The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

บทที่ 4
ผลการวิจัย

การเลอื กพ้นื ที่
การพัฒนารูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา 5 SUCCESS GOALS MODEL

โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
เขต 2 เป็นการศึกษาเฉพาะกรณีท่ีสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาคัดเลือกโรงเรียนคุณภาพ
ของชุมชน โดยมีแนวทางในการคัดเลือก ด้านกายภาพ 5 ประการคือ 1) ภูมิศาสตร์ ทำเลท่ีต้ัง
เหมาะสม สร้างสิ่งปลูกสร้างได้ 2) มีความพร้อมด้านระบบสาธารณูปโภค 3) การคมนาคมเดินทาง
สะดวก 4) มีจำนวนนักเรียนที่เหมาะสมสำหรับการเป็นโรงเรียนคุณภาพของชุมชน 5) ระยะทาง
ระหว่างโรงเรียนคุณภาพถึงโรงเรียนเครือข่ายไม่ไกล ซ่ึงโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) มี
พ้ืนท่ี 20 ไร่ 95 ตารางวา มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภคท้ังน้ำ และไฟฟ้า มีความสะดวกในการ
เดินทาง จำนวนนักเรียนที่จะมาเรียนรวมจากโรงเรียนบ้านปลาขาว โรงเรียนบ้านหนองแคสวนสวรรค์
โรงเรียนบ้านมะยาง โรงเรียนบ้านตัง รวมจำนวนนักเรียน 469 คน การเดินทางสัญจรไปโรงเรียน
ต่างๆ มีความสะดวกเพราะไมไ่ กลจากโรงเรยี นบา้ นเพยี มาต(รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) มากนกั

ข้อมูลเกย่ี วกับโรงเรียน
1. ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนบ้านเพียมาต ต้ังข้ึนเม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2466โดยรองอำมาตย์โทหลวงคง

คุณานุการ ซ่ึงเป็นนายอำเภอสมัยนั้น โดยอาศัยศาลาวัดบ้านเพียมาต เป็นสถานที่เล่าเรียนมีช่ือว่า
โรงเรียนประชาบาลตำบลหนองแค 2 (วัดบ้านเพียมาต) มีนายบัวลาสมหมาย เป็นครูใหญ่ และ นายทอง
จนั ทร์ สุตพันธ์ เป็นครูนอ้ ย จดั การเรียนการสอนต้ังแต่ ชั้นเตรยี มถงึ ช้ันป. 5

ปี พ.ศ. 2476 เปลี่ยนหลกั สูตรใหมจ่ ัดการเรียนการสอนจากชัน้ ป. 1 ถงึ ชนั้ ป. 6
ปี พ.ศ. 2480 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเปลย่ี นแปลงแผนการศกึ ษาใหมเ่ ปดิ สอนจากชน้ั ป.1 - ป.4
ปี พ.ศ.2485 นายสูรย์ มูลศิริ และนายบูรณะ จำปาพันธ์ ได้ประชุมช้ีแจงกับชาวบ้านขอ
ท่ีดนิ เพอ่ื เปน็ ท่สี ร้างโรงเรยี น ได้ทด่ี นิ ทั้งหมด จำนวน 20 ไร่ 95 ตารางวา
ปี พ.ศ. 2485 ได้รับงบประมาณจากทางราชการ 1,200 บาท (หนึ่งพันสองร้อยบาท)
สร้างอาคารเรียนในท่ีดินของโรงเรียนซ่ึงได้รับบริจาคมีขนาด 9/36 เมตร 1 มุข 4 ห้องเรียน มุงหลังคา
เมื่อสร้างเสร็จได้ย้ายจากศาลาวัดมาเรียนที่อาคารหลังใหม่ขออนุญาตเปลี่ยนนามโรงเรียน เป็นโรงเรียน
ประชาบาล ตำบลหนองแค 2 (โรงเรียนบา้ นเพียมาต)
ปี พ.ศ. 2490 ไดร้ ับงบประมาณเปลี่ยนหลงั คา เป็นมงุ ดว้ ยกระเบือ้ งคอนกรตี
ปี พ.ศ. 2495 ได้รับมอบงบประมาณเปลี่ยนหลังคาจากกระเบ้ืองคอนกรีตเป็นสังกะสี ก้ันฝา
ตีฝ้าเพดานกั้นห้องเรียนเป็น โรงเรียนเอกเทศถาวรเต็มรูปแบบ จัดการเฉลิมฉลองเปิดป้ายอาคารเรียน
พรอ้ มต้ังชอื่ โรงเรียนใหม่เปน็ โรงเรียนบา้ นเพียมาต(รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร)

๙๗

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)ต้ังอยู่หมู่ที่ 3 ตำบลหนองแค อำเภอราษีไศล
สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 รหัสไปรษณีย์ 33160 เบอร์โทร 045-918687
เปดิ สอนตั้งแต่ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ถึงระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ภารกิจสถานศกึ ษา

โรงเรียนบา้ นเพยี มาต(รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร) เป็นหน่วยงานภายใต้การกำกบั ดแู ลของสำนกั งาน
เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มีอำนาจ
หน้าท่ดี ังนี้

1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบายของ สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และกระทรวงศึกษาธกิ าร

2. จัดตั้งงบประมาณ และรับผิดชอบการใชจ้ ่ายงบประมาณ
3. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
4. จัดการเรียนการสอน จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองของ
ผเู้ รยี น
5. ออกระเบยี บขอ้ บงั คับตา่ งๆรวมทง้ั ระเบยี บและข้อบงั คบั ทเ่ี กยี่ วกบั การบริหารจัดการศึกษา
6. กำกับ ติดตาม ประเมินผลงานตาม แผนงานโครงการ และประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตลอดจนการพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และการดำเนินงานทางวินัยกับครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา
7. ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมท้ังปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้และจัดหา
ผลประโยชน์จากทรัพย์สินของโรงเรียน ทั้งที่เป็นราชพัสดุและทรัพย์สินอื่นๆตามระเบียบท่ี
กระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด
8. จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ความร่วมมือในการประเมินคุณภาพ
การศึกษาจากหน่วยงานภายนอก รวมท้ังการรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน
9. ส่งเสรมิ ความเข้มแขง็ ในชมุ ชน และสรา้ งความสมั พนั ธก์ ับสถาบนั อ่ืนๆในชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ
10. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเก่ียวกับกิจการภายใน หรือตามที่ได้รับมอบหมาย และตามท่ีกฎหมาย
กำหนดให้

ภารกจิ ตามนโยบาย สพฐ ปงี บประมาณ 2563
กลยทุ ธ์ สพฐ.
ข้อท่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นทกุ ระดับทกุ ประเภท
ขอ้ ท่ี 2 ขยายโอกาสเขา้ ถึงบริการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานใหท้ วั่ ถงึ ครอบคลมุ ผเู้ รยี น

ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ และมีคณุ ภาพ
ข้อท่ี 3 พฒั นาคุณภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ข้อท่ี 4 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ
กลยุทธร์ ะดบั โรงเรยี นของ สพฐ
ขอ้ ที่ 1 สร้างความเสมอภาคและโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยา่ งมีคณุ ภาพ

๙๘

ขอ้ ที่ 2 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พัฒนาคุณภาพครูและนกั เรยี นส่สู ากล โดยบรู ณาการหลกั สตู ร สือ่
นวัตกรรมและ เทคโนโลยแี หล่งเรยี นรู้และภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ที่หลากหลาย

ข้อที่ 3 ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ความสำนกึ ในความเปน็ ชาตไิ ทย
และวิถชี ีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ขอ้ ท่ี 4 ส่งเสริมสนับสนุนและสรา้ งความร่วมมือระหว่างครู ผ้ปู กครอง ชมุ ชน
และองคก์ รอน่ื ๆ ในการจดั และพฒั นาการศกึ ษา

ขอ้ ท่ี 5 พัฒนาระบบบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2563 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กำหนดจุดเน้นการดำเนินการ
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนดงั นี้
สว่ นที่ 1 จดุ เน้นด้านผูเ้ รียน

1.1 นักเรยี นมสี มรรถนะสำคญั สู่มาตรฐานสากล
1.2 นักเรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม รักสามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท์ รักชาติ ศาสตร์ กษตั รยิ ์
ภูมใิ จในความเป็นไทย หา่ งไกลยาเสพติด มคี ณุ ลกั ษณะและทกั ษะทางสังคมทเี่ หมาะสม
1.3 นักเรยี นทีม่ ีความตอ้ งการพเิ ศษได้รบั การส่งเสรมิ และพฒั นาเตม็ ศกั ยภาพเป็นรายบุคค
สว่ นที่ 2 จดุ เน้นดา้ นครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
2.1 ครูไดร้ บั การพัฒนาความร้แู ละสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจรงิ และความช่วยเหลอื อยา่ ง
ตอ่ เน่ือง
2.2 พัฒนาผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษากลุ่มทมี่ ีความจำเปน็ ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาเร่งดว่ น
2.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาทเี่ ปน็ มอื อาชพี มีผลงานเชงิ ประจักษ์ ได้รับการยกยอ่ งเชิดชู
เกยี ริอยา่ งเหมาะสม
2.4 องค์กรและคณะบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการจัดเตรียมและการจัดสรรครู ตระหนักและ
ดำเนินการในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง ให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาบรรจุใหม่/ย้ายไปบรรจุ มีความสามารถ
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของโรงเรียน ชมุ ชน และสังคม

ส่วนท่ี 3 จดุ เนน้ ด้านการบริหารจดั การ
3.1 สถานศกึ ษาและสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาบริหารจดั การโดยมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ เน้นการ

กระจายอำนาจ การมสี ว่ นร่วมในการรับผิดชอบการดำเนนิ งาน(Participation and Accountability)
3.2 สถานศึกษาและสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจัดการศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีทำให้คนมีความรู้และคุณสมบัติต่าง ๆ ท่ีช่วยให้คนน้ันอยู่รอดใน

โลกได้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมส่วนรวม (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี 2545 ) ดังนั้น คุณภาพการศึกษาจึงสะท้อนถึงคุณภาพของคนที่เป็นผลิตผลของการจัด
การศึกษา อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ปัจจุบันสถานศึกษาส่วนใหญ่ยังมีความเหล่ือมล้ำและแตกต่างกัน
ท้ังในด้านงบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือแม้แต่ปัจจัยคือผู้เรียน รวมทั้งปัจจัยเอื้ออื่นๆ เช่น ความ
ร่วมมือของกรรมการสถานศึกษาการสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรท่ีอยู่ใกล้เคียงสถานศึกษา
และการติดตามช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดจากสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหน่วยงานต้นสังกัด สิ่งเหล่าน้ี
ล้วนส่งผลกระทบต่อคุณภาพการจัดการศึกษา อีกทั้งปัจจุบัน สถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัด
การศึกษาด้วยตนเอง มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเองคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการบริหารจัดการ

๙๙

จึงมีความแตกต่างกัน ดังนั้น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่

2) พ.ศ. 2545 จึงกำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน

ของสถานศึกษา อันนำไปสู่การกำหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานข้ึนแม้ว่าการพัฒนาให้มีระบบ

การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษาจะผ่านไปแล้วช่วงระยะหนึ่ง คือ รอบทศวรรษที่ผ่าน

มา (พ.ศ. 2542 – 2551) กระแสสังคมก็ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่าระบบการประกันคุณภาพภายในของ

สถานศึกษายังไม่เข้มแข็ง สถานศึกษาไม่ได้สร้างระบบคุณภาพให้เกิดอย่างจริงจัง มุ่งเน้นการปรับปรุง

เพ่ือให้ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกเท่าน้ัน ด้วยเหตุนี้ กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศ

กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ลงวันท่ี 11

มีนาคม พ.ศ. 2553 ที่กำหนดให้สถานศึกษาต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ด้วยการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และต้องมีการดำเนินงาน 8 ประการ โดยเร่ิมต้นต้ังแต่ 1)

กำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา 3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ดำเนินงานตามแผน 5) ติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) ประเมินคุณภาพภายใน 7 ) จัดทำรายงานประจำปีเสนอบุคคลและ

หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จนถึง 8) มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ืองจนเป็นวัฒนธรรมขององค์กร

ที่ย่ังยืน

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาและเป็นเป้าหมายสำคัญ

ที่สุดที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคนในสถานศึกษาต้องรับรู้ และปฏิบัติงานในหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบให้บรรลุ

ถึงเปา้ หมายคือมาตรฐานท่สี ถานศึกษากำหนดข้นึ

2. สภาพทั่วไป

2.1 ทตี่ ง้ั

ตั้งอยู่ ณ บ้านเพียมาต หม่ทู ี่ 3 ตำบลหนองแค อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ

หา่ งจากอำเภอราษีไศล จำนวน 8 กิโลเมตร

ห่างจากจังหวัดศรสี ะเกษ จำนวน 52 กโิ ลเมตร

หา่ งจากสำนกั งานเขตพืน้ ทปี่ ระถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 จำนวน 36 กิโลเมตร

2.2 เขตบริการของโรงเรยี น

โดยจัดบริการการศึกษาแก่เด็กในเขตบริการของโรงเรียนระดับประถมศึกษา คือ เขตบริการของ

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ประกอบด้วย เขตพื้นท่ีการปกครองจำนวน 1 ตำบล

หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเพียมาต หมู่ที่ 3 บ้านผึ้ง หมู่ที่ 4 , 14 บ้านเหล่าโดน หมู่ที่ 10 และระดับ

มัธยมศกึ ษาบา้ นมะยาง หมทู่ ่ี 5, 16 บ้านปลาขาวหม่ทู ี่ 2 , 11 และบา้ นดอนงูเหลือมหมู่ 7

2.3 การบรหิ ารจัดการศกึ ษา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) แบ่งโครงสร้างการบริหารเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่

ฝ่ายรับผิดชอบงานวิชาการ งานบุคลากร งานการงบประมาณ งานบริหารท่ัวไป ผู้บริหารยึดหลักการ

บริหาร เทคนิคการบริหารแบบ P D C A กระจายอำนาจในการบริหารงานให้บุคลากรใน ศึกษาได้

ร่วมกันคิด ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายในการดำเนินงาน โดยกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์

พันธกิจ เป้าหมายการพัฒนา และกลยทุ ธ์

๑๐๐

โครงสรา้ งการบริหารโรงเรียนบา้ นเพียมาต(รฐั ราษฎรพ์ ิทยา
คาร)

2.4 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
ลักษณะภูมิประเทศที่ต้ังของโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สามารถสรุปโดยสังเขป

ได้ดงั น้ี
มสี ภาพภูมปิ ระเทศ โดยท่ัวไปเป็นพื้นท่รี าบ

2.5 การคมนาคมขนสง่
ในเขตบริการของโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) มีเส้นทางคมนาคมทางรถยนต์

ระหว่าง อำเภอราศีไศล อำเภอสุวรรณ ตัดผ่านหน้าโรงเรียน ปัจจุบันนับว่า สะดวกและรวดเร็วเน่ืองจาก
มีเครือขา่ ยการคมนาคมสะดวกและรวดเร็ว ถนนลาดยาง 2 ชอ่ งทางการจราจร
2.6 การเศรษฐกิจ

ประชากรประมาณร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกข้าวหอมมะลิ ทำการประมง
ในช่วงหลังฤดูเก็บเก่ียว โครงสร้างทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับการขายส่ง ขายปลีกพืชผลทางการเกษตร รายได้
เฉลยี่ ของประชากร 35,000 บาท/ คน/ปี
2.7 สงั คมและวัฒนธรรม

ประชากรภายในโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ร้อยละ 98 นับถือศาสนาพุทธ ดำเนิน
ชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืนภายใต้ขนมธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมท่ีดีงามของชนพ้ืนเมืองชุม
ชุนที่เรียกตนเองว่ากลุ่มชนชาวลาว มีประเพณีที่สำคัญท่ีเรียกว่า ฮีตสิบสอง (ประเพณีสิบสองเดือน) เช่น
เดอื นอา้ ย เดอื นย่ี เดือนสาม เปน็ ต้น
2.8 แหลง่ เรียนรู้,ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและการใชแ้ หลง่ วชิ าการนอกระบบ
จดุ เด่น
1. ด้านผลการจัดการศกึ ษา

เด็กมีการพัฒนาด้านร่างกายสมวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานกาของกรมอนามัย เล่น
และ ออกกำลังกายได้อย่างต่อเน่ืองประมาณ 10 นาที ใช้มือในการหยิบ จับ รับ โยนได้ตามวัย ล่างมือ
ก่อนรับประทานอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ รู้จักหลีกเลี่ยงการกระทำท่ีนำไปสู่การบาดเจ็บได้ตามวัยเด็ก มี
พัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ ได้แก่ บอกชื่อนามสกุล เพศ สถานภาพและจำนวนสมาชิกในครอบครัว
ตนเองได้ สามารถทำกิจกรรมที่เลือกเอง เล่นและปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ แสดงความชื่นชอบและ
ตอบสนองต่อศิลปะดนตรีและการเคลื่อนไหว และสนใจใคร่รู้ธรรมชาติรอบตัวและปรากฏการณ์ตาม
ธรรมชาติเด็กมีพัฒนาการด้านสังคม สมวัย มีความซื่อสัตย์ รู้คุณของผู้อ่ืน มีความเมตตากรุณา และมีน้ำใจ
สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ เช่น ปฏิบัติตามกฎของห้องเรียน ปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและ
สร้างสรรค์สมวัย มีความพร้อมศึกษาต่อในช้ันต่อไป มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็นเอกลัษณ์ของสถานศึกษา “ โรงเรียนน่าอยู่ คู่เศรษฐกิจพอพียง ” มีผลการดำเนินงานตามโครงการ
พเิ ศษเพอ่ื แก้ปญั หา เดก็ อา่ นหนงั สอื จากภาพไมไ่ ด้ ผลการดำเนนิ งานบรรลุเป้าหมายตามแผน
2. ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา

สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ โดยผู้บริหารใช้ระบบบริหารตามวงจรคุณภาพ
(PDCA) มีการจัดโครงสร้างการบริหารครอบคลุมทั้ง 4 งาน คือ งานวิชาการ งานงบประมาณ

๑๐๑

งานบุคลากร และงานบริหารท่ัวไป และมีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐาน
ท่ีสอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติรูปการศึกษาโดยจัดทำโครงการและกิจกรรมตามข้อเสนอแนะของการ
ประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง
3. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ นักเรียนเป็นสำคัญ

ครูมีประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ คือครูมีการวาง
แผนการจัดประสบการณ์การเรียนอย่างเป็นระบบ มีการบันทึกพฤติกรรม มีการประเมินพัฒนาการของ
เดก็ และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ มาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาเดก็ อยา่ งตอ่ เน่อื ง
4. ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน

สถานศึกษามีประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและต้นสังกัดตาม
กฎกระทรวง ท้ัง 8 ขอ้
จุดทคี่ วรพัฒนา
1. ด้านผลการจดั การศกึ ษา

1.1 เด็กบางส่วนขาดวินัยและความรับผิดชอบ ไม่รู้จักอดทนรอคอยและร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตลอด
ทัง้ การเป็นผูน้ ำและผู้ตามท่ีดี ไมป่ ระหยดั ในการดม่ื นม

1.2 เด็กบางส่วนไม่มีทักษะการคิด การสำรวจส่ิงรอบตัว การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ความคิด
สรา้ งสรรคแ์ ละการทดลองดว้ ยวิธีการที่ใหม่ ๆ

1.3 สถานศึกษาขาดความเช่ือมต่อเนื่องในการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ คือ “ยิ้ม
ไหว้ ทักทาย มีจิตอาสา” จนเปน็ นสิ ยั และเกดิ ผลกระทบที่ดตี อ่ สถานศกึ ษาและเปน็ ทย่ี อมรับของชมุ ชน
2. ด้านการบรหิ ารจดั การศกึ ษา

2.1 ผู้บริหารสถานศึกษาขาดความชัดเจนในหลักสูตรโดยเฉพาะการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กทั้ง 6
กจิ กรรม

2.2 สถานศึกษามีส้วมไม่เหมาะสมกับเด็ก เพราะอยู่ห่างไกลจากห้องเรียนไม่สะดวกในการ
ควบคมุ ดูแล และฝกึ ฝนด้านสุขนิสยั

2.3 สถานศึกษาขาดการจัดกิจกรรมเพ่ือแก้ปัญหาและป้องกันความปลอดภัย ท่ีครอบคลุมท้ัง 6
กจิ กรรม
3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคัญ

3.1 ครขู าดการสงเสริมให้เดก็ เป็นผ้นู ำและผู้ตามที่ดอี ยา่ งสม่ำเสมอ
3.2 ครูขาดการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการวางแผนนำผลการประเมินไปพัมนาเด็ก
อย่างสมำ่ เสมอ
4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
ไม่มี
โอกาส
1. ชุมชนมีความเช่ือม่ันในการบริหาร จึงได้รับความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
เป็นอย่างดีและสมำ่ เสมอ
2. ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมคือ ป่าชุมชนดงภูดิน ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าได้ศึกษา
หาความรู้คา้ นวัฒนธรรมได้เปน็ อยา่ งดี หนงั บกั ตอ้ื ซง่ึ เปน็ มหรสพที่เป็นวัฒนธรรมประจำหมู่บา้ น

๑๐๒

3. ชุมชนมีประเพณีท้องถ่ิน เช่น การบูชาศาลเจ้าพ่อดงภูดิน ซึ่งมีการแข่งขันเรือยาวประเพณี
และเป็นแหล่งเรียนร้ดู า้ นประเพณวี ัฒนธรรมทอ้ งถนิ่

4. ชมุ ชนมีแม่น้ำมูล ป่าทาม ซึ่งเป็นธรรมชาติเชิงอนรุ กั ษ์ และเปน็ แหล่งเรยี นรทู้ างธรรมชาติ
5. คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสถานศึกษา ซึ่งให้ความร่วมมือ
รว่ มแรง ร่วมใจและเสยี สละกำลงั ทรัพยแ์ ละกำลงั กายในการพฒั นาสถานศกึ ษาอยา่ งสม่ำเสมอ
6. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแคสนับสนุนงบประมาณในด้านอาหารกลางวันและอาหาร
เสรมิ นม เพื่อพฒั นาเด็กดา้ นสขุ ภาพร่างกายสมำ่ เสมอทุกปี
7. ศษิ ย์เก่าและชุมชนมกี ารทอดผ้าปา่ เพ่อื การศึกษาทกุ ปกี ารศกึ ษา
อุปสรรค
1. ชุมชนบางสว่ นเก่ยี วขอ้ กับยาเสพติดและการพนัน ซง่ึ เป็นตวั อยา่ งทไ่ี มด่ ีแก่นักเรียน
2. ผู้ปกครองบางส่วนไปทำงานต่างจังหวัด นักเรียนอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้ขาดความ
อบอนุ่ ซงึ่ เป็นอปุ สรรคในการจดั การเรยี นกรสอน
3. ชมุ ชนบางส่วนใช้เคร่ืองจักรในการประกอบอาชีพ ทำใหเ้ กิดผลเสยี ตอ่ สงิ่ แวดล้อม
4. ชมุ ชนบางส่วนไม่มอี าชพี เศรษฐกจิ ไม่เพยี งพอ มผี ลกระทบต่อการสนบั สนนุ การศกึ ษา

วธิ ดี ำเนินการ
การวางแผนของสถานศึกษา

1. ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร เทคนิคการบริหารแบบ P D C A มีการวางแผนการจัด
การศึกษาเชิงระบบ มีการกระจายอำนาจในการบริหารงานคณะกรรมการสถานศึกษา อนุกรรมการ
สถานศึกษา และบุคลากรในสถานศึกษาได้ร่วมกันคิด ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันเพ่ือบรรลุเป้าหมายในการ
ดำเนินงาน โดยกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์ อัตลักษ์ เป้าหมายการพัฒนามี
คณะกรรมการสถานศึกษา อนุกรรมการ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน
การพัฒนาโรงเรียน วางแผนออกแบบกิจกรรม โครงการ และระบบติดตามผล เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงาน
อย่างมีระบบ

2. การนำแผนสู่การปฏิบัติ มีการกำหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน และดำเนินการ
ตามแผน

3. การตรวจสอบติดตาม โรงเรียนได้ควบคุม กำกับ นิเทศติดตามการดำเนินงานและรายงานผล
ตอ่ ทปี่ ระชุม และชมุ ชน

4. การพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานมีการนำผลการนำผลการประเมินรายงานต่อที่ประชุมหาก
พบว่าการดำเนินไม่เป็นไปตามเป้าหมาย โรงเรียน และผู้เก่ียวข้องจะช่วยกันปรับปรุงแก้ไข และดำเนิน
ให้บรรลุเป้าหมาย

ทิศทางการพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษำขัน้ พืน้ ฐาน ได้
กำหนดใหส้ ถานศกึ ษาจัดทำแผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2563 ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ
ปัญหาและทเ่ี กิดจากความตอ้ งการของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาเพ่ือใหใ้ ช้ความสามารถและ
ศักยภาพของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสูงสุดในการพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษาของสถานศึกษาให้
เปน็ ไป ตามนโยบาย 6 ยทุ ธศาสตร์ การปฏริ ูปการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ 11 นโยบายสำคญั ของ

๑๐๓

กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2560 และตัวชี้วดั ความสำเร็จของโครงการ/กิจกรรมในแตล่ ะกลมุ่ งาน โรงเรียน
บ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พทิ ยาคาร) จงึ ได้ดำเนินการจดั ทำ แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 ให้สอดคล้องกบั นโยบำย เป้าหมาย และจุดเนน้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ป(ี พ.ศ.
2560-2579)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ความม่นั คง
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 กำรสรำ้ งโอกาสความเสมอภาพและเท่าเทยี มกนั ทางสงั คม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม
ยุทธศำสตรท์ ่ี 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
นโยบายจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษา
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ าร ราชการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการจงึ ประกาศนโยบายและจดุ เน้น
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั น้ี
หลกั การ
1.ใหค้ วามสำคญั กบั ประเดน็ คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพในทกุ มิติ ทัง้ ผเู้ รียน ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา ขา้ ราชการพลเรอื น และผู้บรหิ ารทกุ ระดบั ตลอดจนสถานศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท และ
เปน็ การศึกษาตลอดชวี ิต
2.บรู ณาการการทำงานร่วมกนั ระหว่างส่วนราชการหลัก องคก์ ารมหาชนในกำกับของ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ใหม้ คี วามคลอ่ งตวั รวมทั้งหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ใน
พื้นท่ีภูมภิ าคให้สามารถปฏบิ ตั ิงานรว่ มกันได้ เพอ่ื ดำเนนิ การปฏิรปู การศึกษาร่วมกบั ภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชนตามนโยบายประชารัฐ
ระดบั ก่อนอนบุ าล
เน้นประสานงานกับส่วนราชการ และชมุ ชน ในการเตรียมความพร้อมผู้เรียน ในด้านสุขภาพและ
โภชนาการ และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ท่เี ชือ่ มโยงกบั ระบบโรงเรยี นปกติ
ระดับประถมศึกษา
1. ปลกู ฝงั ความมีระเบยี บวินยั ทศั นคตทิ ่ีถกู ต้อง โดยใช้กระบวนการลกู เสือ ยวุ กาชาด
2. เรียนภาษาไทย เนน้ เพอ่ื ใช้เปน็ เครือ่ งมอื ในการเรยี นรู้วิชาอืน่
3. เรียนภาษาอังกฤษและภาษาพื้นถน่ิ (ภาษาแม่) เนน้ เพือ่ การสื่อสาร
4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้ จากประสบการณ์
จริง หรือจากสถานการณ์จำลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกัน ของผู้เรียนและครู
ดว้ ยการจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นใหม้ ากขนึ้
5. สรา้ งแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพอื่ การเรียนรู้ และใช้ดิจทิ ัลเปน็ เครื่องมือการเรยี นรู้
6. จัดการเรยี นการสอนเพ่ือฝกึ ทกั ษะการคิดแบบมเี หตุผลและเป็นขน้ั ตอน (Coding)
7. พัฒนาครใู ห้มคี วามชำนาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)

๑๐๔

8. จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายใน และ
ภายนอก บรเิ วณโรงเรียนให้เอ้อื ต่อการสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ

นโยบายการพัฒนาการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้กำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ย่ังยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็น
แนวทาง ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติพ.ศ.2561 - 2580 แผน
แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580 ) แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 -
2579 และมงุ่ สู่ Thailand 4.0 ดังน้ี

นโยบายที่ 1 ด้านการจดั การศกึ ษาเพือ่ ความมนั่ คงของมนุษย์ และของชาติ นโยบายท่ี
นโยบายที่ 2 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพื่อเพ่มิ ความสามารถในการ แข่งขนั ของประเทศ
นโยบายที่
นโยบายท่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ นโยบายที่
นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลด
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา นโยบายท่ี
นโยบายท่ี 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิต ท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม นโยบายท่ี
นโยบายท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ าร จดั การศกึ ษา
กลยทุ ธ์ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
กลยุทธ์ท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพอื่ ความมั่นคง
1. เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลัก และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
1.1 น้อมนำแนวพระราชดำริสืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา หรือ
“ศาสตรพ์ ระราชา” มาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนรอู้ ย่างยง่ั ยืน
1.2 ปลูกฝังและเสริมสร้างวิถีพลเมืองประชาธิปไตย ความสามัคคีสมานฉันท์สันติวิธีต่อต้าน การ
ทุจริตคอรัปช่นั และยึดมนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
1.3 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ผ่าน
หลักสูตรและกระบวนการเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตรแ์ ละความเปน็ พลเมือง
2. ปลูกฝังผู้เรียนด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่ำนิยมทพี่ ึงประสงค์

2.1 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรม
จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สตู รและค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ

2.2 เสริมสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ เช่น อาชญากรรม และความ
รุนแรงในรูปแบบตา่ งๆ สิ่งเสพติด ภัยพบิ ัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอบุ ัติใหม่ ภัยจากไซเบอร์ฯลฯ
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขัน

1. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการปรับหลักสูตร การวัดและ
ประเมินผลท่เี หมาะสม

๑๐๕

1.1 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในระดับปฐมวัยและหลักสูตการศึกษาข้ันพื้นฐาน และนำ
หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ และจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ตามความจำเป็น
และ ความต้องการของผเู้ รียน ชุมชน ทอ้ งถนิ่ และสังคม

1.2 ส่งเสริมการเรียนการสอนใหผ้ ู้เรียนมคี วามม่นั ใจในการส่ือสารภาษาองั กฤษ ภาษาประเทศ
คคู่ า้ และภาษาอาเซียนอยา่ งน้อย ๑ ภาษา

1.3 พัฒนาระบบการวดั และประเมินผลทุกระดบั ให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐานนาไปสกู่ ารพฒั นา
คณุ ภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ

2. พัฒนkคณุ ภkพกระบวนกkรเรยี นรู้
2.1 พัฒนาผู้เรียนระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ให้มีพฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณจ์ ติ ใจ สงั คม
และสติปญั ญา ใหม้ ีความพรอ้ มเขา้ สู่การเรียนในระดับทีส่ ูงขนึ้
2.2 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนไดแ้ ละคิดเลขเปน็ ตามชว่ งวัย
2.3 สง่ เสริมสนบั สนุนให้ผูเ้ รียนมนี สิ ัยรักการอ่าน และการคดั ลายมือ
2.4สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ท่ีใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้ผ่านกิจกรรมการปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning)
เน้นทักษะกระบวนการ ให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ในทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรูท้ ัง้ ในและนอกหอ้ งเรียน
2.5 สง่ เสริมให้ผ้เู รยี นมวี นิ ัยและทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
2.6 ปลูกฝังทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
2.7สนับสนนุ การผลิต จดั หา และใชส้ ่ือการเรยี นการสอน เทคโนโลยนี วัตกรรม และสงิ่ อานวย
ความสะดวกที่หลากหลายรวมทั้งการพัฒนาห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ในการจัดการ
เรียนรู้ได้ทัง้ ในห้องเรยี น และนอกห้องเรยี นเพอ่ื ให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้อย่างเตม็ ศกั ยภาพ
2.8 ส่งเสริมการจัดหลักสูตรทักษะอาชีพ ควบคู่ไปกับวิชาสามัญ เช่น ทวิศึกษา (Dual
ducation)
หลกั สตู รระยะสน้ั
2.9 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
และผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ) ใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพดว้ ยรปู แบบทเ่ี หมาะสม
2.10 สง่ เสริมสนับสนุนการจัดกจิ กรรมแนะแนวเพือ่ การศึกษาต่อและการประกอบอาชพี อย่าง
เขม้ แข็งต่อเน่ืองและเปน็ รูปธรรม
3. สรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขนั
3.1 ยกระดับผลการประเมนิ ระดบั นานาชาตติ ามโครงการ PISA (Programme for
International Student Assessment)
3.2 ส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพผ้เู รยี นสู่ความเป็นเลศิ ในด้านตา่ งๆ
3.3 ส่งเสรมิ การเรียนรู้บรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ เช่น สะเต็มศกึ ษา (Science Technology
Engineering and Mathematics Education : STEM Education)เพื่อพัฒนากระบวนการคิด และการ
สรา้ งสรรคนวัตกรรมเพอื่ สรา้ งมลู ค่าเพม่ิ สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐
4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การทำวิจัย และนำผลการวจิ ัยไปใช้พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
4.1 สง่ เสรมิ การทำวจิ ัยเพือ่ พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา
4.2 สง่ เสรมิ การทำวิจัยเพื่อพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้การวัดและประเมินผล

๑๐๖

โดยเนน้ ให้มีการวิจยั ในชัน้ เรียน

กลยทุ ธ์ที่ 3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
1. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สำมารถจดั การเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ ในรูปแบบที่

หลากหลาย เช่น
1.1 TEPE Online (Teachers and Educational personnel Enhancement Based on

Mission and Functional Areas as Majors)
1.2 ชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)
1.3 การเรียนรูผ้ ่านกจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)
1.4 การพัฒนาครูทัง้ ระบบที่เชือ่ มโยงกับการเล่อื นวิทยะฐานะ ฯลฯ
2. พัฒนาระบบการบรหิ ารงานบุคคลใหม้ ปี ระสิทธิภำพ โดยเชื่อมโยงกบั หน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี
2.1 การก าหนดแผนอตั รากำลัง การสรรหา การบรรจแุ ต่งตั้ง การประเมนิ และการพัฒนา
2.2 การสรา้ งแรงจงู ใจให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามขี วัญและกาลังใจในการทางาน

กลยทุ ธ์ที่ 4 ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
1. เพม่ิ โอกาสการเข้ำถงึ การศกึ ษาท่มี คี ุณภาพ
1.1 สง่ เสริมประชากรวยั เรยี นทกุ คนใหไ้ ด้รบั โอกาสในการเขา้ รับบรกิ ารทางการศกึ ษาอย่างทัว่ ถงึ

มคี ณุ ภาพและเสมอภาค
1.2 สร้างความเข้มแข็งของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบส่งเสริมความประพฤติ

นักเรยี น
ระบบคุ้มครองนักเรียน และการสร้างภูมิคมุ้ กันทางสังคม

2. ลดความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษา
2.1 ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม สำหรับเด็กด้อยโอกาส ที่ไม่
อยู่ในทะเบียนราษฎร เช่น เด็กไร้สัญชาติเด็กพลัดถิ่น เด็กต่างด้าว เด็กไทยที่ไม่มีเลขประจ าตัวประชาชน
เปน็ ตน้
2.2 ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยใี นการจดั การศึกษาให้ครอบคลุมสถานศกึ ษาทุกแห่ง
เช่น การพัฒนาคุณภาพศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning information
technology :DLIT) , การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(Distance LearningTelevision : DLTV) ฯลฯ
กลยทุ ธ์ท่ี 5 จัดการศกึ ษำเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
1. จดั การศกึ ษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชวี ิต
1.1 ส่งเสริม สนบั สนุนการสรา้ งจิตสำนกึ รกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และน้อมน า
แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏิบัตใิ นการด าเนินชีวติ
1.2 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศกึ ษาพฒั นาหลักสตู ร กระบวนการเรียนรูแ้ หล่งเรียนร้แู ละสอ่ื
การเรยี นรู้ต่างๆ ทเี่ กย่ี วข้องกับการสร้างเสรมิ คุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
1.3 สร้างเครือข่ายความรว่ มมอื กับภาคสว่ นต่างๆ ในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม

๑๐๗

กลยทุ ธท์ ่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การและสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมในกำรจดั การศึกษา
1. พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ีประสิทธภิ ำพ
1.1 พฒั นาระบบการวางแผนการนำแผนไปสูก่ ารปฏิบัติการกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และ

ประเมินผล เพ่ือการบริหารจัดการที่มีประสทิ ธภิ าพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
1.2 พฒั นาระบบงบประมาณและการสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายเพ่ือการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
1.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อการจดั การศึกษา ทม่ี ีมาตรฐานเช่อื มโยงและเข้าถงึ ได้
1.4 สร้างความเข้มแข็ง และยกระดบั คุณภาพสถานศกึ ษาตามบริบทของพนื้ ท่ี เช่น โรงเรียน

ประชารัฐ (ดใี กล้บ้าน) , โรงเรยี นคณุ ธรรม, โรงเรยี นห้องเรียนกีฬา, โรงเรียนมาตรฐานสากล ฯลฯ
1.5 สง่ เสรมิ ระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ ขม้ แข็ง
1.6 ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติสถานศึกษา บคุ คลและองคค์ ณะบคุ คล ทีม่ ผี ลงานเชิงประจกั ษ์
2. สรา้ งความเขม้ แข็งในการบรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นรว่ ม
2.1 สง่ เสรมิ การบริหารจดั การเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา กลุ่มเครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษา

สถานศึกษาโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน (Area-base anagement), รูปแบบการบริหารแบบกระจายอ านาจ
“CLUSTERs”เป็นต้น

2.3 เขตพนื้ ท่กี ารศึกษาจัดทาแผนบรู ณาการจัดการศึกษาร่วมกับสานักงานศึกษาธิการจังหวดั
และสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค

2.3 สรา้ งความเข้มแขง็ ในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษารปู แบบเครือขา่ ย เช่น เครอื ข่ายส่งเสริม
ประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษา ศูนยพ์ ฒั นากลุม่ สาระการเรียนรู้กลุ่มเครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

2.4 สง่ เสรมิ และพัฒนาโรงเรยี นด้วยพลังประชารฐั อยา่ งต่อเน่ือง และยั่งยนื
3. ส่งเสริมกำรมีส่วนรว่ มพัฒนำคุณภำพผเู้ รยี น
3.1 สง่ เสรมิ สนบั สนุนผ้ปู กครอง ชมุ ชน สังคม และสาธารณชน ใหม้ คี วามรูค้ วามเข้าใจ สรา้ ง
ความตระหนักในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การก ากับดูแล ตลอดจนการส่วนร่วมรับผิดชอบในการ
พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน
3.2 ประสานสถาบันหรือหนว่ ยงานทางการศกึ ษาใหค้ ัดเลือกผูเ้ รียนเขา้ ศกึ ษาตอ่ ด้วยวิธกี ารที่
หลากหลาย
กลยุทธก์ ารพฒั นาโรงเรียนบา้ นเพยี มาต(รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร)
กลยทุ ธท์ ี่ 1 พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
กลยทุ ธ์ที่ 2 สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเป็นคนดี มีคุณธรรม
กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลยทุ ธ์ท่ี 4 พฒั นาประสิทธภิ าพการบริหารจดั การองคก์ ร
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
1 โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีและสนุ ทรยี ภาพกจิ กรรมส่งเสริมสุขภาพอนามยั นกั เรยี น
2 โครงการสง่ เสริมสุขภาวะท่ีดแี ละสุนทรียภาพ กิจกรรมสง่ เสรมิ กฬี า/นนั ทนาการ กฬี าภายใน กีฬากลุ่ม

กีฬาเขตพื้นท่ฯี

๑๐๘

3 โครงการสง่ เสริมพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความ สามารถในการคิดอย่างเปน็ ระบบคดิ สร้างสรรค์ กิจกรรมสง่ เสริมความ
เปน็ เลิศทางวชิ าการ งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น

4 โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนมคี วามร้แู ละทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ตามหลักสตู ร กิจกรรมจัดซ้ือจัดหาสอื่ วสั ดุ
การศกึ ษา

กลยทุ ธท์ ี่ 2 สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนเปน็ คนดี มีคุณธรรม
5 โครงการสง่ เสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ โรงเรยี นดีประจำตำบล

กจิ กรรมวันสำคัญตามโครงการ
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
6 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเพื่อเสริมสรา้ งศกั ยภาพขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
7 โครงการกิจกรรมแสดงมฑุ ติ าจติ
กลยทุ ธท์ ่ี 4 พฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการองค์กร
8 โครงการพัฒนาสง่ เสริมการบรหิ ารงานสาธารณูปโภค นำ้ ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ อนิ เตอรเ์ นท
9 โครงการพัฒนาสง่ เสริมการบรหิ ารงานวัสดุสำนกั งาน
10 โครงการพัฒนาสง่ เสริมการบรหิ ารงานวัสดนุ ำ้ มัน เชอื้ เพลงิ
11 โครงการพัฒนาสง่ เสรมิ การบริหารงานจดั ทำปา้ ยกจิ กรรมตา่ ง ๆ
12 โครงการสร้างความสัมพนั ธ์กจิ กรรมประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา
13 โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาโรงเรียนทั้งระบบกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

กจิ กรรมปรับปรุงซอ่ มแซม DLTV หอ้ งคอมพวิ เตอร์ งานพัสดุ ปรับปรุงซอ่ มแซมสถานที่
จดุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบ้านเพยี มาต(รัฐราษฎรพ์ ทยาคาร)

1.นักเรยี นระดับปฐมวยั ทกุ คนได้รับการพฒั นาให้มคี วามพร้อมทกุ ดา้ นตามหลักสตู ร
2.นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1-3 ทกุ คน อ่านออก เขียนได้ และมีลายมอื สวย
3.นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ทกุ คน อ่านคล่อง เขียนคลอ่ ง และมีลายมอื สวย
4.นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการทดสอบคะแนนความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ (NT)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) เพ่ิมข้ึนไม่
นอ้ ยกว่าร้อยละ 3
5.นักเรียนทุกคนได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีทักษะทางคณิตศาสตร์ (บวก ลบ คูณ หาร) ตาม
ชว่ งวยั
6.โรงเรยี น สง่ เสรมิ สนับสนุนการพัฒนาศกั ยภาพนักเรียนให้มที กั ษะวชิ าการและทกั ษะวชิ าชพี
7.นักเรยี นทุกคนได้รับการพัฒนาใหม้ ที กั ษะในการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร
8.โรงเรียน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง
(Active Learning) ในการเพื่อพัฒนากระบวนการคิดและการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม
สอดคลอ้ งกับ ประเทศไทย 4.0
9.โรงเรยี น ส่งเสริม สนบั สนุน ใหน้ ักเรยี นทกุ คนใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลเพ่อื การเรยี นรู้
10.นักเรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการจัดกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนา
คุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รกำหนด

๑๐๙

การบรหิ ารแผนส่คู วามสำเรจ็
การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนบ้านเพยี มาต(รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร) พ.ศ.2563

-2566 ฉบับน้ีเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานเพื่อส่งมอบผลผลิต การให้บริการการศึกษาท่ีเช่ือมโยง
สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ เป้าหมายและจุดเน้นของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน อันจะไปนำสู่การปฏิบัติในแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา พ.ศ.
2563 - 2566 โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) จึงได้กำหนดปัจจัยความสำเร็จและ
กระบวนการนำแผนสกู่ ารปฏบิ ัตดิ ังนี้

การจัดสรรทรัพยากรเพ่ือการขับเคล่ือนแผนโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ได้กำหนด
แนวทางการจัดสรรงบประมาณเพ่ือขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจหลักในการจัดการศึกษา สอดรับ
กับนโยบาย เป้าหมายตัวช้ีวัดความสำเร็จ และจุดเน้นของโรงเรียนเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)
ดังนั้น งบดำเนินงานเพ่ือบริหารจัดการภายในโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ได้ดำเนินการ
ประชุมคณะทำงาน เพ่ือพิจารณากำหนดแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินงาน ตาม
ความสำคัญและ ความจำเป็นของการพัฒนาตามภารกิจแต่ละกลุ่มงาน ในแผนปฏิบัติราชการประจำปี
การศึกษา 2563 – 25666 ท้ังน้ี เพ่ือให้เกิดประสิทธิผลของการบริหารและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้
บรรลเุ ป้าหมายตามจดุ เนน้
ปัจจัยความสำเร็จ

1. ปรับวัฒนธรรมองค์กรท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานและการท างานแบบมีส่วนร่วมที่เอ้ือต่อ
การพัฒนา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การปฏิบัติงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ใน
จุดเน้นการพฒั นา สรา้ งและพฒั นาใหเ้ ปน็ บคุ ลากรมีจติ บรกิ ารทดี่ ี

2. ส่งเสริมการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและใช้
วงจรการพฒั นา PDCA ตอ่ เนื่อง

3 .เชอื่ มโยงความสำเรจ็ ของการปฏิบัติงานกับการบรหิ ารงานบุคคล
4. บริหารจัดการโดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการระดมความคิดในการพัฒนาเพื่อ
ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งจริงจัง โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
กระบวนการนำแผนสู่การปฏบิ ตั ิ
1. ส่ือสารทิศทางองค์กรทั้งวิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าประสงค์นโยบาย เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ
และ กลยทุ ธ์จุดเน้น ของหน่วยงานให้บุคลากรทุกระดับรับร้แู ละเขา้ ใจตรงกันอยา่ งท่ัวถงึ
2. บริหารจัดการโดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการก าหนดแนวทางการ
พฒั นาการศกึ ษาของโรงเรยี น ใหม้ ีประสิทธผิ ลสงู ข้นึ
3. จัดโครงสร้าง กระบวนการทำงาน และมอบหมายผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานทั้งเจ้าภาพหลัก
เจ้าภาพรองและผ้สู นบั สนุน โดยมีการกำหนดบทบาทความรับผดิ ชอบทีช่ ดั เจน
4. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และเป้าหมายตามนโยบายเพ่ือกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จท่ีชัดเจน และ
จดั ทำ แผนปฏิบตั ิการ ให้บรรลุตามเปา้ หมายที่ตั้งไว้

๑๑๐

5. ดำเนินงาน กิจกรรม ตามแผนท่ีก าหนดไว้โดยการบริหารงบประมาณมีการตรวจสอบและ
ถ่วงดุล จากกลุ่มงานท่ีเก่ียวข้อง กลุ่มการเงินและสินทรัพย์ เบิกจ่ายงบประมาณ ทั้งนี้โรงเรียนบ้านเพียมาต
(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)ได้กำหนดมาตรการประหยัดค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นแนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณใน
ทิศทางเดยี วกัน

6. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อให้การนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดย
ตดิ ตามตามความกา้ วหนา้ ประจ าปกี ารประเมนิ ผลระยะคร่งึ ปแี ละการประเมนิ ผลเมื่อส้นิ สดุ ปีงบประมาณ

7. สร้างกลไกการขบั เคล่อื นและตรวจสอบสาธารณะ โดยรายงานผลการปฏิบตั งิ านประจำปี สู่
สาธารณชนและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

การพฒั นารปู แบบการบรู ณาการพฒั นาการศกึ ษา 5 SUCCESS GOAL MODEL โรงเรียน
บ้านเพมี าต (รฐั ราษฎร์พิทยาคาร) สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒
ดังนี้ ด้านนักเรยี น S Sustainability เปน็ คนดี มคี ุณธรรม M Mathematics เลิศลำ้ คิดเลขเป็น A
Academicเด่นด้านวิชาการR Reading คดิ อา่ น เขียน กา้ วหน้า T Technology นำพาเทคโนโลยี S
Shows & share มเี วทแี ลกเปลี่ยนเพ่ิมสมรรถนะ S Skill ทักษะชีวิตในศตวรรษท่ี 21 K Kindergarten
ความสำเร็จปฐมวยั Second Language ใสใ่ จในภาษาท่ี 2 (ภาษาองั กฤษ) ดา้ นครู S Skills มีทักษะ
และเทคนคิ ในการจดั การเรยี นรู้ M Mind มจี ิตวิญญาณ ความเป็นครู A Assessment มีการวดั และ
ประเมินผลอยา่ งเหมาะสมและหลากหลาย R Research มีการวิจัยในช้นั เรียน T Technology ใช้สื่อ
นวัตกรรม และเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรู้ ด้านผบู้ รหิ ารโรงเรียน S Supervision มกี ารนิเทศภายใน
อย่างเป็นระบบและมคี ุณภาพ M Management มรี ะบบการบริหารจัดการภายในโรงเรียนมีระบบ
ประกันคุณภาภายในสถานศกึ ษา A Academic เป็นผนู้ ำทางวิชาการ R Research ใชก้ ารวจิ ัยเปน็ ฐาน
ในการบรหิ ารโรงเรยี น ส่งเสริมครูทำวจิ ัยในชัน้ เรียน T Teamwork การทำงานเป็นทีม ด้านโรงเรียน S
Strategy มแี ผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา M Management มีระบบการบริหารจดั การ และระบบ
การเรียนการสอนท่ีมปี ระสิทธภิ าพ A Assurance มีระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาที่มี
คุณภาพ R Research & Development มีการวจิ ัยและพัฒนา T Teamwork มกี ารทำงานเป็นทีม
ด้านกรรมการสถานศกึ ษาและชมุ ชนS Service มจี ิตบรกิ ารและชว่ ยเหลือสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี M
Management มรี ะบบการบริหารจดั การทม่ี าจากหลายฝ่าย ไดแ้ ก่ กรรมการสถานศกึ ษา

๑๑๑

ผ้นู ำชมุ ชนและผปู้ กครองนกั เรยี น A Ask for cooperation ใหค้ วามรว่ มมือกบั ทางโรงเรียน
เปน็ อย่างดีทร่ี ้องขอ R Responsibility มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสว่ นรวมT Teamwork การ
ทำงานเป็นทีม

การพฒั นารูปแบบการบรู ณาการพัฒนาการศึกษา 5 SUCCESS GOALS MODEL
โรงเรยี นบา้ นเพยี มาต (รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร)

สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2

บทที่ ๕
สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

สรปุ ผลการวจิ ัย
การศึกษาครั้งนีเ้ ปน็ การวจิ ยั แบบผสมผสาน เพอ่ื ท่ีจะให้ได้คำตอบท่ีจะอภิปราย

ปรากฏการณก์ ารพัฒนารปู แบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา 5 SUCCESS GOAL MODEL
MODEL โรงเรียนบา้ นเพีมาต (รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร) ในสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษ เขต ๒ ซง่ึ มวี ตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ดงั น้ี คือ

1) เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร)
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2

2) เพื่อยกร่างรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยา
คาร) สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2

3) เพื่อพัฒนารูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยา
คาร) สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษเขต 2

4) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยา
คาร) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต 2

การศึกษาคร้งั นีผ้ ู้วิจยั ได้ทำการวิจยั แบบผสมผสาน โดยศกึ ษากระบวนการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน
รว่ มกบั การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ของสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ดงั นี้

1. พื้นท่ใี นการศึกษา ผูว้ ิจยั ได้เลือกโรงเรยี นบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พทิ ยาคาร) สำนกั งานเขต
พื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 เน่ืองจากโรงเรยี นบ้านบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)
ได้รับการคัดเลือกเปน็ โรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน

2. ผใู้ ห้ข้อมูลหลักคอื กลมุ่ คนและบคุ คลที่เกย่ี วขอ้ งกับการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาของ
โรงเรยี นบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พทิ ยาคาร) ซ่งึ ประกอบดว้ ยผู้บริหารสถานศึกษา รองผูอ้ ำนวยการ
สถานศึกษา คณะครู นกั เรยี น ผปู้ กครอง ผู้นำชมุ ชน ผ้นู ำทางศาสนา ผ้นู ำองคก์ รสว่ นทอ้ งถิ่น ผ้มู ีส่วนรว่ ม
ในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

3. การเกบ็ ข้อมลู เคร่ืองมอื ในการวจิ ยั ครัง้ น้ผี ู้วจิ ยั ใช้เครอื่ งมอื ในการวิจัยประกอบด้วยการ
แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ์ระดบั ลึก (Indept-Interview)

4. การประเมนิ ผลและการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวเิ คราะหข์ อ้ มลู รายสัปดาหแ์ ละรายเดือภายหลงั
ที่เกบ็ ข้อมลู โดยการสัมภาษณเ์ ชิงลึก แลว้ จัดขอ้ มลู เปน็ หมวดหมู่ เพื่อให้ทราบว่าไดข้ อ้ มลู อะไรทีค่ รบถ้วน
แลว้ จดั ข้อมูลเปน็ หมวดหมู่ เพอ่ื ให้ทราบวา่ ไดข้ อ้ มูลอะไรทคี่ รบถว้ นแล้วและจะต้องกบ็ ข้อมูลอะไร
เพม่ิ เติมอีกและวิเคราะหเ์ นือ้ หาเพ่อื อธบิ ายการพัฒนารูปแบบการบรู ณาการพฒั นาการศกึ ษา 5
SUCCESS GOAL MODEL ระดบั ประถมศึกษาในสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา
ศรสี ะเกษ เขต ๒

๑๑๓

สรุปผลรายงานการวจิ ยั และเขียนรายงานการวิจยั
สำหรับผลท่ีได้จากการศึกษา พัฒนารูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา 5

SUCCESS GOAL MODEL โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2 ผู้วิจัยได้นำข้อมูลท่ีศึกษาสังเคราะห์และวิเคราะห์ได้มาเสนอตามลำดับ
ดังน้ี

แนวคดิ พื้นฐานเกีย่ วกบั การมสี ว่ นร่วมของชุมชนในการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ของโรงเรยี น
บา้ นเพยี มาต(รัฐราษฎร์พทิ ยาคาร)

จากการศึกษาขอ้ มูลเบื้องต้นเกย่ี วกับแนวคิดพนื้ ฐานเก่ียวกับการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในการจดั
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานของโรงเรยี นคุณภาพของชุมชนโรงเรียนบา้ นเพียมาต(รัฐราษฎรพ์ ิทยาคาร) พบว่า
พลงั ของการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ซึ่งประกอบด้วยผ้บู รหิ ารสถานศึกษา เจา้ อาวาส นายกสมาคมศษิ ย์เกา่
ผู้ปกครองนกั เรียน ผู้นำองคก์ รสว่ นท้องถ่ิน กลุ่มนกั เรยี น กลมุ่ คณะครู กลุ่มประชาชน เป็นพลังของการี
สว่ นรว่ มท่ไี ดผ้ ลอย่างดี ท้ังในการแบง่ เบาภาระงบประมาณ บคุ ลากร รวมไปถงึ ทรพั ยากรอน่ื ๆ บทบาทมี
ส่วนรว่ มของชุมชนในการจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานมตี ั้งแต่ระดับปฏบิ ัติไปจนถงึ ระดบั นโยบาย เป็นชมุ ชนที่
มศี กั ยภาพและความรเู้ กีย่ วกบั การศึกษาเปน้ อย่างดี ที่สำคัญคือกระบวนทัศนค์ วามเข้าใจการมสี ว่ นร่วมใน
การจัดการศึกษา ซึ่งเปน้ แนวทางทีส่ ร้างสรรค์ เป็นแนวทางการร่วมมอื ทเี่ รยี กวา่ “บวร” หรือแนวทางการ
ประสานความร่วมมอื ในการจดั การศึกษาแกเ่ ดก็ และเยาวชนระหว่างบ้าน วดั โรงเรยี น ซ่ึงเป้นแนวคิด
พนื้ ฐานในการจดั การศกึ ษาที่สอดคล้องดังท่ีปรากฏในพระราชบญั ญตั กิ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
และแก้ไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2545 ทรี่ ะบุว่า ในการจัดการศึกษาให้ ยดึ หลักการระดมทรพั ยากรจากแหล่ง
ตา่ งๆ มาใชแ้ ละการมสี ว่ นรว่ มของบคุ คล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชีพ
สถานบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันทางสงั คมอื่น

รปู แบบและกระบวนการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนในการจดั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานของโรงเรยี น
บ้านเพยี มาต(รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร)

หลงั จากผู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาพฒั นารปู แบบการบูรณาการพฒั นาการศกึ ษา 5 SUCCESS GOAL
MODEL โรงเรียนบา้ นเพีมาต (รฐั ราษฎร์พิทยาคาร) สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรี
สะเกษ เขต ๒

1. รูปแบบการมีสว่ นร่วมกบั องคก์ รสว่ นทอ้ งถิน่ ซง่ึ พบว่ามีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาของ
โรงเรียนบ้านเพยี มาต(รัฐราษฎรพ์ ิทยาคาร) เป็นอย่างมาก ทั้งในแงก่ ารสนับสนุนงบประมาณ บุคลากร
และทรพั ยากรสนบั สนนุ ด้านอืน่ ๆ ท้งั นี้สบื เนอ่ื งมาจากนายกองคก์ รสว่ นท้องถ่ินเหน็ ความสำคัญและความ
จำเปน็ ในการจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

2. รูปแบบการมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เป็นรูปแบบการส่วนรว่ มทมี่ ี
รูปแบบชดั เจนและมีสว่ นร่วมในทกุ ๆ ขนั้ ตอนการจดั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานตง้ั แตก่ ารมสี ่วนร่วมในทุก ๆ
ขนั้ ตอนการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานตั้งแต่แตก่ ารมีสว่ นรว่ มในการวางแผนการลงมอื ปฏิบัติการติดตาม
ประเมนิ ผล และการรับปรุงแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ของโรงเรยี น

3. รูปแบบการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานแบบเครือขา่ ยผปู้ กครองของนกั เรียน
เปน็ รูปแบบการมีส่วนร่วมอีกวธิ ีหนงึ่ ที่ทำให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จในหลายๆดา้ น ท้ังด้านการระดม
ทรัพยากร การเข้าถึงผปู้ กครองนกั เรยี นรวมไปถงึ การควบคมุ แลความประพฤติของนกั เรยี น และความ
เข้าใจอันดีระหวา่ งบ้านและโรงเรียน

๑๑๔

4. รูปแบบการมีสว่ นร่วมในการระดมทุน(Capital Mobilization) เป็นการระดมทรพั ยากรใน
ทกุ ๆ ด้านทั้งดา้ นงบประมาณ บุคลากร วสั ดุอปุ กรร์และการจดั การซง่ึ มีการระดมทนุ ในรปู แบบต่างๆ เช่น
สมาคมศษิ ยเ์ กา่ สมาคมผู้ปกครอง เครือข่ายผปู้ กครอง ผา้ ปา่ เพื่อการศกึ ษาจากเอกชน องคก์ รเอกชน
และจากสว่ นราชการอน่ื ๆ ซง่ึ เปน็ ท่ีสนบั สนุนส่งเสรมิ ทส่ี ำคญั ท่ที ำใหโ้ รงเรียนประสบผลสำเร็จได้ตาม
เปา้ หมาย

5. รูปแบบการมีส่วนร่วมในการสรา้ งความสมั พันธก์ ับชมุ ชนเป็นรูปแบบท่สี รา้ งความเขา้ ใจอันดี
ระหวา่ งชุมชนกับโรงเรยี นซง่ึ มีรูปแบบตา่ งๆ รูปแบบการมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมของชมุ ชนซง่ึ เปน็ รูปแบบท่ี
ไดผ้ ลดี เพราะเป้นการเข้าไปช่วยเหลือชุมชนในงานประเพณีต่างๆ การใหบ้ ริการชุมชน ทัง้ วัสดุอปุ กรณ์
กีฬา บุคลากร รวมไปถึงใชส้ ถานทขี่ องโรงเรยี นในกจิ กรรมชมุ ชนต่างๆ ซ่ึงทำใหเ้ กิดความเข้าใจอันดี
ระหว่างชมุ ชนกบั โรงเรียน อนั จะนำไปสู่การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนในการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

จากการศกึ ษายงั พบว่า การพัฒนารูปแบบการบูรณาการพฒั นาการศกึ ษา 5 SUCCESS
GOAL MODEL ระดบั ประถมศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต
๒ เปน็ รูปแบบท่มี กี ระบวนการ (Process) ทีเ่ ป็นพลวตั ตอ่ เน่อื ง (Dynamic) คอื มีการเคลือ่ นไหว
เปล่ียนแปลงตอ่ เนื่องและเกีย่ วข้องเชอื่ มโยงกนั (Interaction) โดยมีกระบวนการมสี ่วนร่วม 5 ประการ๕อ

1. การระดมความคิด (Brainstorming Particcippation) คอื การคิดคน้ และวิเคราะหป์ ัญหา
รว่ มกัน ในลกั ษณะของการร่วมคดิ ทีม่ าจากทกุ ฝ่าย

2. การร่วมวางแผน (Planning Participation) คือการนำสงิ่ ทรี่ ่วมคดิ มากำหนดเปน็ แผนปฏิบัติ
การร่วมกนั ด้วยการระดมทรพั ยากรจากทุกฝา่ ย

3. การรว่ มลงมอื ทำ (Taking Action Participation) คอื การนำแผนงานทไี่ ดไ้ ปร่วมกันทำหรือ
แบ่งงานกันรับผิดชอบเพอื่ ไปตามแผนและเป้าหมายทว่ี างไว้

4. การรว่ มติดตามประเมินผล (Monitoring Partipation) คือการร่วมกันตดิ ตามผลงานท่ีทำ
และแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการทำงาน รว่ มคิดพฒั นาปรบั ปรงุ ใหง้ านดขี ึ้น

5. การรบั ผลประโยชน์รว่ มกัน (Mutual Benefits Partipation) เปน็ การร่วมรบั ผลประโยชนท์ ่ี
เกิดขึน้ รว่ มชนื่ ชมยนิ ดีในผลงานทเ่ี กิดจากการร่วมคิด ร่วมทำ ซึง่ จะนำไปสู่ความสัมพนั ธท์ ่ดี ีและเออื้ อาทร
ซึง่ กันและกนั

จะเหน็ ได้ว่านอกจากรปู แบบการมสี ่วนร่วมของชมุ ชนในการจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานในครงั้ น้ี
แล้วสิง่ ทพ่ี บอีกอย่างหนง่ึ คอื รูปแบบท่เี ปน็ กระบวนการซงึ่ เกิดอยา่ งตอ่ เน่อื งสมำ่ เสมอเป็นพลวัตท่ี
เคล่ือนไหวไมห่ ยดุ นิง่ และมีปฏิสัมพันธภ์ ายในซึ่งกนั และกัน อันจะนำไปสูก่ ารพัฒนาเปล่ยี นแปลงในทางท่ี
ดขี ึ้น

เง่อื นไขการมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของโรงเรียนบา้ นเพียมาต(รฐั ราษฎร์
พิทยาคาร) สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2

เพื่อให้ทราบถึงเงือ่ นไขการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานมาก ซง่ึ เป้นปจั จัยส่งเสรมิ
สนบั สนนุ พบวา่ เงอื่ นไขทสี่ ่งเสริมสนบั สนุนอยู่หลายประการทสี่ ำคัญคือ

1. สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ได้กำหนดวสิ ยั ทศั น์ คา่ นิยม
องคก์ ร การนำนโยบายสูก่ ารปฏิบัติได้ชัดเจน โรงเรยี นบ้านเพยี มาต(รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร) ไดน้ ำนโยบาย
มาสูโ่ รงเรยี นและชน้ั เรยี นไดช้ ดั เจน

๑๑๕

2. การมผี นู้ ำทางศาสนาให้การสนบั สนนุ และเหน็ ความสำคญั ของการศกึ ษา เพราะผนู้ ำทาง
ศาสนาเปน็ ศูนย์รวมทางจิตใจของชุมชน ท่ีมีบทบาทสำคัญในการชักชวน สนับสนนุ ใหช้ มุ ชนเข้ารว่ ม
กิจกรรมต่างๆ ในชุมชนและกจิ กรรมของโรงเรยี น

3. ผนู้ ำองค์กรสว่ นท้องถิ่น และผนู้ ำชุมชน ชว่ ยเหลอื สนับสนนุ อย่างจรงิ จงั ในชมุ ชนและ
ผู้นำชมุ ชนในคมุ้ ตา่ งๆ ใหค้ วามสำคญั ในการพฒั นาชมุ ชนโดยเห็นความสำคัญในการจัดการศกึ ษา มาเป็น
อนั ดบั แรก ทำใหก้ ารพัฒนาการศึกษาเปน็ ไปอย่างมีรปู ธรรม

4. การมกี ารรวมกลมุ่ กนั เองในชุมชนหลายกลุ่ม เช่น สมาคมศิษยเ์ กา่ โรงเรยี นบ้านเพียมาต
(รัฐราษฏร์พิทยาคาร) สมาคมผู้ปกครอง และครูโรงเรียนบ้านเพียมาต(รฐั ราษฏร์พทิ ยาคาร) และกลมุ่
เครือข่ายผูป้ กครองนกั เรยี น เปน้ ผลให้ชมุ ชนค้นุ เคยกบั การรว่ มมือในการดำเนินงานกับกล่มุ ตา่ งๆ และ
เกิดความร่วมมือกับทางโรงเรียนอย่างสมำ่ เสมอ

5. คณะครมู คี วามสามคั คีและรว่ มกนั พัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง การรว่ มมอื ร่วมใจของคณะครูใน
โรงเรียน นบั วา่ เป็นแรงผลักดนั ทมี่ ีพลงั อกี สว่ นหนง่ึ ท่นี ำไปสอู่ งค์กรไปสู่ความสำเร็จตามเปา้ หมายได้

6. ผู้บริหารเปน็ ที่ยอมรับของคณะครแู ละชุมชน ผู้บรหิ าร นับวา่ เปน็ แกนสำคญั ที่จะเปน็
สว่ นช่วยในการจดั การศึกษาใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ผู้บริหารของโรงเรยี นบา้ นเพยี มาต(รฐั ราษฏรพ์ ิทยาคาร)
มบี คุ ลิกลกั ษณะเด่น มีมนษุ ย์สมั พนั ธ์ทีด่ ี เปน็ แบบอยา่ ง ท่มุ แทให้กบั งานอย่างจรงิ จงั ประกอบกับเป็นผ้มู ี
วิสัยทัศน์ และเห็นความสำคัญทางการศึกษา คิดริเริ่มงานการศึกษาอยา่ งสร้างสรรค์ ทำใหเ้ กดิ การยอมรบั
ในการทำงานจากทุกฝา่ ย

การพฒั นารูปแบบการบรู ณาการพัฒนาการศึกษา 5 SUCCESS GOAL MODEL โรงเรียน
บ้านเพยี มาต (รัฐราษฎรพ์ ิทยาคาร) สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒
ดังนี้ ด้านนักเรยี น S Sustainability เปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม M Mathematics เลิศลำ้ คิดเลขเปน็ A
Academicเดน่ ดา้ นวชิ าการR Reading คดิ อา่ น เขยี น ก้าวหน้า T Technology นำพาเทคโนโลยี S
Shows & share มเี วทแี ลกเปล่ียนเพ่ิมสมรรถนะ S Skill ทกั ษะชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 K Kindergarten
ความสำเรจ็ ปฐมวัย Second Language ใส่ใจในภาษาท่ี 2 (ภาษาอังกฤษ) ด้านครู S Skills มีทักษะ
และเทคนคิ ในการจดั การเรียนรู้ M Mind มีจิตวิญญาณ ความเปน็ ครู A Assessment มีการวัดและ
ประเมนิ ผลอย่างเหมาะสมและหลากหลาย R Research มีการวจิ ยั ในช้ันเรยี น T Technology ใช้สอ่ื
นวัตกรรม และเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นรู้ ด้านผูบ้ รหิ ารโรงเรียน S Supervision มีการนิเทศภายใน
อยา่ งเป็นระบบและมีคณุ ภาพ M Management มีระบบการบริหารจดั การภายในโรงเรยี นมรี ะบบ
ประกันคณุ ภาภายในสถานศึกษา A Academic เปน็ ผู้นำทางวิชาการ R Research ใช้การวจิ ยั เป็นฐาน
ในการบริหารโรงเรียน ส่งเสริมครทู ำวจิ ยั ในชัน้ เรียน T Teamwork การทำงานเปน็ ทมี ดา้ นโรงเรยี น S
Strategy มีแผนพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา M Management มีระบบการบริหารจดั การ และระบบ
การเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธภิ าพ A Assurance มีระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาทม่ี ี
คุณภาพ R Research & Development มีการวจิ ัยและพัฒนา T Teamwork มกี ารทำงานเปน็ ทมี
ด้านกรรมการสถานศึกษาและชุมชนS Service มจี ิตบรกิ ารและชว่ ยเหลอื สถานศึกษาเปน็ อย่างดี M
Management มีระบบการบริหารจดั การที่มาจากหลายฝ่าย ไดแ้ ก่ กรรมการสถานศึกษา

๑๑๖

ผนู้ ำชมุ ชนและผปู้ กครองนักเรียน A Ask for cooperation ใหค้ วามร่วมมอื กับทางโรงเรยี นเปน็ อยา่ งดีท่ี
ร้องขอ R Responsibility มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสว่ นรวมT Teamwork การทำงานเป็นทีม

อภิปรายผล
จากข้มูลที่ได้จากพื้นท่ีท่ีศึกษา ได้ข้อค้นพบจากการศึกษาเป็นของการวิจัย ซึ่งสรุปและ

นำเสนอเพ่ืออธิบายรูปแบบการบูรณาการพัฒนาการศึกษา 5 SUCCESS GOAL MODEL โรงเรียน
บ้านเพียมาต (รฐั ราษฎร์พิทยาคาร) สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2
การมีสว่ นร่วมของในการจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานในโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน โรงเรียนบ้านเพียมาต(รฐั
ราฏรพ์ ิทยาคาร)ขอสรปุ อภปิ รายผลวิจัยดังนี้

จากแนวคดิ การพฒั นาประเทศท่เี ปล่ยี นแนวทางพฒั นาประเทศจากการเนน้ การพัฒนาทางด้าน
เศรษฐกิจ มาเป็นการพฒั นาประเทศโดยการเนน้ การพัฒนาคนโดยให้คนเปน็ ศูนยก์ ลางของการพฒั นาซึ่งมี
แนวทางทีเ่ หน็ ไดช้ ดั เจนทำใหเ้ ห็นแนวทางการพัฒนาประเทศที่เนน้ การพฒั นาคนมคี วามชดั เจนขน้ึ และมี
แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นอนั ทีจ่ ะทำให้ประชาชนมีส่วนรว่ มผลกั ดันในการพัฒนาประเทศมากขนึ้ และมแี นว
ทางการปฏบิ ัตใิ นอนั ทจ่ี ะทำใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมผลักดนั ในการพฒั นาคนมีความชัดเจนขึ้นและมีแนว
ทางการปฏิบตั ใิ นอันที่จะทำให้ประชาชนมสี ่วนร่วมผลกั ดนั ในการพัฒนาประเทศมากข้นึ กำหนดใหก้ าร
จดั การศึกษาต้องยึดหลักการมีสว่ นรว่ มของบคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา และสถาบนั ทางสังคมอ่นื ๆ

จากสภาพการศึกษาการบรู ณาการพัฒนาการศึกษา 5 SUCCESS GOAL MODEL ระดับ
ประถมศึกษาในสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ทตี่ อ้ งอาศัยการมสี ่วน
รว่ มในการจัดการศึกษา มีองค์ประกอบตา่ งๆท้งั ครู นักเรียนผ้บู รหิ าร ผนู้ ำองค์กรสว่ นทอ้ งถน่ิ ผนู้ ำชุมชน
ประชาชน ผ้ปู กครองนกั เรยี น มาร่วมกนั ดำเนินการในการจดั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มีลกั ษณะทม่ี ีสว่ นร่วม
เช่นมสี ่วนร่วม 1) การมสี ว่ นร่วมเป็นการกระตนุ้ ให้ประชาชนได้ร่วมกนั เรียนรสู้ ภาพของชมุ ชน การดำเนิน
ชวี ิต ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้เป็นข้อมลู เบ้ืองตน้ ในการทำงาน การรว่ มกันค้นหาปัญหา และ
สาเหตขุ องปญั หาตลอดจนการจดั ลำดับความสำคญั ของปัญหา 2)การมสี ่วนรว่ มในการวางแผน โดยจะมี
การรวบรวมกล่มุ อภปิ รายและแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือการกำหนดนโยบาย วตั ถปุ ระสงค์ วิธีการ แนวทาง
และทรพั ยากรทต่ี ้องใช้ 3)การมสี ่วนรว่ มในการดำเนินการพัฒนา โดยการสนบั สนนุ ด้านวัสดุ อุปกรณ์
แรงงานเงนิ ทนุ หรอื เข้าร่วมบรหิ ารงาน การใชท้ รพั ยากรการประสานงานและการดำเนนิ การขอความ
ชว่ ยเหลอื จากภายนอก 4)การมีสว่ นร่วมในการรับผลประโยชน์จากการพฒั นา เปน็ การนำเอากิจกรรมมา
ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ทง้ั ดา้ นวัตถุ และจติ ใจโดยอยูบ่ นพน้ื ฐานของการเท่าเทยี มกนั ของบุคคลและสังคม 5)
การมีส่วนรว่ มในการติดตามและประเมนิ ผลการพัฒนา เพอ่ื ทจี่ ะแก้ไขปญั หาต่างๆ ท่เี กิดข้ึนได้ทนั ที

และจากการวเิ คราะหก์ ารดำเนินการแบบมีส่วนรว่ มของชมุ ชนุ ในการจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานของ
(Process) และพลวัต(Dynamic) คอื มกี ารเคลอ่ื นไหวเปลย่ี นแปลงอยา่ งสมำ่ เสมอ มกี ารแกไ้ ขปญั หา
ร่วมกันกำหนดแผนงานใหม่ เพ่ือสรา้ งความย่ังยืนในความสมั พันธก์ ารมสี ่วนร่วมของทกุ ฝา่ ย โดยพบวา่ มี
กระบวนการมสี ่วนรว่ มด้านระดมความคิด ดา้ นการมสี ่วนรว่ มในการวางแผน ดา้ นการมีส่วนร่วมในการลง
มือทำ ด้านการมสี ่วนรว่ มในการตดิ ตามประเมินผล และด้านการมสี ่วนรว่ มการรับผลประโยชน์ร่วมกนั

๑๑๗

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
จากข้อคน้ พบทีว่ า่ โรงเรยี นจะมีคณุ ภาพไดน้ ้นั มี 5 องคป์ ระกอบ คอื นักเรียน ครแู ละ

บุคลากรทางการศกึ ษา ผู้บริหารโรงเรยี น โรงเรียนและสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน และคณะกรรมการ
สถานศึกษา ผูป้ กครอง และชุมชน ควรมีการพฒั นาทัง้ 5 ปัจจัยน้ี ให้มคี ุณภาพ และควรสง่ เสรมิ ให้
มีการถอดบทเรยี นโรงเรยี นท่ปี ระสบผลสำเรจ็ ในดา้ นต่างๆ เพอ่ื เปน็ การจดั การความรู้

2. ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยครงั้ ต่อไป
ควรวิจัยรปู แบบการบรู ณาการพฒั นาการศึกษา 5 SUCCESS GOAL MODEL โรงเรยี น

บา้ นเพยี มาต(รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร)ในสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
สำหรบั โรงเรียนทวั่ ไป

บรรณานกุ รม
กำพล แสนบุญเรอื ง.(2542) การมีส,วนรว, มขององค2การบริหารส,วนตำบลตอ, การจดั การศกึ ษาในโรงเรียน

มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามญั ศึกษา จังหวัดรอD ยเอ็ด. วิทยานิพนธ=การศึกษามหาบณั ฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ก่งิ แกIว วานิชกูล.(2549) การศึกษาการมีส,วนร,วมในการส,งเสริมใหDมีการระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา
ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรยี นราชบพธิ เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร. ปรญิ ญา
นิพนธ=การศกึ ษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดIานการศึกษา. (ร,าง) แผนปฏริ ูปประเทศดาD นการศกึ ษา ( ฉบบั ปรบั ปรุง).

ออนไลน= (3 กมุ ภาพันธ= 2563). เขIาถงึ ไดจI าก : http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/
uploads.
จันทรานี สงวนนาม.(2545)ทฤษฎีและแนวในการปฏิบัตใิ นการบรหิ ารสถานศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : บoคุ พอยท,=
จิณณวัตร ปะโคทงั .(2549) รูปแบบการมีสว, ยร,วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรยี น
ดเี ดน, โรงเรยี นกนั ทรารมณ2 จังหวัดศรีสะเกษ. วทิ ยานิพนธ=ปริญญาการศึกษาดษุ ฎบี ณั ฑิต,
สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา,บณั ฑติ วิทยาลัย,มหาวทิ ยาลัยบูรพา.
จริ าพร ต้ังสุวรรณ.(2546)การมีส,วนร,วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการวางแผนจดั
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียนมัธยมศกึ ษา สหวิทยาเขตบรมราชชนนี 2 สังกัดกรมสามัญ
ศึกษาส,วนกลาง. วิทยานิพนธ=การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ
ประสานมติ ร.
ชนดิ า ชน่ื วดั .(2549) การศกึ ษาการมีสว, นรว, มของผปDู กครองในการปฏริ ปู สถานศกึ ษาโรงเรียนวดั คลองตัน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 2. วิทยานิพนธ=การศึกษามหาบัณฑิต
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร.
ชัญญา อภปิ าลกลุ .(2545) รปู แบบการพฒั นาการมสี ,วนร,วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานในการ
บริหารและจดั การศกึ ษาภายใตDโครงสราD งการกระจายอำนาจการบริหารการศึกษา : กรณีศึกษา
ของสำนกั งานการประถมศึกษาจังหวดั ขอนแก,น. วิทยานิพนธ=ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต

มหาวิทยาลัยขอนแกsน.
ชาญชัย อาจณิ สมาจาร.(2547) ส,ูทิศทางใหม,การบริหารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : K & P BOOKS.
ทรงสดุ า ไตรปกรณก= ุศล.(2545) กระบวนการนำแนวคิดการมีส,วนรว, มไปประยกุ ต2ในการแกDไขปญ_ หาสขุ ภาพ

ชุมชน. วทิ ยานิพนธ=พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยขอนแกนs .
ทองใบ สดุ ชาร.ี (2543) ภาวะผูนD ำและการจงู ใจ. พิมพค= ร้ังท่ี 2. อบุ ลราชธานี : คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบนั

ราชภฏั อุบลราชธาน.ี
ธรี ะ รุญเจริญ. (2546) การบรหิ ารโรงเรียนยุคปฏิรปู การศึกษา. กรุงเทพฯ : ขIาวฟ}าง.

. (2549) ส,ูความเปน` ผDบู ริหารสถานศึกษามืออาชพี . กรงุ เทพฯ : ขาI วฟา} ง.

๑๑๙

นงรัตน= ศรีพรหม. “โรงเรยี นกับการมสี วs นรsวมในการจดั การศกึ ษาของผปูI กครองและชุมชน,” วารสาร
ขDาราชการครู. 21 (ธนั วาคม 2543-มกราคม 2544) : 21-24.

นริ นั ดร= จุลทรัพย=.(2542) กลุ,มสัมพันธ2สำหรับการฝbกอบรม. พมิ พค= รงั้ ท่ี 3. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
เนตรพ= ัณณา ยาวริ าช.(2546) การจดั การสมยั ใหม,. กรงุ เทพฯ : เซน็ ทรัล เอก็ เพรส.
บญุ ฟ„า ลิม้ วธั นา.(2549) การศกึ ษาการมีส,วนรว, มของชุมชนในการระดมทรัพยากรทางการศกึ ษา เพอ่ื การ

บริหารสถานศกึ ษา : กรณีโรงเรียนในฝ_น สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาอบุ ลราชธาน.ี
วทิ ยานิพนธ=ครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธาน.ี
เบญจา ยอดดำเนนิ -แอoตติกจ= บปุ ผา ศริ ิรศั มี และวาทนิ ี บญุ ชะลักษม.ี (2548) การศกึ ษาเชิงคณุ ภาพ : เทคนคิ
การวิจัยภาคสนาม. พิมพ=ครั้งท่ี 6. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัย.
ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ. นโยบายและจดุ เนนI ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ป‡งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔.
(๒๕๖๒, ๒๗ กนั ยายน). หนIา ๑ – ๔.
ปญ• หา สิทธพิ ล.(2545) ความตอD งการมีส,วนรว, มของครูในการบรหิ ารโรงเรียนประถมศึกษาสงั กดั สำนกั งาน
การประถมศึกษาอำเภอสนามชัย จังหวัดฉะเชงิ เทรา. วทิ ยานิพนธ=การศกึ ษามหาบณั ฑติ
มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
พิสัณห= หริ ัญวงษ=. (2541) การศึกษาการบรหิ ารโดยใหบD ุคลากรมสี ว, นร,วมในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด
สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ=ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวทิ ยาลัยขอนแกsน.
ไพโรจน= มนิ สาคร.(2550) ความตอD งการมีสว, นร,วมในการบริหารงานโรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง.
วิทยานพิ นธ=การศึกษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร.
ภมู ิศรนั ย= ทองเลยี่ มนาค.มองศกั ยภาพการศกึ ษาไทยผ,านรายงานเวลิ ดแ2 บงก.2 ออนไลน= (๓ กุมภาพนั ธ=
๒๕๖๓). เขาI ถงึ ไดIจาก https://www.eef.or.th/article-๑๑-๑๒-๒๐
เมตต= เมตต=การุณ=จิต.(2547)การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส,วนร,วม : ประชาชน องค2กรปกครอง
สว, นทDองถน่ิ และราชการ. กรุงเทพฯ : บคุo พอยท.=
เมตต= เมตต=การุณ=จิต.(2541) การมีส,วนรว, มในการบรหิ ารโรงเรยี นของคณะกรรมการศกึ ษาประจำ
โรงเรียนเทศบาลในจังหวดั นครราชสีมา. วทิ ยานพิ นธ=ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต
มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.
ยทุ ธศาสตร=ชาติ ๒๐ ป‡ (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐). (๒๕๖๑, ๑๓ ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลsม ๑๓๕
ตอนที่ ๘๒ ก. หนIา ๒๙-๓๗
วิโรจน= สารรัตนะ.(2545) การบริหาร : หลักการ ทฤษฎี ประเด็นการศึกษาและวิเคราะห2องค2การ
ทางการศึกษาไทย. พิมพค= รงั้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ : อกั ษราพิพัฒน.=
วิลาวรรณ รพไี พศาล.(2542) หลกั การจดั การ. กรงุ เทพฯ : เจIาพระยาระบบการพมิ พ=.
วรี วัฒน= พงษพ= ะยอม.(2533) การทำงานเปน` ทีม. กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่นั .

๑๒๐

สถาบันสsงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ= ละเทคโนย.ี โครงสราD งประชากรไทยกบั แนวโนมD การเปลย่ี นแปลงใน
อนาคต. ออนไลน= (3 กุมภาพันธ= 2563). เขIาถงึ ไดจI าก : HTTP://BIOLOGY.IPST.
AC.TH/?P=913

สมโชค เลาหะจินดา.(2547) การศกึ ษาความตDองการและป_ญหาการมสี ว, นรว, มในการปฏิบัตติ ามบทบาท
หนDาท่ีของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียนเอกชนจังหวัด
สมุทรปราการ. ปริญญานิพนธ=การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ ประสาน
มิตร.

สัมพนั ธ= อปุ ลา.(2541) การศกึ ษาการมีส,วนร,วมของชุมชนในการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัด
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน, . วิทยานิพนธ=ศึกษาศาสตร
มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ขอนแกsน.

สมั ฤทธ์ิ กางเพง็ .(2545) รปู แบบการมสี ,วนรว, มในสถานศกึ ษา. กรุงเทพฯ : วชิ าการ.
สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดอุตรดติ ถ.= แผนบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ จังหวัดอตุ รดิตถ=. ออนไลน=

(3 กมุ ภาพันธ= 2563. เขIาถึงไดจI าก : https://data.bopp-obec.info/emis/news/File/
20160926204155.pdf
สุชาติ กิตติโกสินท=.(2548)การมีส,วนร,วมในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ
คณะ กรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานในสังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาอุบลราชธานี เขต 1.
วิทยานิพนธค= รศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี.
สนุ ันทา เลาหนนั ทน=.(2540) การสรDางทีมงาน. กรุงเทพฯ : ดี ดี.บุoคสโตร=, 2540.
สุภางค= จันทวานิช. (2543) วเิ คราะห2ขอD มลู ในการวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ. พมิ พค= ร้งั ที่ 3. กรงุ เทพฯ :

จฬุ าลงกรณม= หาวทิ ยาลยั , 2543.
.(2549) วธิ ีการวจิ ยั เชิงคุณภาพ. พมิ พค= รัง้ ที่ 14. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลยั .
อนนั ตชัย อุทัยพัฒนาชีพ. “การบรหิ ารแบบมสี วs นรวs ม,” ข,าวศนู ยก2 ฎหมายธรุ กจิ . 9 (มีนาคม-เมษายน

2544) : 36-39.
อรณุ รกั ธรรม.(2542) การสรDางและการพฒั นาทีมงาน. พมิ พค= ร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.=
อทุ ยั บุญประเสรฐิ .(2546) รายงานการวิจยั เร่อื ง บทบาทและการมีส,วนรว, มในการบริหารและการ

จดั การศกึ ษาของคณะกรรมการสถานศึกษาในประเทศทค่ี ดั สรร. กรงุ เทพฯ: สำนักนโยบาย และ
แผนการศกึ ษาสำนักงานสภาการศกึ ษา, 2546.
Cohen, J and Rural Uphoff.(1980) Development Participation: Concept and

Measure for Project Design Implementation and Evaluation Rural
Development Center. New York: Cornell University.
Cunningham, William G. and Paula Cordeiro. (2000) Educational Administration A
Problem, Based Approach. Boston: Allyn and Bacon.

๑๒๑

Davis, After Keith and John Newstrom.(1989) Human Behavior at Work. 8 th ed. New
York: McGraw-Hill.

Hoy, W.K. and C.G. Miskel.(1996) Education Administration. 5 th ed. New York:
McGraw-Hill.

Merriam, S.(1988) Case Study Research and Education: A Qualitative Approach.
SanFrancisco:Jessey-Bass.

Owens, Robert G. (1995) Organization Behavior in Education. 5 th ed. Needham
Heights, MA: Simon and Schuster.

Walsh, Mike. Building a Successful School. London: Kogan Page, 1991.

ภาคผนวก

๑๒๓

แบบสมั ภาษณ์
ชดุ ที่ ๑ แนวคำถามการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียนทมี่ สี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา
การสนทนาสรา้ งความคนุ้ เคย

เรมิ่ การสนทนา
- สนทนาเกย่ี วกบั บรรยากาศทั่วไปในโรงเรยี นและชมุ ชน
- ขออนุญาตเริม่ การสัมภาษณ์
อธิบายวัตถปุ ระสงคข์ องการสัมภาษณ์
- ตอ้ งการศึกษาเกย่ี วกบั การทำงานร่วมกันของคณะครูบุคลากรและชุมชนเพอ่ื ใช้เปน็ รปู แบบในการ

มสี ว่ นรว่ มจดั การศึกษา
- ขอให้แสดงความคดิ เหน็ โดยอิสระ เพราะจะไมม่ กี ารอา้ งอิงเปน็ รายบคุ คลว่าใครพดู แต่จะนำเสนอ

เปน็ ความคดิ เหน็ สว่ นรวม
- ตอ้ งขอบันทกึ เทป เพราะอาจจะจดไม่ทนั แตเ่ ทปน้จี ะไมน่ ำไปเผยแพรท่ ไ่ี หน นอกจากผูว้ จิ ัย จะ

นำมาเปิดฟงั เพ่ือสรุปความคดิ เห็นของผใู้ หส้ ัมภาษณใ์ ห้ถูกต้องเท่าน้ัน
1.พ้นื ฐานท่ัวไปของผู้ใหส้ มั ภาษณ์

1.1.ทำงานมาแลว้ กป่ี ี เร่มิ เป็นผู้บริหารโรงเรยี นที่ไหน อยโู่ รงเรียนน้มี าแล้วกี่ปี ย้ายมาอยู่
โรงเรยี นเพราะอะไร

1.2 เรียนจบมาทางดา้ นใด จากที่ไหน จบมาแลว้ กีป่ ี มีงานหรือกจิ กรรมอะไรทีม่ ักทำอยเู่ ป็น
ประจำหรอื เป็นครงั้ คราวบ้าง

1.3 ทา่ นพักอยู่ที่ไหน มาทำงานท่โี รงเรยี นอย่างไร ใชเ้ วลาอยูท่ ี่โรงเรียนมากไหม เวลาสว่ น
ใหญม่ ักทำอะไร
2. ประวัติและสภาพทัว่ ไปของโรงเรียน
2.1 โรงเรยี นน้ีต้ังขึน้ มาในปใี ด ใครเป็นผ้รู เิ ริม่ ให้มกี ารกอ่ ต้งั และคนในชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการก่อตั้ง
โรงเรียนอยา่ งไรบ้าง
2.2 ท่านรจู้ กั คุ้นเคยกับคนในชมุ ชนมากน้อยเพียงใด และสนทิ สนมกบั คนในชุมชนกลุ่มใดเป็นพเิ ศษ
บ้างหรอื ไม่ เพราะเหตุใด มโี อกาสเขา้ ไปเยย่ี มคนในชมุ ชนบา้ งหรือไม่ อยา่ งไร
2.3 ทา่ นพอใจในสภาพการทำงานของคณะครทู ี่เปน็ อยู่ในปจั จบุ ันมากนอ้ ยเพียงใดเพราะหตใุ ด
2.4 โรงเรยี นได้รบั การสนับสนุนหรอื การช่วยเหลอื ในการทำงานจากใครหรอื หน่วยงานใดบ้างหรอื ไม่
อยา่ งไร
3. การบรหิ ารงานโรงเรยี นเพ่ือให้เกดิ การมีส่วนรว่ มของชมุ ชนและโรงเรียน

3.1 ท่านวางโครงสร้างการบริหารงานในโรงเรียนอย่างไร ครูในโรงเรยี นมีสว่ นแสดงความ
คดิ เหน็ ในการกำหนดโครงสร้างนี้หรือไม่ ใชห้ ลักเกณฑ์ใดในการแบง่ งาน

3.2 ชมุ ชนได้รับการช่วยเหลอื แก่ทางโรงเรียนในการจัดการศกึ ษามากน้อยเพียงใดช่วยเหลอื
ทางดา้ นใดบา้ ง ส่งิ ที่ชุมชนใหค้ วามชว่ ยเหลือแกท่ างโรงเรียนตรงกับความตอ้ งการของคณะครูหรือประโยชนต์ อ่
โรงเรยี นอย่างไรบ้าง

3.3 ทา่ นและคณะครูมีการติดต่อสมั พันธก์ บั ชมุ ชนมากนอ้ ยเพยี งใด
3.4 ในรอบปีทผ่ี า่ นมา โรงเรียนและชุมชนได้รรว่ มมือกนั จดั กิจกรรมอะไรบา้ ง

๑๒๔

4. สง่ิ ทสี่ นบั สนนุ ใหเ้ กิดการมีสว่ นรว่ ม
4.1 ในโรงเรยี นมสี ง่ิ ใดบ้างท่เี ปน็ ส่งิ สนับสนุนท่ที ำใหเ้ กดิ การมีส่วนร่วมของชุมชนและโรงเรยี นในการ

จดั การจดั การศึกษา
4.2 ในชุมชนมกี ฎเกณฑห์ รอื ข้อบงั คับให้คนเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นอย่างไร

บ้าง
5. ส่ิงทใี่ หโ้ รงเรียนประสบผลสำเรจ็

5.1 ทา่ นคิดว่าปัจจัยอะไรท่ีเปน็ ส่งิ สำคญั ท่ที ำให้โรงเรียนประสบผลสำเรจ็ ในการจัดการศึกษา
5.2 ทา่ นคิดว่าปัจจยั อะไรที่เปน็ ส่ิงสำคัญทส่ี ง่ เสริมใหโ้ รงเรยี นไดร้ ับคดั เลือกเป็นโรงเรียนคณุ ภาพของ
ชมุ ชน

๑๒๕

ชดุ ที่ ๒ แนวการสมั ภาษณผ์ ู้นำชมุ ชนทม่ี ีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
การสนทนาสร้างความคุ้นเคย

เริม่ การสนทนา
- ขออนญุ าตเร่ิมการสัมภาษณ์
- แนะนำตนเองและขอให้ผู้ถูกสัมภาษณ์แนะนำตนเองเกยี่ วกับ ช่อื ทอี่ ยู่ อาชพี และบทบาท ที่

เกยี่ วข้องกับทางโรงเรยี นและชมุ ชน
อธบิ ายวัตถุประสงคข์ องการสมั ภาษณ์

- ตอ้ งการศึกษาเก่ยี วกับการทำงานร่วมกันของชมุ ชนและบุคลากรในชุมชนเพือ่ ใช้เปน็ แนวทางใน
การปรับปรุงใหเ้ กดิ ความร่วมมอื กันของผนู้ ำชุมชน

- ขอให้แสดงความคิดเห็นโดยอสิ ระ เพราะจะไมม่ ีการอ้างอิงเป็นรายบคุ คลวา่ ใครพดู แต่จะนำเสนอ
เปน็ ความคิดเห็นส่วนรวม

- ตอ้ งขอบันทึกเทป เพราะอาจจะจดไมท่ นั แต่เทปนจี้ ะไมน่ ำไปเผยแพร่ที่ไหน นอกจากผวู้ จิ ัย จะ
นำมาเปิดฟังเพอื่ สรปุ ความคดิ เหน็ ของผใู้ หส้ ัมภาษณ์ให้ถูกต้องเทา่ นน้ั

1.พื้นฐานทว่ั ไปของผู้ใหส้ ัมภาษณ1์
1.1.อยู่ในชมุ ชนมาแล้วกปี่ ี ยา้ ยมาจากท่ไี หน เขา้ มาช่วยเหลือโรงเรยี นในด้านใดบา้ ง
1.2 มีบา้ นพักอยทู่ ่ีไหน มาท่ีโรงเรยี นบอ่ ยไหม

2. ประวตั ิและสภาพท่วั ไปของโรงเรยี น
2.1 ชุมชนน้ตี ้งั มานานกีป่ ีแล้ว คนในชุมชนส่วนใหญ่ ทำอาชีพอะไร
2.2 คนส่วนมากในชุมชนส่งลูกเรียนทไ่ี หน เพราะอะไร

3. การบรหิ ารงานโรงเรียนเพอื่ ให้เกิดการมีสว่ นรว่ มของชุมชนและโรงเรยี น
3.1 ท่านเรม่ิ เขา้ มาชว่ ยสนับสนนุ การจัดการศึกษาของโรงเรียนตง้ั แตเ่ มอ่ื ใดเขา้ มาร่วม เพราะเหตุใด
3.2 ทา่ นให้การสนับสนุนกับทางโรงเรียนในดา้ นใดบา้ ง เพราะเหตุใด

4. สิ่งที่สนับสนุนหรอื เป็นอปุ สรรค
4.1 อาชีพความเปน็ อยูข่ องคนในชมุ ชนหรือผู้ปกครองเป็นอยา่ งไร เป็นปญั หาหรืออปุ สรรคในการเข้า

มาชว่ ยเหลอื โรงเรียนอย่างไรบา้ ง เพราะอะไร
4.2 ทา่ นหรอื ชมุ ชนเคยขอความรว่ มมอื จากโรงเรยี นในเรือ่ งใดบ้าง

5. สงิ่ ทใี่ ห้โรงเรียนประสบผลสำเรจ็
5.1 ท่านคิดว่าปัจจัยอะไรทเี่ ป็นส่งิ สำคัญท่ที ำให้โรงเรยี นประสบผลสำเรจ็ ในการจดั การศึกษา
5.2 ท่านคดิ วา่ ปจั จยั อะไรทีเ่ ปน็ ส่ิงสำคัญทสี่ ่งเสรมิ ให้โรงเรียนไดร้ ับคดั เลือกเป็นโรงเรียนคณุ ภาพของ

ชุมชน

๑๒๖

ชุดที่ 3 แนวการสัมภาษณผ์ ู้ปกครองท่ีมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
การสนทนาสร้างความคุ้นเคย

เร่ิมการสนทนา
- ขออนญุ าตเริ่มการสัมภาษณ์
- แนะนำตนเองและขอให้ผ้ถู กู สัมภาษณแ์ นะนำตนเองเก่ยี วกบั ชอ่ื ทอ่ี ยู่ อาชีพ และบทบาท ท่ี

เก่ียวขอ้ งกับทางโรงเรยี นและชุมชน
อธิบายวัตถปุ ระสงคข์ องการสมั ภาษณ์

- ต้องการศึกษาเก่ยี วกบั การทำงานรว่ มกนั ของชุมชนและบุคลากรในชมุ ชนเพื่อใช้เป็นแนวทางใน
การปรับปรุงให้เกิดความร่วมมอื กนั ของผ้นู ำชุมชน

- ขอให้แสดงความคิดเห็นโดยอสิ ระ เพราะจะไม่มกี ารอ้างองิ เป็นรายบคุ คลว่าใครพดู แตจ่ ะนำเสนอ
เป็นความคิดเห็นสว่ นรวม

- ต้องขอบันทกึ เทป เพราะอาจจะจดไม่ทนั แต่เทปน้จี ะไม่นำไปเผยแพรท่ ไ่ี หน นอกจากผวู้ จิ ยั จะ
นำมาเปดิ ฟังเพ่ือสรปุ ความคิดเห็นของผ้ใู หส้ มั ภาษณ์ใหถ้ กู ตอ้ งเทา่ นนั้

1. การซักถามเบอ้ื งต้น
1.1มีบุตรกค่ี น ที่ยงั เรียนอยู่ทโี่ รงเรยี นน้มี กี ีค่ น อยชู่ ั้นอะไรบา้ ง สง่ เสรมิ การเรียนของบตุ รอย่างไร
1.2ทา่ นเขา้ เยี่ยมเยอื นโรงเรยี นบ่อยครงั้ หรือไม่ สว่ นใหญ่มาทำไม รู้จักครูในโรงเรยี นกี่คน ใครบา้ ง

2. ประวตั ขิ องชมุ ชนและโรงเรียน
2.1ขอใหเ้ ล่าประวัตคิ วามเปน็ มาของชุมชนเทา่ ที่จำได้
2.2ขอใหเ้ ล่าถงึ ประวัตขิ องโรงเรยี นเกย่ี วกับ
2.3ขอให้เลา่ ถงึ สภาพการทำงานของโรงเรยี นในปจั จบุ ันเก่ยี วกบั นโยบายการทำงานความร่วมมอื ของ
ผ้ปู กครองและคณะครู ปญั หาอปุ สรรคในการทำงานร่วมกัน และแนวทางแกป้ ญั หา

3. สภาพของการมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาของชุมชนและโรงเรียน
3.1ปัจจุบันความร่วมมือในการจดั การศึกษาของชุมชนและโรงเรยี นมลี กั ษณะเป็นอย่างไร มีความ
รว่ มมือมากนอ้ ยเพยี งใด เพราะเหตใุ ด ทา่ นมักจะมารว่ มกิจกรรมของทางโรงเรยี นทางดา้ นใดบ้าง
โรงเรยี นมีการตดิ ต่อกับผูป้ กครองนักเรียนอย่างไร
3.2ผู้ปกครองของนกั เรยี นมีสว่ นรว่ มกบั โรงเรยี นในการทำงานมากนอ้ ยเพยี งใด ในด้านการมสี ่วนร่วม
และตัดสินใจในการกำหนดนโยบายของโรงเรยี น
3.3โรงเรยี นใหก้ ารสนับสนนุ งานด้านตา่ งๆ ของชุมชน นอกเหนือจากการจดั การศกึ ษาในโรงเรียน
อย่างไรบ้าง

4. ทศั นะเกยี่ วกับศักยภาพของชมุ ชนในการมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
4.1ผปู้ กครองนักเรยี นสว่ นใหญม่ คี วามสนใจในการจดั การศึกษาข้นั พนื้ ฐานของชุมชนมากน้อย
เพยี งใด
4.2โรงเรยี นเชญิ ผปู้ กครองนกั เรียนเป็นวทิ ยากรหรอื เปน็ ผู้ให้ความรู้แก่ครหู รือนักเรยี นในเรอื่ งใดบา้ ง

๑๒๗

5. สงิ่ ท่ใี ห้โรงเรยี นประสบผลสำเร็จ
5.1 ท่านคิดว่าปัจจยั อะไรทเ่ี ปน็ สง่ิ สำคัญทท่ี ำให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จในการจดั การศึกษา
5.2 ท่านคดิ ว่าปัจจัยอะไรที่เป็นสง่ิ สำคัญท่ีส่งเสรมิ ให้โรงเรยี นได้รับคัดเลอื กเป็นโรงเรียนคณุ ภาพของ
ชุมชน

๑๒๘

ชดุ ที่ 4 แนวการสัมภาษณ์นักเรยี น
การสนทนาสรา้ งความคุ้นเคย

เริม่ การสนทนา
- ขออนุญาตเรม่ิ การสัมภาษณ์
- แนะนำตนเองและขอให้ผถู้ ูกสัมภาษณ์แนะนำตนเองเกี่ยวกับ ชอ่ื ทอี่ ยู่ อาชีพ และบทบาท ที่

เกี่ยวขอ้ งกบั ทางโรงเรียนและชุมชน
อธิบายวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์

- ต้องการศกึ ษาเกี่ยวกับการทำงานรว่ มกนั ของชุมชนและบุคลากรในชุมชนเพื่อใชเ้ ป็นแนวทางใน
การปรบั ปรุงใหเ้ กิดความร่วมมอื กันของผนู้ ำชมุ ชน

- ขอใหแ้ สดงความคิดเห็นโดยอิสระ เพราะจะไมม่ ีการอา้ งอิงเปน็ รายบคุ คลวา่ ใครพูดแตจ่ ะนำเสนอ
เปน็ ความคดิ เหน็ ส่วนรวม

- ตอ้ งขอบันทึกเทป เพราะอาจจะจดไมท่ นั แตเ่ ทปนจี้ ะไม่นำไปเผยแพรท่ ี่ไหน นอกจากผู้วิจยั จะ
นำมาเปิดฟงั เพ่ือสรปุ ความคดิ เหน็ ของผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ให้ถกู ตอ้ งเท่านนั้

1. พื้นฐานทวั่ ไปของผู้ให้สัมภาษณ์
1.1เรยี นมาแล้วกีป่ ี เร่มิ เปน็ นกั เรียนโรงเรยี นท่ีไหน อยูโ่ รงเรียนนีม้ าแลว้ ก่ีปี ยา้ ยมาอยู่โรงเรยี นนี้
เพราะเหตุใด
1.2นกั เรยี นพกั อยู่ท่ไี หน มาเรียนทโี่ รงเรยี นอย่างไร ใช้เวลาอยทู่ ี่โรงเรียนมากไหม เวลาส่วนใหญ่
มักจะทำอะไร

2. ประวตั ิและสภาพทัว่ ไปของโรงเรียน
2.1โรงเรียนนต้ี ้ังขึน้ มาในปีใด ใครเป็นผู้รเิ ร่ิมใหม้ ีการก่อต้งั และคนในชุมชนมีสว่ นรว่ มในการก่อตัง้
โรงเรยี นอยา่ งไรบา้ ง
2.2นักเรยี นร้จู ักคนุ้ เคยกับคนในชมุ ชนมากน้อยเพยี งใด และสนทิ สนมกบั คนในชุมชนกลุ่มใดเปน็
พเิ ศษบา้ งหรอื ไม่ เพราะเหตุใด
2.3นักเรยี นพอใจในสภาพการทำงานของคณะครทู ่เี ป็นอยูใ่ นปัจจบุ ันมากน้อยเพยี งใด เพราะเหตใุ ด
2.4นักเรยี นได้รับการสนบั สนุนหรอื การช่วยเหลือในการเรยี นจากใคร

3. การจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานในชมุ ชน
3.1 เมื่อมีการพูดถึงว่าการศกึ ษา นักเรยี นมักจะนกึ ถึงการการศกึ ษาในลักษณะอยา่ งไร ใครควร

เป็นคนจดั ทำไมจึงคดิ เชน่ น้ัน นกั เรียนเหน็ ดว้ ยกนั นโยบายการจดั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน โดยให้ชมุ ชนเขา้ มามี
ส่วนร่วมไหม ทำไมจึงคดิ วา่ การมสี ว่ นรว่ มหมายหมายวา่ อยา่ งไร

3.2 นกั เรียนนำความคิดของนักเรียนมาใช้ในการปรบั ปรงุ การทำงานของโรงเรียนและคณะครู
อย่างไรบา้ ง ความคิดเหน็ เหล่านั้นทำให้การเปลย่ี นแปลงการทำงานของคณะครูและโรงเรยี นอย่างไร

4. ส่ิงท่ีให้โรงเรยี นประสบผลสำเร็จ
4.1 ทา่ นคดิ ว่าปัจจยั อะไรที่เปน็ สงิ่ สำคัญทีท่ ำให้โรงเรียนประสบผลสำเรจ็ ในการจดั การศกึ ษา
4.2 ท่านคิดว่าปจั จยั อะไรที่เป็นส่ิงสำคญั ทสี่ ่งเสรมิ ใหโ้ รงเรียนได้รบั คดั เลอื กเป็นโรงเรยี นคณุ ภาพของ
ชมุ ชน

๑๒๙

ชดุ ท่ี 5 แนวการสัมภาษณ์ผูน้ ำองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
การสนทนาสรา้ งความคนุ้ เคย

เรม่ิ การสนทนา
- ขออนุญาตเรม่ิ การสัมภาษณ์
- แนะนำตนเองและขอให้ผู้ถกู สัมภาษณแ์ นะนำตนเองเก่ยี วกบั ชอ่ื ท่ีอยู่ อาชพี และบทบาท ท่ี

เกี่ยวขอ้ งกับทางโรงเรยี นและชุมชน
อธบิ ายวัตถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์

- ตอ้ งการศกึ ษาเกีย่ วกบั การทำงานร่วมกันของชุมชนและบคุ ลากรในชมุ ชนเพื่อใช้เปน็ แนวทางใน
การปรบั ปรุงใหเ้ กดิ ความร่วมมอื กนั ของผนู้ ำชุมชน

- ขอให้แสดงความคิดเหน็ โดยอสิ ระ เพราะจะไม่มีการอา้ งองิ เปน็ รายบคุ คลว่าใครพดู แต่จะนำเสนอ
เป็นความคดิ เหน็ ส่วนรวม

- ตอ้ งขอบันทกึ เทป เพราะอาจจะจดไมท่ ัน แตเ่ ทปน้จี ะไม่นำไปเผยแพร่ท่ีไหน นอกจากผู้วจิ ยั จะ
นำมาเปิดฟังเพ่ือสรปุ ความคดิ เหน็ ของผู้ใหส้ ัมภาษณ์ให้ถูกตอ้ งเทา่ น้ัน

1. พน้ื ฐานท่วั ไปของผใู้ ห้สมั ภาษณ์
- อยูใ่ นชุมชนมาแลว้ ก่ีปี ยา้ ยมาจากทไี่ หนท่ีทำงานอะไร เขา้ มาชว่ ยเหลือโรงเรียนในดา้ นใดบ้าง
- มบี า้ นพกั อยทู่ ี่ไหน มาท่โี รงเรยี นบอ่ ยไหม๊

2. ประวัตแิ ละสภาพท่วั ไปของชมุ ชน
- ชุมชนน้ีตงั้ มานานกแี่ ลว้ คนในชมุ ชนสว่ นใหญ่ทำอาชพี อะไร การทำอาชพี ดังกลา่ วทำใหค้ นใน
ชมุ ชนให้ความร่วมมือ
- ในหมู่บ้านมปี ระเพณที สี่ นใจอะไรบา้ ง
- คนสว่ นมากในชุมชนส่งลูกเรยี นท่ีไหน

3. สภาพของการมีส่วนร่วมมอื กนั ในการจัดการศกึ ษาขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและโรงเรียน
3.1ท่านเรม่ิ เข้าร่วมมาช่วยสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นต้งั แต่เมอ่ื ใดเข้ามารว่ ม เพราะเหตุ
ใด
3.2ทา่ นมักจะใหก้ ารสนบั สนนุ กับทางโรงเรยี นในด้านใดบ้าง เพราะเหตุใด
3.3โรงเรียนตดิ ตอ่ ทา่ นให้มาเปน็ คณะกรรมการโรงเรยี นในด้านใดบา้ ง เพราะหตุใด

4. ส่ิงท่สี นบั สนุนให้เกิดการมีสว่ นรว่ ม
4.1ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นหรอื คณะครูเคยพูดหรอื แสดงความคิดเหน็ อยา่ งไรบ้างเก่ยี วกับการสนบั สนนุ ท่ี
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ มตี อ่ โรงเรียน
4.2อะไรท่เี ปน็ สิ่งจูงใจให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ โรงเรยี นหรือประชาชนใหเ้ ขา้ มาช่วยเหลือหรอื
ไม่ให้ความชว่ ยเหลือโรงเรยี น

5. สิง่ ท่ีให้โรงเรยี นประสบผลสำเร็จ
5.1ท่านคิดวา่ ปัจจัยอะไรท่เี ป็นส่ิงสำคญั ท่ีทำใหโ้ รงเรียนประสบผลสำเร็จในการจดั การศึกษา
5.2 ทา่ นคดิ ว่าปจั จัยอะไรท่เี ปน็ สิ่งสำคญั ท่ีสง่ เสริมให้โรงเรยี นได้รบั คดั เลือกเปน็ โรงเรียนคณุ ภาพของ
ชมุ ชน

๑๓๐

แบบสัมภาษณ์
ชดุ ท่ี 6 แนวคำถามการสมั ภาษณ์ผูแ้ ทนคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศึกษาของเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา (ก.ต.ป.น.)

เริม่ การสนทนา
- สนทนาเกี่ยวกับบรรยากาศทวั่ ไปในโรงเรยี นและชมุ ชน
- ขออนญุ าตเริ่มการสมั ภาษณ์
อธิบายวัตถุประสงคข์ องการสมั ภาษณ์
- ตอ้ งการศึกษาเกีย่ วกบั การส่งเสริม นิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบของสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา

ต่อโรงเรยี น
- ขอใหแ้ สดงความคดิ เห็นโดยอสิ ระ เพราะจะไมม่ กี ารอา้ งอิงเปน็ รายบคุ คลว่าใครพูดแตจ่ ะนำเสนอ

เป็นความคิดเห็นส่วนรวม
- ต้องขอบันทกึ เทป เพราะอาจจะจดไมท่ ัน แตเ่ ทปน้ีจะไม่นำไปเผยแพร่ท่ไี หน นอกจากผู้วิจยั จะ

นำมาเปดิ ฟงั เพอ่ื สรุปความคดิ เหน็ ของผู้ให้สัมภาษณใ์ ห้ถูกต้องเท่านั้น
1.พ้ืนฐานท่ัวไปของผูใ้ หส้ ัมภาษณ1์

1.1 เรยี นจบมาทางด้านใด จากทีไ่ หน จบมาแล้วกป่ี ี มีงานหรอื กิจกรรมอะไรทมี่ กั ทำอยู่เปน็
ประจำหรอื เปน็ คร้งั คราวบา้ ง

1.2 ท่านพกั อยูท่ ไี่ หน รจู้ ักโรงเรยี นแห่งนีม้ ากน้อยเพยี งไร
2. การสนับสนนุ ของเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

2.1 ท่านวางโครงสร้างการบริหารงานเพ่อื สนับสนุนโรงเรียนอย่างไรบา้ ง
2.2 ทา่ น สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา คณะครู และชุมชนมกี ารตดิ ตอ่ สมั พนั ธ์กันมาก
นอ้ ยเพยี งใด
2.3 ในรอบปที ผี่ ่านมา โรงเรียนและสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาได้รว่ มมอื กันจัดกจิ กรรม
อะไรบ้าง
3. จดุ เดน่ ของโรงเรยี น
3.1 ทา่ นคดิ ว่าโรงเรยี นแหง่ นมี้ จี ดุ เดน่ ในดา้ นใดบา้ ง
3.2 ทา่ นคิดวา่ สิ่งทที่ ำให้โรงเรยี นนน้ีมีจดุ เดน่ คอื อะไร
4. สง่ิ ท่ีให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จ
4.1 ท่านคิดวา่ ปัจจยั อะไรทเ่ี ปน็ สงิ่ สำคัญทส่ี ่งเสริมให้โรงเรยี นไดร้ ับคดั เลือกเปน็ โรงเรียนคุณภาพของ
ชมุ ชน
4.2 การมีส่วนรว่ มของชมุ ชนมีความสำคญั มากนอ้ ยเพยี งใด
5. ทา่ นคิดวา่ ปจั จัยท่ที ำให้โรงเรียนแหง่ นี้ประสบผลสำเร็จมีอะไรบา้ ง

คณะผู้วิจัย

นายสรุ ภิ าศ สีหะวงษ์ ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

นางวรรณภา บุตรวงศ์ รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

นายทรงวฒุ ิ ศรล้อม รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

นางสาวสมนกึ แซอ่ ้งึ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา

นายประหยัด กองแก้ว ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นสม้ ป่อย(สม้ ปอ่ ยวิทยาเสริม)

นายมานิต ทองขอน ผู้อำนวยการโรงเรียนอนบุ าลศลิ าลาด

นายวีรวัฒน์ ธรรมแสง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลหว้ ยทับทัน

นายวฒั นา โคตรเนตร ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านพะวร

นางเนาวรตั น์ ไตรยงค์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านปะหละ

นางสาวธญั ญรัตน์ บวั พนั ธ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านอสี ร้อย

นางสาวสุมาลี สมใจ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเคียวนำ

ว่าท่รี ้อยตรสี ัมฤทธ์ิ พรหมพทิ ักษ์ ศึกษานเิ ทศก์

นางสาวลำใย สายโงน ศึกษานเิ ทศก์

นางสาวกฤตยิ า คำเพราะ ศกึ ษานเิ ทศก์


Click to View FlipBook Version