The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสำหรับ-อสพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสำหรับ-อสพ

คู่มือสำหรับ-อสพ

กรมการพฒั นาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย

คู่มือ

อาสาพัฒนา
(อสพ.) รนุ่ ท่ี 71

พัฒนา คือ สร้างสรรค์

สานกั เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งชมุ ชน

กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

ทม่ี า : ภาพหนา้ ปก

คํานาํ

กรมการพัฒนาชุมชน ไดดําเนินโครงการอาสาพัฒนา (อสพ.) รุนท่ี 71
โดยรับสมัครบณั ฑติ ท่ีจบการศึกษาปรญิ ญาตรี จากทุกสาขา มีใจอาสาสมคั ร สมคั รเขามา
ปฏิบัติหนาท่ีเปนอาสาพัฒนา (อสพ.) รุนที่ 71 ซ่ึงหลังจากผานการฝกอบรมหลักสูตร
การฝก อบรมกอนปฏิบตั ิงานแลว จะไดร ับการแตงต้ังไปปฏิบัติงานในพ้ืนที่ตําบล หมูบาน
เปนเวลา 1 ป ต้งั แต วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2562 ถงึ วันที่ 30 กันยายน 2563

คูมืออาสาพัฒนา อสพ. รุนที่ 71 จัดทําขึ้นเพ่ือใชเปนแนวทางสําหรับ
การปฏิบัติงานในพื้นท่ีของ อสพ. จึงหวังวาแนวทางเลมนี้ จะเอื้ออํานวยทุกทาน
ทีเ่ กี่ยวของใหส ามารถดําเนนิ การเปน ไปดว ยความเรยี บรอยและมีประสทิ ธภิ าพ

สารบญั หนา

เรอื่ ง 1
หมวดที่ 1 คา นยิ มและอดุ มการณอาสาพฒั นา 2
3
อํานาจหนา ทกี่ รมการพัฒนาชมุ ชน 4
โครงสรางกรมการพฒั นาชุมชน 5
LOGO กรมการพัฒนาชมุ ชน 6
ปรัชญาและหลักการพัฒนาชมุ ชน 12
กระบวนการพฒั นาชุมชน
หลักการทรงงานในหลวงรัชกาลท่ี 9 19
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยอาสาพฒั นา พ.ศ. 2540 20
หมวดท่ี 2 การเปนอาสาพัฒนาท่ีดี 27
ความหมายของ “อาสาพัฒนา” 29
ความเปน มาของ “อาสาพัฒนา” 30
แนวทางการปฏิบัติงานอาสาพัฒนา 33
วธิ ีการทํางานของอาสาพัฒนา 34
ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ านของอาสาพัฒนา 38
การลาของอาสาพฒั นา 39
การลาออกจากอาสาพัฒนา
การคดิ คา ปรบั กรณีอาสาพัฒนาลาออก 41
แนวทางการเรียกอาสาพัฒนาทดแทนอาสาพฒั นา 42
ทีข่ อลาออก 53
หมวดที่ 3 ความรูค อู าสาพัฒนา
 สาํ นักเสรมิ สรา งความเขม แขง็ ชุมชน 57
การพฒั นาหมูบา นเศรษฐกจิ พอเพียงตนแบบ
โครงการสรา งสัมมาชพี ชุมชนตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจฐานรากและประชารฐั

สารบญั (ต่อ)

เรื่อง หนา

อาสาพฒั นาชุมชน (อช.)และผูน ําอาสาพัฒนาชุมชน (ผูนาํ อช.) 64

ศูนยป ระสานงานองคการชมุ ชน (ศอช.) 66

องคกรสตรี 68

มาตรฐานการพฒั นาชุมชน (มชช.) 70

กระบวนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ 73

การจดั ทําแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพืน้ ที่ 75

 สํานักพฒั นาทุนและองคกรการเงินชมุ ชน 81

กลมุ ออมทรัพยเพอื่ การผลติ 82

ศนู ยจ ัดการกองทุนชมุ ชน 85

โครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) 88

กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี 90

กองทนุ หมบู านและชุมชนเมือง (กทบ.) 92

Mobile Clinic สรางสุขกองทุนชมุ ชน 94

 สาํ นักสงเสรมิ ภมู ปิ ญญาทอ งถนิ่ และวสิ าหกิจชมุ ชน 95

โครงการหนึ่งตําบล หน่ึงผลติ ภัณฑ (OTOP) 96

การเชอ่ื มโยงการจาํ หนา ยสนิ คา OTOP E-Commerce 98

 ศูนยบ รหิ ารจดั การขอ มลู กลางเพอ่ื การพฒั นาชมุ ชน 102

ขอ มูล จปฐ. 103

ขอ มูล กชช.2ค. 104

หมวดท่ี 4 ทกั ษะนักสรา งพลงั ชมุ ชน

งานสารบรรณ หนังสอื ราชการ 105

การจดั การความรู 119

วิทยากรกระบวนการ 123

การจดั เวทปี ระชาคม 125

เทคนคิ การจดั กระบวนการ AIC 126

เทคนิค Mind Map 127

สารบญั (ต่อ) หนา

เรอ่ื ง 128
129
เทคนคิ SWOT 130
การสนทนากลุม 131
การทําแผนทหี่ มูบ า น 132
ผังความสมั พนั ธระหวางองคกร 133
เสน แบง เวลา 134
ปฏทิ ินตามฤดกู าล 135
การวเิ คราะหภาคตัดขวาง 136
การถา ยเททรพั ยากรชีวภาพ 137
เมตรกิ คะแนน 138
แผนผงั ใยแมงมมุ 139
การเตรียมตวั พดู ในท่ีชมุ ชน 142
การพูดในโอกาสตา งๆ 144
การพูดเปน พธิ กี ร และโฆษก
หลักการเขยี นโครงการ 147
ภาคผนวก 158
แบบรายงานอาสาพฒั นา รนุ ที่ 71
คาํ ปณธิ าน และเพลงมารชพฒั นาชมุ ชน

กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

Community Development Department

Ministry of Interior

กรมการพฒั นาชมุ ชน เป็นหน่วยราชการระดับกรมของกระทรวงมหาดไทย และมีภารกิจ
ความรับผิดชอบอํานาจหน้าท่ีตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวง
มหาดไทย พ.ศ. 2552 ใหก้ รมการพฒั นาชุมชน มภี ารกจิ เกีย่ วกบั การส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ และ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความม่ันคงและมี
เสถยี รภาพโดยสนับสนุนใหม้ ีการจัดทําและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
จัดทํายุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้องในการพัฒนาชุมชน
เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแขง็ อย่างย่งั ยนื โดยมีอํานาจหน้าทดี่ งั ต่อไปน้ี

(1) กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชน
ระดบั ชาติ เพือ่ ใหห้ น่วยงานของรฐั เอกชนและผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องด้านการพฒั นาชุมชน ได้ใช้เป็นกรอบ
แนวทาง ในการดาํ เนินงานเพ่ือเสรมิ สรา้ งความสามารถและความเข้มแขง็ ของชมุ ชน

(2) จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือ
สาํ หรับประเมินความกา้ วหนา้ และมาตรฐานการพฒั นาของชุมชน

(3) พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการ
ความรู้ การอาชีพการออม และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพ่ือเสริมสร้างขีดความสามารถ
ของประชาชน ชมุ ชน ผ้นู ําชมุ ชน องค์การชมุ ชน และเครือข่ายองคก์ ารชุมชน

(4) สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้
ประโยชน์และการ ใหบ้ ริการขอ้ มลู สารสนเทศชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่าง
มปี ระสิทธิภาพ

(5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพ่ือใช้ในงานพัฒนา
ชุมชน และการ จดั ทํายทุ ธศาสตร์ชุมชน

(6) ฝึกอบรมและพฒั นาขา้ ราชการ เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง ผู้นําชุมชน องค์การ
ชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้ง
ให้ความรว่ มมอื ทางวิชาการด้านการพัฒนาชมุ ชนแกห่ น่วยงานท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ

(7) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีกฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของกรมหรือ
ตามทกี่ ระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 1

การจดั โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม
ของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุน
ให้มีการจัดทําและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทํายุทธศาสตร์ชุมชน
ตลอดจนฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรท่เี ก่ยี วขอ้ งในการพฒั นาชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
โดยให้มีอํานาจหน้าที่ตามท่ีกําหนดไว้ในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 และให้แบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ดงั ต่อไปนี้

ราชการบริหารส่วนกลาง
(1) สํานักงานเลขานุการกรม
(2) กองการเจ้าหน้าท่ี
(3) กองคลงั
(4) กองแผนงาน
(5) ศนู ย์บรหิ ารจัดการข้อมลู กลางเพือ่ การพฒั นาชุมชน
(6) สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน
(7) สาํ นักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
(8) สํานกั ส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และวิสาหกจิ ชมุ ชน
(9) สาํ นกั เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งชมุ ชน

ราชการบริหารส่วนภูมภิ าค
สาํ นกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั 76 จังหวดั
สาํ นกั งานพัฒนาชมุ ชนอําเภอ 878 อําเภอ

หนว่ ยงานท่ขี ้นึ ตรงต่ออธบิ ดีกรมการพฒั นาชุมชน

(1) กลุ่มตรวจสอบภายใน
(2) กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร
(3) กลมุ่ งานคุม้ ครองจริยธรรมข้าราชการกรมการพฒั นาชมุ ชน

2 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

ความหมายของ LOGO กรมการพฒั นาชมุ ชน

วงกลมภายในเป็นรปู โครงสรา้ งของบา้ นชนบท มีลายกระหนกอยทู่ ี่ด้านซา้ ย
และด้านขวาของรปู บ้าน และมตี วั อกั ษร พช อยู่ใตร้ ปู บ้าน ขอบวงกลม
ลอ้ มรอบวงกลมภายในประกอบดว้ ย 4 ช่วงสี หมายถึง หลักการทาํ งาน 4 ป
กล่าวคอื

หมายถงึ ประชาชน หมายถงึ ประชาธิปไตย

หมายถึง ประสานงาน หมายถงึ ประหยัด

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 3

ปรัชญาและหลกั การพฒั นาชุมชน
(Community Development)

กระบวนการพัฒนาชุมชน เป็นกระบวนให้การศึกษา (educational process)

แก่ประชาชนเพ่ือให้สามารถพ่ึงตนเองได้ (self – reliance) หรือช่วยตนเองได้ (self – help)
ในการคดิ ตัดสินใจและดําเนินการแกป้ ัญหาตลอดจนตอบสนองความต้องการของตนเองและ
สว่ นรวม

พ้ืนฐานเบื้องต้นของนักพัฒนาชุมชน คือ ความเชื่อมั่นและศรัทธาในมนุษยชาติ

ว่ามนุษย์ทุกชีวิตมีคุณค่ามีความหมายมีศักดิ์ศรีมีศักยภาพและสามารถพัฒนาได้ถ้ามี
โอกาส

หลกั การพัฒนาชมุ ชน คอื หลกั ประชาชน กลา่ วคอื
1.เร่ิมต้นที่ประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชนมองโลกมองชีวิตมองปัญหาจาก

ทัศนะของประชาชนเพื่อให้เข้าใจปัญหาความต้องการของประชาชนเพื่อให้เข้าถึงชีวิต
จิตใจของประชาชน

2.ทํางานร่วมกับประชาชน (ไม่ใช่ทํางานให้แก่ประชาชน เพราะจะทําให้เกิด

ความคิดมาทวงบุญทวงคุณจากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทําให้ประชาชนเข้าใจ
ปัญหาของตนเองและมีกําลังใจ ลุกขึ้นต่อสู้กับปัญหาช่วยกันคิดช่วยกันแก้ไขปัญหาน้ัน
ยอ่ มมีหนทางท่จี ะกระทําไดโ้ ดยไมย่ ากหากเขา้ ใจปัญหาและเขา้ ถงึ จิตใจประชาชน

3.ยึดประชาชนเป็นพระเอก ประชาชนต้องเป็นผู้กระทําการพัฒนาด้วยตนเอง

ไมใ่ ช่เปน็ ผู้ถกู กระทําหรือฝ่ายรองรับข้างเดียว เพราะผลของการกระทําการพัฒนาน้ันตก
อยทู่ ีป่ ระชาชนโดยตรง ประชาชนเป็นผรู้ ับโชคหรือเคราะห์จากการพัฒนานั้น

4 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

กระบวนการพฒั นาชุมชน

1. การศึกษาชมุ ชน

5. การติดตาม 2. การให้การศกึ ษา
ประเมนิ ผล ชมุ ชน

4.การดําเนนิ งาน 3. การวางแผนงาน /
ตามแผนงาน โครงการ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 5

23 หลกั การทรงงานของในหลวง รัชกาลทีÉ 9

6 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

23 หลกั การทรงงานของในหลวง รชั กาลที่ 9

ข้อท่ี 1 จะทาํ อะไรต้องศึกษาข้อมลู ใหเ้ ปน็ ระบบ
อดตี ทาํ อะไรมาบา้ ง ทั้งเอกสาร สอบถามเจ้าหน้าทแี่ ละชาวบ้าน เพอื่ นําข้อมูลไปใช้
ประโยชน์ได้จริงๆ เช่นงานยาเสพติด ต้องดขู ้อมลู ใหล้ กึ ซงึ้ ทาํ ไมทาํ งานไม่สําเรจ็ ตอ้ ง
ศึกษาข้อมลู ตา่ ง ๆ ทงั้ การพูดคยุ การดูตวั เลข แตอ่ ย่าใหต้ วั เลขมาหลอกเราได้ ผ้ยู ิ่งใหญ่
เหน็ แต่ภาพสวยหรู แทท้ ่จี ริงเละตุม้ เป๊ะ แมท้ าํ ไม่ได้มีปญั หาตัวเลข ก็สวยหรู เพราะ
มีการคาดโทษ ตอ้ งยอมรบั ความจริงกอ่ น แล้วลงมอื แก้ไข
ข้อท่ี 2 ระเบิดจากภายใน
สร้างความเข้มแข็งจากภายในใหเ้ กิดความเข้าใจ และอยากทาํ มิใชส่ ง่ั ใหท้ าํ คนไม่เขา้ ใจ
จะไมท่ าํ แยกใหอ้ อกระหว่างคุณคา่ กบั มลู คา่ ว่ามีเหตุผลอยา่ งไรจงึ ควรทํา
ขอ้ ท่ี 3 แก้ปัญหาจากจดุ เล็ก
มองภาพรวมกอ่ นเสมอ แตก่ ารแกป้ ัญหาต้องเร่มิ จากจดุ เล็กๆ ไม่เร่มิ ทเี ดียวใหญ่ ๆ และ
ควรมองในสิ่งทม่ี กั จะมองขา้ ม ถ้าปวดหวั คิดอะไรไมอ่ อก ใหค้ ดิ แกป้ วดหวั กอ่ น เป็นคําพูด
ท่ฟี งั ดตู ลก แต่ลกึ ซึง้ คดิ ใหญท่ ําเลก็ คิดกว้างทําแคบ คิดละเอยี ดทาํ หยาบ ลงมอื ทาํ
ในจุดเลก็ ๆ กอ่ น สําเร็จแลว้ จึงคอ่ ยขยาย มิใชส่ ัง่ ทําพร้อมกนั ทวั่ ประเทศ ดดู ี แตล่ งทนุ สูง
ได้ผลนอ้ ย ในทีส่ ดุ ทกุ คนกจ็ ะหมดแรง เพราะมีแตค่ นสง่ั คนทาํ มอี ยไู่ มก่ ค่ี น

ข้อที่ 4 ทําตามลาํ ดับขนั้
เริม่ ทาํ จากความจาํ เป็นก่อน ส่งิ ท่ีขาดคอื ส่งิ ที่จาํ เป็น
เช่น ประชาชนตอ้ งแก้ปัญหาเร่อื งสขุ ภาพกอ่ น
จากนนั้ กไ็ ปแกท้ ส่ี าธารณูปโภค
แล้วต่อด้วยการประกอบอาชพี
ถา้ ทาํ เปน็ ขัน้ เปน็ ตอน ก็จะทําใหส้ าํ เร็จได้ง่าย
เชน่ งานยาเสพตดิ รกั ษา --> สง่ เสริม --> ฟ้นื ฟู -->กลับอยใู่ น สังคมปกติ
เปน็ คนดขี องชาติ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 7

23 หลกั การทรงงานของในหลวง รชั กาลที่ 9

ขอ้ ที่ 5 ภูมิสงั คม ภมู ศิ าสตร์ สังคมศาสตร์
การทํางานทุกอยา่ ง ต้องคํานึงถงึ ภูมศิ าสตรว์ า่ อยู่แถบ ไหน อากาศเปน็ อย่างไร
ตดิ ชายแดน ตดิ ทะเล และสงั คมของเราเป็นอยา่ งไร นบั ถอื ศาสนาอะไร คนนสิ ยั ใจคอเปน็
อย่างไร รวมไปถงึ พวกเรากนั เองดว้ ย ถ้าไม่รู้เขารู้เราจะรบชนะได้อย่างไร สั่งทาํ โครงการ
ท่ัวประเทศไมไ่ ด้ ต้องดูเฉพาะพืน้ ท่ี กระทรวงสาธารณสขุ ออกแบบสถานีอนามยั เหมอื นกัน
ท่ัวประเทศ บางคร้ังก็ไม่ดีนกั
ข้อที่ 6 ทาํ งานแบบองค์รวม
โดยคิดความเชื่อมโยง ทรงมองเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดข้ึนและมีแนวโน้มทางแก้ไขอยา่ งเช่อื มโยง
องค์รวม <-------------> ครบวงจร เชอื่ มโยง “เด็ดดอกไมส้ ะเทือนถงึ ดวงดาว” เป็นคาํ พดู ท่ี
ฟงั แล้วโอเวอร์ไปหนอ่ ย แต่ก็จรงิ ทุกสิ่งลว้ นเก่ยี วพนั กัน แยกออกจากกันโดยเดด็ ขาดมไิ ด้
ขอ้ ที่ 7 ไมต่ ดิ ตํารา
ความรทู้ ว่ มหวั เอาตวั ไมร่ อด บางคร้ังเรายดึ ทฤษฎีจนเกนิ ไปทาํ อะไรไมไ่ ด้เลย ส่ิงท่ีเราทํา
บางครั้งตอ้ งโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม สังคม จติ วิทยาด้วย
ขอ้ ท่ี 8 ประหยัด
เรื่องง่ายไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด ทาํ ได้เอง หาไดเ้ องในทอ้ งถิน่ ใช้เทคโนโลยเี รียบง่าย เช่น
ปลูกปา่ โดยไม่ต้องปลูก ปลอ่ ยให้ขึน้ เอง บางครงั้ มีพธิ กี รรมใหญโ่ ตผู้ยง่ิ ใหญท่ ําพิธปี ลูกปา่
โดยนํารถไถไปไถทีใ่ หเ้ รียบเพือ่ ปลกู ปา่ โดยทําลายตน้ ไมไ้ ปมากมาย น่าตลก เรื่องเช่นนี้
ยังมีในสงั คมไทยมากมาย กรอบแนวคดิ Input ----> Process ----> Output ประหยดั
เรยี บง่าย ประโยชนส์ งู สดุ
ข้อท่ี 9 ทาํ ให้ง่าย
ทาํ อะไรใหง้ ่ายๆ ทําใหช้ วี ติ งา่ ย โปรดรับสง่ั ทาํ สง่ิ ยากๆ ใหก้ ลายเป็นิสง่ ท่ีง่ายๆ นักขา่ วชาว
ฝรั่งเศสถามพระองคว์ า่ พระองค์ทรงงานแบบใด ทา่ นตรัสตอบเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า
“ซิมปลีฟเี ย่” ซงึ่ ภาษาอังกฤษแปลว่า ซิมพลีฟาย (simplify) ภาษาไทยแปลว่า ทาํ ใหง้ ่าย
คนสว่ นใหญช่ วนทาํ สิ่งง่ายๆ ให้เปน็ สง่ิ ยากๆ ผมบอกเจ้าหน้าท่งี านยาเสพติดวา่ ถา้ ใคร
โทรศพั ทม์ าของความชว่ ยเหลอื ใหถ้ ามเขาคําแรกว่า “คณุ จะให้ผมไปหาคุณหรอื คุณจะมา
หาผมเดย๋ี วนี้”

8 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

23 หลักการทรงงานของในหลวง รชั กาลท่ี 9

ขอ้ ที่ 10 การมสี ่วนรว่ ม
เปิดโอกาสใหแ้ สดงความคดิ เหน็ หัดทําใจให้หนกั แน่น รบั ฟังความคิดเห็นการรับฟงั คือ
การเกบ็ ความคิด เราจะประมวลความคิดเพอ่ื มาใช้ประโยชน์

ขอ้ 11 ต้องยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวม
จากพระราชดํารัส ใครตอ่ ใครชอบบอกใหน้ ึกถึงประโยชนส์ ่วนรวม ให้ส่วนรวมคอื การช่วย
ตัวเองด้วย เพราะเม่ือส่วนรวมได้ประโยชนเ์ ราเองก็ได้ประโยชน์ การช่วยกันแก้ปญั หา
ยาเสพตดิ ส่วนรวมไดป้ ระโยชนล์ กู หลานเรากป็ ลอดภยั จากยาเสพตดิ ดว้ ยประเทศชาติ
อยไู่ มไ่ ด้ อยา่ หวงั เลยว่าเราจะอยู่ได้

ข้อท่ี 12 บริการที่จุดเดยี ว
วนั นเ้ี ราพูด วนั สตอ๊ ปเซอร์วสิ แตใ่ นหลวงตรัสไว้เกิน 20 ปี มาแล้ว ศนู ย์ศึกษาพัฒนา
6 แหง่ ทัว่ ประเทศให้บรกิ ารจดุ เดียวมากกว่า 20 ปี ใครทันสมยั กันแน่

ข้อที่ 13 ใช้ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ
มองธรรมชาตใิ ห้ออก กกั นา้ํ ตามลาํ ธารชว่ ยให้ป่าสมบรู ณ์ชว่ ยให้ชาวเขามอี าชีพ เราก็จะ
ลดปัญหายาเสพติดลงไปการชว่ ยดูแลผูต้ ิดยา เขาจะไม่กลบั ไปเสพซํา้ และสามารถกลบั มา
ชว่ ยเราอีกแรง ทาํ ให้ไดแ้ นวร่วมเพม่ิ ขนึ้ อยูแ่ บบสมดลุ ซ่ึงการจะมองปญั หาออกตอ้ งมใี จ
วา่ ง ไม่ลําเอียงต้องมีจติ อนั พิสทุ ธิ์

ข้อที่ 14 ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม
เอาผักตบชวาท่ีเป็นปัญหาของเราในประเทศ มากาํ จัดน้าํ เสยี เอาปัญหามาช่วยขจดั ปัญหา
เอาปญั หายาเสพตดิ มาช่วยพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมของคนไทยกันดกี ว่าแผ่นดนิ ธรรม
แผ่นดนิ ทองควรจะเฟอ่ื งฟูไดแ้ ล้ว
ขอ้ ท่ี 15 ปลูกปา่ ในใจคน
ต้องปลกู ปา่ ท่จี ติ สาํ นึกก่อน ต้องให้เหน็ คุณค่ากอ่ นท่ีจะลงมือทาํ การดูแลปญั หายาเสพตดิ
ถ้าคนทาํ หน้าทีน่ ี้ยังทําเพราะเป็นหน้าที่ งานสําเร็จได้ยาก แต่ถา้ ทาํ ด้วยความดีใจทไ่ี ด้ช่วย
ลูกเขาให้กลบั คืนสูอ่ อ้ มอกพ่อแมไ่ ดเ้ พียงหนง่ึ คน ซึง่ คมุ้ ค่ากว่าได้เงนิ ทองเปน็ ล้าน แสดงว่า
พลงั ตอ่ สกู้ บั ยาเสพติดได้เกิดขึ้นในใจของทา่ นแล้ว จงปลุกสิงโตทองคาํ ในหัวใจให้ตนื่ ข้นึ มา
ให้ได้ก่อน

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 9

23 หลกั การทรงงานของในหลวง รชั กาลที่ 9

ข้อที่ 16 ขาดทนุ คอื กําไร
อยา่ มองทก่ี ําไรขาดทนุ ท่ีเป็นตวั เงนิ มากจนเกินไป บางคร้ังเราไดก้ ําไรจากการขาดทุน
ลงทนุ มหาศาล ไดธ้ รรมชาติกลบั คนื มา
ลงทุนมหาศาล ไดล้ กู คนื มา
ลงทุนมหาศาล ไดค้ นดี ๆ กลับมา
ลงทนุ มหาศาล ไดค้ วามรไู้ ว้คอยช่วยเหลือ
ขอ้ ที่ 17 การพึ่งตนเอง
ในหลวงทรงสอนใหพ้ วกเราพึ่งตนเอง เพราะสงั คมบรโิ ภคจะเปน็ ทาสของผผู้ ลิต การ
พง่ึ ตนเองไดท้ ําให้ไม่ตอ้ งเปน็ ทาสใคร เม่ือแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าแลว้ พยายามพ่งึ ตนเอง
ให้ได้
ข้อท่ี 18 พออยูพ่ อกนิ
พออย่พู อกนิ กอ่ น แลว้ ค่อยพัฒนาเราขอใหบ้ าํ บัดให้ไดก้ ่อน==> ประคับประคอง==>
เป็นทปี่ รกึ ษา==>เปน็ ผ้ชู ว่ ยเหลอื ผอู้ ื่นตอ่ ไป
ข้อที่ 19 เศรษฐกจิ พอเพียง
เปน็ แนวทางการตอ่ สู้ รับมือความเปลย่ี นแปลงของโลก การจัดการกบั ปญั หายาเสพตดิ
ตอ้ งคํานงึ ถงึ เรื่องความพอดีให้ดโี ดยอาศยั หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ข้อท่ี 20 ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ จริงใจตอ่ กัน
คนท่มี คี วามรู้มาก แต่โกง สู้คนทีไ่ ม่เก่ง แตด่ ีไมไ่ ด้ วีรบรุ ุษ วรี สตรี คือคณุ ธรรม ท่ีทาํ
ประโยชน์เพอ่ื ผู้อื่น พวกเราที่ทาํ งานยาเสพตดิ คอื วีรบรุ ษุ วีรสตรีผูห้ น่งึ
ขอ้ ที่ 21 ทาํ งานอยา่ งมคี วามสุข
“ทํางานกบั ฉนั ฉันไม่มอี ะไรจะให้ ฉนั มแี ตค่ วามสขุ ท่ีร่วมกนั ในการทาํ ประโยชนใ์ หก้ ับผอู้ นื่
เท่าน้ัน”ทาํ อะไรตอ้ งมีความสขุ ด้วย เพราะศกึ ครั้งน้ียาวนาน ถา้ เราทาํ อย่างไมม่ ีความสขุ
จะแพ้ แต่ถา้ เรามีความสุขเราจะชนะ เพียงแต่คนทํางานเกย่ี วขอ้ งกับยาเสพติดมคี วามสุข
สนุกกับการทาํ งานเพียงเท่านน้ั ถือว่าเราชนะแล้ว

10
คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

23 หลกั การทรงงานของในหลวง รชั กาลที่ 9

ข้อท่ี 22 ความเพยี ร
กวา่ 60 ปที ี่ทรงงาน ในหลวงไม่เคยทรงทอ้ ถอย ไม่มกี ารลาพกั ร้อนหยุดงานสกั เวลาเดยี ว
ข้อท่ี 23 รู้ รกั สามัคคี
คดิ เพ่ืองาน
รู้ = ตอ้ งรู้ปัจจยั ร้ปู ัญหา รทู้ างออกของปญั หา
รกั = เมอ่ื ร้แู ลว้ ต้องเกิดความอยากในทางท่ีดกี อ่ นคือฉนั ทะเห็นวา่ เป็นประโยชน์ต่อ
ประเทศชาติภูมิใจ อยากทํา
สามคั คี = ลงมอื ปฏิบัติ ตอ้ งรว่ มมอื เพ่ือเกดิ พลงั แยกกันไร้ค่ารวมกันไร้เทยี มทาน คิดเพ่อื
ตวั เราเอง
รู้ = รจู้ กั ทุกคนทงั้ หน้าทก่ี ารงาน ชีวติ ครอบครวั ทําอยา่ งไร จึงจะรูจ้ กั ให้ดีได้ รูจ้ ุดออ่ น
จุดแขง็ โดยเฉพาะผบู้ ังคับบญั ชา
รัก = เนน้ ความดี ใส่ใจกันและกนั มองกนั ในแงด่ ี
สามคั คี = จงึ จะเกิด

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 11

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยอาสาพฒั นา พ.ศ. 2540

12 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยอาสาพัฒนา พ.ศ. 2540

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการปฏิบัติงานของ

อาสาพัฒนา พ.ศ. 2536 และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการปฏิบัติงานของอาสาพัฒนา (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2538 เพือ่ ให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั
อาศัยอํานาจตามความหมายในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ

แผน่ ดนิ พ.ศ. 2534กระทรวงมหาดไทยจงึ ออกระเบยี บไว้ ดังต่อไปนี้
ขอ้ 1 ระเบียบนเี้ รยี กวา่ “ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าดว้ ยอาสาพัฒนา พ.ศ. 2540 ”
ขอ้ 2 ระเบยี บน้ีใหใ้ ช้บังคับต้งั แต่วนั ถัดจากวันประกาศเป็นตน้ ไป
ขอ้ 3 ใหย้ กเลกิ
(1) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการปฏิบัติงานของอาสาพฒั นา พ.ศ. 2536
(2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ดว้ ยการปฏบิ ัติงานของอาสาพัฒนา (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2538 บรรดาระเบยี บข้อบังคับ คาํ สงั่ หรอื ข้อตกลงอน่ื ใดในส่วนทกี่ ําหนดไวแ้ ลว้ ในระเบียบน้ี หรอื
ซ่งึ ขัดหรือแย้งกบั ระเบยี บน้ี ใหใ้ ช้ระเบียบนี้แทน

ข้อ 4 ในระเบยี บนี้
“อาสาพัฒนา” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกและผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร
การฝึกอบรมกอ่ นปฏบิ ตั ิงานอาสาพัฒนา และส่งไปปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายประจําในหมู่บ้าน
ตาํ บล เรียกชื่อยอ่ วา่ “อสพ.”
“ค่าตอบแทน”หมายความว่า เงินที่กําหนดอัตราจ่ายเป็นรายเดือนและกําหนดอัตราจ่าย
ปลายปี เมื่อปฏบิ ตั ิหน้าท่ดี ้วยความเรียบร้อยเป็นผลดี เป็นระยะเวลาหนึ่งปี โดยจ่ายจากเงินงบประมาณ
ตามหลักเกณฑ์ ท่ีกรมการพฒั นาชมุ ชนกาํ หนด
“อธิบดี”หมายความว่า อธิบดีกรมการพฒั นาชมุ ชน
ข้อ 5 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอํานาจออกข้อบังคับ
ข้อปฏิบัติ คําแนะนํา ตีความ วินจิ ฉยั ปัญหาอนั เกดิ จากการปฏบิ ตั ติ ามระเบียบนี้
หมวด 1 การรบั สมัคร การคัดเลอื กและการฝึกอบรม
ข้อ 6 ให้กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพ่ือเข้ารับการฝึกอบรม
และแตง่ ตง้ั เป็น อสพ. ซง่ึ มีคณุ สมบัติ ดังน้ี

(1) มคี ุณสมบัตติ ามคุณสมบตั ิของผมู้ ีสทิ ธเิ ขา้ รับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนโดย
ใหน้ ํากฎหมายวา่ ด้วยระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื นในส่วนท่ีเก่ยี วกบั คณุ สมบตั ขิ ้าราชการพลเรือนสามัญมา
บังคับใช้โดยอนุโลม

(2) ไมเ่ ป็นผู้มีภาระผกู พันในเรื่องการเกณฑ์ทหาร
(3) เป็นผู้ทมี่ ีความสมัครใจท่ีจะอาสาพัฒนากิจกรรมต่างๆ ในชนบทตามระยะเวลาที่
ทางราชการกําหนด
(4) เป็นผู้ที่มีวุฒิการศึกษาไม่ตํ่ากว่าระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาที่
กรมการพัฒนาชมุ ชนกําหนด

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 13

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยอาสาพัฒนา พ.ศ. 2540

ข้อ 7 ให้กรมการพัฒนาชุมชน กําหนดแบบใบสมัคร แบบสัญญาการปฏิบัติหน้าที่แบบ
สญั ญา คาํ้ ประกัน และในการรบั สมคั รใหเ้ รยี กหลักฐานจากผ้สู มัคร ดงั นี้

(1) หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา
(2) ใบรับรองแพทย์ ซึง่ ระบวุ ่าไมเ่ ปน็ โรคทีต่ ้องห้ามตามกฎ ก.พ.
(3) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบ้าน หรือสําเนาสูติบัตร
อย่างหน่ึงอย่างใด โดยเขียนคาํ รับรองว่า สําเนาถูกต้อง และลงลายมือชอื่ กํากบั ไว้
(4) สําเนาหลักฐานอื่นๆ (ถ้ามี) เช่น หนังสือสําคัญการเปลี่ยนช่ือ ช่ือสกุล
ทะเบยี นสมรส จาํ นวน 1 ฉบบั โดยเขียนคํารบั รองว่า สําเนาถูกตอ้ ง และลงลายมือชื่อกาํ กบั ไว้
ข้อ 8 ให้กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการฝึกอบรมเป็น อสพ.
ตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่กี รมการพฒั นาชมุ ชนกาํ หนด
ข้อ 9 ให้กรมการพัฒนาชุมชนกําหนดหลักสูตรและฝึกอบรม อสพ.ให้มีความรู้ ความ
ชาํ นาญ สามารถปฏิบัติหน้าท่ี อสพ.ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ขอ้ 10 ใหอ้ ธิบดีออกบัตรประจําตัว อสพ. แก่ผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรท่ีกําหนด
ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ตามแบบแนบทา้ ยระเบียบนี้
หมวด 2 ขอบเขตการปฏิบัตหิ น้าท่ีของอาสาพฒั นา
ข้อ 11 เม่ือได้รับการคัดเลือกและผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมก่อน
ปฏิบัติงานอาสาพัฒนาแล้วให้กรมการพัฒนาชุมชนแต่งต้ัง อสพ.ไปปฏิบัติหน้าที่ในท้องที่อําเภอหรือก่ิง
อาํ เภอท่ีกรมการพฒั นาชมุ ชนกาํ หนด เปน็ ระยะเวลาหนึง่ ปี
ข้อ 12 การเปล่ียนพืน้ ท่ีการปฏิบตั ิงานของ อสพ. ภายในเขตอําเภอหรือกิ่งอําเภอเดียวกัน
ใหก้ ระทาํ ได้ตามความจาํ เป็น และให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของนายอําเภอ หรือปลัดอําเภอผู้เป็นหัวหน้าประจํา
ก่ิงอําเภอ แล้วรายงานให้จงั หวัดทราบ
การเปล่ียนพื้นท่ีการปฏิบัติงานต่างอําเภอหรือก่ิงอําเภอ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
ผูว้ ่าราชการจังหวดั แล้วรายงานใหก้ รมการพฒั นาชุมชนทราบ
การเปลย่ี นพืน้ ทกี่ ารปฏบิ ตั ิงานระหว่างจังหวดั ใหก้ รมการพฒั นาชุมชนพิจารณา
ข้อ 13 อสพ. มีหน้าท่ี ดงั ต่อไปนี้
(1) สนับสนุนการพัฒนาชนบทระดับหมู่บ้านและตําบล ในการจัดระบบข้อมูล
เพอื่ การพฒั นาชนบท และรว่ มวางแผนพัฒนาตําบล
(2) ให้การศึกษาแก่ชุมชนโดยพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของประชาชนในงาน
พัฒนาชมุ ชน
(3) พัฒนาองคก์ รและอาสาสมัคร ในส่วนที่กรมการพัฒนาชุมชนมอบหมาย
(4) รว่ มปฏิบัติงานกบั ประชาชน องค์กรประชาชนตามแผนงานโครงการต่างๆ
(5) ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอน่ื ๆ ตามบทบาทท่ีทางราชการมอบหมาย

14 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาพัฒนา พ.ศ. 2540

หมวด 3 การกํากับดแู ลการปฏิบัติหนา้ ท่ขี องอาสาพัฒนา
ข้อ 14 อสพ.ท่ีปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอย่ใู นกิง่ อาํ เภอ อาํ เภอ จังหวัดใด ให้อยู่ในการบังคับ

บัญชาของพัฒนาการก่ิงอําเภอหรือพัฒนาการอําเภอ ปลัดอําเภอผู้เป็นหัวหน้าประจําก่ิงอําเภอ หรือ
นายอําเภอ พฒั นาการจังหวัด และผวู้ า่ ราชการจงั หวัดน้นั ตามลาํ ดบั

ข้อ 15 ให้พัฒนาการก่ิงอําเภอหรือพัฒนาการอําเภอ นักวิชาการพัฒนาชุมชน
และพฒั นาการจังหวัดมหี น้าท่ีให้คําแนะนาํ แก่ อสพ.ขณะปฏบิ ตั งิ านโดยใกล้ชดิ

ข้อ 16 ให้พัฒนากรท้องที่ที่ อสพ.ปฏิบัติหน้าท่ี พัฒนาการกิ่งอําเภอหรือ
พัฒนาการอาํ เภอและพัฒนาการจงั หวดั เปน็ ผปู้ ระเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของ อสพ.ในช่วงเวลาหนึ่งปี รวม
สามคร้งั ทุกระยะสีเ่ ดือน ตามแบบและวธิ ีการท่ีกรมการพฒั นาชมุ ชนกาํ หนด
หมวด 4 การสนิ้ สดุ การเปน็ อาสาพฒั นา

ขอ้ 17 การเปน็ อสพ. สนิ้ สดุ ลงดว้ ยเหตุดงั ต่อไปนี้
(1) ปฏบิ ตั ิหน้าทคี่ รบกาํ หนดเวลาหนง่ึ ปี
(2) ตาย
(3) ไดร้ ับอนญุ าตใหล้ าออก หรอื ถกู สั่งใหอ้ อกตามข้อ 18 ถูกปลดออก
ตามข้อ21 (3)

ข้อ 18 อสพ. ผู้ใดประสงค์จะลาออกก่อนครบกําหนดหนึ่งปีให้เสนอหนังสือ
ลาออกตามลําดับชั้นให้อธิบดีเป็นผู้พิจารณา และเม่ือได้ชําระค่าปรับตามสัญญาคํ้าประกันแก่
กรมการพฒั นาชมุ ชนแลว้ จงึ ให้อธบิ ดมี คี าํ สง่ั อนญุ าตให้ลาออก

ภายใต้บังคับวรรคหนึ่ง อสพ.ได้ปฏิบัติหน้าท่ีมาไม่น้อยกว่าหกเดือน
ประสงคจ์ ะลาออกให้อธิบดมี คี ําส่งั อนญุ าตใหล้ าออกโดยลดค่าปรับตามระยะเวลาท่ีเหลืออยู่

อสพ.ผู้ใดเจ็บป่วย ไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีของตนได้โดยสม่ําเสมอ ถ้าอธิบดี
เห็นสมควร ให้ออกจากการเป็น อสพ.แล้ว ให้อธิบดีสั่งให้ผู้น้ันออกได้และให้งดค่าปรับตามสัญญา
คาํ้ ประกนั

อสพ. ที่ได้รับการต่ออายุการปฏิบัติหน้าที่ประสงค์จะลาออก ให้อธิบดีมี
คาํ ส่งั อนุญาตใหล้ าออก โดยไมต่ อ้ งชาํ ระค่าปรบั
หมวด 5 วินัยและการดาํ เนินการทางวนิ ัย

ข้อ 19 อสพ. ต้องรักษาวินัยตามท่ีกําหนดเป็นข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้ โดย
เคร่งครดั อยเู่ สมอ

ขอ้ 20 อสพ. ต้องประพฤติปฏิบัติตามวินัยข้าราชการโดยให้นํากฎหมายว่าด้วย
ระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื นมาบังคับใชโ้ ดยอนโุ ลม

ข้อ 21 อสพ. ผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติตามที่กําหนดไว้ในระเบียบ
น้ี ผนู้ ัน้ เปน็ ผูก้ ระทาํ ผดิ วนิ ยั จักตอ้ งได้รับโทษทางวินัย

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 15

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาพฒั นา พ.ศ. 2540

โทษทางวนิ ัยมี 3 สถาน คือ
(1) ภาคทณั ฑ์
(2) งดจา่ ยค่าตอบแทนปลายปี
(3) ปลดออก
ข้อ 22 การลงโทษ อสพ. ให้ทําเป็นคําส่ัง วิธีการออกคําสั่งเก่ียวกับการลงโทษ ให้เป็นไป

ตามระเบยี บท่ี ก.พ. วางไวโ้ ดยอนโุ ลม ผสู้ ง่ั ลงโทษต้องส่ังลงโทษให้เหมาะสมกับความผิด และมิให้เป็นไป
โดยบทบาทโดยอคติ หรือโทสจริต หรือลงโทษผู้ที่ไม่มีความผิด ในคําส่ังลงโทษให้แสดงว่าผู้ถูกลงโทษ
กระทาํ ความผิดกรณีใดตามขอ้ ใด

ข้อ 23 การดําเนินการทางวินัยแก่ อสพ. ซึ่งมีกรณีอันมีมูลว่ากระทําผิดวินัย ให้สอบสวน
เพือ่ ให้ไดค้ วามจรงิ และยุตธิ รรมโดยไม่ชักชา้

การดําเนินการตามวรรคหน่ึง ถ้าเป็นกรณีกล่าวหาว่ากระทําผิดวินัยอย่าง
ไม่รา้ ยแรงใหด้ าํ เนนิ การตามวิธกี ารท่ีผู้บังคบั บญั ชาเหน็ สมควรถา้ เป็นกรณกี ล่าวหาวา่ กระทําผิดวินัยอย่าง
ร้ายแรง ให้แต่งต้ังคณะกรรมการข้ึนทําการสอบสวน และในการสอบสวนน้ีจะต้องแจ้งข้อกล่าวหา และ
สรปุ พยาน หลักฐานทีส่ นับสนนุ ข้อกล่าวหาเท่าทม่ี ใี ห้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยจะระบุหรือไม่ระบุชื่อพยาน
กไ็ ด้ ท้งั นี้ เพอื่ ให้ผถู้ ูกกลา่ วหาชแ้ี จงและนําสบื แกข้ อ้ กล่าวหา เมื่อดําเนินการแล้วถ้าฟังได้ว่าผู้ถูกกล่าวหา
ได้กระทําผิดวินัยก็ให้ดําเนินการตามข้อ 24 หรือข้อ 25 แล้วแต่กรณี ถ้ายังฟังไม่ได้ว่าผู้ถูกกล่าวหา
กระทําผดิ วินยั จงึ จะยุติเรอื่ งได้

การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคสอง ให้อธิบดีหรือผู้บังคับบัญชา
ตามข้อ 14 เป็นผสู้ ัง่ แตง่ ตั้ง

หลักเกณฑ์และวิธีการเก่ียวกับการสอบสวนพิจารณาเพ่ือให้ได้ความจริงและ
ยุติธรรมและอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบขา้ ราชการพลเรอื นโดยอนโุ ลม

ข้อ 24 อสพ. ผู้ใดกระทําความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาส่ังลงโทษ
ภาคทัณฑ์หรืองดจ่ายเงินค่าตอบแทนปลายปีตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิดถ้ามีเหตุอันควร
ลดหย่อนจะนาํ มาประกอบการพจิ ารณาลดโทษกไ็ ด้ สําหรับการลงโทษภาคทณั ฑ์ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทํา
ผิดวินัยเล็กน้อย หรือมีเหตุอันควรลดหย่อนซ่ึงยังไม่ถึงกับต้องถูกลงโทษงดจ่ายค่าตอบแทนปลายปี
ให้รายงานผู้ว่าราชการจงั หวัดหรอื อธบิ ดีพิจารณาดําเนินการลงโทษตามควรแกก่ รณี

ในกรณีกระทําความผิดเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้โดย
วา่ กล่าวตกั เตอื นหรอื ใหท้ ําทัณฑบ์ นเปน็ หนังสอื ไว้ก่อนก็ได้

ขอ้ 25 อสพ. ผ้ใู ดกระทาํ ผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง ให้อธิบดีสงัÉ ลงโทษปลดออก
ข้อ 26 อสพ. ผู้ใดกระทําผิดวินัยอย่างร้ายแรงและเป็นกรณีความผิดปรากฏชัดแจ้ง
ตามทÉีกําหนดในกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน อธิบดีจะดําเนินการตามข้อ 23 โดยไม่
สอบสวนกไ็ ด้

16 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาพัฒนา พ.ศ. 2540

ข้อ 27 เม่ือผู้บังคับบัญชาได้ดําเนินการทางวินัยไปแล้ว ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชา

ของ อสพ. ผ้นู นั้ ตามลําดับจนถึงอธบิ ดี

ในกรณีที่อธิบดีได้รับรายงานตามวรรคหนึ่ง มีความเห็นขัดแย้งกับความเห็น

ของผู้ว่าราชการจังหวัดเกี่ยวกับการพิจารณาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายหรือการอันใดไม่ว่าในทางจะเป็น

โทษหรือเปน็ คณุ แก่ อสพ. ผู้ใหใ้ หอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของอธบิ ดี

ข้อ 28 อสพ. ผู้ใดถูกสั่งลงโทษตามระเบียบนี้ ให้ผู้น้นั มสี ิทธิอทุ ธรณไ์ ด้ดงั น้ี

(1) การอุทธรณ์คําสั่งลงโทษของผู้บังคับบัญชาท่ีต่ํากว่าผู้ว่าราชการจังหวัดให้

อุทธรณต์ อ่ ผวู้ ่าราชการจังหวดั

(2) การอุทธรณ์คําส่ังลงโทษของผู้ว่าราชการจังหวัดหรืออธิบดี ให้อุทธรณ์ต่อ

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

(3) การวินิจฉัยของผู้มีอํานาจตาม (1) และ (2) ให้ถือเป็นท่ีสุดการอุทธรณ์

คาํ ส่งั ลงโทษให้อุทธรณภ์ ายในสามสบิ วัน นับแตว่ นั รับทราบคาํ ส่ังลงโทษ

หมวด 6 สทิ ธิประโยชนข์ องอาสาพฒั นา

ข้อ 29 อสพ. จะไดร้ ับสิทธปิ ระโยชน์จากกรมการพัฒนาชุมชน ดังต่อไปนี้

(1) ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมก่อนส่งตัวไปปฏิบัติหน้าท่ี ค่าใช้จ่าย

ในการปฐมนิเทศ การสัมมนา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติหน้าท่ีคร้ังแรก ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง

เมื่อมีการเปลี่ยนพ้ืนที่การปฏิบัติงานใหม่ และค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับกรมการพัฒนาชุมชนเมื่อ

ปฏิบัติหน้าท่ีครบหน่ึงปี ตลอดจนค่ารักษาพยาบาลประจําตัว อสพ.ให้มีสิทธิเบิกได้ตามท่ีได้รับอนุมัติ

จากกระทรวงการคลัง

(2) วุฒิบัตรรับรองความรู้ความสามารถ เม่ือปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเรียบร้อย

เปน็ ผลดีและครบกาํ หนดเวลาหนงึ่ ปี

(3) อสพ. มีสิทธิลากิจส่วนตัว ลาป่วย หรือลาคลอดบุตรได้ โดยเสนอใบลาต่อ

ผู้บังคับบัญชาจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาต ทั้งน้ีให้นําระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2535

มาบงั คบั ใชโ้ ดยอนุโลม

ข้อ 30 อสพ. ท่ีปฏิบัติหน้าท่ีครบหนึ่งปีแล้ว และมีผลงานดีเด่นอาจได้รับการพิจารณา

จากกรมการพัฒนาชุมชนให้ต่ออายุการปฏิบัติหน้าที่ได้อีกคราวละหน่ึงปี ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์

และวธิ ีการท่ีกรมการพัฒนาชุมชนกําหนด

บทเฉพาะกาล

ข้อ 31 การปฏิบัติการใดๆ ที่อยู่ระหว่างการดําเนินการและยังไม่แล้วเสร็จในวันที่

ระเบียบน้ี ใช้บังคับ ให้ดําเนินการต่อไปตามระเบียบที่ใช้บังคับอยู่เดิม จนกว่าจะดําเนินการแล้วเสร็จ

หรือจนกวา่ สามารถดําเนินการตามระเบียบน้ไี ด้

ประกาศ ณ วนั ท่ี 8 กันยายน พ.ศ. 2540

เสนาะ เทียนทอง

(นายเสนาะ เทยี นทอง) 17
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

การเป็นอาสาพฒั นาที่ดี

18 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

อาสาพฒั นา (อสพ.)

หมายถึง อาสาสมัครเพื่อการพัฒนาชนบท ท่ีกรมการพัฒนา

ชุมชนคัดเลือกจากผู้ที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มีความ
ใฝ่ฝันมุ่งม่ันท่ีจะเข้าเรียนรู้วิถีชีวิตของประชาชนในชนบท ต้องการ
พัฒนาตนเอง และทํางานพัฒนาชุมชนร่วมกับประชาชนตาม
ปรัชญา หลักการ วิธีการ และกระบวนการพัฒนาชุมชน ใน
ระยะเวลา 1 ปี

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 19

ความเปน็ มาของ อสพ.

การก่อเกดิ “อาสาสมคั รเพ่อื การพฒั นาชนบท”
ในประเทศไทย เรมิ่ ตน้ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2506 จากการประชุม
แรงงานระดับกลาง ณ เมืองเปอร์โตรโิ ก ประเทศ
สหรฐั อเมริกา กาํ หนดใหแ้ ตล่ ะประเทศมีอาสาสมคั ร
เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงในการพัฒนากําลังคนของชาติ กระจายผู้มีความรู้ความสามารถออกสู่
ชนบท ให้ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชน ร่วมมือกันพัฒนากิจกรรมต่างๆ โดยสํานัก
เลขาธิการหนว่ ยสันตภิ าพระหว่างประเทศได้จัดส่งผู้แทนเดินทางเข้ามาสํารวจความสนใจ
เกีย่ วกบั การจัดตงั้ หนว่ ยอาสาสมัครขน้ึ ในประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 พฤศจกิ ายน 2506

ขณะน้ันกระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชนได้จัดทําข้อเสนอ
“โครงการอาสาพัฒนาชนบท”ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา สาระสําคัญคือ คัดเลือก
ผู้ปรารถนาจะรับใช้ประเทศชาติท่ีสําเร็จการศึกษาข้ันปริญญาตรี หรือประโยควิชาชีพ
ขั้นสูงเข้าฝึกอบรมเป็น“อาสาพัฒนาชนบท”แล้วส่งออกไปทํางานร่วมกับประชาชน
อาสาสมัครจะไม่ได้รับเงินเดือน แต่ทางราชการจะจ่ายค่าเบี้ยเล้ียงเหมาจ่ายให้ในอัตรา
พอสมควร ระยะเวลาท่ีปฏบิ ตั งิ านคนละ 2 ปี เม่ือครบกําหนดแล้วอาสาสมัครจะได้รับเงิน
ตอบแทนอกี จํานวนหนงึ่

วันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2508 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้กรมการพัฒนาชุมชน
ภายใต้คณะกรรมการอํานวยการอาสาพัฒนาชนบทดําเนินโครงการอาสาพัฒนาชนบท
โดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นประธานคณะอํานวยการฯ กําหนดเริ่ม
คัดเลือกอาสาพัฒนาชนบทครั้งแรกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2509 และจัดต้ังสํานักงาน
อาสาพัฒนาชนบทข้ึนให้อยู่ในรับผิดชอบของกองปฏิบัติการ พร้อมท้ังจัดทําข้อตกลงกับ
กรมการปกครอง กรมประชาสงเคราะห์ และกรมวิเทศสหการ จัดเจ้าหน้าท่ีมาประจํา
สํานักงานอาสาพฒั นาชนบทกรมละ 1 คน

ก่อเกดิ อาสา มติ ครม. กรม พช. คดั เลอื กอาสาพฒั นา
พ.ศ. 2506 ดําเนินโครงการ ชนบท ครงั้ แรก
อาสาพฒั นาชนบท พ.ศ. 2509

พ.ศ.2508

20 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ความเปน็ มาของ อสพ.

การคัดเลือกอาสาพัฒนาชนบท รุ่นท่ี 1 ดําเนินการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2508

กรมการพัฒนาชุมชนกําหนดภารกิจอาสาพัฒนาชนบทท่ีได้รับการแต่งตั้งหลัง
ฝึกอบรม เดินทางไปประจาํ การในพ้ืนท่ีเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และชายแดน
ภาคใต้ ซึ่งมีการแทรกซึมและคุกคามจากผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ โดยใช้วิธีการ
คัดเลอื กแบบเข้มขน้ 4 ขัน้ ตอน ประกอบด้วย พิจารณาใบสมัครและใบรับรองจาก
อาจารย์ การทดสอบทางจิตวิทยา การสัมภาษณ์เบ้ืองต้น และการสัมภาษณ์
ระหว่างการฝึกอบรม ขณะเดียวกันเพื่อให้อาสาพัฒนาชนบทมีความผูกพันกับ
กรมการพัฒนาชุมชนสานต่ออุดมการณ์“คนชนบท” ให้กับคนวัยหนุ่มสาว จึงได้
กําหนดให้ผู้ได้รับคัดเลือกเข้ารับการฝึกอบรม จะต้องทําความตกลงกับกรมการ
พฒั นาชุมชนเม่ือปฏิบัติงานครบ 2 ปี จะได้รับค่าตอบแทนอีก จํานวน 5,000 บาท
ทั้งน้ีในปงี บประมาณ พ.ศ. 2509

กรมการพัฒนาชุมชนได้แต่งต้ังอาสาพัฒนาชนบท รุ่นที่ 1 ให้ไป
ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี จํานวน 46 คน สําหรับการดําเนินงานอาสาพัฒนา (อสพ.)
ทผี่ ่านมาแบ่งออกเปน็ 9 ระยะ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 21

1. อสพ.ระยะเร่ิมตน้ ( พ.ศ. 2509 – 2511 )

ภารกิจของอาสาพัฒนาชนบท รุ่นท่ี 1-2 เป็นผู้ชักนําประชาชนให้เห็นความสําคัญของ
การพัฒนาทอ้ งถน่ิ ของตนเอง เพ่อื ประโยชนส์ ุขส่วนรวม กรมการพฒั นาชุมชน พยายามท่ีจะลดช่องว่าง
ระหว่างระบบขา้ ราชการ ซง่ึ ขณะน้นั ถือว่าเปน็ เจ้านายกบั ประชาชน อาสาพฒั นาชนบทไม่ใช่ข้าราชการ
แต่เป็นประชาชนคนหนึ่งเท่าน้ัน ไม่ใช่คนท่ีเอาข้าวของมาแจก แต่เป็นคนที่เอาความคิดอ่านมาแจก
และเหนือส่ิงอื่นใด ไม่ใช่คนที่มาสั่งให้ประชาชนทําอย่างน้ีอย่างนั้น แต่จะเป็นผู้ที่จะช่วยให้
คาํ ปรึกษาหารอื แนะแนวทางต่างๆ ให้ส่วนการตัดสินใจเป็นเร่ืองของประชาชนเอง ดังนั้นอาสาพัฒนา
ชนบทต้องพยายามคิดค้นวิธีท่ีจะเข้าถึงประชาชนอย่างขะมักเขม้น เพื่อท่ีจะขายความคิดเกี่ยวกับ
ทัศนคตขิ องการพฒั นาให้แก่บุคคลสาํ คญั ของหมู่บ้านไดเ้ ขา้ ใจเป็นอันดบั แรก

ฉะนั้น จุดหมายหลักท่ีอาสาพัฒนาชนบทต้องเข้าไปปฏิบัติภารกิจ คือการเข้าไปส่งเสริม
ด้านอาชีพ ด้วยการช่วยชี้แนะประชาชนให้ได้ผลผลิตมากข้ึนและมีรายได้เพิ่มข้ึน รัฐบาลมุ่งหวังว่าเม่ือ
ประชาชนอยู่ดีกินดีแล้วจะไม่เข้าไปฝักใฝ่กับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ อาสาพัฒนาชนบทจึงทําหน้าที่
เป็นครูสอนอาชีพตามความถนัดในวิชาชีพท่ีได้ศึกษามา เช่น ช่างตัดเสื้อผ้า ช่างยนต์การเกษตร
ช่างโลหะ เป็นต้น สอนให้ประชาชนรู้จักการใช้อุปกรณ์ทํางาน อาทิ พิมพ์ดีด วิทยุสื่อสาร เคร่ืองฉาย
ภาพยนตร์ เครื่องผลิตเอกสาร เป็นการเปิดโลกทัศน์ให้เห็นถึงวิทยาการสมัยใหม่จากเมืองหลวงสู่
ชนบท การส่งเสริมดา้ นนตี้ ้องใช้เวลา ความรู้ และความอดทนอย่างจริงจัง เน่ืองจากส่วนใหญ่เป็นเรื่อง
ใหม่สําหรบั ชาวชนบท เป็นการยากทจี่ ะเปลย่ี นแปลงให้ประชาชนหนั มายอมรบั กบั สงิ่ ใหม่

หลังจากกรมการพฒั นาชมุ ชนสง่ อาสาพฒั นาชนบทไปปฏิบัติงานในพื้นท่ีแล้วจํานวน 2 รุ่น
ประชาชนได้รู้จักบทบาทหน้าท่ีด้านพัฒนาอาชีพของอาสาพัฒนาชนบทอย่างกว้างขวาง อาสาพัฒนา
ชนบทสามารถสร้างศรัทธาและความเช่ือม่ันให้แก่ประชาชน ด้วยการร่วมทํางานช้ินเล็กๆ ที่ไม่ต้อง
ลงทุน การเข้าไปคลุกคลีทําสันทนาการกับเด็กๆ หรือการเข้าไปช่วยครูสอนหนังสือ ช่วยประดิษฐ์
อปุ กรณ์การสอน ทําให้เกิดความคุ้นเคยกับเด็กและผู้ปกครอง ประชาชนจึงให้ความร่วมมือในกิจกรรม
ต่างๆ เป็นอย่างดี ทาํ ใหอ้ าสาพัฒนาชนบทถูกเรียกส้ันๆ ให้จําง่ายๆ ว่า “อาสาพัฒนา” หรือเรียกย่อๆ
ว่า “อสพ.”สําหรับในส่วนของรัฐบาลเองก็ได้ให้ความสนใจการทํางานของ อสพ. เป็นอย่างมาก และ
เล็งเห็นว่าการปฏิบัติงานในพื้นที่ 2 ปี อสพ. อาจประสบกับความยากลําบากเกินควร และมีปัญหา
นานับประการ ทอ่ี าจจะบน่ั ทอนกาํ ลงั ใจและอดุ มการณใ์ ห้สูญสลายไปได้ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่
7 กุมภาพันธ์ 2510 ให้ลดลงระยะเวลาในการปฏิบัติงานของ อสพ. เหลือเพียง 1 ปีเท่านั้น โดยไม่นับ
รวมระยะเวลาในการฝึกอบรม

22 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

2. ระยะทดแทนพัฒนากร ( พ.ศ. 2512 – 2523 )

ปี พ.ศ. 2511 รัฐบาลต้องการให้กรมการพัฒนาชุมชนส่ง อสพ. ไปปฏิบัติงานให้

ครบทุกจังหวัดท่ัวประเทศ เนื่องจากเป็นท่ียอมรับในสังคมชนบทแล้ว รัฐบาลได้สนับสนุนโดยจัดสรร
งบประมาณเพิ่มเติมสําหรับการคัดเลือก อสพ. รุ่นที่ 3 ให้ได้จํานวน 100 คน พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์การ
รับสมัครทางวิทยุกระจายเสียงทุกวัน ผ่านทางหนังสือพิมพ์ และสถาบันการศึกษา 14 แห่ง รวมท้ังจัด
ช่วงเวลาให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนไปบรรยายความรู้ทางวิทยุกระจายเสียง ความยาว 15 นาที แต่การ
ดําเนินงานในครั้งน้ี มีผู้ได้รับการคัดเลือกและผ่านการฝึกอบรมเพียง 33 คน กรมการพัฒนาชุมชนได้พบ
ข้อจํากัดว่า สถาบันการศึกษายังขาดการบ่มเพาะทัศนคติของนักศึกษาท่ีก่อให้เกิดความรู้สึกอยากออกไป
ผจญภัย ชว่ ยเหลอื พน่ี ้องประชาชนชาวไทยในถนิ่ ทรุ กันดาร ขณะที่มาตรฐานการคัดเลือก อสพ. ค่อนข้างสูง
ผสู้ มคั รต้องผา่ นการคดั เลอื กหลายขัน้ ตอน อีกทงั้ ตอ้ งมีความรทู้ างวชิ าการทห่ี ลากหลาย

การตอบรับเพื่อแก้ปัญหาน้ี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอรับ
การสนับสนุนจากสํานักนายกรัฐมนตรี จัดตั้งโครงการการศึกษาขั้นปริญญาบัตรช้ันสูงบัณฑิตอาสาสมัคร
(ป.บ.อ.) ข้ึนในปี พ.ศ. 2512 โดยความร่วมมือของกรมการพัฒนาชุมชน หน่วยงานราชการ และ
ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาชุมชน รับสมัครผู้มีวุฒิปริญญาตรีเข้ารับการฝึกอบรมภาคทฤษฎี
วิชาสังคมวิทยา ระเบียบการวิจัย และการสอนหนังสือ เป็นเวลา3 เดือน แล้วส่งออกไปทํางานเป็น
อาสาสมัครในชนบท เพ่ือให้มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับสภาพสังคมชนบท บังเกิดความสนใจที่จะ
ปฏิบัติงานในชนบท เม่ือปฏิบัติงานครบ 9 เดือน จะได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงบัณฑิตอาสาสมัคร
สําหรับในส่วนของกรมการพัฒนาชุมชนได้จัดเจ้าหน้าท่ีหมุนเวียนกันออกไปบรรยายประกอบการแสดง
นิทรรศการ ในสถาบันการศึกษาต่างๆ สนับสนุนให้ อสพ. ที่กําลังอยู่ระหว่างปฏิบัติงานไปจัดอภิปราย
ชักชวนให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีช้ันปีที่4 เสียสละชีวิตท่ีสบายแบบหนุ่มสาวไปใช้ประสบการณ์ชีวิต
1 ปี ในชนบท มีการจัดทําภาพนิ่ง แผ่นป้ายโฆษณา แผ่นปลิว เป็นเครื่องมือให้เกิดความสนใจในกิจกรรม
การพัฒนาชนบท นอกจากน้ันแล้วกรมการพัฒนาชุมชนยังเชิญชวนให้มหาวิทยาลัยส่งตัวแทนนักศึกษา
ออกไปสังเกตการณ์และร่วมฝึกอบรม อสพ. รวมทั้งจัดกลุ่มนักศึกษาผู้สนใจเดินทางไปดูการปฏิบัติงานใน
พืน้ ที่เปน็ ท่ีมาของการจัดต้ัง“ชมรมอาสาพัฒนา” และการจดั “ค่ายอาสาพฒั นา” ในสถาบันอดุ มศกึ ษา

ต่อมาเมื่อกรมการพัฒนาชุมชนได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาอาชีพทดลองแห่งแรกขึ้นที่
ตําบลซําผักแพว อําเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ในปี พ.ศ. 2512 โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) เพ่อื สรา้ งสถาบันฝึกอบรมอาชพี ในระดับหมู่บ้านอย่างถาวร กรมการพัฒนา
ชุมชนมองเห็นว่า อสพ. ท่ีเสร็จสิ้นภารกิจแล้ว เป็นบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถด้านการพัฒนาอาชีพ
และเพื่อแก้ปัญหาการขาดอัตรากําลังพัฒนากร กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้แต่งตั้งให้ อสพ. ไปปฏิบัติงาน
ประจําในตําบลที่ไม่มีพัฒนากร มอบหมายให้เป็นเจ้าหน้าท่ีวิชาการเฉพาะด้านในการฝึกอบรม
กลุ่มเยาวชน กล่มุ สตรีและกลุ่มอาชีพตา่ งๆ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 23

3. ระยะบุกเบิกชายแดน (พ.ศ.2524 – 2531 )

โครงการอาสาพัฒนาชนบทได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนถึงปี
พ.ศ.2524 กรมการพัฒนาชุมชนได้ร่วมกับศูนย์อํานวยการร่วมกองบัญชาการทหาร
สูงสดุ (ศอร.บก.ทหารสูงสุด) ดาํ เนนิ โครงการอาสาพัฒนาปฏิบัติงานในหมู่บ้านป้องกัน
ตนเองชายแดน (ปชด.) ไทย-กัมพูชา โดยให้ อสพ. มีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาและ
หาข่าว เพ่ือความม่ันคงร่วมกับทางทหาร ตํารวจและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชายแดน
ปฏิบัติงานประจําและพักค้าง ในหมู่บ้าน ต่อมาได้ขยายเขตการทํางาน ไปทาง
ชายแดน ไทย-ลาว ในปี พ.ศ. 2527 ชายแดนไทย-พม่า และชายแดนไทย-มาเลเซีย
ในปี 2531

4. ระยะอาสาสมคั ร (พ.ศ. 2532-2534)

ชว่ งการทํางานท่ตี ่อเนอื่ งมาจากนโยบายการพัฒนาภูมิภาค เพื่อสร้าง
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคมชนบทให้เกิดข้ึนอย่างม่ันคง ตามแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 5 (พ.ศ.2525-2529) เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
รวมท้ัง อสพ. ต้องเดินทางเข้าหมู่บ้านบ่อยมากขึ้นกรมการพัฒนาชุมชนได้พบว่าแม้
อสพ. จะไม่มีสิทธิเบิกค่าเบี้ยเล้ียง ค่าพาหนะในการปฏิบัติงานเหมือน เช่น
พฒั นากร และไม่มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาในระบบ กชช. แต่ก็ปฏิบัติ
หน้าท่ีด้วยความแข็งขันเป็นผู้ประสานและทํางานร่วมกับผู้นําท้องถิ่นอาสาพัฒนา
ชุมชน (อช.) ผู้นํา อช.และองค์กรประชาชนในหมบู่ ้าน ตําบลอย่างเตม็ กาํ ลัง นับว่าเป็น
อสพ.จติ อาสา ทําใหง้ านของกรมการพัฒนาชุมชนในพื้นทเ่ี ป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

24 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

5. ระยะเตรยี มเปน็ นกั พัฒนาชุมชน (2535 – 2538 )

เม่ือกรมการพัฒนาชุมชนได้ตระหนักว่า อสพ. เป็นทรัพยากร
บคุ คลที่สําคัญย่ิง เหมาะสมกับการเป็นข้าราชการนักพัฒนาในอนาคต จึงได้สนับสนุน
ให้ผู้ท่ีรักการทํางานในชนบทได้มีโอกาสเข้ารับราชการในอาชีพท่ีมุ่งหวัง โดยกําหนด
นโยบายให้รับสมัครผู้ที่ผ่านการทดสอบภาคความรู้ความสามารถท่ัวไป (ภาค ก.) ของ
สํานักงาน ก.พ. ซึ่งได้คะแนนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 60 มาฝึกอบรมเป็น อสพ. แล้วส่งไป
ปฏิบตั งิ านในพื้นที่ เป็นเวลา 1 ปี กรณีมอี ตั ราพฒั นากรวา่ ง หาก อสพ. รายใดประสงค์
จะเข้ารับราชการ สามารถเข้าสู่กระบวนการสอบคัดเลือกภาคความเหมาะสมกับ
ตําแหน่ง (ภาค ค.) โดยต้องได้คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 60
ผผู้ า่ นการคัดเลอื กจะไดร้ ับการบรรจุแต่งต้ังใหด้ าํ รงตําแหนง่ นกั พัฒนาชมุ ชน 3

6. ระยะนกั พัฒนาอาสาสมคั ร (พ.ศ. 2539-2543)

คร้ันถึงปี พ.ศ. 2539 กรมการพัฒนาชุมชนได้ดําเนินการตาม
มาตรการกําหนดขนาดกําลังคนภาครัฐทําให้อัตราว่างในตําแหน่งนักพัฒนาชุมชน 3
ลดลงประกอบกับสภาตําบลยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) รัฐบาลได้
จัดต้ังคณะกรรมการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคท้องถ่ิน (กนภ.) เพ่ือเสริมสร้าง
ศักยภาพของประชาชนในชนบท ท้ังด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต เพิ่มพูนความรู้ท้ังในและ
นอกระบบโรงเรียน เสริมสร้างโอกาสในการพัฒนาอาชีพและการมีงานทําโดยให้
พฒั นากรและข้าราชการอื่นๆ เป็นเจา้ หน้าทีผ่ ูม้ ีอาํ นาจรับผิดชอบงานในหมู่บ้าน ตําบล
ส่งผลให้กรมการพัฒนาชุมชนต้องปรับภารกิจ อสพ. ไปปฏิบัติงานเฉพาะกิจ เช่น
การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม โครงการแกไ้ ขปญั หาความยากจน เปน็ ต้น

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 25

7. ระยะบัณฑติ อาสาพฒั นา(พ.ศ. 2544-2545)

งานเฉพาะกิจท่ี อสพ. ได้รับมอบหมายนั้น ถือว่ามีส่วนสําคัญใน
การแก้ไขปัญหาสงั คมระดับฐานราก อสพ. ตอ้ งผสมผสานความร้ใู นส่งิ ที่ปฏิบัติงานจริง
ตามกระบวนการพัฒนาชุมชน ไปวิเคราะห์วิจัยร่วมกับทฤษฎีวิชาการ เพ่ือค้นหา
แนวทางการทํางาน กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้ร่วมมือกับสถาบันราชภัฎโดยมีสถาบัน
ราชภัฎเชียงรายเป็นหลักในการดําเนินงานจัดทําหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
สาขาพัฒนาชุมชน (สูงกว่าระดับปริญญาตรี) ผ่านการพิจารณาเห็นชอบของ
คณะกรรมการสภาสถาบันราชภัฎ ให้ใช้ในทุกสถาบันราชภัฎได้ เป็นการศึกษาตาม
หลักสูตรควบคู่ไปกับการปฏิบัติงาน เม่ือส้ินสุดการปฏิบัติงาน อสพ. จะได้รับวุฒิ
การศกึ ษาประกาศนยี บัตรบัณฑติ จากสถาบนั ราชภัฎที่ อสพ. ลงทะเบียน เพิ่มขึ้นจาก
วฒุ บิ ตั รการผ่านงาน อสพ. ตามปกติ และอสพ. รนุ่ แรกท่เี ขา้ ศกึ ษาคอื อสพ. รุ่นท่ี 44

8. ระยะทดแทนพฒั นากรครั้งที่สอง(พ.ศ. 2546-2549)

หลังการปฏิรูประบบราชการในปี พ.ศ. 2545 มีการปรับขนาดอัตรา
กําลังคนภาครัฐทําให้จํานวนพัฒนากรต่อพื้นท่ีลดลงอย่างต่อเน่ือง ดังน้ันในช่วงปี
พ.ศ. 2546-2549 กรมการพฒั นาชมุ ชนจงึ ได้แต่งตัง้ อสพ. ไปปฏิบตั หิ นา้ ที่พัฒนากรใน
อําเภอทมี่ ีจํานวนพัฒนากรตํา่ กวา่ อตั ราท่กี ําหนดเปน็ ครง้ั ที่ 2

9. ระยะสร้างนักพัฒนาภาคประชาชน (พ.ศ. 2550 เปน็ ตน้ มา)

ปัจจุบันแม้ว่ากรมการพัฒนาชุมชนมุ่งหวังที่จะสร้าง อสพ. ให้เป็น
นักพัฒนาภาคประชาชนรุ่นใหม่ที่มีจิตใจอาสาสมัคร ปรารถนาท่ีจะกลับไปพัฒนา
ชุมชนบ้านเกิดของตนเองให้เข็มแข็งย่ังยืนด้วยการกําหนดให้ อสพ. รุ่น 49 เป็นต้นมา
เป็น “อสพ.รักบ้านเกิด” ปฏิบัติงานในภูมิภาคของตน แต่ก็ยังคงเปิดโอกาสให้
อสพ. ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่พี ฒั นากร เพ่อื เรียนรกู้ ารทาํ งานในพ้ืนท่ีตลอดระยะเวลา 1 ปีไป
พรอ้ มกนั

26 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

แนวทาง

การปฏบิ ัติงานอาสาพฒั นา (อสพ.)
รุ่นที่ 71 (ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563)

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 27

แนวทางการปฏบิ ตั ิงานของ อสพ.

แนวทางการปฏิบัติงานของ อสพ.

“อสพ.” คนวัยหนุ่มสาวท่ีมีพลังแห่งการเป็น

ผู้นํา มีความเฉลียวฉลาด มีจิตเสียสละ สมัครใจ

ที่จะอาสาพัฒนากิจกรรมต่างๆ ในการท่ีจะเข้า

ไปพัฒนาชุมชนภูมิภาคบ้านเกิดของตนเอง เพื่อ

สร้างสรรค์ความเจริญแก่ชุมชน ส่งเสริมความ

เข้าใจอันดีระหว่างประชาชนและประชาชนต่อ

รฐั บาล โดยกรมการพัฒนาชุมชนไดม้ ีแนวทาง

สําหรบั การปฏิบัติงาน ดังน้ี

1. เป้าหมาย

ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด นั ก พั ฒ น า ภ า ค 2. พื้นทีป่ ฏบิ ตั งิ าน
ประชาชนรุ่นใหม่ของชุมชน ที่มีจิตใจ จงั หวดั ที่ อสพ. สมัครเขา้ ปฏบิ ตั ิงาน
อาสาสมัครมีความรู้ มีทักษะและ

มนุษย์สัมพันธ์ในการทํางานพัฒนา

ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานภาคี (3) ส่งเสริมและเผยแพร่แนวคิดตาม
ต่างๆ เพ่ือมุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็ง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของชุมชนบ้านเกดิ อย่างยัง่ ยนื และจัดทํากิจกรรมโครงการภายใต้

แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

3. ภารกิจหน้าท่ที ีร่ บั ผิดชอบ พอเพียง โดยใชก้ ระบวนการมสี ่วนร่วม
(1) พัฒนาชุมชนบ้านเกิดโดย (4) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และ
พัฒนาศักยภาพผู้นําชุมชน องค์การ
ศึกษาวิเคราะห์ชุมชนตามหลักการ ชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชน
วธิ ีการพฒั นาชมุ ชน ให้มีส่วนร่วมและเสริมสร้างชุมชนให้
เขม้ แขง็ ยงั่ ยนื
(2) สนับสนุนการจัดทํา หรือปรบั ( 5 ) ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ เ ผ ย แ พ ร่ วิ ถี
แ ผ น ชุ ม ช น ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง ประชาธิปไตยในชมุ ชน
เศรษฐกิจพอเพียงให้มีประสิทธิภาพ (6) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนๆ ตามท่ีกรมการ
โดยใช้เวทีประชาคมหรือใช้เทคนิค พัฒนาชมุ ชนมอบหมาย
กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม

28
คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

วธิ ีการทํางานของ อสพ.

1. ปฏิบตั ิงาน ณ สํานักงานพัฒนาชมุ ชนอําเภอ ท่ีไดร้ บั
มอบหมาย และลงพืน้ ทีต่ ามคาํ สัง่ มอบหมายงานของสํานักงาน
พฒั นาชุมชนอําเภอ

2. ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
อาสาพัฒนา พ.ศ. 2540 โดยมีพัฒนากรประจําตําบลเป็นพ่ีเลี้ยง
พัฒนาการอําเภอ นายอาํ เภอ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้กํากับดูแล
บังคับบญั ชาตามลําดบั

3. ปฏิบัติงานภายใต้ปรัชญา/อุดมการณ์พัฒนาชุมชน โดย
ใช้หลกั การ วิธีการ และกระบวนการพัฒนาชุมชน

4. จดั เวทปี ระชาคมโดยใชเ้ ทคนิคกระบวนการมีส่วนร่วมใน
การสนับสนุนให้ชุมชนจัดทําแผนพัฒนาปรับปรุงแผนพัฒนากลุ่ม
อาชีพ รวมทัง้ แผนชุมชนให้เกิดประสทิ ธภิ าพ

5. บันทึกผลการปฏิบัติงานประจําวันในแบบ อสพ. 1
รายงานการปฏิบตั งิ านประจําวนั ของ อสพ.

6. เข้าร่วมในการประชุมประจําเดือนของพัฒนากร เพ่ือ
รายงานผลการปฏิบัติงานเสนอแผนการปฏิบัติงานเดือนถัดไป
(ตามแบบฟอร์ม)

7. เข้าร่วมการสัมมนาอาสาพัฒนาระหว่างปฏิบัติงาน
ทุกคร้ัง รวมท้ังเข้าร่วมรับฟังการประชุม/สัมมนาในประเด็น
ท่ีเกยี่ วข้องเหมาะสม ในระดบั อาํ เภอ/จังหวัด

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 29

ข้ันตอนการปฏิบตั งิ านของ อสพ.

ศึกษาคน

เพ่ิมความรู้ ขนั้ ที่ 1 ศึกษางาน
ทักษะ เตรียมการ

การเป็นวิทยากร
กระบวนการ

สรา้ งทมี งาน

ขนั้ เตรียมการเรมิ่ ดว้ ย.....การศกึ ษาคน

คนในชุมชน” อสพ. จะต้องรวู้ า่ ใครเป็นใครในชุมชน
ใครเปน็ ผ้นู ําทเี่ ป็นทางการ ใครเป็นผนู้ ําท่แี ทจ้ รงิ คนใน
ชุมชนอยู่กันอย่างไร มคี วามสัมพันธ์กนั มากนอ้ ยแคไ่ หน
รู้ระบบเครอื ญาติในชมุ ชน และเข้าใจระบบวฒั นธรรม

“กล่มุ องค์กรในชุมชน” มอี ะไรบา้ ง แตล่ ะกลุม่ มี
กจิ กรรมอะไร ใครมีบทบาทอย่างไร ใครเปน็ ผู้นาํ ท่แี ท้จรงิ
ในกล่มุ องค์กรเหลา่ น้ัน รวมทง้ั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลุ่ม
องคก์ รในชมุ ชน มีหรอื ไม่ อยา่ งไร

“เจา้ หน้าทใี่ นชมุ ชน” ใครเป็นใคร เชน่ เจา้ หนา้ ท่ี อบต./
สภาตาํ บล สาธารณสุข ครู เกษตร พัฒนากร ฯลฯ ใครคือ
คนทค่ี นในชุมชนเช่อื ถือ ให้การยอมรบั

“องค์กรเอกชน” ทีท่ าํ งานในชุมชนมีหรือไม่ มบี ทบาท
มาก-นอ้ ยอยา่ งไร แคไ่ หน คนในชุมชนเข้าไปมีสว่ นร่วมให้
ความเช่ือถอื หรือไม่ อย่างไร
30 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ขั้นเตรยี มการเรือ่ ง....การศึกษางาน...

งานในหน้าที่ หมายถึง งานทก่ี รมการพฒั นาชุมชน
มอบหมายให้ อสพ. ดาํ เนนิ การในชว่ ง 1 ปี

งานพเิ ศษอืน่ ๆ ซ่งึ อาจเปน็ งานที่ งานในพน้ื ที่ หมายถงึ งานท่มี อี ยู่

เกดิ ข้ึนตามสถานการณเ์ ร่งด่วน หรือ ในพืน้ ที่ที่ อสพ. รับผดิ ชอบทั้งหมด
งานท่ี อสพ. ได้รบั มอบหมายเปน็ กรณี เช่น สัมมาชีพชมุ ชน/ ประชารัฐ
พิเศษ รวมท้งั ขอ้ มูลเพือ่ การพัฒนา หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง/ ศนู ย์
ชนบท (จปฐ./กชช.2ค.) และขอ้ มูล เรียนรู้ /ผนู้ ําอาสาพัฒนาชุมชน /
อื่นๆ ท่ีชุมชนรบั ผดิ ชอบ ผนู้ าํ กลุ่ม องคก์ รในการพฒั นาชมุ ชน
กลุม่ อาชพี ต่าง ๆ /กลมุ่ ออมทรัพย/์
ขัน้ เตรียมการเรอื่ งสรา้ งทมี งาน... งาน OTOP /งานศูนยป์ ระสานงาน
องคก์ รชมุ ชนระดบั ตาํ บล (ศอช.ต.) /
แผนชมุ ชน และงานบูรณาการทที่ ุก
หน่วยงานเข้าไปดําเนินการ และงาน
ที่ดาํ เนินการโดยชมุ ชน

ในการทํางานพัฒนาชุมชน อสพ. ไม่สามารถดําเนินการคนเดียวได้
จะต้องมีทมี งาน และกรมฯ ได้กาํ หนดให้ อสพ. ทํางานในรูปทมี อย่แู ลว้

ดังน้ัน อสพ. จะต้องรู้ว่า เมื่อใดควรทํางานด้วยตนเอง โดยไม่พ่ึงทีมงาน
เมื่อใดควรจะใชร้ วมทีม ซึง่ ตอ้ งทําการซักซ้อมทําความเข้าใจ และแบ่งงานกันภายใน
ทีมงาน ตามความถนัดและความสามารถของแต่ละคน เพื่อให้เกิดความชัดเจนใน
การทํางานรว่ มกนั

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 31

ขั้นเตรยี มการเรอ่ื ง การเปน็ วิทยากรกระบวนการ

สิÉงทีÉมีความจําเป็นทÉสี ดุ ในการทาํ หน้าทÉีผ้สู ง่ เสริมกระบวนการ
นอกจากจะต้องมีความรู้ในเรÉืองเกÉียวกบั ชมุ ชนแล้ว ยงั ต้องรู้เกีÉยวกบั เทคนคิ
ตา่ ง ๆ ทีÉจะสง่ เสริมกระบวนการมีสว่ นร่วมของชมุ ชน รวมทงัÊ มที กั ษะในการใช้
เทคนิคตา่ งๆ ด้วย

ความรู้เกีÉยวกบั เทคนิคการจดั กระบวนการมสี ว่ นร่วม ทีÉ อสพ. ควร
จะต้องรู้ มอี ยหู่ ลายเทคนิค เช่น เทคนิคการตงัÊ คาํ ถาม เทคนิคการสรุปความ
คิดเหน็ เทคนคิ A-I-C เทคนคิ การค้นหาอนาคต (FSC) เป็นต้น

ข้ันที่ 2 การปฏบิ ตั ิงาน ข้ันท่ี 3 สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ าน

ขนั้ ตอน/วธิ กี ารปฏิบัติงาน สรุปผลและประเมินผล
เปน็ ไปตามแนวทางที่ การปฏบิ ตั งิ านเป็นไป
กรมการพฒั นาชุมชนกําหนด ตามแนวทางท่ีกรมการ
และการปฏบิ ตั ิงานของ พัฒนาชุมชนกาํ หนด
อาสาพัฒนา (อสพ.) ให้ยึด และระเบยี บ
ตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย ว่าด้วยอาสาพัฒนา
อาสาพฒั นา พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2540
โดยเครง่ ครัด

32 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การลา ของอาสาพฒั นา (อสพ.)

1. อาสาพัฒนา (อสพ.) มีสิทธิลากิจส่วนตัว ลาป่วย หรือลาคลอดบุตรได้ โดยเสนอ
ใบลาต่อผู้บังคับบัญชาจนถึงผู้มีอํานาจอนุญาต ท้ังน้ีให้นําระเบียบว่าด้วยการ
ลาของข้าราชการ พ.ศ. 2535 มาบังคบั ใชโ้ ดยอนโุ ลม

2. การลาของอาสาพัฒนา (อสพ.) อยู่ในดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาเป็น
ผพู้ จิ ารณาอนญุ าตให้ลาไดต้ ามลําดบั ดงั น้ี

แนวทางการพจิ ารณาในกรณีการลาของ อสพ. รุ่นที่ 71 (ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) (เบ้อื งต้น)

ท่ี ประเภทของการลา ลา ลากจิ ลา ลาบวช ลาออก ผิดวินัย
ป่วย สว่ นตัว คลอด ร้ายแรง
ผบู้ งั คับบญั ชาทีม่ ีอํานาจในการ
บตุ ร

พจิ ารณาอนญุ าต

1 พัฒนาการอําเภอ

2 นายอําเภอ

3 พฒั นาการจังหวัด

4 ผู้วา่ ราชการจังหวัด

5 อธิบดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

กรณีการลาของ อสพ. ให้นําระเบียบวา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2535 มาบงั คบั ใช้ โดยอนุโลม

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 33

การลาออกจากอาสาพฒั นา (อสพ.)

การลาออกจากการเปน็ อสพ. ร่นุ ท่ี 71 (ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563)

ตามระเบยี บ อสพ.
ข้อ 18 อสพ. ผู้ใดประสงค์จะลาออกก่อนครบกําหนดหนึ่งปีให้เสนอ

หนังสือลาออกตามลําดับชั้นให้อธิบดีเป็นผู้พิจารณา และเมื่อได้ชําระค่าปรับตามสัญญา
คํา้ ประกนั แก่กรมการพัฒนาชมุ ชนแล้ว จงึ ให้อธบิ ดมี ีคาํ ส่งั อนญุ าตให้ลาออก

ภายใต้บังคับวรรคหน่ึง อสพ.ได้ปฏิบัติหน้าท่ีมาไม่น้อยกว่าหกเดือน
ประสงค์จะลาออกให้อธิบดีมีคําส่ังอนุญาตให้ลาออกโดยลดค่าปรับตามระยะเวลาที่
เหลืออยู่

อสพ.ผู้ใดเจ็บป่วย ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ของตนได้โดยสมํ่าเสมอ
ถ้าอธิบดีเห็นสมควร ให้ออกจากการเป็น อสพ.แล้ว ให้อธิบดีส่ังให้ผู้นั้นออกได้และให้งด
ค่าปรบั ตามสัญญาคํ้าประกนั

ขั้นตอนในการลาออก ดังน้ี

1. อาสาพฒั นา (อสพ.) จดั ทาํ บนั ทึกขอ้ ความเสนอเหตผุ ลการลาออกถงึ นายอาํ เภอที่ตนเอง
ปฏิบัตหิ นา้ ที่ตามคําสัง่ จงั หวดั
2. สํานักงานพัฒนาชมุ ชนอาํ เภอจดั ทาํ หนงั สอื ส่งภายนอกแจ้งเรื่องการลาออกให้จังหวดั
ทราบ
3. จังหวดั จัดทําหนังสือแจง้ เรอ่ื งการลาออกของ อสพ.สง่ กรมฯ พร้อมแนบสําเนาหนังสอื
ลาออกของอาสาพฒั นา (อสพ.) ,สําเนาใบเสรจ็ รับเงินค่าปรับอาสาพฒั นา,สาํ เนาเปอนิ สลิป
และสําเนาส่งเงนิ รายไดแ้ ผน่ ดนิ ใหก้ ับกรมการพัฒนาชุมชน
4. กรมการพฒั นาชุมชนเสนออธิบดีอนญุ าตให้อาสาพัฒนา (อสพ.) ลาออก

34 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 35

36 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 37

การคิดคา่ ปรับ กรณี อสพ.ลาออก

1. การลาออก หรือลงโทษให้ออก ไล่ออก นับต้ังแต่การฝึกอบรมก่อนปฏิบัติงาน
อาสาพัฒนา (อสพ.) รุ่นที่ 71 จนถึงวันท่ี 31 มีนาคม 2563 จะต้องเสียค่าปรับกรณี
ผดิ สัญญา เป็นเงิน 15,000 บาท

2. กรณี อสพ.ลาออก ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม 2562 ถึงวนั ที่ 31 มีนาคม 2563
บุคคลคาํ้ ประกัน จังหวัดตอ้ งดําเนนิ การคิดคา่ ปรับ จาํ นวน 15,000 บาท

พร้อมแนบสาํ เนาใบเสรจ็ การชาํ ระคา่ ปรบั สง่ กรมฯ และนําเงินค่าปรบั สง่ เปน็ รายได้ของ
แผ่นดิน

เงินค้ําประกัน เจ้าหน้าที่จังหวัด ส่งเร่ือง ถึงกรมฯ แล้วกรมฯ จะดําเนินการ
แจ้งกองคลังหักเงินหักเงินค้ําประกันและดําเนินการจัดทําบันทึกเสนออธิบดีให้มีคําสั่ง
อนุญาตให้ลาออก

3. กรณี อสพ.ลาออก ตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน 2563 (หลัง 6 เดอื น)
บคุ คลค้ําประกนั ให้จังหวัดฯ ดําเนินการคดิ ค่าปรบั ดังนี้
- ใหค้ าํ นวณจากค่าปรบั เดือนละ 1,250 บาท (15,000÷30)

คิดรายวนั ๆละ 42 บาท
- นําเงินค่าปรับของ อสพ.ส่งเป็นรายได้ของแผ่นดิน และแนบสําเนา

ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา่ ปรบั อสพ.แจ้งกรมฯ
เงนิ ค้าํ ประกนั
- เจ้าหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบจัดทําหนังสือแจ้งกรมฯ พรอ้ มแนบสาํ เนา

สมุดบญั ชขี อง อสพ. และเบอร์โทรศัพท์ของ อสพ. ท่ีสามารถตดิ ตอ่ ได้ สง่ กรมฯ
- เมอื่ อธบิ ดี มคี ําสง่ั อนุญาตให้ อสพ.ลาออกไดต้ ามความประสงค์

แล้วให้เจ้าหน้าท่ีกรมฯจะดําเนินการจัดทําบันทึกแจ้งกองคลัง ขอเบิกเงินคํ้าประกันสัญญา
อสพ.โดยเบิกเงนิ ที่เหลือจากการหกั ค่าปรับ เพือ่ ท่จี ะโอนเงินคืนใหแ้ ก่ อสพ.ต่อไป

4. กรณีลาออกเน่ืองจากป่วยไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ ให้ อสพ. แนบใบรับรองแพทย์ออก
โดยโรงพยาบาลของรัฐหรือเอกชนเท่าน้ัน และแพทย์ระบุว่าเป็นโรคร้ายแรงไม่สามารถ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อาสาพัฒนา (อสพ.) ได้ จึงไมเ่ สยี เงนิ ค่าปรับตามสัญญาคํ้าประกันอาสาพัฒนา
(อสพ.)

38 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

แนวทางการเรียก อาสาพฒั นา (อสพ.) รนุ่ ท่ี 71 (ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563)
เพือ่ ทดแทน อสพ.ทีข่ อลาออก

1. อาสาพัฒนา (อสพ.) รุ่นที่ 71 (ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ลาออก นับตั้งแต่เข้ารับการฝึกอบรม
ตามหลักสูตรการฝึกอบรมก่อนปฏิบัติงานอาสาพัฒนา (อสพ.) รุ่นท่ี 71 ถึงวันท่ี 30 เมษายน 2563 ให้
จังหวดั ดําเนนิ การ ดงั นี้

1) กรณีจังหวัดข้ึนบัญชีสํารองไว้ ให้จังหวัดเรียกจากบัญชีรายช่ือผู้ท่ีผ่านการคัดเลือกเป็น
อาสาพัฒนา (อสพ.) รุ่นที่ 71 (ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ลําดับสํารองถัดไป โดยให้อาสาพัฒนา
(อสพ.) ทดแทนเทา่ กบั จาํ นวนอาสาพฒั นา (อสพ.) ทข่ี อลาออก

2) กรณีจังหวัดไม่มีผู้ข้ึนบัญชีสํารองไว้ ให้จังหวัดดําเนินการคัดเลือกบุคคลเพ่ือแต่งตั้ง
เป็นอาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นที่ 71 (ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ทดแทนอาสาพัฒนา (อสพ.) ให้ครบ
ตามจาํ นวนอาสาพัฒนา (อสพ.) ที่ลาออกจาการปฏิบัติหนา้ ท่ี
2. เมื่อจังหวัดได้อาสาพัฒนา (อสพ.) ทดแทนแล้ว ให้จังหวัดดําเนินการฝึกอบรมก่อนปฏิบัติงาน
อาสาพัฒนา (อสพ.) ตามหลักสูตรที่กรมฯ กําหนด จํานวน 3 วัน ให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจัดทําหนังสือ
แจง้ กรมฯ โดยให้ระบรุ ายละเอยี ด ดังนี้

- ระบุ รายช่ือ อาสาพัฒนา (อสพ.) ท่ีขอลาออก สาเหตุท่ีขอลาออก และรายชื่อ
อาสาพฒั นา (อสพ.) ทดแทน

- ระบุ รายช่ือ อาสาพฒั นา (อสพ.) สํารองทีเ่ รยี กมาทดแทน
- ระบุ วนั เดอื น ปี ท่จี ังหวัดฝึกอบรมกอ่ นปฏบิ ตั ิงานให้ อาสาพัฒนา (อสพ.) ทดแทน
- แนบบญั ชีลงเวลาในการฝกึ อบรมก่อนปฏิบัติงานของ อาสาพัฒนา (อสพ.) ทดแทน
- แนบภาพถ่ายประกอบการฝกึ อบรมก่อนปฏบิ ัตงิ านของ อาสาพัฒนา (อสพ.) ทดแทน
- แนบสาํ เนาสลิปเปอนิ กรณี อาสาพัฒนา (อสพ.) ทเี่ สียค่าปรบั เนื่องจากใชบ้ ุคคล
ค้ําประกนั
- แนบสัญญาการเข้ารับการฝึกอบรมและปฏิบัติหน้าที่อาสาพัฒนา (อสพ.) รุ่นที่ 71
(ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) พร้อมรปู ถ่ายขนาด 1 นว้ิ จํานวน 2 ใบ
ทั้งน้ี ผู้เข้ารับการอบรมก่อนปฏิบัติงานอาสาพัฒนา (อสพ.) ทดแทน เป็นผู้รับผิดชอบ
คา่ ใชจ้ า่ ยตลอดระยะเวลาการฝกึ อบรม (ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง คา่ ท่ีพักและคา่ อาหาร/อาหารว่าง)
3. อาสาพฒั นา (อสพ.) มีค่าตอบแทนเดือนละ 15,000 บาท มรี ะยะเวลาการปฏบิ ัตงิ าน ตัง้ แต่วันท่ีกรมฯ
ออกคาํ ส่ัง จนถงึ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563
4. อาสาพัฒนา (อสพ.) ท่ีได้รับการคัดเลือกจากบัญชีสํารองทดแทน อสพ.ที่ลาออก จะไม่ได้รับ
คา่ ตอบแทนปลายปี จาํ นวน 5,000 บาท
5. จังหวัดแจ้งให้อาสาพัฒนา (อสพ.) ทราบแนวทางและเง่ือนไขฯ ก่อนเข้ารับการอบรมและแต่งต้ังให้
ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 39

ความรูค้ อู่ าสาพัฒนา

40 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

สาํ นักเสริมสร้างความเข้มแขง็ ชุมชน (สสช.)

หน้าที่ความรบั ผิดชอบ

มีอาํ นาจหน้าที่เก่ยี วกบั

 การศึกษา วิเคราะห์วจิ ัย เพ่ือกาํ หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รปู แบบและ
แนวทางในการเสริมสรา้ งความสามารถของประชาชน ผูน้ าํ ชมุ ชน องค์การชุมชนและ
เครอื ข่ายองคก์ ารชุมชนในการบริหารจดั การชุมชนตามแนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 กาํ หนดและพฒั นาเกณฑ์มาตรฐาน รปู แบบ วธิ กี ารประเมินรับรองมาตรฐานผูน้ าํ
ชุมชน องคก์ ารชมุ ชน เครอื ข่ายองค์การชุมชนและชุมชน
 ดําเนนิ การเกย่ี วกบั การจัดการความรู้ การจัดทําแผนชมุ ชน และการดําเนนิ กิจกรรม
โดยชมุ ชน
 ประสานงานผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้องด้านการพฒั นาชุมชนตามความรบั ผิดชอบของส่วน
ราชการ
 ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั หรอื สนับสนุนการปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอนื่ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งหรอื ท่ี
ได้รับมอบหมาย

สํานักเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชุมชนออกเป็น 6 กลุ่มงาน 1 ฝ่าย ดงั นี้.

2.1 กลุ่มงานประสานแผนและยทุ ธศาสตร์
2.2 กลมุ่ งานสง่ เสริมผนู้ ําชุมชนและองคก์ รชมุ ชน
2.3 กลุ่มงานส่งเสริมสมั มาชีพชุมชน
2.4 กลมุ่ งานสง่ เสริมการบริหารจดั การชุมชน
2.5 กลุ่มงานสง่ เสริมการเรียนรชู้ มุ ชน
2.6 กลมุ่ งานพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากและประชารฐั
2.7 ฝ่ายอํานวยการ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 41

การพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ

กรมการพัฒนาชมุ ชน ได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับ
ใช้ในการส่งเสริมการดําเนินชีวิต ทั้งในระดับบุคคล ระดับครอบครัว และ
ระดับหมู่บ้านทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี 2549 และสนับสนุนหมู่บ้านท่ีมีความ
พรอ้ มพัฒนาเป็นหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ ตั้งแต่ปี 2552 – 2557

42 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

เปา้ หมาย
การพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งต้นแบบ

หมู่บ้านและชุมชนสามารถบริหารจัดการตนเองตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นหมู่บ้าน “อยู่เย็นเป็นสุข” ตามยุทธศาสตร์
ของกรมการพฒั นาชุมชน ซ่ึงยึดหลักตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 เมื่อดําเนินการแล้ว จะต้องเป็นหมู่บ้านและ
ชมุ ชน 3 ไม่ 2 มี

หมูบ่ า้ น“อย่เู ย็น เปน็ สุข” 3 ไม่ 2 มี

3 ไม่ 2 มี

ไมม่ ียาเสพติด มสี วสั ดิการชุมชน

ไม่มีคนยากจน มกี ารบรหิ าร
ไม่มหี นน้ี อกระบบ จดั การ

ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 43

การก่อเกดิ หมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2549 – 2551

เรม่ิ ต้น...เปน็ การสรา้ งกระบวนการเรียนร้ขู องชมุ ชน ดว้ ยเกณฑป์ ระเมนิ
6 ด้าน 12 ตัวชี้วดั (6x2) คือ

ลดรายจ่าย • 1. ทาํ สวนครวั
• 2. ลด ละ เลกิ อบายมุข

เพมิ่ รายได้ • 1. มีอาชพี สุจรติ
• 2. ใชเ้ ทคโนโลยที ี่เหมาะสม

ประหยัด • 1. มกี ารออม
• 2. มีกลุ่มออมทรัพย์ฯ

เรยี นรู้ • 1. สบื ทอดภูมปิ ัญญา
อนรุ ักษ์ • 2. มกี ารเรียนรปู้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สงิ่ แวดลอ้ ม
• 1. ใชว้ ตั ถดุ ิบในชุมชนประกอบอาชีพ
• 2. ปลกู ต้นไม้ รักษาปา่

เออื้ อารี • 1. ช่วยเหลอื คนจน คนดอ้ ยโอกาส
• 2. รู้รักสามคั คี

44 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71


Click to View FlipBook Version