The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

อำเภอศิลาลาด 15 โรง ๔๖
อำเภอราษไี ศล 48 โรง
อำเภอบงึ บรู พ์ 5 โรง อำเภออทุ มพรพิสยั 58 โรง
อำเภอโพธศ์ิ รสี ุวรรณ 16 โรง
อำเภอเมืองจันทร์ 12 โรง

อำเภอหว้ ยทบั ทนั 26 โรง

๔๗

ตารางที่ 1 จำนวนโรงเรยี นในสังกัดปีการศึกษา 2564 จำแนกตามขนาดโรงเรียน

ขนาดโรงเรียน จำนวนโรงเรียน

ขนาดท่ี 1 (นร.1-120คน) 115

ขนาดที่ 2 (นร.121-200คน) 44

ขนาดท่ี 3 (นร.201-300คน) 15

ขนาดที่ 4 (นร.301-499คน) 4

ขนาดท่ี 5 (นร.500-1,499คน) 2

ขนาดที่ 6 (นร.1,500-2,499คน) 0
ขนาดที่ 7 (นร.2,500คนขึ้นไป) 0

รวมท้ังหมด 180

ตารางท่ี 2 จำนวนสถานศกึ ษาและนักเรยี น สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
ศรสี ะเกษเขต 2 จำแนกตามระดับการศึกษาที่เปิดสอนและอำเภอ

อำเภอ จำนวนสถานศกึ ษา จำนวน หมายเหตุ

ม.ต้น-ม.ปลาย อนุบาล-ม.ตน้ อนุบาล-ประถม รวม นักเรียน

อทุ มุ พรพิสัย 0 14 44 58 6,997

ราษีไศล 0 9 39 48 5,663

ห้วยทับทัน 0 5 21 26 3,272

เมอื งจันทร์ 0 2 10 12 1,354

บงึ บูรพ์ 0 2 3 5 660

โพธศ์ิ รีสุวรรณ 0 5 11 16 1,692

ศิลาลาด 0 3 12 15 1,338

รวม 0 40 140 180 20,976

ท่มี า : กลุม่ งานข้อมูลสารสนเทศ (DMC) กลมุ่ นโยบายและแผน ข้อมลู ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2564

๔๘

ตารางท่ี 3 จำนวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา
ศรสี ะเกษเขต 2 จำแนกตามอำเภอ

จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

อำเภอ สพฐ. รวมทัง้ สิน้ หมายเหตุ

ม.ต้น-ม.ปลาย อนุบาล-ม.ต้น อนุบาล-ประถม

อทุ มุ พรพสิ ัย - 239 273 512

ราษไี ศล - 116 301 417

ห้วยทบั ทัน - 83 153 236

เมอื งจันทร์ - 34 64 98

บึงบรู พ์ - 29 27 56

โพธิ์ศรีสุวรรณ - 78 67 145

ศิลาลาด - 42 67 109

รวม - 621 952 1,573

ท่ีมา : ข้อมลู จาก จ.18 กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล ขอ้ มลู ณ ปีการศกึ ษา 2564

ผลการจดั การศึกษาท่ีผ่านมา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้ดำเนินการทดสอบทาง
การศึกษาเพ่ือประเมินผลคุณภาพนักเรียนประจำปีการศึกษา 2563 โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ได้
ข้อมูลสำหรับใช้ในกระบวนการตัดสินใจและกำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2 และสถานศึกษา 2) เพื่อกำกับ ติดตามคุณภาพการจัด
การศึกษาให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและเป็นส่วนหน่ึงในการประกันคุณภาพผู้เรียน 3) เพื่อศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษานักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา
2563 โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2 โดยมีผลการ
ประเมินดงั นี้

ผลการประเมินทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563
เปรียบเทียบความก้าวหน้าระหว่างปีการศึกษา 2563กับปีการศึกษา 2562 พบว่าค่าเฉลี่ยรวมปี
การศกึ ษา 2563 เพมิ่ ขนึ้ จากปีการศึกษา 2562 รอ้ ยละ 2.94

๔๙

ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้
กําหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย นโยบายทางการศึกษาให้โรงเรียนในสังกัดได้นําไปปฏิบัติ และได้
จัดทํานโยบาย เป้าประสงค์ จุดเน้น ตัวช้ีวัด และโครงการ เพ่ือขับเคล่ือนการปฏิบัติงานให้สอดคล้อง
กบั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ดังนี้
วิสัยทศั น์ (VISION)

Smart Students : นกั เรยี นฉลาดรู้ (เปน็ คนดี มปี ญั ญา มีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21)
พันธกจิ (MISSON)

1) ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ท่ัวถึง มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
และลดความเหลอื่ มล้ำทางการศึกษา

2) ส่งเริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร มี
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร
กับส่ิงแวดลอ้ ม

3) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ สามารถจัดการเรียนรู้สู่
ศตวรรษที่ 21

4) พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วม การบูรณาการการจัดการศึกษา
และเสรมิ สรา้ งความรบั ผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการศึกษา

เปา้ ประสงค์ (GOAL)
1) ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพ

และเสมอภาค มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ ยึดม่ันในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข

2) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนระดับก่อน
ประถมศึกษา และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย มีคุณภาพชีวิตท่ีดี
มจี ิตสำนกึ รกั ษ์สิง่ แวดล้อมและทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21

3) ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน ตระหนักถึงบทบาทของ
ครยู คุ ใหมใ่ นศตวรรษท่ี 21 และมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุง่ เนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ

4) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาและสถานศึกษามีประสิทธิภาพ และเป็น
กลไกขบั เคลอ่ื นการศึกษาขน้ั พื้นฐานตามหลักของศาสตร์พระราชา

5) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเน้นการทำงานแบบบูรณาการ มี
เครือข่ายการบริหารจัดการ บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา กระจายอำนาจ
และความรับผดิ ชอบสูก่ ล่มุ เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและสถานศึกษา

6) สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาและสถานศึกษา พัฒนาส่ือ เทคโนโลยี
และระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารจัดการศกึ ษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๕๐

2.10 บรบิ ทโรงเรยี นโรงเรยี นบ้านเพยี มาต (รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร)

1. ประวตั ิโรงเรยี น

โรงเรียนบ้านเพียมาต ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2466โดยรองอำมาตย์โทหลวง

คงคุณานุการ ซึ่งเป็นนายอำเภอสมัยน้ัน โดยอาศัยศาลาวัดบ้านเพียมาต เป็นสถานท่ีเล่าเรียนมีชื่อว่า

โรงเรยี นประชาบาลตำบลหนองแค 2 (วดั บ้านเพียมาต) มนี ายบวั ลาสมหมาย เป็นครูใหญ่ และ นาย

ทองจันทร์ สุตพันธ์ เป็นครนู ้อย จัดการเรยี นการสอนตงั้ แต่ ชัน้ เตรยี มถงึ ช้ันป. 5

ปี พ.ศ. 2476 เปลย่ี นหลักสูตรใหม่จดั การเรยี นการสอนจากช้นั ป. 1 ถงึ ชนั้ ป. 6

ปี พ.ศ. 2480 กระทรวงศึกษาธิการเปล่ียนแปลงแผนการศึกษาใหม่เปิดสอนจากช้ัน ป.1

- ป.4

ปี พ.ศ.2485 นายสูรย์ มูลศิริ และนายบูรณะ จำปาพันธ์ ได้ประชุมชี้แจงกับ

ชาวบา้ นขอทดี่ นิ เพ่ือเปน็ ทสี่ ร้างโรงเรยี น ไดท้ ีด่ นิ ท้งั หมด จำนวน 20 ไร่ 95 ตารางวา

ปี พ.ศ. 2485 ได้รับงบประมาณจากทางราชการ 1,200 บาท (หน่ึงพันสองร้อยบาท)

สร้างอาคารเรียนในที่ดินของโรงเรียนซ่ึงได้รับบริจาคมีขนาด 9/36 เมตร 1 มุข 4 ห้องเรียน มุง

หลังคา เม่ือสร้างเสร็จได้ย้ายจากศาลาวัดมาเรียนท่ีอาคารหลังใหม่ขออนุญาตเปล่ียนนามโรงเรียน

เป็นโรงเรยี นประชาบาล ตำบลหนองแค 2 (โรงเรียนบ้านเพยี มาต)

ปี พ.ศ. 2490 ไดร้ ับงบประมาณเปล่ียนหลงั คา เปน็ มงุ ดว้ ยกระเบอื้ งคอนกรตี

ปี พ.ศ. 2495 ได้รับมอบงบประมาณเปล่ียนหลังคาจากกระเบ้ืองคอนกรีตเป็นสังกะสี กั้น

ฝา ตีฝ้าเพดานกั้นห้องเรียนเป็น โรงเรียนเอกเทศถาวรเต็มรูปแบบ จัดการเฉลิมฉลองเปิดป้ายอาคาร

เรียนพรอ้ มตั้งช่ือโรงเรยี นใหม่เปน็ โรงเรยี นบา้ นเพยี มาต(รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร)

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)ตั้งอยู่หมู่ท่ี 3 ตำบลหนองแค อำเภอ

ราษีไศล สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 รหัสไปรษณีย์ 33160 เบอร์โทร

045-918687 เปิดสอนตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวยั ถึงระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

โรงเรยี นบ้านเพียมาต(รฐั ราษฎรพ์ ิทยาคาร) มีผ้ดู ำรงตำแหน่งครูใหญแ่ ละอาจารย์ใหญ่ ดงั น้ี

ลำดบั ที่ ชอื่ นามสกุล ตำแหน่ง ปี พ.ศ.

1 นายบวั ลา สมหมาย ครูใหญ่ พ.ศ. 2466 - 2480

2 นายบุ จำปาพันธ์ ครูใหญ่ พ.ศ. 2481 – 2485

(บูรณะ)

3 นายสุพจน์ นรสาร ครใู หญ่ พ.ศ. 2486 – 2510

4 นายสรุ ัตน์ ชะบา ครใู หญ่ พ.ศ. 2511 – 2527

5 นายไพ กัณฑห์ า อาจารยใ์ หญ่ พ.ศ. 2528 - 2537

6 นายเรือง วงศ์จอม อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2537 – 2543

7 นายสงั วาลย์ บวั ศรี อาจารย์ใหญ่ พ.ศ. 2543 – 2548

8 นายสงั วาลย์ บวั ศรี ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2548 – 2551

9 นายดำรงค์ ผลออ้ ผอู้ ำนวยการ พ.ศ. 2552 – 2559

10 นายกา้ นแกว้ พันอินทร์ ผ้อู ำนวยการ พ.ศ. 2559 – ปัจจุบนั

๕๑

ภารกจิ สถานศึกษา
โรงเรยี นบ้านเพยี มาต(รฐั ราษฎร์พทิ ยาคาร) เปน็ หนว่ ยงานภายใตก้ ารกำกับ ดูแลของ

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้
พ้นื ฐาน มีอำนาจหน้าทีด่ ังน้ี

1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบายของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และกระทรวงศกึ ษาธิการ

2. จัดตัง้ งบประมาณ และรับผิดชอบการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
3. พั ฒ น าห ลักสูตรสถาน ศึกษ า ใช้ห ลักสูตรแกน กลางการศึกษ าขั้น พื้ น ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
4. จัดการเรียนการสอน จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม และ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
ของผเู้ รยี น
5. ออกระเบียบข้อบังคับต่างๆรวมทั้งระเบียบและข้อบังคับที่เก่ียวกับการบริหารจัด
การศึกษา
6. กำกับ ติดตาม ประเมินผลงานตาม แผนงานโครงการ และประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตลอดจนการพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และการดำเนินงานทางวินัยกับครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
7. ประสานการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา รวมท้ังปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้และ
จัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของโรงเรียน ทั้งที่เป็นราชพัสดุและทรัพย์สินอ่ืนๆตามระเบียบท่ี
กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
8. จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ความร่วมมือในการประเมิน
คุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานภายนอก รวมทั้งการรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
9. ส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชน และสร้างความสัมพันธ์กับสถาบันอื่นๆในชุมชนและ
ทอ้ งถ่ิน
10. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเก่ียวกับกิจการภายใน หรือตามท่ีได้รับมอบหมาย และตามที่กฎหมาย
กำหนดให้
ภารกิจตามนโยบาย สพฐ ปงี บประมาณ 2563
กลยทุ ธ์ สพฐ.
ขอ้ ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทกุ ระดับทกุ ประเภท
ข้อที่ 2 ขยายโอกาสเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานใหท้ ัว่ ถงึ ครอบคลุมผเู้ รยี น
ใหไ้ ดร้ ับโอกาสในการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ และมคี ณุ ภาพ
ขอ้ ที่ 3 พัฒนาคณุ ภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ขอ้ ท่ี 4 พัฒนาระบบการบริหารจดั การ

๕๒

กลยทุ ธ์ระดับโรงเรยี นของ สพฐ
ข้อที่ 1 สร้างความเสมอภาคและโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้รับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานอยา่ งมคี ุณภาพ
ขอ้ ท่ี 2 สง่ เสริมสนบั สนุนพัฒนาคุณภาพครแู ละนักเรียนสู่สากล โดยบรู ณาการหลกั สตู ร สื่อ

นวตั กรรมและ เทคโนโลยแี หล่งเรยี นร้แู ละภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ทหี่ ลากหลาย
ขอ้ ที่ 3 ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ความสำนึกในความเป็นชาตไิ ทย

และวถิ ชี วี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 4 สง่ เสรมิ สนับสนนุ และสร้างความร่วมมอื ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน

และองคก์ รอน่ื ๆ ในการจัดและพัฒนาการศกึ ษา
ข้อท่ี 5 พฒั นาระบบบริหารและการจดั การศึกษาแบบมุง่ ผลสัมฤทธิ์
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2563 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กำหนดจุดเน้นการ
ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยแบง่ เปน็ 3 ส่วนดงั นี้
ส่วนที่ 1 จดุ เน้นด้านผเู้ รียน

1.1 นกั เรียนมสี มรรถนะสำคญั สู่มาตรฐานสากล
1.2 นกั เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม รักสามคั คี ปรองดอง สมานฉนั ท์ รกั ชาติ ศาสตร์
กษัตริยภ์ ูมใิ จในความเปน็ ไทย หา่ งไกลยาเสพติด มีคณุ ลักษณะและทักษะทางสงั คมท่เี หมาะสม
1.3 นกั เรียนทม่ี ีความต้องการพเิ ศษไดร้ บั การส่งเสริมและพัฒนาเตม็ ศักยภาพเป็น
รายบคุ คล
ส่วนที่ 2 จุดเนน้ ด้านครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
2.1 ครไู ดร้ ับการพัฒนาความร้แู ละสมรรถนะผา่ นการปฏิบตั จิ รงิ และความชว่ ยเหลืออย่าง
ต่อเนือ่ ง
2.2 พัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษากลมุ่ ที่มคี วามจำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การพัฒนาเร่งด่วน
2.3 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็นมอื อาชีพมผี ลงานเชงิ ประจักษ์ ได้รับการยกย่อง
เชดิ ชเู กียรอิ ย่างเหมาะสม
2.4 องค์กรและคณะบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมและการจัดสรรครู ตระหนักและ
ดำเนินการในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง ให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาบรรจุใหม่/ย้ายไปบรรจุ มีความสามารถ
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของโรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม
ส่วนท่ี 3 จุดเน้นดา้ นการบริหารจดั การ
3.1 สถานศึกษาและสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาบรหิ ารจดั การโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิ เน้นการ
กระจายอำนาจ การมีสว่ นรว่ มในการรับผิดชอบการดำเนนิ งาน(Participation and Accountability)
3.2 สถานศึกษาและสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาจดั การศึกษาอย่างมคี ณุ ภาพตาม
มาตรฐาน
การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีทำให้คนมีความรู้และคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ช่วยให้คนน้ันอยู่รอด
ในโลกได้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมส่วนรวม (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี 2545 ) ดังนั้น คุณภาพการศึกษาจึงสะท้อนถึงคุณภาพของคนท่ีเป็นผลิตผลของการ
จัดการศึกษา อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ปัจจุบันสถานศึกษาส่วนใหญ่ยังมีความเหลื่อมล้ำและ
แตกต่างกัน ท้ังในด้านงบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือแม้แต่ปัจจัยคือผู้เรียน รวมท้ังปัจจัยเอ้ือ

๕๓

อื่นๆ เช่น ความร่วมมือของกรรมการสถานศึกษาการสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรที่อยู่

ใกล้เคียงสถานศึกษา และการติดตามช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดจากสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือ

หน่วยงานต้นสังกัด สิ่งเหล่าน้ีล้วนส่งผลกระทบต่อคุณภาพการจัดการศึกษา อีกท้ังปัจจุบัน

สถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการศึกษาด้วยตนเอง มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเอง

คุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการบริหารจัดการจึงมีความแตกต่างกัน ดังน้ัน พระราชบัญญัติการศึกษา

แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 จึงกำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด

และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา อันนำไปสู่การกำหนดให้มี

มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานข้ึนแม้ว่าการพัฒนาให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ

สถานศึกษาจะผ่านไปแล้วช่วงระยะหนึ่ง คือ รอบทศวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ. 2542 – 2551) กระแส

สังคมก็ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่าระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษายังไม่เข้มแข็ง

สถานศึกษาไม่ได้สร้างระบบคุณภาพให้เกิดอย่างจริงจัง มุ่งเน้นการปรับปรุงเพ่ือให้ผ่านเกณฑ์การ

ประเมินคุณภาพภายนอกเท่าน้ัน ด้วยเหตุน้ี กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศกฎกระทรวงว่าด้วย

ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.

2553 ที่กำหนดให้สถานศึกษาต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาด้วยการมี

ส่วนร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และต้องมีการดำเนินงาน 8 ประการ โดยเร่ิมต้นต้ังแต่ 1) กำหนด

มาตรฐานของสถานศึกษา 2) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ของสถานศึกษา 3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ดำเนินงานตามแผน 5) ติดตามตรวจสอบ

คณุ ภาพการศกึ ษา 6) ประเมินคุณภาพภายใน 7 ) จัดทำรายงานประจำปีเสนอบุคคลและหน่วยงานท่ี

เกย่ี วข้อง จนถึง 8) มีการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนือ่ งจนเปน็ วฒั นธรรมขององค์กรท่ยี ั่งยืน

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจึงเป็นจุดเร่ิมต้นของการพัฒนาและเป็นเป้าหมาย

สำคัญที่สุดที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคนในสถานศึกษาต้องรับรู้ และปฏิบัติงานในหน้าที่ท่ี

รบั ผดิ ชอบใหบ้ รรลถุ ึงเปา้ หมายคือมาตรฐานที่สถานศกึ ษากำหนดขน้ึ

2. สภาพทัว่ ไป

2.1 ท่ตี ้ัง

ตงั้ อยู่ ณ บา้ นเพยี มาต หมู่ท่ี 3 ตำบลหนองแค อำเภอราษไี ศล จงั หวัดศรีสะเกษ

ห่างจากอำเภอราษีไศล จำนวน 8 กิโลเมตร

หา่ งจากจังหวัดศรสี ะเกษ จำนวน 52 กโิ ลเมตร

ห่างจากสำนักงานเขตพ้นื ทปี่ ระถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 จำนวน 36 กิโลเมตร

2.2 เขตบรกิ ารของโรงเรียน

โดยจัดบริการการศึกษาแก่เด็กในเขตบริการของโรงเรียนระดับประถมศึกษา คือ เขตบริการ

ของโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ประกอบด้วย เขตพ้ืนท่ีการปกครองจำนวน 1 ตำบล

หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเพียมาต หมู่ที่ 3 บ้านผ้ึง หมู่ท่ี 4 , 14 บ้านเหล่าโดน หมู่ท่ี 10 และระดับ

มัธยมศึกษาบ้านมะยาง หมทู่ ่ี 5, 16 บา้ นปลาขาวหม่ทู ี่ 2 , 11 และบ้านดอนงูเหลือมหมู่ 7

2.3 การบริหารจัดการศกึ ษา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) แบ่งโครงสร้างการบริหารเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่

ฝ่ายรับผิดชอบงานวิชาการ งานบุคลากร งานการงบประมาณ งานบริหารทั่วไป ผู้บริหารยึด

๕๔

หลักการบริหาร เทคนิคการบริหารแบบ P D C A กระจายอำนาจในการบริหารงานให้บุคลากรใน

ศึกษาได้ร่วมกันคิด ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายในการดำเนินงาน โดยกำหนดปรัชญา

วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมายการพัฒนา และกลยุทธ์ ดังนี้

2.4 ลักษณะภูมปิ ระเทศ

ลักษณะภูมิประเทศที่ต้ังของโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สามารถสรุป

โดยสงั เขป ได้ดังนี้

มสี ภาพภูมิประเทศ โดยทั่วไปเปน็ พน้ื ทร่ี าบ

2.5 การคมนาคมขนสง่

ในเขตบริการของโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) มีเส้นทางคมนาคมทางรถยนต์

ระหว่าง อำเภอราศีไศล อำเภอสุวรรณ ตัดผ่านหน้าโรงเรียน ปัจจุบันนับว่า สะดวกและรวดเร็ว

เนอื่ งจากมเี ครือขา่ ยการคมนาคมสะดวกและรวดเร็ว ถนนลาดยาง 2 ชอ่ งทางการจราจร

2.6 การเศรษฐกิจ

ประชากรประมาณร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกข้าวหอมมะลิ ทำการประมง

ในช่วงหลังฤดูเก็บเก่ียว โครงสร้างทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับการขายส่ง ขายปลีกพืชผลทางการเกษตร

รายได้เฉลี่ยของประชากร 35,000 บาท/ คน/ปี

2.7 สังคมและวฒั นธรรม

ประชากรภายในโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ร้อยละ 98 นับถือศาสนาพุทธ

ดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืนภายใต้ขนมธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมท่ีดีงามของชน

พื้นเมืองชุมชุนที่เรียกตนเองว่ากลุ่มชนชาวลาว มีประเพณีท่ีสำคัญท่ีเรียกว่า ฮีตสิบสอง (ประเพณีสิบ

สองเดือน) เช่น เดือนอา้ ย เดือนย่ี เดอื นสาม เป็นตน้

2.8 แหลง่ เรยี นร,ู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินและการใช้แหลง่ วิชาการนอกระบบ

1. ตารางแสดงแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและการใช้แหลง่ วิชาการในและนอกระบบ

แหล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรียน สถิตกิ ารใช้ แหลง่ เรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น สถิติการใช้

(ชือ่ แหลง่ เรยี นรู)้ (ครงั้ /ป)ี (ชอ่ื แหลง่ เรยี นรู้) (ครั้ง/ปี)

1.รม่ ไมร้ อบ ๆ บรเิ วณโรงเรยี น 200 1.วดั บ้านผ้งึ 40

2.ห้องวิทยาศาสตร์ 200 2.วัดเพยี มาตร 40

3.หอ้ งปฏบิ ัติการทางภาษา 200 3.ชมุ ชนบ้านผง้ึ 6

4.หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 200 4.ชมุ ชนบ้านเพยี มาตร 2

5.หอ้ งพยาบาล 100 5.แม่น้ำมูล 1

6. หอ้ งคณิตศาสตร์ 200 6.แม่นำ้ เสียว 1

7. แปลงเกษตร 200 7.ป่าสงวนดงภูดิน 3

8.อาคารอเนกประสงค์ 200 8.ศาลเจ้าพ่อดงภูดนิ 2

(ห้องประชมุ ) 9.หนองเพยี มาต 2

9.โรงอาหาร 190 10.ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ 2

10.เรือนเพาะชำ 160 11.ศนู ยก์ ารเรียนรู้ภูมิปญั ญาท้องถิ่น 150

11.ห้องทำงานของครู 15 หนงั ตลุง แคน การทอเสอ่ื

๕๕

3. สภาพปจั จบุ ัน

ข้อมูลพืน้ ฐานทางการศกึ ษา

1.ตารางแสดงจำนวนนักเรยี นก่อนประถมศกึ ษาและประถมศึกษาจำแนกรายช้นั และเพศ

ปีการศกึ ษา 2563

ระดบั ชั้นเรียน จำนวนห้อง เพศ รวม
ชาย หญิง

อ.2 1 4 9 13

อ.3 1 5 5 10

รวม 2 9 4 23

ป.1 1 12 7 19

ป.2 1 8 13 21

ป.3 1 11 10 21

ป.4 1 12 4 16

ป.5 1 9 9 18

ป.6 1 7 2 9

รวม 6 59 45 104

ม.1 1 24 7 31

ม.2 1 13 6 19

ม.3 1 16 8 24

รวม 1 33 21 74

รวมท้งั หมด 11 121 80 201

(อา้ งองิ : ข้อมูลตามโปรแกรม DMC63 ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2564)

2. ตารางแสดงขอ้ มูลเดก็ พเิ ศษเรียนรว่ ม เดก็ ดอ้ ยโอกาส เด็กออกกลางคัน

ระดบั ชน้ั เดก็ พิเศษเรียนร่วม ประเภทนกั เรยี น เด็กออกกลางคัน
เด็กดอ้ ยโอกาส

กอ่ นประถมศกึ ษา 0 19 0

ประถมศกึ ษา 24 97 0

มัธยมศึกษาตอนต้น 23 74 0

รวม 47 190 0

(อา้ งอิง : ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของโรงเรยี น ข้อมลู ณ วันท่ี 10 มถิ ุนายน 2564)

หมายเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพาะจำนวนเด็กพิเศษเรียนร่วมและดอ้ ยโอกาส ไม่รวมจำนวนนักเรยี นปกติ

๕๖

3. ตารางแสดงภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

ระดบั น้ำหนักต่ำกวา่ นำ้ หนกั สูงกว่า น้ำหนกั และส่วนสงู ตำ่ รวม
เกณฑ์ เกณฑ์ กว่าเกณฑ์
3 8
กอ่ นประถมศกึ ษา 4 1 15
- 12
ประถมศึกษา 78 - 35
3
มัธยมศึกษาตอนตน้ 3 9

รวม 14 18

(อา้ งองิ : ข้อมลู ตามโปรแกรม DMC ขอ้ มูล ณ วันที่ 10 มถิ ุนายน 2564)

หมายเหตุ นักเรียน 1 คน กรอกได้เพียง 1 กรณเี ทา่ นั้น

4. ตารางแสดงรายละเอยี ดขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ที่ ช่อื -ชอ่ื สกลุ ตำแหนง่ วฒุ ิการศกึ ษา วชิ าเอก หมายเหตุ

1. นายก้านแกว้ พันอินทร์ ผ้อู ำนวยการ ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศึกษา

2. นายสรุ ยิ งค์ นรสาร ครู คศ.3 ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา

3. นางนวลจนั ทร์ ผาสุก ครู คศ.3 ปริญญาตรี ประถมศกึ ษา

4. นายพัฒนศกั ดิ์ ชะบา ครู คศ.3 ปริญญาโท บริหารการศกึ ษา

5. นางเทียมจนั ทร์ มณีวงษ์ ครู คศ.3 ปริญญาโท บริหารการศึกษา

6. นายวนิ ัย มณนี ลิ ครู คศ.3 ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศึกษา

7. นางอบุ ล สีหะวงษ์ ครู คศ.3 ปริญญาตรี ประถมศึกษา

8. นางลิสา ศรไี พล ครู คศ.3 ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา

9. นางชุลีพร มณีนิล ครู คศ.3 ปรญิ ญาโท หลักสูตรและการ

สอน

10. นางสุนันทา สายหงษ์ ครู คศ.3 ปรญิ ญาตรี เกษตรศาสตร์

11 นางมณี ประดับศรี ครู คศ.3 ปริญญาโท หลักสูตรและการ

สอน

12 นายอำนวย อาจสาลี ครู คศ.3 ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ ชวี ะ

13 นางอมราวดี ดา่ นลี ครู คศ.3 ปรญิ ญาโท เทคโนโลยี

14 นายสวุ รรณ ปอ้ งสีดา ครู คศ.3 ปริญญาตรี เกษตรศาสตร์

15 นางศศธิ ร หวะสุวรรณ ครู คศ.3 ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศึกษา

16 นางสาวพรทพิ ย์ จันหวั นา ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี คณติ ศาสตร์

17 นายสยาม ทับปัญญา พนักงานราชการ ปรญิ ญาตรี เกษตรศาสตร์

18 นางสาวอภญิ ญา ชะบา พนกั งานราชการ ปรญิ ญาตรี คหกรรมศาสตร์

19 นายอนงค์ ชยั ธรรม ธรุ การโรงเรียน ปรญิ ญาตรี คอมพวิ เตอร์ศึกษา

20 นายสุพิชญ์ นรสาร ครูพี่เล้ยี ง ปริญญาตรี อตุ สาหกรรม

21 นายสธุ ี มนยั นิล นักการ ม.6 สามัญ

๕๗

6.ตารางแสดงสภาพ/ความพอเพียงของอาคารเรียน อาคารประกอบและครภุ ัณฑพ์ น้ื ฐาน

จำนวน จำนวน สภาพการใชง้ าน
ท่ีมี ทีค่ วรมี
รายการ ขาด/เกิน ดี พอใช้ ทรดุ รอรือ้
โทรม ถอน

อาคารเรียน (หลัง) 3 3 0 3- - -

— หอ้ งเรยี น (หอ้ ง) 11 11 0 11 - - -

อาคารประกอบ - - - ----

— ห้องสว้ ม (ท่ี) 5 5 - 5- - -

— บ้านพกั ครู (หลงั ) - - - ----

— อาคารฝึกงาน (หลัง) - - - ----

— อาคารอเนกประสงค์ (หลงั ) 1 1 - 1- - -

— หอประชมุ (หลงั ) 1 1 - 1- - -

— โรงอาหาร (หลงั ) - - - ----

ครภุ ณั ฑ์พ้นื ฐาน - - ----

— โทรศพั ท์ (เลขหมาย) 1 - - ----

— คอมพิวเตอร์ (เคร่อื ง) 15 15 - 15 - - -

อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ - - - ----

(อา้ งอิง : ขอ้ มลู ตามโปรแกรม B-OBEC 54/M-OBEC 58)

4. ผลการดำเนนิ งานในรอบปที ่ผี ่านมา

4.1 ดา้ นสิทธแิ ละโอกาสทางการศกึ ษา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ได้ดำเนินการจัดการศึกษาให้กับประชากรวัย

เรียน กลุ่มอายุ 5 - 15 ปี เข้าเรียนในระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

ตอนตน้ ในปกี ารศึกษา 2563 ดงั นี้

1.ตารางแสดงอัตราการเขา้ เรยี น

ระดับชน้ั อตั ราการเข้าเรยี น ปี การศษึ า 2563

ประชากรวัยเรียน เข้าเรียน ร้อยละ

อนุบาลปีที่ 1 27 23 85.18

ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 21 21 100

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 37 31 83.78

(อา้ งองิ : ขอ้ มลู สารสนเทศโรงเรยี น ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2564 )

๕๘

2.ตารางแสดงการออกกลางคัน

นร. จำนวนเดก็ ออกกลางคนั จำแนกประเภท 9 ประเภท

ทงั้ ฐานะ มปี ญั หา สมรส มี ต้องค เจ็บ อพยพ หา กรณี ร้อย
ระดบั ชนั้ หมด ยากจน ครอบ แล้ว ปญั หา ด/ี ถูก ปว่ ย/ ตามผ้ปู ก เลีย้ ง อ่ืน ๆ ละ

ครวั ในการ จบั อบุ ตั ิ ครอง ครอบ

ปรบั ตวั เหตุ ครวั

อ นุ บ าล 13 - - - - - - - - -

2

อ นุ บ าล 10 - - - - - - - - -

3

ป.1 19 - - - - - - - - -

ป.2 21 - - - - - - - - -

ป.3 21 - - - - - - - - -

ป.4 16 - - - - - - - - -

ป.5 17 - - - - - - - - -

ป.6 9 - - - - - - - - -

ม.1 31 - - - - - - - - -

ม.2 19 - - - - - - - - -

ม.3 24 - - - - - - - - -

รวม 201 - - - - - - - - -

(อ้างอิง : ข้อมูลตามโปรแกรม DMC ส้นิ ปกี ารศกึ ษา 2564)

3.ตารางแสดงจำนวนนกั เรยี นจบการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

นกั เรยี นชั้น ป.6 นักเรยี นชั้น ม.3

ตน้ ปี กศ. จบการ ไม่จบ ร้อยละ ต้นปี กศ จบการ ไม่จบ รอ้ ยละ

2563 ศึกษา การศึกษา 2563 ศึกษา การศึกษา

(คน) (คน)

9 9 0 0.00 24 24 0 0.00

(อ้างองิ : ข้อมลู ตามโปรแกรม DMC ปกี ารศึกษา 2564)

๕๙

4. ตารางแสดงอัตราการเรยี นตอ่ ปกี ารศกึ ษา 2564

นร.จบ ป.6 ปีการศกึ ษา 2563 นร.จบ ม. 3 ปีการศกึ ษา 2563 เรยี นต่อ ม.4 หรอื

เรียนต่อ ม.1 ปกี ารศึกษา 2564 สายอาชพี ปีการศึกษา 2564

เรยี นจบ ตอ่ ม. 1 รอ้ ยละ เรยี นจบ ต่อ ม. 4 และอ่นื ๆ ร้อยละ

28 28 100 27 27 100.00

(อา้ งองิ : ขอ้ มูลตามโปรแกรม DMC ปกี ารศึกษา 2564)

4.2. ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) มุ่งจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้

เป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณธรรม โดยพัฒนาครู ปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอน โดยยึดผู้เรียนเป็น

สำคัญท้ังนี้ในปีการศึกษา 2562 ได้ดำเนินการวัดและประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน

ปรากฏผลดังน้ี

1.ตารางแสดงผลการทดสอบทางการเรยี นของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3

ปีการศึกษา 2559 – 2562 (NT)

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3

วชิ า คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ

2559 2560 2561 2562

ความสามารถด้านเหตผุ ลดา้ นภาษา 51.25 52.20 69.64 57.95

ความสามารถดา้ นเหตผุ ลดา้ นคำนวณ 32.50 57.92 74.64 63.50

ความสามารถดา้ นเหตุผล 55.17 48.05 56.60 -

สรปุ ความสามารถ 3 ดา้ น 46.31 52.72 66.96 60.72

(อ้างอิง : ผลการทดสอบทางการเรียนของนักเรยี นขอ้ มลู การทดสอบ NT )

2.ตารางแสดงผลการทดสอบทางการเรยี นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ปีการศกึ ษา 2559 – 2563 (O-NET)

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6

วิชา คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ

2559 2560 2561 2562

ภาษาไทย 45.75 39.24 48.18 50.37

คณติ ศาสตร์ 22.94 28.25 29.55 29.41

วิทยาศาสตร์ 36.00 33.85 36.95 34.04

ภาษาองั กฤษ 28.24 30.75 33.41 30.15

เฉลี่ย 34.23 33.02 37.02 35.99

(อา้ งอิง : ผลการทดสอบทางการเรยี นของนักเรียนข้อมลู การทดสอบ O-NET )

๖๐

3.ตารางแสดงผลการทดสอบทางการเรียนของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ปีการศกึ ษา 2559 – 2562 (O-NET)

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

วชิ า คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ

2559 2560 2561 2562

ภาษาไทย 41.33 37.00 43.75 53.50

คณิตศาสตร์ 23.47 13.78 20.50 18.50

วทิ ยาศาสตร์ 31.78 26.89 32.25 28.16

ภาษาอังกฤษ 25.78 25.11 24.50 29.75

เฉล่ีย 33.85 29.65 30.25 33.47

(อา้ งองิ : ผลการทดสอบทางการเรียนของนักเรียนข้อมลู การทดสอบ O-NET )

4.3. ด้านประสิทธิผลการจัดการศึกษา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)ได้ดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใน

สถานศึกษา

ปีการศึกษา 2562 ปรากฏผลการดำเนินงานตามตัวช้ีวัดท่ีบ่งชี้ถึงประสิทธิภาพในการจัดและบริหาร

การศึกษา ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

1.ตาราง แสดงข้อมูลนักเรียนช้ัน ป.2 และ ป.3 ที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และอ่านไม่คล่อง

เขยี นไม่คล่อง

จำนวนนักเรยี น ทั้งหมด จำนวนนักเรยี นอ่านไมอ่ อก, เขียนไมไ่ ด้ ป 1-
ม.3

ระดับชนั้ ต้นปี กศ. ปลายปี กศ. พัฒนาการ ต้นปี กศ. ปลายปี กศ. พฒั นาการ
(+/-) (+/-)

ป.1 21 - 21 2

ป.2 21 - 21 0

ป.3 17 - 17 3

ป.4 18 - 18 1

ป.5 11 - 11 2

ป.6 28 - 28 9

ม.1 18 - 18 4

ม.2 24 - 24 3

ม.3 27 - 27 7

รวม 201 - 201 31

(อ้างองิ : ข้อมลู สารสนเทศของโรงเรยี น)

๖๑

2.ตารางแสดงขอ้ มูลการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน / ผ้ปู กครองนักเรยี น

ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผปู้ กครองนักเรยี น

ครัง้ ที่ ..1.../2563.. จำนวนผมู้ าประชมุ คร้งั ที่ จำนวนผูม้ าประชุม

1/2563 12 1/2563 128

2/2563 15 2/2563 105

(อ้างอิง : 1. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน 2. รายงานการประชุม

ผู้ปกครอง

ตารางแสดงจำนวนนกั เรียน/ครู กรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ผนู้ ำชมุ ชน

ผู้ปกครอง ท่ีไดร้ บั รางวัลทส่ี ำคญั ดังน้ี

3.ตารางแสดงครูทไ่ี ดร้ ับรางวลั

ชื่อรางวลั หนว่ ยงาน/ระดบั ชอื่ ผู้ได้รับรางวลั

ครูดใี นดวงใจ สพป.ศรีสะเกษ เขต 2 นางมณี ประดบั ศรี

คุรสุ ดุดี ปี 2563 ศึกษาธกิ ารจงั หวดั ศรสี ะเกษ นางมณี ประดับศรี

หนึ่งแสนครดู ี ปกี ารศกึ ษา ครุ ุสภา กระทรวงศึกษาธกิ าร นายก้านแกว้ พันอนิ ทร์

2557 นางนวลจันทร์ ผาสุก

นางเทียมจันทร์ มณวี งษ์

นายวินัย มณนี ลิ

นางอบุ ล สหี ะวงษ์

นางลสิ า ศรไี พล

นางชลุ พี ร มณนี ิล

นางสนุ นั ทา สายหงษ์

นางมณี ประดบั ศรี

๖๒

7.ตารางแสดงข้อมูลผลการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา หนว่ ย : บาท

รายการ องค์กร บคุ คล/ องคก์ ร อ่นื ๆ รวมทั้งส้นิ
ชมุ ชน เอกชน
ปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่ิน

คา่ ทีด่ นิ สิ่งก่อสร้าง ---- -

— อาคารเรียน ---- -

— อาคารประกอบ ---- -

— ถนน/ทางเดินเทา้ ---- -

— เสาธง ห้องสหกรณ์ ---- -

รวม ---- -

คา่ ครภุ ัณฑ์ ---- -

— คอมพวิ เตอร์ ---- -

รวม ---- -

งบดำเนนิ งาน (วชิ าการ) - - - - -

— ทัศนศึกษา ---- -

— แขง่ ขันกฬี า ---- -

อบต.หนองแค 35,000 - - - 35,000

อุดหนนุ ปจั จยั พน้ื ฐาน - -- -

— ทุนการศึกษา นร.ยากจน - - - - -

(อ้างอิง : ทะเบียนคุมงบประมาณการระดมทรพั ยากรของโรงเรียน)

5. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.

รอบสามเม่ือวันท่ี 6 มกราคม 2557 ถึงวันที่ 8 มกราคม 2557 สรุปผลการประเมินโดย

ภาพรวมดงั ตารางต่อไปน้ี

สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามใน

ภาพรวมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา และมีผล

การประเมินคุณภาพภายนอกในภาพรวมการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา ได้รับ

การรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา มรี ายละเอียดดังน้ี

๖๓

1.ตารางสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจำแนกตามกลมุ่ ตัวบง่ ชี้

การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน : ระดับการศกึ ษาปฐมวยั

การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน : ระดับการศกึ ษาปฐมวัย นำ้ หนกั คะแนน ระดับ
คะแนน ท่ไี ด้ คณุ ภา



กล่มุ ตัวบ่งช้ีพนื้ ฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1 เดก็ มพี ัฒนาการด้านร่างกายสมวยั 5.00 5.00 ดีมาก

ตวั บ่งชท้ี ่ี 2 เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจสมวยั 5.00 5.00 ดีมาก

ตวั บง่ ชีท้ ่ี 3 เด็กมีพัฒนาการดา้ นสังคมสมวัย 5.00 4.50 ดีมาก

ตวั บ่งชี้ท่ี 4 เด็กมพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญาสมวยั 10.00 9.00 ดมี าก

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5 เดก็ มีความพร้อมศกึ ษาต่อในขน้ั ตอ่ ไป 10.00 10.00 ดมี าก

ตัวบ่งชที้ ี่ 6 ประสิทธผิ ลการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ เด็กเป็น 35.00 30.00 ดี

สำคญั

ตัวบ่งชีท้ ่ี 7 ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจัดการและการพฒั นาสถานศกึ ษา 15.00 14.00 ดมี าก

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 8 ประสิทธิผลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน 5.00 4.81 ดีมาก

กล่มุ ตวั บง่ ชี้อตั ลกั ษณ์

ตวั บง่ ชี้ที่ 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ 2.50 2.00 ดี

และวตั ถุประสงค์ของการจดั ต้ังสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจุดเนน้ และจุดเด่นท่สี ง่ ผลสะทอ้ นเป็น 2.50 2.50 ดีมาก

เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา

กลุ่มตัวบง่ ชม้ี าตรการสง่ เสรมิ

ตวั บ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพอ่ื ส่งเสรมิ บทบาทของ 2.50 2.50 ดมี าก

สถานศึกษา

ตวั บง่ ช้ที ี่ 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน 2.50 2.50 ดมี าก

รักษามาตรฐาน และพัฒนาสคู่ วามเป็นเลศิ ทสี่ อดคล้องกับแนวทางการ

ปฏิรปู การศกึ ษา

คะแนนรวม 100.0 91.81 ดีมาก
0

การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั

• ผลคะแนนรวมทกุ ตวั บง่ ช้ี ตั้งแต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป R ใช่ q ไม่ใช่

• มตี ัวบ่งช้ีท่ไี ดร้ ะดับดขี ้ึนไปอยา่ งนอ้ ย 10 ตวั บง่ ช้ี จาก 12 ตวั บง่ ช้ี R ใช่ q ไม่ใช่

• ไมม่ ตี ัวบง่ ชใี้ ดที่มรี ะดับคุณภาพตอ้ งปรบั ปรงุ หรือตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ด่วน R ใช่ q ไม่ใช่

ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย
R สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา q ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

๖๔

2.ตารางสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจำแนกเป็นรายมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน : ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย

ชื่อตวั บง่ ช้ี น้ำหนกั คะแนน ระดับ
คะแนน ท่ไี ด้ คณุ ภา

มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่วา่ ดว้ ยผลการจดั การศกึ ษา 5.00 5.00 พ
5.00 5.00
กลมุ่ ตวั บง่ ชพี้ น้ื ฐาน 5.00 5.00 ดมี าก
10.00 10.00 ดีมาก
ตัวบ่งชท้ี ่ี 1 เดก็ มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายสมวยั 10.00 10.00 ดีมาก
ตวั บง่ ช้ที ่ี 2 เดก็ มพี ฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจิตใจสมวยั 2.50 2.00 ดมี าก
ตวั บ่งชี้ท่ี 3 เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสังคมสมวัย 2.50 2.50 ดีมาก
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 4 เด็กมีพัฒนาการดา้ นสติปญั ญาสมวัย
ตวั บ่งชที้ ี่ 5 เด็กมีความพร้อมศึกษาตอ่ ในข้ันตอ่ ไป 2.50 2.50 ดี
กล่มุ ตัวบ่งช้อี ัตลักษณ์ ดีมาก
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ 15.00 14.00
และวัตถุประสงคข์ องการจัดตัง้ สถานศกึ ษา 2.50 2.50 ดมี าก
ตัวบ่งชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อนเป็น
เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา 35.00 30.00 ดีมาก
กลุ่มตัวบง่ ชี้มาตรการสง่ เสรมิ ดมี าก
ตัวบ่งช้ีที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของ
สถานศกึ ษา ดี

มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่วา่ ดว้ ยการบรหิ ารจัดการศกึ ษา

กลุม่ ตัวบ่งชีพ้ ื้นฐาน

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพฒั นาสถานศกึ ษา
กลมุ่ ตัวบง่ ชม้ี าตรการส่งเสรมิ
ตวั บ่งชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน
รักษามาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ ท่สี อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรปู
การศึกษา
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานท่ีว่าดว้ ยการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็น
สำคัญ
กลมุ่ ตัวบ่งชี้พืน้ ฐาน

ตวั บ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทเี่ น้นเดก็ เป็นสำคญั

มาตรฐานท่ี 4 มาตรฐานทว่ี า่ ดว้ ยการประกนั คณุ ภาพภายใน

กลุม่ ตัวบง่ ช้ีพ้ืนฐาน

๖๕

ชื่อตวั บง่ ชี้ นำ้ หนกั คะแนน ระดับ
คะแนน ท่ไี ด้ คณุ ภา

ตัวบ่งชที้ ่ี 8 ประสิทธผิ ลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน 5.00 4.81 พ
ดีมาก
ผลรวมคะแนนทั้งหมด 100.00 91.81
ดีมาก

จุดเดน่

1. ด้านผลการจัดการศึกษา

เด็กมีการพัฒนาด้านร่างกายสมวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานกาของกรมอนามัย

เล่น และ ออกกำลังกายได้อย่างต่อเน่ืองประมาณ 10 นาที ใช้มือในการหยิบ จับ รับ โยนได้ตามวัย

ล่างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังเข้าห้องน้ำ รู้จักหลีกเลี่ยงการกระทำที่นำไปสู่การบาดเจ็บได้

ตามวัยเด็ก มีพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ ได้แก่ บอกช่ือนามสกุล เพศ สถานภาพและจำนวน

สมาชิกในครอบครัวตนเองได้ สามารถทำกิจกรรมที่เลือกเอง เล่นและปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ืนได้

แสดงความชื่นชอบและตอบสนองต่อศิลปะดนตรีและการเคลื่อนไหว และสนใจใคร่รู้ธรรมชาติรอบตัว

และปรากฏการณ์ตามธรรมชาติเด็กมีพัฒนาการด้านสังคม สมวัย มีความซ่ือสัตย์ รู้คุณของผู้อ่ืน มี

ความเมตตากรุณา และมีน้ำใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ เช่น ปฏิบัติตามกฎของห้องเรียน

ปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและสร้างสรรค์สมวัย มีความพร้อมศึกษาต่อในชั้นต่อไป มีผลการพัฒนา

ตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลัษณ์ของสถานศึกษา “ โรงเรียนน่าอยู่ คู่เศรษฐกิจพอพี

ยง ” มีผลการดำเนินงานตามโครงการพิเศษเพ่ือแก้ปัญหา เด็กอ่านหนังสือจากภาพไม่ได้ ผลการ

ดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน

2. ดา้ นการบริหารจัดการศึกษา

สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ โดยผู้บริหารใช้ระบบบริหารตามวงจร

คุณภาพ (PDCA) มีการจัดโครงสร้างการบริหารครอบคลุมทั้ง 4 งาน คือ งานวิชาการ งาน

งบประมาณ งานบุคลากร และงานบริหารท่ัวไป และมีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือรักษา

มาตรฐาน ท่ีสอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติรูปการศึกษาโดยจัดทำโครงการและกิจกรรมตาม

ข้อเสนอแนะของการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสอง

3. ด้านการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นนกั เรียนเป็นสำคัญ

ครูมีประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ คือครูมีการวาง

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนอย่างเป็นระบบ มีการบันทึกพฤติกรรม มีการประเมินพัฒนาการ

ของเดก็ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กมาปรบั ปรุงแกไ้ ขพัฒนาเด็กอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

4. ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน

สถานศึกษามีประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและต้นสังกัด

ตามกฎกระทรวง ทั้ง 8 ขอ้

จดุ ทค่ี วรพัฒนา

1. ด้านผลการจดั การศกึ ษา

1.1 เด็กบางส่วนขาดวินัยและความรับผิดชอบ ไม่รู้จักอดทนรอคอยและร่วมกิจกรรมกลุ่ม

ตลอดท้งั การเปน็ ผนู้ ำและผ้ตู ามทีด่ ี ไม่ประหยดั ในการดืม่ นม

๖๖

1.2 เด็กบางส่วนไม่มีทักษะการคิด การสำรวจส่ิงรอบตัว การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
ความคิดสร้างสรรค์และการทดลองดว้ ยวิธกี ารท่ใี หม่ ๆ

1.3 สถานศึกษาขาดความเช่ือมต่อเน่ืองในการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ คือ
“ยิ้ม ไหว้ ทักทาย มีจิตอาสา” จนเป็นนิสัยและเกิดผลกระทบที่ดีต่อสถานศึกษาและเป็นที่ยอมรับของ
ชมุ ชน
2. ด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษา

2.1 ผู้บริหารสถานศึกษาขาดความชัดเจนในหลักสูตรโดยเฉพาะการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็ก
ท้งั 6 กจิ กรรม

2.2 สถานศึกษามีส้วมไม่เหมาะสมกับเด็ก เพราะอยู่ห่างไกลจากห้องเรียนไม่สะดวกในการ
ควบคมุ ดูแล และฝกึ ฝนดา้ นสขุ นสิ ัย

2.3 สถานศึกษาขาดการจัดกิจกรรมเพ่ือแก้ปัญหาและป้องกันความปลอดภัย ที่ครอบคลุม
ท้งั 6 กจิ กรรม
3. ดา้ นการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นเด็กเปน็ สำคัญ

3.1 ครูขาดการสงเสริมใหเ้ ด็กเป็นผู้นำและผู้ตามท่ดี อี ยา่ งสมำ่ เสมอ
3.2 ครูขาดการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการวางแผนนำผลการประเมินไปพัมนา
เด็กอยา่ งสม่ำเสมอ
4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
ไมม่ ี
โอกาส
1. ชุมชนมีความเชื่อมั่นในการบริหาร จึงได้รับความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพของ
สถานศึกษาเปน็ อย่างดีและสม่ำเสมอ
2. ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมคือ ป่าชุมชนดงภูดิน ซ่ึงเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าได้
ศึกษาหาความรคู้ ้านวฒั นธรรมไดเ้ ปน็ อย่างดี หนังบักตอ้ื ซง่ึ เป็นมหรสพท่ีเป็นวัฒนธรรมประจำหมบู่ ้าน
3. ชุมชนมีประเพณีท้องถิ่น เช่น การบูชาศาลเจ้าพ่อดงภูดิน ซ่ึงมีการแข่งขันเรือยาว
ประเพณี และเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านประเพณีวฒั นธรรมทอ้ งถิน่
4. ชมุ ชนมแี ม่นำ้ มลู ป่าทาม ซ่งึ เปน็ ธรรมชาตเิ ชิงอนรุ กั ษ์ และเป็นแหล่งเรยี นรู้ทางธรรมชาติ
5. คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสถานศึกษา ซ่ึงให้ความ
ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจและเสียสละกำลังทรัพย์และกำลังกายในการพัฒนาสถานศึกษาอย่าง
สมำ่ เสมอ
6. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแคสนับสนุนงบประมาณในด้านอาหารกลางวันและ
อาหารเสรมิ นม เพอื่ พัฒนาเด็กด้านสุขภาพรา่ งกายสม่ำเสมอทกุ ปี
7. ศิษยเ์ ก่าและชมุ ชนมกี ารทอดผา้ ป่าเพ่อื การศึกษาทกุ ปีการศึกษา
อปุ สรรค
1. ชมุ ชนบางสว่ นเก่ียวขอ้ กับยาเสพตดิ และการพนนั ซึ่งเปน็ ตัวอยา่ งที่ไมด่ แี กน่ กั เรียน
2. ผู้ปกครองบางส่วนไปทำงานต่างจังหวัด นักเรียนอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้ขาด
ความอบอุ่น ซ่งึ เปน็ อปุ สรรคในการจดั การเรยี นกรสอน

๖๗

3. ชุมชนบางส่วนใช้เครื่องจกั รในการประกอบอาชพี ทำใหเ้ กิดผลเสียต่อสิ่งแวดลอ้ ม
4. ชมุ ชนบางส่วนไม่มีอาชพี เศรษฐกิจไมเ่ พียงพอ มีผลกระทบต่อการสนับสนุนการศึกษา
ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2554
1. ด้านผลการจัดการศึกษา
1.1สถานศึกษามีการจัดกิจกรรพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ
สงั คม สตปิ ัญญา สมวัย เด็กมีความพรอ้ มศกึ ษาต่อในชน้ั ตอ่ ไปดีอยูเ่ สมอ แต่ควรจัดกจิ กรรมพัฒนาเด็ก
ให้มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความอดทน รอคอย ร่วมกิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี
ประหยัดในการด่ืมนมโดยไม่เหลือทิ้ง จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กอย่างสม่ำเสมอ โดยให้มีการพัฒนา
อย่างยงั่ ยืนตลอดไป
1.2 สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ คือ “ย้ิม ไหว้
ทกั ทาย มจี ติ อาสา” โดยฝกึ ปฏิบตั ิอยา่ งสมำ่ เสมอต่อเนื่องจนเปน็ นิสัยท่ียั่งยนื ตลอดไป
2. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษา
2.1 สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ และการพัฒนาสถานศึกษา โดยใช้
ระบบบริหารตามวงจร ( PDCA ) จัดโครงสร้างการบริหารครอบคลุมท้ัง 4 งานอย่างเป็นระบบดีอยู่
แล้ว แต่ผู้บริหารควรศึกษารายละเอียดของการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กทั้ง 6 กิจกรรมให้ชัดเจน เพ่ือ
นำไปนิเทศในการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็ก จัดให้มีห้องส้วมท่ีเหมาะสมกับเด็ก และจัดกิจกรรมเพื่อ
แก้ปัญหาเพื่อป้องกันความปลอดภัยให้ครอบคลุมท้ัง 6 กิจกรรม โดยเฉพาะ กิจกรรมระบบฉุกเฉิน
โดยมีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ืองใหย้ ั่งยืนตลอดไป
2.2 สถานศึกษามีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐานท่ีสอดคล้องกับ
แนวทางปฏิรปู การศึกษาท่ดี ีอยู่แล้ว ควรพฒั นาให้ย่ังยนื ตลอดไป
3. ดา้ นการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคัญ
ครูมีประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญดีอยู่แล้ว แต่ควร
พัฒนาเด็กให้รู้จัดการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการวางแผนนำ
ผลการประเมนิ ไปพฒั นาเดก็ อยา่ งสม่ำเสมอทุกปีการศกึ ษา
4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศึกษามีประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
ตามกฎกระวง จำนวนท้งั 8 ขอ้ ดีดอยแู่ ล้ว ควรพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายในย่งั ยนื ตลอดไป
นวัตกรรมหรือตวั อย่างการปฏิบัติทด่ี (ี Good Practice)ของสถานศึกษาทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คม
“กิจกรรมการอ่านหนังสือจากภาพ” ได้เหรียญททอง จากสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ปกี ารศึกษา 2554”

๖๘

ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน : ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา
1.ตารางสรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จำแนกตามกลุ่มตัวบ่งช้ี

ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน : ประถมศกึ ษา และ มัธยมศกึ ษา

ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน นำ้ หนกั คะแนน ระดั
(ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา) (คะแนน) ท่ไี ด้ บ
คณุ ภ
กลมุ่ ตวั บ่งชพ้ี ืน้ ฐาน 10.00 9.53 าพ
ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี 10.00 9.64
10.00 8.84 ดี
ตวั บ่งช้ที ี่ 2 ผู้เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ 10.00 9.19 มาก
20.00 10.43 ดี
ตวั บ่งชี้ท่ี 3 ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง 10.00 9.00 มาก
ตวั บง่ ชี้ท่ี 4 ผเู้ รยี นคดิ เป็น ทำเปน็ 5.00 4.50 ดี
5.00 4.81 ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รยี น มาก
5.00 4.00 พอใ
ตัวบ่งชที้ ี่ 6 ประสทิ ธิผลของการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็น 5.00 5.00 ช้
สำคญั ดี
ตัวบ่งชที้ ี่ 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นา 5.00 5.00 มาก
สถานศึกษา ดี
ตัวบง่ ช้ที ่ี 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา 5.00 4.00 มาก
และต้นสงั กัด 100.00 83.94 ดี
กลมุ่ ตวั บง่ ชี้อตั ลกั ษณ์ มาก
ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์
พนั ธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจดั ตง้ั สถานศกึ ษา ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น
เอกลกั ษณข์ อง สถานศึกษา ดี
กลุ่มตัวบง่ ช้ีมาตรการสง่ เสรมิ มาก
ตัวบ่งช้ีท่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา ดี
ตวั บ่งช้ีที่ 12 ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน มาก
รกั ษามาตรฐานและพัฒนาส่คู วามเปน็ เลิศ ที่สอดคล้องกบั แนวทางการ
ปฏริ ปู การศึกษา ดี

คะแนนรวม ดี

๖๙

ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน นำ้ หนกั คะแนน ระดั
(ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา) (คะแนน) ทไ่ี ด้ บ

คุณภ
าพ

การรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา

• ผลคะแนนรวมทกุ ตัวบง่ ช้ี ต้ังแต่ 80 คะแนนขนึ้ ไป R ใช่ q ไมใ่ ช่

• มตี ัวบ่งชี้ท่ีไดร้ ะดับดีขนึ้ ไปอยา่ งน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตวั บ่งช้ี R ใช่ q ไมใ่ ช่

• ไมม่ ตี ัวบ่งช้ีใดท่ีมีระดับคณุ ภาพตอ้ งปรับปรุงหรือต้องปรับปรงุ เร่งด่วน R ใช่ q ไมใ่ ช่

สรปุ ผลการจัดการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของสถานศกึ ษาในภาพรวม
R สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา q ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

2.ตารางสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจำแนกเป็นรายมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ
ระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน : ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา

ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน น้ำหนัก คะแนน ระดบั
(ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษา) (คะแนน) ท่ไี ด้ คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา

กลมุ่ ตัวบง่ ชี้พื้นฐาน

ตวั บ่งช้ีท่ี 1 ผ้เู รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี 10.00 9.53 ดมี าก
10.00 9.64 ดมี าก
ตวั บ่งชท้ี ี่ 2 ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ 10.00 8.84 ดี
ตัวบ่งชท้ี ่ี 3 ผเู้ รียนมคี วามใฝ่รู้ และเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง 10.00 9.19 ดีมาก
20.00 10.43 พอใช้
ตัวบง่ ชี้ที่ 4 ผู้เรยี นคดิ เป็น ทำเปน็
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเ้ รยี น 5.00 4.00 ดี
5.00 5.00 ดีมาก
กล่มุ ตวั บง่ ชอ้ี ตั ลกั ษณ์
ตัวบ่งช้ีที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ 5.00 5.00 ดมี าก
พนั ธกิจ และ วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ต้งั สถานศกึ ษา
5.00 4.50 ดีมาก
ตัวบ่งชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อน
เปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา
กลุ่มตวั บ่งชม้ี าตรการส่งเสริม

ตัวบ่งช้ีท่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่วา่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การศึกษา
กลุม่ ตวั บง่ ชพ้ี น้ื ฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสทิ ธิภาพของการบริหารจดั การและการพัฒนา
สถานศกึ ษา
กลมุ่ ตัวบง่ ช้มี าตรการส่งเสรมิ

๗๐

ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน น้ำหนกั คะแนน ระดบั
(ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา) (คะแนน) ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ

ตัวบง่ ชี้ท่ี 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่อื ยกระดบั

มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาสูค่ วามเปน็ เลศิ ทส่ี อดคล้อง 5.00 4.00 ดี

กับแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา

มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานทว่ี ่าดว้ ยการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้

ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั

กลุ่มตัวบง่ ช้พี ืน้ ฐาน

ตัวบ่งชีท้ ี่ 6 ประสิทธิผลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี น 10.00 9.00 ดีมาก
เปน็ สำคญั

มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกนั คุณภาพภายใน

กลมุ่ ตัวบ่งชี้พ้ืนฐาน

ตัวบง่ ชี้ที่ 8 พฒั นาการของการประกันคุณภาพภายในโดย 5.00 4.81 ดมี าก
สถานศกึ ษาและต้นสังกัด

ผลรวมคะแนนท้ังหมด 100.00 83.94 ดมี าก

จุดเดน่

1. ด้านผลการจัดการศกึ ษา

ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี เช่น มีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตาม

เกณฑ์ รวมท้ังรูจักดูแลตนเองให้มีความปลอดภัย โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์บริหารส่วนตำบล

หนองแค และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านปลาขาว มีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์

วรรณศิลป์หรือนันทนาการผู้เรียนมีวัฒนธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เช่น ผู้เรียนเป็นลูก

ที่ดี ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ของโรงเรียนและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมท้ังในและนอกสถานศึกษามี

ความสามารถด้านการคิดและการปรับตัวเข้ากับสังคม ตารมท่ีกำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2554 มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ

สถานศึกษา คือ “ โรงเรียนน่าอยู่ คู่เศรษฐกิจพอเพียง ” ผลการดำเนินการโครงการพิเศษเพ่ือการ

แก้ปัญหานักเรียนขาดทักษะในการทำงานอย่างเป็นระบบ โดยจัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนในการ

ทำงานอย่างเป็นระบบในกิจกรรม การแกะสลัก โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีทักษะอาชีพ ผล

การดำเนนิ งานบรรลุเปา้ หมายตามแผน

2. ด้านการบริหารจัดการศกึ ษา

สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา โดยผู้บริหารมี

การบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารครอบคลุมท้ัง 4 งานอย่างเป็นระบบโดยทุกฝ่ายมี

ส่วนร่วม คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการครอบคลุมท้ัง 4 งาน สถานศึกษา

มีการจดั สภาพแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอกอาคารเรียน ที่เออื้ ต่อการจดั การเรยี นการสอน

๗๑

3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ
สถานศึกษามีประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยครูมี

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนของครูครบทั้ง 8 ข้อ
4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน

สถานศึกษามีพัฒนาการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัดท่ีเป็นไปตาม
กฎกระทรวง พ.ศ. 2553 ทั้ง 8 ข้อ
จดุ ทค่ี วรพฒั นา
1. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา

1.1 สถานศึกษาขาดการพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้จาการอ่าน
และใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างสม่ำเสมอ

1.2 สถานศึกษาขาดการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้านการคิดอย่าง
สมำ่ เสมอ

1.3 สถานศึกษาขาดการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (O-NET)
ในกลุ่มสาระภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพละศึกษา
ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ัน
มัธยมศึกษา ปที ี่ 3 ให้มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา
2. ด้านการบรหิ ารจดั การศึกษา

2.1 ผู้บริหารขาดการส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรูแ้ ละบนั ทึกหลังสอนทีต่ รงประเด็นและชัดเจน

2.2 สถานศึกษามีผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษา ซ่ึงอยู่ในกลุ่มรักษามาตรฐานท่ียังไม่
สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษาในด้านผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ในระดับช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 6 และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
3. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

สถานศึกษาขาดการนำผลการประเมินซึ่งเป็นประสิทธิผลของการดำเนินการของสถานศึกษา
มาพัฒนาครูแตล่ ะคนอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง
4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน

ไม่มี
โอกาส

1. ชุมชนมีความเชื่อมั่นในการบริหาร จึงได้รับความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพของ
สถานศกึ ษาเปน็ อย่างดแี ละสมำ่ เสมอ

2. ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมคือ ป่าชุมชนดงภูดิน ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณค่าได้
ศึกษาหาความรคู้ ้านวฒั นธรรมได้เป็นอยา่ งดี หนังบกั ตื้อซงึ่ เป็นมหรสพท่เี ปน็ วฒั นธรรมประจำหมูบ่ า้ น

3. ชุมชนมีประเพณีท้องถ่ิน เช่น การบูชาศาลเจ้าพ่อดงภูดิน ซึ่งมีการแข่งขันเรือยาว
ประเพณี และเป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถนิ่

4. ชุมชนมแี ม่นำ้ มลู ปา่ ทาม ซงึ่ เป็นธรรมชาติเชงิ อนรุ ักษ์ และเป็นแหลง่ เรยี นรู้ทางธรรมชาติ

๗๒

5. คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสถานศึกษา ซ่ึงให้ความ
ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจและเสียสละกำลังทรัพย์และกำลังกายในการพัฒนาสถานศึกษาอย่าง
สมำ่ เสมอ

6. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองแคสนับสนุนงบประมาณในด้านอาหารกลางวันและ
อาหารเสรมิ นม เพอ่ื พัฒนาเด็กด้านสุขภาพรา่ งกายสม่ำเสมอทกุ ปี

7. ศิษยเ์ ก่าและชุมชนมกี ารทอดผ้าปา่ เพอ่ื การศกึ ษาทุกปกี ารศึกษา
อุปสรรค

1. ชุมชนบางสว่ นเกี่ยวขอ้ กบั ยาเสพติดและการพนัน ซึ่งเป็นตวั อย่างท่ไี ม่ดแี ก่นกั เรยี น
2. ผู้ปกครองบางส่วนไปทำงานต่างจังหวัด นักเรียนอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้ขาด
ความอบอุน่ ซงึ่ เป็นอปุ สรรคในการจดั การเรียนกรสอน
3. ชุมชนบางส่วนใช้เทคโนโลยีการส่ือสารไม่เหมาะสม เช่น สื่อลามก ซึ่งเป็นแบบอย่างท่ีไม่ดี
ในการประกอบอาชีพ ทำใหเ้ กิดผลเสียต่อสิ่งแวดลอ้ ม
4. ชมุ ชนบางสว่ นใช้เคร่ืองจกั รในการประกอบอาชพี ทำให้เกดิ ผลเสยี ต่อสิ่งแวดลอ้ ม
5. ชมุ ชนบางสว่ นไม่มีอาชีพ เศรษฐกจิ ไม่เพียงพอ มผี ลกระทบตอ่ การสนับสนุนการศึกษา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา พ.ศ. 2554
1. ดา้ นผลการจัดการศึกษา
1.1 สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีน้ำหนักส่วนสูงและสมรรถนะภาพทางกายตาม
เกณฑ์รวมทั้งรู้จักดูแลตนเองให้มีความปลอดภัยและมีสุทนรีย์ภาพดีอยู่แล้ว ควรพัฒนาผู้เรียนให้
สม่ำเสมอย่ิงยนื ตลอดไป
1.2 สถานศึกษามีการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นนักเรียนท่ีดีของ
โรงเรียน และมีการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมดีอยู่แล้วควรพัฒนาผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอให้ยั่งยืน
ตลอดไป
1.3 สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักค้นคว้าหาความรู้จากการ
อ่านและใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ โดยการปฏิบัติจริง เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ มีการบันทึกความรู้อย่าง
สม่ำเสมอและตอ่ เน่ือง
1.4 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้คิดเป็นทำเป็นดีอยู่แล้ว แต่
ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้านการคิดโดยการจัดทำกิจกรรม
โครงงาน เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกสถานศึกษา พัฒนาผู้เรียนอย่าง
สมำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง
1.5 สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-
NET) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โนกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ให้มี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาที่กำหนด โดยจัดการสอนซ่อมเสริม ปฏิบัติจริง
ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ข้อทดสอบ ฝึกบ่อย ๆ อย่างต่อเน่ือง โดยครูกำกับ ติดตามผลงานอย่าง
ใกลช้ ดิ ใช้เวลาในการพัฒนา 1 ปีการศกึ ษา

๗๓

1.6 สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ คือ “ ยิ้ม ไหว้

ทักทาย มีจิตอาสา ” โดยฝึกปฏิบตั อิ ยา่ งสม่ำเสมอและตอ่ เนอื่ งจนเปน็ นิสัย

2. ดา้ นการบริหารจัดการศกึ ษา

1. ผู้บริหารสถานศึกษา ควรส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกกลุ่ม

สาระการเรียนรู้ และมีการบนั ทึกหลังสอนให้ตรงประเด็นและชัดเจนอย่างสม่ำเสมอ

2. สถานศึกษา ควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพ่ือส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาในกลุ่มรักษา

มาตรฐานที่สอดคล้องกับแนวปฏิรูปการศึกษา โดยการจัดการเรียนการสอนยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ให้มีระดับคุณภาพตามเกณฑ์

มาตรฐานการศึกษาทีก่ ำหนดไว้ใชใ้ นเวลาพฒั นา 1 ปีการศกึ ษา

3. ด้านการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั

สถานศึกษามีประสิทธิผลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญดีอยู่แล้ว แต่

ควรนำผลการประเมินครูที่เป็นประสิทธิผลการดำเนินการของสถานศึกษา มาพัฒนาครูแต่ละคนให้

เป็นระบบและตอ่ เน่อื งตลอดไป

4. ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน

สถานศึกษามีการพัฒนาการระบบการประกันคุณภาพภายในตามกฎกระทรวงทั้ง 8 ข้อดีอยู่

แล้ว ควรพัฒนาให้สม่ำเสมอและย่ังยนื ตลอดไป

นวตั กรรมหรอื ตัวอย่างการปฏิบตั ทิ ่ดี ี (Good Practice) ของสถานศกึ ษาท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ สังคม

โค รงก ารอ าชี พ น วัต ก รรม เยื่ อ ก ระ ด าษ ได้ รับ รางวัล เห รีย ญ ท อ งระ ดั บ ภ าค

ตะวันออกเฉียงเหนือ ครูได้รับรางวัลสอนดีระดับประเทศ ได้เงินทุน 250,000 (สองแสนห้าหม่ืน

บาทถว้ น) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 3 ปกี ารศกึ ษา 2554

แนวคิดหลักการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

1. วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมายและกลยุทธ์ของสถานศึกษา

ภายในปี 2564 โรงเรยี นเปน็ เลศิ ด้านบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม ครมู อื อาชีพ ผ้เู รยี นมี

ความโดดเด่นดา้ นกระบวนการเรียนรู้คิดวเิ คราะห์และการสื่อสารเพอ่ื เพ่ิมพูนทักษะในศตวรรษที่ 21

1.1พนั ธกจิ

1. จัดระบบบริหารการศึกษาให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.

2542 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553

2. พฒั นาครูใหม้ คี วามรู้ ความสามารถตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพ

3. พฒั นานักเรยี นให้มคี ณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา

4. ส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนมีบทบาทต่อการจดั การศึกษาโดยเน้นหลกั สตู รท้องถนิ่ และภูมปิ ญั ญา

ชาวบ้านตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

5. พฒั นาโรงเรียนใหน้ ่าอยแู่ ละเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้

1.2 เอกลกั ษณ์ กระบวนการเรยี นรู้ก้าวไกล ใสใ่ จ กฬี า ประเพณี วฒั นธรรม พฒั นาการส่ือสาร

1.3 อตั ลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์ มีวินัย ไฝ่เรียนรู้

1.4 มาตรการสง่ เสรมิ นักเรียนอา่ นออก เขยี นได้ 100 %

1.5 คำขวัญ เรยี นดี กีฬาเด่น เจนหตั ถะ จรยิ งาม

๗๔

1.6 ปรัชญาของโรงเรียน ปญฺญา นรานํ รตฺนํ (ปัญญาเปน็ แกว้ อันประเสรฐิ ของนรชน)
1.7 สปี ระจำโรงเรียน สนี ้ำเงิน – เหลอื ง
1.8 เป้าหมายการพัฒนา

นกั เรยี นมคี ณุ ภาพและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา
1.9 กลยุทธส์ ถานศึกษา

1.พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น
2.พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
3.เสริมสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้
4.สง่ เสรมิ อตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี นใหโ้ ดนเดน่
5.พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศกึ ษาในทศตวรรษท่ี 21
2. การบรหิ ารจัดการศึกษา

โรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) แบ่งโครงสร้างการบริหารเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่
ฝ่ายรับผิดชอบงานวิชาการ งานบุคลากร งานการงบประมาณ งานบริหารท่ัวไป ผู้บริหารยึด
หลักการบริหาร เทคนิคการบริหารแบบ P D C A กระจายอำนาจในการบริหารงานให้บุคลากรใน
สถานศึกษาได้ร่วมกันคิด ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายในการดำเนินงาน โดยกำหนด
ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมายการพัฒนา

๗๕

2.1 ระบบโครงสรา้ งบริหารสถานศกึ ษา
แผนภมู ิการบริหารโรงเรียนบา้ นเพยี มาต(รฐั ราษฎร์พิทยาคาร)

ระบบโครงสร้างการบริหารงาน

ผู้อำนวยการโรงเรยี น กรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ครูประจำชน้ั ครูประจำชั้น

กลุ่มงานวิชาการ กลมุ่ งานบคุ ลากร กลุ่มงานงบประมาณ กลมุ่ งานบริหารทั่วไป

คณุ ภาพผ้เู รียน

๗๖

2.2 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา
นายสมนกึ บุญปัญญา

ตวั แทนศาสนา ตัวแทนผู้ปกครอง
นายวจิ ิตร นรสาร นางสำรวย ไตรรัตน์

ตัวแทนองค์ปกครอง ตวั แทนศษิ ยเ์ กา่
นายไพฑูรย์ โถทอง นายอมรศกั ด์ิ อินทมาส

ตัวแทนองคก์ รชมุ ชน ตวั แทนผูท้ รงคณุ วุฒิ
นายอภริ กั ษ์ สุธาวรรณ์ นายบญุ ล้วน โมกขะรตั น์

ตัวแทนผู้แทนครู ผ้อู ำนวยการโรงเรียน
นางอุบล สีหะวงษ์ เลขานุการ

โรงเรียนจดั แผนพฒั นาโรงเรยี น เรยี กวา่ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เป็นระยะเวลา 4 ปี

โดยมีเปา้ หมายในการดำเนนิ งานที่เน้นผลงานตามมาตรฐานการศึกษา 3 ดา้ น คอื สรา้ งองคค์ วามรู้
ทกั ษะกระบวนการ และจิตสำนึก

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รียน

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น
๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ
๒) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียน

ความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร

๕) มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทดี่ ตี ่องานอาชพี
๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น

๑) การมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด
๒) ความภูมใิ จในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย
๓) การยอมรบั ท่ีจะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย

๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม

๗๗

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสยั ทศั น์และพันธกิจที่สถานศึกษาก าหนดชดั เจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา

และทุกกลมุ่ เป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบริหารจดั การและการเรียนรู้

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
๓.๑ จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ น

ชีวติ ได้
๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น
๓.๕ มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรุง การ

จดั การเรยี นรู้

วิธีดำเนินการ
การวางแผนของสถานศกึ ษา

1. ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร เทคนิคการบริหารแบบ P D C A มีการวางแผนการจัด
การศึกษาเชิงระบบ มีการกระจายอำนาจในการบริหารงานคณะกรรมการสถานศึกษา อนุกรรมการ
สถานศึกษา และบุคลากรในสถานศึกษาได้ร่วมกันคิด ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายใน
การดำเนินงาน โดยกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์ อัตลักษ์ เป้าหมายการพัฒนา
มีคณะกรรมการสถานศึกษา อนุกรรมการ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน และชุมชนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการพัฒนาโรงเรียน วางแผนออกแบบกิจกรรม โครงการ และระบบติดตามผล เพ่ือนำไปสู่การ
ปฏิบัติงานอย่างมรี ะบบ

2. การนำแผนสู่การปฏิบัติ มีการกำหนดปฏิทินในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน และ
ดำเนินการตามแผน

3. การตรวจสอบติดตาม โรงเรียนได้ควบคุม กำกับ นิเทศติดตามการดำเนินงานและรายงาน
ผลต่อที่ประชมุ และชุมชน

4. การพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานมีการนำผลการนำผลการประเมินรายงานต่อที่ประชุม
หากพบว่าการดำเนินไม่เป็นไปตามเป้าหมาย โรงเรียน และผู้เกี่ยวข้องจะช่วยกันปรับปรุงแก้ไข
และดำเนนิ ให้บรรลุเป้าหมาย

๗๘

ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ได้
กำหนดใหส้ ถานศกึ ษาจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2563 ใหส้ อดคล้องกับสภาพ
ปัญหาและท่ีเกิดจากความตอ้ งการของครแู ละบุคลากรทางการ ศกึ ษาเพ่อื ใหใ้ ช้ความสามารถและ
ศกั ยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาสูงสุดในการพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษาของสถานศึกษาให้
เปน็ ไป ตามนโยบาย 6 ยทุ ธศาสตร์ การปฏิรปู การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร 11 นโยบายสำคัญ
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นโยบายและจุดเนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2560 และตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ ของโครงการ/กจิ กรรมในแตล่ ะกลุม่ งาน
โรงเรยี นบา้ นเพยี มาต(รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) จงึ ได้ดำเนนิ การจัดทำ แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2561 ให้สอดคล้องกับนโยบาย เปา้ หมาย และจดุ เนน้ ดังต่อไปน้ี ยุทธศาสตรช์ าติ
ระยะ 20 ป(ี พ.ศ.2560-2579)

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ความมนั่ คง
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 กำรสร้างโอกาสความเสมอภาพและเท่าเทียมกนั ทางสงั คม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั

นโยบายจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษา
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แหง่ พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ าร

ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.2546 รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการจงึ ประกาศนโยบาย
และจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั นี้
หลกั การ

1.ให้ความสำคัญกบั ประเดน็ คณุ ภาพและประสิทธภิ าพในทุกมติ ิ ท้งั ผู้เรยี น ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผ้บู ริหารทุกระดบั ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท
และเป็นการศกึ ษาตลอดชวี ิต

2.บรู ณาการการทำงานรว่ มกนั ระหว่างสว่ นราชการหลกั องคก์ ารมหาชนในกำกับของ
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ให้มคี วามคลอ่ งตวั รวมทง้ั หนว่ ยงานสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
ในพ้ืนทภ่ี ูมิภาคให้สามารถปฏบิ ัติงานรว่ มกนั ได้ เพ่ือดำเนินการปฏิรปู การศกึ ษาร่วมกบั ภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนตามนโยบายประชารฐั
ระดบั กอ่ นอนบุ าล

เนน้ ประสานงานกบั ส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรยี มความพรอ้ มผ้เู รียน ในดา้ นสุขภาพ
และโภชนาการ และจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ เ่ี ชอื่ มโยงกบั ระบบโรงเรยี นปกติ
ระดบั ประถมศกึ ษา

1. ปลกู ฝังความมรี ะเบียบวนิ ยั ทศั นคติทถ่ี ูกต้อง โดยใช้กระบวนการลูกเสือ ยุวกาชาด
2. เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อใช้เป็นเครอ่ื งมือในการเรียนรู้วิชาอ่ืน

๗๙

3. เรียนภาษาองั กฤษและภาษาพื้นถ่ิน (ภาษาแม่) เน้นเพือ่ การสอ่ื สาร
4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้ จาก
ประสบการณ์จริง หรือจากสถานการณ์จำลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกัน
ของผู้เรยี นและครู ดว้ ยการจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ ใหม้ ากขน้ึ
5. สรา้ งแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั เพอื่ การเรียนรู้ และใชด้ ิจทิ ัลเป็นเคร่อื งมือการเรียนรู้
6. จดั การเรียนการสอนเพอ่ื ฝึกทกั ษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเป็นขนั้ ตอน (Coding)
7. พัฒนาครูใหม้ ีความชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)
8. จัดให้มีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายใน และ
ภายนอก บริเวณโรงเรยี นใหเ้ ออื้ ต่อการสร้างคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ
ระดับมัธยมศกึ ษา
มุ่งต่อยอดระดับประถมศึกษา ดว้ ยจดุ เน้น ดังนี้
1. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาท่สี าม)
2. จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพ้ืนฐานที่เชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพ และการมี
งานทำ เชน่ ทักษะดา้ นกีฬาท่สี ามารถพฒั นาไปสู่นกั กีฬาอาชีพ ทักษะภาษาเพื่อเปน็ มัคคเุ ทศก์
นโยบายการพฒั นาการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้กำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2563 โดยยึดหลักของการพัฒนาท่ีย่ังยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศใน
อนาคต เป็นแนวทาง ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติพ.ศ.2561 -
2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580 ) แผนปฏิรูปประเทศ ด้าน
การศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2565) แผนการ
ศกึ ษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 และมุ่งสู่ Thailand 4.0 ดังนี้
นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจดั การศึกษาเพอื่ ความมนั่ คงของมนุษย์ และของชาติ นโยบายที่
นโยบายที่ 2 ด้านการจัดการศึกษาเพอ่ื เพ่ิมความสามารถในการ แข่งขนั ของประเทศ
นโยบายท่ี
นโยบายที่ 3 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ นโยบายท่ี
นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและ
ลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษา นโยบายท่ี
นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม นโยบาย
ท่ี
นโยบายท่ี 6 ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ าร จัดการศกึ ษา
กลยุทธ์ สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
กลยุทธท์ ี่ 1 จดั การศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คง
1. เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข

๘๐

1.1 น้อมนำแนวพระราชดำริสืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
หรือ “ศาสตรพ์ ระราชา” มาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างยง่ั ยืน

1.2 ปลูกฝังและเสริมสร้างวิถีพลเมืองประชาธิปไตย ความสามัคคีสมานฉันท์สันติวิธีต่อต้าน
การทุจริตคอรัปชั่น และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข

1.3 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ผ่าน
หลกั สตู รและกระบวนการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์และความเป็นพลเมือง

2. ปลกู ฝงั ผเู้ รยี นดำ้ นคุณธรรม จริยธรรม และค่ำนยิ มทีพ่ ึงประสงค์
2.1 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรม

จรยิ ธรรม คุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รและค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
2.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น อาชญากรรม และ

ความ
รนุ แรงในรูปแบบตา่ งๆ ส่งิ เสพตดิ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติภัยจากโรคอุบตั ใิ หม่ ภยั จากไซเบอร์ฯลฯ

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขัน

1. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการปรับหลักสูตร การวัด
และประเมินผลทเี่ หมาะสม

1.1 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในระดับปฐมวัยและหลักสูตการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนำ
หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ และจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ตามความ
จำเป็นและ ความตอ้ งการของผเู้ รียน ชุมชน ท้องถิ่น และสงั คม

1.2 ส่งเสริมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความม่ันใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ภาษา
ประเทศคูค่ า้ และภาษาอาเซยี นอย่างนอ้ ย ๑ ภาษา

1.3 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลทุกระดับ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานนาไปสู่การ
พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นเต็มตามศกั ยภาพ

2. พฒั นkคณุ ภkพกระบวนกkรเรยี นรู้
2.1 พัฒนาผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษา ให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ
สงั คมและสตปิ ัญญา ใหม้ ีความพร้อมเขา้ สู่การเรยี นในระดบั ทส่ี งู ขึน้
2.2 ส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถอ่านออกเขียนได้และคดิ เลขเปน็ ตามช่วงวยั
2.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ผูเ้ รียนมีนสิ ัยรกั การอา่ น และการคดั ลายมอื
2.4ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active
Learning)เน้นทักษะกระบวนการ ให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ในทุก
กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ั้งในและนอกหอ้ งเรยี น
2.5 ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นมีวินยั และทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
2.6 ปลกู ฝงั ทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์

๘๑

2.7สนับสนุนการผลิต จัดหา และใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยีนวัตกรรม และส่ิง
อำนวยความสะดวกที่หลากหลายรวมทั้งการพัฒนาห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ใน
การจัดการเรยี นร้ไู ด้ทงั้ ในหอ้ งเรยี น และนอกหอ้ งเรียนเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรูอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ

2.8 ส่งเสริมการจัดหลักสูตรทักษะอาชีพ ควบคู่ไปกับวิชาสามัญ เช่น ทวิศึกษา (Dual
ducation)
หลกั สตู รระยะสั้น

2.9 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
และผ้มู ีความสามารถพิเศษ) ใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพดว้ ยรูปแบบทเี่ หมาะสม

2.10 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
อยา่ งเขม้ แขง็ ตอ่ เนอ่ื งและเป็นรปู ธรรม

3. สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
3.1 ยกระดับผลการประเมนิ ระดบั นานาชาตติ ามโครงการ PISA (Programme for
International Student Assessment)
3.2 ส่งเสรมิ การพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี นสู่ความเปน็ เลิศในด้านต่างๆ
3.3 ส่งเสริมการเรียนรู้บูรณ าการแบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science
Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education)เพื่ อ พั ฒ น า
กระบวนการคิด และการสรา้ งสรรคนวตั กรรมเพ่ือสร้างมูลคา่ เพ่ิม สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐
4. สง่ เสรมิ สนับสนุนการทำวิจัย และนำผลการวจิ ัยไปใช้พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา
4.1 ส่งเสรมิ การทำวิจัยเพือ่ พฒั นาการบริหารจัดการศกึ ษา
4.2 ส่งเสริมการทำวิจยั เพื่อพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้การวัดและประเมนิ ผล
โดยเนน้ ให้มกี ารวิจัยในชั้นเรียน
กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
1. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหส้ ำมารถจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ ในรูปแบบท่ี
หลากหลาย เชน่
1.1 TEPE Online (Teachers and Educational personnel Enhancement Based
onMission and Functional Areas as Majors)
1.2 ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC)
1.3 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning)
1.4 การพัฒนาครทู ั้งระบบท่ีเชอ่ื มโยงกบั การเล่อื นวทิ ยะฐานะ ฯลฯ
2. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภำพ โดยเช่ือมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ดังน้ี
2.1 การก าหนดแผนอตั รากำลงั การสรรหา การบรรจแุ ตง่ ตง้ั การประเมนิ และการพฒั นา
2.2 การสรา้ งแรงจูงใจให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามขี วัญและกาลังใจในการทางาน
กลยุทธ์ท่ี 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรยี นร้อู ย่างมีคณุ ภาพ
1. เพมิ่ โอกาสการเข้ำถงึ การศึกษาทีม่ คี ุณภาพ

๘๒

1.1 ส่งเสริมประชากรวัยเรียนทุกคนให้ได้รับโอกาสในการเข้ารับบริการทางการศึกษาอย่าง
ทั่วถงึ มีคณุ ภาพและเสมอภาค

1.2 สร้างความเข้มแข็งของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบส่งเสริมความประพฤติ
นักเรียนระบบคมุ้ ครองนกั เรียน และการสร้างภูมิคุม้ กนั ทางสงั คม

2. ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา
2.1 ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในการจัดการศึกษาที่เหมาะสม สำหรับเด็กด้อยโอกาส ที่
ไม่อยู่ในทะเบียนราษฎร เช่น เด็กไร้สัญชาติเด็กพลัดถ่ิน เด็กต่างด้าว เด็กไทยที่ไม่มีเลขประจ าตัว
ประชาชน เป็นต้น
2.2 ส่งเสรมิ สนบั สนุนการใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั การศกึ ษาใหค้ รอบคลุมสถานศกึ ษาทกุ แหง่
เช่น การพัฒนาคุณภาพศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning information
technology :DLIT) , การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(Distance LearningTelevision : DLTV) ฯลฯ

กลยุทธท์ ่ี 5 จดั การศกึ ษำเพือ่ เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อม
1. จดั การศึกษาเพือ่ สร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ิต
1.1 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสร้างจติ สำนึกรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และน้อมน า

แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิในการด าเนนิ ชวี ติ
1.2 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้แหล่งเรียนรู้และ

ส่อื การเรียนรตู้ า่ งๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกับการสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม
1.3 สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื กับภาคส่วนต่างๆ ในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและ

สิง่ แวดลอ้ ม
กลยทุ ธ์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจดั กำรและสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มในกำรจดั การศึกษา

1. พฒั นาระบบบริหารจัดการให้มปี ระสทิ ธิภำพ
1.1 พัฒนาระบบการวางแผนการนำแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั กิ ารกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผล เพอ่ื การบรหิ ารจดั การท่มี ีประสิทธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
1.2 พฒั นาระบบงบประมาณและการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยเพ่อื การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
1.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพอื่ การจดั การศึกษา ท่ีมมี าตรฐานเชอ่ื มโยงและเขา้ ถงึ ได้
1.4 สรา้ งความเขม้ แข็ง และยกระดับคณุ ภาพสถานศกึ ษาตามบริบทของพ้นื ท่ี เชน่ โรงเรียน
ประชารฐั (ดใี กล้บ้าน) , โรงเรียนคณุ ธรรม, โรงเรียนห้องเรียนกฬี า, โรงเรยี นมาตรฐานสากล ฯลฯ
1.5 สง่ เสรมิ ระบบประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาใหเ้ ขม้ แข็ง
1.6 ยกย่องเชดิ ชูเกียรตสิ ถานศกึ ษา บุคคลและองค์คณะบุคคล ท่ีมีผลงานเชิงประจักษ์
2. สร้างความเขม้ แข็งในการบริหารจัดการแบบมีสว่ นร่วม
2.1 สง่ เสริมการบริหารจดั การเขตพื้นท่ีการศกึ ษา กล่มุ เครอื ขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
สถานศึกษาโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน (Area-base anagement), รูปแบบการบริหารแบบกระจายอ านาจ
“CLUSTERs”เป็นต้น

๘๓

2.3 เขตพื้นที่การศึกษาจัดทาแผนบูรณาการจัดการศึกษาร่วมกับสานักงานศึกษาธิการ
จังหวดั และสานกั งานศกึ ษาธิการภาค

2.3 สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น เครือข่าย
ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา

2.4 ส่งเสริมและพัฒนาโรงเรียนดว้ ยพลงั ประชารัฐอย่างตอ่ เนอ่ื ง และยั่งยืน
3. สง่ เสรมิ กำรมสี ว่ นร่วมพฒั นำคณุ ภำพผูเ้ รยี น
3.1 ส่งเสริม สนับสนุนผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ
สร้างความตระหนักในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การก ากับดูแล ตลอดจนการส่วนร่วมรับผิดชอบ
ในการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
3.2 ประสานสถาบันหรอื หนว่ ยงานทางการศกึ ษาใหค้ ัดเลอื กผ้เู รยี นเข้าศึกษาต่อดว้ ยวิธกี ารที่
หลากหลาย

กลยทุ ธ์การพฒั นาโรงเรียนบา้ นเพยี มาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)
กลยุทธท์ ่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน
กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเป็นคนดี มคี ุณธรรม
กลยุทธ์ที่ 3 พฒั นาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการองคก์ ร

กลยุทธท์ ี่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน
1 โครงการสง่ เสริมสุขภาวะทด่ี ีและสนุ ทรียภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามยั นกั เรียน
2 โครงการสง่ เสริมสุขภาวะทด่ี แี ละสนุ ทรยี ภาพ กจิ กรรมสง่ เสรมิ กฬี า/นนั ทนาการ กีฬาภายใน กฬี ากลมุ่

กีฬาเขตพ้ืนท่ีฯ
3 โครงการส่งเสริมพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีความ สามารถในการคิดอย่างเปน็ ระบบคดิ สร้างสรรค์ กิจกรรมสง่ เสริมความ

เปน็ เลิศทางวชิ าการ งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น
4 โครงการสง่ เสริมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นมีความรแู้ ละทกั ษะทีจ่ ำเป็นตามหลกั สตู ร กจิ กรรมจัดซื้อจัดหาส่ือวัสดุ

การศกึ ษา
กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม
5 โครงการส่งเสริมพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ โรงเรยี นดีประจำตำบล

กจิ กรรมวนั สำคญั ตามโครงการ
กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
6 โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเพ่อื เสรมิ สร้างศกั ยภาพขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
7 โครงการกจิ กรรมแสดงมุฑติ าจติ
กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารจัดการองค์กร
8 โครงการพัฒนาส่งเสริมการบรหิ ารงานสาธารณปู โภค นำ้ ประปา ไฟฟา้ โทรศพั ท์ อนิ เตอร์เนท
9 โครงการพฒั นาสง่ เสริมการบรหิ ารงานวสั ดุสำนกั งาน

๘๔

10 โครงการพัฒนาสง่ เสริมการบรหิ ารงานวสั ดุน้ำมัน เชอื้ เพลิง
11 โครงการพัฒนาส่งเสรมิ การบริหารงานจดั ทำปา้ ยกิจกรรมต่าง ๆ
12 โครงการสร้างความสัมพันธ์กิจกรรมประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
13 โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาโรงเรียนทั้งระบบกจิ กรรมตามนโยบาย จุดเนน้ แนวทางการปฏิรปู การศึกษา

กิจกรรมปรบั ปรุงซอ่ มแซม DLTV ห้องคอมพวิ เตอร์ งานพัสดุ ปรบั ปรุงซ่อมแซมสถานท่ี
จดุ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพียมาต(รัฐราษฎรพ์ ทยาคาร)

1.นักเรยี นระดบั ปฐมวยั ทกุ คนได้รบั การพัฒนาใหม้ ีความพร้อมทุกด้านตามหลักสตู ร
2.นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-3 ทกุ คน อ่านออก เขียนได้ และมีลายมอื สวย
3.นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 ทุกคน อ่านคล่อง เขียนคล่อง และมลี ายมอื สวย
4.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบคะแนนความสามารถพื้นฐานระดับชาติ
(NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)
เพิม่ ข้ึนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 3
5.นักเรียนทุกคนได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีทักษะทางคณิตศาสตร์ (บวก ลบ คูณ หาร)
ตามช่วงวยั
6.โรงเรยี น สง่ เสรมิ สนับสนุนการพฒั นาศักยภาพนกั เรยี นให้มที กั ษะวิชาการและทกั ษะวชิ าชพี
7.นักเรียนทุกคนไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร
8.โรงเรียน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติ
จริง (Active Learning) ในการเพื่อพัฒนากระบวนการคิดและการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อสร้าง
มูลคา่ เพ่ิมสอดคลอ้ งกับ ประเทศไทย 4.0
9.โรงเรยี น สง่ เสริม สนับสนนุ ให้นกั เรยี นทกุ คนใช้เทคโนโลยีในการสบื คน้ ขอ้ มลู เพอื่ การเรียนรู้
10.นักเรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการ
พฒั นา คุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรกำหนด

๘๕

เปา้ หมายและตัวชวี้ ดั ความสำเร็จตามจุดเนน้ การพฒั นา

จุดเน้น ป้าหมายตวั ชวี ดั เป้าหมายความสำเร็จ หมาย
2563 2564 2565 2566 เหตุ

1.นักเรียนระดับปฐมวัยทุก รอ้ ยละของนักเรียนระดบั 100 100 100 100

คนไดร้ บั การพัฒนาใหม้ ีความ ปฐมวยั ทกุ คนไดร้ ับการ

พรอ้ มทุกดา้ นตามหลักสูตร พัฒนาใหม้ ีความพร้อมทกุ

ด้านตามหลกั สตู ร

2.นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี รอ้ ยละของนักเรียนชนั้ 85 90 95 100

ที่ 1-3 ทุกคน อ่านออก เขยี น ประถมศึกษาปที ี่ 1-3 ทกุ

ได้ และมีลายมือสวย คน อ่านออก เขยี นได้ และมี

ลายมอื สวย

3.นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปี ร้อยละของนักเรียนช้ัน 85 90 95 100

ที่ 4-6 ทกุ คน อ่านคลอ่ ง ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6 ทกุ

เขียนคลอ่ ง และมลี ายมือสวย คน อ่านคลอ่ ง เขยี นคล่อง

และมีลายมือสวย

4. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ร้อยละของนักเรยี นชั้น 85 90 95 100

ที่ 3 มีผลการทดสอบคะแนน ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มีผล

ความสามารถพนื้ ฐาน การทดสอบคะแนน

ระดบั ชาติ (NT) นกั เรยี นชนั้ ความสามารถพน้ื ฐาน

ประถมศกึ ษาปีที่ 6 และชนั้ ระดบั ชาติ (NT) นักเรยี นช้นั

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีผลการ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 และชนั้

ทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มีผลการ

เพ่ิมขึ้นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 3 ทดสอบระดับชาติ (O-NET)

เพ่มิ ขน้ึ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 3

๘๖

จดุ เนน้ ปา้ หมายตวั ชวี ดั เป้าหมายความสำเร็จ หมาย
2563 2564 2565 2566 เหตุ
5.นกั เรยี นทุกคนได้รับการ รอ้ ยละของนกั เรียนทกุ คน
ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหม้ ีทักษะ ได้รบั การส่งเสริม สนับสนุน 85 90 95 100
ทางคณิตศาสตร์ (บวก ลบ ให้มที กั ษะทางคณติ ศาสตร์
คณู หาร) ตามชว่ งวยั (บวก ลบ คูณ หาร) ตาม 85 90 95 100
ชว่ งวยั
6.โรงเรียน ส่งเสรมิ สนบั สนุน รอ้ ยละของนกั เรยี นมที ักษะ 85 90 95 100
การพัฒนาศกั ยภาพนกั เรียน วชิ าการและทกั ษะวชิ าชพี
ใหม้ ีทักษะวิชาการและทกั ษะ 100 100 100 100
วิชาชีพ ร้อยละของนกั เรยี นไดร้ บั
7.นักเรยี นทุกคนไดร้ บั การ การพัฒนาใหม้ ที กั ษะในการ
พัฒนาให้มีทักษะในการใช้ ใชภ้ าษาองั กฤษเพ่อื การ
ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร สื่อสาร
รอ้ ยละของนกั เรยี นใช้
9.โรงเรียนสง่ เสริม สนบั สนุน เทคโนโลยีในการสบื ค้น
ให้นกั เรียนทกุ คนใช้เทคโนโลยี ข้อมลู เพื่อการเรยี นรู้
ในการสืบค้นข้อมูลเพ่ือการ
เรียนรู้

๘๗

จุดเน้น ปา้ หมายตวั ชีว้ ดั เปา้ หมายความสำเรจ็ หมาย
2563 2564 2565 2566 เหตุ
10.นักเรยี นทกุ คนไดร้ บั ร้อยละของนักเรยี นได้รับ
การสนบั สนนุ การจัด การสนบั สนนุ การจดั 100 100 100 100
กจิ กรรมท้ังในและนอก กิจกรรมทัง้ ในและนอก
หอ้ งเรยี นทเ่ี ออ้ื ต่อการ ห้องเรียนท่ีเออื้ ตอ่ การ
พฒั นา คุณธรรมจรยิ ธรรม พฒั นา คุณธรรมจรยิ ธรรม
และคณุ ลกั ษณะอนั พึง และคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามหลักสตู ร ประสงค์ตามหลักสตู ร
กำหนด กำหนด

การบรหิ ารแผนสู่ความสำเรจ็

การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) พ.ศ.

2563 -2566 ฉบับน้ีเป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติงานเพ่ือส่งมอบผลผลิต การให้บริการการศึกษาท่ี

เช่ือมโยงสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ เป้าหมายและจุดเน้นของสา

นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน อันจะไปนำสู่การปฏิบัติในแผนปฏิบัติการประจำปี

การศึกษา พ.ศ. 2563 - 2566 โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) จึงได้กำหนด

ปจั จยั ความสำเรจ็ และกระบวนการนำแผนสู่การปฏบิ ัตดิ ังน้ี

การจัดสรรทรัพยากรเพื่อการขับเคลื่อนแผนโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ได้

กำหนดแนวทางการจัดสรรงบประมาณเพ่ือขับเคล่ือนการดำเนินงานตามภารกิจหลักในการจัด

การศึกษา สอดรับกับนโยบาย เป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ และจุดเน้นของโรงเรียนเรียนบ้านเพีย

มาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร) ดังนั้น งบดำเนินงานเพ่ือบริหารจัดการภายในโรงเรียนบ้านเพียมาต(รัฐ

ราษฎร์พิทยาคาร) ได้ดำเนินการประชุมคณะทำงาน เพ่ือพิจารณากำหนดแนวทางการใช้จ่าย

งบประมาณในการดำเนินงาน ตามความสำคัญและ ความจำเป็นของการพัฒนาตามภารกิจแต่

ละกลุ่มงาน ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีการศึกษา 2563 – 25666 ท้ังน้ี เพื่อให้เกิดประสิทธิผล

ของการบรหิ ารและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาใหบ้ รรลุเป้าหมายตามจดุ เนน้

ปัจจยั ความสำเรจ็

1. ปรับวัฒนธรรมองค์กรท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงานและการท างานแบบมีส่วนร่วมท่ีเอื้อ

ต่อการพัฒนา ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์การปฏิบัติงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ี

กำหนดไว้ในจดุ เนน้ การพฒั นา สร้างและพฒั นาให้เปน็ บุคลากรมจี ติ บริการทด่ี ี

2. ส่งเสริมการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและ

ใช้วงจรการพฒั นา PDCA ตอ่ เนื่อง

3 .เชื่อมโยงความสำเรจ็ ของการปฏิบัติงานกับการบรหิ ารงานบุคคล

4. บริหารจัดการโดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการระดมความคิดในการพัฒนา

เพ่อื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาอยา่ งจรงิ จัง โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

๘๘

กระบวนการนำแผนสกู่ ารปฏบิ ัติ
1. ส่ือสารทิศทางองค์กรท้ังวิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าประสงค์นโยบาย เป้าหมาย ตัวช้ีวัด

ความสำเรจ็ และกลยทุ ธจ์ ดุ เนน้ ของหน่วยงานให้บคุ ลากรทุกระดบั รบั รแู้ ละเขา้ ใจตรงกันอยา่ งทว่ั ถึง
2. บริหารจัดการโดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมในการก าหนดแนวทาง

การ พฒั นาการศึกษาของโรงเรยี น ให้มีประสิทธิผลสูงข้ึน
3. จัดโครงสร้าง กระบวนการทำงาน และมอบหมายผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานทั้งเจ้าภาพหลัก

เจา้ ภาพรองและผู้สนับสนนุ โดยมีการกำหนดบทบาทความรบั ผดิ ชอบที่ชดั เจน
4. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และเป้าหมายตามนโยบายเพื่อกำหนดตัวช้ีวัดความสำเร็จที่ชัดเจน

และ จัดทำ แผนปฏบิ ัติการ ให้บรรลตุ ามเป้าหมายท่ตี ัง้ ไว้
5. ดำเนินงาน กิจกรรม ตามแผนที่ก าหนดไว้โดยการบริหารงบประมาณมีการตรวจสอบและ

ถ่วงดุล จากกลุ่มงานท่ีเกี่ยวข้อง กลุ่มการเงินและสินทรัพย์ เบิกจ่ายงบประมาณ ทั้งน้ีโรงเรียน
บ้านเพียมาต(รัฐราษฎร์พิทยาคาร)ได้กำหนดมาตรการประหยัดค่าใช้จ่ายเพ่ือเป็นแนวทางการเบิกจ่าย
งบประมาณในทศิ ทางเดยี วกนั

6. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อให้การนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
โดยติดตามตามความก้าวหน้าประจ าปีการประเมินผลระยะครึ่งปีและการประเมินผลเมื่อส้ินสุด
ปงี บประมาณ

7. สรา้ งกลไกการขับเคลอ่ื นและตรวจสอบสาธารณะ โดยรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานประจำปี สู่
สาธารณชนและหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง

บทท่ี 3
แนวทางการดำเนินการบูรณาการพัฒนาการศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต
(รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต 2

การพัฒนารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพ่ือพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษเขต 2 โดยการขับเคลื่อนของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้ดำเนินการ 3 ระยะ มี
รายละเอยี ด ดงั นี้

ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎร์
พิทยาคาร) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2 (ตามวัตถุประสงค์การวิจัย
ข้อ 1)

ระยะที่ 2 การสร้าง พัฒนา และทดลองใช้ รูปแบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL
MODEL เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน ระดบั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา โดยการ
ขับเคลื่อนของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 (ตามวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย ข้อ ๒)

ระยะที่ 3 การพฒั นาและการใช้ รปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพือ่
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน ระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา โดยการขบั เคลอื่ นของ
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 (ตามวัตถุประสงคก์ ารวิจัย ขอ้ ๓)

ระยะท่ี 4 การนำเสนอรูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอ่ื พฒั นา
คุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน ระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา โดยการขบั เคลอื่ นของ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 (ตามวัตถุประสงค์การวิจยั ข้อ ๔)

๓.๑ กลุม่ เป้าหมาย
กลมุ่ เปา้ หมาย ในการใช้รูปแบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอ่ื

พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา โดยการขบั เคล่ือน
ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 ปกี ารศึกษา 2564 คือ โรงเรียนบ้านเพียมาต (รัฐราษฎรพ์ ิทยาคาร)

๙๐

๓.๒ เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
ผูว้ ิจัยได้สร้างเครอ่ื งมือในการวจิ ัย ดังน้ี
1. แบบสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ ผเู้ ช่ยี วชาญเกย่ี วกบั สภาพปัจจุบนั และความตอ้ งการในการ

พฒั นารปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี น
บ้านเพียมาต (รัฐราษฎรพ์ ทิ ยาคาร) สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

2. แบบประเมนิ รา่ งรปู แบบรปู แบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOALS MODEL เพอื่
พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นเพียมาต (รัฐราษฎร์พทิ ยาคาร) สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษเขต 2

3. แบบประเมนิ รปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOALS MODEL เพอ่ื พัฒนา
คุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา้ นเพยี มาต (รัฐราษฎร์พิทยาคาร) สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต 2โดยการขบั เคลอ่ื นของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนเิ ทศการศึกษา สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2

๓.๓ การสร้างและหาคณุ ภาพของเครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั

๓.๓.1. รูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอื่ พัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชนโดยการขบั เคล่อื นของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ของสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2

คณะวจิ ยั ไดด้ ำเนินการสรา้ งและพฒั นารูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS
GOAL MODEL เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชนโดยการขับเคลอื่ นของ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา ระดับเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ของ
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 โดยไดด้ ำเนินการดงั นี้

๓.๓.1.1 ศกึ ษาสภาพปญั หา ความต้องการรับการพัฒนา หลกั การแนวคดิ ที่
เกย่ี วข้อง

1) ศึกษาแนวทางการบูรณาการการศึกษา
๒) ศึกษาแนวคดิ การจัดการโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน
3) นโยบายการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการของจังหวดั ของ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
4) นโยบายการขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษาของเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน “สพฐ. วถิ คี ณุ ภาพ”
5) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580)
6) บรบิ ทของจงั หวัดศรสี ะเกษ
7) บรบิ ทสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะแกษเขต 2
7) บทบาทอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษา

๙๑

๓.๓.1.2 สรา้ งรูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพ่ือพฒั นา
คุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา โดยการขับเคลือ่ นของ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

1) นำรูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพฒั นา
คุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยการขบั เคลอ่ื นของ
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ให้ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบ

๒) แก้ไข ปรบั ปรุงรปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL
เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา โดยการขับเคลอ่ื น
ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 ตามที่ผเู้ ช่ียวชาญเสนอแนะ

๓.๓.1.๓ การทลองใช้รปู แบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL
เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา โดยการขบั เคลือ่ น
ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 ไปทดลองใช้ครัง้ ท่ี ๑

๑) นำรปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน ระดับเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา โดยการขับเคลอื่ นของ
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ไปทดลองใชค้ ร้ังท่ี ๑ ในภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๒) ศึกษาผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และปรบั ปรุง พัฒนา
รูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพ
ของชุมชน ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา โดยการขบั เคล่อื นของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 นำไปใช้
ครง้ั ที่ ๒

๓) นำรูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพือ่ พฒั นา
คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน ระดบั เขตพื้นที่การศึกษา โดยการขบั เคลอ่ื นของ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ท่ไี ด้พัฒนา ปรับปรุง มาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี น
คุณภาพของชุมชน ครัง้ ที่ ๒ ในภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๔) ศกึ ษาผลการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และปรบั ปรุง พฒั นา
รูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นคุณภาพ
ของชุมชน ระดบั เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา โดยการขบั เคลอ่ื นของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1

๙๒

๓.๓.๑.๔ นำเสนอรปู แบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพือ่
พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ระดับเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา โดยการขับเคลื่อนของ
คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2

๑) ประชุมผู้ทรงคุณวฒุ ิ เพอื่ ปรบั ปรงุ รูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS

GOAL MODEL เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
โดยการขับเคลอื่ นของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา สำนกั งาน
เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

๒) แก้ไข ปรับปรงุ พฒั นา ตามทีผ่ ู้ทรงคุณวุฒิเสนอแนะ

๓) จัดทำรายงาน

3.3.2 แบบประเมนิ คุณภาพตามเป้าหมายตา่ งๆ ดำเนินการตามตวั ชวี้ ัดดงั น้ี

SMART STUDENT (เปา้ หมายด้านนักเรยี น)

S : Sustainability : เป็นคนดี มคี ุณธรรม

M : Mathematics : เลศิ ล้ำคดิ เลขเป็น

A : Academic : เดน่ ดา้ นวชิ าการ

R : Reading : คิด อา่ น เขยี น กา้ วหนา้

T : Technology : นำพาเทคโนโลยี

S : shows & share : มีเวทแี ลกเปลี่ยนเพ่มิ สมรรถนะ

S : Skill : ทกั ษะชวี ิตในศตวรรษท่ี 21

K : Kindergarten : ความสำเรจ็ ปฐมวยั

2 : Second Language : ใส่ใจในภาษาท่ี 2 (ภาษาอังกฤษ)

๙๓

SMART TEACHER (เป้าหมายดา้ นคร)ู

S : Skills : มที กั ษะและเทคนคิ ในการจดั การเรียนรู้

M : Mind : มีจิตวิญญาณ ความเป็นครู

A : Assessment : มกี ารวดั และประเมนิ ผลอย่างเหมาะสมและ

หลากหลาย

R : Research : มีการวิจยั ในชัน้ เรยี น

T : Technology : ใช้สื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้

SMART DIRECTOR (เป้าหมายดา้ นผบู้ รหิ ารโรงเรียน)

S : Supervision : มกี ารนเิ ทศภายในอยา่ งเป็นระบบและมีคุณภาพ

M : Management : มีระบบการบริหารจัดการภายในโรงเรยี น

มรี ะบบประกนั คณุ ภาภายในสถานศึกษา

A : Academic : เป็นผ้นู ำทางวิชาการ

R : Research : ใชก้ ารวิจัยเป็นฐานในการบรหิ ารโรงเรียน

สง่ เสริมครูทำวจิ ัยในช้นั เรยี น

T : Teamwork : การทำงานเป็นทมี

SMART SCHOOL (เป้าหมายด้านโรงเรยี น)

S : Strategy : มแี ผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา

M : Management : มีระบบการบรหิ ารจัดการ และระบบการเรียน

การสอนทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ

A : Assurance : มีระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

ท่ีมีคุณภาพ

R : Research & Development : มกี ารวิจยั และพฒั นา

T : Teamwork : มกี ารทำงานเป็นทมี

SMART TEAM (เป้าหมายด้านกรรมการสถานศกึ ษาและชุมชน)

S : Service : มจี ิตบริการและชว่ ยเหลือสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี

M : Management : มรี ะบบการบริหารจดั การที่มาจากหลายฝ่าย ได้แก่
กรรมการสถานศกึ ษา ผู้นำชมุ ชน
และผ้ปู กครองนักเรียน

A : Ask for cooperation : ให้ความรว่ มมอื กับทางโรงเรยี นเปน็ อยา่ งดี
ที่ร้องขอ

R : Responsibility : มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและส่วนรวม

T : Teamwork : การทำงานเปน็ ทมี

๙๔

๓.๔ การดำเนนิ การพัฒนาและวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

หลงั จากสรา้ งและรูปแบบบรู ณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอ่ื พฒั นา
คุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชนโดยการขบั เคลื่อนของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา เครอื่ งมือประเมินในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ได้นำ
กระบวนการบรหิ ารโดยรูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพอื่ พัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชนโดยการขับเคล่อื นของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา ไปใชใ้ นการพัฒนาโรงเรียน โดยไดด้ ำเนินการและ เก็บรวบรวม
ขอ้ มลู ดงั นี้

๓.๔.1 แตง่ ต้งั คณะกรรมการวจิ ัย รปู แบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL
เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน ระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา โดยการขับเคลอื่ น
ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ประกอบดว้ ย ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ
เขต 2 ผ้อู ำนวยการกลุ่มนิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา ผ้อู ำนวยการกลุ่มทุกกลมุ่
ศึกษานเิ ทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน ครผู ู้สอน มีหนา้ ทด่ี ำเนินการอบรม พัฒนา นิเทศ ติดตาม
ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามโครงการวจิ ยั

๓.๔.2 ประชมุ ชีแ้ จงผบู้ ริหารโรงเรียน ครู เพอ่ื ทำความเข้าใจและรว่ มวางแผนในการ
ดำเนนิ งานตามโครงการวิจยั ก่อนดำเนนิ การเกบ็ ข้อมลู ในโรงเรียนและผบู้ รหิ ารโรงเรียนนำไปชีแ้ จง
กับครูผู้สอน

๓.๔.3 คณะวิจัยชแี้ จงทำความเข้าใจกับผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ศึกษานเิ ทศก์ ครูผู้สอนใน
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คณะวจิ ยั เกบ็ รวบรวมข้อมูลการดำเนนิ งานของโรงเรียนที่โรงเรยี น
ก่อนดำเนินงานตามแผนการวิจยั

๓.๔.4 ดำเนนิ การเก็บข้อมลู ก่อนนเิ ทศและใชร้ ปู แบบบรู ณาการ 5 SUCCESS
GOAL MODEL เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา
โดยการขับเคลอ่ื นของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา สำนักงาน
เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 1 ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

๓.๔.5 นิเทศ ตดิ ตาม การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยใชร้ ปู แบบบูรณาการ 5
SUCCESS GOAL MODEL เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ระดับเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษา โดยการขับเคลอ่ื นของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 2 โดยใชเ้ ทคนิคการประชุมแบบมสี ่วนรว่ ม
อยา่ งสรา้ งสรรคท์ เ่ี กดิ จากการระดมสมองทำให้เกดิ ความเข้าใจสภาพปญั หา ขีดจำกดั ความตอ้ งการ
และศกั ยภาพของผ้ทู ี่เกย่ี วขอ้ งในเรอ่ื งตา่ งๆ ผู้เขา้ รว่ มประชมุ ประกอบดว้ ยผบู้ ริหารโรงเรยี น
ครูผ้สู อนทกุ คน ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ตวั แทนผปู้ กครอง ไดร้ ่วมกันวิเคราะห์ สะท้อน
ภาพทีเ่ ป็นจริงของสถานศึกษา ร่วมกำหนดเป้าหมายและวางแผนพัฒนารว่ มกนั และมีผวู้ จิ ัยและ

๙๕

ศกึ ษานิเทศก์รว่ มประชมุ โดยมกี จิ กรรมตามใบงานในการปฏบิ ตั ิการทีเ่ น้นกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ผู้เขา้ อบรม

๓.๔.6 นเิ ทศ ตดิ ตาม การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โดยใชร้ ูปแบบบูรณาการ 5
SUCCESS GOAL MODEL เพอื่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน ระดบั เขตพื้นที่
การศกึ ษา โดยการขับเคลือ่ นของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 2 เป็นระยะๆ เพ่ือนเิ ทศ และพฒั นา
คุณภาพการศึกษา

๓.๔.7 ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู หลงั การพัฒนาโดยใช้ รูปแบบบรู ณาการ 5
SUCCESS GOAL MODEL เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน ระดบั เขต
พืน้ ทก่ี ารศกึ ษา โดยการขบั เคลือ่ นของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศ
การศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

๓.๔.8 นำขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ไปวิเคราะห์ผลของการพัฒนาโดยใช้รูปแบบบรู ณาการ 5
SUCCESS GOAL MODEL เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน ระดบั เขต
พืน้ ท่ีการศกึ ษา โดยการขบั เคลื่อนของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศ
การศกึ ษา สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2

๓.๔.๙ ปรับปรุง พัฒนา รูปแบบบูรณาการ 5 SUCCESS GOAL MODEL เพือ่
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ระดบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษา โดยการขับเคลื่อน
ของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 เป็นระยะอยา่ งตอ่ เน่อื ง
๓.๕ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล

ผู้วิจัยดำเนนิ การวิเคราะหข์ ้อมลู โรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน ระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
การศกึ ษา ของสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 โดยการบรรยายเชิง
คุณภาพ กลมุ่ เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ สร้างรปู แบบโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชนในสงั กัดสำนักงานเขต
พื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 จำนวน 1 โรงเรียน เปา้ หมาย เชิงคุณภาพ โรงเรยี น
ระดับประถมศึกษา ในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต 2 จำนวน 1
รูปแบบ คือ โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน ไดร้ ับการพัฒนาและยกระดบั คุณภาพ ใหส้ ูงข้ึนอยา่ งรอบ
ด้านเปน็ ทย่ี อมรบั ของชมุ ชนและสงั คม ระยะเวลาปกี ารศกึ ษา 2564 เก็บข้อมูลจากผ้บู ริหารโรงเรียน
ครูผู้สอนทกุ คนรวม ๙ คน ผู้ปกครองนกั เรยี น 9 คน นกั เรยี น 9 คน ผ้นู ำองคก์ รปกครองสว่ น
ทอ้ งถ่นิ 3 คน คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษาของเขตพืน้ ที่ก
การศกึ ษา 9 คน เครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมลู ไดแ้ ก่ 1)แบบสัมภาษณ์ผูบ้ ริหาร ๒)แบบสัมภาษณผ์ ู้นำ
ชุมชน 3)แบบสัมภาษณผ์ ปู้ กครองนักเรียน ๔)แบบสมั ภาษณน์ ักเรียน 5)แบบสัมภาษณผ์ ู้นำองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ 6)แบบสมั ภาษณค์ ณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศ
การศึกษาของเขตพนื้ ทกี่ การศกึ ษา


Click to View FlipBook Version