดนัดหมายเกี่ยวกับวัน เวลา สถานที่สัมภาษณ์ การเลือก
ประเภทการสัมภาษณ์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และวัตถุประสงค์ การเตรียมคำถามแบบสัมภาษณ์
และวสั ดอุ ปุ กรณ์ และการทดลองเคร่ืองมือวสั ดุอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการสัมภาษณ์
2. ขั้นการสัมภาษณ์ ได้แก่ การแนะนำตัวและวัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์ และการ
ดำเนินการสัมภาษณ์ด้วยมารยาทที่เหมาะสมสุภาพเรียบร้อย และได้เนื้อหาข้อมูลครบตามแบบ
สัมภาษณ์หรือการสัมภาษณ์คร้ังน้ี
3. ขั้นการจดบันทึกการสัมภาษณ์ ได้แก่ การบันทึกผลการสัมภาษณ์ในทันทีในแบบ
สัมภาษณ์ ถ้าเป็นสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ และบนั ทึกเนื้อหาโดยวิธสี รุปความถ้าเป็นการสัมภาษณ์แบบ
ไม่เป็นทางการ การบันทึกควรบันทึกตามข้อเท็จจริง ไม่มีอคติและไม่ใส่ความคิดเห็นของตนเองไป
ดว้ ย อาจมีการทบทวนผลสมั ภาษณ์ได้ตามความเหมาะสม และมกี ารสรปุ ผลการสมั ภาษณ์ทุกคร้งั
4. ข้ันปิดการสัมภาษณ์ ได้แก่ การขอบคุณผู้ให้สัมภาษณ์ เรื่องสำคัญอีกประการหน่ึง
ก็คือการตรวจสอบคุณภาพของการสัมภาษณ์และแบบสัมภาษณ์ ซึ่งได้แก่ ความตรงความเนื้อหา
ตรวจสอบ สัมภาษณ์ซ้ำหรือการทบทวนเนื้อหาท่ีสัมภาษณ์ไปแล้ว แล้วนำผลท้ังสองมาหาความ
สอดคล้องของการตอบ โดยหาความคงที่ของการตอบ ถ้าพบว่า มีความคงท่ีแสดงว่าการสัมภาษณ์นั้น
มีความเทยี่ งสงู
การสนทนากลุม่
การสนทนากลุ่มเป็นวิธีการหนึ่งในการเก็บข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพวิธีหน่ึง เบญจา ยอด
ดำเนิน -แอ๊ตติกจ์ บุปผา ศิริรัศมี และวาทินี บุญชะลักษี (2548 : 355-357) ได้กล่าวถึง การ
สนทนากลุ่ม เป็นการนั่งสนทนากันระหว่างผู้ให้สัมภาษณ์เป็นกลุ่มตามปกติประมาณ 6-12 คน หรือ
อาจมีข้อยกเว้นได้ประมาณ 4-5 คน ในการระหว่างการสนทนากันของผู้ให้สัมภาษณ์นั้น จะมี
ผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้ดำเนินการจุดประเด็นสนทนาเพ่ือชักจูงให้บุคคลได้มีการ
แสดงความคิดเห็นต่อประเด็น หรือแนวทางในการสนทนาและวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางลึกซึ้ง
ซึ่งการที่ผู้เข้าร่วมสนทนามีปฏิกิริยาตอบโต้กัน ทำให้ผู้วิจัยสามารถเก็บข้อมูลในสิ่งซึ่งไม่ได้มาด้วย
วิธีการใช้แบบสอบถามได้ โดยองค์ประกอบในการจัดสนทนากลุ่ม (Components of Concluding
Focus Group Session) ไดแ้ ก่
1. ผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) จะต้องเป็นผู้พูดและฟังภาษาถิ่นได้ เป็นผู้มี
บุคลิกดีและมมี นุษย์สัมพันธ์ดี ซ่ึงบุคลิกภาพเป็นส่ิงท่ีสำคัญมากในการสรา้ งบรรยากาศการสนทนาโดยไม่ถือ
เป็นเร่ืองงาน และผู้ดำเนินการสนทนา จะต้องเป็นผู้รู้เบ้ืองหลังความต้องการและวัตถุประสงค์ของ
โครงการวิจยั เป็นอย่างดดี ว้ ย
2. ผูจ้ ดบนั ทกึ การสนทนา (Note taker) ผู้จดบันทกึ จะต้องรวู้ า่ ทำอย่างไรจงึ จะจด
บันทกึ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะตอ้ งบันทึกบรรยากาศท่เี กดิ ขน้ึ ระหว่างสนทนา เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่
การวเิ คราะหใ์ นภายหลงั
๓๐
3. ผู้ชว่ ย (Assistant) เป็นผู้ทำหน้าที่ช่วยเหลือทว่ั ไป ในข้ันเตรียมการจัดสนทนา
กลุ่ม เช่น จัดสถานท่ี บันทึกเสียง เป็นต้น
การตรวจสอบข้อมูล
เม่ือไดร้ วบรวมข้อมลู โดยพหวุ ิธกี ารเก็บข้อมลู ดังที่ได้พรรณนาไวข้ ้างตน้ แล้ว เพอ่ื ใหก้ าร
วเิ คราะหข์ ้อมลู สำหรบั การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพคร้งั นี้เปน็ ไปด้วยความถกู ต้อง ผ้วู จิ ยั ตอ้ งตรวจสอบขอ้ มลู โดย
พจิ ารณาขอ้ มูลท่เี กบ็ มาตามหลักเกณฑ์ตอ่ ไปนี้ คือ
1. การตรวจสอบความตรง (Validity)
1.1 ความตรงภายใน (Internal Validity) วิธีที่ใช้ในการตรวจสอบความตรง
ภายใน (Merriam 1988 : 16) ได้เสนอไว้ว่า การเริ่มต้นการทำวิจัยจะเริ่มด้วยการกำหนดสมมุติฐาน
มุมมอง และกรอบทฤษฎีในเรื่องที่วิจัยไว้อย่างชัดเจน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องขจัดอคติในการทำวิจัย
ข้อมูลของผู้วิจัย (Researchers Biases) ต้ังแต่ต้น นอกจากน้ีจากการท่ีมีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูล
ของผู้วิจัย (Participatory Modes of Research) จะทำให้มีความเข้าใจเก่ียวกับข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
เพราะเป็นการสังเกตระยะยาวหรือการสังเกตซ้ำในปรากฏการณ์เดิม (Long-Term Observation)
นั่นเอง อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เกิดความตรงภายในมากย่ิงข้ึน ผู้วิจัยจะต้องอาศัยวิธีการในการตรวจสอบแบบ
สามเส้า (Data Triangulation) คือ การพิสูจน์ว่าข้อมูลท่ีผู้วิจัยได้มาน้ันถูกต้องหรือไม่ ด้วยการ
เปรียบเทียบข้อมูลเดียวกันท่ีเก็บมาได้ จากเวลา สถานที่ หรือบุคคลท่ีแตกต่างกัน หากข้อมูลยัง
สอดคลอ้ งกนั อยู่ก็แสดงวา่ มคี วามตรงภายใน
1.2 ความตรงภายนอก (External Validity) ได้แก่ การพิจารณาว่าผลของ
การศึกษาเชิงคุณภาพเร่ืองหน่ึงจะสามารถประยุกต์ให้สัมพันธ์กับสถานการณ์อื่นได้หรือไม่ เร่ืองน้ี
(Merriam 1988 : 173) ได้เสนอวิธีตรวจความตรงภายนอกไว้หลังจากศึกษาข้อคิดของนักวิจัยท่านอ่ืน ๆ
กล่าวคือ ในการนำเสนอข้อมูลของงานวิจัยจะต้องกว้างขวางและเพียงพอ เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจที่จะศึกษาเร่ือง
ท่ีเก่ียวข้องสามารถใช้ข้อมูลเหล่านี้ให้เป็นประโยชน์ในการอ้างอิง ถ่ายโอนหรือกล่าวพาดพิงถึงได้
นอกจากนี้ในการนำเสนอข้อมูลของงานวิจัย ยังได้เสนอรายละเอียดของเรื่องที่ศึกษาได้อย่างชัดเจน
ทุกข้ันตอน เพ่ือให้ผู้สนใจอ่ืนสามารถเปรียบเทียบกับงานศึกษาของเขาได้อีกด้วย
2. การตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) ปัญหาของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ประการ
หน่ึงคือ พฤติกรรมของมนุษย์ไม่คงท่ี เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ด้วยเหตุนี้ การวิจัยทางสังคมศาสตร์และ
พฤติกรรมศาสตร์จึงมักจะได้ผลไม่คงที่ คือ เกิดความเท่ียงได้ยาก ด้วยเหตุน้ีในการวิจัยเชิงคุณภาพจึงมักใช้
คำว่า “ความวางใจได้ (Dependable)” และ “ความอยู่กับร่องรอย (Consistency)” แทนคำว่าเที่ยง
(Reliability) สำหรับเทคนิคในการยืนยันว่างานวิจัยครั้งน้ีมีความไว้ใจได้หรือมีความเที่ยงมากท่ีสุด คือ
เมื่อทำการวิจัยเรื่องน้ีอีกคร้ังหนึ่งผลของการวิจัยก็น่าจะเหมือนเดิม (Merriam 1988 : 172) ได้
เสนอวธิ กี ารตรวจสอบความเท่ยี งไวด้ งั นี้
2.1 ผู้วิจัยแสดงจดุ ยืนไวอ้ ย่างชัดเจนวา่ ไดก้ ำหนดกรอบทฤษฎที ใี่ ชใ้ นการวิจยั
อย่างไร มีวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งไรและจากแหล่งใดบา้ ง
2.2 ใช้เทคนิคการตรวจสอบแบบสามเสา้ (Triangulation) ในการตรวจสอบความ
เทย่ี งเช่นเดยี วกับการตรวจสอบความตรงภายใน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในการเก็บและวเิ คราะห์ขอ้ มูล
๓๑
2.3 นักวิจัยผู้อ่ืนสามารถทำการสอบทาน (Audit Trail) งานวิจัยได้โดยใช้ข้อมูล
ต่าง ๆ ที่แสดงอย่างชัดเจนในรายงานการวิจัย เช่น วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลหรือพร้อมท่ีจะรับการสอบทาน
คือ งานวจิ ยั ที่วางใจได้
การวิเคราะห์ขอ้ มลู
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลน้ี เป็นข้ันตอนที่สำคัญและยากสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ การ
วิเคราะห์ข้อมูล ไม่ใช้สถิติเป็นหลักวิเคราะห์ หากจะใช้ท่ีเป็นเพียงข้อมูลสนับสนุนเท่าน้ัน ผู้วิจัยจึงมี
บทบาทสำคัญยิ่งในการวิเคราะห์ข้อมูลรวมท้ังจะต้องเป็นผู้มีความรอบรู้ในสหวิทยาการและสามารถ
สร้างข้อสรุปเป็นกรอบแนวคิดรวม แล้วเปล่ียนแปลงวิธีการที่จะตีความหมายของข้อมูลหลาย ๆ แบบ ซ่ึง
สามารถใช้เทคนคิ ดงั ต่อไปนี้
การวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) ใช้สำหรับการวิเคราะห์เอกสารด้วยวิธีการเชิง
คุณภาพอย่างเป็นระบบ โดยเน้นที่องค์ประกอบสามประกอบ คือ มีความเป็นระบบมีภาพเป็น
วัตถุวิสัยและอิงกรอบแนวคิดทฤษฎี สำหรับขั้นตอนในการวิเคราะห์เน้ือหาแบ่งออกได้เป็น 5
ขนั้ ตอน คอื
1. การต้ังกฎเกณฑ์สำหรับการเลือกเอกสารและหัวข้อท่ีจะทำการวิเคราะห์
2. การวางเค้าโครงของข้อมลู โดยแบ่งออกเปน็ ชนิด (Categories) เพอื่ สะดวกในการ
วเิ คราะห์
3. การคำนึงถึงบทบาท (Context) ของเอกสารด้วย เช่น เอกสารของใคร ใครเป็นคน
เขยี น เขียนเพ่ือวัตถุประสงค์อะไร ฯลฯ เพ่อื ใหก้ ารวิเคราะหเ์ ปน็ ไปไดอ้ ยา่ งลกึ ซง้ึ
4. วเิ คราะหเ์ ฉพาะกับเนือ้ หาท่ีปรากฏเทา่ น้นั (Manifest Content) ไม่กระทำกบั
เน้อื หาทีเ่ ป็นความนยั หรอื แฝงอยู่ (Latent Content)
5. สำหรับบางคร้ังในวิธีสรุปใจความช่วยสนับสนุนผลการวิเคราะห์ความถี่ของคำหรือ
เน้ือหาที่สนใจได้แม่นยำกว่าการวิเคราะห์ความถี่แต่เพียงอย่างเดียว ผู้วิจัยต้องเลือกใช้ความ
เหมาะสมของสถานการณ์
สุภางค์ จันทวานิช (2549 : 130) ไดแ้ บง่ การวิเคราะหข์ อ้ มูลแบบสร้างขอ้ สรุป แบ่ง
ออกเป็น 2 วิธี คอื
1. การวิเคราะห์แบบอุปนัย (Analysis Induction) ใช้ได้ทั้งกับการวิเคราะห์เอกสาร
และการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมด้วยวิธีพหุการโดยการสร้างข้อสรุปจากข้อมูลต่าง ๆ ท่ี
รวบรวมมาได้ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ข้อมูลไปพร้อม ๆ กัน กับการรวบรวมข้อมูล และต้องให้ความ
ระมัดระวังในการตัดสินข้อมลู
2. การวิเคราะหโ์ ดยการจำแนกชนิดของขอ้ มูล (Typological Analysis) คือ การ
จำแนกข้อมูลเป็นชนิดต่าง ๆ ท้ังโดยวิธีท่ีใช้แนวคิด ทฤษฎี และแบบไม่ใช้ทฤษฎี
2.1 แบบใช้ทฤษฎี คือ การจำแนกข้อมูลเป็นชนิดต่าง ๆ ในเหตุการณ์หนึ่งแยก
ออกเป็น การกระทำ กิจกรรม ความหมาย ความสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและสภาพสังคม
หรือสถานการณ์ เป็นแนวทางในการจำแนกสำหรับการวิเคราะห์ ผู้วิจัยต้องพยายามตอบคำถามเสมอว่า
สิ่งที่วิเคราะห์มีรูปแบบอย่างไร เพราะเหตุใด และมีผลกระทบต่อเรื่องอ่ืน ๆ อย่างไร เน่ืองจากการ
๓๒
วิจัยเชิงคุณภาพไม่ได้เน้นเรื่องการต้ังสมมุติฐานที่ชัดเจน การหาสาเหตุของปรากฏการณ์จึงเป็น
กระบวนการตอ่ เนอื่ งซงึ่ ตอ้ งทำอยตู่ ลอดเวลาโดยผู้วิจยั
2.2 แบบไม่ใช้ทฤษฎี คือ การจำแนกข้อมูลที่วิเคราะห์ตามความเหมาะสมกับ
ข้อมูลอาจใช้สามัญสำนึกหรือประสบการณ์ของผู้วิจัยก็ได้ โดยแบ่งข้อมูลเป็นชนิดง่าย ๆ ตาม
ประเภทท่ีสัมพันธ์กับสิ่งที่ผู้วิจัยสังเกตเห็น เช่น แบ่งชนิดของเหตุการณ์ระยะเวลาที่เหตุการณ์นั้น
เกิดขึ้น บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม แล้วนำมาพิจารณาหาความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง
ๆ ที่แบ่งนี้เพิ่มพูนสม่ำเสมอของการเกิดข้อมูลชนิดต่าง ๆ อันเป็นพื้นฐานอธิบายเหตุของ
ปรากฏการณ์ตอ่ ไป
สรุป การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการศึกษาปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม
จากสภาพแวดล้อมตามความเป็นจริง วิธีเก็บข้อมูลใช้วิธีการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้เอกสาร การ
ตรวจสอบข้อมูลใช้วิธีการตรวจภายใน ความตรงภายนอก การตรวจสอบความเที่ยง การวิเคราะห์ข้อมูล
ตามแนวทางการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ และใช้การศกึ ษากรณีเป็นหลักในการศึกษา
2.6 การมสี ว่ นรว่ ม
ความหมายของการมสี ว่ นร่วม
มีนักวชิ าการของประเทศไทยและตา่ งประเทศหลายท่านไดใ้ หค้ วามหมายของการมสี ่วน
รว่ มไว้ดังตอ่ ไปน้ี
ธีระ รุญเจริญ (2549 : 112) ได้ให้ความหมายของการบริหารแบบมีส่วนร่วมว่า การ
บริหารแบบมีส่วนร่วม คือ การที่ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ผู้ที่ร่วมงานเข้ามามีบทบาทในการพิจารณา
ปัญหาและตัดสินใจร่วมกันร่วมรับผิดชอบในการบริหารบางอย่าง เพ่ือประโยชน์ในการระดมกำลัง
ความคดิ และแบง่ ภาระหนา้ ท่ีของผบู้ รหิ าร
บุญฟ้า ล้ิมวัธนา (2549 : 11) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง กระบวนการที่
ประชาชนหรือสมาชิกขององค์กรได้มีโอกาสตัดสินใจหรือเข้าร่วมกิจกรรมอย่างจริงจัง มีเสรีภาพ
ทุกข้ันตอนและรับผิดชอบผลิตผลของกิจกรรมทำให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีวางไว้
กิง่ แกว้ วานชิ กูล (2549 : 15) กลา่ ววา่ การมีส่วนร่วม คือ การที่สมาชกิ มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมที่ผู้บริหารและสมาชิกของชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันทำ และร่วมกันประเมินผลเพ่ือให้
การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย
สุชาติ กิตติโกสินท์ (2548 : 58) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง กิจกรรมใด ๆ โดยให้
คณะบุคคลท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานตั้งแต่เร่ิมต้น จนกระท่ังงาน
สำเรจ็ ลลุ ่วง เพือ่ ใหส้ ามารถเข้าใจปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
สมโชค เลาหะจินดา (2547 : 32) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคลได้มี
ส่วนร่วมการดำเนินงานที่ตนเกี่ยวข้อง ซึ่งรูปแบบของการดำเนินงานนั้นจะมีในด้านนโยบายและ
ด้านการปฏิบัติเข้ามาทำงานด้วยกัน เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์
ทรงสุดา ไตรปกรณ์กุศล (2545 : 12) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง กิจกรรม
กระบวนการที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน ที่จะประกอบกิจกรรมร่วมกัน
ในกระบวนการแก้ไขปัญหาของตนเองต้ังแต่ขั้นตอนการวิเคราะห์สถานการณ์ ระบุปัญหา ตัดสินใจ
แก้ไขปญั หา การวางแผน การลงมือปฏิบัติ และการประเมินผลงานร่วมกัน
๓๓
ชัญญา อภิปาลกุล (2545 : 20) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคลหรือ
คณะบุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในองค์การดำเนินภารกิจร่วมกันโดยมุ่งหวังให้งานหรือกิจกรรมน้ัน บรรลุผล
สำเรจ็ ตามเปา้ หมาย มีความเกีย่ วขอ้ งกนั จนเกิดความผูกพันตอ่ สมาชกิ และองคก์ าร
กำพล แสนบุญเรือง (2542 : 57) กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การทำงาน
ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้วยความตั้งใจทำงาน ด้วยความรู้สึกผูกพัน มีส่วนร่วมในการ
เสริมสร้างพลังการทำงานร่วมกัน
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต (2541 : 17) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมว่า เป็นการเปิด
โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อมในลักษณะของการร่วม
รบั รู้ รว่ มคดิ ร่วมทำ ที่มีผลกระทบต่อตนเองหรือชุมชน
Cunningham and Cordeiro (2000 : 116) กล่าวว่า การเข้าร่วมมือกันของ
โรงเรียน สังคม และครอบครัว เป็นการพัฒนาการศึกษาน้ันจะเป็นกระบวนการท่ีพยายามสร้าง
ความก้าวหน้าใหก้ บั สถานศกึ ษาให้เร็วข้ึน โดยมเี ป้าหมายในการประเมนิ คณุ ภาพ
Owens (1995 : 189) กล่าวว่า การให้ผู้ร่วมงานเข้ามาเก่ียวข้องทางด้านจิตใจ และ
อารมณ์ โดยให้เข้ามามีส่วนร่วมเป็นเจ้าของซึ่งเป็นการตอบสนองความต้องการพื้นฐาน คือ
ความรู้สกึ เป็นเจ้าของ เป็นการทำให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อประสิทธิภาพขององค์กรมากข้ึน
Walsh (1991 : 234-235) กล่าวว่า การร่วมมือกันของบุคคลในการพัฒนา
การศึกษามีเป้าหมายเพื่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนก้าวไปสู่อนาคต ด้วยการมีความรู้ความสามารถ
และส่ิงต่าง ๆ ที่มคี วามสำคญั ทจ่ี ะทำให้การมสี ว่ นร่วมพัฒนาการศกึ ษา เกดิ ความสำเรจ็ สงู สดุ
จากความหมายของการมีส่วนร่วม สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้
บุคคลหรือคณะบุคคลเข้ามามีส่วนในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ไข
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการดำเนินงาน ต้ังแต่เร่ิมต้นจนกระท่ังงานสำเร็จลุล่วง เพ่ือให้การปฏิบัติงาน
บรรลวุ ัตถุประสงค์
ความหมายของการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม
การท่ีบคุ คลในองคก์ รหรอื ตา่ งองคก์ รได้ร่วมมอื กัน เพ่อื จัดการงานให้บรรลุเป้าหมายท่ี
ต้องการ ซึ่งนักการศึกษาไดใ้ หท้ ศั นะเกย่ี วกับการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม ดงั นี้
ไพโรจน์ มินสาคร (2550 : 48) กล่าวว่า เป็นการที่ผู้บริหารเปิดโอกาสให้สมาชิกใน
องค์การได้เข้ามาเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ด้วยเป้าหมายและผลประโยชน์ร่วมกันที่ผู้ปฏิบัติงานร่วมกัน
คิด ตัดสินใจสร้างสรรค์งาน เป็นการร่วมกันอย่างอิสระในความคิดในการตัดสินใจ โดยมีการ
ประสานงานจากผบู้ ริหารทกุ เรอ่ื ง
จันทรานี สงวนนาม (2545 : 39) ให้ความหมายว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม
หมายถึง การที่บุคคลได้มีส่วนเกี่ยวข้องผูกพันร่วมกัน (Involvement) ของสมาชิกในการประชุม
หรือเพ่ือตัดสินใจและควบคุมการทำงานร่วมกนั
ปัญหา สิทธิพล (2545 : 17) และสมยศ นาวีการ (2545 : 1) กล่าวว่า การ
บริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนในการตัดสินใจ ใช้ความคิดสร้างสรรค์
และความเชี่ยวชาญในการแก้ปญั หา ทำใหเ้ กิดความสมั พนั ธ์ทีด่ ตี ่อกัน
๓๔
สรุปว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการ
ปฏบิ ตั ิงานและตัดสินใจรว่ มกันตามเปา้ หมายทตี่ ัง้ ไว้
ความสำคัญของการมีส่วนร่วม
นกั การศึกษาของประเทศไทย ไดแ้ สดงทศั นะเก่ยี วกับความสำคัญของการมีส่วนรว่ มไว้
ดังตอ่ ไปนี้
สุชาติ กิตติโกสินท์ (2548 : 59) กล่าวว่า เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานหรือ
ผูเ้ กีย่ วข้องมีส่วนร่วมการทำงาน ทำให้เกิดความรู้สึกเก่ียวข้องผูกพันกับงานหรือองค์การ
สัมฤทธิ์ กางเพ็ง (2545 : 9-11) กล่าวว่า การมีส่วนร่วมก่อให้เกิดการระดม
ความคิดและอภิปรายร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทำให้เกิดความคิดเห็นที่หลากหลาย เกิดประโยชน์ดังนี้
1) การมีส่วนร่วมในการบริหารทำให้เกิดการต่อต้านน้อยลง เกิดการยอมรับมากขึ้น เป็นวิธีที่ผู้บริหาร
สามารถใช้ทดสอบว่าสิ่งที่ตนเองรู้ตรงกับสิ่งที่ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชารู้
หรือไม่ 2) เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ในการทำงานร่วมกัน เสริมสร้าง
ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน 3) เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานหรือมีโอกาสได้ใช้ความสามารถและทักษะในการ
ทำงานร่วมกัน 4) ทำให้ผลการปฏิบัติงานดีข้ึน การตัดสินใจมีคุณภาพมากข้ึน ผู้ร่วมงานมีความพึง
พอใจในการปฏบิ ตั ิงานมากขึ้นดว้ ย
สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินในด้านต่าง ๆ เป็นสิ่งสำคัญ การมีส่วนร่วมของ
องค์กรซ่งึ ทำให้เกดิ ความรกั ความสามคั คี เกิดงานทท่ี รงคณุ คา่ มากย่ิงขนึ้
ทฤษฎกี ารมสี ว่ นรว่ ม
การมสี ว่ นร่วมตอ้ งการให้การทำงานเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน นักการศกึ ษาได้ให้ทัศนะ
เกย่ี วกบั ทฤษฎกี ารมีส่วนรว่ ม ดังน้ี
ชนิดา ช่ืนวัด (2549 : 20) ได้สรุปแนวคิดการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา คือ การที่
โรงเรียนเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วนได้เข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ ร่วมวางแผน
ร่วมดำเนินการ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนท่ีจัดข้ึนในลักษณะการมีส่วนร่วมท่ีดีควรกระทำใน
ลกั ษณะการเปน็ หุ้นสว่ น (Partnership) กอ่ ใหเ้ กดิ ความผกู พัน
ธีระ รุญเจริญ (2546 : 36) กล่าวถึง โรงเรียนในฐานะเป็นองค์การแห่งการ
เรียนรู้โดยมีองค์ประกอบท่ีสำคัญคือผู้บริหารต้องมองโรงเรียนเป็นระบบขององค์การ
(Organization System) ซึง่ สว่ นตา่ ง ๆ ตอ้ งเช่ือมโยงสัมพันธแ์ ละส่งผลซึ่งกนั และกนั ไม่ว่าจะเปน็ การ
ตดั สินใจ อำนาจการเปลย่ี นแปลง การติดต่อสื่อสาร
จิราพร ตั้งสุวรรณ (2546 : 30) กล่าวถึง แนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วมว่าเป็นสิ่ง
สำคัญในการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่งส่งผลให้การทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ และมี
ประสิทธิภาพ ทุกคนมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึงขององค์กร โดยจะมุ่งมั่นร่วมมือ อดทน ทำงานได้
ดเี พอื่ ตนเองและหน่วยงาน
วิโรจน์ สารรัตนะ (2545 : 48) กล่าวว่า การพัฒนาการทำงานแบบมีส่วนร่วม
ระหว่างนักบริหารกบั ผู้ปฏิบตั กิ ารย่อมแกป้ ญั หาความขัดแย้งและสรา้ งความพึงพอใจ ในทง้ั สองฝ่าย
ทองใบ สุดชารี (2543 : 169-173) เป็นกลไกของการบริหารงานที่มีลักษณะของความ
ต่อเนื่อง มอบอำนาจการตัดสินใจ (Delegate) ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำหน้าท่ีในการตัดสินใจ ผู้นำองค์การ
๓๕
จะมอบอำนาจของการบริหารและการจัดการให้บุคลากรได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เพื่อการมี
ส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
สรุปได้ว่า แนวคิดการมีส่วนร่วมเป็นสิ่งสำคัญในการบริหาร เปิดโอกาสให้ทุกส่วนมีส่วน
ร่วมและส่วนต่าง ๆ ต้องเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ทุกคนรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ช่วยลด
ความขดั แย้งสง่ ผลใหก้ ารทำงานบรรลุวตั ถปุ ระสงคแ์ ละมีประสทิ ธิภาพ
รปู แบบขนั้ ตอนและลกั ษณะของการมีส่วนร่วม
มีนักวิชาการของประเทศไทยและต่างประเทศหลายท่านได้ให้ความหมายของรูปแบบ
ขน้ั ตอนและลกั ษณะของการมสี ่วนร่วม ดังน้ี
เมตต์ เมตต์การณุ ์จิต (2547 : 18) กล่าวว่า การมสี ว่ นรว่ มโดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็น 2
ประเภท ได้แก่
1. การมีส่วนร่วมโดยตรง เป็นเรื่องการตัดสินใจเป็นสำคัญ ผู้ที่มีหน้าที่
รับผิดชอบกิจกรรมโดยตรง เช่น ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ เป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลอื่นเข้ามา
มีส่วนร่วมในรูปกรรมการที่ปรึกษาที่ให้ข้อคิด ข้อเสนอแนะเพราะกิจกรรมบางอย่างอาจมีอุปสรรค
ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยดี จำเป็นต้องให้บุคคลอื่นเข้ามาร่วมตัดสินใจ เพื่อให้ผลการตัดสินใจ
เปน็ ทีย่ อมรบั ของคนทั่วไปหรือเกิดผลงานท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ
2. การมีส่วนร่วมโดยอ้อม เป็นเร่ืองของการทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งให้บรรลุ
เป้าหมายอย่างไม่เป็นทางการ โดยไม่ได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในกระบวนการบริหารแต่อย่างใด แต่
เป็นเร่ืองของการให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้บรรลุเป้าหมายเท่าน้ัน เช่น การบริจาคเงินทรัพย์สิน
วัสดอุ ปุ กรณ์ แรงงาน ไมไ่ ด้เข้ารว่ มประชมุ แต่ยินดรี ว่ มมอื
พสิ ณั ห์ หริ ัญวงษ์ (2541 : 24) กล่าววา่ รูปแบบการมีส่วนรว่ มว่ามี 4 รปู แบบ
ดงั น้ี
1. การมีส่วนร่วมแบบกลุ่มงาน ทำงานร่วมกันและประสานงานกันเพ่ือบรรลุ
เป้าหมายและมีประสิทธิภาพทำให้เป็นประชาธิปไตย ผู้ใต้บังคับบัญชาจะมีอำนาจหน้าที่ ความเป็น
อสิ ระและการมสี ว่ นร่วมมากขึ้น
2. ก ารม ีส ่ว น ร่ว ม แ บ บ โค ร งก า ร ห รือ แ ม ท ริก ซ ์ (Matrix or Project
Management) เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างขององค์การโดยส่วนรวมใหม่ ผู้อำนวยการโครงการถูก
แต่งตัง้ เพอ่ื ประสานงานกบั พนกั งาน เพ่ือทำงานร่วมกันเปน็ การบริหารแบบมสี ่วนรว่ มมากขนึ้
3. การมีส่วนร่วมแบบมีการเจรจาต่อรอง (Collective Bargaining) เป็นผู้บริหาร
บางคนจะไม่ยอมรบั การที่พนักงานเลือกสหภาพแรงงานให้เป็นตัวแทนของพวกเขาในการเจรจาต่อรองกับ
ฝ่ายบริหาร แสดงว่าพวกเขากำลังมีส่วนร่วม อาจจะเป็นค่าจ้าง ชั่วโมงการทำงาน การร่วมเจรจา
ต่อรองเป็นตัวแทนของความต้องการเพื่อให้มีข้อมูลบางอย่าง ในการตัดสินใจ แทนท่ีจะให้นายจ้าง
กำหนดคา่ จ้าง และชวั่ โมง การทำงานแตเ่ พยี งฝ่ายเดยี ว
4. การมีส่วนร่วมแบบประชาธิปไตยในทางอุตสาหกรรม (Industrial
Democracy) เป็นการให้ความสำคัญของพนักงานในการตัดสินใจมากกว่าหรืออย่างน้อยที่สุดเท่ากับความ
ต้องการของเจ้าของกรรมการบริหารแทนที่จะถูกแต่งตั้งโดยเจ้าของ คนงานอาจจะเลือกสมาชิกเป็น
กรรมการของบริษัทก็ได้ คณะกรรมการวางแผนและนโยบายอาจจะประกอบด้วย คนงานที่แต่งต้ัง
๓๖
โดยฝ่ายบริหารหรือถูกเลือกโดยคนงานอ่ืน ๆ พนักงานจะมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมาก โดยผ่าน
กระบวนการทางประชาธปิ ไตยในการบริหารงาน
สัมพันธ์ อุปลา (2541 : 19) ได้จำแนกประเภทของการมีส่วนร่วมไว้ดังน้ี การมี
ส่วนร่วมในขั้นรเิ ร่ิมโครงการ การมีสว่ นรว่ มในขั้นวางแผนโครงการ การมสี ว่ นรว่ มในข้ันดำเนินงานตาม
โครงการ การมีสว่ นร่วมในข้ันรบั ผลทเี่ กดิ จากโครงการ และการมีส่วนร่วมในขั้นประเมนิ ผลโครงการ
Cohen and Uphoff (1980 : 219-222) แบ่งการมีส่วนร่วมเป็น 4 แบบ คือ
1) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making) ประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ ริเริ่มตัดสินใจ
ดำเนินการตัดสินใจ และตัดสินใจปฏิบัติการ 2) การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ (Implementation)
ประกอบด้วย การสนับสนุนด้านทรัพยากร การบริหาร และการประสาน ขอความร่วมมือ 3) การมีส่วน
ร่วมในผลประโยชน์ (Benefits) และ 4) การมสี ว่ นร่วมในการประเมินผล (Evaluation)
Davis and Newstrom (1989 : 243-248) ไดเ้ สนอรปู แบบของการมีสว่ นร่วมไว้ 7
รปู แบบ ดังนี้
1. รูปแบบที่ผู้บริหารใช้วิธีการปรึกษาหารือกับบุคลากรเพื่อกระตุ้นให้
บุคลากรแสดงความคิดเห็นกอ่ นที่ผูบ้ ริหารจะตดั สินใจ (Consultive Management: CM)
2. รูปแบบท่ผี ู้บริหารใหอ้ ำนาจการตดั สนิ ใจแกบ่ ุคลากร (Democratic Management:
DM)
3. การปรบั สภาพการทำงานในรปู แบบของคณะกรรมการ ประกอบดว้ ย ลูกจ้าง
และฝ่ายบริหาร (Quality Circle: QC)
4. การกระตุ้นบุคลากรแต่ละคนให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ เนน้ การแก้ไข
ปัญหาไปท่ีบุคลากรแต่ละคนมากกว่าการแก้ไขปัญหากลุ่มโดยรวม (Suggestion Programs: SP)
5. กลไกของกลุ่มเพ่ือปรับปรุงการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับกลางในการ
บริหารองค์การระดับสงู (Middle Management Committee: MMC)
6. การกำหนดของรัฐบาลให้คนงานมีส่วนร่วมได้หลายระดับในองค์การเป็นการ
ใหม้ สี ่วนร่วมในการบริหารผา่ นกลไกทางสถาบัน (Industrial Democracy: ID)
7. การมีสว่ นรว่ มในการเปน็ เจ้าของ เพ่อื กระตุ้นใหพ้ นกั งานมสี ว่ นร่วมอย่างสงู ใน
กระบวนการ การตดั สนิ ใจ (Employer Ownership Plans: EOP)
Hoy and Miskel (1996 : 292) ได้กล่าวถึง การบริหารแบบมีส่วนร่วมว่า ถ้า
ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับความไว้วางใจให้ตัดสินใจนอกเหนือความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และให้
ตัดสินใจในสิ่งท่ีเขาสนใจในองค์การแล้ว การมีส่วนร่วมจะเกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในองค์การ ถ้า
การตัดสินใจนอกเหนือจากความรับผิดชอบมีน้อย สถานการณ์ความขัดแย้งก็จะเกิดขึ้นและการมี
ส่วนร่วมก็อยู่ในขอบเขตที่จำกัด
สรุปได้ว่า รูปแบบการมีส่วนร่วมเป็นการมีส่วนร่วมในการวางแผน ส่วนร่วมปฏิบัติ ส่วน
ร่วมตัดสินใจ ส่วนร่วมในผลประโยชน์ ส่วนร่วมประเมินผล ซึ่งมีทั้งการมีส่วนร่วมโดยตรงและโดยอ้อม
นกั วิชาการหลายท่านได้แบ่งขน้ั ตอนของการมีส่วนร่วมไว้หลายแบบ ดงั นี้
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต (2547 : 24) กล่าวถึง ขั้นตอนการมีส่วนร่วมไว้หลาย
ขั้นตอน ดังน้ี การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและสาเหตุ ตลอดจนความต้องการ การมีส่วนร่วมในการ
๓๗
วางแผนดำเนินงาน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เช่น การประชุม การแสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูล
และตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล และการมีส่วน
ร่วมในการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ผลงาน
นงรัตน์ ศรีพรหม (2543 : 21-24) กล่าวถึง ลักษณะการเข้ามามีส่วนร่วมด้าน
วิชาการของผู้ปกครองและชุมชนไว้ ดังนี้ เป็นผู้ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กที่บ้าน เป็นวิทยากรช่วย
สอนทักษะความชำนาญพิเศษในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (หลักสูตรท้องถิ่น) เป็นผู้ช่วยครู และให้คำปรึกษา
ด้านอื่น ๆ เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซึ่งชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีดีอย่างหน่ึง และเป็นผู้ร่วมประเมินผล เพ่ือเป็น
แนวทางในการดำเนินงานปตี ่อไป
กำพล แสนบุญเรอื ง (2542 : 61) กลา่ วถึง ขนั้ ตอนของการมีส่วนร่วมของชมุ ชนและ
องค์กรทอ้ งถ่นิ เป็น 5 ขนั้ ตอน ดงั นี้
ขั้นที่ 1 การมีส่วนรว่ มในขน้ั รเิ รม่ิ การพัฒนาเป็นขน้ั ตอนในการคน้ หาปัญหาและ
สาเหตุของปญั หาภายในชมุ ชน กำหนดความต้องการและจดั ลำดับความสำคญั ความตอ้ งการ
ขั้นที่ 2 การมีส่วนร่วมในขั้นวางแผนพัฒนาเป็นขั้นตอนในการกำหนดนโยบาย
และวัตถุประสงค์ของโครงการ กำหนดวิธีการและแนวทางการดำเนินงาน ตลอดจนกำหนด
ทรัพยากรและแหล่งทรพั ยากรทใ่ี ช้
ขั้นท่ี 3 การมีส่วนร่วมในขั้นดำเนินการพัฒนาเป็นขั้นตอนในการสร้าง
ประโยชน์ โดยการสนับสนุนทรัพย์ วัสดุอุปกรณ์และแรงงานหรือเข้าร่วมบริหารงาน ประสานงาน
และดำเนินการขอความช่วยเหลอื จากภายนอก
ขั้นที่ 4 การมีส่วนร่วมในขั้นรับผลประโยชน์จากการพัฒนาเป็นข้ันตอนใน
การรบั ผลประโยชนท์ พ่ี งึ ได้รับ หรือยอมรบั ผลกระทบอนั เกิดจากการพฒั นาทั้งดา้ นวตั ถุและจิตใจ อนั
แสดงออกมาในเชิงรูปธรรมและนามธรรมต่อสังคมหรือบุคคล
ขั้นที่ 5 การมีส่วนร่วมในข้ันประเมินผลการพัฒนาเป็นขั้นตอนร่วมประเมินว่า การ
พัฒนาท่ีกระทำไปน้ันสำเร็จตามวัตถุประสงค์เพียงใดอาจเป็นการประเมินย่อย (Formative
Evaluation) ซึง่ เป็นการประเมินผลสรปุ รวบยอด
สรุปได้ว่า ขั้นตอนการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย การมีส่วนร่วมค้นหาปัญหา ส่วนร่วม
วางแผน ส่วนร่วมดำเนินการ ส่วนร่วมตัดสินใจ ส่วนร่วมประเมินผล
วิธกี ารของการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม
มนี ักวิชาการของประเทศไทยไดใ้ ห้ทศั นะเกี่ยวกบั วิธีการของการบริหารแบบมสี ว่ นรว่ ม
ดงั นี้
ไพโรจน์ มินสาคร (2550 : 51) กล่าวถึง ลักษณะการบริหารแบบมีส่วนร่วมว่า เป็น
ลักษณะการมีส่วนร่วมที่ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในการปฏิบัติ
ผลประโยชน์ และการประเมินผล โดยรูปแบบการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมควรเป็นการมีส่วนร่วม
รูปคณะกรรมการ เพื่อให้การปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ ได้รับการกลั่นกรองอย่างรอบคอบ
เหมาะสม จนเปน็ ท่ียอมรับและเหน็ ชอบจากทกุ ฝา่ ย
๓๘
เมตต์ เมตตก์ ารณุ จ์ ิต (2547 : 24-27) วิธกี ารของการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม มีหลาย
แนวทางแตกต่างกันไปตามลักษณะงาน รวมถึงบทบาทและภาวะของผู้นำด้วย จะกล่าวถึง
เฉพาะท่ียอมรับในเชิงปฏิบตั ิการ ดังน้ี
1. การให้คำปรึกษา (Consulation) เป็นรูปแบบที่ผู้นำหรือผู้บริหารเปิดโอกาสให้
ผู้ร่วมงานหรือผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นก่อนที่ผู้บริหารจะวินิจฉัยเพื่อภารกิจ
นั้น ๆ สำเร็จตามวัตถุประสงค์ อาจเป็นการจัดตั้งชั่วคราวเพื่อปรึกษาปัญหาเฉพาะหน้าหรือในรูป
ของคณะกรรมการ (Committee) ข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเหล่าน้ี ผู้บริหารอาจจะเห็นด้วยหรือไม่
เห็นด้วยก็ได้ เป็นการรับฟังความคิดเห็นและตรวจสอบข้อมูลบางประการก่อนที่จะมีการตัดสินใจ
ดำเนินการเหมาะสำหรบั การบรหิ ารภารกิจทไี่ ม่ใหญ่โตหรือใชก้ บั ผบู้ ริหารระดบั ตน้
2. การทำงานเป็นทีมหรือการสร้างทีมงาน (Team Building) เป็นกลุ่มบุคคล
ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันทำงานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ในการทำงานทุกคนต้องเข้าใจ
วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการประสานงานและสามารถทำหน้าที่แทนกันได้อย่างราบร่ืน
3. หลกั การทำงานเปน็ ทมี ต้องมีการวางแผนในการทำงานร่วมกัน ทกุ คนมสี ่วน
ร่วมในการกำหนดวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย มบี รรยากาศในการทำงานแบบประชาธปิ ไตย มีการ
ประสานงานกนั มีการตดั สนิ ใจร่วมกัน และความสำเรจ็ ของงานจะต้องถือว่าเป็นผลงานของกลมุ่ มิใช่
เกิดจากผใู้ ดผ้หู นง่ึ
4. กลุ่มคุณภาพงาน (QC Circles) มาจากคำว่า Quality Control Circle เป็นการ
ทำงานของคนกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 3-15 คน แต่นิยมกันมากคือประมาณ 8-9 คน จากแผนก
งานเดียวกัน มาพบปะกันเป็นประจำเพื่อควบคุมคุณภาพของการปฏิบัติงาน ปรับปรุงวิธีการทำงาน โดย
ร่วมคิดค้นหาสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์จนได้ข้อสรุปของปัญหา แล้วจึงเสนอแนวทางแก้ไข เหมาะ
สำหรับใช้กับบุคลากรในระดับพนักงาน ผู้ปฏิบัติงานในองค์กร (Worker) หรือระดับหัวหน้างาน
(Foreman)
5. การรับฟังข้อเสนอแนะ (Suggestion Programs: SP) ผู้บริหารเปิดโอกาส
หรือกระตุ้นให้บุคลากรแต่ละคนแสดงความคิดเห็นข้อเสนอแนะในการทำงาน เพ่ือจะได้นำมาปรับปรุง
การทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขน้ึ
6. การฝึกอบรมที-กรุ๊ป (T-Group Approach or Sensitivity) เป็นการ
บริหารแบบมีส่วนร่วมในรูปของการฝึกอบรมในห้องปฏิบัติการ โดยจัดเป็นกลุ่มเล็ก ๆ น่ังพูดคุยกัน
อย่างเปิดเผย โดยทุกคนจะต้องทำความเข้าใจบุคลิก ค่านิยม แรงจูงใจ และปัญหาอุปสรรคในการ
ทำงาน การฝึกอบรมจึงเน้นกระบวนการ (Process) มากกว่าเน้ือหา (Content) ซ่ึงจะทำให้รู้จักตนเองดี
ย่ิงขึ้นอนั จะนำไปสู่ทศั นคตติ ลอดจนคณุ ค่าใหม่ ๆ ของกล่มุ
7. การมอบอำนาจ (Delegated Power) คน ๆ เดียวย่อมทำอะไรให้สำเร็จโดย
ลำพังไม่ได้ โดยเฉพาะงานใหญ่ท่ีสำคัญ ๆ ควรมีการมอบหมายงานหรืออำนาจบางส่วนให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาทำแทน ผู้รับมอบอำนาจก็มีภาระหน้าท่ีที่ได้รับ รวมถึงอำนาจในการวินิจฉัยตัดสินใจ
และส่ังการเท่าที่ได้รับมอบหมาย วิธีการนี้เป็นการกระจายอำนาจ (Decentralized) เพื่อแบ่งเบา
ภาระหน้าที่ของผู้บริหาร สร้างบรรยากาศในการทำงานแบบประชาธิปไตยและเปิดโอกาสทางเลือกให้
๓๙
ผู้ร่วมงานมีส่วนร่วมในการบริหาร อย่างไรก็ตามอำนาจในการปกครองหรือบังคับบัญชายังคงอยู่กับ
ผบู้ รหิ ารสูงสดุ
อุทัย บุญประเสริฐ (2546 : 46-71) กล่าวถึง การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ
การศึกษา (State Board of Education) ในประเทศสหรัฐอเมริกาว่า ทำหน้าท่ีดูแลเชิงกฎหมายและ
นโยบายโดยรวมของรัฐ และกำกับโรงเรียนโดยคณะกรรมการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่ง
คณะกรรมการดังกล่าวจะมีศึกษาธิการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (Superintendent of Schools) เป็น
เจ้าหน้าท่ีด้านการบริหารในฐานะผู้บริหารระดับสูงสุดของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่วนภารกิจที่
สำคัญของคณะกรรมการสภาโรงเรียนในประเทศแคนาดา คือ การจัดทำหรือกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
และเป้าหมายการดำเนินงานของโรงเรียน กำหนดกลยุทธ์ การดำเนินงาน กำหนดหลักสูตรของ
โรงเรียน ติดตามการเรียนการสอนและสัมฤทธิ์ผลในการเรียนรู้ของนักเรียน อนุมัติงบประมาณ
กำกับดูแลการจัดระบบความปลอดภัยของนักเรียนและโรงเรียน สนับสนุนกิจกรรมนอกหลักสูตร
กำหนดเกณฑ์และคัดเลือกหรือแต่งตั้งครูใหญ่และการจ้างครูของโรงเรียน และได้กล่าวถึง ความ
รับผิดชอบของคณะกรรมการโรงเรียนในประเทศออสเตรเลียว่า มีส่วนร่วมจัดทำธรรมนูญโรงเรียน
กำหนดนโยบายของโรงเรียน ให้ข้อเสนอแนะในการแต่งต้ังครูใหญ่ ว่าจ้างบุคลากรในสายงานสนับสนุน
กำหนดหลักเกณฑ์ในการควบคุมความประพฤตินักเรียน รายงานผลการบริการต่อชุมชน และฝ่ายอำนวย
การศึกษา จัดการเร่ืองการเงินและบัญชีของโรงเรียน สัญญาว่าจ้างทำความสะอาดโรงเรียน และสัญญา
ว่าจ้างงานก่อสร้างของโรงเรียน ส่วนการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารโรงเรียนในประเทศ
นิวซีแลนด์ว่า มีหน้าท่ีกำหนดนโยบายและแนวทางดำเนินงานของโรงเรียน ดูแลการดำเนินกิจการของ
โรงเรียน พิจารณาแต่งตั้งผู้บริหาร ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนและผู้บริหาร
โรงเรียน
อนันตชัย อุทัยพัฒนาชีพ (2544 : 36) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมควรมี
ลักษณะ ดังนี้ 1) เป็นกระบวนการของการให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการตัดสินใจ
2) เป็นการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของบุคคล 3) ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเชี่ยวชาญในการ
แก้ปัญหาของการบริหาร 4) การบริหารโดยการมีส่วนร่วมตั้งอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดการแบ่ง
อำนาจหน้าท่ีท่ีผู้บริหารแบ่งอำนาจหน้าที่การบริหารให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา และต้องการให้
ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนเกี่ยวข้องอย่างแท้จริงในกระบวนการตัดสินใจที่สำคัญขององค์การมิใช่
เพียงแต่หว่ งใยหรือสมั ผสั ปัญหา
สรุปได้ว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม เป็นรูปแบบที่ผู้บริหารให้ผู้ร่วมงานมีส่วนร่วมในการ
ปฏบิ ตั ิ มีส่วนร่วมในการตัดสนิ ใจเพอื่ บรรลเุ ป้าหมายรว่ มกัน
ประโยชน์ของการบริหารแบบมีส่วนร่วม
มีนักวชิ าการของประเทศไทยได้ให้ทศั นะเก่ียวกับประโยชนข์ องการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม
ดงั น้ี
ทองใบ สดุ ชารี (2543 : 170-171) กลา่ วว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมมี
ประโยชน์ คือ
๔๐
1. เป็นประโยชน์ในแง่การพัฒนาบุคลากร เพราะการเข้าไปมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจจะทำให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ในการทำงานและนำไปสู่การปรับปรุงทักษะในการ
ทำงาน
2. ส่งเสริมให้เกิดการตัดสินใจท่ีดีขึ้น เพราะการปฏิบัติภารกิจมีความสลับซับซ้อน
มากและยากที่จะได้ข้อมูลข่าวสารประกอบการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ หากสามารถเชิญชวนให้
บุคลากรเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจได้มากเท่าไร ย่ิงจะเป็นประโยชน์และทำให้การตัดสินใจมี
คณุ ภาพยง่ิ ขนึ้
3. เป็นการเพิ่มศักยภาพในการจูงใจและการสร้างความผูกพันในการตัดสินใจ เพราะ
หากบุคคลได้มีส่วนร่วมต้ังแต่แรก จะเป็นการจูงใจให้เขาผูกพันในการดำเนินการให้สำเร็จได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
4. เป็นประโยชน์ต่อผู้นำท่ีจะไดร้ ว่ มกันกบั ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชาในการแบง่ ปนั อำนาจ
และสร้างพลงั อำนาจให้กบั ผู้ใต้บงั คับบญั ชา
ชาญชัย อาจิณสมาจาร (2547 : 62-64) กล่าวถึง ประโยชน์ของการบริหารแบบมี
ส่วนร่วม เป็นกลยุทธ์ที่สามารถหลีกเล่ียงปัญหาการบริหารบางอย่างได้โดยการใช้องค์ประกอบท่ีสำคัญ
5 ประการ คือ ความกระจ่างในจุดประสงค์ ความผูกพันและการประสานงานมากขึ้นต่อการตัดสินใจ การ
แก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างมีประสิทธิผล ความสามารถในการปรับตัวกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลง
และปรับปรงุ ใหม่
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต (2547 : 33) กล่าวไว้ว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมมี
ข้อดี คือ เป็นการสร้างสรรค์ให้มีการระดมสรรพกำลังจากบุคคลต่าง ๆ ท้ังพลังความคิด สติปัญญา ความรู้
ความสามารถ ประสบการณ์ เป็นการสร้างบรรยากาศและพัฒนาประชาธิปไตยในการทำงาน ช่วยลด
ความขัดแย้งระหว่างผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงาน ทำให้งานมีประสิทธิภาพและคุณภาพท่ีดี และสร้างความ
สมดุลระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายปฏิบัติ สอดคล้องกับ มานะ ทองรักษ์ (2549 : 51-52) ได้กล่าวถึง การ
บริหารแบบมีส่วนร่วมมีประโยชน์คือ สร้างความสามัคคีและรวมพลังของบุคคลในองค์กร ทราบถึงความ
ต้องการขององค์กรทั้งหมด ช่วยเพ่ิมพูนประสิทธิภาพการทำงานให้สูงขึ้น ลดความเฉื่อยชาในการ
ปฏิบัติงาน การย้ายงาน และลดความขัดแย้งและการต่อต้านจากพนักงานระดับต่ำ และไพโรจน์ มิ
นสาคร (2550 : 53) การบริหารแบบมีส่วนร่วมช่วยให้สมาชิกได้มีส่วนแสดงความคิด ร่วมตัดสินใจใน
งาน ทำให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ในการทำงานนำไปสู่การปรับปรุงทักษะในการทำงาน ทำให้
ผู้บังคับบัญชาได้ร่วมกันกับผู้ใต้บังคับบัญชาในการแบ่งปันอำนาจและสร้างพลังอำนาจให้กับ
ผู้ใต้บังคับบัญชา มีโอกาสได้ใช้ความสามารถและทักษะในการทำงานร่วมกันเกิดความมีน้ำใจและ
ความจงรกั ภักดตี อ่ องคก์ รมากข้ึน
สรุปได้ว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นประโยชน์ในการพัฒนาบุคลากรในการ
สร้างสรรค์ความคิด ความรู้ ความสามารถ เกิดความสามัคคีทำให้งานมีประสิทธิภาพและคุณภาพที่
ดี
๔๑
2.7 ทฤษฎกี ารทำงานเป็นทีม
ความหมายของการทำงานเปน็ ทมี
มีนกั วชิ าการของประเทศไทยได้ใหท้ ัศนะเกี่ยวกับความหมายของการทำงานเป็นทมี ดังน้ี
เนตร์พณั ณา ยาวิราช (2546 : 233) ไดใ้ ห้ความหมายของการทำงานเป็นทมี ว่า
หมายถึง ความสำเรจ็ ของผ้บู ริหารในการประสานการทำงานของบคุ ลากรหลายฝา่ ยเข้าด้วยกัน ให้
บรรลผุ ลสำเรจ็
วิลาวรรณ รพีไพศาล (2542 : 150) ได้ให้ความหมายของการทำงานเป็นทีม
หมายถึง การทำงานร่วมกันของสมาชิกตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การดำเนิน
กิจกรรมทั้งหลายบรรลุเป้าหมายอย่างเดียวกัน โดยที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มต่างมีจิตใจตรงกัน
ร่วมมือกันทำงานอย่างเต็มความสามารถ มีการประสานงานกันอย่างดี เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้
บรรลุวัตถุประสงค์สูงสุด
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2542 : 230) ได้ให้ความหมายของการทำงานเป็นทีม หมายถึง
กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์กันค่อนข้างจะใกล้ชิดและคงความสัมพันธ์อยู่ค่อนข้างจะถาวร ซ่ึงประกอบด้วย
เพือ่ นรว่ มงานและหัวหน้า
อรณุ รักธรรม (2542 : 31) ไดใ้ หค้ วามหมายของการทำงานเปน็ ทีมวา่ หมายถึง กลุ่ม
บคุ คลท่ีเขา้ มารว่ มกนั ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึง่ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีตัง้ ไว้
วีรวัฒน์ พงษ์พะยอม (2533 : 25-27) ได้ให้ความหมายของการทำงานเป็นทีม
หมายถึง การให้ทุกคนช่วยกันผลักดันในส่วนของตนเองและเพื่อนร่วมงานให้ไปในทิศทางเดียวกัน
สนับสนุนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความรู้สึกดีใจและสนุกสนานเมื่อพบปะร่วมงานกัน เอาใจใส่ซึ่ง
กันและกัน แบกรับภาระร่วมกัน ทุกคนทำงานด้วยวัตถุประสงค์เดียวกัน มีความไว้วางใจกัน เปิดเผยต่อ
กนั และมกี ารติดตอ่ สือ่ สารกนั โดยท่วั ถึง
จากความหมายของการทำงานเป็นทีม สรุปได้ว่า การทำงานเป็นทีม หมายถึง การที่
บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ซึ่งมีความสัมพันธ์กันค่อนข้างจะใกล้ชิดมาร่วมกันดำเนินกิจกรรม
ทั้งหลายให้บรรลุเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกันสนับสนุนช่วยเหลือ เอาใจใส่ซ่ึงกันและกัน ใช้ทักษะ
ประสบการณ์ แบกรับ ภาระร่วมกัน ร่วมมือทำงานอย่างเต็มความสามารถ สามัคคี เพื่อแก้ไขปัญหา
ต่าง ๆ และพัฒนาองค์การให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
รูปแบบการทำงานเป็นทมี
มีนักวิชาการของประเทศไทยได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับรูปแบบการทำงานเป็นทีม ดังนี้
สุนันทา เลาหนันทน์ (2540 : 73-76) ได้ให้ทัศนะรูปแบบการทำงานเป็น
ทีมไว้ว่า ในการทำงานเป็นทีม นอกจากมีการแบ่งงานและประสานงานกันแล้ว ยังต้องมีการ
กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน เพื่อป้องกันความสับสัน เป้าหมาย
สำคัญประการหนึ่งของทีมงาน คือ การพร้อมใจกันคิดหาวิธีการที่จะปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ
ทำงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ขนาดของกลุ่มที่ดีมักจะมีสมาชิกตั้งแต่ 3-10 คน ทีมงาน
ขนาดเล็กจะมีความเหนียวแน่นมากกว่ากลุ่มขนาดใหญ่ เพราะว่ากลุ่มขนาดใหญ่ติดต่อสื่อสารกัน
ได้ลำบาก และเกิดกลุ่มขนาดเล็กซ้อนอยู่ภายใน ซึ่งโดยธรรมชาติต้องแข่งขันกัน แย่งผลประโยชน์
กัน ทำให้ความเหนียวแน่นในกลุ่มใหญ่ต่ำไป สมาชิกในทีมงานจะมีการติดต่อส่ือสารกันแบบ 2
๔๒
ทิศทาง มีการติดต่อประสานงานกับหัวหน้าและสมาชิกด้วยกันตลอดเวลา ทีมจึงประกอบด้วย
หวั หนา้ ทีม สมาชิก และเลขานกุ าร แตล่ ะกลุ่มมรี ายละเอยี ดดงั นี้
1. หวั หน้าทีม คุณลักษณะของหัวหน้าทมี หรอื ผู้นำทีม มีดังน้ี
1.1 เปน็ ที่ยอมรับนบั ถือของสมาชกิ ในกลมุ่ ด้วยความจริงใจ
1.2 เปน็ คนเปิดเผย จริงใจ ซอื่ สัตย์ และเป็นกนั เอง
1.3 ไม่ใช้อทิ ธพิ ลครอบงำกลมุ่ เป็นประชาธปิ ไตย ปราศจากเผด็จการทุก
รูปแบบ
1.4 มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณใ์ นงานสงู
1.5 สามารถดำเนินการประชุมได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
1.6 ไมผ่ กู ขาดการเป็นผ้นู ำกลุ่มตลอดเวลา
1.7 พร้อมใหค้ วามชว่ ยเหลือกลมุ่
1.8 สามารถสื่อสารผลงานของทีมให้สาธารณชนเข้าใจได้
1.9 มวี ุฒิภาวะทางสงั คม
1.10 มแี รงจงู ใจและแรงขับทางด้านความสำเรจ็ สูง
2. บทบาทและหน้าทสี่ ำคญั ของหัวหน้าทมี
2.1 รบั นโยบายจากองค์การ
2.2 กำหนดเปา้ หมาย แนวทางและขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติ
2.3 มอบหมายงานแกส่ มาชกิ
2.4 สรา้ งบรรยากาศดว้ ยการจูงใจ เสริมแรง ใหก้ ำลงั ใจ
2.5 อำนวยความสะดวก ใหค้ วามช่วยเหลือ และแกป้ ัญหาต่าง ๆ
2.6 ประเมนิ ผลงานและผรู้ ่วมงาน
3. สมาชกิ ในทมี งาน คณุ ลกั ษณะของสมาชกิ ของทีมงานมี ดังน้ี
3.1 สามารถรับผิดชอบงานในหน้าทข่ี องตนและของกลุ่ม
3.2 เป็นผู้รูจ้ ักฟงั รจู้ กั พดู และแสดงความคดิ เห็นท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อกล่มุ
3.3 เปน็ ผู้ท่ยี อมรับฟงั และเคารพความคดิ เห็นของเพ่อื นสมาชกิ
3.4 เคารพมติของกลุ่ม และป้องกันมิให้มติของกลุ่มเบี่ยงเบนออกไปเข้ากับ
ความคดิ เห็นของตนเอง
3.5 เปน็ ผู้เสยี สละ อาสาช่วยทำงานทกุ ด้าน
3.6 กลา้ แสดงความคดิ เหน็
4. บทบาทและหนา้ ที่สำคญั ของสมาชิก
4.1 รบั มอบหมายงานจากหัวหนา้ ทมี
4.2 ปฏบิ ัตงิ านด้วยความรับผดิ ชอบให้บรรลุเป้าหมายของทีมงาน
4.3 ให้ความร่วมมือในการแกป้ ญั หาต่าง ๆ
4.4 เป็นผู้ตามท่ีดี
๔๓
5. เลขานุการ คณุ ลักษณะของเลขานุการกลุ่มมีดงั นี้
5.1 มคี วามสามารถในการเขียนหนงั สือได้ดี
5.2 สามารถจับประเดน็ การพูด การปรกึ ษาหารือของกล่มุ ได้ดี
5.3 สามารถสรุปผลการประชมุ และทำรายงานใหส้ มาชกิ ไดท้ ราบ
5.4 มคี วามรู้และประสบการณใ์ นการเสนอรายงานอย่างมแี บบแผน
5.5 สามารถเขยี นแผนผงั กราฟ ชารท์ ได้
6. บทบาทและนา้ ท่สี ำคญั ของเลขานุการ
6.1 รบั คำส่งั จากหวั หน้าหรอื ผทู้ เี่ กีย่ วข้อง
6.2 สง่ ข่าวสารทรี่ บั มาไปยังบุคคลหรือหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง
6.3 ประสานงานระหว่างผู้บังคับบญั ชาและถา่ ยทอดสิ่งที่ผใู้ ต้บงั คับบญั ชา
เสนอให้นายไดร้ ับรู้
6.4 มมี นุษย์สัมพันธท์ ด่ี ีแบบสรา้ งสรรค์แก่ทุกคน
สรุปไดว้ ่า รูปแบบการทำงานเปน็ ทมี คอื ตอ้ งมีสมาชกิ มากกวา่ หนง่ึ และแบง่ หน้าทก่ี นั
รบั ผิดชอบใหง้ านท่ีไดร้ บั มอบหมาย บรรลวุ ัตถุประสงค์ที่ตงั้ ไว้
2.8 บริบทของจังหวดั ศรีสะเกษ
2.8.1 ข้อมูลพื้นฐานท่วั ไป
ศรีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซ่ึงอยู่ทาง
ตอนเหนือของจงั หวัด
คำขวัญประจำจังหวดั ศรสี ะเกษ
หลวงพ่อโตคู่บา้ น ถิ่นฐานปราสาทขอม ขา้ ว หอมกระเทยี มเทยี มดี
มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี
สญั ลกั ษณ์ประจำจังหวัดสมทุ รปราการ
ต้นลำดวน (Devil Tree, White Cheesewood) เปน็ ตน้ ไมป้ ระจำจงั หวดั
ดอกลำดวน (Lamdman, Devil Tree, White Cheesewood)
เป็นดอกไมป้ ระจำจงั หวดั
อาณาเขตโดยรอบจงั หวัดสมทุ รปราการ
ทิศเหนอื ติดต่อกบั จังหวัดอุบลราชธานี จังหวดั ยโสธร และจังหวัดรอ้ ยเอด็
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจงั หวัดอบุ ลราชธานี
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับประเทศกมั พูชา
ทิศตะวันตก ติดต่อกบั จังหวัดสรุ ินทร์ และจงั หวดั รอ้ ยเอด็
การแบ่งพืน้ ที่ทางการปกครอง
แบง่ พ้นื ทอ่ี อกเป็น 22 อำเภอ ประกอบดว้ ย
1) เมืองศรีสะเกษ 2)ยางชุมน้อย 3) กันทรารมย์ 4) กันทรลักษณ์ 5) ขุขันธ์
6) ไพรบึง 7) ปรางค์กู่ 8) ขุนหาญ 9) ราศีไศล 10) อุทุมพรพิสัย 11) บึงบูรณ์ 12) ห้วยทับ
๔๔
ทัน 13) โนนคูณ 14) ศรีรัตนะ 15) น้ำเกล้ียง 16) วังหิน 17) ภูสิงห์ 18) เมืองจันทร์ 19)
เบญจลกั ษณ์ 20) พยุห์ 21)โพธิศ์ รสี ุวรรณ 22) ศลิ าลาด
วสิ ัยทัศน์ : ดินแดนเกษตรปลอดภัย การคา้ และการท่องเที่ยวครบวงจร
พนั ธกิจ :
1. สง่ เสริมการผลิตสินค้าเกษตร การแปรรูปสนิ คา้ การเกษตรด้วยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม
2. ส่งเสริมการค้าการลงทนุ โดยการสร้างโอกาส และสนบั สนุนใหเ้ กิดการพฒั นาการ
ทอ่ งเท่ยี วทีค่ รบวงจร และสง่ เสริมเมืองกฬี า (sport city)
3. ยกระดบั โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางสังคม พัฒนาคนใหม้ ีคณุ ภาพ ส่งเสรมิ ประเพณี
วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาท้องถิน่
4. สร้างความสมดลุ ความหลากหลาย และความมน่ั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อมและพลังงานทางเลือก
5. เสริมสร้างความมน่ั คงตามแนวชายแดน และความสงบเรียบร้อยของบา้ นเมือง และ
ลดความเหล่อื มล้ำทางสงั คม ท้ังนี้ โดยการบริหารจัดการภาครฐั ภาคโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล
เปา้ หมายรวม
เพอ่ื สร้างความเข้มแข็งและยัง่ ยืนทางด้านเศรษฐกจิ ใหส้ ามารถแข่งขันได้ ควบคูไปกบั การ
พฒั นาด้านสงั คม ความเป็นอยขู่ องประชาชน และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดลอ้ มใหน้ า่ อยู่
ตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ รวม ตามเป้าหมายการพัฒนา : รอ้ ยละที่เพม่ิ ข้นึ ของ GPP จังหวดั
เฉลยี่ 5 ปีย้อนหลัง เป้าหมาย รอ้ ยละ 2
ตัวชี้วดั ความสำเรจ็ ตามเป้าหมายการพฒั นาจังหวดั
ดา้ นการศึกษา
- คา่ เปา้ หมายในปี พ.ศ. 2564 คะแนนเฉลย่ี อยู่ท่รี ้อยละ 33
ค่าเปา้ หมายในปี พ.ศ. 2565 คะแนนเฉล่ยี อยู่ทร่ี อ้ ยละ 34
ประเดน็ การพฒั นาของจังหวดั
ประเดน็ การพฒั นาที่ 1 ยกระดับการผลติ สินคา้ เกษตรสู่มาตรฐานอย่างครบวงจร
ประเด็นการพฒั นาที่ 2 สง่ เสริมขีดความสามารถด้านการทอ่ งเที่ยวและกีฬาสู่ความ
เปน็ เลศิ
ประเดน็ การพฒั นาท่ี 3 พัฒนาเมอื งนา่ อยู่ สู่คณุ ภาพชีวติ ประชาชนในทกุ มติ ิ
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 4 อนุรักษ์ ฟน้ื ฟู และพฒั นาจดั การทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ ง
ยัง่ ยืน
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 5 เสรมิ สร้างความมัน่ คงและการคา้ ชายแดนเช่อื มโยงอาเซียน
๔๕
แผนทจี่ งั หวดั ศรสี ะเกษ
แผนภาพท่ี 2.3 แสดงแผนทจี่ ังหวัดศรีสะเกษ
2.9 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
ข้อมูลพน้ื ฐาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 มีสถานศึกษาในสังกัดที่
อยู่ในความรับผิดชอบ จำนวน 180 โรง ครอบคลุมท้ัง 7 อำเภอดังนี้ อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอราษี
ไศล อำเภอห้วยทับทัน อำเภอเมืองจันทร์ อำเภอโพธ์ิศรีสุวรรณ อำเภอบึงบูรพ์ และอำเภอศิลาลาด
สำหรับสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน