หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ า ศิลปศึกษา
(ทช11003)
ระดบั ประถมศึกษา
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
ห้ามจาหน่าย
หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 15/2555
หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวชิ าศิลปศึกษา (ทช11003)
ระดบั ประถมศึกษา
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 15/2555
คํานาํ
กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เม่อื วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวธิ กี ารจดั การศกึ ษา
นอกโรงเรียนตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 ซง่ึ เปนหลกั สูตรทพ่ี ฒั นาขนึ้ ตาม
หลักปรชั ญาและความเชอื่ พ้นื ฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมี
การเรียนรูและส่งั สมความรูและประสบการณอยางตอ เน่อื ง
ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน
นโยบายทางการศกึ ษาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแขง ขนั ใหป ระชาชนไดมีอาชีพ
ทส่ี ามารถสรางรายไดท ่มี ัง่ ค่ังและมนั่ คง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม
และมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ
จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของ
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความ
สอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซง่ึ สงผลใหต องปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการ
เพิม่ และสอดแทรกเน้อื หาสาระเกีย่ วกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพ่ือเขาสู
ประชาคมอาเซียน ในรายวชิ าท่ีมคี วามเก่ียวของสมั พนั ธก ัน แตย ังคงหลักการและวธิ ีการเดิมในการ
พัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือ
ทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรูกับกลุม หรือศึกษาเพ่ิมเติมจากภูมิ
ปญ ญาทองถ่นิ แหลงการเรยี นรแู ละส่ืออน่ื
การปรบั ปรุงหนังสือเรียนในครัง้ นี้ ไดร บั ความรว มมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวชิ า และผูเกย่ี วของในการจดั การเรียนการสอนทศ่ี ึกษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคค วามรูจาก
สื่อตาง ๆ มาเรยี บเรยี งเน้ือหาใหค รบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด
และกรอบเนื้อหาสาระของรายวิชา สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ
โอกาสนี้ และหวงั วาหนงั สอื เรียน ชดุ นจ้ี ะเปน ประโยชนแกผ เู รยี น ครู ผูส อน และผูเ กีย่ วขอ งใน
ทกุ ระดับ หากมีขอ เสนอแนะประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอ มรบั ดว ยความขอบคณุ ย่งิ
สารบญั หนา
คาํ นํา 1
คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื เรยี น 2
โครงสรางรายวิชาศลิ ปศึกษา ระดบั ประถมศึกษา 8
12
บทท่ี 1 ทัศนศิลปพ ืน้ บาน 19
เรื่องที่ 1 ทศั นศลิ ปพนื้ บา น 30
เรอ่ื งท่ี 2 องคป ระกอบทางทศั นศิลป 37
เรอ่ื งท่ี 3 รปู แบบและววิ ัฒนาการของทศั นศิลปพ น้ื บาน 42
เรื่องท่ี 4 รปู แบบและความงามของทัศนศิลปพ ื้นบา น 50
เรือ่ งที่ 5 ทัศนศิลปพน้ื บานกับการแตง กาย 51
เรื่องที่ 6 การตกแตง ที่อยูอาศยั 53
เรือ่ งที่ 7 คุณคาของทัศนศิลปพ ืน้ บาน 74
78
บทท่ี 2 ดนตรีพ้ืนบา น 82
เรอ่ื งที่ 1 ลกั ษณะของดนตรพี น้ื บา น 88
เรอ่ื งที่ 2 ดนตรพี ืน้ บานของไทย 98
เรอื่ งที่ 3 ภูมิปญ ญาทางดนตรี 99
เร่อื งที่ 4 คณุ คาของเพลงพน้ื บาน 99
เร่อื งที่ 5 พฒั นาการของเพลงพื้นบา น 101
เรื่องท่ี 6 คุณคา และการอนุรกั ษเ พลงพืน้ บาน 104
106
บทท่ี 3 นาฏศิลปพ้ืนบา น
เรือ่ งที่ 1 นาฏศลิ ปพ ืน้ บา นและภูมปิ ญญาทอ งถ่นิ
นาฏศลิ ปพ นื้ บานภาคเหนอื
นาฏศลิ ปพ ื้นบานภาคกลาง
นาฏศิลปพน้ื บานภาคอสี าน
นาฏศิลปพนื้ บานภาคใต
บทท่ี 4 การผลติ เครอ่ื งดนตรี 111
ปจจยั หลกั ของการประกอบอาชพี 111
ขอแนะนาํ ในการเลอื กอาชพี 111
อาชพี การผลติ ขลุย 112
อาชพี การผลติ แคน 116
อาชพี การผลติ กลองแขก 119
125
บรรณานกุ รม
คณะผจู ดั ทาํ 126
คาํ แนะนาํ การใชห นังสือเรียน
หนังสอื เรียนสาระการดําเนินชวี ิต รายวิชา ศลิ ปศกึ ษา ทช11003 เปนหนงั สือเรียนท่ีจัดทําขึ้น
สําหรบั ผเู รียนทเ่ี ปนนักศกึ ษานอกระบบ
ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระการดาํ เนินชีวิต รายวิชา ศลิ ปศกึ ษา ผูเ รยี นควรปฏิบตั ิดังนี้
1. ศึกษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขาใจในหวั ขอ และสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั และ
ขอบขา ยเนอ้ื หาของรายวิชาน้ัน ๆ โดยละเอียด
2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามกําหนด
แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมตามท่กี ําหนด ถา ผเู รียนตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความ
เขาใจในเนื้อหานน้ั ใหเขา ใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป
3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทายเร่อื งของแตล ะเร่อื ง เพอื่ เปนการสรปุ ความรู ความเขาใจของเน้ือหา
ในเร่ืองนั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเน้ือหา แตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไป
ตรวจสอบกับครูและเพือ่ น ๆ ทร่ี วมเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดยี วกันได
หนังสอื เรียนเลมนี้มี 4 บทคอื
บทท่ี 1 ทศั นศลิ ปพ ้นื บา น
บทท่ี 2 ดนตรีพืน้ บาน
บทท่ี 3 นาฏศิลปพ ืน้ บาน
บทที่ 4 การผลิตเครอ่ื งดนตรี
โครงสรางรายวชิ าศิลปศึกษา
ระดับประถมศึกษา
สาระสําคญั
มีความรูความเขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณคาความงาม
ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ทางทัศนศิลป ดนตรี นาฏศิลปพ้ืนบาน และวิเคราะหได
อยางเหมาะสม
ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั
1. อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงามความไพเราะของทัศนศิลป ดนตรี
และนาฏศิลป
2. อธบิ ายความรพู นื้ ฐานของ ทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฏศลิ ปพ นื้ บาน
3. สรา งสรรคผลงานโดยใชค วามรพู ้นื ฐาน ดา นทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฏศลิ ป
พน้ื บา น
4. ช่นื ชม เห็นคณุ คา ของ ทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศลิ ปพ ้นื บาน
5. วเิ คราะห วพิ ากษ วิจารณ งานดา นทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศลิ ปพืน้ บาน
6. อนรุ กั ษสบื ทอดภมู ิปญ ญาดา นทศั นศิลป ดนตรี และนาฏศิลปพ ืน้ บา น
ขอบขายเนื้อหา
บทท่ี 1 ทัศนศิลปพนื้ บาน
บทท่ี 2 ดนตรีพนื้ บา น
บทที่ 3 นาฏศลิ ปพ ้นื บาน
บทท่ี 4 การผลติ เครื่องดนตรี
สื่อการเรียนรู
1. หนังสอื เรยี น
2. ใบงาน
3. กิจกรรม
1
บทท่ี 1
ทศั นศลิ ปพ ้นื บาน
สาระสําคัญ
รูเขาใจ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ชน่ื ชม เหน็ คณุ คาความงาม ทางทัศนศลิ ป ของศิลปะพื้นบา น
และสามารถ วิเคราะหว พิ ากษ วิจารณไ ดอ ยางเหมาะสม
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั
มคี วามรู ความเขา ใจ ในพนื้ ฐานของทศั นศิลปพ ืน้ บา น สามารถอธบิ าย สรา งสรรค อนุรักษ
วิเคราะห วพิ ากษ วิจารณเก่ียวกับความงาม ดานทัศนศลิ ปพ น้ื บา น ไดอ ยา งเหมาะสม
ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 ทศั นศิลปพ น้ื บาน
เรื่องที่ 2 องคประกอบทางทัศนศลิ ป
เรื่องท่ี 3 รปู แบบและวิวฒั นาการของทศั นศิลปพ ้นื บา น
เรอ่ื งที่ 4 รูปแบบและความงามของทศั นศลิ ปพ้นื บาน
เร่อื งท่ี 5 ทศั นศิลปพนื้ บา นกบั การแตงกาย
เรอื่ งที่ 6 การตกแตง ทีอ่ ยูอ าศยั
เรอ่ื งท่ี 7 คณุ คาของทศั นศลิ ปพ ื้นบาน
2
เร่อื งที่ 1 ทศั นศลิ ปพ น้ื บาน
ทัศนศลิ ปพ้นื บา น
เราอาจแบงความหมายของทัศนศิลปพนื้ บา นออกเปน 2 คาํ คอื คาํ วาทศั นศิลปและคาํ วาพื้นบาน
ทัศนศลิ ป หมายถงึ ศลิ ปะท่รี ับรูไดดวยการมอง ไดแ กรปู ภาพทวิ ทัศนท ัว่ ไปเปนสาํ คัญอันดบั
ตนๆ รูปภาพคนเหมือน ภาพลอเลียน ภาพสิ่งของตาง ๆ ก็ลวนแลวแตเปนเร่ืองของทัศนศิลปดวยกัน
ทงั้ สิ้น ซ่ึงถากลา ววา ทศั นศลิ ปเ ปนความงามทางศิลปะ เชน งานประติมากรรม งานสถาปตยกรรม งาน
สิง่ พมิ พ ฯลฯ ที่ไดจากการมอง หรอื ทัศนา นั่นเอง
งานทศั นศลิ ป แยกประเภทไดดังนี้
1. จติ รกรรม หมายถึง การสรางสรรคผ ลงานทศั นศลิ ปบนพนื้ ระนาบดว ยวิธกี ารลาก การ
ระบายสีลงบนพืน้ ผวิ วัสดทุ ่มี คี วามราบเรยี บ เชน กระดาษ ผาใบ แผน ไม เปน ตน เพ่ือใหเกิดเร่อื งราวและ
ความงามตามความรสู กึ นกึ คดิ และจนิ ตนาการของผูวาด จาํ แนกออกได 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี
ภาพจติ รกรรมฝาผนังพระอุโบสถวดั ภูมนิ ทร จังหวัดนาน
3
1.1 ภาพวาด เปนศัพทท างทัศนศิลปที่ใชเรียกภาพวาดเขียน ภาพวาดเสน แบบเปน 2
มิติ คือ มีความกวา งและความยาว โดยใชว ัสดตุ าง ๆ เชน ดนิ สอดํา สีไม สีเทียน เปน ตน
1.2 ภาพเขียน เปน การสรา งงาน 2 มติ ิ บนพ้นื ระนาบดวยสีหลายสี เชน การเขียนภาพ
ดวยสนี ํา้ สีดนิ สอ สนี ํ้ามนั เปนตน
2. ประติมากรรม หมายถึง การสรางงานทัศนศิลปที่เกิดจากการปน การแกะสลัก การหลอ
การเชอ่ื ม เปนตน โดยมลี ักษณะ 3 มติ ิ คอื มีความกวาง ความยาว และความหนา เชน รปู คน รูปสัตว รูป
ส่ิงของ เปน ตน ประติมากรรมจําแนกไดเปน 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี
ประตมิ ากรรมแบบนนู ตํ่า
2.1 แบบนูนตํ่า เปนการปนหรือสลักโดยใหเกิดภาพท่ีนูนข้ึนจากพ้ืนเพียงเล็กนอย
เทา นัน้ เชน รปู บนเหรยี ญตาง ๆ (เหรยี ญบาท เหรียญพระ) เปน ตน
ประติมากรรมแบบนูนสงู
2.2 แบบนนู สงู เปน การปน หรือสลกั ใหร ปู ท่ีตองการนนู ขึ้นจากพ้ืนหลังมากกวาครึ่งเปน
รปู ท่ีสามารถแสดงความต้ืนลกึ ตามความเปนจรงิ เชน ประตมิ ากรรมท่ฐี านอนสุ าวรีย เปน ตน
4
ประติมากรรมแบบลอยตวั
2.3 แบบลอยตัว เปน การปนหรือแกะสลักท่ีสามารถมองเห็นและสัมผัส ชื่นชมความ
งามของผลงานไดทกุ ดานหรือรอบดาน เชนพระพทุ ธรูป เปนตน
3. สถาปต ยกรรม หมายถึง ศิลปะและวิทยาการแหงการกอสรางที่นํามาทําเพื่อสนองความ
ตอ งการในดา นวตั ถุและจติ ใจ มีลักษณะเปนส่ิงกอ สรางท่สี รางอยา งงดงาม จาํ แนกออกได 2 ลกั ษณะ
ดงั น้ี
สถาปตยกรรมไทยแบบเปด
3.1 แบบเปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยสามารถเขาไปใชสอยได เชน อาคาร
เรยี น ทพี่ ักอาศัย เปนตน
5
พระธาตไุ ชยา จงั หวดั สุราษฎรธ านี เปนสถาปตยกรรมแบบปด
3.2 แบบปด หมายถึง สถาปตยกรรมท่ีมนุษยไมสามารถเขาไปใชสอยได เชน
สถูป เจดยี อนุสาวรียต าง ๆ
ผลงานภาพพิมพแ กะไม
4 . ภาพพิมพ หมายถงึ ผลงานศิลปะทถ่ี กู สรา งข้ึนมาดวยวิธีการพิมพ ดวยการกดแมพิมพให
ตดิ เปนภาพบนกระดาษ จากแมพมิ พไมห รอื แมพมิ พโ ลหะ เปน ตน
คําวา พ้ืนบา น บางคร้ังเรียกวาพื้น ซึ่งหมายถึงกลุมชนใดกลุมชนหนึ่งอันมีเอกลักษณของตน
เชน การดาํ รงชพี ภาษาพดู ศาสนา ทเ่ี ปน ประเพณีรว มกัน
ดังน้ัน ทัศนศิลปพื้นบาน หมายถึง ผลงานทางศิลปะที่มีความงาม ความเรียบงายจากฝมือ
ชาวบานทวั่ ๆไปสรา งสรรคผ ลงานอันมคี ุณคาทางดานความงาม และประโยชนใชสอยตามสภาพของ
ทอ งถิ่น
6
ศาสตราจารยศ ิลป พีระศรี ไดก ลา ววา ทศั นศิลปพ น้ื บานหมายถงึ ศลิ ปะชาวบาน คือการรองรํา
ทาํ เพลง กจิ กรรมการวาดเขยี นและอ่นื ๆ ซง่ึ กําเนิดมาจากชีวิตจิตใจของประชาชน ศิลปะชาวบานสวน
ใหญจะเกิดควบคูกับการดําเนินชีวิตของชาวบาน ภายใตอิทธิพลของความเปนอยู ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ความเช่ือและความจําเปนของสภาพทองถ่ิน เพื่อใชสอยในชีวิตประจําวัน
โดยทว่ั ไปแลว ศลิ ปะพน้ื บา นจะเรียกรวมกบั ศิลปหัตถกรรม เปนศลิ ปหัตถกรรม ที่เกิดจากฝมือของคน
ในทองถิ่น การประดิษฐสรางสรรคเปนไปตามเทคนิคและรูปแบบท่ีถายทอดกันใน ครอบครัว
โดยตรงจากพอ แม ปู ยา ตา ยาย โดยมีจุดประสงคหลักคือ ทําขึ้นเพ่ือใชสอยในชีวิตประจําวัน
เชนเดียวกับคติพ้ืนบานแลวปรับปรุงใหเขากับสภาพของทองถิ่น จนกลายเปนเอกลักษณเฉพาะของ
ตนเอง
สว นประกอบของทัศนศิลปพืน้ บาน
ทศั นศิลปพ ื้นบาน จะประกอบดว ยสง่ิ ตอไปน้ี
1. เปน ผลงานของชางนิรนาม ทําข้ึนเพอื่ ใชสอยในชวี ิตประจาํ วนั ของประชาชน ความงามที่ปรากฏ
มไิ ดเกดิ จากความประสงคส ว นตวั ของชา งเพ่อื แสดงออกทางศิลปะ แตม าจากความพยายาม หรอื ความ
ชํานาญของชางทฝี่ กฝน และผลิตตอ มาหลายชว่ั อายุคน
2. เปน ผลงานทมี่ ีรปู แบบท่ีเรียบงาย มคี วามงามอนั เกิดจากวสั ดุจากธรรมชาติ และผา นการใชส อยจาก
อดตี จนถงึ ปจจุบนั
3. ผลติ ขึ้นเปน จาํ นวนมาก ซื้อขายกนั ในราคาปกติ ความงดงามเกดิ จากการฝก ฝน และการทาํ ซํา้ ๆ
กัน
4. มคี วามเปนธรรมชาตปิ รากฏอยูมากกวา ความสละสลวย
5. แสดงลกั ษณะพิเศษเฉพาะถนิ่ หรอื เอกลกั ษณของถนิ่ กาํ เนิด
6. เปนผลงานทท่ี าํ ขน้ึ ดว ยฝมอื เปนสวนมาก
7
เกรด็ ความรู
ผูสรางงานศิลปะ เราเรียกวาศิลปน เชนศิลปนดานจิตรกรรม ศิลปนดานภาพพิมพ ศิลปนดาน
ประติมากรรม แตการปนหลอพระพุทธรูปเรียกวางานปฏิมากรรม(สังเกตวาเขียนตางกันจากคําวา
ประติมากรรม และผูสรางสรรคงานประติมากรรมเราเรียกปฏิมากรสวนผูสรางสรรค งานดาน
สถาปตยกรรมเราเรียกสถาปนกิ
กิจกรรม ใหผเู รียนสํารวจบรเิ วณชมุ ชนของผเู รียนหรือสถานทพ่ี บกลุม วามที ัศนศลิ ป
พน้ื บานอะไรบาง หากมจี ดั อยใู นประเภทอะไร จากนัน้ บนั ทึกไวแ ลว นํามาแลกเปลย่ี นความรกู นั ในช้ัน
เรียน
8
เรือ่ งท่ี 2 องคป ระกอบทางทศั นศิลป
“องคประกอบทางทศั นศิลป” ประกอบดวยองคป ระกอบสาํ คญั 7 ประการคือ
1. จดุ หมายถงึ สว นประกอบทีเ่ ล็กท่ีสุด เปน สว นเรม่ิ ตน ไปสสู ว นอนื่ ๆ
.....
2. เสน หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดท่ีเคลือ่ นทต่ี อเนอ่ื งไปในทว่ี างเปลา จากทิศทางการเคลื่อนที่
ตาง ๆ กนั
3. สี หมายถึง ลักษณะของแสงสวา งท่ปี รากฏแกส ายตาใหเ ห็น สตี า งกนั สเี ปนสิ่งที่มีอิทธพิ ลตอ
ความรสู กึ เม่ือมองเหน็ และทําใหเ กิดอารมณ สะเทอื นใจตา ง ๆ สชี า งเขียนประกอบไปดว ยแมสี 3 สคี อื
เหลือง แดง นํา้ เงิน ซงึ่ เมื่อนาํ แมส มี าผสมกนั จะไดสีตา งๆ
4. พืน้ ผวิ หมายถงึ คุณลกั ษณะตา ง ๆ ของผวิ ดา นหนา ของวตั ถุทุกชนดิ ทม่ี ลี กั ษณะตาง ๆ กนั เชน
เรยี บ ขรุขระ เปนมนั วาว หรอื ดาน เปน ตน
9
5. รูปรา ง หมายถงึ การบรรจบกนั ของเสนที่เปนขอบเขตของวตั ถทุ ม่ี องเหน็ เปน 2 มิติ คอื มคี วาม
กวางและความยาว 2 ดา นเทานัน้
6. รูปทรง หมายถงึ รูปลักษณะท่ีมองเหน็ เปน 3 มติ ิ คือ มคี วามกวา ง ความยาว และความหนาลึก
10
เกร็ดความรู
การนําองคประกอบทางทัศนศิลป มาจัดภาพใหป รากฏเดน และจดั เรื่องราวสว นประกอบ
ตาง ๆ ในภาพเขาดว ยกนั อยางเหมาะสมเรียกการจดั ภาพ
การจดั ภาพเบอ้ื งตนมหี ลักการดงั นี้
1. มจี ุดเดนเพียงหนงึ่
2. เปน เอกภาพ คอื ดแู ลว เปนเรอ่ื งราวเดยี วกัน
3. มีความกลมกลนื โดยรวมของภาพ
4. อาจมคี วามขดั แยง เลก็ นอยเพื่อเนน จดุ เดน
5. มีความสมดุลของนาํ้ หนกั ในภาพ
11
กิจกรรม ใหผ ูเรยี นอธบิ ายความหมายขององคประกอบทางทัศนศลิ ปตอ ไปนี้
จุด หมายถงึ ......................................................................................................................................
เสน หมายถงึ ....................................................................................................................................
สี หมายถงึ ........................................................................................................................................
พ้ืนผวิ หมายถึง...............................................................................................................................
รปู ราง หมายถึง...............................................................................................................................
รปู ทรง หมายถึง..............................................................................................................................
ดูเฉลยจากบทเรยี นท่ี 1 เรอ่ื งท่ี 2 องคป ระกอบทางทัศนศลิ ป
12
เรือ่ งท่ี 3 รปู แบบและวิวฒั นาการของทัศนศิลปพ ้ืนบาน
ศิลปะพน้ื บา น มพี ืน้ ฐานทเ่ี กดิ จากการผลิตทท่ี าํ ขึน้ ดวยมอื เพ่อื ประโยชนใชส อย จึงนับไดว า
กําเนดิ พรอ มกับววิ ฒั นาการของมนุษย ไดค ิดคน วิธกี ารสรา งเคร่อื งมอื เครื่องใช เพอ่ื ชวยใหเกดิ ความ
สะดวกสบายตอการดาํ เนนิ ชวี ติ มาโดยตลอด เชน เครื่องมอื หิน เครื่องปนดนิ เผาสมัยโบราณทขี่ ุดพบจงึ
นับไดวาการกาํ เนิดศลิ ปหตั ถกรรมมีอยูทวั่ ไป และพฒั นาตงั้ แตโบราณแลว ในสมัยกอนนน้ั สังคมของ
ชาวไทยเรา เปน สังคมแบบชาวนา หรือเรยี กกันวา สงั คมเกษตร อนั เปน สงั คมท่พี ่งึ ตนเอง มีพรอมทกุ ดาน
ในเร่ืองปจจยั ส่ีอยใู นกลุม ชุมมนนัน้ ๆ การสราง การผลติ เครอื่ งใชแ ละอปุ กรณตางๆ เพ่อื อํานวยความสขุ
ความสะดวกสบายในการดาํ รงชวี ติ ของตนเอง
ประเภทของศิลปะพืน้ บา น
งานศิลปะพื้นบานของไทยมีปรากฏตามทองถิ่นตาง ๆ อยูมากมายหลายประเภท
สามารถแบง เปนประเภทตาง ๆ ไดด ังนี้
1. ดานจิตรกรรม จติ รกรรมพื้นบา นของไทยเกิดจากชางชาวบานในทองถ่ินเปนผูสรางผลงานขึ้นโดย
อาศัยวัสดุอุปกรณในทองถ่ินเปนเครื่องมือสรางสรรคผลงาน เชน การใชใบลาน แผนไม ผาฝาย เปน
วสั ดสุ าํ หรบั ขีดเขยี นวาดภาพ และใชส ีจากธรรมชาติ เชน สีจากยางไม ผลไม ดินสี ผงหินสี ระบายดวย
ไมท บุ ปลายใหเปนฝอยบา ง หรือขนสัตวบางประเภท เชน ขนหมู ขนจากหูวัว ขนกระตาย มัดกับไม
เปน แปรงหรือพูก ันระบาย จิตรกรรมพ้ืนบา นไทยสามารถแบบออกไดเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของ
ตัวจติ รกรรมดงั น้ี
1.1 จติ รกรรมแบบเคล่อื นทไ่ี ด หมายถงึ มนุษยสามารถนําพาช้ินงานจิตรกรรมนั้นเคลื่อนท่ีไป
ไหนไดโ ดยสะดวก ตัวอยา งของงานจติ รกรรมประเภทน้ไี ดแก สมดุ ขอย ภาพมหาชาติ ตพู ระธรรมลาย
รดนํ้า เปน ตน
1.2 จิตรกรรมแบบเคล่ือนท่ีไมได หมายถึง มนุษยไมสามารถนําพาช้ินงานจิตรกรรมนั้น
เคลอ่ื นท่ไี ปไหนได เนอ่ื งจากไดเ ขยี นภาพจิตรกรรมลงบนอาคารสถานที่ เชน ภาพจติ รกรรมตามฝาผนัง
พระอุโบสถ จิตรกรรมบนผนังเพดาน ระเบยี งวหิ าร เปน ตน
13
ภาพจติ รกรรมพ้ืนบา นแบบเคล่อื นท่ีได ภาพจิตรกรรมพืน้ บานแบบเคลือ่ นที่ไมไ ด
ลักษณะของจิตรกรรมพื้นบานไทย มักจะเปนจิตรกรรมแบบท่ีเรียกวา “จิตรกรรมแบบ
ประเพณ”ี คือเปนการสรางสรรคจติ รกรรมตามแบบแผนทท่ี ําสบื ตอ กันมา ลกั ษณะจะเปน การเขียนภาพ
ดวยสฝี ุนจากธรรมชาตใิ นทองถิ่น ลักษณะการเขียนจะไมรีบรอนไมตองแขงกับเวลา ลักษณะงานจะมี
ขนาดเลก็ หากเขยี นบนพื้นท่ีใหญ เชน ผนังก็จะมีลักษณะเล็กแตจะมีรายละเอียดในภาพมากหรือเปน
ภาพเลา เรื่องตอ เน่อื งไปจนเต็มพื้นท่ี สัดสวนประกอบไมส มั พันธกับบุคคลในภาพ หนาบุคคลไมแสดง
อารมณ แตจ ะส่อื ความหมายดวยกิริยาทาทาง และเรื่องราวสวนใหญจะเปนเร่ืองเกี่ยวกับ พุทธศาสนา
ความเชื่อ
2. ดานประติมากรรม ประติมากรรมพ้ืนบาน มักจะเปนงานที่สรางสรรคข้ึนมาเพ่ือการตอบสนอง
ประโยชนใ ชสอยในชวี ติ ประจําวันของมนุษย วสั ดทุ ่ใี ชม ักจะเปน วสั ดุในทองถิ่น โดยเลอื กใชตามความ
เหมาะสมในการใชงาน เชน ไมไผ ไมเนื้อแข็ง ดินเหนียวและการเผา เปนตน ประติมากรรมพ้ืนบาน
สามารถแบง ออกตามลกั ษณะการนาํ ไปใชไ ด 4 ประเภทดังน้ี
2.1 ประติมากรรมพ้ืนบา นเพ่อื การตกแตง ชัว่ คราว เปน งานประติมากรรมที่สรางข้ึนมาเพ่ือใช
ในพิธีกรรมหรือการตกแตงในระยะเวลาอนั สั้น เชน การแทงหยวก การแกะสลักผกั หรือผลไม และการ
ตกแตงบายศรีในพิธีการตา ง ๆ เปน ตน
การแทงหยวก การตกแตงบายศรี
14
งานประตมิ ากรรมประเภทนี้มักมคี วามสวยงามประณีตใชความคดิ สรา งสรรคส ูง
ผูทําอาจทาํ คนเดยี วหรอื ทาํ เปน กลุม กไ็ ด
2.2 ประติมากรรมพ้นื บานเพ่ือตกแตง ส่ิงของเคร่ืองใช เปนการสรางสรรคงานประติมากรรม
เพอื่ ตกแตง สิง่ ของเครอื่ งใชใ หเกิดความสวยงามนา ใช
ตัวอยางประตมิ ากรรมพนื้ บานเพอื่ ตกแตงส่งิ ของเครื่องใช ไดแ ก
การแกะสลักตู เตียง ขนั น้าํ พานรอง คนโท หมอนํา้ เปนตน
2.3 ประติมากรรมพ้ืนบานเพื่อเครื่องมหรสพ ประติมากรรมประเภทนี้สรางข้ึนมาเพ่ือความ
บนั เทงิ โดยจะเลือกใชว สั ดุท่ีมีอยูในทองถน่ิ เชน ดินเผา ไมไผ หนังวัวหรือหนังควาย ผาฝาย ฯลฯ มา
ประดิษฐเพือ่ เปน อปุ กรณแ สดงมหรสพตา ง ๆ
ตัวอยางประตมิ ากรรมพ้ืนบานเพอื่ มหรสพ ไดแ ก หนุ กระบอก (หุนโรงเลก็ )
หนงั ใหญ หนังตะลุง หัวโขน เปน ตน
15
2.4 ประติมากรรมพื้นบานประเภทเคร่ืองเลนและพิธีกรรม เปนประติมากรรมพื้นบานที่
สรางสรรคเพอ่ื เปน เครอ่ื งเลน สําหรบั เดก็ หรอื เคร่ืองเลน เคร่ืองบนั เทงิ สําหรบั คนทุกวยั
ประติมากรรมประเภทนี้ ไดแก การแกะสลักตัวหมากรุก ตกุ ตาเลก็ ๆ
ตุก ตาเสียกบาล และตุกตาชาววงั เปน ตน
3. ดานสถาปต ยกรรม สถาปต ยกรรมพืน้ บา นไทยเปน สิ่งทีเ่ กีย่ วของกับวถิ ีชวี ติ ของคนไทยมาต้ังแตแรก
เกดิ โดยวสั ดทุ ใ่ี ชม ักเปน วัสดทุ ม่ี ีอยใู นทอ งถิน่ เปน หลกั ยกเวนสถาปตยกรรมดานศาสนาและความเช่ือ
ซ่ึงอาจใชวัสดุตางทองถ่ินท่ีดูแลวมีคาสูงเพื่อแสดงการเคารพนับถือ สถาปตยกรรมพื้นบานไทย แบง
ออกไดตามลักษณะการใชส อย 2 ประเภท ดงั น้ี
3.1 สถาปตยกรรมพ้นื บานเพ่ือพระพทุ ธศาสนา เปน สถาปต ยกรรมทส่ี รางขน้ึ ในวัดตาง ๆ เพื่อ
ประโยชนท างพทุ ธศาสนา และปูชนยี สถาน
สถาปตยกรรมพ้ืนบานเพอ่ื พระพทุ ธศาสนา ไดแ ก พระสถปู เจดยี พระปรางค
พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ ฯลฯ
16
3.2 สถาปตยกรรมพื้นบานประเภทที่อยูอาศัย เปนสถาปตยกรรมท่ีสรางสรรคขึ้นมาเพ่ือ
ประโยชนในการอยอู าศัยของบุคคล ลกั ษณะการกอสรา งยดึ ถอื สบื ทอดตอ กันมามรี ปู แบบและแบบแผน
แนน อน แตส ามารถดัดแปลงตามความตอ งการและประโยชนใชสอยของบุคคลอีกดวย สถาปตยกรรม
ป ร ะ เ ภ ท นี้ ส า ม า ร ถ พ บ เ ห็ น ไ ด จ า ก บ า น เ รื อ น ท ร ง ไ ท ย ห รื อ บ า น แ บ บ พื้ น บ า น ต า ม
ภาคตา ง ๆ ภาคเหนอื จะมกี าแลทจี่ ั่วบา น ภาคกลางหลังคาทรงสูงปานลมมีเหรา ภาคใตหลังคาเปนทรง
ปน หยา เปนตน
เรอื นภาคเหนือ เรือนภาคกลาง เรอื นภาคใต
การสรางสถาปตยกรรมพ้นื บา นประเภทท่อี ยูอ าศัยนับเปน ภมู ปิ ญญาไทยที่ปลูกสรางตามความ
เหมาะสมของภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ และไดถ ายทอดคตนิ ิยมไทยดา นความเชื่อ ความเปนมงคลแก
ผูอ าศยั อีกดว ย
4. ดา นภาพพมิ พ ภาพพิมพพนื้ บานของไทยมไี มมากนกั ทเี่ หน็ ไดช ัดเจนมกั จะเปนในรูปของผา
พิมพ ทส่ี รางสรรคข นึ้ มาเพือ่ ประโยชนในการใชสอยเปนสวนใหญ เชน ผาพิมพลายบาติกของภาคใต
ซง่ึ เปนกรรมวิธีก่ึงพิมพ กึ่งยอม และผาพิมพโขมพัสตรซ่ึงเปนผาพิมพลายแบบตะแกรง ผาไหม(ซิลค
สกรนี ) ของจงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ
ผา โขมพัสตร
17
เกร็ดความรู
คุณรูไ หมวา เรือนไทยโบราณแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
เรือนเครื่องสับ คือประเภทหนึ่งของเรือนท่ีอยูอาศัยของคนไทยท่ีเรียกวา เรือนไทย คูกันกับ
เรอื นเครื่องผูก ตามความหมายของราชบณั ฑติ ยสถานหมายถึง "เปนเรอื นทีม่ ีลกั ษณะคุมเขาดวยกันดวย
วธิ ีเขาปากไม"
สวนใหญเรือนเคร่ืองสับเปนเรือน 3 หอง กวาง 8 ศอก แตจะใหญโตมากขึ้นถาเจาของมี
ตําแหนงสําคญั เชน เสนาบดี ชางทส่ี รา งจะเปนชางเฉพาะทาง กอนสรางจะมีการประกอบพิธี หลาย ๆ
อยาง ในภาคกลางมักใชไมเ ตง็ รังทําพ้ืน เพราะแข็งมาก ทําหัวเทียนไดแข็งแรง ภาคเหนือนิยมใชไมสัก
ไมท ไ่ี มน ิยมใช เชน ไมตะเคียนทอง เพราะมียางสีเลือด ไมน าดู
เรอื นเคร่ืองผูก เปนการสรา งในลักษณะงาย ๆ การประกอบสว นตา ง ๆ เขาดวยกนั จะใชวิธีการ
ผกู มดั ตดิ กันดว ยหวาย หรอื จักตอกจากไมไผ ไมม กี ารใชตะปตู อกยึด ฝาบาน หนาตาง ใชไมไผสานขัด
แตะ เรยี กวา ฝาขดั แตะ พน้ื มีทั้งไมเ นอ้ื แข็งทาํ เปน แผนกระดาน หรือใชไมไ ผสบั เปนฟาก ก็แลวแตฐานะ
ของเจา ของบาน
18
กิจกรรม ใหผเู รยี นสาํ รวจบริเวณชมุ ชนของผูเรียนหรือสถานที่พบกลมุ วา มีศลิ ปะพืน้ บา น
ใดบา งที่เขาในประเภททศั นศลิ ปพน้ื บานทัง้ 4 ประเภทขา งตน จากนั้นจดบันทกึ โดยแบง เปน แตละ
หัวขอดังน้ี
1. วันท่ีสาํ รวจ
2. ระบุสถานท่ี หรือส่ิงของท่พี บ
3. จัดอยูในประเภททศั นศลิ ปใ ด
4. ประโยชนห รือคณุ คา
5. มีความสวยงามประทบั ใจหรือไม อยางไร (บอกเหตผุ ล)
19
เรอื่ งท่ี 4 รูปแบบและความงามของทศั นศลิ ปพ ้ืนบาน
ทัศนศลิ ปพ้ืนบา นกับความงามตามธรรมชาติ มีความงดงามทค่ี ลา ยคลึงกันโดยอาจอธบิ ายใน
รายละเอียดของแตละสิ่งไดด งั น้ี
ทัศนศิลปพ้ืนบาน เปนรูปแบบศิลปะชนิดเดียวที่มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบนอยและคงรูป
แบบเดมิ ไดนานทส่ี ุด จากเอกลกั ษณอ นั มคี ุณคา นเ้ี องทาํ ใหทัศนศิลปพ้ืนบานมีคุณคาเพ่ิมขึ้นไปเรื่อย ๆ
ไมว า เปน คณุ คา ดา นเร่ืองราว การพบเห็น หรอื การแสดงออก เพราะทัศนศิลปพ้ืนบานเปนตัวบงบอก
ความเปน มาของมนษุ ยชาติทสี่ รางทัศนศิลปพืน้ บานนั้น ๆ ขนึ้ มา
งานทศั นศิลปพ้ืนบา นสว นใหญมกั จะออกแบบมาในรปู ของการเลียนแบบหรือทําใหกลมกลืน
กับธรรมชาติ ท้ังนี้เพื่อประโยชนของการใชสอยและความสวยงามและ/หรือเพื่ออุดมคติ ซ่ึงทําให
ทัศนศิลปพืน้ บานมจี ุดเดน ทีน่ าประทับใจ ตวั อยางเชน การออกแบบอุปกรณจบั ปลาทจ่ี ะมกี ารออกแบบ
ใหก ลมกลืนกับลกั ษณะกระแสน้าํ สะดวกในการเคลือ่ นยา ย
ไซดักปลา การออกแบบทก่ี ลมกลนื กับสภาพลํานํ้า
เราอาจวิเคราะห วิจารณ ถงึ ความสวยงาม ของทศั นศลิ ปพ้นื บานโดยมแี นวทางในการวิเคราะห
วจิ ารณ ดงั นี้
1. ดา นความงาม เปน การวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การจัดองคประกอบศิลปวา
ผลงานชน้ิ นีแ้ สดงออกทางความงามของศิลปะไดอยางเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผูดูใหเกิดความ
ชนื่ ชมเพยี งใด ลกั ษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลายแตกตาง กันออกไปตาม
รูปแบบของยุคสมัย ผูว ิเคราะหค วรมีความรู ความเขาใจดวย
20
2. ดานสาระ เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาของผลงานศิลปะแตละชิ้นวามีลักษณะสงเสริม
คุณธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนจุดประสงคตา ง ๆ วาใหสาระอะไรกับผูชมบาง ซ่ึงอาจเปนสาระเกี่ยวกับ
ธรรมชาติ สังคม ศาสนา การเมือง ปญ ญา ความคิด จนิ ตนาการ และความฝน
3. ดานอารมณความรูสึก เปนการคิดวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานคุณสมบัติท่ีสามารถกระตุน
อารมณความรูสึกและส่ือความหมายไดอยางลึกซึ้ง ซ่ึงเปนผลของการแสดงออกถึงความคิดพลัง
ความรสู ึกทปี่ รากฏอยูในผลงาน
ตัวอยางการวเิ คราะห วิจารณงานทศั นศิลปพื้นบานจากภาพตอ ไปนี้
ตัวอยา งการวเิ คราะห คาํ วจิ ารณท ี่ 1
คาํ วจิ ารณ
งานทัศนศิลปป ระเภท จติ รกรรมภาพเขยี นระบายสี
1. ดานความงาม ภาพนผ้ี เู ขยี นมฝี ม ือและความชํานาญในการจัดภาพสูง จุดสนใจอยูท่ีบานหลังใหญ มี
เรอื นหลงั เล็กกวาเปน ตัวเสริมใหภาพมเี รอื่ งราวมากขน้ึ สว นใหญใ นภาพจะใชเสนในแนวนอน ทําใหดู
สงบเงยี บแบบชนบท
2. ดานสาระ เปน ภาพทีแ่ สดงใหเห็นวถิ ีชีวติ ทอี่ ยใู กลช ิดธรรมชาติ มีตนไมใ หญนอยเปนฉากประกอบ
ทง้ั หนา และหลงั มีสายนา้ํ ทีใ่ หค วามรสู กึ เย็นสบาย
3. ดา นอารมณแ ละความรูสึก เปน ภาพทใี่ หความรูสกึ ผอ นคลาย สโี ทนเขยี วของตนไมท ําใหรูสกึ สดชนื่
เกิดความรสู กึ สงบสบายใจแกผูชมเปน อยา งดี
21
ตวั อยางการวเิ คราะห คาํ วิจารณท ่ี 2
คาํ วิจารณ
งานทศั นศิลปป ระเภท ประติมากรรมแบบลอยตวั
1. ดา นความงาม เปนพระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั ทีม่ ลี กั ษณะงดงามไดสัดสว นสมบูรณแบบ ซมุ เรือนแกว
และฉากสีเขมดา นหลังทําใหอ งคพ ระดูโดดเดน และนา ศรัทธามากยิง่ ขึน้
2. ดา นสาระ เปน ประติมากรรมท่สี รา งความเคารพศรทั ธาแกผูพบเหน็
3. ดานอารมณและความรูสึก ทําใหรูสึกถึงความสงบแหงพระพุทธศาสนา และเปนเหมือนที่พึ่งแหง
จิตใจชาวพุทธ
22
กิจกรรม ใหผูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรูปท่ีกําหนดโดย
ใชหลักการวจิ ารณข า งตน และความรูท ่ีไดศกึ ษาจากเร่ืองท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ
ภาพจิตรกรรมสนี ํา้ ของ อ.กิตติศกั ดิ์ บตุ รดวี งศ
คําวจิ ารณ
23
กิจกรรม ใหผ ูเ รยี นทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรูปที่กําหนดโดย
ใชหลักการวิจารณข างตน และความรูท ี่ไดศึกษาจากเรอ่ื งท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคาํ วจิ ารณ
คําวจิ ารณ ประติมากรรม วัดพระธาตุสโุ ทนมงคลคีรี จังหวดั แพร
24
กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพื้นบานจากรูปท่ีกําหนดโดย
ใชห ลักการวจิ ารณขา งตน และความรูทไ่ี ดศึกษาจากเรอ่ื งที่ 1.1 ถงึ 1.4 มาประกอบคาํ วจิ ารณ
คาํ วจิ ารณ การจัดสวนในบา นเลยี นแบบธรรมชาติ
25
กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพื้นบานจากรูปที่กําหนดโดย
ใชห ลักการวจิ ารณขา งตน และความรทู ีไ่ ดศ ึกษาจากเรอ่ื งที่ 1.1 ถงึ 1.4 มาประกอบคําวิจารณ
พระอโุ บสถ วดั จุฬามณี จังหวดั สมทุ รสาคร
(ภาพจาก www.Mayaknight07.exteen.com)
คาํ วิจารณ
26
กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรูปที่กําหนดโดย
ใชห ลักการวจิ ารณขางตน และความรทู ไ่ี ดศกึ ษาจากเรือ่ งที่ 1.1 ถงึ 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ
คาํ วจิ ารณ เครื่องจักสานจากไมไ ผ ภาคกลาง
27
กจิ กรรม ใหผเู รียนทดลอง วิเคราะห วจิ ารณ งานทัศนศิลปพนื้ บา นจากรูปที่กาํ หนดโดยใช
หลกั การวจิ ารณข า งตน และความรทู ไ่ี ดศ ึกษาจากเรอ่ื งท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคาํ วจิ ารณ
คําวจิ ารณ จิตรกรรมฝาผนังวดั บา นกอ อําเภอวังเหนือ จังหวัดลาํ ปาง
28
กจิ กรรม ใหผูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพื้นบานจากรูปท่ีกําหนดโดย
ใชห ลกั การวจิ ารณขา งตน และความรทู ่ีไดศ กึ ษาจากเรือ่ งที่ 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ
คาํ วจิ ารณ หนังตะลงุ ภาคใต
29
กจิ กรรม ใหผ เู รยี นทดลอง วิเคราะห วจิ ารณ งานทัศนศิลปพื้นบา นจากรูปทก่ี าํ หนดโดย
ใชห ลักการวจิ ารณขางตน และความรูท่ไี ดศกึ ษาจากเรือ่ งท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ
คาํ วจิ ารณ ลายขางเรือกอและ จงั หวัดปต ตานี
30
เร่ืองท่ี 5 ทศั นศิลปพ ้นื บานกับการแตงกาย
ความหมายของเคร่อื งแตง กาย
คําวา เคร่ืองแตงกาย หมายถึงส่ิงที่มนุษยนํามาใชเปนเคร่ืองหอหุมรางกาย การแตงกายของ
มนุษยแตละเผาพันธุสามารถคนควาไดจาก หลักฐานทางวรรณคดีและประวัติศาสตร เพ่ือใหเปน
เคร่ืองชว ยช้นี าํ ใหร แู ละเขา ใจถงึ แนวทางการแตงกาย ซงึ่ สะทอ นใหเห็นถึงสภาพของการดํารงชีวิตของ
มนุษยในยคุ สมยั นน้ั ๆ
ประวตั ขิ องเครื่องแตง กาย
ในยุคกอ นประวัตศิ าสตรมนษุ ยใ ชเ ครื่องหอ หุมรา งกายจากส่ิงที่ไดมาจากธรรมชาติ เชน ใบไม
ใบหญา หนงั สัตว ขนนก ดนิ สตี าง ๆ ฯลฯ มนษุ ยบ างเผาพนั ธุร จู ักการใชส ีทท่ี ํามาจากตนพืช โดยนํามา
เขียนหรือสักตามรางกายเพ่ือใชเปนเครื่องตกแตงแทนการใชเครื่องหอหุมรางกาย ตอมามนุษยมีการ
เรียนรู ถงึ วธิ ที จ่ี ะดดั แปลงการใชเ ครอ่ื งหอหมุ รา งกายจากธรรมชาติใหมีความเหมาะสมและสะดวกตอ
การแตงกาย เชน มกี ารผูก มัด สาน ถัก ทอ อดั ฯลฯ และมีการวิวัฒนาการเรอ่ื ยมา จนถงึ การรจู ักใชวธิ ตี ดั
และเยบ็ จนในทส่ี ดุ ไดกลายมาเปนเทคโนโลยจี นกระท่งั ถงึ ปจจุบันนี้
31
ความแตกตา งในการแตง กาย
มนุษยเปน สตั วโลกที่ออ นแอทสี่ ุด จึงจาํ เปนตองมีสิ่งปกคลุมรางกายเพ่ือสามารถที่จะดํารงชีวิต
อยไู ด จากความจาํ เปนน้ีจงึ เปน แรงกระตุนที่สาํ คัญในอนั ทจ่ี ะแตง กายเพือ่ สนองความตอ งการของมนุษย
เอง โดยมสี ังคมและส่ิงอ่นื ๆ ประกอบกัน และเครอ่ื งแตง กายกม็ ีรูปแบบท่แี ตกตา งกันไปตามสาเหตุนั้น
ๆ คอื
1. สภาพภมู ิอากาศ ประเทศท่ีอยูในภูมิอากาศที่หนาวเย็นมาก จะสวมเสื้อผาซึ่งทํามาจากหนังหรือขน
ของสัตว เพอื่ ใหค วามอบอุนแกร างกาย สว นในภมู ิภาคท่มี ีอากาศรอ นอบอาว เสื้อผาที่สวมใสจะทําจาก
เสนใย ซง่ึ ทําจากฝาย แตใ นทวปี อฟั รกิ า เสื้อผาไมใชส ิง่ จําเปน สําหรบั ใชใ นการปองกนั จากสภาพอากาศ
แตเขากลับนิยมใชพวกเคร่ืองประดับตาง ๆ ท่ีทําจากหินหรือแกวสีตาง ๆ ซึ่งมีอยูในธรรมชาตินํามา
ตกแตงรางกาย เพ่ือใชเ ปนเครอ่ื งลางหรือเคร่ืองปองกนั ภตู ผีปศาจอกี ดวย
ชาวเอสกิโมอาศยั ในเขตขั้วโลกเหนือการแตง กายจะหอหุม รดั กมุ เพอ่ื ปองกนั ความหนาวเย็น
2. ศัตรูทางธรรมชาติ ในภมู ภิ าคเขตรอน มนุษยจะไดรับความรําคาญจากพวกสัตวปกประเภท แมลง
ตาง ๆ จึงหาวธิ ขี จัดปญ หาโดยการใชโ คลนพอกรา งกายเพ่อื ปองกนั จากแมลง ชาวฮาวายเอีย้ น แถบทะเล
แปซฟิ ก สวมกระโปรงซ่งึ ทาํ ดว ยหญา เพือ่ ใชส าํ หรบั ปองกันแมลง ชาวพื้นเมอื งโบราณของญีป่ นุ รูจกั ใช
กางเกงขายาว เพื่อปอ งกันสัตวแ ละแมลง
3. สภาพของการงานและอาชพี หนงั สตั วแ ละใบไมส ามารถใชเพ่ือปองกนั อนั ตรายจากภายนอก เชน
การเดนิ ปาเพอ่ื หาอาหาร มนษุ ยก ใ็ ชหนงั สตั วและใบไมเ พอื่ ปองกันการถกู หนามเก่ียว หรอื ถูกสตั วก ัด
ตอ ย ตอ มาสามารถนําเอาใยจากดอกฝาย และใยไหม มาทอเปน ผาทเ่ี รียกกนั วา ผาฝา ยและผา ไหม เมือ่
ความเจริญทางดานวิทยาการมีมากขึน้ ก็เรมิ่ มสี ่งิ ท่ีผลติ เพ่มิ ขน้ึ อีกมากมายหลายชนดิ สมยั ศตวรรษที่ 19
เสอ้ื ผามกี ารวิวฒั นาการเพิม่ มากขนึ้ มผี ูคดิ ประดษิ ฐเ ส้ือผาพิเศษ เพอื่ ใหเหมาะสมกบั ความตองการของผู
32
สวมใส โดยเฉพาะผูท ี่ทาํ งานประเภทตาง ๆ เชน กะลาสีเรอื คนงานเหมืองแร เกษตรกร คนงาน
อตุ สาหกรรม ขา ราชการทหาร ตํารวจ พนักงานดับเพลงิ เปน ตน
4.ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและศาสนา เมือ่ มนษุ ยม ีสตปิ ญญามากยงิ่ ข้นึ มกี ารอยูรวมกนั เปน
กลุมชน และจากการอยูรวมกันเปนหมูคณะนี้เอง จึงจําเปนตองมีระเบียบและกฎเกณฑในอันท่ีจะอยู
รวมกันอยา งสงบสุข โดยไมม กี ารรุกรานซ่ึงกนั และกัน จากการปฏิบัติที่กระทําสืบตอกันมา น้ีเอง ใน
ที่สดุ ไดกลายมาเปน ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรมขึ้น
ในสมัยโบราณ เมอ่ื มีการเฉลิมฉลองประเพณีสําคัญตาง ๆ เชน การเกิด การตาย การเก็บเกี่ยว
พชื ผล หรือเร่ิมมกี ารสังคมกบั กลุมอ่ืน ๆ กจ็ ะมีการประดบั หรอื ตกแตง รางกาย ใหเ กิดความสวยงามดวย
เครื่องประดับตาง ๆ เชน ขนนก หนังสัตว หรือทาสีตามรางกาย มีการสักหรือเจาะ บางครั้งก็วาด
ลวดลายตามสว นตา ง ๆ ของรา งกาย เพื่อแสดงฐานะหรือตาํ แหนง ซง่ึ ในปจจุบนั ก็ยงั มหี ลงเหลืออยู สวน
ใหญก็จะเปนชาวพื้นเมืองของประเทศตาง ๆ ศาสนาก็มีบทบาทสาํ คญั ในการ แตง กายดว ยเหมือนกนั
5. ความตอ งการดึงดดู ความสนใจจากเพศตรงขา ม ธรรมชาตขิ องมนุษยเ ม่ือเจริญเติบโตข้ึน ยอมมีความ
ตองการความสนใจจากเพศตรงกันขาม โดยจะมีการแตงกายเพื่อใหเ กดิ ความสวยงาม เพ่ือดงึ ดูดเพศตรง
ขา ม
6. เศรษฐกิจและสภาพแวดลอม สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย แตละบุคคลยอมไม
เหมอื นกัน จึงทาํ ใหเกดิ การแตง กายทแ่ี ตกตา งกนั ออกไป สงั คมทัว่ ไปมหี ลายระดบั ชนช้ัน มีการแบง แยก
กนั ตามฐานะทางเศรษฐกจิ เชน ชนชน้ั ระดบั เจานาย ชาวบา น และกรรมกร การแตง กายสามารถบอกได
ถงึ สถานภาพ
เครอื่ งประดบั และตกแตง รางกาย
33
มนุษยเรามีพ้ืนฐานในการรักความสวยงามอยูในจิตสํานึกอยูทุกคน จะมากหรือนอยบางก็
แลว แตจติ ใจและสภาวะแวดลอมของบคุ คลน้นั ๆ ดังนน้ั มนุษยจึงพยายามสรรหาสิ่งของมาประดับและ
ตกแตงรางกายตน โดยมีจดุ ประสงคท จี่ ะเสริมความสวยงาม เพ่ิมฐานะการยอมรับในสังคม หรือเปน
การเรยี กรอ งความสนใจของเพศตรงขาม
ในสมัยโบราณการใชเครื่องประดับตกแตงรา งกายของคนไทยระดบั สามัญชนจะไมมี มากนัก
ถึงจะมีก็ไมใชของที่มีราคาสูง เพราะในสมัยโบราณมีกฎหมายขอหามมิใหขาราชการช้ันผูนอยและ
ราษฎรใชเครือ่ งประดบั ทมี่ ีราคาแพง จนกระทงั่ ในสมยั รัตนโกสินทรต อนปลาย กฎโบราณดังกลาวได
ถูกยกเวนไป จึงทําใหเ ครอ่ื งประดบั ชนดิ ตางๆแพรหลายสูคนทุกชั้น ทําใหเกิดการแขงขันสรางสรรค
ออกแบบเคร่ืองประดับใหมๆมากมาย เครื่องประดับเหลาน้ีหลายชนิดจัดอยูในงานทัศนศิลปพ้ืนบาน
ชนดิ หนงึ่ ซ่ึงอาจแบงออกเปนชนิดตางๆตามวสั ดทุ ี่ใชได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ
1. เครอื่ งประดบั ทท่ี าํ จากอโลหะ ไดแกเครอ่ื งประดับทใ่ี ชวัสดุหลักทําจากที่ไมใชโลหะเชน
วสั ดดุ นิ เผา ไม ผา หินสีตางๆ ใยพืช หนังสัตว อัญมณี แกว พลาสติก ฯลฯ เคร่อื งประดับเหลาน้ีอาจ
ทาํ จากวัสดชุ นิดเดยี วหรือนํามาผสมกนั กไ็ ด นอกจากน้ันยังสามารถนาํ มาผสมกับวัสดุประเภทโลหะได
อีกดว ย
เครอ่ื งประดับหินสที ีร่ อยดว ยเชือก สรอ ยคอทําจากหนังแท
2. เครื่องประดับที่ทําจากโลหะ ไดแกเครื่องประดับท่ีทําจากสินแรโลหะ เชน ทองคํา เงิน
ทองแดง ทองเหลอื ง ฯลฯ ซ่ึงบางคร้ังไดนําแรโลหะมากกวา 1 ชนิด มาผสมกันเชน นากซ่ึงเปนการ
ผสมกันระหวางทองคํากับทองแดง สัมฤทธ์ิ หรือ สําริด เปนโลหะผสมระหวางทองแดงและดีบุก
สัมฤทธิ์บางชนิดอาจมสี ว นผสมของสงั กะสี หรอื ตะกว่ั ปนอยูดวย
34
เครื่องประดบั ทองคําโบราณ เขม็ ขัดนาก
3. เครื่องประดบั ทใี่ ชทําใหเกดิ รอ งรอยบนรา งกาย ไดแ กก ารนําวตั ถจุ ากภายนอกรา งกายเขา
ไปตดิ บนรางกายเชนรอยสกั หรือการฝง ลกู ปด หรอื เมล็ดพืชใตผ วิ หนงั ของชาวแอฟรกิ าบางเผา เปนตน
นอกจากน้ันยังมกี ารเขยี นสีตามบรเิ วณลําตัวใบหนา เพ่ือประเพณี หรอื ความสวยงามอกี ดวย
การสกั เพ่ือความเชื่อ และการสกั เพ่อื ความสวยงาม
เกรด็ ความรู
รูไหมวา สีและลวดลายสามารถนํามาชวยในการแตง รา งกายได
คนอว น หากใสเ ส้อื ผาสีเขม ๆ เชน นํ้าเงิน แดงเขม เขยี วเขม เทา หรือดํา จะทําใหด ผู อมลงกวา เสื้อสี
ออน หากเลือกเสอ้ื ผาท่มี ีลายแนวตงั้ ยาว ๆ กจ็ ะทาํ ใหดูผอมยิ่งขึ้น
ขณะทค่ี นผอม ควรใสเ ส้อื ผา สีออน ๆ เชนขาว เหลือง ชมพู ฟา ครีม และควรเลือกลายเสอ้ื ผาในแนว
ขวาง เพราะจะทําใหด ตู ัวใหญข น้ึ
35
กจิ กรรม
ใหผูเรยี นทดลองนาํ วสั ดุทก่ี ําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเครื่องประดับชนิดใดก็ไดท่ีใชสําหรับ
การตกแตงรา งกาย โดยใหเขียนเปนภาพรางของเครื่องประดับพรอมคําอธิบายแนวทางการออกแบบ
ของผเู รยี น (ไมตอ งบอกวธิ ที ํา)
จากนนั้ ใหน าํ ผลงานออกแบบนําเสนอในชน้ั เรยี น
วสั ดุท่ีกาํ หนด
ลกู ปด เจาะรสู ตี า ง ๆ เชอื กเอน็ ขนาดเล็ก
คาํ อธบิ ายแนวทางการออกแบบ
36
กิจกรรม ใหผูเรียนทดลองนําวัสดุท่ีกําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเคร่ืองประดับ
ชนิดใดก็ไดท ีใ่ ชส ําหรับการตกแตง รา งกาย โดยใหเ ขียนเปน ภาพรางของเครื่องประดับพรอมคําอธิบาย
แนวทางการออกแบบของผเู รยี นและวธิ ที ําอยา งงาย ๆ จากนั้นใหน ําผลงานออกแบบนําเสนอในชั้นเรียน
วสั ดทุ ่ีกาํ หนด
ตุกตาเซรามิกขนาดเลก็ ความสูงประมาณ 1 น้ิว และวสั ดอุ น่ื ๆ ท่หี าไดในชมุ ชนของทา น
คําอธบิ ายแนวทางการออกแบบ
37
เร่ืองที่ 6 การตกแตงทอ่ี ยอู าศัย
การออกแบบตกแตงเปน การออกแบบเพ่ือการเปนอยูในชีวิตประจําวันโดยเฉพาะอยางยิ่งการ
ออกแบบเพ่อื เสรมิ แตงความงามใหกบั อาคารบานเรือนและบริเวณท่ีอยูอาศัย เพื่อใหเกิดความสวยงาม
นาอยูอาศยั การออกแบบตกแตง ในท่ีนหี้ มายถึงการออกแบบตกแตงภายนอกและการออกแบบตกแตง
ภายใน
ขน้ั ตอนในการออกแบบ
1. ศึกษาการจดั วางพน้ื ที่ ตวั บานและทวี่ าง ทางเขาออก ทิศทางดูวาทิศทางลมและแสงแดด จะ
ผา นเขา มาทางดา นไหน เชน กระแสลมจะมาจากทิศใต ดูทิศทางของส่ิงรบกวน เชน เสียง และฝุนจาก
ถนน จากอาคารขา งเคยี งวาจะเขา มาในทศิ ทางใด การวางเคร่ืองเรือน เคร่อื งไฟฟา เปนตน
2. กําหนดความตองการ เชนรูปแบบการออกแบบเชนรูปแบบไทย ๆ หรือรูปแบบสากล
ทนั สมัย เคร่อื งเรอื นสามารถใชของทม่ี อี ยูแลว มาดดั แปลงไดหรอื ไม หรืออยากไดสวนทม่ี ลี กั ษณะแบบ
ไหน เชน สวนที่มไี มใ หญ ดูรมรืน่ สวนไมดอก สวนแบบญป่ี ุน
การตกแตงหองนอนแบบไทยท้ังผนังหอ ง เครือ่ งเรือน และสว นประกอบอนื่ ๆ
3. การวางผัง ตามความตองการพื้นที่ใชสอย เชน หองน่ังเลน หองครัว หองนอน ฯลฯ
กําหนดแนวไมพุมเพื่อปองกันฝุนจากถนนกําหนดพ้ืนที่ปลูกตนไมบังแดดทางทิศตะวันตก กําหนด
ทางเขาออก สว น เพื่อใชส อยตา ง ๆ กาํ หนดจุดท่ีจะเปน เดนของบรเิ วณซึ่งจะเปนบริเวณท่ีเดนที่สุด เชน
จุดที่มองไดอ ยางชดั เจนจากทางเขา หรอื อาจจะจดั วางประติมากรรมหรือพันธุไมท่ีมีความสวยงามเปน
พเิ ศษก็ได
38
4. การจัดทาํ รายละเอยี ดตาง ๆ
ไดแก การออกแบบในสวนตาง ๆ ตามผังที่กําหนดไว กําหนดเคร่ืองเรือน เครื่องไฟฟาหรือ
วสั ดแุ ละพันธไุ มทจ่ี ะนํามาใชออกแบบสวนประกอบอน่ื ๆ
สิง่ สําคัญที่ควรคํานึงถงึ ในการตกแตง ภายในโดยรวมคอื
สถานท่ีตง้ั ของตัวบา น วัสดจุ ะนาํ มาใชตกแตง ประโยชนใชสอยในแตละหอง ความสวยงาม
งบประมาณของผเู ปน เจาของ ความเหมาะสมกบั กาลสมยั เพศและวยั ของผูใช และสุดทายคืออุดมการณ
ของผูอ อกแบบ
การตกแตงสวนแบบเนน อนรุ กั ษธ รรมชาติ
5. การจัดวางเคร่ืองเรือน หลักการท่ัวไปในการพิจารณาจัดวางเครื่องเรือนในการตกแตง
ภายใน มจี ุดมงุ หมายงาย ๆ คอื ตองมคี วามเปน เอกภาพ คือ การรวมตัวกนั ของเครื่องเรือนแตละกลุม ทั้ง
ในดา นความรูส กึ และในดา นความเปน จรงิ เชน ชดุ รับแขก ชุดรับประทานอาหาร ชุดนั่งเลนฯลฯ ถึงแม
เครื่องเรอื นทุกกลุมจะถกู จัดใหรวมอยใู นหอ งโลงท่ีเปดถึงกันตลอด แตเคร่ืองเรือนทุกชุดจะตองถูกจัด
วางใหไมดปู นเปสับสนกัน ทั้งนข้ี ้ึนอยูกับการเลือกแบบของเครื่องเรือนที่สัมพันธกันในแตละชุด และ
การใชสสี นั ตลอดจนการใชเ ครอ่ื งตกแตง เชน ใชพรมรองในบริเวณหองรับแขก หรือใชไฟชอใหแสง
สวา งเนนในบริเวณโตะอาหารซ่ึงจะชวยใหชุดรบั แขก และชดุ รบั ประทานอาหารดเู ปน เอกภาพยงิ่ ขึ้น
39
6. ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงการใชสอย
เปน การดีมากถาเคร่อื งเรือนบางชิน้ สามารถทจ่ี ะใชง านไดหลายหนาท่ี หรือหลายตําแหนง เชน
ตูเล็ก ๆ ในหองนอนใหญ สามารถนําไปใชในหองนอนเด็กได เม่ือมีตูใบใหญมาใชในหองนั้นแทน
หรอื เกาอห้ี วายในหอ งนงั่ เลน สามารถนําไปใชน ง่ั เลนทร่ี ะเบยี งบานไดด ว ย
7. ความสมดุล
ตองคํานึงถึงความสมดุลในการจัดวางเคร่ืองเรือนแตละหอง โดยการจัดวางใหแบงกระจาย
เฟอรนิเจอรใหเหมาะสมกับพ้นื ทแ่ี ละไมจัดเคร่ืองเรือนใหรวมกันอยูทางดานใดดานหน่ึงของหอง โดย
ปลอยใหอ กี ดานหนงึ่ วา งเปลา อยา งไมม ีเหตุผล
8. การจดั ระบบทางเดินภายในแตละหอง
ทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินจากประตูหนึ่งไปยังอีกประตูหน่ึง จะตองสะดวกและ
กวา งขวางเพยี งพอ ตอ งไมมีการจัดวางทางเดนิ ภายในแตละหอ งกีดขวางในเสนทางที่ใชส ัญจร
สภาพโดยทว่ั ๆ ไปของหองทุกหอง จะทาํ หนา ท่เี ปน ตวั บงั คบั จาํ นวนในการจัดวาง เครือ่ งเรือน
ไดใ นตัวเองอยูแลว เชน หอ งนอนจะตอ งประกอบดว ย เตยี งนอน ตเู สื้อผา โตะ แตง ตัว โตะทาํ งาน โตะ
วางโทรทัศน การจดั วางจงึ ถูกกําหนดใหต ูเสื้อผา ตองวางชดิ ผนังดา นทบึ สว นเตียงนอนนิยมจัดวางดาน
หัวนอนไปทางทศิ ตะวนั ออกหรอื ทิศเหนือตามความเชอื่ โตะ วางโทรทัศนจ ดั วางไวปลายเตียงเพ่ือความ
สะดวกในการใชงาน โตะ แตง ตัวและโตะ ทาํ งานจดั วางอยใู นพนื้ ทซ่ี ึ่งเหลืออยู
หองโถงของตัวบาน จึงเปนหองท่ีคอนขางจะสรางความยุงยากในการจัดวางเครื่องเรือน
พอสมควร กอนการจดั วางเคร่ืองเรือนควรที่จะมกี ารวางแผนงานสาํ หรับหอ งนอี้ ยางรัดกุมเสียกอน
ทางเดินที่มคี วามกวางประมาณ 90 เซนตเิ มตร จะเปนชองทางเดินที่มีขนาดกําลังพอดี ชองวาง
ระหวางโตะ กลางกับเกาอีร้ ับแขก ควรเปน ระยะประมาณ 45 เซนตเิ มตร อันเปน ระยะทส่ี ามารถเดินผาน
เขามายงั เกาอ้ีรับแขกไดส ะดวก อีกท้งั แขกสามารถเออ้ื มมอื มาหยิบแกวนาํ้ หรือหยิบอาหาร ตลอดจนเขี่ย
บุหรี่ลงในทเี่ ขีย่ บหุ รี่ไดสะดวกอกี ดว ย
เครื่องเรือนช้ินใหญ ๆ ในหอง เชน โซฟา ตูโชว โตะ ฯลฯ ควรจัดวางใหลงในตําแหนงที่
เหมาะสมเสียกอน เพื่อท่ีจะใชเปนหลักในการจัดวางเคร่ืองเรือนช้ินเล็ก ๆ ตอไป และไมควรจัดวาง
เคร่อื งเรือนชน้ิ ใหญ ๆ รวมกันอยูเปนกลุม แตควรจัดวางใหกระจายกันออกไป ตามการใชสอย ทั้งนี้
เพื่อผลในดา นความสมดุล
แตอยางไรก็ตามในสภาพปกติควรคํานึงถึงดวยวาแขกที่นั่งบนเกาอ้ีทุกตัวควรท่ีจะ
สามารถเออ้ื มมอื ถึงส่ิงของท่ีอยูบนโตะขาง หรือโตะกลางได
40
การวางเครอ่ื งเรอื นทเ่ี หมาะสมและมรี ะบบทางเดินท่ดี ี
สาํ หรับโตะทํางานเปนเฟอรนิเจอรท่ีสําคัญช้ินหนึ่งในหองน้ี ถามีเนื้อท่ีเพียงพอควรจะจัดวาง
โตะทํางานไวดวย โตะทํางานตัวนี้ในเวลาที่ไมไดใชงานอาจใชเปนท่ีวางโชวของหรือใชเปนท่ีพัก
อาหารขณะนาํ มาเสริ ฟ ทโ่ี ตะไดดวย
เครื่องเรือนที่ดีท่ีสุด สวยท่ีสุดอาจกลายเปนเคร่ืองเรือนช้ินท่ีแยท่ีสุด ถาหากฉากหลังมี
ขอบกพรอง เชน มีสีตัดกันมากเกินไปหรือตกแตงไมสัมพันธกับเครื่องเรือน หองบางหองอาจดู
เหมือนกับวาเคร่ืองเรือนในหองไดถ กู เปลี่ยนแปลงใหมหมดเพียงแตเจาของหองดัดแปลงฉากหลังของ
หอ งเทา น้นั ฉากหลงั จึงนับวามคี วามสําคญั และสามารถชวยในการตกแตงภายในไดอยางดี
เกรด็ ความรู
การสรา งบา นควรทจี่ ะมกี ารออกแบบตกแตง ภายในไปพรอ มกนั ดว ย เพื่อเปน ความลงตวั ในการ
ออกแบบกอ สรางและการวางสายไฟฟา ทอ นํ้าภายในระหวา งกอสราง หากผูรับเหมากอ สรา งและ
ตกแตงภายในเปน ผเู ดยี วกัน การประสานงานในสวนนี้จะเปน ไปอยางราบร่ืน ทําใหง านเสรจ็ ไดร วดเรว็
ขึน้ อกี ทง้ั การกอ สรางบา นและตกแตงภายในไปพรอมกนั ยงั สามารถชวยประหยัดงบประมาณในการ
สรางบานใหนอยลงอีกดว ย
41
กิจกรรม
จากแบบรา งแปลนหอ งนอนดา นลาง ใหผูเรยี นออกแบบจดั วางเครอื่ งเรอื นใหถ ูกตองตาม
หลกั การออกแบบที่ไดศ กึ ษามา โดยใหร า งผงั เคร่อื งเรอื นจดั วางลงในผังแปลนนจ้ี ากนัน้ นํามา
แลกเปล่ียนและวจิ ารณก ันในกลุมเรยี น
42
เรอื่ งที่ 7 คณุ คาของทศั นศลิ ปพ ื้นบาน
วฒั นธรรม โดยท่วั ไปหมายถึง รปู แบบของกิจกรรมมนษุ ยและโครงสรางเชิงสัญลักษณท่ีทําให
กิจกรรมนั้นเดนชดั และมคี วามสาํ คญั วถิ ีการดาํ เนินชวี ิต ซ่ึงเปนพฤติกรรมและส่ิงท่ีคนในหมูผลิตสราง
ขน้ึ ดวยการเรียนรูจากกนั และกนั และรว มใชอ ยูใ นหมูพ วกของตน วฒั นธรรมท่เี ปนนามธรรม หมายถงึ
ส่ิงที่ไมใชวัตถุ ไมสามารถมองเห็น หรือจับตองได เปนการแสดงออกในดาน ความคิด ประเพณี
ขนบธรรมเนยี ม แบบแผนของพฤตกิ รรมตา ง ๆ ท่ีปฏิบตั ิสืบตอกนั มา เปน ท่ยี อมรบั กันในกลุมของตนวา
เปนส่ิงที่ดีงามเหมาะสม เชน ศาสนา ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ ความรู และความสามารถ
วัฒนธรรม ประเภทนเี้ ปน สว นสําคัญท่ีทําใหเกิด วัฒนธรรมท่ีเปนรูปธรรมขึ้นได และในบางกรณีอาจ
พัฒนาจนถึงข้นั เปนอารยธรรมกไ็ ด เชน การสรางศาสนสถานในสมัยกอ น เม่ือเวลาผานไปจึงกลายเปน
โบราณสถาน ทีม่ คี วามสําคัญทางประวตั ศิ าสตร
โบราณสถานคอื ส่ิงทไ่ี ดรับการพัฒนามาจากวฒั นธรรม
(รูปภาพจาก www.elbooky.multiphy.com)
ประเพณี เปนกิจกรรมทมี่ กี ารปฏิบตั ิสืบเน่ืองกนั มา เปนเอกลักษณและมีความสําคัญตอสังคม
เชน การแตง กาย ภาษา วฒั นธรรม ศาสนา ศลิ ปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชือ่
การทาํ บุญใสบ าตรเปนประเพณีที่ปฏิบัติสืบตอ กนั มา