The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสำหรับ-อสพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสำหรับ-อสพ

คู่มือสำหรับ-อสพ

สํานักส่งเสริมภูมปิ ัญญาท้องถิÉนและวสิ าหกจิ ชุมชน

ภารกจิ สํานกั ส่งเสรมิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และวิสาหกิจชุมชน

1. การลงทะเบยี น ผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP 7. โครงการสง่ เสริมกระบวนการเครอื ขา่ ย
2. ศูนยบ์ ริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก องค์ความรู้ (Knowleadge – Based
3. การดาํ เนินงานเครือขา่ ย OTOP OTOP : KBO)
4. โครงการหมูบ่ า้ น OTOP เพอื่ การทอ่ งเทยี่ ว 8. การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ OTOP ตามการ
5. การพฒั นาเยาวชนเพ่ืออนุรักษ์และสืบสานภูมิ จัดกลมุ่ Quadrant ( A B C D )
ปญั ญาทอ้ งถนิ่
6. การคดั สรรสุดยอดหนง่ึ ตําบล หนงึ่ ผลิตภัณฑ์
ไทย ปี พ.ศ. 2559

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 95

โครงการหนึ่งตาํ บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP)

กรมการพฒั นาชมุ ชน

ได้รบั มอบหมายให้รับผิดชอบดําเนินการ
สง่ เสริมการดาํ เนินงาน OTOP
ตั้งแต่ปี 2544 จนถงึ ปัจจบุ นั โดย
อธบิ ดีกรมการพฒั นาชุมชน
เป็นกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
ในคณะกรรมการอํานวยการหน่งึ ตําบล
หน่งึ ผลติ ภณั ฑแ์ หง่ ชาติ (กอ.นตผ.) และคณะอนกุ รรมการพฒั นาผลิตภัณฑ์ใน
ประเภทต่างๆ

พัฒนาการจงั หวดั เปน็ อนกุ รรมการ/เลขานุการในคณะอนุกรรมการหนึง่ ตาํ บล

หน่งึ ผลติ ภัณฑ์ระดับจงั หวดั ตามคาํ สั่งคณะกรรมการอาํ นวยการหนึง่ ตาํ บลหนึ่ง
ผลติ ภณั ฑแ์ หง่ ชาติ (กอ.นตผ.) พ.ศ.2556

แนวคิดพ้นื ฐาน ปรัชญา OTOP

1. ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินสู่สากล หรอื คดิ ระดบั โลก แต่ทําระดบั ท้องถิ่น คอื การผลติ
สินคา้ ที่คงไว้ซงึ่ วัฒนธรรมท้องถ่นิ และอัตลักษณข์ องชมุ ชน ซ่งึ ไมใ่ ช่เพียง
การผลติ ทีต่ อบสนองความต้องการของชุมชนเทา่ นน้ั แต่เปน็ การผลติ ท่ีสามารถ
เข้าถงึ รสนยิ มของผู้บรโิ ภคท้ังในประเทศและต่างประเทศโดยพจิ ารณาความตอ้ งการ
ของตลาดเป็นสาํ คญั
2. การพึ่งพาตนเองและคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ คอื การปลูกจติ สาํ นกึ ในการพง่ึ พาตนเอง
ใหป้ ระชาชนในท้องถน่ิ เป็นผู้ตัดสินใจเพอื่ พฒั นาทอ้ งถ่นิ ของตนเอง กิจกรรมต่างๆ
ตอ้ งมาจากความต้องการของคนในชุมชน ชุมชนตอ้ งร่วมกนั ใชค้ วามคดิ รเิ ริม่
สร้างสรรค์ คดิ คน้ ผลติ สนิ ค้าและบรกิ ารใหม่ ๆ จากทรัพยากรในทอ้ งถิน่
3. การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ คือ การสง่ เสรมิ พฒั นาบุคลากรในท้องถ่นิ ใหส้ ามารถ
เรียนรู้ ค้นควา้ พัฒนาได้ด้วยตนเอง กระตุ้นและสง่ เสรมิ ให้ทําในสงิ่ ใหม่ ๆท่ที ้าทาย
ความสามารถ และมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เพราะผทู้ ี่มีบทบาทสําคัญในการขบั เคลอื่ น
ใหท้ อ้ งถน่ิ เกิดการพัฒนาอย่างย่งั ยืน คอื ผ้นู ําชุมชนและประชาชนในท้องถน่ิ การ
พัฒนาบุคลากรถือเป็นปจั จัยสําคญั ทสี่ ุด

96 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ประเภทหน่ึงตาํ บล หนง่ึ ผลิตภณั ฑ์ (OTOP)

ผลติ ภณั ฑท์ ี่จะนาํ มาดําเนินการลงทะเบยี น ตอ้ งผา่ นกระบวนการ
ผลติ โดยใช้ภมู ิปัญญา แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ดังนี้

1. ประเภทอาหาร หมายถึง ผลผลิตทาง

การเกษตร และอาหารแปรรปู ซง่ึ ไดร้ ับ

มาตรฐาน อย., GAP, GMP, HACCP, Qmark,

มผช., มอก., มาตรฐาน เกษตรอนิ ทรยี ์,

ฮาลาล และมีบรรจุภณั ฑ์ เพือ่ การจาํ หน่าย

ทั่วไป แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ ดังน้ี

1.1 ผลิตผลทางการเกษตรทใี่ ชบ้ รโิ ภคสด 2. ประเภทเครื่องดืม่
1.2 ผลิตผลทางการเกษตรท่ีเปน็ วตั ถดุ บิ
แบง่ เปน็ 2 กลุ่ม
และผ่านกระบวนการแปรรปู เบ้ืองตน้
1.3 อาหารแปรรปู กงึ่ สําเร็จรปู /สาํ เรจ็ รปู 2.1 เคร่ืองดืม่ ที่มีแอลกอฮอล์
2.2 เครือ่ งดืม่ ที่ไม่มีแอลกอฮอล์

3. ประเภทผ้า เครือ่ งแตง่ กาย

แบง่ เปน็ 2 กลุ่ม
2.1 ผา้
2.2 เคร่ืองแต่งกาย

4.. ประเภทของใช้ / ของตกแต่ง/ 5. ประเภทสมนุ ไพรทไี่ มใ่ ช่
ของท่รี ะลกึ แบ่งเป็น 7 กลมุ่ อาหาร แบ่งเปน็ 3 กลมุ่

4.1 ไม้ 4.2 จกั สาน 5.1 ยาจากสมนุ ไพร
4.3 ดอกไม้ประดษิ ฐ/์ วสั ดุจากเสน้ ใย 5.2 เคร่ืองสาํ อางสมนุ ไพร
ธรรมชาติ 5.3 วตั ถุอันตรายท่ีใช้ใน
4.4 โลหะ บา้ นเรือน
4.5 เซรามิค / เคร่ืองป้นั ดนิ เผา
4.6 เคหะสง่ิ ทอ 4.7 อนื่ ๆ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 97

การเชื่อมโยงการจาํ หนา่ ยสนิ คา้ OTOP ในระบบ E-Commerce

ความเปน็ มา
การขับเคล่ือนโครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือที่รู้จักกันท่ัวไป

ว่า OTOP ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา ได้สร้างงาน สร้างรายได้ ให้แก่พ่ีน้อง
ประชาชนในชุมชนหมู่บ้านทั่วประเทศ รวมถึงสินค้าโอทอปประเภทต่างๆ
ยังได้สร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศไทยในระดับเวทีโลก จนนํามาสู่การวาง
แนวทางพัฒนาโอทอปท่ีชัดเจนมากย่ิงขึ้นในปัจจุบัน อีกทั้งการขับเคล่ือน
โครงการดังกล่าวสอดรับกับนโยบายสําคัญของรัฐบาลท่ีเน้นย้ําให้เกิดการ
กระจายรายได้ ลดความเหลอื่ มลํา้ อย่างยัง่ ยนื

รัฐบาลภายใต้การนําของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ได้มอบนโยบายให้กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชน เป็น
หน่วยงานหน่ึงในการขับเคลื่อนโครงการ หนึ่งตําบล หน่ึงผลิตภัณฑ์
ดําเนินงานในลักษณะบูรณาการทํางานร่วมกันกับทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชน

98 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การเชอ่ื มโยงการจาํ หนา่ ยสนิ คา้ OTOP ในระบบ E-Commerce

ความสาํ คัญ

กรมการพฒั นาชุมชน ได้ใหค้ วามสาํ คญั กับการเพมิ่ ศักยภาพของ OTOP
e-Commerce ในทุกมิติ เพ่ือขยายช่องทางการตลาดให้แก่สินค้า OTOP
และเพื่อเช่ือมโยงให้เกิดการรับรู้อย่างกว้างขวางและเลือกซื้อสินค้าได้
แพร่หลายมากข้ึน ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้ซื้อจากท่ัวโลกสามารถสั่งซ้ือสินค้าได้
อย่างสะดวก รวดเร็ว ดังน้ัน กรมฯ จึงได้ดําเนินการจัดทําในเร่ืองของ
Platform ระบบฐานข้อมูล OTOP ท่ัวประเทศมารวมกันไว้ที่เดียว และ
เชื่อมโยงไปถึงระบบการส่ังซ้ือสินค้า ด้วยระบบการเงินที่มีความปลอดภัย
ทําได้ง่ายและสะดวก รวดเร็ว โดยความร่วมมือจากสถาบันการเงินท่ีมี
ชอื่ เสยี งรว่ มขบั เคลอ่ื นไปพรอ้ มกัน และท้ายสุดการสร้างความม่ันใจในเรื่อง
การขนส่ง หรือระบบโลจิสติกส์ท่ีเป็นที่ยอมรับ ทําให้การจําหน่ายสินค้า
OTOP มีความสะดวกขึ้น สะดวกท้ังผู้ขายและผู้ซ้ือ อาทิ AIS Mobile Pro
Delivery , True Delivery Tracker , weloveshopping และไปรษณีย์
ไทย ที่สามารถนําสินค้าโอทอปไปได้ทั่วโลก เข้ามามีส่วนในการพัฒนา
การจดั การดว้ ย

ซ่ึงการดําเนินงาน OTOP e-Commerce จะช่วยให้สืบค้นเลือกซ้ือ
สินค้า OTOP ท้ัง 5 ประเภท อันได้แก่ ประเภทอาหาร ประเภทเคร่ืองดื่ม
ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของท่ีระลึก และ
ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ตลอดจนการสร้าง
การรบั รู้ขอ้ มูลสนิ ค้าขายดี OTOP Top 10 เพอื่ ดงึ ดูดความสนใจ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 99

การเช่อื มโยงการจาํ หนา่ ยสินค้า OTOP ในระบบ E-Commerce

o ในโลกปัจจบุ ันอินเทอรเ์ น็ตไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสาํ คญั อย่างยง่ิ ในชีวติ ไม่
เพียงแต่การสืบค้นข่าวสารข้อมูลต่างๆ แต่รวมไปถึงการซ้ือขายสินค้า
แ บ ะ บ ริ ก า ร ผ่ า น ท า ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ห รื อ ท่ี เ รี ย ก กั น ว่ า
E-Commerce เพราะE-Commerce คอื บรกิ ารการซ้ือขายออนไลน์
มีความสําคญั ทาํ ให้การซอ้ื ขายออนไลน์ สามารถซื้อขายได้ทกุ ท่ี สร้าง
ความสะดวกสบายใหผ้ ูซ้ ื้อและผู้ขาย

o เทคโนโลยี ก็ยังถือปัจจัยหลักท่ีช่วยส่งเสริมให้ธุรกิจ E-Commerce
เติบโตไปได้อย่างรวดเร็วมาก เพราะทําธุรกิจ E-Commerce ปัจจุบัน
สามารถใช้งานได้หลากหลายช่องทาง ท้ังทางสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต
หรือ คอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบของ E-Commerce มีความปลอดภัย
โดยเว็บไซต์ E-Commerce ส่วนใหญ่จะมีระบบการจ่ายเงินที่
สะดวกสบายแต่ระบบความปลอดภัยสูงมาก

ลกั ษณะของการขายของแบบ E-Commerce

1.ใช้ต้นทุนตํ่าจริง การขายออนไลน์น้ันมีต้นทุนตํ่ากว่าเปิดร้านจริงๆ
เนอ่ื งจากไม่ตอ้ งเสียคา่ เชา่ ร้าน ค่านํ้า ค่าไฟ ค่าจา้ งพนกั งาน
2. กลุ่มลูกค้ามีจํานวนมาก อัตราการใช้งานอินเทอร์เน็ตท่ีเพิ่มข้ึนทุกปี
ทําให้โอกาสในการขายของแบบ E-Commerce เพม่ิ ข้นึ ตามไปด้วย
3. เพ่ิมช่องทางในการขายสินค้าสําหรับผู้ท่ีมีหน้าร้านค้าจริงอยู่แล้ว
สามารถเปิดรา้ นคา้ ออนไลนเ์ พ่ือเพิ่มชอ่ งทางการขายสนิ ค้าอกี ทางหนึง่

100 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การเช่อื มโยงการจาํ หนา่ ยสนิ คา้ OTOP ในระบบ E-Commerce

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 101

ศูนยบ์ ริหารจดั การข้อมูลกลางเพ่อื การพฒั นาชมุ ชน

วิสยั ทศั น์

“เป็นหน่วยงานหลกั ของกรมการพัฒนาชุมชน ในการสง่ เสรมิ และ
สนับสนนุ การบริหารจัดการชมุ ชนให้เข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากม่ันคง
ด้วยระบบขอ้ มลู และเทคโนโลยสี ารสนเทศ”

พันธกิจ :

๑. พัฒนาระบบขอ้ มูลเพื่อการพัฒนาชนบท
๒. พฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ การพัฒนาชมุ ชน
๓. สร้างและพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

เป้าหมาย :

๑. ชุมชนมีข้อมูลสารสนเทศชมุ ชนเพอ่ื การ
พฒั นาชมุ ชน
๒. กรมการพฒั นาชมุ ชนมีสารสนเทศเพื่อการ
บรหิ ารการพฒั นาชมุ ชน และระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศท่เี หมาะสม

102 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ขอ้ มลู ความจําเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.)

จปฐ. คือ ?
ข้อมลู ความจาํ เป็นพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ขอ้ มลู ในระดบั ครัวเรือนที่แสดงถงึ สภาพความ
จําเปน็ ของคนในครวั เรอื นในดา้ นต่างๆ เกยี่ วกบั คุณภาพชวี ิตทไ่ี ดก้ าํ หนดมาตรฐานขน้ั ตํ่า
เอาไวว้ ่า คนควรจะมคี ุณภาพชวี ิตในเรอ่ื งน้ันๆอยา่ งไร ในชว่ งระยะเวลาหน่ึง

วัตถุประสงค์
เพือ่ ให้ประชาชนสามารถพัฒนาชวี ติ ความเป็นอยขู่ อง

ตนเองและครอบครวั ให้มคี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดี อยา่ งน้อยผา่ น
เกณฑค์ วามจําเป็นพน้ื ฐาน

ผู้จัดเก็บข้อมลู จปฐ. คอื คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน
ผู้นําชมุ ชน หวั หน้าคุ้ม อาสาพฒั นาชุมชน(อช.) อสม. หรอื อาสาสมัครอนื่ ๆ
ผใู้ ห้ข้อมูล คือ หัวหนา้ ครวั เรอื น ภรรยา หรอื สมาชกิ ในครวั เรือนท่ีสามารถให้
ข้อมลู ของครัวเรอื นไดอ้ ย่างครบถ้วน

ตัวชวี้ ดั ข้อมูลความจาํ เป็นพน้ื ฐาน
(จปฐ.)

ตัวช้ีวดั ของจปฐ. ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 12

พ.ศ. 2560–2564 มี 5 หมวด 31 ตวั ชวี้ ดั

สุขภาพดี 7 ตวั ช้วี ดั

สภาพแวดล้อม 7 ตัวชี้วดั

การศกึ ษา 5 ตวั ชี้วัด

การมีงานทําและรายได้ 4 ตวั ช้วี ัด

คา่ นิยม คมู่ อื อาสาพฒั นา8(อตสัวพช.ีว้)ัดรุ่นทีÉ 71 103

กระบวนการจัดเกบ็ จปฐ.

1. ขอ้ มูล จปฐ.จัดเก็บทุกปี โดย การสัมภาษณ์หัวหนา้ และหรือสมาชกิ ครวั เรอื น ตาม
แบบสอบถามท่กี าํ หนดขนึ้

2. นาํ เสนอผลการสํารวจใหค้ รวั เรอื นทราบ เมอื่ สนิ้ สุดการสมั ภาษณ์ ขอ้ มูล จปฐ. ผู้จัดเกบ็
ขอ้ มลู จะคัดลอกผลการสาํ รวจของครัวเรอื น สง่ มอบให้แก่ครัวเรอื นเพ่อื ใหค้ รวั เรือนนาํ ผลการสาํ รวจ
ไปใชป้ รบั ปรุง/รักษามาตรฐานคณุ ภาพชีวิตของตนเองเพือ่ ใหผ้ ่านเกณฑ์ จปฐ.ต่อไป

3. ตรวจสอบความถกู ต้องครบถ้วน เพอ่ื บันทกึ ขอ้ มลู จปฐ. ลงโปรแกรม จปฐ.
4. นาํ เสนอผลการจัดเกบ็ ข้อมูลระดับหมูบ่ ้าน
5. นาํ เสนอผลระดบั ตําบล/อําเภอ/จงั หวัด และระดับประเทศ
6. รบั รองคุณภาพการจัดเกบ็ ข้อมูล

คณะทํางานบริหารการจัดเกบ็ ขอ้ มูล
ระดับจงั หวัด : มรี องผู้ว่าราชการจงั หวัด
เปน็ หัวหนา้ พัฒนาการจงั หวัดเปน็ เลขานกุ าร
คณะทาํ งานบริหารการจดั เก็บข้อมูลระดับอําเภอ : มนี ายอําเภอเป็นหัวหน้า
พัฒนาการอาํ เภอเปน็ เลขานกุ าร
คณะทํางานบรหิ ารการจัดเกบ็ ข้อมูลระดับตาํ บล : มีนายก อบต. เป็นหัวหนา้
พัฒนากรเป็นเลขานุการ

ข้อมลู พ้นื ฐานระดับหมู่บ้าน/ชุมชน (กชช.2ค.)

ข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมบู่ า้ น (กชช.2ค) คอื ข้อมลู ท่ี
แสดงสภาพท่วั ไปของหมบู่ า้ น สภาพพน้ื ฐานทาง
เศรษฐกจิ ความรูแ้ ละการศกึ ษา การมสี ่วนรว่ มและ
ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน สุขภาพและอนามยั
สภาพแรงงาน และยาเสพติด ซ่งึ เป็นข้อมลู ทจ่ี ัดเก็บ
ทุกหมู่บ้านในชนบทเปน็ ประจาํ ทกุ 2 ปี

104 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

งานสารบรรณ

หมายถงึ “งานทเี่ กี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เร่ิมตั้งแต่การจัดทํา การรับ การส่ง
การเก็บรกั ษา การยมื จนถงึ การทาํ ลาย” มคี วามหมายครอบคลมุ ถงึ งานที่เกี่ยวกบั
เอกสารทง้ั หมด ต้งั แตข่ บวนการเริ่มแรกจนถึงขน้ั ทาํ ลายเอกสาร ท้งั น้ี เพือ่ ไม่ให้มี
การเกบ็ เอกสารท่ไี ม่จาํ เปน็ ไวใ้ นส่วนราชการน่นั เอง

หมายถงึ งานท่ีทําด้วยหนังสอื นับตัง้ แต่ คดิ รา่ ง เขียน พิมพ์ ทําสําเนา สง่ รบั บนั ทึก
ยอ่ เร่อื ง เสนอ สงั่ การ ตอบ เกบ็ เข้าแฟม้ และคน้ หา สาํ หรับการยืม และการทําลาย

ระเบยี บ
 ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ. 2526 (บังคับใช้ตัง้ แต่ วันท่ี 1 มถิ ุนายน 2526)
 ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 (สารบรรณ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์) (บังคบั ใช้ตง้ั แต่ วันท่ี 22 มิถุนายน 2548)

หนงั สือราชการมี 6 ชนดิ หนงั สอื ราชการมี 11 แบบ
1. หนงั สือภายนอก 1. หนงั สือภายนอก
2. หนงั สือภายใน
3. หนงั สือประทบั ตรา 2. หนงั สอื ภายใน
4. หนงั สือสงัÉ การ 3. หนงั สอื ประทบั ตรา
5. หนงั สอื ประชาสมั พนั ธ์ 4. คําสงÉั 5. ระเบยี บ 6. ข้อบงั คบั
6. หนงั สือทเีÉ จ้าหน้าททีÉ าํ ขนึ Ê หรือรับไว้เป็น 7.ประกาศ 8. แถลงการณ์ 9. ขา่ ว
10.หนงั สอื รับรองรายงานการประชมุ
หลกั ฐานในราชการ 11. บนั ทกึ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 105

หนงั สือภายนอก

คอื หนงั สอื ติดต่อราชการท่เี ป็นแบบพธิ ี โดยใชก้ ระดาษตราครุฑเป็นหนงั สอื ติดต่อ
ระหว่างส่วนราชการ หรอื สว่ นราชการมีถงึ หน่วยงานอน่ื ใดซึ่งมใิ ชส่ ่วนราชการ หรอื
ที่มถี ึงบคุ คลภายนอก รวมถึงข้าราชการบํานาญ

โครงสร้าง ประกอบด้วยสว่ นสําคญั 4 สว่ น

ท่ี............. ตราครฑุ (ส่วนราชการเจ้าของหนงั สือ)
(วัน เดือน ปี)
เรือ่ ง............................
หัวหนังสือ เรียน..............................
อา้ งถึง (ถ้าม)ี ............................
สิ่งท่สี ่งมาดว้ ย (ถา้ ม)ี ..............................

เหตุทม่ี ี (ขอ้ ความ).....................................................................................
หนงั สือไป .................................................................................................................................................
.............................................................................................................

จุดประสงค์ (ข้อความ)..................................................................................................................................
ที่มหี นังสือไป .............................................................................................................................................

ทา้ ยหนังสือ จึง....................................................................

106 (คาํ ลงทา้ ย)........................
(ลงช่อื )............................................

(พมิ พ์ชอื่ เต็ม)............................
(ตาํ แหนง่ )............................

(ส่วนราชการเจ้าของเร่อื ง)...........
โทร. x xxxx xxxx
โทรสาร x xxxx xxxx
ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์...........
สาํ เนาส่ง (ถ้ามี)……………………

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 107

หนงั สือภายใน

คอื หนังสอื ตดิ ต่อราชการท่ีเปน็ แบบพธิ ีน้อยกว่าหนังสอื ภายนอก เปน็
หนังสือตดิ ตอ่ ภายในกระทรวงทบวงกรม หรอื จงั หวดั เดียวกัน ใช้กระดาษ
บนั ทึกข้อความในการจัดทํา

โครงสร้าง ประกอบดว้ ยสว่ นสาํ คัญ 4 ส่วน

หวั หนังสอื ส่วนราชการ........................................................................................................................
ที่............................................วนั ท่ี.....................................................................................
เรื่อง....................................................................................................................................
(คาํ ขน้ึ ต้น)..........................................

เหตุทมี่ ี (ข้อความ)....................................................................................
หนงั สือไป ................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
จดุ ประสงค์ ..
ทีม่ หี นังสือไป
จึง.................................................................. ....................................................................
.................................................................................................................

ท้ายหนงั สือ (ลงช่อื )......................................................
(พิมพ์ชื่อเต็ม).....................................

(ตําแหน่ง)......................................

108 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 109

หนงั สือประทับตรา

คือ หนังสอื ทใ่ี ชก้ ระดาษตราครุฑจดั ทาํ โดยประทบั ตราแทนการลงชอื่ ของ
หัวหน้าส่วนราชการระดบั กรมข้ึนไป โดยใหห้ วั หนา้ สว่ นราชการระดับกองหรือผ้ทู ไ่ี ด้รบั
มอบหมายจากหวั หน้าสว่ นราชการระดับกรมขึ้นไป เปน็ ผู้รับผดิ ชอบลงช่อื ย่อกาํ กับตราหนงั สือ
ประทับตราให้ใชไ้ ดท้ ง้ั ระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหวา่ งส่วนราชการกับ
บคุ คลภายนอก เฉพาะกรณีทีไ่ มใ่ ช่เรือ่ งสาํ คัญ ได้แก่
1. การขอรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ
2. การสง่ สําเนาหนังสือ สงิ่ ของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การตอบรับทราบที่ไม่เกย่ี วกบั ราชการสาํ คัญ หรอื การเงิน
4. การแจง้ ผลงานท่ีได้ดาํ เนนิ การไปแลว้ ให้สว่ นราชการที่เกยี่ วขอ้ งทราบ
5. การเตือนเรอ่ื งทีค่ ้าง
6. เรอื่ งซึง่ หัวหน้าสว่ นราชการระดบั กรมขน้ึ ไปกําหนดโดยทาํ เปน็ คาํ สั่งให้ใช้หนงั สอื ประทบั ตรา

โครงสร้าง ประกอบด้วยส่วนสาํ คัญ 3 สว่ น

ตราครฑุ

หัวหนังสอื ท่ี.............
ถึง............................

เหตทุ ม่ี ี (ขอ้ ความ)................................................................................
หนังสือไป ............................................................................................................................................
.......................................................................................................................

ทา้ ยหนงั สือ (สว่ นราชการเจ้าของหนงั สอื )
ตราชือ่ สว่ นราชการ

(วนั เดือน ปี)

(สว่ นราชการเจ้าของเร่อื ง)...........
โทร. x xxxx xxxx
โทรสาร x xxxx xxxx
ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์...........

110 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 111

หนงั สอื สัง่ การ มี 3 ชนดิ ได้แก่
คําสัง่ ระเบยี บ และขอ้ บงั คับ

ใช้กระดาษตราครฑุ

 คาํ ส่งั คอื บรรดาขอ้ ความทีผ่ บู้ งั คบั บัญชาส่งั การใหป้ ฏบิ ตั ิโดยชอบ
ดว้ ยกฎหมาย

1. คาํ สง่ั ใหล้ งชื่อสว่ นราชการหรือตาํ แหนง่ ของผู้มีอาํ นาจที่ออกคาํ สั่ง

2. ท่ี ใหล้ งเลขท่ีท่ีออกคาํ สั่ง โดยเร่มิ ฉบบั แรกจากเลข 1 เรยี งเปน็ ลาํ ดบั ไปจนส้ิน
ปีปฏทิ นิ ทบั เลขปีพทุ ธศักราชทอี่ อกคาํ สัง่ เช่น 3/2556

3. เร่ือง ใหล้ งชอื่ เร่อื งท่ีออกคําสั่ง

4. ขอ้ ความ ให้อ้างเหตุที่ออกคาํ ส่งั และอ้างถึงอํานาจทใี่ ห้ออกคําสั่ง (ถา้ มี) ไว้
ดว้ ย แลว้ จึงลงข้อความทสี่ ั่งและวนั ใชบ้ ังคบั

5. สั่ง ณ วันท่ี ให้ลงตวั เลขของวันที่ ข่อื เตม็ ของเดอื น และตวั เลขของปี
พุทธศักราชทอี่ อกคาํ ส่งั ตัวอยา่ ง สัง่ ณ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

6. ลงชอื่ ใหล้ งลายมอื ชอ่ื ผ้อู อกคาํ ส่งั และพิมพช์ ่อื เตม็ ของเจา้ ของลายมือชอื่ ไวใ้ ต้
ลายมือชอ่ื

7. ตําแหนง่ ให้ลงตําแหน่งของผูอ้ อกคาํ สงั่

112 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 113

ระเบียบ

 ระเบียบ คอื บรรดาข้อความทีผ่ มู้ อี ํานาจหนา้ ที่ได้วางไว้ โดยจะ
อาศัยอาํ นาจของกฎหมายหรอื ไมก่ ไ็ ด้ เพอื่ ถือเป็นหลักปฏิบตั งิ านเป็นการ
ประจํา

1. ระเบียบ ใหล้ งชื่อส่วนราชการทอ่ี อกระเบียบ
2. ว่าด้วย ใหล้ งชอ่ื ของระเบียบ
3. ฉบับท่ี ถ้าเป็นระเบยี บทีก่ ลา่ วถึงเป็นครงั้ แรกในเรื่องนัน้ ไมต่ ้องลงว่าเป็นฉบบั ที่
เท่าใด แตถ่ ้าเป็นระเบยี บเรือ่ งเดียวกันทมี่ กี ารแก้ไขเพ่ิมเตมิ ให้ลงเปน็ ฉบับที่ 2 และท่ี
ถดั ๆ ไปตามลาํ ดับ
4. พ.ศ. ใหล้ งตวั เลขของปพี ุทธศักราชท่ีออกระเบียบ
5. ข้อความ ใหอ้ ้างเหตผุ ลโดยย่อ เพือ่ แสดงถึงความม่งุ หมายท่ตี ้องออกระเบียบและ
อ้างถงึ กฎหมายท่ีให้อํานาจออกระเบียบ (ถา้ มี)
6. ข้อ ให้เรยี งขอ้ ความท่ีจะใช้เป็นระเบียบเปน็ ข้อๆโดยให้ขอ้ 1 เป็นช่อื ระเบยี บ
ขอ้ 2 เปน็ วันใช้บังคับกําหนดวา่ ให้ใช้บงั คับตั้งแต่เม่อื ใด และข้อสุดทา้ ยเป็นขอ้ ผู้
รกั ษาการ ระเบยี บใดถ้ามมี ากข้อหรือหลายเร่อื งจะแบง่ เปน็ หมวดก็ได้โดยใหย้ า้ ยขอ้
ผ้รู กั ษาการไปเปน็ ข้อสุดท้ายกอ่ นท่ีจะขึ้นหมวด 1
7. ประกาศ ณ วันท่ี ให้ลงตวั เลขของวันท่ี ชอื่ เตม็ ของเดอื น และตวั เลขของปี
พทุ ธศักราชทอี่ อกระเบยี บ
8. ลงชอื่ ให้ลงลายมือชอ่ื ผอู้ อกระเบียบ และพมิ พ์ชอื่ เตม็ ของเจา้ ของลายมือช่ือไวใ้ ต้
ลายมอื ช่อื
9. ตาํ แหนง่ ใหล้ งตาํ แหนง่ ของผูอ้ อกระเบยี บ

114 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

ข้อบงั คบั

 ขอ้ บังคับ คือ บรรดาข้อความท่ผี ู้มอี ํานาจหน้าทก่ี าํ หนดใหใ้ ชโ้ ดย
อาศยั อาํ นาจของกฎหมายท่บี ญั ญัตใิ ห้กระทําได้ ใช้กระดาษตราครฑุ และ
ใหจ้ ัดทําตามแบบที่ 6 ท้ายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียดดังน้ี

1. ข้อบังคบั ให้ลงช่ือสว่ นราชการท่อี อกขอ้ บงั คบั
2. ว่าดว้ ย ให้ลงช่ือของขอ้ บงั คบั
3. ฉบับที่ ถา้ เปน็ ข้อบังคับท่กี ลา่ วถึงเป็นครงั้ แรกในเร่อื งนั้น ไมต่ ้องลงว่าเป็นฉบบั ท่ี
เทา่ ใด แตถ่ ้าเปน็ ข้อบงั คบั เร่ืองเดยี วกันทีม่ กี ารแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ให้ลงเปน็ ฉบบั ที่ 2 และท่ี
ถัด ๆ ไปตามลาํ ดับ
4. พ.ศ. ให้ลงตัวเลขของปีพุทธศกั ราชทอี่ อกขอ้ บงั คับ
5. ขอ้ ความ ให้อา้ งเหตผุ ลโดยยอ่ เพอ่ื แสดงถึงความมงุ่ หมายทต่ี อ้ งออกขอ้ บังคบั และ
อ้างถึงกฎหมายที่ใหอ้ ํานาจออกข้อบงั คับ
6. ข้อ ใหเ้ รยี งขอ้ ความท่จี ะใช้บงั คับเปน็ ข้อ ๆ โดยให้ ขอ้ 1 เป็นชอื่ ขอ้ บังคบั ข้อ 2
เปน็ วันใชบ้ ังคับกําหนดวา่ ให้ใช้บงั คับตั้งแตเ่ มอื่ ใด และข้อสดุ ท้ายเปน็ ขอ้ ผู้รักษาการ
ข้อบงั คบั ใดถา้ มมี ากขอ้ หรือหลายเร่ืองจะแบง่ เป็นหมวดก็ได้ โดยใหย้ า้ ยข้อผู้
รักษาการไปเปน็ ข้อสุดท้ายกอ่ นท่ีจะข้นึ หมวด 1
7. ประกาศ ณ วันท่ี ให้ลงตวั เลขของวันท่ี ชือ่ เต็มของเดอื น และตวั เลขของปี
พุทธศักราช ทอี่ อกขอ้ บงั คับ
8. ลงชอ่ื ให้ลงลายมอื ชื่อผ้อู อกขอ้ บงั คับ และพิมพช์ ื่อเต็มของเจ้าของลายมอื ชื่อไว้
ใต้ลายมอื ชอื่
9. ตําแหนง่ ให้ลงตําแหน่งของผอู้ อกข้อบังคับ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 115

หนงั สือประชาสมั พันธม์ ี 3 ชนดิ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว

ใชก้ ระดาษตราครฑุ ในการจดั ทาํ

 ประกาศ คือ บรรดาข้อความทท่ี างราชการประกาศ

หรอื ช้ีแจงให้ทราบ หรอื แนะแนวทางปฏิบตั ิ
1. ประกาศ ใหล้ งชอื่ ส่วนราชการทีอ่ อกประกาศ
2. เรอ่ื ง ใหล้ งชื่อเรื่องท่ีประกาศ
3. ขอ้ ความ ใหอ้ ้างเหตผุ ลท่ตี อ้ งออกประกาศและข้อความทปี่ ระกาศ
4. ประกาศ ณ วนั ท่ี ใหล้ งตวั เลขของวันที่ ชอื่ เต็มของเดอื นและตวั เลขของปีพทุ ธศักราชทอ่ี อกประกาศ
5. ลงชอ่ื ให้ลงลายมอื ชื่อออกประกาศ และพมิ พ์ชอ่ื เตม็ ของเจ้าของลายมือชอื่ ไว้ใต้ลายมอื ชอ่ื
6. ตาํ แหนง่ ใหล้ งตําแหน่งของผอู้ อกประกาศในกรณที กี่ ฎหมายกาํ หนดใหท้ ําเปน็ แจง้ ความใหเ้ ปล่ียนคํา
วา่ ประกาศ เป็น แจง้ ความ

 แถลงการณ์ คอื บรรดาข้อความทที่ างราชการแถลงเพื่อทาํ ความเขา้ ใจในกจิ การของทางราชการ

หรอื เหตกุ ารณ์หรอื กรณีใด ๆ ใหท้ ราบชดั เจนโดยทั่วกัน
1. แถลงการณ์ ใหล้ งชอื่ ส่วนราชการทอี่ อกแถลงการณ์
2. เร่ือง ให้ลงช่ือเรือ่ งทอี่ อกแถลงการณ์
3. ฉบบั ที่ ใช้ในกรณที ีจ่ ะต้องออกแถลงการณ์หลายฉบับในเร่ืองเดยี วทีต่ อ่ เนอ่ื งกนั ใหล้ งฉบบั ทีเ่ รียง
ตามลาํ ดับไว้ด้วย
4. ขอ้ ความ ให้อา้ งเหตุผลท่ีตอ้ งออกแถลงการณแ์ ละขอ้ ความทีแ่ ถลงการณ์
5. ส่วนราชการท่อี อกแถลงการณ์ ใหล้ งช่อื ส่วนราชการทีอ่ อกแถลงการณ์
6. วนั เดือน ปี ใหล้ งตวั เลขของวนั ที่ ช่อื เต็มของเดือน และตัวเลขของปพี ทุ ธศักราชท่ีออกแถลงการณ์

 ขา่ ว คอื บรรดาขอ้ ความท่ที างราชการเหน็ สมควรเผยแพรใ่ หท้ ราบ

1. ขา่ ว ให้ลงชื่อสว่ นราชการท่ีออกข่าว
2. เรอื่ ง ให้ลงช่ือเร่อื งทอี่ อกข่าว
3. ฉบับที่ ใชใ้ นกรณที ่จี ะตอ้ งออกข่าวหลายฉบับในเรือ่ งเดยี วท่ตี ่อเนือ่ งกนั ให้ลงฉบับทเ่ี รียงตามลาํ ดับ
ไวด้ ว้ ย
4. ขอ้ ความ ให้ลงรายละเอียดเกยี่ วกบั เร่อื งของข่าว
5. ส่วนราชการท่ีออกขา่ ว ใหล้ งชื่อสว่ นราชการท่ีออกขา่ ว
6. วัน เดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันท่ี ชอ่ื เต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชท่อี อกขา่ ว

116 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

รายงานการประชมุ คือ การบนั ทึกความคิดเหน็ ของผ้มู าประชมุ ผเู้ ขา้ รว่ มประชุม

และมตขิ องท่ีประชมุ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน

1. รายงานการประชมุ ให้ลงชื่อคณะท่ปี ระชุมหรือชอ่ื การประชุมนนั้
2. คร้งั ท่ี ใหล้ งคร้งั ท่ีประชุม เชน่ คร้งั ท่ี ๕/๒๕๔๗
3. เมอื่ ใหล้ งวันเดือนปีทีป่ ระชมุ เชน่ วันจนั ทร์ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗
4. ณ ใหล้ งสถานท่ีท่ีประชุม เช่น หอ้ งประชมุ ๑ อาคาร ๓ ชน้ั ๒ กรมตรวจบัญชสี หกรณ์
5. ผ้มู าประชุม ให้ลงชอื่ และหรือตาํ แหน่งของผ้ไู ดร้ ับแต่งตั้งเปน็ คณะที่ประชมุ ซึง่ มาประชุม
ในกรณที ม่ี ผี ูม้ าประชุมแทนใหล้ งช่ือผ้มู าประชมุ แทน และลงว่ามาประชุมแทนผใู้ ดหรือตาํ แหน่งใด
6. ผ้ไู มม่ าประชุม ใหล้ งช่อื และหรือตําแหนง่ ของผทู้ ่ีได้รบั การแต่งตั้งเป็นคณะทีป่ ระชุมซึง่ มไิ ดม้ า
ประชมุ พร้อมทง้ั เหตผุ ล
7. ผู้เขา้ รว่ มประชุม ใหล้ งชอ่ื และหรอื ตําแหน่งของผู้ที่มไิ ดร้ บั การแต่งตง้ั เปน็ คณะท่ปี ระชุมซึง่ ไดเ้ ขา้
ร่วมประชุม
8. เรม่ิ ประชมุ เวลา ให้ลงเวลาที่เริม่ ประชุม
9. ขอ้ ความ ใหบ้ นั ทึกข้อความทป่ี ระชมุ โดยปกตเิ รม่ิ ต้นดว้ ยประธานกลา่ วเปดิ ประชุมและเร่อื งที่
ประชมุ กบั มติหรือข้อสรปุ ของท่ีประชุมในแตล่ ะเรอื่ งตามลาํ ดบั
10. เลกิ ประชุมเวลา ใหล้ งเวลาที่เลิกประชมุ
11. ผูจ้ ดรายงานการประชมุ ใหล้ งชือ่ ผจู้ ดรายงานการประชุมครงั้ นนั้

รายงานการประชมุ ………………..…
ครง้ั ท่ี………/…………

เมือ่ ………………………….……….
ณ ……………………………………..…

ผู้มาประชุม

ผไู้ มม่ าประชุม (ถา้ มี)

ผู้เข้าร่วมประชุม (ถา้ มี)

เร่ิมประชุมเวลา

(ข้อความ)……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….……………………………….…
………………………………………………………..

เลิกประชมุ เวลา

…………………………….……………
ผจู้ ดรายงานการประชุม

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 117

การรับ-ส่งหนังสอื

การรับหนังสือ คือ การรบั หนังสือจากส่วนราชการ หนว่ ยงานเอกชนและบคุ คล

ซงึ่ มมี าจากภายนอกและภายใน หนงั สือทร่ี ับไว้แล้วนั้นเรียกวา่ “หนงั สือรับ” การรับหนงั สือมี

ข้ันตอนการปฏิบตั ดิ งั นี้

1.จดั ลําดับความสําคญั และความเร่งดว่ นของหนังสือ เพอ่ื ดําเนนิ การก่อนหลัง

ละตรวจความถกู ตอ้ งของเอกสาร หากไมถ่ ูกตอ้ งใหต้ ดิ ตอ่ ส่วนราชการเจ้าของเร่อื งหรอื หนว่ ยงานท่ี

สง่ ออกหนังสือ เพือ่ ดาํ เนนิ การใหถ้ กู ต้องและบนั ทึกข้อบกพร่องไว้เปน็ หลกั ฐาน

2.การประทับตรารับหนังสอื ท่ีมมุ บนด้านขวาของหนงั สือ โดยกรอก

รายละเอยี ดดงั นี้

2.1 เลขรับ ใหล้ งเลขทร่ี ับตามลาํ ดบั ทะเบยี นหนงั สือรบั

2.2 วนั ท่ี ให้ลงวันท่ี เดือน ปี ท่ีรบั หนังสอื

2.3 เวลา ให้ลงเวลาทีร่ ับหนงั สอื

(ช่ือสว่ นราชการ)

แบบตรารับหนังสือ เลขท่ีรับ...............
วนั ที่.....................

เวลา.....................

ลงทะเบยี นรับหนังสือในทะเบียนหนังสอื รบั โดยกรอกรายละเอียด ดังนี้
1.ทะเบยี นหนังสอื รบั วัน เดอื น พ.ศ. ให้ลง วัน เดือน ปี ท่ลี งทะเบยี น
2.เลขทะเบยี นรบั ใหล้ งเลขลําดับของทะเบยี นหนังสอื รบั เรียงลําดบั ตดิ ตอ่ กนั ไปตลอดปีปฏทิ นิ เลข
ทะเบียนของหนงั สือรบั จะต้องตรงกบั เลขทใ่ี นตรารบั หนงั สือ
3.ที่ ใหล้ งเลขท่ขี องหนังสอื ที่รบั เข้ามา
4.ลงวันท่ี ให้ลงวนั ที่ เดือน ปี ของหนังสอื ทรี่ ับเขา้ มา
5.จาก ใหล้ งตําแหนง่ เจา้ ของหนงั สอื หรือชอ่ื สว่ นราชการหรือชอื่ บุคคลในกรณที ไ่ี มม่ ีตาํ แหน่ง
6.ถงึ ใหล้ งตาํ แหนง่ ของผทู้ ี่หนงั สอื น้นั มีถงึ หรือชือ่ ส่วนราชการหรอื ชื่อบคุ คลในกรณที ี่ไมม่ ีตาํ แหนง่
7.เร่อื ง ให้ลงชอ่ื เรอื่ งของหนงั สอื ฉบับนนั้ ในกรณีท่ีไม่มีช่ือเร่อื งให้ลงสรปุ เรือ่ งยอ่
8.การปฏิบัติ ใหบ้ นั ทกึ การปฏบิ ัติเก่ียวกับหนงั สอื ฉบับนน้ั
9.หมายเหตุ ให้บันทึกขอ้ ความอน่ื ใด (ถา้ มี)

แบบทะเบยี นหนงั สือรับ วนั ทÉี............เดือน.........พ.ศ. .........
ทะเบียนหนงั สือรับ

เลข ที่ ลงวนั ท่ี จาก ถงึ เรอ่ื ง การ หมาย
ทะเบยี น ปฏิบัติ เหตุ

รับ

118 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

การจัดการความรู้

“ความรู้” คือ เทคนิค วิธีปฏิบัติ กลเม็ดเคล็ดลับ หรือข้อพึงระวังท่ีใช้

ไดผ้ ลและประสบความสาํ เร็จในอดีตและถกู ถ่ายทอดมาจนถึงปจั จุบนั

“การจัดการความรู้” คือ กระบวนการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมีอยู่อย่าง

กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนใน
องค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

ท่มี า: สถาบันเพ่ิมผลผลติ แห่งชาติ
http://www.ftpi.or.th/services/consult/ด้านการจดั การ
ความรู้-knowledge-manageme

ประโยชนข์ องการจดั การความรู้

1. ช่วยลดข้ันตอนในการทํางาน
2. ไมต่ อ้ งทํางานด้วยการลองผิด ลองถกู เปน็ การตอ่ ยอดความรู้ ประหยดั ทรัพยากร
ท่ีใช้ในการทํางาน

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 119

การเขยี นความรู้ หรอื ถอดบทเรียน

ลกั ษณะเรื่องเล่า หรอื รปู แบบการเขยี นความรู้ แบ่งออกเปน็ 3 ประเดน็ ดังน้ี
1. สว่ นนํา (เหตกุ ารณน์ ั้นมคี วามเปน็ มาอย่างไร)
2. สว่ นขยาย (มีกระบวนการ/วธิ กี าร/เทคนคิ /ขอ้ พงึ ระวงั อยา่ งไรทใ่ี ช้ในการแกป้ ญั หา
หรือพัฒนางาน)
3. บทสรปุ (ผลของการแก้ปญั หา/พฒั นาเร่อื งนนั้ เปน็ อย่างไร)

รูปแบบการถอดความรู้
1.ชอ่ื ความรู้..................................
2.เจา้ ของความรู้..........................
3.ตาํ แหน่ง/สงั กดั .............................................
4.แกป้ ัญหาเก่ียวกบั .........................................
5.ส่วนนาํ ..........................................................
.........................................................................
6.ส่วนขยาย......................................................
7.ส่วนสรปุ .......................................................

ประเด็นการถอดความรู้

1. ชอื่ เร่ือง (เทคนิค)................
2. สถานการณ์ปญั หา (แก้ไขปญั หาเกยี่ วกับ).......................................
3. เหตุการณ์เกดิ ขึ้นทไ่ี หน เม่อื ไหร่............................
4.เทคนคิ /วิธีการแกไ้ ขปญั หา/การปฏบิ ตั ิงานทที่ าํ สาํ เรจ็ /ผลสําเรจ็ ท่ีเกดิ ข้นึ /ความ
ภาคภูมิใจ/ขอ้ ควรคาํ นงึ ถงึ ในการปฏบิ ัติ
5. สรปุ ส่ิงท่ไี ด้เรียนรู้ / ข้อเสนอแนะ/ข้อสรุปดีๆ สาํ หรบั ผู้อ่นื

120 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การดกั จบั ความรดู้ ้วยเครอ่ื งมอื
AAR ( After Action Review )

อาสาพัฒนา ควรศึกษาและประยุกต์ใช้เคร่ืองมือ AAR เพื่อนํามาใช้ใน
การปฏิบัติงานขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นเทคนิคที่เหมาะกับ
งานท่ีมีหลายขั้นตอน เพื่อดักเก็บความรู้แต่ละกิจกรรมทันท่ีท่ีปฏิบัติงานเสร็จ
เพื่อนําความรู้ที่ได้มาพัฒนางานคร้ังต่อไป แล้วสรุปสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้
ท้ังโครงการ

“AAR” คอื เครอ่ื งมือถอดบทเรียน หรอื องค์ความรู้ เปน็ การรวบรวม
บทเรียนท่ไี ด้จากการปฏบิ ัติ

ประโยชนข์ อง AAR

1. เพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพของการปฏิบัตงิ านอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ใหส้ ามารถทาํ ได้ดี
ขึน้ ในคร้ังตอ่ ไป
2. ทบทวนเพ่อื แลกเปล่ียนประสบการณก์ ารทํางานเพือ่ แกป้ ัญหาทีเ่ กิดขึ้น และ
เพื่อไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาน้ขี นึ้ อีก

หลักการสําคัญของ AAR
1. ทาํ หลงั จากกิจกรรมเสร็จสน้ิ ทันที หรอื ระหว่างพัฒนา
2. ทุกคนในทีมตอ้ งเขา้ รว่ ม
3. ใช้คาํ ถามปลายเปดิ เพอื่ ให้เกดิ การแลกเปล่ียน
4. เน้นกระบวนการ และบรรยากาศการเรยี นร้นู าํ ไปส่กู ารตดั สนิ ใจ
5. ผลผลัพธค์ อื ชุดขอ้ เสนอแนะทเ่ี จาะจง และปฏบิ ัตไิ ด้

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 121

ขั้นตอนการทาํ
AAR ( After Action Review )

1.กาํ หนดเวลา (หลังสถานการณ์จบสนิ้ ทนั ที)
2.ระบุผเู้ ขา้ ร่วมในกระบวนการ
3.สรา้ งบรรยากาศ การเรียนรู้
4.กาํ หนดประเด็น ถอดบทเรียน

5.ทบทวนการดาํ เนนิ งานตามวัตถุประสงค์
6.เลา่ ประสบการณ์ภายใต้คาํ ถามหลัก 4 คาํ ถาม
7.วเิ คราะห์แสวงหาส่ิงทีจ่ ะทาํ ตอ่ ไปให้ดขี นึ้ อย่างไร
8.สรปุ ไดช้ ุดขอ้ เสนอแนะ นาํ ไปปฏบิ ัตไิ ดท้ นั ที

4 คําถามสาํ คญั ในการใชเ้ ครื่องมอื AAR

1.ท่านมคี วามคาดหวงั อะไรใน 2.สง่ิ ท่เี กิดขน้ึ จริงเป็นไปตาม

การทํางานคร้ังนนั้ คาดหวงั หรอื ไม่ อย่างไร

3.ทาํ ไมถงึ เป็นเช่นนน้ั 4.หากทา่ นจะตอ้ งดําเนนิ การ
ในเรือ่ งน้ัน
คร้ังตอ่ ไป ท่านจะทําอยา่ งไร

122 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

วทิ ยากรกระบวนการ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 123

วทิ ยากรกระบวนการ (Facilitator)

ผสู้ ง่ เสรมิ กระบวนการ (Facilitator) หรือวทิ ยากรกระบวนการ หรอื ผู้อาํ นวยความ
สะดวก หรอื ผเู้ อื้ออาํ นวยประจาํ กลุ่ม

คอื ผู้ทท่ี าํ หนา้ ท่ีประสานให้ผเู้ ขา้ ประชมุ แสดงความคดิ เห็น และ
รว่ มกนั เลอื กปฏบิ ัตเิ อง เป็นผู้สร้างเสรมิ บรรยากาศแห่งความเปน็ มติ ร ความรว่ มมือ
ความจริงใจ ความสนกุ สาน และกระต้นุ การคดิ ทเี่ ปน็ ระบบ ดว้ ยการใชเ้ ทคนิคตา่ ง ๆ
ท่กี ่อให้เกดิ กระบวนการเรยี นรู้ และทํางานแบบมสี ่วนร่วม ในลักษณะ “รวมตวั รว่ ม
คดิ รว่ มทํา”

อาสาพฒั นา จะทําหน้าท่ีวทิ ยากรกระบวนการ

(Facilitator)ได้ตอ้ งทราบก่อนว่าประชาคมคืออะไร มี
โครงสร้างอยา่ งไรและมีหน้าที่อย่างไร

ประชาคม คือ

การรวมตัวของสมาชิกในชมุ ชน เพ่ือร่วมกันทํากิจกรรมต่างๆ ของชุมชนด้วย
ตนเอง เช่น การแก้ไขปัญหาชุมชน การวางแผนพัฒนาชุมชน การกําหนดข้อตกลง
รว่ มกันโดยกระบวนการมสี ว่ นร่วมของประชาชนท่ีมีวัตถุประสงค์หรือสนใจในเรื่อง
เดียวกนั เป็นการรวมตัวกนั ตามสถานการณ์หรือสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนโดยไม่มีใครส่ัง
สมาชิกทมี่ ารวมกนั มีสว่ นรว่ มกันคดิ รว่ มตดั สินใจ ร่วมดําเนินการและร่วมรับผิดชอบ
อย่างเทา่ เทยี มกันภายใต้ขอบเขตของกฎหมายและศลี ธรรมอนั ดขี องสังคม

124 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

ประเดน็ -เน้อื หาการจัดเวที
ประชาคมขน้ึ อยกู่ บั ข้อตกลง
ของชมุ ชนเป็นสําคัญ

อสพ. เปน็ ผู้เอ้ือใหเ้ กดิ กระบวนการ การจดั สถานที่
- ร่วมคดิ ร่วมเรียนรู้ การประชมุ เวทีประชาคม
- การร่วมตัดสินใจ
- การร่วมทํากจิ กรรม
- การรว่ มรับประโยชน์
- การรว่ มติดตามตรวจสอบ

การเตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ การพูดคยุ แสดงความคิดเหน็ เปน็ กลุ่ม
การประชุมเวทีประชาคม ใหญท่ ั้งหมด ควรจดั สถานทเี่ ป็นรูป
วงกลม หรือตัวยู ตัววี
วัสดุอุปกรณ์ อสพ. ตอ้ งเตรียมวสั ดุ ไมค่ วรจดั ในลักษณะของห้องเรยี น
อปุ กรณใ์ หพ้ รอ้ ม เพื่อดาํ เนินการให้การ เนือ่ งจากทําให้ไมเ่ กดิ บรรยากาศการ
จดั เวทีประชาคมเป็นไปอยา่ งราบรืน่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้
วสั ดุ อุปกรณท์ เ่ี ตรียมจะขน้ึ อยูก่ บั รปู แบบ การแบง่ กลุ่มยอ่ ยควรมีสถานที่สําหรับ
เทคนคิ ที่กาํ หนดขึน้ เช่น อาจตอ้ งใช้ แบง่ กลุม่ ยอ่ ยเน่อื งจากในกลุ่มใหญอ่ าจ
ฟลิปชาร์ท ปากกาเคมี สตกิ เกอร์ แผน่ ใส มกี ารแสดงความคดิ เห็นทไ่ี ม่ทั่วถงึ หรือ
แผนภูมิ กระดาษ A4 ปากกา ดินสอ บางคนอาจไม่กล้าแสดงความคิดเหน็
สิ่งท่จี ะตอ้ งเตรียมเปน็ กรณีพิเศษอกี อย่าง อย่างเตม็ ท่สี ถานที่จัดเวทีประชาคมจงึ
หน่งึ คือ ไมโครโฟน เพราะหลายครง้ั ของ จําเปน็ จะตอ้ งกาํ หนดใหส้ ามารถ
การจัดเวทปี ระชาคม หรอื การจดั อบรม แบ่งกลุ่มย่อยไดด้ ว้ ย
สัมมนามกั มปี ัญหาเกีย่ วกับไมโครโฟน
ขดั ข้องทาํ ให้บรรยากาศในการพูดคุย
สะดุดอย่ตู ลอดเวลา

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 125

เทคนิคการจัดกระบวนการ

A-I-C เทคนิค A-I-C ( Appreciation-Influence-Control)
สามารถนําไปประยกุ ต์ใช้ในการวางแผนการพฒั นา การ
สร้างทมี งาน การสรา้ งความรว่ มมอื การแก้ปัญหาหรือแก้
ความขัดแยง้ ตวั อย่างการใช้เทคนิค A-I-C ในการวางแผน
พฒั นาหมูบ่ า้ น
มขี น้ั ตอนดังนี้

ข้ันตอน วธิ ีการ

1.1 ข้นั ตอนการสรา้ งความรู้ คือขั้นตอนการเรียนรู้และแลกเปล่ียนประสบการณ์ ข้ันตอนนี้เปิด
(Appreciation หรือ A) โอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนแสดงข้อคิดเห็น รับฟังและหาข้อสรุป
ร่วมกันอย่างเป็นประชาธิปไตย โดยใช้การวาดรูปเป็นส่ือในการแสดง
ความคิดเหน็ แบ่งเป็น 2 ชว่ ง คอื
1) การวเิ คราะหส์ ถานการณข์ องหมูบ่ า้ นในปจั จุบนั (A 1)
2) การกําหนดอนาคตของหมู่บ้านว่า ต้องการให้เกิดการพัฒนา
ทศิ ทางใด (A 2)
ขอ้ สังเกต: กอ่ นทจ่ี ะวเิ คราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน อาจใหผ้ ู้รว่ มประชุม
เลา่ ถึงภาพในอดีตกอ่ นก็ได้

1.2 ขัน้ ตอนการสรา้ งแนว คือข้ันตอนการหาวธิ กี ารท่ีจะทาํ ให้สามารถพฒั นาหม่บู า้ นได้ตาม
ทางการพฒั นา เปา้ หมายทีต่ งั้ ไวใ้ นชว่ ง A2 เป็นชว่ งการหาวิธีการในการพฒั นาและ
(Influence หรอื I) การค้นหาเหตุผลเพือ่ จดั ลาํ ดับความสําคัญตามความเหน็ ของกลมุ่
ผเู้ ขา้ ร่วมประชุม แบ่งออกเปน็ 2 ช่วง คอื 1) การคิดโครงการท่จี ะ
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ (I1) และ 2) การจดั ลําดับความสาํ คญั ของ
โครงการ (I2) โดยแบ่งเป็นกิจกรรมหรือโครงการท่ชี าวบ้านทําเอง/
ชาวบา้ นทําเองบางสว่ น และขอความชว่ ยเหลือจากแหล่งทุน
ภายนอก/และทต่ี อ้ งขอรับการสนบั สนุนจากภายนอกทง้ั หมด

1.3 ขั้นตอนการสรา้ งแนวทาง คือการนําเอาโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ มาสู่การจัดกลุ่ม
ปฏบิ ตั ิ ผู้รับผิดชอบดําเนินงานแต่ละโครงการหรือกิจกรรมแบ่งเป็น 2 ช่วง
( Control หรอื C ) 1) การแบ่งกลุ่มรบั ผดิ ชอบ (C1)
2) การตกลงรายละเอียดในการดาํ เนนิ งาน (C2)

126 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ทีÉมา : เทคนิค Mind Map

http://www.moe.go.th/mobile1/viewNews.php?nCatId=n
ews11&moe_mod_news_ID=4664

แผนที่จติ ใจ หรือแผนทีค่ วามคดิ (กลุ่มใหญ่) เพ่อื สรา้ งภาพทสี่ มบูรณ์ของ
ปจั จยั แนวโน้มทง้ั หมด ท่ีมีผลกระทบตอ่ ประเด็นนั้น เชือ่ มโยงความคิดให้เหน็ เป็นภาพรวม
วธิ เี ขียนโดยสรุป
1. เร่ิมจากก่งึ กลางกระดาษ อาจวาดเป็นภาพหัวใจ หรือสญั ลักษณ์อื่นๆ เช่น ดาว บา้ น ถงุ เงิน
2. จากกลางภาพวาดเสน้ หลกั ออกไปรอบภาพ โดยเน้นนํ้าหนกั เส้นท่โี คนเสน้
ดงั กลา่ วหนกั กว่าส่วนปลาย คล้ายกิง่ ของต้นไม้
3. เขยี นข้อความที่เปน็ ความคิดหลกั ทีโ่ คนเส้นตดิ กบั กลางภาพ
4. เขยี นข้อความทเี่ ป็นรายละเอยี ดลงไปบนเสน้ ทีแ่ ตกแขนงของเส้นหลัก
คลา้ ยกา้ นของต้นไมท้ ่ีงอกจากก่ิงตน้ ไม้ออกไปเร่ือยๆ จนกวา่ จะสิน้ สุดการระดมความคิด

ทมÉี า : http://www.moe.go.th/mobile1/viewNews.php?nCatId=news11&moe_mod_news_ID=4664 127

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

เทคนคิ SWOT

ข้นั ตอน วิธีการ

“S” “จุดแข็ง”หรือจุดเด่นอะไรบ้าง ท่ีเสริมสร้างให้หน่วยงานเข้มแข็งขึ้น เช่น
STRENGTH
กรมการพัฒนาชุมชน มีบุคลากรระดับบริหารและระดับปฏิบัติการในทุกระดับ
ตั้งแต่ระดับชาติไปจนถึงระดับหมู่บ้าน นับว่าเป็นจุดเด่น เม่ือสามารถนํา
นโยบายตา่ งๆ ไปปฏบิ ัตติ อ่ เนื่องไดถ้ งึ กลมุ่ เปา้ หมายอย่างรวดเร็ว

“W” “จุดอ่อน” ของหน่วยงานอาการป่วยของหน่วยงานอาจจะมีบางส่วนบาง
WEAKNESS
องค์ประกอบท่ีกระทบต่อหน่วยงานแล้วหน่วยงานยังอนุรักษ์หรือยืนยันไม่
“O” เปลี่ยนแปลงท่าที เช่น ทัศนคติของคนมหาดไทยบางส่วน ที่ยึดติดกับเจ้าขุน
OPPORTUNITY มลู นาย ขณะท่ีสภาพแวดลอ้ มภายนอกเข้าสคู่ วามเป็นประชาธปิ ไตย ประชาชน
เป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตยที่จะเป็นผู้คิด ตัดสินใจ ลงมือแก้ไขปัญหาด้วย
ตนเอง

“โอกาส” ท่ีหน่วยงานจะได้รับการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งน้ี อาจจะเป็น

ความพร้อมและศักยภาพของบุคลากรในปัจจุบัน กรมการพัฒนาชุมชนเป็น
กรมหนึ่งที่มีบุคลากรที่ดี มีความรู้ มีคุณภาพ มีความสามารถเม่ือเทียบกับ
หน่วยงานข้างเคียงก็มีศักด์ิศรีไม่น้อยหน้าใคร มีการศึกษาต้ังแต่ระดับปริญญา
เอก โท ตรี และมีการฝกึ อบรมเพ่ิมพนู ความร้ดู า้ นตา่ งๆอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ
ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติภารกิจสําคัญ ตามนโยบายกระทรวงมหาดไทยและ
รัฐบาลมาหลายยุค ผลงานดีมีคุณภาพเป็นท่ีปรากฏ จึงเห็นว่า นับเป็นโอกาสท่ี
หน่วยงานจะสร้างงานและพัฒนาการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนให้เข้มแข็ง
สามารถพง่ึ ตนเองได้

“T” “แรงกดดัน”หรืออนั ตรายท่ีบนั่ ทอนความเจรญิ ก้าวหนา้ ของหน่วยงานซ่งึ เปน็
THREAT
เร่ืองท่ีหน่วยงานจะต้องปรับปรุง ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น
ระเบียบ ข้อกฎหมายท่ีล้าสมัย ซ้ําซ้อนกัน จนไม่สามารถชําระสะสางได้ หรือ
เปา้ หมายการทาํ งานไมช่ ดั เจนระบบการรายงานซํา้ ซอ้ นมากมาย จนกระทง่ั ไมม่ ี
โอกาสทาํ งานทส่ี นับสนนุ ความคิดริเร่ิม และแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่าง
จริงจังหรือกระแสการกระจายอํานาจราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน (อบต.) ที่มี
ผลกระทบในการดาํ เนินงานพฒั นาชมุ ชน

128 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)

การสนทนากลุ่ม หมายถงึ การรวบรวมขอ้ มูล
จากการสนทนากบั กลมุ่ ผู้ใหข้ ้อมูลในประเด็นปญั หาท่ี
เฉพาะเจาะจง โดยมีผูด้ ําเนินการสนทนา
(Moderator) เปน็ ผูค้ อยจดุ ประเด็นในการสนทนา
เพือ่ ชักจงู ให้กลมุ่ เกดิ แนวคดิ และแสดงความคิดเห็น
ตอ่ ประเด็นหรอื แนวทางการสนทนาอย่างกว้างขวาง
ละเอียดลกึ ซง้ึ โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มสนทนาในแตล่ ะกลมุ่
ประมาณ 6-10 คน ซึ่งเลอื กมาจากประชากร
เป้าหมายที่กําหนดเอาไว้

ขน้ั ตอนการสนทนากลมุ่ (Focus Group Discussion)

1. กําหนดวตั ถุประสงค์
2. กาํ หนดกลุ่มเปา้ หมายของผใู้ หข้ อ้ มลู
3. ตดั สินใจวา่ จะทาํ ก่ีกลุ่ม
4. วางแผนเรื่องระยะเวลาและตารางเวลา
5. ออกแบบแนวคําถาม ควรเรียงคําถามจากคาํ ถามที่เปน็ เร่ืองทวั่ ๆไป เบาๆ ง่ายตอ่ การเข้าใจ และสรา้ ง

บรรยากาศใหค้ ุ้นเคยกนั ระหว่างนกั พัฒนากับผูเ้ ข้าร่วมสนทนาแลว้ จงึ วกเขา้ สคู่ ําถามหลัก หรอื คาํ ถามหลักของ
ประเด็นท่ที ําการศึกษาแล้วจงึ จบลงดว้ ยคําถามเบาๆอกี ครัง้ หนง่ึ เพอ่ื ผอ่ นคลายบรรยากาศในวงสนทนาและ
สร้างบรรยากาศท่ีเป็นกันเองในช่วงท้ายอาจเติมคาํ ถามเสรมิ เขา้ ไปแตต่ ้องเป็นคาํ ถามสนั้ ๆอาจเปน็ คาํ ถามที่
ไม่ได้เตรยี มมาก่อน แตเ่ ปน็ คําถามทีป่ รากฏข้นึ มาระหว่างการสนทนา

6. ทดสอบแนวคําถามทสี่ รา้ งขนึ้
7. ทําความเข้าใจกับผูด้ าํ เนนิ การสนทนา (Moderator) และผจู้ ดบนั ทึก (Note taker)
8. คัดเลอื กผู้เข้ารว่ มกล่มุ สนทนา
9. การจดั การเพ่อื เตรียมการทาํ สนทนากลุม่ เป็นการเตรยี มสถานท่ี กาํ หนดวัน เวลา และ
จัดเตรียมอุปกรณ์ตา่ งๆท่ีจาํ เป็น เชน่ เครอื่ งบันทึกเทป ม้วนเทป ถา่ น สมดุ ดนิ สอ เครอื่ งดื่ม
อาหารวา่ ง เป็นต้น
10. จัดกลมุ่ สนทนา
11. ประมวลผลและการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 129

การทาํ แผนท่ีหมบู่ า้ น (Village map)

เป็นการวาดแสดงข้อมลู ของหมบู่ ้านในด้าน
ตา่ ง ๆ ในลกั ษณะแผนผงั หมบู่ ้าน เพืÉอชี Ê
ทรัพยากรทงัÊ หมดของหมบู่ ้าน ซงึÉ อาจมี
รายละเอียดเกÉียวกบั โครง สร้างความสมั พนั ธ์
ทางสงั คม โครงสร้างอํานาจ โครงสร้างการ
กระจายของผลผลติ ฯลฯ ตามความต้องการ
และใช้เป็นเครÉืองมือในการวเิ คราะห์ปัญหา
ความต้องการและเรียนรู้ร่วมกนั ของคนใน
หมบู่ ้านและนกั พฒั นา

วธิ ีการทําแผนทห่ี ม่บู า้ น (Village map)

• อาจวาดแผนท่ีหมบู่ า้ นขึ้นมาเอง หรือ ขอใหป้ ระชาชนมาช่วยกนั วาดกไ็ ด้
• แผนท่ีไมจ่ ําเปน็ ตอ้ งมสี ดั ส่วนย่อขยายทีถ่ กู ต้องแน่นอน ไม่ตอ้ งสวยงาม แตต่ อ้ งสื่อถึงสิง่ ท่ี

ตอ้ งการทราบ เช่น ความสมั พนั ธ์ทางสงั คม โครงสร้างการเมือง ทรพั ยากรและ
สิง่ แวดลอ้ ม เปน็ ต้น
• เริ่มจากการวาดแผนท่ีทางกายภาพทแ่ี สดงถึงขอบเขตหมู่บา้ น เส้นทางคมนาคม การแบ่ง
พืน้ ทร่ี ะหว่างทอี่ ยู่อาศยั กบั พ้นื ทท่ี าํ การเกษตร การต้งั บ้านเรือน สถานทีส่ ําคญั ของหมบู่ า้ น
• เพมิ่ การบรรจุขอ้ มลู ด้านอน่ื ๆ ท่ีต้องการเช่น เครอื ขา่ ยสมาชกิ ของกล่มุ องคก์ รหน่ึง
ความสัมพันธ์ทางสังคมของหมูบ่ ้าน ซง่ึ เปน็ การขอใหป้ ระชาชนชว่ ยกันให้รายละเอยี ดว่า
บา้ นใดเป็นญาติกนั บ้านใดเป็นสมาชกิ กล่มุ ออมทรัพย์ เปน็ ตน้ แลว้ แสดงด้วยสัญลกั ษณ์ไว้
ในแผนทนี่ ัน้ หรือ โครงสร้างทางสงั คม โดยใหป้ ระชาชนชว่ ยกันให้รายละเอยี ดว่า บ้านใด
เปน็ บ้านของสมาชิกทีม่ สี ว่ นร่วมสงู บ้านใดเป็นบ้านของสมาชิกทมี่ สี ่วนรว่ มกับกิจกรรม
น้อย ในเชงิ เปรียบเทียบ และถามต่อวา่ ใชเ้ กณฑอ์ ะไรในการระบคุ วามมากน้อยของการมี
ส่วนรว่ ม เปน็ ต้น

130 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

ผงั ความสัมพนั ธ์ระหว่างองค์กร (Venn diagram)

ทําเมอ่ื ไร • เป็นการแสดงขอ้ มูลในลกั ษณะ
ภาพวาด (Graphic) ใช้รูปทรงกลม
• เมือ่ พบว่า ปัญหาทพี่ บจากการสมั ภาษณ์ ขนาดตา่ ง ๆ แสดงถงึ ความสําคญั
การสังเกต หรอื การทําแผนท่ีหมบู่ ้าน ของผู้เกี่ยวขอ้ งจากความคดิ เห็น
เป็นสิ่งท่ีมีบคุ คล/องคก์ รต่าง ๆ เกย่ี วขอ้ ง ขององคก์ รหนึ่งท่ีอยศู่ ูนย์กลาง และ
ซึง่ กนั และกนั เป็นจํานวนมาก ใชล้ กู ศรทมี่ คี วามหนาบางตา่ งกัน
แสดงปริมาณและทิศทาง
• ตอ้ งการการวเิ คราะหใ์ ห้ทราบถงึ สาเหตุ ความสมั พันธ์ระหว่างผู้เกยี่ วข้อง
ของปัญหาหรอื เบื้องหลงั ของ ผังความสมั พันธร์ ะหว่างองคก์ รจะ
ปรากฏการณ์นน้ั รวมท้งั แนวทางท่ีจะ บ่งบอกถงึ ความสําคญั ขององคก์ ร
แก้ไขตอ้ งทราบถึงความสมั พนั ธแ์ ละการ หรอื ผเู้ กีย่ วขอ้ งในระบบทง้ั หมด
ตดิ ต่อกนั และกันระหวา่ งบุคคล/องคก์ ร และความสัมพนั ธ์ทมี่ ตี อ่ กนั ใน
ศูนย์กลาง (ประชาชน, หม่บู ้าน, สายตาของผู้ทีอ่ ยตู่ รงศูนย์กลางของ
หน่วยงาน) กบั บคุ คล/องคก์ รอืน่ ที่มี แผนผัง
ผลกระทบหรือมคี วามสําคัญตอ่
กระบวนการตัดสินใจ • ถ้าเป็นประชาชนอยตู่ รงศนู ย์กลาง
แผนผงั นก้ี ็จะบอกถึงความสมั พันธ์
ระหวา่ งกลมุ่ และองคก์ รตา่ ง ๆ กับ
ประชาชนในสายตาของประชาชน
ช่วยในการวิเคราะห์ทีม่ าของปญั หา
อนั เกดิ จากการขาดทรัพยากรและ
ไม่ได้รับบริการจากรัฐของชาว
ชุมชน

• แผนผังน้ีสามารถนําไปใชไ้ ด้ใน
หลายระดับขน้ึ อยูว่ า่ ใครอยู่ตรง
กลางแผนผงั นน้ั ซง่ึ อาจเปน็ องคก์ ร
สตรี อบต.กรรมการหม่บู า้ น กลุม่
เยาวชน กลมุ่ อาชพี กไ็ ด้

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 131

เสน้ แบง่ เวลา( Time line)

เป็นเครอ่ื งมือท่ที าํ ให้ทกุ คนได้สะท้อนข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ของตนเองทมี่ ีอยู่ ตาม
ช่วงเวลาผ่านมาแลว้ เปน็ การย้อนราํ ลกึ ถงึ เร่อื งราว เหตุการณใ์ นอดีตท่ีเป็นความทรงจาํ
เฉพาะบคุ คล ถึงตํานานการกอ่ ตง้ั ชมุ ชน เหตุการณส์ าํ คญั ๆ ในแตล่ ะปี ตงั้ แตเ่ ร่ิมตั้งชุมชน
จนถึงปจั จุบนั ท่สี ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของชมุ ชนในด้านต่างๆ

ทําอย่างไร

1. ประเด็นต่าง ๆ เขยี นไว้ในตาราง เชน่ ประเดน็ เศรษฐกิจ การเมือง สงั คม
วัฒนาธรรม ตนเอง บอกชว่ ง พ.ศ. แลว้ แต่ต้องการใหย้ ้อนไปไกลเท่าไร เช่น 2500
– 2510, 2511 – 2520, 2521 – 2530, 2531 – 2540,2541 - ปจั จบุ ัน

2. ปากกาเมจิ สาํ หรบั เขียน

2500 – 2510 หัวข้อตามประเด็น 1 – 4 ประเดน็ ขา้ งต้น
2511 – 2520 2521 – 2530 2531 – ปัจจบุ ัน

ขัน้ ตอน

ช่วยกนั เขยี นข้อมลู ประสบการณข์ องตนเอง ลงในตารางดา้ นตา่ งแล้วนําข้อมลู มา
ศึกษาถึงผลการเปลี่ยนแปลงสงั คม เศรษฐกิจการเมอื งการปกครองของชมุ ชนใน
ช่วงเวลา การเปล่ยี นแปลงทางความเช่อื วถิ ชี วี ิต และกระบวนทศั น์ของสังคมชมุ ชน
การเปลย่ี นแปลงที่สําคญั ของตนเอง สะทอ้ นขอ้ มูลใหส้ ัมพันธก์ บั หวั ขอ้ การประเมนิ
สภาพพนื้ ท่ี สถานะของของประชาชน

132 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ปฏิทนิ ตามฤดกู าล (Seasonal calendar)

เปน็ การแสดงกิจกรรมของครวั เรือนหรือชุมชนชมุ ชนทกุ เดือนในรอบปี ซึง่ ระบวุ ่า เดือนนัน้ ๆ ใครทาํ อะไรบา้ ง
โดยใช้สัญลกั ษณ์แทนกิจกรรมต่าง ๆ แสดงบนกระดาษแผน่ เดยี วทต่ี เี สน้ แกนนอนจาํ แนกเป็น 12 เดอื น และ
แกนตง้ั เป็นประเภทกิจกรรม ปฏิทินนจี้ ะชีใ้ หเ้ ห็นการจดั การกจิ กรรม เวลา และการจัดสรรแรงงานของ
ครวั เรอื นหรอื ชมุ ชนในรอบปี ชว่ ยในการวเิ คราะห์ปญั หาการวา่ งงาน การแบ่งงานกันทําระหว่างชายหญิง ฯลฯ

ทําเม่ือไร

หลังจากการสัมภาษณ์ และ พบว่า
ปัญหาของชุมชนหรือองค์กรน่าจะ
เก่ียวข้องกับการจัดสรรเวลาหรือ
ความสมั พันธ์ระหวา่ งกิจกรรมต่าง ๆ
ใ น ร อ บ ปี บ า ง ก ร ณี อ า จ ใ ช้ ป ฏิ ทิ น
ฤ ดู ก า ล เ ม่ื อ อ ย า ก จ ะ ท ร า บ ห รื อ
ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันว่า
ป ร ะ ช า ช น ใ ช้ เ ว ล า แ ต่ ล ะ ปี ใ ห้ กั บ
กิ จ กรร มอ ะไร มา กที่ สุ ด แล ะ
ต้องการให้กลุ่มองค์กรจัดบริการ
อย่างใดเป็นพิเศษในช่วงเวลาใด

ข้ันตอน

1. เตรียมกระดาษแผ่นใหญ่ ตีตารางด้านแกนนอนแบ่งเป็น 12 เดอื น ด้านตง้ั ปลอ่ ยวา่ งไว้

2. ตดั กระดาษการด์ สเี ป็นแผ่นเล็ก ๆ เขียนสัญลักษณเ์ ท่าท่จี ําเปน็ เตรียมไว้ เช่น รูปผหู้ ญิง ผชู้ าย เด็ก

3. ระดมความคดิ ผูร้ ว่ มสนทนาว่ามกี ิจกรรมอะไรบา้ งในรอบปี แล้วเขียนไวท้ ีด่ า้ นแกนตง้ั หากการด์ ท่ีเตรยี มมาไม่

ครอบคลมุ กิจกรรมท้ังหมด กใ็ ห้ทีมงานที่เหลือช่วยกนั เขยี นขึ้น

4. ให้ผรู้ ว่ มสนทนาชว่ ยกนั เอาสัญลักษณท์ ี่เตรียมไว้บรรจใุ นปฏทิ ินวา่ แตล่ ะกจิ กรรมทําอะไรบา้ งในแต่ละเดอื นจนครบ

ทกุ กิจกรรม

5. กระตุ้นให้ผู้ร่วมสนทนาวิเคราะห์การใช้เวลาในแต่ละกิจกรรม และภาพรวมของการใช้เวลาและผลตอบแทนใน

รอบปี การมีสว่ นร่วมของสมาชิก/กรรมการ รวมทั้งปัญหาอันเกิดจากการจัดกิจกรรมไม่ตรงกับเวลาว่างของสมาชิก

เช่น รายได้ของสมาชิกกับการปล่อยเงินกู้ไม่สอดคล้องกัน บางเดือนสมาชิกมีรายได้น้อย ไม่มีรายได้เข้ามาเลย แต่

ตอ้ งการใช้จา่ ยเงินมาก จะปรบั กจิ กรรมอยา่ งไรเพ่ือให้สมาชิกสามารถได้รับเงินกู้ได้มากขึ้น หรือส่งเสริมอาชีพเพิ่มให้

สมาชกิ ในบางชว่ ง

6. หัวข้อในการจัดทําปฏทิ ินฤดกู าลอาจปรับไปไดต้ ามประเดน็ ทตี่ อ้ งการให้เกดิ การเรยี นรูร้ ่วมกันเช่น การเกิดโรคของ

คน สัตว์ และพืช หรืออาจเป็นประเด็นท่ีต้องการให้นําไปสู่การวางแผนดําเนินงานอ่ืน ของหน่วยงานเอง เช่น การ

ปรับปรุงการบริหารเวลาของการทาํ งานในสํานกั งานของนักพฒั นา หรอื การจดั ทําแผนปฏิบัตงิ านสําหรับ อบต. 133
คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

การวิเคราะหภ์ าคตดั ขวาง (Transect)

เปน็ การแสดงภาพตดั ขวางของการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพบรเิ วณหนึ่ง ๆ ของ
ชุมชน พรอ้ มกบั วิเคราะหถ์ ึงปัญหาและโอกาสทจี่ ะพฒั นาสภาพแวดลอ้ มบรเิ วณดงั กลา่ ว ใช้
เป็นเครอื่ งมอื ในการพจิ ารณาวางแผนปรับปรงุ และแกป้ ญั หาด้านกายภาพของชุมชน

ทาํ อย่างไร

• เดนิ สํารวจเสน้ ทางรว่ มกบั ชาวบ้าน อาจเป็นจากเหนือสดุ ถงึ ใต้สดุ ของหมบู่ ้าน หรือจาก
ตะวนั ออกจนถงึ ตะวันตกของหมู่บา้ นก็ได้

• ระหวา่ งเดนิ สาํ รวจ ใหส้ งั เกตส่งิ ทอี่ ยู่รอบตวั พรอ้ มกับกระต้นุ ใหช้ าวบ้านสงั เกตและ
วิเคราะห์วา่ มีทรพั ยากรอะไรบ้าง สภาพของทรัพยากรตัง้ แต่บนพืน้ ดนิ จนถงึ ใตด้ ินเป็น
อยา่ งไร เชน่ บนพ้ืนดินมกี ารเพาะปลกู พืชประเภทอะไรบ้าง สภาพของพชื แขง็ แรงงอก
งามใหผ้ ลผลิตสูงหรอื ไม่ มีการเลย้ี งสัตว์บรเิ วณดงั กล่าวหรือเปลา่ สภาพของสัตว์เปน็
เชน่ ไร ใตด้ นิ ประกอบดว้ ยสารอาหารทส่ี มบรู ณเ์ พยี งพอสาํ หรับพชื หรือไม่ มแี หลง่ นา้ํ
สําหรบั เป็นอาหารพืชและสตั วห์ รอื ไม่ เป็นตน้

• ทรัพยากรบรเิ วณนนั้ ๆ มปี ัญหาอะไรบ้าง และมีอะไรเปน็ โอกาสท่ีจะแก้ปญั หาหรอื
พฒั นาสิง่ ที่มีอยบู่ รเิ วณดังกลา่ วให้ดีขึน้

• นําขอ้ มูลมาเขยี นเปน็ แผนทภี่ าพตัดขวางของบรเิ วณที่เดินสาํ รวจดงั ตัวอยา่ งข้างตน้

134 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การถ่ายเททรัพยากรชีวภาพ (Bio-resource flow)
หรือ แผนผังการแลกเปล่ียนวัตถดุ ิบ(Material flow)

เป็นการแสดงภาพจําลองการถ่ายเทของทรัพยากรชีวภาพระหว่างกิจกรรมการเกษตร
ประเภทตา่ ง ๆ ของครัวเรอื นเกษตรกร โดยใช้ภาพและลูกศร เชน่ มลู ไก่เปน็ อาหารปลา น้ํา
ในบ่อปลานําไปรดต้นไม้และเลี้ยงวัว มูลวัวเป็นปุ๋ยของต้นไม้ ผลผลิตของต้นไม้เป็นอาหาร
ของคน เป็นตน้ การแสดงภาพจาํ ลองจะช่วยใหค้ รัวเรือนมองเห็นการมีประโยชน์เก้ือกูลซ่ึง
กันและกันระหวา่ งผลผลติ ทางการเกษตรและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในไร่นา นําไปสู่การวิเคราะห์
เพื่อให้เกดิ การใช้ประโยชน์สงู สดุ จากพืชและสตั วข์ องตน

ทาํ อยา่ งไร
• วาดภาพบา้ นและกิจกรรมที่ครัวเรือนนน้ั ทําเพื่อการประกอบอาชพี ท้ังหมดไวร้ อบ ๆ

ตวั เรือน
• ให้ครวั เรอื นคดิ ว่ากิจกรรมเหลา่ นนั้ สามารถพึ่งพาอาศัยซ่งึ กนั และกนั อยา่ งไร เชน่

ผกั ตบชวาในบ่อปลาเอามาทําอาหารสาํ หรบั หมู มูลหมูเปน็ อาหารของพืชสวนครัว
พชื สวนครัวเปน็ อาหารของเจา้ ของบ้าน มูลไกเ่ ป็นอาหารของปลา เมลด็ ขา้ วโพดทรี่ ่วง
เป็นอาหารใหก้ บั ไก่ เปน็ ต้น
• ลากลกู ศรเช่อื มโยงการพงึ่ พาอาศัยระหวา่ งพืชและสตั ว์เหล่านน้ั หากเปน็ การใหฝ้ ่าย
เดียวก็ใชล้ กู ศรทางเดียว หากเปน็ การให้และรบั ก็ใชล้ ูกศร 2 ทาง ดังภาพ

ทาํ เม่อื ใด

• เม่ือได้ขอ้ มูลในภาพรวมของหมู่บา้ นแลว้ และต้องการกระตนุ้ ให้ครัวเรือนเรียนรรู้ ะบบ
การพง่ึ พากนั โดยธรรมชาติของพืชและสัตวซ์ ่งึ จะทาํ ให้ครัวเรอื นสามารถประหยัด

คา่ ใช้จา่ ยในการลงทนุ เพอื่ การผลติ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 135

เมตริกคะแนน (Matrix ranking)

เป็นการแสดงตารางวิเคราะห์เปรียบเทียบความสําคัญของพืชผลทาง
การเกษตรประเภทต่างๆ ในรูปของการให้ค่าคะแนน จําแนกตามประเด็นประโยชน์ของ
พืชผลเหล่าน้ัน เช่น เป็นอาหาร เป็นแหล่งรายได้ เป็นเครื่องมือถ่ายทอดความรู้ของบรรพ
บรุ ุษ ทนทานตอ่ ความแห้งแล้ง ทนทานต่อศตั รพู ชื

การให้ค่าคะแนนจําแนกตามประเด็นประโยชน์ของกิจกรรม เช่น สมาชิกได้
ประโยชนม์ าก หน่วยงานต่าง ๆ สนใจ มีรายได้ขององค์กรเครือข่าย ทําเองได้ ค่าใช้จ่ายต่ํา
เป็นตน้

โดยในตารางแนวนอนจะจาํ แนกรายกจิ กรรม ส่วนแนวตั้งจําแนกประโยชน์ของ
กิจกรรม แล้วให้คนในชุมชนช่วยกันให้คะแนนประโยชน์ด้านต่าง ๆ ในทุกกิจกรรม ผลรวม
ของคะแนนในแนวนอนจะบอกใหท้ ราบถึงลําดับความสาํ คญั ของกิจกรรมตา่ ง ๆ จากภาพรวม
ของประโยชน์ท่ีได้รบั

ช่วยในการวิเคราะห์ความคิดเห็นและการตัดสินคุณค่าของคนในชุมชนที่มีต่อ
พืชผลทางการเกษตรที่มีอยู่ในชุมชน ซ่ึงนําไปสู่การพิจารณาเลือกกิจกรรมที่สมควรให้การ
ส่งเสริมเคร่ืองมือน้ีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการเลือกกิจกรรมอ่ืนได้อย่างกว้างขวาง เช่น
การส่งเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน การส่งเสริมการจัดต้ังธุรกิจ การดําเนินกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพชวี ิตดา้ นตา่ ง ๆ ที่มีทรัพยากรสนับสนนุ จํากัด

เร่ือง สมา ิชกไ ้ด
ประโยช ์น
ึดง ูดดสมา ิชก
เ ่ิพม
ห ่นวยงาน
สนใจ
รายไ ้ดของ
เครือ ่ขาย
ํทาเองไ ้ด
ค่าใ ้ช ่จาย ํ่ตา

คะแนนรวม

เวทีสินค้าชมุ ชน       21
 18
  25

อภิปราย”บา้ นเราใน      
อนาคต” 

ทศั นศึกษา      

   

คา่ คะแนน - = ไมเ่ ลย  = สาํ คญั
 = น้อย  = ปานกลาง
 = พอใช้  = สาํ คญั มาก

136 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

แผนผังใยแมงมมุ (Spider diagram)

เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้วิเคราะห์ประสิทธิภาพการทํางานและการให้บริการของหน่วยงานจาก
โครงสร้างและระบบงานขององค์การโดยเปรียบเทียบกับหน่วยงานหรือองค์กรที่ให้บริการใน
ลักษณะเดียวกันเพ่ือศึกษาข้อได้เปรียบเสียเปรียบหรือจุดเด่นจุดด้อยของโครงสร้างและ
ระบบงาน ซึง่ นําไปสู่การวเิ คราะหห์ าแนวทางปรับปรุงโครงสรา้ งและระบบให้ดขี ึ้น

ทาํ อยา่ งไร
• เขยี นรปู วงกลมซ้อนกนั 5 วง เปรียบเสมือนใยแมงมมุ ตรงกลางเปน็ ตัวแมงมมุ
• ให้ผู้รว่ มอภปิ รายชว่ ยกันระบุประเดน็ สาํ คญั ของระบบหรือโครงสร้างองคก์ ารทจ่ี ะทําให้

การทํางานขององคก์ ารมีประสทิ ธิภาพ ลากเส้นออกไปจากตรงกลาง หน่งึ เสน้ แทน
หนง่ึ ประเด็น เขยี นช่ือประเดน็ ไวน้ อกใยแมงมุม
• ให้คะแนนแตล่ ะประเด็น แลว้ ลากเสน้ เชอ่ื มกนั ระบายสีพ้ืนทภี่ ายในเส้นเช่อื ม
• ควรมีการเปรยี บเทยี บกับองค์การที่ทาํ งานประเภทเดียวกนั หรอื ใกล้เคียงกนั โดยแยก
สีของเส้นเช่อื มและพน้ื ทีภ่ ายในเสน้ เชอื่ มให้ตา่ งกัน
• วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บขอ้ ดีข้อด้อยของแต่ละองคก์ าร และวิเคราะห์หาแนวทาง
ปรบั ปรุงประเด็นทมี่ เี ส้นทางสั้น และรักษาระดับของประเด็นที่มีเส้นเชอื่ มยาว
เพอื่ ขยายพนื้ ทีข่ องเส้นใยขององคก์ ารออกไป

ทําเมือ่ ใด
• เมื่อต้องการเพ่ิมประสทิ ธิภาพขององคก์ ารโดยการปรับปรงุ โครงสรา้ งและระบบงาน

ขององค์การ

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 137

การเตรียมตวั พูดในท่ชี มุ ชน

1. กําหนดจุดมงุ่ หมายใหช้ ัดเจนว่าจะพูดอะไร เพ่อื อะไร มขี อบขา่ ย
กวา้ งขวางมากนอ้ ยเพยี งใด

2. วเิ คราะห์ผู้ฟัง พิจารณาจํานวนผูฟ้ ัง เพศ วัย การศึกษา สถานภาพ
ทางสังคม อาชพี ความสนใจ ความมุง่ หวงั และทศั นคติ ท่ีกลมุ่ ผู้ฟงั มีต่อเรื่อง
ท่พี ูดและตวั ผู้พดู เพือ่ นาํ ข้อมลู มาเตรียมพดู เตรียมวิธีการใชภ้ าษาให้เหมาะ
กบั ผฟู้ ัง

3. กําหนดขอบเขตของเรอ่ื ง โดยคาํ นงึ ถึงเน้ือเรื่องและเวลาทจ่ี ะพูด
กาํ หนดประเดน็ สําคญั ให้ชัดเจน

4. รวบรวมเนื้อหา ตอ้ งจดั เน้อื หาทผ่ี ูฟ้ ังไดร้ บั ประโยชนม์ ากที่สดุ การ
รวบรวมเน้อื หาทาํ ได้ หาได้จากการศกึ ษา ค้นควา้ จากการอา่ นการสัมภาษณ์
ไตถ่ ามผู้รใู้ ชค้ วามรคู้ วามสามารถ แลว้ จดบนั ทึก

5. เรยี บเรียงเนือ้ เรือ่ ง ผพู้ ูดจัดทําเคา้ โครงเรอ่ื งให้ชดั เจนเป็นไป
ตามลาํ ดบั จะกล่าวเปิดเรอ่ื งอย่างไร เตรียมการใช้ภาษาใหเ้ หมาะสม
กะทัดรัด เข้าใจง่าย ตรงประเด็นพอเหมาะกับเวลา

6. การซ้อมพูด เพื่อให้แสดงความม่ันใจต้องซ้อมพูด ออก
เสียงพูดอักขรวิธี มีลีลาจังหวะ ท่าทาง สีหน้า สายตา น้ําเสียง มีผู้ฟังช่วย
ติชมการพูดมกี ารบันทึกเสียงเป็นอุปกรณ์การฝกึ ซอ้ ม

ในกรณีเป็นการพูดแบบฉับพลัน ผู้พูดไม่รู้ตัวมาก่อน หรือ
รู้ล่วงหน้าเพียงระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กล่าวอวยพรในงานมงคลสมรส กล่าว
แสดงความยินดี กล่าวแสดงความคดิ เห็นในนามของแขกผู้มีเกียรติ ผู้พูดส่วน
นอ้ ยท่ีพูดไดอ้ ยา่ งไมเ่ คอะเขิน ผ้พู ูดท่มี ีประสบการณ์สามารถสร้างบรรยากาศ
ได้ดี แต่ผูพ้ ูดเปน็ จํานวนมากยงั เคอะเขนิ จึงขอเสนอข้อแนะนําในการพูด ดังนี้

138 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การพดู ในโอกาสต่างๆ

การพูด ลักษณะการพดู วธิ ีการพูด

สุนทรพจน์ • ใช้ถอ้ ยคาํ ไพเราะลึกซ้งึ กนิ ใจ จับใจ 1. ตอนเปิดเรื่อง กระตุน้ ให้
• โนม้ นา้ วให้ผฟู้ ังเห็นคลอ้ ยตาม ผฟู้ ังเหน็ ความสาํ คัญของเร่อื ง
โอวาท • กระตุ้นผูฟ้ ้ง มีความมน่ั ใจ และยนิ ดี ท่ีจะพูด
คาํ ปราศรยั ร่วมมือ 2. ดําเนินเรื่อง ประกอบด้วย
คําไวอ้ าลยั • สร้างบรรยากาศใหเ้ กดิ ความหรรษา และ เนือ้ หาสาระลาํ ดับความสําคญั
ใหค้ วามสุขแก่ผูฟ้ งั อยา่ งชดั เจน
3. ตอนจบเร่อื ง สรปุ ความท้ิง
• เนื้อหามีคตเิ ตอื นใจ มีเหตุผล ไมย่ ืดยาว ทา้ ยใหผ้ ูฟ้ งั นาํ ไปคิดหรือฝาก
• เปน็ การแสดงความปรารถนาดี บางครั้ง ไวใ้ นความทรงจาํ ตลอดไป
อาจกล่าวตาํ หนิตรง ๆ บา้ ง
• อาจนาํ ไปประพฤติปฏบิ ัติได้จรงิ ผูฟ้ งั
ตอ้ งฟังดว้ ยความเคารพ และยนิ ดที ีจ่ ะนํา
คําสอน คําช้ีแนะไปปฏิบัติ

• พูดถงึ ความสําคัญของโอกาสนั้น
• เนน้ ความสําคญั ของสง่ิ น้ัน ๆ
• ชีแ้ จงความสาํ เรจ็ หรือผลงานท่ีผ่านมา
• กลา่ วถึงอดตี ปัจจบุ นั และความหวังใน
อนาคต และอวยพรให้เกิดความหวงั ใหม่ ๆ

• กล่าวถงึ ประวตั ิผ้ตู ายหรือผู้ทีจ่ ากไปอยา่ ง
สั้นๆ
• กล่าวถึงผลงานของผนู้ นั้ (1ขอ้ )
• สาเหตุของการเสียชวี ิต หรือจากไป
• กลา่ วถงึ ความอาลัยของผทู้ ี่อยู่เบื้องหลัง
• แสดงความวา่ ทผ่ี ู้จากไป จะไปอย่สู ถานที่
ดแี ละมคี วามสุข

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 139

การพูดในโอกาสต่างๆ

การพูด ลักษณะการพดู วิธีการพดู

กลา่ ว อวยพรขึ้นบ้านใหม่ กลา่ วถึงความสาํ เร็จของครอบครวั ในการสรา้ ง
อวยพร หลักฐานความซ่อื สัตย์สจุ รติ
และขยนั หม่นั เพยี รของเจ้าของบ้านอวยพรให้
กล่าวสดดุ ี ประสบความสุข

กล่าว อวยพรวนั เกดิ ความสําคัญของวันนี้ คณุ ความดขี องเจ้าภาพ
มอบรางวลั และ ความเจรญิ เติบโต
กา้ วหนา้ หรือเปน็ ท่ีพง่ึ ของบตุ รหลาน อวยพร
หรอื ให้เป็นสุขอายยุ ืนยาว
ตําแหน่ง
อวยพรคู่สมรส ความสัมพนั ธ์ของผกู้ ล่าวกับค่สู มรสฝา่ ยใดฝ่าย
140 หนึง่ ความดที ี่ท้งั สองรกั กนั และการแนะนาํ
หลกั การครองชีวิต อวยพรใหเ้ ป็นสขุ

กลา่ วมอบวฒุ บิ ัตร หรือ บอกความหมาย และความสาํ คญั ของวุฒิบัตร
ประกาศนียบัตร ความเหมาะสมของผูไ้ ดร้ ับประกาศนียบตั ร
มอบวุฒิบัตร และปรบมอื ใหเ้ กียรติ

กลา่ วสดดุ บี ุคคลสําคัญ กล่าวนาม , กล่าวชวี ประวัติ ผลงาน งานทีเ่ ปน็
มรดกตกทอด ยนื ยันสบื ทอดคณุ ความดแี สดง
คารวะและปฏญิ าณตนร่วมกัน

กล่าวมอบรางวลั หรือ ชมเชยความสามารถ และความดีเดน่ ของผู้
ตําแหนง่ ไดร้ ับรางวัล หรือตําแหนง่ ความหมายและ
เกยี รตินยิ มของรางวัลหรือตําแหน่ง ฝาก
ความหวงั ไวก้ ับผูท้ ่จี ะรับรางวลั หรอื ดํารง
ตําแหนง่ มอบรางวัล หรอื ของทรี่ ะลึกปรบมอื ให้
เกยี รตสิ าํ หรับผู้ทีไ่ ด้รบั รางวลั กลา่ วขอบคุณ
กล่าวยืนยันที่จะรกั ษารางวลั เกยี รตยิ ศน้ี

กล่าวรบั มอบตําแหน่ง ขอบคุณทีไ่ ด้รบั ความไว้วางใจ และให้เกยี รติ
ชมเชยคณะกรรมการชดุ เกา่ (ในข้อดจี ริงๆ) ท่ี
กําลังหมดวาระ แถลงนโยบายโดยยอ่ ใช้คาํ
สญั ญาท่ีจะรักษาเกยี รติ และทาํ หนา้ ที่ดที ่สี ุด
พร้อมกบั ขอความรว่ มมือจาก คณะกรรมการ
และสมาชกิ ทุกคน

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การพูดในโอกาสต่างๆ

การพูด ลักษณะการพดู วิธกี ารพูด
กล่าว
ต้อนรับ ตอ้ นรบั สมาชิกใหม่ ความสําคญั และความหมายของสถาบัน
หนา้ ที่และสิทธทิ์ ส่ี มาชกิ จะพงึ ได้รับกล่าว
ปาฐกถา ตอ้ นรบั ผ้มู าเยอื น ตอ้ นรับมอบของท่ีระลกึ (เขม็ หรืออืน่ ๆ)
ถา้ มี
การพดู ถึงความรู้ ความคดิ
นโยบายแสดงเหตุผล และส่ิง เล่าความเปน็ มาของสถาบันโดยยอ่
ที่นา่ สนใจผูท้ แี่ สดงปาฐกถา กลา่ วแสดงความรสู้ ึกยนิ ดีทไ่ี ด้ตอ้ นรบั มอบ
ยอ่ มตอ้ งมีความรคู้ วาม ของทรี่ ะลึก แนะนาํ ให้ท่ปี ระชุมรู้จัก และ
เช่ียวชาญอยา่ งแทจ้ ริงในเรื่อง เชิญกลา่ วตอบ
น้นั ๆ การแสดงปาฐกถาไม่ใช่
การสอนวิชาการ แตม่ ี • พูดตรงตามหวั ข้อกําหนด
ข้อเสนอแนะ หรอื ขอ้ คดิ เห็น • เนอื้ หาสาระใหค้ วามรู้ มีคาํ อธบิ าย
สอดแทรก และไม่ทาํ ให้ ตวั อย่างใหฟ้ งั เข้าใจไดร้ วดเรว็
บรรยากาศเคร่งเครียด • สร้างทัศนคตทิ ่ีดตี ่อเรือ่ งท่ีพูด

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 141

การพดู เป็นพธิ ีกร และโฆษก

พธิ ีกร หมายถึง ผูท้ ําหนา้ ท่ีดําเนนิ รายการในกจิ การ

น้นั ๆ ใหเ้ ป็นไปตามจุดมงุ่ หมาย พธิ ีกรจะเปน็ ผ้ทู ําให้
รายการนน้ั นา่ สนใจมากน้อยเพียงใด ตอ้ งทําหนา้ ท่ี
ประสานประโยชน์ใหเ้ กิดแก่ผู้ฟงั และผ้รู ่วมรายการ
หรือ คือ ผู้ประสานความเข้าใจอันดรี ะหวา่ งผู้แสดงใน
รายการน้ันกับผฟู้ ัง ผชู้ ม

โฆษก หมายถงึ ผู้ประกาศ , ผ้โู ฆษณา มีหน้าทีต่ ิดต่อสอื่

ความหมายระหวา่ งผ้รู บั เชิญ กับผู้ชม หรือผู้ฟัง

ขอ้ แนะนําสําหรบั ผทู้ าํ หนา้ ทพ่ี ิธีกร และโฆษก

• มบี ุคลกิ ภาพดี
• ขณะพูดหนา้ ตาย้มิ แยม้ แจม่ ใส มชี ีวติ ชีวา ใจเยน็ พูดจาไพเราะ
น่ิมนวล
• มปี ฏภิ าณไหวพรบิ แกป้ ัญหาเฉพาะหน้าได้ มคี วามคลอ่ งตัว สรา้ ง
บรรยากาศใหม้ คี วามเปน็ กันเอง
• พดู ใหส้ น้ั ไดเ้ นอ้ื หาสาระ ใช้ถอ้ ยคําสละสลวย เพอื่ ใหผ้ ฟู้ ังเกดิ
ความสนใจ กระตือรือรน้ อยากฟัง
• ศกึ ษาเรื่องราวทีจ่ ะต้องทาํ หนา้ ทน่ี ําเสนอรายการเป็นอยา่ งดี
จดั ลําดบั การเสนอสาระอยา่ งมขี อบเขต มีทัศนคตทิ ี่ดีต่อหน้าทท่ี ่ี
จะต้องทํา และมีความรบั ผิดชอบ

142 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

พธิ ีกร ต้องมีความร้พู นื้ ฐาน 4 อย่าง บทบาทหน้าที่พิธกี ร 4 ประการ ดงั นี้
• รูล้ ําดับรายการ • เป็นเจา้ ของเวที (Stage Owner)
• รรู้ ายละเอียดของแต่ละรายการ • เปน็ ผดู้ าํ เนินรายการ
• รู้จกั ผเู้ กย่ี วขอ้ งในแตล่ ะรายการ (Program Monitor)
(ใครจะมารับช่วงเวทีต่อไป) • เป็นผ้แู ก้สถานการณเ์ ฉพาะหนา้
• รกู้ าลเทศะ (ไม่เลน่ หรอื ล้อเลยี นจน (Situation Controller)
เกินขอบเขต ตอ้ งมคี วามพอดี) • เปน็ ผู้ประสานงานบนั เทิงและสงั คม
(Social Linkage)

เทคนิคการเป็นพิธกี ร

เทคนิค 7 ประการในการเป็นพิธีกร
• ต้องมีความพรอ้ มท้งั รา่ งกายและจิตใจ (พักผ่อนเพียงพอ)
• ตอ้ งมาถงึ บริเวณงานกอ่ นเวลา (อยา่ งน้อยคร่งึ ชวั่ โมง)
• สาํ รวจความพร้อมของเวที แสง สี และเสียง (ทดสอบจนแน่ใจ)
• เปดิ รายการดว้ ยความสดช่นื กระปรี้กระเปร่า
• ดึงดดู ความสนใจมาสู่เวทไี ด้ตลอดเวลา (ทกุ คร้งั ทพ่ี ูด) อยา่ ทิ้งเวที
• แก้ปญั หาหรือควบคมุ สถานการณ์เฉพาะหน้าได้อยา่ งดี
• ดาํ เนนิ รายการจนจบ หรอื บรรลเุ ปา้ หมายทวี่ างไว้

ขอบคณุ ข้อมลู จาก สํานกั งานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถÉินกระทรวงมหาดไทยเรÉืองการพดู
ในทีÉชมุ ชนwww.local.moi.go.th

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 143

หลกั การเขียนโครงการ ของอาสาพัฒนา (อสพ.)

1. เลขทโี่ ครงการ ให้ระบลุ ําดับทีโ่ ครงการของอาํ เภอ / จงั หวดั ในปงี บประมาณที่
ดําเนนิ การ
2. ชื่อโครงการ ควรเปน็ ชือ่ ที่ชดั เจน กระชับ บอกไดท้ ันทีวา่ เปน็ เร่อื งอะไร เก่ียวขอ้ งกบั
อะไร เปน็ การส่อื ความหมายได้ตรงวตั ถปุ ระสงค์
3. หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ ให้ระบุสาํ นักงาน หรือเจ้าของโครงการทจ่ี ะขอดําเนินการ
4. หลกั การและเหตผุ ล

4.1 เปน็ การปพู ืน้ ฐานความเข้าใจระหว่างผู้เสนอโครงการกบั ผ้พู จิ ารณาโครงการให้
เขา้ ใจตรงกนั

4.2 เปน็ การชแี้ จงถึงปัญหาและความจําเปน็ ท่ีเกดิ ขนึ้ ทีจ่ ะตอ้ งดาํ เนนิ การเพ่ือแก้ไข
ปัญหาน้นั ตลอดจนชแี้ จงถึงประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการดาํ เนินงานตามโครงการ หาก
โครงการท่จี ะดําเนินการเปน็ ไปตามนโยบายหรือสอดคล้องกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ
สงั คมแหง่ ชาติ แผนพัฒนาจงั หวดั หรือแผนพฒั นาอื่น ๆ ก็ให้ชี้แจงโดยละเอยี ด
5. วตั ถุประสงคท์ ว่ั ไป เป็นการกาํ หนดแนวทางปฏิบัติอยา่ งกว้าง ๆ
6. วัตถปุ ระสงค์เฉพาะ

6.1 เปน็ การกําหนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการแก้ไขปญั หาท่ีสามารถดาํ เนินการได้
6.2 บอกใหท้ ราบวา่ การดําเนินการตามโครงการจะเกดิ อะไรข้ึนบ้าง
6.3 ตอ้ งคํานงึ ถึงความเปน็ จรงิ ความเป็นไปได้ ระยะเวลาและขีดความสามารถที่จะได้
6.4 วตั ถปุ ระสงค์มีมากกวา่ 1 ข้อได้ แต่ต้องไปขดั แยง้ กนั เอง
7. หลกั สตู ร
กรณีทเ่ี ปน็ โครงการฝกึ อบรม การประชุม การสมั มนาให้ระบวุ ่าในหลกั สตู รมอี ะไรบ้าง
8. วธิ ีดําเนินการ/ขนั้ ตอนดําเนินการ
8.1 เป็นการบอกรายละเอยี ดการปฏิบตั งิ านตามโครงการวา่ จะทาํ อะไรบา้ ง

และทําอยา่ งไร
8.2 เรียงลาํ ดับขั้นตอน ตามกจิ กรรมท่เี กิดข้ึน หรือระบเุ ฉพาะกิจกรรมที่สําคญั
9. ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ ระบจุ าํ นวนผูร้ ว่ มโครงการว่าเปน็ ใคร มจี าํ นวนเทา่ ใด
10. สถานทีด่ าํ เนินการ ระบสุ ถานท่ีดาํ เนินการ

(อาจมีแผนผังจุดดําเนนิ การเสนอเพอ่ื พจิ ารณา)
11. ระยะเวลาดาํ เนินการ ระบกุ ารดาํ เนินการเมื่อใด และเสรจ็ สิ้นเมอ่ื ใดใหช้ ดั เจน

144 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71


Click to View FlipBook Version