The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสำหรับ-อสพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสำหรับ-อสพ

คู่มือสำหรับ-อสพ

การเติบโตหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ปี 2552 – ปัจจุบนั )

การขยายผลการทํางานสู่ความยั่งยนื โดยพัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง
ให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบที่มีศกั ยภาพ
4 ดา้ น 23 ตวั ช้ีวดั

1. มคี วามสามัคคีและความร่วมมอื 20. มจี ติ สาํ นึกของการอนุรักษฯ์
21. มีกล่มุ /องคก์ รด้านส่งิ แวดล้อม
2. มีขอ้ ปฏบิ ัตขิ องหมบู่ า้ น 22. มีการใชพ้ ลังงานทดแทน
23. มีการสรา้ งมลู ค่าเพม่ิ จาก
3. มีกองทุนสวสั ดกิ ารแก่สมาชิก ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม

4. ยึดมน่ั หลักการประชาธปิ ไตย 4. ด้าน
ทรัพยากร
5. มคี ุณธรรม/จริยธรรม ธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ ม
6. ปลอดอบายมขุ
3. ด้านการ
7. เช่ือมั่นปรชั ญา ศกพ. 1.ดา้ น เรียนรู้

จิตใจ 13. มขี อ้ มลู ของชุมชน
และ 14. ใชข้ ้อมลู และแผนชมุ ชน
สงั คม 15. คน้ หาและใช้ภมู ิปญั ญา

2. ด้าน ทอ้ งถ่ิน
เศรษฐกจิ 16. จัดตัง้ ศูนย์เรยี นรู้ในชมุ ชน
17. ใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสม
8. จดั ทาํ บัญชคี รัวเรือน 18. สร้างเครอื ขา่ ยภาคีการพฒั นา
9. ลดรายจ่ายและสรา้ งรายได้ 19. ปฏิบัตติ ามหลักการพึ่งตนเอง
10 รวมกลมุ่ พัฒนาอาชีพหลกั
11 มกี ิจกรรมการออมท่ีหลากหลาย
12. มีวสิ าหกิจชุมชน

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 45

ขน้ั ตอนการพฒั นาหม่บู า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน

1. การสร้างแกนนาํ • เขา้ ใจปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ครวั เรอื นพฒั นา • เขา้ ใจภารกิจของแกนนําหมบู่ า้ น

2. การส่งเสริม • เรียนรตู้ นเองและกาํ หนดเปา้ หมายการพฒั นา
ครอบครัวพฒั นา (แผนชีวิต)

• บญั ชคี รวั เรอื น
• ศกึ ษาดูงานหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบ

(บา้ นพ่ี)

3. บริหารจัดการชมุ ชน • ประเมิน GVH ครัง้ ที่ 1
• การสาธติ การดาํ รงชีวิตแบบพอเพยี ง

4. สนับสนุนกจิ กรรม • ทบทวนแผนชมุ ชน
ตามแผนชมุ ชนบรหิ าร • บูรณาการแผนชมุ ชนรว่ มกับภาคีการพัฒนา
จดั การโดยชุมชน
5. การจดั การความรู้ • ประเมิน 4 ด้าน 23 ตวั ชีว้ ัด
เพื่อการพัฒนาหมู่บา้ นฯ • ประเมนิ GVH ครง้ั ที่ 2
• ถอดบทเรียนจดั การความรกู้ ารดําเนนิ งานหมู่บ้าน

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

46 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

กระบวนการประเมินหม่บู ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ

จังหวดั ตรวจสอบ/รบั รอง ตดิ ตาม/สนบั สนนุ ประกาศผลเปน็ หมูบ่ ้าน
อาํ เภอ สง่ ผลให้กระทรวง ต้นแบบ

ตรวจสอบ/รับรอง ตรวจสอบ/รบั รอง
ส่งผลการประเมนิ รายงานกระทรวง

สง่ เสริม/สนับสนุน ประเมินหมบู่ ้าน
เสนอเป็น

หมู่บ้านตน้ แบบ

ตําบล ประเมนิ หม่บู า้ น สนบั สนนุ /
ตามเกณฑ์ พฒั นาหมบู่ า้ น
หมบู่ ้าน
ที่ผา่ น 4 ด้าน 23 ตัวชี้วัด ดาํ เนนิ การ
เกณฑ์ 6X2 พัฒนาหมบู่ ้าน
และเป็น ให้ขอ้ มูลการพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ ตามประเดน็
การประเมนิ

กลไก เม.ย.- พ.ค. มิ.ย.- ก.ค. 1-15 ส.ค.

• ศจพ.จ./อ./ต./ม. ประเมนิ เบื้องตน้ ส่งเสรมิ ตรวจสอบ รับรอง
• อน่ื ๆ เพ่ือจัดหมู่บ้าน พัฒนาหมู่บา้ น หมบู่ ้านตน้ แบบ
ตามทจ่ี ังหวัด เป็น 3 ระดบั
เหน็ สมควร

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 47

การจดั ระดับศกั ยภาพการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจ
พอเพียงตน้ แบบ เปน็ 3 ระดบั

แบบประเมิน 4 ด้าน 23 ตวั ช้ีวัด เมื่อประเมินเสร็จแล้ว ม่งั มี ศรสี ุข
สามารถนาํ มาจัดระดบั การพฒั นาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
ออกเปน็ 3 ระดบั ตามตัวช้วี ัดทีผ่ ่านเกณฑ์ ดงั น้ี

พออยู่ พอกนิ อยดู่ ี กนิ ดี ตน้ แบบในการ
บรหิ ารการพัฒนา
ต้นแบบในการ ตน้ แบบในการ รปู แบบของเครือขา่ ย
ใช้ชวี ิตพง่ึ ตนเอง บริหารจดั การ
เนน้ การปฏบิ ัติ พัฒนาในรปู กลุ่ม เพื่อยกระดบั
การพฒั นา คณุ ภาพชีวิต
ทาํ กนิ ในชมุ ชนขยายโอกาส
ทําใช้ รายได้ ในการประกอบอาชีพ
ในครวั เรอื น ดว้ ยระบบกลุ่ม
เพอ่ื ลดรายจ่าย สง่ เสริม
เพ่ิมรายได้ เพมิ่ รายได้ การจดั สวัสดิการ
และมกี ารออม และขยายโอกาส ให้กบั คนในชมุ ชน

คนในชมุ ชน

ผา่ น 23 ตัวชีว้ ัด

ผ่าน 17-22 ตัวชี้วดั

ผา่ น 10-16 ตวั ช้วี ดั

48 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

การสาธติ การดาํ รงชวี ติ แบบพอเพยี งที่สอดคล้องกบั
ระดับการพฒั นาหม่บู ้านซ่งึ แบ่งเป็น 3 ระดบั

“พออยู่ พอกิน”

สง่ เสริมสขุ ภาพ

สง่ เสรมิ การออม ลดการใช้
พลงั งาน

ลดรายจ่าย พออยู่ พอกิน ปอ้ งกัน/แก้ไข
(ครวั เรอื น ปัญหายาเสพตดิ
เขม้ แข็ง)

พฒั นากระบวน “อยูด่ ี กนิ ดี”
การกล่มุ

แปรรปู ผลิตภัณฑ์ พฒั นาแผนธุรกจิ

สรา้ งรายได้ อยดู่ ี กินดี สรา้ งสวสั ดิการ
(กลมุ่ ชมุ ชน
เข้มแขง็ )

“มงั่ มี ศรีสุข” สร้างเครอื ข่าย ทักษะการจัด
การพัฒนาหมูบ่ า้ น สวสั ดิการชมุ ชน

สรา้ งเครือขา่ ย
ธรุ กจิ

การพฒั นาระบบ มง่ั มี ศรสี ุข เครอื ข่ายความรว่ มมือ
เครอื ข่าย (เครอื ข่าย (ใน+นอกชุมชน)
เขม้ แข็ง)
49
คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ความสุขมวลรวมของหมบู่ ้าน/ชุมชน
(Gross village Happiness : GVH)
หมายถึง “สภาวะท่ีคนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ดํารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ท้ังจิต กาย ปัญญา ที่เช่ือมโยง

กับ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นองค์รวมและสัมพันธ์กันได้ถูกต้องดีงาม นําไปสู่การอยู่
รว่ มกันอย่างสนั ตริ ะหว่างคนกับคน และระหวา่ งคนกบั ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม”

ดชั นชี วี้ ดั ความสุขมวลรวม ประกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบ 22 ตัวชวี้ ดั

องค์ประกอบที่ 1 คอื การมสี ุขภาวะ มี 3 ตัวช้ีวัด
องคป์ ระกอบท่ี 2 คือ เศรษฐกจิ ชุมชนเข้มแขง็ เป็นธรรม มี 3 ตัวช้ีวดั
องค์ประกอบที่ 3 คอื ครอบครวั อบอนุ่ มี 3 ตัวช้วี ัด
องค์ประกอบท่ี 4 คอื ชมุ ชนมีการบรหิ ารจัดการชมุ ชนดี มี 5 ตวั ชีว้ ัด
องค์ประกอบท่ี 5 คอื สภาพแวดลอ้ มดมี ีระบบนิเวศทสี่ มดลุ มี 4 ตัวช้วี ดั
องค์ประกอบที่ 6 คอื เปน็ ชุมชนประชาธิปไตยมีธรรมาภิบาล มี 4 ตัวชี้วัด

เครื่องมือการประเมนิ ความสุขมวลรวม : แผนผงั ใยแมงมมุ

50 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การวัดความสขุ มวลรวมของหมบู่ า้ น/ชมุ ชน
6 องคป์ ระกอบ 22 ตัวชีว้ ัด

องคป์ ระกอบท่ี 1 การมสี ขุ ภาวะ
 บุคคลมคี วามรูใ้ นการสรา้ งและรกั ษาสขุ ภาพรา่ งกายใหแ้ ขง็ แรง ไม่เจบ็ ป่วย อายยุ ืนนาน
 บคุ คล มสี ุขภาพจติ ท่ดี ี ยดึ มนั่ ในคณุ ธรรม จริยธรรม เชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
 บุคคล มีทกั ษะในการใช้ชวี ติ อย่างมีคุณค่า อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างปกตสิ ขุ สรา้ งสรรคป์ ระโยชนแ์ ก่ตนเอง

ครอบครัวและชมุ ชนไดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ

องค์ประกอบที่ 2 เศรษฐกจิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ เป็นธรรม
 ครอบครวั มีความมนั่ คงในอาชพี มรี ายไดท้ ่เี พยี งพอเกดิ จากการมสี มั มาชีพ
 ชุมชน มกี ารกระจายรายไดใ้ นกลุ่มตา่ งๆ ในชุมชนอย่างเป็นธรรม
 ชุมชน มกี ิจกรรมสรา้ งความมน่ั คงเศรษฐกิจฐานราก มแี ละพัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนตอ่ เนือ่ ง มสี ถาบันการเงิน

องค์ประกอบท่ี 3 ครอบครวั อบอุน่
 ครอบครัวรกั ษาสัมพันธภาพที่ดตี อ่ กัน สามารถปฏิบัตบิ ทบาทหน้าท่ีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพือ่ ใหส้ ามารถดาํ รง

ความเปน็ ครอบครวั และชมุ ชนได้อยา่ งมีคุณภาพท่ีย่งั ยนื
 ครอบครัว มกี ารอบรมเล้ียงดูสมาชิกวยั เยาวใ์ หเ้ ตบิ โตอย่างมคี ณุ ภาพในวถิ ชี วี ติ ของความเปน็ ไทย
 ครอบครัว ชมุ ชน เลี้ยงดูผูส้ งู อายุให้สามารถดาํ รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

องค์ประกอบที่ 4 ชมุ ชนมีการบรหิ ารจดั การชมุ ชนดี
 ประชาชนและกลุม่ องค์กรตา่ งๆ ในชมุ ชน มคี วามสมั พนั ธท์ ีด่ รี ะหวา่ งกัน รว่ มมอื ชว่ ยเหลือกัน เกอื้ กูลและ

อยูร่ ่วมกนั อยา่ งสงบสุข
 ชุมชน มีการบรหิ ารจดั การที่ดี มีและใชแ้ ผนชุมชนในการยกระดบั คุณภาพชวี ติ ชมุ ชน
 ชมุ ชน ร่วมกับภาคีการพัฒนาทม่ี ีบทบาทเกื้อหนุนกัน สรา้ งการทาํ งานภายในชมุ ชน
 ชมุ ชน มรี ะบบการสอ่ื สารและกระบวนการเรยี นรใู้ นชมุ ชนอยา่ งต่อเน่ือง
 ชมุ ชน สามารถธาํ รงไวซ้ ึ่งคณุ คา่ ของประเพณวี ฒั นธรรม และภมู ปิ ญั ญาที่เปน็ เอกลกั ษณข์ อง แตล่ ะชุมชน

ทอ้ งถ่ิน ตลอดจนเอกลกั ษณ์ความเปน็ ไทย

องค์ประกอบที่ 5 การมสี ภาพแวดล้อมดมี รี ะบบนิเวศท่ีสมดลุ
 บุคคล ครอบครวั มที ่ีอย่อู าศัยทม่ี ั่นคง
 ชมุ ชน จัดสภาพแวดลอ้ มเพื่อการดาํ รงชวี ติ ในชมุ ชนให้มคี วามปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส์ ิน
 ชุมชน มบี ริการสาธารณปู โภคที่พอเพยี ง
 ชุมชน มกี ารบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดล้อมท่มี คี ุณภาพ เพือ่ สรา้ งสมดุลให้กบั ระบบ

นเิ วศ และยกระดับคณุ ภาพชีวติ ที่ดขี องคนในชมุ ชน

องค์ประกอบท่ี 6 เป็นชมุ ชนประชาธปิ ไตยมีธรรมาภิบาล

 บคุ คล มศี กั ดิ์ศรี มีสิทธเิ สรีภาพและการยอมรบั และเคารพในศักดศ์ิ รคี วามเปน็ คนทเ่ี ท่าเทียมกันตามระบอบ
ประชาธิปไตย

 บุคคล ปฏิบัติตามสทิ ธิ หน้าท่ี กติกาประชาธิปไตย ไม่ซอ้ื สิทธิ์ ขายเสยี งในการใชส้ ทิ ธเิ์ ลือกตง้ั
 ชุมชนมีธรรมาภิบาลชุมชน มีระบบการบรหิ ารจดั การท่ียึดหลกั ความโปรง่ ใส ค้มุ คา่ เปน็ ธรรม รบั ผดิ ชอบ

 ชมุ ชน มวี ิธแี ก้ปัญหาความขดั แยง้ สรา้ งความสนั ตสิ ุข สมานฉันทใ์ นชมุ ชนโดยชมุ ชน

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 51

เครอ่ื งมือสาํ หรบั การประเมนิ : แบบปรอทวัดความสุข

เครอ่ื งมือสําหรับการประเมนิ : แบบปรอทวัดความสขุ (1-100) โดยถาม
ความรู้สกึ โดยรวมๆ ของหมู่บา้ นแลว้ หาขอ้ ตกลงค่าคะแนนร่วมกัน

อยู่เย็น เปน็ สขุ 81-100 คะแนน

อยดู่ ี มีสขุ 61-80 คะแนน

อยู่อิม่ นอนอุ่น 41-60 คะแนน

อยู่ได้ คลายทกุ ข์ 21-40 คะแนน

อยู่รอ้ น นอนทกุ ข์ 0-20 คะแนน

ระดับคะแนน 0-20 คะแนน ระดับน้อยที่สุด (อยู่ร้อน นอนทุกข์) เป็น
ความรู้สึกท่ีเกิดความแร้นแค้นในปัจจัยการดําเนินชีวิตไม่มีความสบาย มีความกังวล
อยตู่ ลอดเวลา

ระดับคะแนน 21-40 คะแนน ระดับน้อย (อยู่ได้ คลายทุกข์) เป็นความรู้สึก
ทีเ่ กิดจากการทสี่ ามารถปรบั ตวั ใช้ปัจจัยการดําเนนิ ชีวิต และการจัดการกบั สภาพปัญหา
ทเ่ี กิดข้ึนในชมุ ชนได้บ้าง ยังมีความกงั วลใจ ต้องการรับการชว่ ยเหลือจากภายนอก

ระดับคะแนน 41-60 คะแนน ระดับปานกลาง (อยู่อ่ิม นอนอุ่น) เป็น
ความรู้สึกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการปัจจัยการดําเนินชีวิตให้เหมาะสมกับ
ชุมชน มีความพอใจ สบายใจ สะดวก ระดับเดียวกันหรือเท่าๆ กันกับความกังวล
เป็นห่วง ต่อสถานการณท์ เี่ กิดขนึ้

ระดับคะแนน 61- 80 คะแนน ระดับมาก (อยู่ดี มีสุข) เป็นความรู้สึกมั่นใจ
ในความสามารถในการบริหารจัดการปัจจัยการดําเนินชีวิตให้มีความสุข แก้ไขปัญหา
เพือ่ ลดความหว่ งกังวลตา่ งๆ ได้มาก

ระดับคะแนน 81 -100 คะแนน ระดับมากที่สุด (อยู่เย็น เป็นสุข) เป็น
ความรู้สึกเชื่อมั่นและม่ันใจในความสามารถในการบริหารจัดการปัจจัยการดําเนินชีวิต
เพอื่ ตดั ความกังวลตอ่ สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นหรืออาจเกิดข้ึน ทําให้รู้สึกพึงพอใจ สบายใจ
มากท่สี ดุ และคงอยตู่ อ่ เนือ่ ง

52 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

โครงการสร้างสมั มาชีพชุมชนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

สัมมาชีพ คืออะไร? สัมมาชีพ : อาชีพที่ไม่เบียดเบียน

ตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม มีรายจ่าย
น้อยกว่ารายได้ เป็นการทํามาหากิน
โดยไม่ได้เอากําไรสูงสุดเป็นตัวตั้งหรือ
เป็นเป้าหมายสุดท้าย และต้องคํานึงถึง
ความเป็นธรรมทางสังคม กล่าวคือ
ความสุขของตนและคนทํางาน รวมถึง
ประโยชน์ของผู้บริโภคและผู้รับบริการ
หลกั

ปราชญ์ชุมชน : ปราชญ์สัมมาชีพ สัมมาชีพชุมชน : ชุมชนท่ีมีการ

เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความชํานาญในการ ประกอบอาชีพโดยชอบ ซ่ึงมีรายได้
ประกอบสัมมาอาชีพจนเช่ียวชาญใน ม า ก ก ว่ า ร า ย จ่ า ย โ ด ย ล ด ก า ร
อาชีพน้ัน ๆ และประสบความสําเร็จ เ บี ย ด เ บี ย น ต น เ อ ง ผู้ อื่ น แ ล ะ
ในอาชีพจนเป็นท่ียอมรับของชุมชน สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ทั้ ง นี้ ต้ อ ง มี ค ว า ม
และมีจิตอาสาพร้อมที่จะถ่ายทอด สอดคลอ้ งกับวิถีของชุมชนเพื่อความ
และขยายผลไปยังบุคคลอื่น ๆ ใน มุ่งหมายในการสร้างระบบเศรษฐกิจ
ชมุ ชน ชมุ ชน

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 53

โครงการสรา้ งสมั มาชีพชมุ ชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กรมการพัฒนาชมุ ชนไดด้ ําเนนิ โครงการ
สร้างความม่ันคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กจิ กรรมย่อยท่ี 1 สร้างและพฒั นาผนู้ าํ สัมมาชพี ชุมชน
1. สร้างเครอื ขา่ ยทมี วทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชน
วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื สร้างและพัฒนาทักษะทมี วิทยากรสมั มาชพี ชุมชน และ

เกดิ เป็นเครอื ขา่ ยทมี วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชน
2. เพื่อค้นหาและจดั ทาเมนูอาชีพสมั มาชีพชมุ ชนทส่ี อดคล้องกบั

โอกาสทางการตลาดและการตอ่ ยอดขยายผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพเข้าใจแนวทางการสร้างสัมมาชีพ
ชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการทําหน้าท่ีเป็นวิทยากร
สัมมาชีพชุมชนเพื่อขับเคล่ือนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้านได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยมีเครือข่ายวิทยากรสัมมาชีพชุมชนให้การ
สนับสนุนและมีเมนูอาชีพสัมมาชีพท่ีเป็นอาชีพทางเลือกในการสร้างรายได้ให้กับ
ครวั เรือนเปา้ หมาย
2. สรา้ งและพฒั นาสัมมาชีพชุมชนในระดบั หมบู่ ้าน
วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และได้รับการพัฒนาทักษะด้าน
อาชพี และสามารถนาํ ความรู้ไปประกอบอาชีพ เพ่ือสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนตาม
แนวทางการสร้างสัมมาชพี ชุมชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนเป้าหมายที่ได้รับการส่งเสริมอาชีพตามแนวทาง
สมั มาชพี ชุมชน มีอาชีพและมีรายได้เพ่มิ ขึน้

54 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

โครงการสร้างสมั มาชีพชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3. จัดตงั้ และพฒั นากล่มุ อาชีพ
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านการ
พัฒนาได้มีการรวมกลุ่ม และสนับสนุน การจัดต้ังและพัฒนาเป็นกลุ่มอาชีพที่
กอ่ ใหเ้ กดิ รายไดใ้ หก้ ับชมุ ชน
ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านการพัฒนาที่ประกอบอาชีพ
เดียวกันหรือประเภทเดียวกัน และประกอบอาชีพอย่างต่อเน่ือง มีการรวมกลุ่ม
และจดั ต้งั เป็นกลุ่มอาชีพ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 55

56
คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 57

เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

ท่มี า : http://www.สานพลังประชารฐั .com

58 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

ทม่ี า : http://www.สานพลังประชารัฐ.com

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 59

เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

ท่มี า : http://www.สานพลังประชารฐั .com

60 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

ทมี่ า : http://www.สานพลังประชารัฐ.com

1. มเี ป้าหมายหลักเพอ่ื สงั คมไมใ่ ช่เพื่อกําไรสงู สดุ
2. เปน็ รูปแบบธรุ กจิ ทีร่ ายไดห้ ลักมาจากการขายสนิ คา้ และบรกิ ารไมใ่ ชเ่ งนิ
จากรฐั หรือเงินบรจิ าค

3. กาํ ไรตอ้ งนาํ ไปขยายผล ไมใ่ ช่ปนั ผลเพอื่ ประโยชน์ส่วนตัว

4. บรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
5. จดทะเบียนเป็นรปู แบบบรษิ ทั

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 61

เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

ทมี่ า : http://www.สานพลังประชารฐั .com

62 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

ที่มา : http://www.สานพลังประชารัฐ.com

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 63

อาสาพัฒนาชมุ ชน (อช.) และ
ผู้นําอาสาพัฒนาชมุ ชน (ผนู้ ํา อช.)

อาสาพัฒนาชมุ ชน คอื บุคคลท่ีได้รับการคัดเลือกจากเวทปี ระชาคมหมู่บ้านให้

ปฏิบัตหิ นา้ ที่อาสาสมัครในหมูบ่ ้านหน่ึง เรยี กชอื่ ย่อว่า “อช.” มจี าํ นวนหมู่บา้ นละ
อยา่ งนอ้ ย 4 คน โดยให้มจี ํานวนชายหญงิ ในสัดสว่ นทใ่ี กล้เคยี งกัน ออกคาํ สง่ั แตง่ ต้งั
โดยนายอําเภอ

ผู้นาํ อาสาพัฒนาชุมชน คอื อาสาพัฒนาชมุ ชนท่ี

ไดร้ บั การคดั เลือกจากเวทีประชาคมอาสาพัฒนา
ชุมชน เพอ่ื ใหป้ ฏิบตั ิงานอาสาสมคั รในฐานะผูน้ าํ
ของอาสาพัฒนาชุมชนในตาํ บลหนึ่ง เรียกชอื่ ยอ่ ว่า
“ผู้นาํ อช.” มจี าํ นวน 2 คน =ชาย 1 คน

หญงิ 1 คน
ผู้ว่าราชการจังหวดั เปน็ ผู้ออกคําสงั่ แตง่ ตงั้

ที่มา : http://blog.th.88db.com/?p=3419 ส่งเสรมิ สนับสนุน

ประสาน

บทบาทหน้าที่ อช.และ ผนู้ าํ อช.

ประสานปัญหาความ สง่ เสริมกจิ กรรม สนับสนุนให้

ต้องการของประชาชน โครงการ ในการ ประชาชนมีจิตอาสา
พฒั นาชุมชน
สู่การช่วยเหลอื จาก และพ่ึงพาตนเองในการ
ภาครฐั และเอกชน แก้ไขปัญหาชุมชน

64 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ภารกิจผู้นาํ อาสาพัฒนาชุมชน (ผนู้ าํ อช.)
ตามที่กรมการพฒั นาชุมชนมอบหมาย

10.ส่งเสรมิ 1.การจดั เกบ็ 2.ขบั เคลอื่ น
ทนุ ชมุ ชน จปฐ./กชช2ค. แผนชมุ ชน

9.สง่ เสรมิ ภารกจิ 10 3.ขับเคลอ่ื น
อาชีพ ประการ ศนู ย์เรียนรู้

8.แก้ไข 6.ป้องกัน/ 4.สง่ เสรมิ วถิ ี
ปญั หาความ แกไ้ ขยาเสพตดิ ประชาธปิ ไตย
5.ขบั เคลื่อน
ยากจน ปรชั ญาของ
7.อนรุ กั ษ์ เศรษฐกจิ
ทรพั ยากร พอเพียง
ธรรมชาติ
สงิ่ แวดล้อม

ระเบียบท่เี กีย่ วข้อง
ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการอาสาพฒั นาชุมชน พ.ศ. 2547 และ
แกไ้ ขเพ่มิ เติมฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2552 ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2555

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 65

ศนู ยป์ ระสานงานองคก์ ารชมุ ชน( ศอช.)

เป็นองค์กรเครือข่ายภาคประชาชนที่จัดตั้งข้ึนเพ่ือรวมพลังระหว่างผู้นํา กลุ่ม องค์กร
ต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในหมู่บ้าน ตําบล ในการทํางานร่วมกับผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการ
หมู่บ้าน กํานัน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งประสานกับภาครัฐและภาค
ประชาชน ในการบริหารจัดการชุมชน โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้ประชาชนสามารถ
บริหารจัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง สามารถพ่ึงตนเองได้ และนําไปสู่ชุมชนเข้มแข็ง
อย่างย่งั ยนื

ศอช. มี 3 ระดบั คอื ระดับตาํ บล ระดับอําเภอ และระดบั จังหวดั

คณะกรรมการบรหิ าร ศอช.จ. คณะทํางานสง่ เสริม ศอช.จ.
จํานวน 9 – 25 คน ข้าราชการ พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ
ผแู้ ทน ศอช.อ. ผ้แู ทนองคก์ าร หรือผทู้ รงคุณวุฒิ
เครือขา่ ยพฒั นาชุมชนระดบั จงั หวดั จนท.พช. เป็น เลขานกุ าร
ผูแ้ ทนเครอื ขา่ ยองคก์ ารชุมชนอื่น
ระดบั จงั หวดั และผู้ทรงคุณวุฒิ

คณะกรรมการบรหิ าร ศอช.อ. คณะทํางานส่งเสริม ศอช.อ.
จํานวน 9 – 25 คน ขา้ ราชการ พนักงานรฐั วิสาหกิจ
ผู้แทน ศอช.ต.ทุกตาํ บลในอําเภอ หรือผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
ผแู้ ทนเครอื ขา่ ยองคก์ ารชมุ ชน จนท.พช. เปน็ เลขานกุ าร
ระดับอาํ เภอ
และผทู้ รงคุณวุฒิ

คณะกรรมการบริหาร ศอช.ต. คณะทาํ งานส่งเสริม ศอช.ต.
จาํ นวน 9 - 25 คน นายก อบต. หรอื ผู้แทน
ผู้แทนองคก์ ารชมุ ชน ผู้นําชมุ ชน/ กาํ นนั ผูใ้ หญบ่ า้ นและข้าราชการ
กลุม่ อืน่ ๆหรือผแู้ ทนองคก์ ารชมุ ชน จนท.พช. เป็น เลขานุการ
อ่ืนในตาํ บลนั้น

ระเบียบท่เี กย่ี วขอ้ ง
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ ด้วยการดําเนนิ งานศนู ยป์ ระสานงาน
องค์การชมุ ชน พ.ศ. 2551

66 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 67

องคก์ รสตรี

กรมการพฒั นาชมุ ชน ไดด้ าํ เนนิ การพฒั นาสตรีมาพร้อมๆ กับการก่อต้ังกรมฯ ต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2505 เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพและการมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถ่ิน ต่อมาได้ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งและพัฒนาองค์กรสตรี
โดยใช้ชอ่ื วา่ คณะกรรมการพัฒนาสตรี ซงึ่ มี 5 ระดับ

68 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

กจิ กรรมองคก์ รสตรี

• การพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก • เป็นแกนนาํ ในการสง่ เสรมิ และ
การพฒั นาอาชพี สตรี การพัฒนา สนับสนนุ การพัฒนาอาชพี ของ
ผลิตภณั ฑช์ ุมชน การดาํ เนินงาน ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน และ
ของกองทุนชมุ ชนต่างๆ ทั้ง คดั เลือกครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน
กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี ตวั อย่าง ตามโครงการสร้าง
กองทุนหมบู่ า้ นและชมุ ชนเมือง สัมมาชีพชมุ ชน กิจกรรมการ
(กทบ.) กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการ ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด
ผลติ โครงการแกไ้ ขปญั หาความ กองทนุ แมข่ องแผ่นดิน การ
ยากจน (กข.คจ) อนรุ ักษ์ทรพั ยากร ธรรมชาตแิ ละ
ด้านเศรษฐกจิ ส่ิงแวดลอ้ ม การอนุรักษ์
วัฒนธรรมและประเพณีทอ้ งถ่นิ
ดา้ นสังคม

• สนบั สนนุ ใหส้ ตรีเข้าไปมีส่วนรว่ ม • จัดกจิ กรรมวันสาํ คัญทีเ่ กย่ี วกบั
การตัดสนิ ใจทางการเมอื ง การ สตรี เดก็ และเยาวชน เชน่ การ
ปกครอง ท้ังในระดับท้องถ่ินและ จัดงานวนั สตรีสากล วันสตรีไทย
ระดับชาติ วันแมแ่ ห่งชาติ วันกตัญญู วนั
ครอบครัว วันเด็กแห่งชาติ และ
ด้านการเมอื ง วันสาํ คัญอ่นื ๆ
การปกครอง
กิจกรรมวนั สาํ คัญ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 69

มาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.)

ระบบมาตรฐานงานชุมชน” (มชช.) เป็นเครื่องมือที่สร้างกระบวนการเรียนรู้
และการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยกลุม่ เปา้ หมายที่สมคั รใจเข้าส่รู ะบบ มชช.
จะไดร้ ู้จกั ตวั ตนของตนเอง ตัดสนิ ใจได้วา่ จาํ เป็นหรือต้องการท่ีจะพัฒนาตนเองใน
เรื่องอะไร อย่างไร อะไรเป็นจุดอ่อนต้องกําจัด อะไรเป็นจุดแข็งต้องรักษาและ
เพิ่มพนู ใหม้ ากขน้ึ เพ่ือนําไปสูก่ ารวางแผนและลงมือพัฒนาตนเองโดยใช้ศักยภาพ
และโอกาสทม่ี อี ยอู่ ยา่ งเต็มท่ี

เป้าหมายการให้บรกิ าร 4 ประเภท

1.ผนู้ ําชมุ ชน 2.กล่มุ องค์กร

4.ชมุ ชน

3.เครอื ขา่ ยองค์กร
ชุมชน

70 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

มาตรฐานการพฒั นาชุมชน (มชช.) 4 ประเภท
ประกอบด้วย 3 ดา้ นๆ ละ 3 องค์ประกอบ

มาตรฐานผู้นาํ ชุมชน

1.ดา้ นการบริหารตนเอง 2. ดา้ นบรหิ ารงาน 3. ด้านบรหิ ารสังคม

บคุ ลิกภาพ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มนษุ ยสมั พนั ธ์
การประสานงานทดÉี ี
พฒั นาความรู้ความสามารถ การปฏิบตั ิกิจกรรมโครงการ ความเป็นประชาธิปไตย
คณุ ธรรม/จริยธรรม/ศีลธรรม ตามแผน ทปีÉ ระสบ
ความสําเร็จ

การบริหารทีมงานทÉีมีคณุ ภาพ

มาตรฐานกลุ่มองค์กรชมุ ชน

1.ด้านการบรหิ ารงาน 2. ดา้ นบรหิ ารคน 3. ด้านบรหิ ารผลประโยชน์
กรรมการ ผลประโยชน์ต่อสมาชกิ
กองทนุ สมาชิก ผลประโยชน์ตอ่ กลุม่
กฎระเบยี บ คนในชุมชน ผลประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน
กิจกรรมของกลมุ่

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 71

มาตรฐาน (มชช.) 4 ประเภท
ประกอบด้วย 3 ด้านๆ ละ 3 องคป์ ระกอบ

มาตรฐานเครือข่ายองคก์ รชมุ ชน

1.ด้านการจดั การ 2. ดา้ นการจัดการ 3. ดา้ นบรหิ ารจดั การ
เครอื ข่าย สมาชกิ ผลประโยชน์

• มีกรรมการทสี่ อดคลอ้ ง • มสี มาชกิ ร่วมกําหนด • ผลประโยชนต์ อ้ ง
เหมาะสม เขม้ แขง็ แผนงาน / โครงการ สอดคลอ้ งกับปัญหา และ
• มกี ฎระเบียบทส่ี อดคล้อง ความต้องการของสมาชกิ
และเปน็ ที่ยอมรบั • สมาชิกเขา้ ประชุม • มกี ารสนับสนนุ ซึ่งกันและ
• มแี ผนงาน/โครงการ/ สมาํ่ เสมอ กนั ระหว่างเครอื ขา่ ยและ
กิจกรรม ทส่ี อดคลอ้ ง • มีการพัฒนาคุณภาพ/ องค์กรสมาชกิ
เหมาะสมเปน็ รปู ธรรม ศักยภาพสมาชกิ และ • มีการเชื่อมโยงการทํางาน
คณะกรรมการ กบั องคก์ รภายนอก

มาตรฐานชุมชน 1.ดา้ นสงั คม

- การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตตามเกณฑ์
จปฐ.
- กิจกรรมส่งเสริมด้านศาสนา ประเพณี
และวัฒนธรรม
- การจัดสวสั ดิการชมุ ชน

2.ดา้ นเศรษฐกิจ 3.ดา้ นการบริหารจัดการ

- สง่ เสรมิ อาชีพเพ่ือยกระดบั รายได้ครัวเรือน - การบริหารจัดการชมุ ชน
- มกี ลุ่ม/องคก์ รด้านเศรษฐกิจชมุ ชนทเ่ี ข้มแขง็ - การจดั การความรู้
- ประชาชนในหมู่บา้ นนําหลักปรชั ญาของ - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ/
ส่งิ แวดลอ้ ม
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้

72
คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

กระบวนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ

1. ความยากจนเกดิ จาการบรหิ ารจดั การชวี ติ ที่ไมเ่ หมาะสมสามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยการ

กรอบแนวคิด บรหิ ารจดั การชวี ติ

2. ปญั หาความยากจนเป็นปัญหาเชงิ ซอ้ น ไม. ใ่ ช่ปญั หาเชงิ เดย่ี ว ตอ้ งแกไ้ ขเปน็ ราย
ครอบครวั

3. ปญั หาความยากจนตอ้ งแกไ้ ขเป็นกระบวนงานบูรณาการและใช้เวลาใน

การดําเนนิ การ

กระบวนงานที่ 1 ชเี้ ปา้ ชีวติ (Life Identification)

การชี้เป้าชีวิต เป็นกระบวนงานเริ่มต้นในการตรวจสอบและช้ีเป้า หมายถึงครัวเรือนยากจน โดยการระบุ
ครัวเรือนยากจนจากข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ซ่ึงมีการสํารวจทุกปี และต้องนําข้อมูลครัวเรือน
ยากจนเป้าหมายท่ีไดจ้ ากการสํารวจขอ้ มูลความจาํ เป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) มาตรวจสอบยืนยันความถกู ต้อง จาก
ส่วนราชการต่างๆ และที่สําคัญต้องลงไปตรวจสอบข้อเท็จจริงในพื้นท่ี เพ่ือระบุครัวเรือนยากจน ท่ีถูกต้อง
เมื่อสามารถระบุครัวเรือนยากจนได้แล้ว กระบวนงานที่จะเร่ิมดําเนินการต่อไป คือ ทีมเจ้าหน้าที่ ซึ่ง
ประกอบไปด้วย พัฒนากร องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน หน่วยงานภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องและผู้นําชุมชน
จะต้องเข้าไปเคาะประตูบ้าน เพื่อพูดคุยทําความเข้าใจกับครัวเรือนยากจนและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ความยากจนเป็นรายครัวเรือนให้ทราบถึงปัญหาต่างๆ อย่างรอบด้าน และที่สําคัญที่สุดในกระบวนงาน
ช้ีเป้าชีวิต คือ “การทําให้ครัวเรือนยากจนตระหนักและยอมรับสาเหตุของปัญหาความยากจนท่ีเกิดข้ึน”
การยอมรับปญั หาจะช่วยทําใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ทจ่ี ะรว่ มกันขจดั ปญั หา นาํ ไปส่กู ารแกไ้ ขปญั หาความยากจน
รายครัวเรอื นที่ถูกต้อง และจัดทาํ สมุดบนั ทกึ การแกไ้ ขปัญหาความยากจนรายครวั เรอื น (Family Folder)

กระบวนงานท่ี 2 จัดทําเข็มทศิ ชวี ติ (Life Compass)

จัดทําเข็มทิศชีวิต หรืออาจเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า แผนท่ีชีวิต คือ กระบวนงานท่ีครัวเรือนยากจน เจ้าหน้าที่
พฒั นาชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น หนว่ ยงานภาคีการพัฒนาท่เี กีย่ วข้องและผนู้ ําชมุ ชนจะตอ้ งร่วมมือ
กัน ดําเนินการโดยดึงทุนชีวิตของครัวเรือนยากจนออกมาบริหารจัดการโดยการวิเคราะห์สถานการณ์ของ
ครัวเรือนยากจน ด้วยเทคนิค SWOT เพ่ือหาจุดอ่อน จุดแข็ง ภัยคุกคาม และโอกาสของชีวิตที่จะ
เปลยี่ นแปลงหรือพัฒนาไปสูก่ ารแกไ้ ขปัญหาให้มคี ุณภาพชีวิตหรือมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดีข้ึน และจัดทํา
เข็มทิศชีวิตหรือแผนที่ชีวิต นําไปใช้แก้ไขปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน เพ่ือให้ชีวิตหลุดพ้นจากความยากจน
ซ้าํ ซาก ในกระบวนงานจัดทําเขม็ ทศิ ชีวิตน้ี หลักสาํ คัญอยู่ท่ีพัฒนากรและทีม งานจะต้องเข้าไปกระตุ้น และ
สนบั สนนุ ให้ครวั เรือนยากจนคิดคน้ วธิ ีการที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตหรือพัฒนาชีวิตให้ดีข้ึนออกมาเป็นรูปธรรม
อย่างเป็นข้ันตอนและความเป็นรูปธรรมที่เกิดขึ้นต้องสามารถปฏิบัติได้ และท่ีสําคัญที่สุดในข้ันตอนนี้ คือ
การสรา้ งความเคารพตอ่ ข้อผกู พันในเข็มทิศชีวิตและแผนท่ีชีวิตให้เกิดขึ้นว่า ครัวเรือนยากจนจะก้าวเดินไป
ตามเข็มทิศชีวิตของเขาเอง ข้อผูกพันต่อเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนที่เกิดขึ้นน้ีจะไม่มีประโยชน์เลย
หากครัวเรือนยากจนไม่เคารพและปฏิบัติตามอย่างจริงจัง ดังน้ัน พัฒนากรและทีมงานจะต้องเข้าไปให้ให้
การสนับสนนุ ให้คาํ ปรึกษา ใหก้ ําลงั ใจแกค่ รวั เรอื นยากจนในการเปลยี่ นแปลงวถิ ีชวี ติ ของตวั เอง

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 73

กระบวนงานท่ี 3 บรหิ ารจดั การชวี ิต (Life Management)

การบรหิ ารจัดการชีวิต เปน็ กระบวนงานทีต่ อ้ งบูรณาการการมีสว่ นรว่ มของส่วนราชการ หนว่ ยงานภาครฐั ท่ี
เก่ียวข้อง ภาคเอกชนเข้ามาช่วยหนุนเสริมครัวเรือนยากจนในการแก้ไขปัญหาของตนเอง โดยการบริหาร
จดั การใน 3 สว่ น ดังน้ี
ส่วนที่ 1 คือ การบริหารจัดการชีวิตของครัวเรือนยากจนเอง ซ่ึงเป็นส่วนที่สําคัญที่สุดในการแก้ไขปัญหา
ความยากจน เปน็ ส่งิ ทีค่ รวั เรอื นยากจนจะต้องเปล่ียนแปลงตวั เองตามข้อผูกพันตามเขม็ ทศิ ชีวิต
ส่วนที่ 2 คือ การสนับสนุนจากชุมชนที่ครัวเรือนยากจนดําเนินชีวิตอยู่ ในส่วนน้ีชุมชนจะต้องเข้ามามีส่วน
ร่วมในการช่วยเหลือครัวเรือนยากจนในการพัฒนาชีวิตด้วยความเอื้ออารี แลกเปล่ียนเรียนรู้วิถีการดําเนิน
ชีวติ
สว่ นท่ี 3 คอื การบูรณาการส่วนราชการทเี่ กย่ี วขอ้ ง องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน เพื่อร่วมมือกัน
แกไ้ ขปัญหาโดยยดึ ครัวเรอื นยากจนเป็นเปา้ หมาย ยึดเข็มทิศชีวิตหรอื แผนทช่ี ีวติ เปน็ แนวทางการดาํ เนินงาน

กระบวนงานท่ี 4 ดูแลชวี ติ (Life improvement)

ดูแลชีวิต คือ การเข้าไปพบปะ พูดคุย สนับสนุนให้คําแนะนํา ให้กําลังใจ ครัวเรือนยากจนในการต่อสู้กับ
ความยากจนเปน็ ระยะๆ เพ่อื ปรับปรงุ เขม็ ทศิ ชวี ิตหรอื แผนที่ชีวิตให้มีความสมบูรณ์เหมาะสมยิ่งข้ึนภายหลัง
การบรหิ ารจัดการชีวิตไปแล้ว
กระบวนการดูแลชีวิตนี้ คล้ายคลงึ กับการติดตามและการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านตามหลักการบริหารงาน
สมัยใหม่ แต่มเี ป้าหมายทีเ่ ข้าไปใหก้ าํ ลังใจ สนับสนุน ให้คําปรกึ ษา เปน็ กระบวนงานปรับปรุงและตรวจสอบ
เพ่อื ใหส้ ่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ชุมชนและครวั เรือนใหค้ วามสาํ คัญและรว่ มมอื ในการปฏิบัติ
อย่างต่อเน่ือง

ดังน้ัน การดําเนินงานต้องทุ่มเททรัพยากรและความเสียสละของผู้มี
สว่ นร่วม การดําเนนิ การท้งั 4 กระบวนงาน คอื ชเี้ ปา้ ชีวิต จัดทําเข็ม
ทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต โดยอาศัยความตั้งใจของ
ครัวเรือนยากจน ผู้นําชุมชน ความเอื้ออารีของชุมชนท่ีครัวเรือน
ยากจนอาศัยอยู่ และการบูรณาการภารกิจของส่วนราชการ องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ และภาคตี า่ งๆ

74 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

การจดั ทําแผนและประสานแผนพัฒนาในระดบั พืน้ ท่ี (One Plan)

วตั ถปุ ระสงค์ o ปรบั ปรุงกลไกการจดั ทําและประสานแผนพัฒนา
ในระดบั พ้ืนท่ี ใหเ้ กิดประสิทธิภาพและครอบคลุม
หลกั การ ทกุ พ้ืนที่
ดาํ เนนิ งาน
o ยกระดบั คณุ ภาพแผนในระดบั พ้ืนที่ ใหม้ ีลกั ษณะเป็น
แผนเดยี ว One Plan

o กําหนดแนวทางการสนบั สนนุ ควบคมุ และกาํ กับ
ติดตามการจดั ทาํ และประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่

o กาํ หนดแนวทางการเชอื่ มโยงและประสานแผนพัฒนาในลกั ษณะ One
Plan โดยไมส่ ่งผลกระทบตอ่ อํานาจหนา้ ทใี่ นการจดั ทาํ และประสานแผน
ของสว่ นราชการหรอื องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ที่กาํ หนดไว้ในระเบียบ
กฎหมายหรอื แนวทางปฏบิ ัติ

o กาํ หนดแนวทางการเชอ่ื มโยงในการทาํ งานร่วมกันของการบริหารราชการ
ส่วนภมู ภิ าคกบั อปท. (อาศยั ระเบียบ/กฎหมายของ อปท. ที่มีผลบงั คับใช้
อยแู่ ล้ว โดยไมไ่ ดม้ ผี ลกระทบต่อบทบาทอํานาจหนา้ ทขี่ อง อปท.)

o กําหนดเปา้ หมายเพอ่ื ให้การจดั ทาํ แผนทกุ ระดบั มาจากปัญหาความ
ตอ้ งการของประชาชนอยา่ งแท้จริง

o กําหนดกลไกให้มหี นว่ ยงานรับผิดชอบการจดั ทาํ แผนในทกุ ระดับ และ
กาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นกาเชอื่ มโยงประสานแผนเพอื่ ใหก้ ารดาํ เนนิ งาน
ไมเ่ กดิ ความซ้ําซอ้ น และเกิดความค้มุ คา่ กบั ประชาชนมากทสี่ ดุ

o ยึดประชาชนเป็นศูนยก์ ลาง (People Centric) ในการบริหารราชการ
โดยความรว่ มมอื จากภาคประชาชน เข้ามามสี ่วนรว่ มในการบริหาร
ราชการส่วนภูมภิ าค

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 75

กระบวนการขัน้ ตอนการจดั ทําและประสานแผนในระดับพ้ืนที่

1. การจดั ทําและประสานแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชมุ ชน
ใหค้ ณะกรรมการหมบู่ ้าน (กม.) ตามพระราชบัญญตั ลิ ักษณะปกครองทอ้ งท่ี

พ.ศ.2457 และคณะกรรมการกลางหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
(อพป.) ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบบรหิ ารหมู่บ้านอาสาพัฒนาและปอ้ งกัน
ตนเอง พ.ศ. 2522 มหี น้าท่บี ูรณาการทบทวน/จดั ทําแผนพัฒนาหมู่บ้าน และให้
คณะกรรมการชุมชนในพื้นท่ีที่ไม่มี กม.และ อพป. มีหน้าที่บูรณาการทบทวน/
จัดทําแผนชุมชน โดยมสี าํ นักงานพัฒนาชุมชนอําเภอสนับสนุนขอ้ มลู สารสนเทศ
เพ่ือการพัฒนาและวิทยากรกระบวนการ และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/
อาํ เภอ สนับสนนุ การจดั ทําเวทปี ระชาคมร่วมกนั ในระดับหม่บู า้ น/ชุมชน/ทอ้ งถิ่น
ในพน้ื ท่ี

76 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

กระบวนการขัน้ ตอนการจัดทําและประสานแผนในระดบั พื้นที่

2. การจดั ทําและประสานแผนชมุ ชนระดับตําบล (แผนพฒั นาตําบล)
ให้สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ สนับสนุนการจัดทําแผนชุมชนระดับตําบล

โดยใช้กลไกศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตําบล(ศอช.ต.) ตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดําเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน
พ.ศ. 2551 เป็นกลไกรับผิดชอบการจัดทําแผนชุมชนระดับตําบล โดยประมวล
ความตอ้ งการจากแผนพฒั นาหมู่บ้าน/แผนชุมชน/แผนพัฒนาท้องถ่ิน หรือแผน
อื่น ๆ รวมทั้งนําข้อมูล จปฐ. และ กชช.2ค มาใช้ประกอบในการวิเคราะห์
กล่ันกรอง ประมวลผล และจัดลําดับความสําคัญของแผนงาน/โครงการ เพื่อ
จัดทําเป็นแผนชุมชนระดับตําบล โดยให้สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเป็น
หนว่ ยงานหลกั สนบั สนนุ การจดั ทําแผนชุมชนระดบั ตาํ บล

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 77

กระบวนการขนั้ ตอนการจดั ทาํ และประสานแผนในระดับพ้ืนที่

3. การจัดทําและประสานแผนพัฒนาท้องถ่ิน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทําแผนพัฒนาท้องถ่ินตามระเบียบ

กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถ
เพ่ิมเติมเปล่ียนแปลง แผนพัฒนาท้องถ่ิน โดยนําปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนจากการจัดทําเวทีประชาคมร่วมกันของหมู่บ้าน/ชุมชน/ท้องถ่ิน
รวมท้ังนําข้อมูลจากแผนชุมชนระดับตําบล (แผนพัฒนาตําบล) มาใช้
ประกอบการพิจารณาปรับปรุงเพ่ิมเติมแผนพัฒนาท้องถ่ิน โดยให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้ความสําคัญกับการสร้างและพัฒนาศักยภาพในการ
จัดทาํ และประสานแผนพัฒนาท้องถน่ิ

78 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

กระบวนการขน้ั ตอนการจัดทําและประสานแผนในระดับพื้นที่

4. การจดั ทาํ และประสานแผนพัฒนาอาํ เภอ
ให้อาํ เภอโดยกลไกของคณะกรรมการบรหิ ารงานอาํ เภอ (กบอ.) ตามแนวทาง

ท่ีกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยกําหนด ประสานและรวบรวมข้อมูลจาก
ปัญหาและความตอ้ งการของประชาชน (Bottom-up) จากแผนพัฒนาหมู่บ้าน
แผนชุมชน แผนชุมชนระดบั ตาํ บล (แผนพฒั นาตําบล) แผนพัฒนาท้องถ่ิน และ
แผนพัฒนาของสว่ นราชการหรอื หน่วยงานอื่นที่ดําเนินการในพ้ืนท่ีอําเภอเพ่ือใช้
ประกอบในการจัดทําแผนพัฒนาอําเภอและแผนความต้องการระดับอําเภอโดย
ให้ท่ีทําการปกครองอําเภอเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการจัดทํา
แผนพัฒนาอําเภอ และให้ความสําคัญกับการสร้างและพัฒนาศักยภาพของ
กบอ. ในการจัดทําและประสานแผนพัฒนาอําเภอ

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 79

การกํากบั /ตดิ ตาม

o ในการประสานใหแ้ ผนพฒั นาหมบู่ า้ น แผนชุมชน แผนชุมชนระดับ
ตําบล(แผนพัฒนาตําบล)แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอําเภอ
และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนที่ดําเนินการใน
พ้ืนท่ีอําเภอสัมฤทธิ์ผลให้นายอําเภอมีหน้าที่ติดตามพร้อมให้
คําแนะนํา

o เพ่ือให้การประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่สัมฤทธ์ิผล ให้ผู้ว่า
ราชการจังหวัดมอี ํานาจหน้าทีก่ าํ กับและตดิ ตามพรอ้ มใหค้ าํ แนะนํา

o ให้ผู้วา่ ราชการจังหวัดและนายอําเภอกํากับดูแลให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นและการประสาน
แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ใหส้ อดคล้องกับแผนพฒั นาในระดบั จงั หวัด

80 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

สํานกั พฒั นาทนุ และองคก์ รการเงินชมุ ชน

ภารกจิ

งานพฒั นา กลมุ่ โครงการแกไ้ ขปญั หา สถาบนั สถาบนั
เงนิ ทนุ ชมุ ชน ออมทรัพย์ ความยากจน การจัดการ
(financial) เพอ่ื การผลติ (กข.คจ) เงนิ ทนุ ชุมชน

งานพฒั นาทุนชุมชน ทุนสงั คม เศรษฐกิจ การพัฒนาศกั ยภาพ
ทีไ่ ม่ใชเ่ งนิ ทนุ มนษุ ย์ สรา้ งสรรค์ การบรหิ ารจัดการ
ทนุ กายภาพ เพ่อื เพ่ิมคณุ ค่า ทนุ ชุมชน
(Non financial) ทุนธรรมชาติ และมูลคา่ เพมิ่
ในพื้นท่โี ครงการอันเนอื่ ง
มาจากพระราชดาํ ริ

อาํ นาจหน้าที่

1. ศึกษา วเิ คราะห์ วิจัย เพอ่ื กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแมบ่ ท รูปแบบ 81
และแนวทางในการเสริมสรา้ งและพฒั นาระบบทนุ ชุมชน และการบรหิ ารจัดการ
ทนุ ชุมชน

2. ดําเนนิ การเก่ียวกับการแสวงหาแหลง่ ทนุ และความรว่ มมอื ในการพัฒนารูปแบบ
และวธิ ีการดา้ นการขยายกจิ กรรมของชมุ ชน เพอื่ พัฒนาระบบทนุ ชมุ ชน

3. ประสานงานผูม้ ีสว่ นเก่ียวขอ้ งด้านการพฒั นาชมุ ชน ตามความรบั ผดิ ชอบของ
ส่วนราชการ

4. ปฏิบัติงานรว่ มกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอืน่ ทเ่ี กย่ี วข้องหรือ
ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

กลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต

กรมการพัฒนาชุมชนดาํ เนินการส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดต้งั
กลุ่มออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลติ ต้งั แต่ พ.ศ. 2517 โดยการนํา
ของศาสตราจารย์ ดร. ยุวฒั น์ วฒุ เิ มธี อดีตอธิบดีกรมการ
พัฒนาชุมชน กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอื่ การผลิตเป็นการผสมผสาน
ระหว่างแนวคิดของสหกรณ์การเกษตรเครดิตยูเนยี่ น และ
สินเช่อื เพ่ือการเกษตร

กล่มุ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ จัดตัง้ ครัง้ แรกเมอ่ื วันที่ 6 มีนาคม 2517
ทบ่ี า้ นในเมือง หมู่ 3 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล และบา้ นขวั มงุ
หมู่ 6 ต.ขัวมุง อ.สารภี จ.เชยี งใหม่ ดาํ เนินการภายใต้ปรชั ญา
“ใชห้ ลักการออมทรัพย์เปน็ เคร่ืองมอื ในการพฒั นาคน ”
ทําใหค้ นมีคณุ ธรรม 5 ประการ

เงนิ ทุนของกลุ่มออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ 5) ความ 1) ความ
นํามาดาํ เนินกิจกรรม 4 ดา้ น ไว้วางใจในหมู่ ซ่อื สัตย์
1) แหล่งเงินทุนประกอบอาชีพ
2) ดาํ เนนิ ธรุ กจิ แกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ น สมาชิก

ของชมุ ชน 4) ความเห็น 2) ความ
3) การสงเคราะห์และสวัสดิการ อกเห็นใจ เสียสละ
4) พฒั นาศกั ยภาพกรรมการและสมาชิก
3) ความ
รับผิดชอบ

ข้อหา้ มของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

x หา้ มรับฝากเงนิ จากบคุ คลภายนอกที่ไม่ไดเ้ ปน็ สมาชกิ กลุ่ม
x ห้ามไม่ใหบ้ ุคคลภายนอกท่มี ใิ ช่สมาชิกกลมุ่ กเู้ งิน
x ห้ามคดิ ดอกเบ้ียเงนิ กเู้ กินกวา่ ท่กี ฎหมายกําหนด (รอ้ ยละ 15 ต่อปี)

82 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

เกณฑก์ ารดาํ เนนิ งานกลุม่ ออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิต
(5 ดา้ น 23 ตวั ชีว้ ดั )

SMART Saving Group (SSG)

S (Standard)

การดําเนนิ งานอยา่ งมีมาตรฐาน

ตามหลกั เกณฑแ์ นวทางท่กี รมการพฒั นาชุมชนกาํ หนดครบท้ัง 10 เรอ่ื ง คอื
1. ดาํ เนินงานตามแนวทางของกรมการพฒั นาชมุ ชน โดยยดึ หลกั คณุ ธรรม 5 ประการ (ความ

ซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความรบั ผดิ ชอบ ความเห็นอกเหน็ ใจ ความไวว้ างใจ)
2. มอี าคารสถานท่ีทใ่ี ชป้ ระโยชน์สาธารณะร่วมกนั ชัดเจน มปี า้ ยช่อื กลุ่มกลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลติ

และป้ายแสดงขอ้ มูลทีช่ ดั เจนและเปน็ ปัจจุบนั
3. การฝากถอนเงนิ ตอ้ งผา่ นระบบสถาบนั การเงนิ
4. การประชมุ สามัญประจําปี (กรรมการ/สมาชิก) อยา่ งน้อยปีละครงั้
5. จดั ตั้งคณะกรรมการครบ 4 ฝ่าย และมีการจดั ประชมุ อยา่ งนอ้ ย 3 เดือน/ครัง้
6. จดั ทาํ ระเบยี บขอ้ บังคับเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรและเป็นปัจจุบัน
7. สมาชกิ สง่ สจั จะสะสมสม่าํ เสมอเป็นประจาํ ทกุ เดอื น
8. อัตราดอกเบย้ี เงินกู้ไมเ่ กินท่ีกฎหมายกําหนด (ร้อยละ 15 บาท/ปี)
9. จดั ทําระบบบญั ชเี ปน็ ปัจจุบนั และสามารถตรวจสอบได้
10. กล่มุ ฯมกี ารจัดทํางบกาํ ไร-ขาดทุน ปิดงบดลุ และมีการจัดสรรผลกําไรตามระเบียบฯของกลุ่มฯ

M (Management)
การบรหิ ารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ

การบรกิ ารจดั การท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพในการบรกิ ารสมาชกิ
11. ปฏิบตั ติ ามหลกั เกณฑ์การประเมินสขุ ภาพด้านการบริหารจัดการข้อ 5-14 ครบทกุ ขอ้
12. การแสวงหาและนาํ ทรัพยากรในท้องถิ่นมาใชใ้ นการดาํ เนนิ งานเพ่ือสนับสนุนสมาชกิ ใหจ้ ดั ต้ัง

กลุ่มอาชีพ (อยา่ งนอ้ ย 1 กลมุ่ )
13. มกี ารจัดทําแผนบรหิ ารความเสี่ยงเพ่ือเปน็ หลักประกันความเส่ยี งในการบรหิ ารจดั การ

14. มกี ิจกรรมการจดั สวสั ดิการให้สมาชกิ (อยา่ งนอ้ ย 9 กิจกรรม)

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 83

รปู แบบกลุ่มออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ
SMART Saving Group (SSG)

A (Attitude)
การสร้างกระบวนการเรยี นรู้ใหส้ มาชกิ เกิดการยอมรบั เกิดความศรทั ธา เพอ่ื
พัฒนาและสร้างคณุ สมบัติท่ดี ใี หก้ บั สมาชิก มกี จิ กรรมดงั นี้

15. มีการสง่ เสริมผนู้ าํ รุ่นใหมร่ ว่ มเป็นคณะกรรมการบริหารกลุม่
16. มจี าํ นวนสมาชกิ เพมิ่ ข้นึ อยา่ งต่อเนอื่ ง
17. มีการจัดกิจกรรมเพอ่ื ยกยอ่ งและเชดิ ชเู กียรตใิ ห้กับสมาชกิ ทีม่ ผี ลงานดเี ดน่

R ( Redevelopment)
มีการทบทวนและพฒั นารูปแบบการบริหารจัดการเพ่ือแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ศักยภาพของสมาชกิ เพือ่ ความกา้ วหนา้ ของกล่มุ มกี ิจกรรมดงั นี้

18. มีการพฒั นารูปแบบการจัดทําบญั ชใี ห้เปน็ บญั ชีรูปแบบสากล หรือบัญชีอิเลคทรอนิคส์
19. มีแผนการแกไ้ ขหน้ีนอกระบบให้กบั สมาชกิ
20. มกี ารจดั กจิ กรรมเครือข่ายเชงิ ธรุ กจิ (อย่างน้อย2กิจกรรม)

T (Teaching)
มีการจดั การความร้แู ละสามารถถ่ายทอดองคค์ วามร้ขู ยายแนวคดิ สู่ชุมชนอื่น
มีกิจกรรมดงั น้ี

21. ผแู้ ทนของกลุ่มได้รบั เชญิ เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามร้กู บั กล่มุ องคก์ รอืน่
22. มีการจดั เวทีการเรียนรู้/มีแหลง่ เรยี นรู้เพอ่ื ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ขยายผลสกู่ ล่มุ /องค์กรอืน่ ๆใน
ลกั ษณะพสี่ อนน้อง
23. มีส่ือประชาสมั พันธอ์ งคค์ วามรู้ของกล่มุ เช่น ซีดี แผน่ พบั ฯลฯ

84 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ชน

ความหมาย

: ความหมาย
การรวมตวั ของกลมุ่ /องค์กร/กองทนุ การเงินทม่ี อี ยู่ในหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน
ทั้งที่จดั ตงั้ โดยภาคประชาชนและสนับสนนุ จากภาครัฐ โดยการบูร
ณาการขอ้ มลู ในพนื้ ท่ี และบรู ณาการเชอ่ื มโยงการบริหารจัดการ
เงนิ ทนุ ในชมุ ชนให้สามารถใชเ้ งนิ ทุนอย่างคุ้มคา่ และเกดิ ประโยชน์
สงู สุด

วตั ถปุ ระสงค์

สง่ เสรมิ การบูรณาการกลมุ่ /องค์กร/กองทุนการเงินใหม้ กี ารเช่ือมโยง
การบริหารจัดการเงินทุนชมุ ชนให้เป็นระบบ มีความเปน็ เอกภาพ
สามารถแก้ไขปญั หาหนีส้ นิ และบริหารจัดการชมุ ชนไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ

เปา้ หมาย

แก้ไขปญั หาหนี้สนิ ครวั เรือนโดยใชก้ ระบวนการบริหารจัดการหน้ไี ปสู่
1 ครวั เรอื น 1 สญั ญา ใหส้ ามารถลดหนี้ และปลดหน้ีได้ในท่สี ุด

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 85

รูปแบบการบริหารจัดการหนี้ ศูนยจ์ ัดการกองทนุ ชุมชน

1.คณะกรรมการศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชน
มาจากตวั แทนกลมุ่ /กองทนุ ในหมู่บ้าน/ชุมชนทเี่ ปน็ สมาชกิ ของศนู ย์จัดการกองทุนชมุ ชน ผ้นู าํ

ชมุ ชน และผู้ทรงคณุ วุฒิ (ไม่ควรมาจากคณะกรรมการกลุม่ /กองทุนใดเพยี งกลมุ่ /กองทนุ เดียว)
2. สมาชิกศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชน

 สมาชกิ เป็นรายกลุ่ม (ไม่ใช่รายบคุ คล) เชน่ กลุม่ ออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ กลุ่มอาชีพ กล่มุ
ผผู้ ลิตนาํ้ ด่มื กลมุ่ ผู้ใช้น้าํ กองทนุ หมบู่ ้านและชมุ ชนเมือง (กทบ.) กองทุนแก้ไขปญั หาความยากจน
(กข.คจ.) ฯลฯ

 กลมุ่ /กองทุนในหมบู่ ้าน/ชุมชนทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชนยงั คงดําเนนิ
กจิ กรรมของกลมุ่ ตามเดิม ไมม่ ีการยบุ รวมกบั ศนู ย์จดั การกองทนุ ชมุ ชน
3. กจิ กรรมของศูนยจ์ ัดการกองทนุ ชุมชน

 บริหารจัดการหนไ้ี ปสู่ 1 ครวั เรือน 1 สญั ญา แกไ้ ขปัญหาหน้ีสนิ ครอบครัว
 บรู ณาการการบรหิ ารจัดการกองทุนชมุ ชน เพ่อื ส่งเสริมอาชีพและสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั คนใน
ชุมชน
 สง่ เสริมครอบครวั ใหม้ ีการจัดทาํ บัญชีครวั เรอื น เพ่อื ให้รรู้ ายรับ รายจา่ ย ร้ตู น้ ทุน รู้วธิ ี
ป้องกนั จุดร่ัวไหล สามารถบรหิ ารเงิน บรหิ ารชวี ิตไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ
4. ระเบยี บของศูนยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชน
ควรออกระเบยี บศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชนให้เอ้ือต่อการดําเนนิ งานของสมาชกิ กลมุ่ /กองทนุ ที่
เป็นสมาชกิ ศนู ย์จดั การกองทุนชุมชน โดยไม่ขัดต่อระเบยี บของกลุ่ม/กองทุนน้ันๆ และไมข่ ัดต่อ
กฎหมายด้วย ทงั้ นี้ ต้องผา่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ ตา่ งๆ

86 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

กระบวนการบริหารจัดการหน้ี

1. สํารวจจดั ทําฐานข้อมลู
คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชนสํารวจขอ้ มูลกองทนุ ชุมชนท่ีดาํ เนินการในหมู่บา้ น/

ชุมชนว่ามกี องทนุ ทจ่ี ดั ตั้งโดยประชาชน และกองทุนทเี่ กิดจากการสนบั สนนุ งบประมาณจากภาครัฐ
และเอกชน พรอ้ มท้ังจดั ทาํ ฐานขอ้ มูลลูกหน้ีแต่ละกลมุ่ /กองทุนที่เป็นสมาชกิ ศนู ยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน
2.วิเคราะหข์ อ้ มลู /จดั ประเภทลูกหน้ี

วเิ คราะห์ขอ้ มลู กองทุนชุมชน เกยี่ วกบั สถานภาพของกลมุ่ /กองทุนชมุ ชนทง้ั หมดในหมู่บา้ น/
ชุมชนโดยวิเคราะห์ถงึ ท่ีมาของกองทนุ วตั ถปุ ระสงค์ของกองทุน เงนิ ทนุ ปจั จุบนั สมาชกิ กองทุน
คณะกรรมการกองทุน ระเบียบ/ข้อบงั คบั กจิ กรรมของกลุ่ม การบรหิ ารจัดการกลุ่ม รวมทัง้ วิเคราะห์
จดุ แขง็ จดุ ออ่ น ปญั หา/ข้อจํากดั และอปุ สรรค เพอ่ื จะได้ทราบถึงสถานการณข์ องแตล่ ะกลมุ่ /กองทนุ
3. ประชุมหารอื /เจรจา/หากองทุนรบั ผดิ ชอบ

คณะกรรมการศนู ยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชนเปน็ ตวั กลางในการเจรจาระหว่างลกู หนก้ี บั เจา้ หน้ี
(กล่มุ /กองทนุ ทีล่ ูกหนีท้ ่เี ป็นสมาชกิ ได้กยู้ มื ) เพอ่ื ตกลงใหค้ วามช่วยเหลือในลักษณะใดลักษณะหนง่ึ แล้ว
หากลมุ่ /กองทนุ ใดกองทนุ หน่งึ เป็นผ้รู บั ผิดชอบเพยี งกองทนุ เดียว โดยคํานึงถงึ การเป็นสมาชกิ ของ
ลูกหน้ี และจาํ นวนวงเงินก้ทู เ่ี ป็นไปตามระเบียบ/ขอ้ บังคับของกลุม่ /กองทนุ นั้นๆ
4. บรหิ ารจดั การหนี้

ประชุมคณะกรรมการศนู ย์จดั การกองทุนชุมชนเพอ่ื ดาํ เนินการปรบั โครงสร้างหนี้/โอนภาระ
หน้ี/ปรับเปล่ยี นสัญญา
5. สนับสนนุ ครวั เรือนเปา้ หมาย

การบรู ณาการกองทุนชมุ ชนเพ่ือส่งเสริมอาชพี และสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับคนในชุมชน ถอื เป็น
บทบาทสาํ คัญของคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชนในการส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครัวเรอื นเข้าสู่
กระบวนการบรหิ ารจดั การหนีไ้ ปสู่ 1 ครวั เรอื น 1 สญั ญา ใหส้ ามารถใช้เงนิ ทนุ อย่างคุ้มค่า

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71 87

โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)

แนวคิด

สนบั สนุนเงินทุนระดบั หมู่บา้ นสาํ หรับ

ครัวเรือนเปา้ หมาย ยืมไปประกอบอาชีพและ

มอบอาํ นาจใหค้ ณะกรรมการ กข.คจ. ระดบั วตั ถปุ ระสงค์

หม่บู า้ นรบั ผดิ ชอบบรหิ ารจัดการเงนิ ทุนชุมชน เพอื่ ให้หัวหนา้ ครวั เรือนเป้าหมายยืมไปลงทุน

ประกอบอาชพี หรือขยายกจิ การอาชพี ของตน

เชน่ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ค้าขาย งานชา่ ง

ครวั เรือนเป้าหมาย หมายถงึ เกษตรกรรม หรืออาชพี อืน่

ครวั เรือนในหม่บู า้ นเป้าหมายตามโครงการ

กข.คจ. ทม่ี ีรายได้เฉล่ยี ต่อคนต่อปตี าํ่ กว่า

เกณฑค์ วามจําเป็นพน้ื ฐาน ระเบยี บ

(จปฐ.) ดาํ เนนิ การตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย

วา่ ดว้ ยการบริหารและการใชจ้ า่ ยเงนิ โครงการ

แกไ้ ขปญั หาความยากจน พ.ศ.๒๕๕๓

บรหิ ารจดั การ โดยคณะกรรมการ หลกั เกณฑ์โครงการแกไ้ ขปัญหา

กข.คจ. หมู่บ้าน ( ที่ได้รบั การคดั เลือกจาก
ประชาชนในหมบู่ า้ น )

ความยากจน (กข.คจ.)

 ครัวเรือนเปา้ หมาย ตอ้ งส่งรายละเอยี ดโครงการทจ่ี ะดาํ เนินการใหค้ ณะกรรมการ กข.คจ.
หมู่บา้ น พิจารณาอนุมัตโิ ครงการตามทเ่ี สนอขอ

 เงนิ ยืมโครงการ กข.คจ. เปน็ เงนิ ยมื เพอื่ การประกอบอาชพี ทกี่ ่อใหเ้ กดิ รายได้เท่าน้ัน

 หา้ มนําเงินยมื ไปใชจ้ า่ ยทไี่ ม่กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ ดงั น้ี
1) ห้ามนาํ ไปใชจ้ ่ายในการอปุ โภค บรโิ ภคภายในครัวเรือน
2) หา้ มนาํ ไปชดใชห้ นส้ี ิน
3) หา้ มนําไปก่อสร้าง หรือ ตอ่ เติมบ้านพกั ท่ีอยูอ่ าศยั

88 คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

ทนุ ที่ไม่ใช่เงิน ( Non Financial)

ทุนกายภาพ ทุนมนษุ ย์

 โครงสรา้ งพืน้ ฐาน  ปราชญ์ชาวบ้าน
 ปจั จัยการผลติ  ผูน้ าํ ชุมชน
 สิง่ แวดล้อมทมี่ นษุ ย์สรา้ งข้นึ  ครู พระสงฆ์
ตัวอย่างการพัฒนาทุนทางกายภาพ เพื่อ การแสดงคุณสมบัติของคน เชน่
สร้างมูลค่าเพ่มิ การศึกษา สุขภาพอนามัย คุณธรรม
 ตลาดร้อยปี อ.สามชกุ จ.สพุ รรณบรุ ี
 วัดรอ่ งขุน่ จ.เชยี งราย

การพฒั นาทุนตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ทรัพย์สินท่จี บั ตอ้ งได้
- ทนุ มนุษย์
- ทุนสงั คม
- ทุนกายภาพ
- ทนุ ธรรมชาติ

ทรัพยส์ ินที่จบั ต้องไม่ได้ (ภูมปิ ญั ญา นวตั กรรม ความเช่ือ ที่เกดิ จากมนุษย์)

ทนุ ทางธรรมชาติ ทุนทางสงั คม

ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีในชุมชน  กลมุ่ องค์กร เครอื ข่าย
ท่ดี นิ / ปา่ ไม้ / แหลง่ น้ํา / แร่ธาตุ ฯลฯ  ศิลปวฒั นธรรม
ตัวอย่างการพัฒนาทุนทางธรรมชาติ เพือ่ สร้าง  ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี
มลู ค่าเพม่ิ ตัวอยา่ งทุนทางสงั คม
 ล่องแก่งน้าํ เขก็ จ. พษิ ณุโลก  กลมุ่ อนรุ ักษป์ ่าชุมชนเขาหลวง
 แมงกะพรนุ น้ําจดื ลมุ่ น้ําเข็ก จ. นครศรีธรรมราช / เครือขา่ ยอินแปง
จ.เพชรบูรณ์ จ.สกลนคร

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 89

กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี

จัดตัง้ ข้นึ เม่ือปี พ.ศ. 2555 ตามนโยบายของรัฐบาล

 เพ่อื แกป้ ญั หาความไมเ่ สมอภาคระหวา่ งหญิง/ชาย
 ผู้หญิงถกู เลอื กปฏิบตั ิ
 ขาดโอกาสในสังคม
 ถูกกระทําความรนุ แรงในครอบครัว
 การแสดงออกซึง่ ศักยภาพของสตรมี ีน้อย

วัตถุประสงค์ เป็นแหล่งทนุ

1. เพ่อื พัฒนาอาชพี /สรา้ งงาน/สร้างรายได้
2. เพื่อพัฒนาศกั ยภาพสตรี ดูแลปญั หาและเยยี วยาสตรที กุ มติ ิ
3. เพ่อื สร้างความเขม้ แข็งทางเศรษฐกิจ/สงั คม ของสตรี
4. เพ่อื สนับสนุนกิจกรรมเพ่ือพัฒนาสตรี

ประเภทเงนิ กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรที ใ่ี หส้ มาชิกขอรบั การสนบั สนนุ
1) ประเภทเงินทนุ หมุนเวยี น (เงนิ กู้)

เงนิ ทนุ หมุนเวยี น หมายความวา่ เงินทุนให้กแู้ กส่ มาชิกตามโครงการที่
ไดร้ ับการสนบั สนนุ จากกองทุนเพือ่ การประกอบอาชีพ การสรา้ งงาน การ
สรา้ งรายได้ หรอื การเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจ
2) ประเภทเงนิ อุดหนนุ (ทุนใหเ้ ปล่า)
เงนิ อดุ หนุน หมายความว่า เงนิ ทนุ ตามโครงการท่ีได้รับการสนับสนนุ จาก
กองทุนเพ่อื การส่งเสริมบทบาทและพฒั นาศกั ยภาพสตรีและเครือขา่ ย
การสง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั กิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี และการ
สนับสนนุ โครงการทีแ่ กไ้ ขปญั หาและพัฒนาสตรี

90 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71

กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี

คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 91

กองทนุ หมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื ง (กทบ.)

กระทรวงมหาดไทย : ในฐานะท่ีเป็นคณะกรรมการกองทุน

หมู่บ้านและชมุ ชนเมืองแห่งชาติ (ตาม พรบ. 2547 หมวด 2 กองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมือง มาตรา 16 และมาตรา 19) โดยมี
ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นกรรมการ มีบทบาทหน้าท่ีส่งเสริม
สนับสนุนในการกาํ หนดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน การจัดสรร
เงินให้แก่กองทุน ออกระเบียบ กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เงอ่ื นไขตา่ งๆ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรอื คณะทํางาน และรายงาน
ผลการดําเนินการ ในฐานะคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชน
เมืองแหง่ ชาติ

กรมการพัฒนาชุมชน : ในฐานะท่ีเป็นคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและ

ชุมชนเมืองแห่งชาติ (ตาม พรบ. 2547 หมวด 2 กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
มาตรา 16 และมาตรา 19) โดยมีอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นกรรมการ
มีบทบาทหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนุนในการกําหนดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน
การจัดสรรเงินให้แก่กองทุน ออกระเบียบ กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไข
ตา่ งๆ แต่งตงั้ คณะอนุกรรมการหรอื คณะทํางาน และรายงานผลการดําเนินการ ใน
ฐานะคณะกรรมการกองทนุ หมู่บ้านและชมุ ชนเมืองแห่งชาติ

92 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71

กองทุนหมูบ่ า้ นและชมุ ชนเมอื ง (กทบ.)

สํานักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั สาํ นักงานพฒั นาชุมชนอาํ เภอ

ในฐานะท่ีเปน็ คณะอนกุ รรมการสนบั สนุนระดับจงั หวัด ในฐานะทเ่ี ป็นคณะอนุกรรมการสนับสนนุ ระดบั
(ตาม ระเบียบฯ 2551 หมวด 3 คณะอนุกรรมการ อาํ เภอ (ตาม ระเบยี บฯ 2551 หมวด 3
สนบั สนนุ และติดตามการดําเนนิ งานกองทุนหมู่บา้ น คณะอนุกรรมการสนับสนนุ และติดตามการ
ข้อ 14) ดาํ เนินงาน ขอ้ 16)
1. รับขึ้นทะเบยี นกองทุนหมูบ่ ้านตามระเบียบและวธิ ี 1. สนบั สนุนการเตรยี มความพร้อมของกองทนุ
ปฏิบัตทิ ่ีคณะกรรมการกาํ หนด หมู่บา้ นในอําเภอดว้ ยกระบวนการเรียนรู้ การมี
2. สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การเตรยี มความพรอ้ มของหมู่บา้ น สว่ นร่วม และการพ่ึงพาตนเอง
และชุมชนเมืองและให้ความเห็นผลการประเมินความ 2. จัดทําแผนปฏบิ ัตกิ ารรองรับแผนยุทธศาสตร์
พร้อมของกองทุนหมู่บา้ น ซึ่งผา่ นการประเมินของ แผนงานงบประมาณกองทนุ หมบู่ า้ นของจงั หวดั
คณะอนกุ รรมการสนบั สนนุ ระดับอําเภอร่วมกับชุมชน 3. จดั ทําแผนงานและโครงการเพื่อบูรณาการ
ตามระเบียบ หรือวิธปี ฏบิ ัตทิ ีค่ ณะกรรมการกําหนด การพฒั นากองทุนหมบู่ ้าน
3. จดั ทํายุทธศาสตร์ แผนงาน และงบประมาณการ 4. เป็นหน่วยงานจดั การความร้เู พื่อบูรณาการ
พฒั นา และบรู ณาการการขับเคล่ือนงานกองทุนหมู่บ้าน พฒั นากองทนุ หมูบ่ ้าน
4. เป็นหน่วยสนบั สนนุ การจดั การความรูใ้ หก้ บั กองทุน 5. ติดตาม ตรวจสอบ ให้คาํ แนะนาํ การแกไ้ ข
หมบู่ ้าน ตลอดจนเครือขา่ ยกองทุนหมู่บา้ นทกุ ระดับ ปญั หา ข้อร้องเรียน ข้อขัดแย้งกองทุนหมู่บ้าน
5. ติดตาม ตรวจสอบการดําเนนิ งานของกองทุนหมู่บ้าน
ในจงั หวัด ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบหรือวธิ ปี ฏิบตั ิท่ี
คณะกรรมการกาํ หนด เพือ่ ใหเ้ กิดความโปร่งใส และ
บรรลตุ ามเปา้ หมาย และวตั ถปุ ระสงค์

คมู่ อื อาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทÉี 71 93

Mobile Clinic สรา้ งสขุ กองทุนชมุ ชน

94 คมู่ ืออาสาพฒั นา (อสพ.) รุ่นทีÉ 71


Click to View FlipBook Version