43
ความสาํ คญั ของวฒั นธรรมและประเพณี
วฒั นธรรมเปน เรื่องทสี่ าํ คญั ยิ่งในความเปนชาติ ชาติใดท่ีไรเสียซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีอัน
เปนของตนเองแลว ชาตินนั้ จะคงความเปนชาติอยูไมได ชาติท่ีไรวัฒนธรรมและประเพณี แมจะเปนผู
ชนะในการสงคราม แตในทีส่ ดุ ก็จะเปนผูถูกพิชิตในดานวัฒนธรรมและประเพณี ซ่ึงนับวาเปนการถูก
พิชติ อยา งราบคาบและสนิ้ เชิง ทั้งน้เี พราะผทู ถี่ ูกพิชติ ในทางวฒั นธรรมและประเพณีนั้นจะไมรูตัวเลยวา
ตนไดถูกพิชติ เชน พวกตาดทีพ่ ชิ ิตจนี ได และต้งั ราชวงศห งวนขน้ึ ปกครองจนี แตในที่สุดถูกชาวจีนซึ่ง
มวี ัฒนธรรมและประเพณสี ูงกวากลืนจนเปน ชาวจีนไปหมดสิ้น ดังนั้นจึงพอสรุปไดวา วัฒนธรรมและ
ประเพณมี ีความสําคัญดังน้ี
1. วัฒนธรรมและประเพณีเปนส่ิงที่ช้ีแสดงใหเห็นความแตกตางของบุคคล กลุมคน หรือ
ชมุ ชน
2. เปน สงิ่ ทท่ี ําใหเหน็ วา ตนมีความแตกตา งจากสตั ว
3. ชว ยใหเ ราเขา ใจสิง่ ตาง ๆ ทเี่ รามองเห็น การแปลความหมายของส่ิงท่ีเรามองเห็นนั้นข้ึนอยู
กับวัฒนธรรมและประเพณีของกลุมชน ซ่ึงเกิดจากการเรียนรูและถายทอดวัฒนธรรม เชน คนไทย
มองเหน็ ดวงจนั ทรวามกี ระตายอยใู นดวงจันทร ชาวออสเตรเลียเหน็ เปนตาแมวใหญก ําลงั มองหาเหย่อื
4. วัฒนธรรมและประเพณเี ปน ตัวกาํ หนดปจจยั 4 เชน เครอ่ื งนงุ หม อาหาร ทอี่ ยอู าศยั การรกั ษา
โรค ท่ีแตกตางกนั ไปตามแตล ะวัฒนธรรม เชนพืน้ ฐานการแตง กายของประชาชนแตละชาติ อาหารการ
กิน ลักษณะบานเรอื น ความเชือ่ ในยารกั ษาโรคหรอื ความเชอ่ื ในส่ิงลลี้ บั ของแตล ะ ชนชาติ เปน ตน
5. วัฒนธรรมและประเพณีเปนตัวกําหนดการแสดงความรูสึกทางอารมณ และการควบคุม
อารมณ เชน ผูชายไทยจะไมปลอ ยใหนา้ํ ตาไหลตอ หนาสาธารณะชนเมอื่ เสยี ใจ
6. เปน ตวั กําหนดการกระทําบางอยา งในชุมชนวาเหมาะสมหรือไม ซ่ึงการกระทําบางอยางใน
สงั คมหน่ึงเปนทีย่ อมรบั วาเหมาะสมแตไมเปน ทยี่ อมรบั ในอกี สังคมหน่งึ เชนคนตะวนั ตกจะจบั มือหรือ
โอบกอดกันเพ่ือทักทายกันท้ังชายและหญิง คนไทยใชการยกมือบรรจบกันและกลาวสวัสดีไมนิยม
สัมผัสมือโดยเฉพาะกับคนท่ีมีอาวุโสกวา คนญ่ีปุนใชโคงคํานับ ชาวเผาเมารีในประเทศนิวซีแลนด
ทักทายดวยการ แลบล้นิ ออกมายาว ๆ เปน ตน
จะเหน็ ไดวา ผูสรา งวัฒนธรรมและประเพณีคือมนุษย สังคมเกิดขึ้นก็เพราะ มนุษย วัฒนธรรม
ประเพณี กับสังคมจึงเปนสิ่งคูกัน โดยแตละสังคมยอมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมีขนาดใหญหรือมี
ความซับซอน มากเพียงใด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและประเพณีมักจะมีมากข้ึนเพียงใดนั้น
วัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ ของแตละสังคมอาจเหมือนหรือตางกันสืบเนื่องมาจากความแตกตาง
ทางดา นความเชื่อ เชอ้ื ชาติ ศาสนาและถนิ่ ทีอ่ ยู เปนตน
44
ลักษณะของวัฒนธรรมและประเพณี
เพ่อื ทจี่ ะใหเขาใจถึงความหมายของคําวา "วัฒนธรรม" ไดอยางลึกซึ้ง จึงขออธิบายถึงลักษณะ
ของวัฒนธรรม ซึง่ อาจแยกอธิบายไดดังตอ ไปน้ี
1. วฒั นธรรมเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรยี นรู มนุษยแตกตางจากสัตว ตรงที่มีการรูจักคิด มี
การเรยี นรู จดั ระเบยี บชีวติ ใหเจรญิ อยูดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รูจักแกไขปญหา ซึ่งแตกตางไป
จากสตั วทเี่ กิดการเรียนรโู ดยอาศยั ความจําเทานัน้
2. วัฒนธรรมเปน มรดกของสงั คม เนอ่ื งจากมีการถายทอดการเรียนรู จากคนรุนหน่ึงไปสูคน
รนุ หน่ึง ทัง้ โดยทางตรงและโดยทางออ ม โดยไมข าดชว งระยะเวลา และมนุษยใชภาษาในการถายทอด
วัฒนธรรม ภาษาจึงเปนสญั ลักษณท ใี่ ชถ ายทอดวฒั นธรรมนนั่ เอง
3. วัฒนธรรมเปนวิถชี วี ิต หรอื เปน แบบแผนของการดาํ เนนิ ชวี ติ ของมนุษย มนษุ ยเ กดิ ในสงั คม
ใดก็จะเรียนรูและซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมท่ีตนเองอาศัยอยู ดังน้ันวัฒนธรรมในแตละสังคมจึง
แตกตางกัน
4. วัฒนธรรมเปน ส่ิงท่ีไมคงที่ มนุษยมีการคิดคนประดิษฐส่ิงใหม ๆ และปรับปรุงของเดิมให
เหมาะสมกับสถานการณท่ีเปลี่ยนแปลงไป เพ่ือความเหมาะสมและความอยูรอดของสังคม เชน
สังคมไทยสมยั กอ นผหู ญงิ จะทาํ งานบา น ผูช ายทาํ งานนอกบา นเพ่ือหาเลย้ี งครอบครัว แตปจจุบันสภาพ
สังคมเปลี่ยนแปลงไป ทําใหผูหญิงตองออกไปทํางานนอกบาน เพ่ือหารายไดมาจุนเจือครอบครัว
บทบาทของผหู ญิงในสังคมไทยจึงเปลยี่ นแปลงไป
ประเพณีไทย น้นั เปนประเพณที ่ีไดอ ิทธิพลอยางสูงจากศาสนาพุทธ แตอิทธิพลจากศาสนาอ่ืน
เชน ศาสนาพราหมณและการอพยพของชาวตางชาติ เชน คนจีนก็มีอิทธิพลของประเพณีไทยดวย
เชนกนั
ประเพณีไทย อันดีงามที่สืบทอดตอกันมานั้น ลวนแตกตางกันไปตามความเชื่อ ความผูกพัน
ของผูค นตอพทุ ธศาสนา และการดาํ รงชีวิตทส่ี อดประสานกบั ฤดูกาลและธรรมชาติอยางชาญฉลาดของ
ชาวบานในแตละทอ งถ่ิน ทวั่ แผน ดินไทย เชน
ภาคเหนอื ประเพณีบวชลกู แกว ของคนไตหรอื ชาวไทยใหญทีจ่ งั หวัดแมฮองสอน
ภาคอสี าน ประเพณีบญุ บง้ั ไฟของชาวจังหวัดยโสธร
ภาคกลาง ประเพณที ําขวัญขาวจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
ภาคใต ประเพณีแหผาขึน้ ธาตขุ องชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประเพณี และอารยธรรมไทยยังนํามาซ่ึงการทองเท่ียว เปนที่รูจักและประทับใจแกชาติอื่น
นบั เปนมรดกอันลํา้ คา ท่เี ราคนไทยควรอนุรักษแ ละสืบสานใหยิ่งใหญต ลอดไป
45
เกรด็ ความรู
เทศกาลคอื อะไร.................
เทศกาลคือชวงเวลาที่กาํ หนดไวเ พ่ือจดั งานบญุ และงานรนื่ เรงิ ในทองถิ่นเปนการเนนไปทกี่ ารกาํ หนดวัน
เวลา และโอกาสที่สงั คมแตล ะแหงจะจัดกจิ กรรมเพอ่ื เฉลิมฉลองโดยมีฤดูกาลและความเชื่อเปน ปจ จยั
สาํ คญั ท่ีทําใหเกดิ เทศกาลและงานประเพณี
46
โบราณสถานและวตั ถุ
โบราณสถาน หมายถึง สถานที่ท่ีเปนของโบราณ เชน อาคารสถานที่ที่มีมาแตโบราณ แหลง
โบราณคดี เชน เมืองโบราณ วังโบราณ คุมเกา เจดีย ฯลฯ แทบทุกจังหวัดในเมืองไทยมีแหลงโบราณ
สถานที่นาศึกษานาเรียนรูเพื่อสืบทอดความภาคภูมิใจในภูมิปญญาและความสามารถของบรรพบุรุษ
เชน เวยี งกุมกามท่ีเชียงใหม แหลง โบราณสถานทบ่ี านเชียง พระนครครี ที จี่ ังหวดั เพชรบุรี พระเจดียยุทธ
หัตถี พระเจดียท่ีสรางข้ึนเพ่ือเปนอนุสรณแหงกิจกรรมท่ีสําคัญตาง ๆ พระราชวังและพระตําหนัก
โบราณ ฯลฯ
เมอื งเกาจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา จัดเปน โบราณสถานท่ีสาํ คัญของไทย
ในโบราณสถานแตละแหงอาจมีโบราณวัตถุท่มี ีคณุ คา เชน เคร่ืองใชต า ง ๆ เคร่อื งถวยชาม อาวธุ
เครอ่ื งสกั การบชู า ฯลฯ ในทอ งท่ีตา ง ๆ อาจมีส่งิ ที่เปน โบราณวัตถุ เชน เรือโบราณ บา นโบราณ รูปสลัก
หรอื งานศลิ ปกรรมทม่ี ีมาแตโบราณ หรืองานท่ีศิลปน แตโบราณไดสรา งสรรคไ ว เครือ่ งใชท ีเ่ คยใชม าแต
โบราณบางอยางกลายเปน สิง่ ทล่ี าสมยั ในปจจุบนั กอ็ าจจดั เปน โบราณวตั ถทุ ่ีมคี า เชน หนิ บดยา เครื่องใช
ในการอยูไฟของแมลูกออน เคร่ืองสีขาวแบบโบราณ จับปง กําไล ปนปกจุก อุปกรณท่ีใชในการ
ประกอบอาชีพแตโ บราณ ฯลฯ
โบราณวัตถุ หมายถงึ สงั หาริมทรัพย (ทรัพยท ไี่ มย ดึ ตดิ กบั ท่ีดนิ ) ที่เปน ของโบราณ ไมวาจะเปน
สง่ิ ประดิษฐห รอื เปนสง่ิ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ หรอื เปนสวนหนึ่งสวนใดของโบราณสถาน ซากมนุษย
หรือซากสัตว ซ่ึงโดยอายุหรือโดยลักษณะแหงการประดิษฐ หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของ
สังหาริมทรพั ยน น้ั เปน ประโยชนในทางศิลปะ ประวตั ิศาสตร หรือโบราณคดี
47
โบราณวตั ถุทบ่ี านบาตง อยทู ี่บานบาตง ตําบลบาตง อําเภอรือเสาะ จังหวดั นราธวิ าส
ประโยชนของโบราณสถานและโบราณวัตถุ สรุปไดด งั นี้
1. แสดงความเปน มาของประเทศ
ประเทศทีม่ ปี ระวัตศิ าสตรยาวนานกย็ อ มตองมโี บราณสถานและโบราณวัตถุที่มีอายุเกาแก
เชนกนั ดังนนั้ โบราณสถานและโบราณวัตถุจึงเปรียบเหมอื นหลักฐานแสดงความเปนมา ของชาติ
2. เปน เกียรติและความภาคภมู ิใจของคนในชาติ โบราณสถานและโบราณวตั ถุแสดงใหเห็นถึง
การพัฒนาท้ังดานสังคม สติปญญา และคุณภาพชีวิตของคนในอดีตของชาติ ดังนั้นชาติที่มี
โบราณสถานและโบราณวตั ถุมากและเกาแกคนในชาตยิ อ มมคี วามภูมิใจในการวิวัฒนาการดาน ตาง ๆ
ของชนชาตขิ องตน
3. เปนสิ่งที่โยงเหตุการณในอดีตและปจจุบันเขาดวยกัน โบราณสถานและโบราณวัตถุเปน
เหมอื นหลักฐานทีผ่ านกาลเวลามา ทําใหค นในยคุ ปจจุบันสามารถไดรบั รูถ ึงอดตี ของชนชาติ ของตน
และสามารถนํามาปรับปรุง พัฒนา หรือแกไขขอบกพรองในเหตุการณปจจุบันหรือเลียนแบบและ
พฒั นาในสง่ิ ทด่ี ีงามตอไปได
4. เปนสิ่งที่ใชอ บรมจติ ใจของคนในชาติได โบราณสถานและบางแหงเปน สถานทท่ี ี่บอกถงึ การ
เสยี สละของบรรพบุรษุ บางแหง เปนที่เตอื นสตคิ นในชาติ และบางแหง ถอื วา เปนสถานทศี่ ักดสิ์ ทิ ธิ
โบราณสถานและโบราณวัตถุไมใชทรัพยากรธรรมชาติซ่ึงเกิดข้ึนไดเอง แตเปนทรัพยากร
วัฒนธรรมประเภทหนึง่ ทม่ี นุษยใชสติปญ ญาและความรูค วามสามารถสรางขึ้นในสมัยโบราณ สถานที่
และสิ่งของเหลาน้ันเมื่อตกทอดเปนมรดกมาถึงคนรุนเรา ก็กลายเปนโบราณสถานและ
โบราณวัตถุ เชน เดยี วกบั อาคารและวตั ถทุ ่เี ราสรา งข้นึ สมัยน้ี กจ็ ะเปนโบราณสถานและโบราณวัตถุของ
คนในอนาคตสืบตอไปแบบน้ีไมขาดตอน ฉะน้ันโบราณสถานและโบราณวัตถุจึงเปนหลักฐาน
ประวัติศาสตรประเภทหน่ึงที่บอกความเปนมาของบรรพบุรุษที่อยูในสังคมระดับตาง ๆ ต้ังแตกลุม
ชนขนาดเล็ก จนถึงหมบู านเมือง และประเทศชาติ ตอเน่อื งมาจนถงึ สมยั เรา ดังน้ันเราทุกคนควรรวมมือ
รว มใจดูแลโบราณสถานและโบราณวตั ถุ ไมท ําลาย ไมท าํ รายแกะ ขูดขีด ขุดเจาะโบราณสถาน และ
48
ไมเก็บซื้อขาย หรือแปลงแปรรูปโบราณวัตถุ และขอใหจําไววา “การอนุรักษโบราณสถานและ
โบราณวัตถเุ ปนหนาท่ขี องทุกคน”
เกรด็ ความรู
โบราณสถานของไทยทไี่ ดข ึ้นทะเบียนมรดกโลกแลวมถี งึ 3 แหง คอื
1.อทุ ยานประวตั ศิ าสตรส ุโขทยั และเมอื งบรวิ าร (ศรีสชั นาลัย กําแพงเพชร) ผังเมอื งสุโขทยั มี
ลักษณะเปน รูปสเี่ หล่ียมผืนผา มีความยาวประมาณ 2 กโิ ลเมตร กวา งประมาณ 1.6 กโิ ลเมตร ภายในยงั
เหลอื รอ งรอยพระราชวงั และวัดอีก 26 แหง วดั ทใ่ี หญทสี่ ดุ คอื วดั มหาธาตุ
2.อทุ ยานประวตั ิศาสตรพระนครศรีอยธุ ยา
กรุงศรีอยุธยา เปน เมืองหลวงของชนชาติไทยในอดตี ตง้ั แต พ.ศ. 1893-2310 เปนอาณาจกั รซงึ่ มคี วาม
เจรญิ รงุ เรืองจนอาจถือไดวาเปน อาณาจกั รทร่ี งุ เรืองม่งั คงั่ ทสี่ ดุ ในภมู ภิ าคสุวรรณภูมจิ ากการสํารวจพบวา
มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยูไมตํ่ากวา 200 แหง
3.แหลงโบราณคดบี า นเชยี ง จังหวดั อุดรธานีเปน แหลงโบราณคดสี ําคญั แหงหนง่ึ ทท่ี าํ ใหร ับรู
ถงึ การดาํ รงชีวติ ในสมัยกอนประวัตศิ าสตรย อนหลงั ไปกวา 5,000 ป รองรอยของมนุษยใ นประเทศไทย
สมัยดงั กลา วแสดงใหเห็นถึงวฒั นธรรมทม่ี พี ฒั นาการแลว ในหลาย ๆ ดา น วัฒนธรรมบา นเชียงได
ครอบคลมุ ถงึ แหลง โบราณคดใี นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อีกกวา รอ ยแหง ซึง่ เปนบรเิ วณพนื้ ท่ีท่มี มี นุษย
อยอู าศยั หนาแนน มาตงั้ แตห ลายพันปแลว
49
กิจกรรม
1. ใหผูเรยี นเขยี นเรยี งความส้ัน ๆ ท่เี กย่ี วกับวฒั นธรรม ประเพณี หรอื เทศกาลทส่ี าํ คัญของ
จงั หวดั ของผูเรยี น จากนัน้ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ กนั ในชน้ั เรียน
2. ใหผ เู รียนรวมกลุมกนั เพือ่ ไปชมโบราณสถาน หรอื พพิ ิธภณั ฑ ในทองถิ่น จากนน้ั ให
แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ กนั ในชัน้ เรียน
3. จากทีเ่ รียนมาในบทนี้ ใหผูเรียนตอบคําถามตอ ไปน้ี
3.1 ความสําคญั ของวัฒนธรรมและประเพณี
3.2 ผูเ รียนจะสามารถอนรุ กั ษโบราณสถานและโบราณวัตถุไดอ ยางไร
50
บทที่ 2
ดนตรีพ้นื บา น
สาระสาํ คญั
รูเขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณคาความงาม ทางดนตรีพ้ืนบาน และสามารถ
วเิ คราะหว ิพากษ วจิ ารณไ ดอยา งเหมาะสม
ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง
มีความรู ความเขาใจ ในพ้ืนฐานของดนตรีพ้ืนบาน สามารถอธิบาย สรางสรรค อนุรักษ
วเิ คราะห วิพากษ วจิ ารณเก่ียวกับความไพเราะของดนตรพี ้นื บา น ไดอ ยา งเหมาะสม
ขอบขายเนื้อหา
เรือ่ งท่ี 1 ลักษณะของดนตรพี ้ืนบาน
เร่อื งท่ี 2 ดนตรพี ้นื บานของไทย
เรือ่ งที่ 3 ภูมิปญญาทางดนตรี
เรอ่ื งท่ี 4 คณุ คาของเพลงพ้ืนบาน
เร่ืองท่ี 5 พัฒนาการของเพลงพนื้ บาน
เรื่องท่ี 6 คุณคาและการอนรุ ักษเพลงพน้ื บาน
51
เรอ่ื งที่ 1 ลักษณะของดนตรีพน้ื บาน
ลักษณะของดนตรีพ้ืนบาน คือ ดนตรีที่มีมาต้ังแตด้ังเดิมในกลุมสังคมทุกกลุมทั่วโลก เพลง
พน้ื บา นมกั จะเปน เพลงท่มี ีการรอ งประกอบกนั สวนมาก จงึ เรียกกันอีกชื่อหน่ึงวา “เพลงพ้ืนบาน” หรือ
Folk song โดยปกตดิ นตรีพ้ืนบา นมกั จะมลี ักษณะดังน้ี
1. บทเพลงตา ง ๆ ตลอดจนวธิ ีเลน วิธรี อ ง มกั จะไดรับการถายทอดโดยการส่ังสอนกัน ตอ ๆ
มาดวยวาจา และการเลนหรือการรองใหฟง การบันทึกเปนโนตเพลงไมใชลักษณะดั้งเดิมของดนตรี
พ้ืนบาน อยางไรก็ตามในปจจุบันไดมีการถายทอดดนตรีพ้ืนบานโดยการใชโนตดนตรีกันบางแลว
ตัวอยา งเพลงพนื้ บานของไทยท่ถี ายทอดกันมา เชน เพลงเรือ เพลงลําตัด จะเห็นไดวาเพลงเหลานี้มีการ
รอ งเลนกันมาแตโบราณไมม ีการบันทกึ เปน ตัวโนตและสอนกันใหร องจากตวั โนตแตอยา งใด
2. เพลงพ้นื บา นมกั เปนบทเพลงทีใ่ ชในการประกอบกิจกรรมตาง ๆ มิใชแตงขึ้นมาเพื่อใหฟง
เฉยๆ หรอื เพ่ือใหร สู ึกถงึ ศิลปะของดนตรีเปน สําคัญ จะเห็นไดวา เพลงกลอมเด็กมขี น้ึ มาเพราะตองการใช
รองกลอมเด็กใหนอน เพลงเก่ียวขาวใหรองเลนในเทศกาลเก่ียวขาว เนื่องจากเสร็จภารกิจสําคัญแลว
ชาวนาจึงตอ งการเลนสนุกสนานกนั หรอื เพลงเรือใชประกอบการเลน เรอื หนานาํ้ หลาก เปน ตน
3. รปู แบบของเพลงพน้ื บา นไมซ ับซอน มกั มีทํานองหลัก 2 – 3 ทาํ นองรองเลนกันไป โดยการ
เปล่ียนเน้ือรอง จังหวะประกอบเพลงมักจะซา้ํ ซากไปเรือ่ ย ๆ อาจจะกลาวไดว า ดนตรีหรือเพลงพื้นบาน
เนน ทเี่ นอ้ื รอง หรอื การละเลนประกอบดนตรี เชน การฟอนรําหรือการเตนรํา
4. ลกั ษณะของทํานองและจงั หวะเปนไปตามลักษณะของกิจกรรม หรือการละเลน เชนเพลง
กลอ มเด็กจะมีทาํ นองเย็น ๆ เร่ือย ๆ จังหวะชา ๆ เพราะจุดมุงหมายของเพลงกลอมเด็กตองการใหเด็ก
ผอนคลายและหลับกันในท่ีสุด ตรงกันขามกับเพลงรําวงจะมีทํานองและจังหวะสนุกสนานเร็วเราใจ
เพราะตองการใหทุกคนออกมารายรําเพอ่ื ความครึกครื้น
5. ลีลาการรองเพลงพื้นบานมักเปนไปตามธรรมชาติ การรองไมไดเนนในดานคุณภาพของ
เสียงสักเทา ใด ลลี าการรอ งไมไดใชเทคนิคเทาใดนัก โดยปกติเสียงที่ใชในการรองเพลงพื้นบานไมวา
ชาตใิ ดภาษาใด มักจะเปนเสียงที่ออกมาจากลาํ คอมไิ ดเ ปน เสยี งทีอ่ อกมาจากทองหรือศีรษะ ซึ่งเปนลีลา
การรอ งเพลงของพวกเพลงศิลปะ
6. เคร่ืองดนตรที ี่ใชบรรเลงพ้นื บา นมีลกั ษณะเฉพาะเปนของทอ งถ่นิ น้นั ๆ เปนสว นใหญ ซ่ึงส่ิง
นี้เปนเครื่องหมายหรือสัญลักษณที่ทําใหเราไดทราบวา ดนตรีพื้นบานที่ไดยินไดชมเปนดนตรีของ
ทอ งถน่ิ ใด หรือของชนเผาใด ภาษาใด ตัวอยางเชนดนตรีพ้ืนบานของชาวอีสานมักจะมีแคน โปงลาง
ทางภาคเหนือจะมีซึง สะลอ เปน ตน
เพลงพนื้ บานจะพบไดใ นทุกประเทศทวั่ โลก เปนเพลงที่มีผูศึกษาเก็บรวบรวมไว เนื่องจากเปน
วัฒนธรรมหนง่ึ ของชาติ เชน ประเทศฮังการี นักดนตรีศึกษา คือโคดายและบารตอด ไดรวบรวมเพลง
52
พืน้ บานของชาวฮงั การเี อาไว และนํามาใชสอนอนุชนรุนหลัง นอกจากน้ียังมีผูประพันธเพลงหลายคน
นําเอาทํานองเพลงพ้นื เมอื งมาทาํ เปน ทาํ นองหลกั ของเพลงทีต่ นประพนั ธ เชน บารตอด, ดโวชาด
ดนตรีมหี ลายประเภท บางประเภทไมตองการความรูความเขาใจมากนักก็สามารถเขาถึงและ
สนกุ สนานไปกบั ดนตรีได แตม ดี นตรบี างประเภททมี่ ีเน้อื หาสาระลกึ ซงึ้ ซึ่งผูท่ีจะเขาถึงตองศึกษาอยาง
จริงจัง ดนตรีประเภทนี้ไดแก ดนตรีศิลปะซ่ึงไดแก ดนตรีตะวันตกหรือดนตรีคลาสสิก และดนตรี
ประจําชาติตาง ๆ เน่ืองจากดนตรีประเภทนี้มีเนื้อหา ทฤษฎีตลอดจนการบรรเลง การรองการเลนที่
ละเอียดลึกซ้ึง ผูท่ีตองการเขาถึงหรือซาบซึ้งดนตรีประเภทน้ีจึงตองฟงดนตรีประเภทนี้อยางเขาใจ
การศกึ ษารายละเอยี ดตา ง ๆ ของดนตรี ไมว า จะเปนองคประกอบดนตรี ประวัติดนตรี หรือรูปลักษณะ
ของเพลงท่จี ะฟง จะทาํ ใหผูนน้ั มรี ากฐานการฟง เพลงนน้ั ๆ ดีขนึ้ อยา งไรก็ตามการศึกษาอยางเดียวเปน
การไมพ อเพียง ผูท่ีจะซาบซ้ึงในดนตรีประเภทนี้ได ควรฟงเพลงประเภทน้ีดวยเสมอ ความซาบซ้ึงใน
ดนตรีเปน สงิ่ ที่สอนใหเ กดิ ขึ้นไมได เพราะเปนความรูสึกท่ีเกิดข้ึนในจิตใจของแตละคน การสอนเปน
เพยี งการแนะแนว
ในการฟง เพลง โดยมกี ารศึกษาเน้ือหาสาระดนตรีไปดวยเพ่ือใหผูนั้นเกิดความรูสึกเม่ือไดฟง
เพลงโดยตัวของตวั เอง ดังนัน้ ความซาบซ้ึงในดนตรีจึงเปนเร่ืองของแตละบุคคลที่จะเรียนรูและพัฒนา
ไปดว ย
ดนตรีพื้นบานเปน เสยี งดนตรีทีถ่ า ยทอดกันมาดวยวาจา ซึ่งเรียนรูผานการฟงมากกวาการอาน
และเปนสงิ่ ทพ่ี ูดตอ กันมาแบบปากตอปาก โดยไมมีการจดบันทกึ ไวเปน ลายลกั ษณอกั ษรจึงเปนลักษณะ
การสืบทอดทางวัฒนธรรมของชาวบานต้ังแตอดีตเรื่อยมาจนถึงปจจุบันซึ่งเปนกิจกรรมการดนตรีเพื่อ
ผอ นคลายความตงึ เครยี ดจากการทาํ งานและชวยสรา งสรรคค วามรนื่ เรงิ บันเทงิ เปน หมคู ณะและชาวบา น
ในทอ งถน่ิ น้ัน ซ่ึงจะทําใหเ กิดความรักสามคั คีกนั ในทองถ่นิ และปฏบิ ัตสิ ืบทอดตอมายังรุนลูกรุนหลาน
จนกลายมาเปน เอกลกั ษณทางพื้นบานของทอ งถ่นิ นน้ั ๆ สืบตอไป
53
เร่อื งที่ 2 ดนตรพี ื้นบา นของไทย
ดนตรีพ้ืนบานของไทย สามารถแบง ออกตามภมู ภิ าคตา ง ๆ ของไทยดังนี้
1. ดนตรีพืน้ บานภาคกลาง ประกอบดว ยเครือ่ งดนตรปี ระเภท ดีด สี ตี เปา โดยเครอ่ื งดีด ไดแ ก
จะเขและจองหนอง เครื่องสีไดแก ซอดวงและซออู เคร่ืองตีไดแก ระนาดเอก ระนาดทุม ระนาดทอง
ระนาดทมุ เล็ก ฆอง โหมง ฉิง่ ฉาบและกรับ เครือ่ งเปาไดแก ขลุยและป ลักษณะเดนของดนตรีพ้ืนบาน
ภาคกลาง คอื วงปพาทยของภาคกลางจะมีการพัฒนาในลักษณะผสมผสานกับดนตรีหลวง โดยมีการ
พัฒนาจากดนตรปี และกลองเปนหลกั มาเปน ระนาดและฆองวงพรอ มทง้ั เพม่ิ เครอ่ื งดนตรี มากข้นึ จนเปน
วงดนตรีทีม่ ขี นาดใหญ รวมท้ังยงั มีการขับรองทค่ี ลา ยคลงึ กบั ปพ าทยของหลวง ซึง่ เปนผลมาจากการถา ย
โอนโยงทางวฒั นธรรมระหวางวัฒนธรรมราษฎรและหลวง
เครือ่ งดนตรีภาคกลาง
ซอสามสาย
ซอสามสาย เปนซอ ที่มีรูปรางงดงามท่ีสุด ซ่ึงมีใชในวงดนตรีไทยมาต้ังแตสมัยกรุงสุโขทัย
(พ.ศ. 1350) แลว ซอสามสายข้ึนเสียงระหวางสายเปนคูสี่ใชบรรเลงในพระราชพิธี อันเนื่องดวยองค
พระมหากษตั ริย ภายหลงั จงึ บรรเลงประสมเปน วงมโหรี
ซอดวง
ซอดว ง เปนเครอ่ื งสายชนิดหน่ึง บรรเลงโดยการใชคันชักสี กลองเสียง ทําดวยไมเนื้อแข็ง ขึง
หนาดวยหนังงู มีชอง เสียงอยูดานตรงขาม คันทวนทําดวยไมเนื้อแข็ง ยาวประมาณ 60 เซนติเมตร มี
54
ลูกบิดข้นึ สาย อยตู อนบน ซอดว งใชส ายไหมฟนหรือสายเอ็น มี 2 สาย ขนาดตางกัน คันชักอยูระหวาง
สาย ยาวประมาณ 50 เซนตเิ มตร ซอดวงมเี สยี งแหลม ใช เปนเคร่อื งดนตรหี ลกั ในวงเครอ่ื งสาย
ซออู
ซออู เปนเครอ่ื งสายใชส ี กลองเสียงทาํ ดว ยกะโหลกมะพราว ขน้ึ หนาดวยหนงั วัว มีชองเสียงอยู
ดา นตรงขาม คนั ทวนทําดวยไมเ นื้อแข็ง ตอนบนมลี กู บิดสําหรับขึงสาย สายซอทําดวยไหมฟน มีคันชัก
อยรู ะหวา งสาย ความยาวของคันซอ ประมาณ 60 เซนติเมตร คันชักประมาณ 50 เซนติเมตร ซออูมีเสียง
ทมุ ต่าํ บรรเลงคแู ละสอดสลบั กบั ซอดว งในวงเครื่องสาย
จะเข
จะเข เปน เคร่ืองสาย ท่ใี ชบรรเลงดว ยการดดี โดยปกติมีขนาดความสูงประมาณ 20 เซนติเมตร
และยาว 140 เซนติเมตร ตัวจะเขท ําดว ยไมเ นือ้ ออน ขดุ เปน โพรง มสี าย 3 สาย สายที่ 1-2 ทําดวยไหมฟน
สายที่ 3 ทําดว ยทองเหลอื ง วิธกี ารบรรเลงมอื ซา ย จะทําหนา ทก่ี ดสายใหเกิดเสียง สูง - ตํ่า สวนมือขวา
จะดีดท่สี ายดว ยวัตถุที่ทําจากงาสตั ว
55
ขลุย
ขลยุ ของไทยเปนขลยุ ในตระกูลรีคอรด เดอร คอื มีที่บังคับแบงกระแสลมทําใหเกิดเสียงในตัว
ไมใชขลุยผิว ตระกูลฟลุตแบบจีน ขลุยไทยมีหลายขนาด ไดแก ขลุยอู มีเสียงตํ่าที่สุด ระดับกลาง คือ
ขลุย เพยี งออ เสยี งสูง ไดแก ขลยุ หลีบ และยังท่มี ี เสยี งสูงกวาน้คี อื ขลุยกรวดหรอื ขลยุ หลบี กรวด อีกดว ย
ขลยุ เปนเครื่องดนตรีในวงเครื่องสายและ วงมโหรี
ป
ป เปนเครื่องเปาที่มีล้ิน ทําดวยใบตาล เปนเคร่ืองกําเนิดเสียง เปนประเภทล้ินคู (หรือ 4 ล้ิน)
เชนเดยี วกบั โอโบ ( Oboe) มหี ลายชนิดคือ ปน อก ปใน ปก ลาง ปม อญ ปไทยท่เี ดน ทส่ี ดุ คอื ปใ นตระกูล
ปใน ซึง่ มีรปู ด เปดบงั คบั ลม เพียง 6 รู แตสามารถบรรเลงไดถึง 22 เสียง และสามารถเปาเลียนเสียงคน
พดู ไดช ดั เจนอกี ดวย
56
ระนาดเอก
ระนาดเอก เปนระนาดเสยี งแหลมสงู ประกอบดวยลกู ระนาดทที่ าํ ดว ยไมไ ผบ งหรือไม เน้ือแข็ง
เชน ไมชิงชนั 21-22 ลูก รอ ยเขา ดว ยกันเปน ผืนระนาด และแขวนหัวทา ยทง้ั 2 ไวบนกลองเสยี งทเี่ รียกวา
รางระนาด ซง่ึ มรี ปู รา งคลา ยเรอื ระนาดเอกทําหนา ที่นาํ วงดนตรีดว ยเทคนคิ การบรรเลงท่ปี ระณตี พิศดาร
มักบรรเลง 2 แบบ คือ ตีดวยไมแข็ง เรียกวา ปพาทย ไมแข็ง และตีดวยไมนวม เรียกปพาทย ไมนวม
ระนาดเอกเรียงเสียงตํ่าไปหาสูงจากซายไปขวา และเทียบเสียงโดยวิธีใชชันโรงผสมผงตะก่ัวติดไว
ดา นลา งทง้ั หัวและทา ยของลูกระนาด
ระนาดทุม
ระนาดทุม ทําดว ยไมไ ผ หรือไมเนื้อแขง็ มผี ืนละ 19 ลกู มรี ปู รา งคลา ยระนาดเอกแตเตี้ยกวาและ
กวา งกวาเลก็ นอย ระนาดทมุ ใชบ รรเลงหยอกลอกบั ระนาดเอก
57
ฆองวงใหญ
ฆองวงใหญ เปนหลักของวงปพาทย และวงมโหรี ใชบรรเลงทํานองหลัก มีลูกฆอง 16 ลูก
ประกอบดวยสวนสาํ คัญ 2 สว น คอื
ลูกฆอง : เปนสวนกําเนิดเสียงทําดวยโลหะผสม มีลักษณะคลายถวยกลม ๆ ใหญเล็กเรียง
ตามลําดบั เสยี ง ต่ําสูง ดานบนมีตุมนูนข้ึนมาใชสําหรับตี และใตตุมอุดไวดวยตะก่ัวผสมชันโรง เพื่อ
ถวงเสยี งใหส งู ต่าํ ตามตอ งการ
เรือนฆอง : ทาํ ดวยหวายขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 1 น้ิวเศษ ขดเปนวง และยึดไวดวยไม
เนอื้ แขง็ กลงึ เปน ลวดลายคลา ยลูกกรง และมไี มไ ผ เหลาเปนซี่ ๆ ค้ํายันใหฆองคงตัวเปน โครงสรางอยู
ได การผกู ลกู ฆอ งแขวนเขา กบั เรือนฆอง ผูกดวยเชือกหนังโดยใชเงอ่ื นพิเศษ
ฆองวงเลก็
ฆองวงเลก็ มีขนาดเลก็ กวา แตเ สยี งสงู กวา ฆองวงใหญม ีวิธตี เี ชนเดยี วกับฆองวงใหญ แตดําเนิน
ทาํ นองเปน ทางเกบ็ หรือทางอื่นแลว แตก รณี บรรเลงทํานองแปรจากฆอ งวงใหญ ฆองวงเล็กมี 19 ลกู
58
โทนรํามะนา
โทน : รูปรางคลายกลองยาวขนาดเล็ก ทําดวยไม หรือดินเผา ขึงดวยหนังดึงใหตึงดวยเชือก
หนังตวั กลองยาวประมาณ 34 เซนตเิ มตร ตรงกลางคอด ดานตรงขามหนากลองคลายทรงกระบอกปาก
บานแบบลําโพง ตรงเอวคอดประมาณ 12 เซนตเิ มตร ใชต คี กู ับรํามะนา
ราํ มะนา : เปนกลองทําดวยไมข ึง หนงั หนาเดียวมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 22 เซนติเมตร ใช
ในวงเคร่อื งสาย
กลองแขก
กลองแขก เปน กลองท่ีตีหนาทบั ไดทงั้ ในวงปพาทย มโหรแี ละบางกรณีวงเครอื่ งสายกไ็ ด
ตีดวย มือทงั้ 2 หนา คหู นึง่ ประกอบดวยตัวผู (เสยี งสูง) และตวั เมีย (เสียงตาํ่ )
59
กลองสองหนา
กลองสองหนา เปนช่อื ของกลองชนิดหน่ึง ซึ่งมีลักษณะเหมือนกลองลูกหนึ่งใน เปงมางคอก
ขงึ ดว ยหนงั เลียดรอบตวั ใชใ นวงปพ าทยห รอื มโหรบี างกรณี
2. ดนตรีพ้นื บานภาคเหนือ ในยุคแรกจะเปน เครื่องดนตรีประเภทดีด ไดแก ทอนไมกลวงท่ี
ใชประกอบพธิ ีกรรมในเร่ืองภูตผปี ศ าจและเจาปา เจาเขา จากนั้นไดมกี ารพฒั นาโดยนําหนังสัตวมาขึงท่ี
ปากทอนไมกลวงไวกลายเปนเครื่องดนตรีที่เรียกวากลอง ตอมามีการพัฒนารูปแบบของกลองให
แตกตางออกไป เชน กลองท่ีขึงปดดวยหนังสัตวเพียงหนาเดียว ไดแก กลองรํามะนา กลองยาว กลอง
แอว และกลองท่ีขึงดวยหนังสัตวท้ังสองหนา ไดแก กลองมองเซิง กลองสองหนา และตะโพนมอญ
นอกจากนย้ี ังมีเคร่อื งตีทีท่ าํ ดว ยโลหะ เชน ฆอง ฉง่ิ ฉาบ สว นเคร่ืองดนตรีประเภทเปา ไดแก ขลุย ยะเอ
ปแน ปม อญ ปส รุ ไน และเครอื่ งสี ไดแ ก สะลอลกู 5 สะลอลูก 4 และสะลอ 3 สาย และเคร่ืองดีด ไดแก
พิณเปยะ และซึง 3 ขนาด คือซึงนอย ซึงกลาง และซึงใหญ สําหรับลักษณะเดนของดนตรีพื้นบาน
ภาคเหนือ คือมีการนําเคร่ืองดนตรีประเภท ดีด สี ตี เปา มาผสมวงกันใหมีความสมบูรณและไพเราะ
โดยเฉพาะในดา นสาํ เนยี งและทํานองท่ีพลิ้วไหวตามบรรยากาศ ความนุมนวลออนละมุนของธรรมชาติ
นอกจากน้ียังมกี ารผสมทางวัฒนธรรมของชนเผา ตาง ๆ และยังเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมในราชสํานักทํา
ใหเกิดการถายโยง และการบรรเลงดนตรีไดทั้งในแบบราชสํานักของคุมและวัง และแบบพื้นบานมี
เอกลกั ษณเฉพาะถนิ่
60
เคร่ืองดนตรีภาคเหนอื
สะลอ
สะลอ หรือทะลอ เปน เคร่ืองสายบรรเลงดว ยการสี ใชคันชักอิสระ ตัวสะลอท่ีเปนแหลงกําเนิด
เสียงทํา ดวยกะลามะพรา ว ตดั และปดหนา ดว ยไมบ าง ๆ มชี องเสียงอยูด า นหลัง คนั สะลอทาํ ดวย ไม
สกั หรือไมเนอ้ื แขง็ อ่ืน ๆ โดยปกติจะ ยาวประมาณ 60 เซนติเมตร ลูกบิดอยูดานหนานิยม ทําเปนสอง
สาย แตที่ทําเปนสามสายก็ มีสาย เดิมใชสายไหมฟน ตอมาทําดวยลวดหรือสายเบรกจักยานซึ่ง
สันนิษฐานวา คาํ วา สะลอ มาจาก คําวาสายลอหรือสายเบรกจกั รยานในภาษาทางเหนือ และเรียกกลาย
มาเปนสะลอในทีส่ ุด สะลอมี 3 ขนาด คอื สะลอ เลก็ สะลอกลาง และสะลอใหญ 3 สาย
ซงึ
ซึง เปนเคร่อื งสายชนิดหนงึ่ ใชบรรเลงดวยการดีด ทําดวยไมสักหรือไมเน้ือแข็ง มีชองเสียงอยู
ดา นหนา กาํ หนดระดับเสยี งดว ยนมเปน ระยะ ๆ ดีด ดวยเขาสัตวบ าง ๆ มสี ายทาํ ดว ยโลหะ เชน ลวด หรือ
ทองเหลือง (เดมิ ใชสายไหมฟน) 2 สาย
61
ขลุย
เชน เดยี วกับขลุยของภาคกลาง
ป
ป เปน ปล น้ิ เดียวท่ีตัวลน้ิ ทาํ ดว ยโลหะเหมอื นล้นิ แคน ตัวปทําดวยไมซางท่ีปลายขางหน่ึงฝงล้ิน
โลหะไวเ วลาเปา ใชป ากอมลิน้ ท่ปี ลายขา งน้ี อกี ดานหนงึ่ เจาะรู บังคบั เสียงเรยี งกัน 6 รู ใชปดเปดดวยน้ิว
มอื ทั้ง 2 นวิ้ เพ่ือใหเกดิ ทาํ นองเพลง มี 3 ขนาด ไดแก ขนาดใหญเ รยี ก ปแ ม ขนาดรองลงมาเรียก ปกลาง
และขนาดเลก็ เรยี ก ปก อย นิยมบรรเลงประสมเปน วงเรียก วงจุมป หรือปจมุ หรอื บรรเลงรวมกับซึงและ
สะลอ
ปแ น
ปแ น มลี ักษณะคลา ยปไ ฉน หรือปชวา แตมีขนาดใหญกวา เปนปประเภทล้ินคูทําดวยไม เน้ือ
แข็ง มีรูบงั คบั เสียง เชนเดียวกับปใน นิยมบรรเลงในวงประกอบกับฆอง กลอง ตะหลดปด และกลอง
แอว เชน ในเวลาประกอบการฟอน เปน ตน มี 2 ขนาด ไดแก ขนาดเล็กเรียก แนนอย ขนาดใหญ เรียก
แนหลวง
62
พณิ เปย ะ
พิณเปยะ หรือ พิณเพยี ะ หรอื บางทีก็เรียกวา เพยี ะ หรอื เปย ะ กะโหลกทําดวยกะลามะพรา ว เวลา
ดดี เอากะโหลกประกบตดิ ไวกบั หนา อก ขยับเปด-ปด เพ่ือใหเกดิ เสียงกงั วานตามตอ งการ สมัยกอ นหนุม
ชาว เหนอื นิยมเลนดีดคลอการขับรองในขณะไปเก้ียวสาวตามหมูบานในยามค่ําคืน ปจจุบันมีผูเลนได
นอ ยมาก
กลองเตงถ้ิง
กลองเตงถงิ้ เปนกลองสองหนา ทําดวยไมเนื้อแข็ง เชน ไมแดง หรือไมเน้ือออน เชน ไมขนุน
หนากลองขึงดวยหนังวัว มีขาสําหรับใชวางตัวกลอง ใชประสมกับเครื่องดนตรีอ่ืน ๆ เพื่อเปนเคร่ือง
ประกอบจงั หวะ
63
ตะหลดปด
ตะหลดปด หรอื มะหลดปด เปน กลองสองหนา ขนาดยาวประมาณ 100 เซนติเมตร หนากลอง
ขึงดว ยหนงั โยงเรงเสยี งดวยเชือกหนัง หนาดา นกวา งขนาด 30 เซนตเิ มตร ดานแคบขนาด 20 เซนติเมตร
หนุ กลองทาํ ดวยไมเนือ้ แข็งหรือเนอื้ ออ น ตีดวยไมหมุ นวม มขี ้ีจา (ขา วสกุ บดผสมขี้เถา ) ถว งหนา
กลองต่ึงโนง
กลองต่ึงโนง เปนกลอง ที่มีขนาดใหญท่ีสุด ตัวกลองจะยาวมากขนาด 3-4 เมตรก็มี ใชตีเปน
อาณตั ิสัญญาณประจาํ วัด และใชในกระบวนแหก ระบวนฟอนตาง ๆ ประกอบกบั ตะหลดปด ปแน ฉาบ
ใหญ และฆองหุย ใชตีดว ยไม เวลาเขา กระบวน จะมคี นหาม
64
กลองสะบดั ชยั
กลองสะบัดชัยโบราณ เปนกลองทมี่ มี านานแลวนับหลายศตวรรษ ในสมยั กอนใช ตยี ามออกศกึ
สงคราม เพอื่ เปน สริ มิ งคล และเปนขวัญกําลงั ใจใหแกเหลาทหารหาญในการตอ สูใหไ ด ชยั ชนะ ทาํ นอง
ท่ใี ชในการตี กลองสะบัดชยั โบราณมี 3 ทาํ นอง คอื ชยั เภรี ชยั ดถิ ี และชนะมาร
3. ดนตรีพนื้ บา นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื (อสี าน) มีววิ ัฒนาการมายาวนานนับพันป เริ่มจาก
ในระยะตน มีการใชว สั ดทุ อ งถิ่นมาทาํ เลียนเสียงจากธรรมชาติ ปา เขา เสยี งลมพดั ใบไมไ หว เสียงน้ําตก
เสียงฝนตก ซ่ึงสวนใหญจะเปนเสียงส้ันไมกอง ในระยะตอมาไดใชวัสดุพ้ืนเมืองจากธรรมชาติมาเปา
เชน ใบไม ผวิ ไม ตนหญา ปลอ งไมไผ ทาํ ใหเ สยี งมีความพลิ้วยาวขน้ึ จนในระยะที่ 3 ไดน าํ หนังสัตวและ
เครอ่ื งหนังมาใชเปน วัสดเุ คร่ืองดนตรีท่ีมีความไพเราะและรูปรางสวยงามขึ้น เชน กรับ เกราะ ระนาด
ฆอ ง กลอง โปง โหวด ป พณิ โปงลาง แคน เปน ตน โดยนาํ มาผสมผสานเปน วงดนตรพี ื้นบานภาคอสี าน
ท่ีมลี กั ษณะเฉพาะตามพืน้ ที่ 3 กลุม คอื กลมุ อสี านเหนือ และอสี านกลางจะนยิ มดนตรหี มอลําทม่ี ีการเปา
แคนและดีดพณิ ประสานเสียงรว มกับการขับรอง สวนกลมุ อีสานใตจะนยิ มดนตรซี ่งึ เปน ดนตรีบรรเลงท่ี
ไพเราะของชาวอสี านใตท ่ีมเี ช้อื สายเขมร นอกจากน้ียงั มวี งพิณพาทยและวงมโหรดี ว ย ชาวบานแตละ
กลมุ ก็จะบรรเลงดนตรเี หลา น้ีกนั เพอ่ื ความสนุกสนานคร้ืนเครงใชประกอบการละเลน การแสดงและ
พิธกี รรมตาง ๆ เชน ลําผีฟาที่ใชแ คนเปา ในการรักษาโรค และงานศพแบบอีสานท่ีใชวงตุมโมงบรรเลง
นบั เปน ลกั ษณะเดน ของดนตรพี ื้นบานอีสานทแ่ี ตกตา งจากภาคอนื่ ๆ
65
เครื่องดนตรภี าคอสี าน
หืน
หนื เปนเคร่ืองดนตรกี ง่ึ ดีดก่งึ เปาอยางหนึ่งมที ้งั ทที่ าํ ดว ยไมไ ผแ ละโลหะเซาะรองตรงกลางเปน
ลน้ิ ในตวั เวลาเลน ประกบหืนเขา กบั ปาก ดดี ท่ีปลายขา งหนงึ่ ดวยน้ิวหวั แมมอื หรอื นว้ิ ช้ี อาศยั กระพงุ ปาก
เปน กลอ งเสยี ง ทําให เกิดเสียงสูงตาํ่ ตามขนาดของกระพงุ ปากทท่ี าํ สามารถดดี เปน เสียงแทค ลา ยเสยี งคน
ออกเสยี งสระ เครือ่ งดนตรีนี้มเี ลนกนั ในพวกชนเผา มเู ซอ เรียกช่อื วา เปย ะ
เคร่ืองดนตรีชนิดน้ีมิไดมีเฉพาะในประเทศไทยเทานั้น แตมีในทุกสวนของโลก เชน แถบ
มองโกเลยี ปาปว นวิ กินี อัฟรกิ า และยโุ รป นับเปน เครอ่ื งดนตรีโบราณช้นิ หนึ่งทน่ี า ศึกษาอยางยิง่
แคน
แคนเปน เครือ่ งดนตรที ีเ่ ปน ทีร่ ูจกั มากทีส่ ุดของชาวอีสานเหนือ และอสี านกลางไมรวมอีสานใต
ท่มี ีอิทธิพลเขมร แคนเปนเครอ่ื งดนตรีสมบูรณแบบท่สี ดุ ทีม่ ปี ระวัตคิ วามเปนมายอนหลังไปหลายพันป
แคนทาํ ดวยไมซ าง มลี น้ิ โลหะ เชนดีบกุ เงนิ หรือทองแดงบาง ๆ ประกอบไวในสวนที่ประกอบอยูใน
เตาแคน แคนมหี ลายขนาด เชน แคน 7 แคน 9 ขาง ๆ เตาแคน ดานบนมีรูปดเปดบังคับเสียง เวลา เปา
เปา ทเ่ี ตา แคนดา นหนา ใชม อื ท้ังสอง ประกอบจับเตาแคนในลกั ษณะเฉียงเล็กนอ ย แคนเปนเคร่ืองดนตรี
ทบี่ รรเลงไดทั้งทาํ นองเพลงประสานเสยี ง และใหจังหวะในตัวเอง จึงมีลีลาการบรรเลง ที่วิจิตรพิสดาร
มาก
66
ระบบเสียงของแคน เปนท้งั ระบบ ไดอะโทนคิ และเพนตะโทนิค มีขั้น คูเสียงท่ีเลนไดทั้งแบบ
ตะวันตก และแบบไทยรวมทง้ั คเู สียงระดบั เดียวกันอีกดว ย
โหวด
โหวด เปนเครื่องเปาชนิดหน่ึงท่ีไมมีลิ้น เกิดจากกระแสลมที่เปาผานไมรวกหรือไมเฮี้ย (ไมกู
แคน) หรอื ไมไ ผ ดานรู เปดของตัวโหวดทําดวยไมรวกขนาดเล็ก สั้น ยาว (เรียงลําดับตามความสูงตํ่า
ของเสียง) ติดอยูรอบกระบอกไมไผท่ีใชเปนแกนกลาง ติดไวดวยขี้สูด มีจํานวน 6-9 เลา ความยาว
ประมาณ 25 เซนตเิ มตร เวลาเปาจะหมุนไปรอบ ๆ ตามเสียงที่ตองการ
พณิ
เปนเครอื่ งดนตรีท่ีบรรเลงดวยการดีด มี 2-3 สาย แตขึ้นเปนสองคู โดยข้ึนคู 5 ดีดเปนทํานอง
เพลง ตัวพิณและคันทวนนิยมแกะดวยไมช้ินเดียวกัน มีนมสําหรับต้ังเสียง สายพิณนิยมทําดวยโลหะ
โดยเฉพาะสายลวดเบรคจักรยาน ที่ดีดนิยมทาํ ดว ยเขาสัตวแ บน ๆ เหลาใหบ างพอทีจ่ ะดีด สะบัดได
67
โปงลาง
โปงลางเปน เครื่องดนตรีประเภทท่บี รรเลง ทาํ นองดว ยการตีเพียงชนิดเดียวของภาคอีสาน โดย
บรรเลงรว มกนั กบั แคน พิณและเครอ่ื งประกอบจังหวะ หรอื บรรเลงเด่ียว ตวั โปงลางทาํ ดว ยทอ นไมแ ขง็
ขนาดตา ง ๆ กนั เรยี งตามลาํ ดบั เสียงรอ ยดว ยเชือกเปนลูกระนาด ปลายขางเสียงสูงผูกแขวนไวกับกิ่งไม
และ ขางเสยี งตํ่าปลอยทอดเย้ืองลงมาคลอ งไวก ับหัวแมเทาของผูบรรเลง หรือคลองกับวัสดุ ปกติ ผูเลน
โปงลางรางหนงึ่ มี 2 คน คอื คนบรรเลง ทํานองเพลงกับคนบรรเลงเสียงกระทบแบบคูประสาน ไมที่ตี
โปงลางทําดวยไมเน้ือแข็งเปนรูปคลาย คอนตีดวยมือสองขาง ขางละอัน ขนาดของโปงลางไมมี
มาตรฐานแนน อน
จะเขก ระบอื
เปนเคร่ืองดนตรีสําคัญช้ินหน่ึงในวงมโหรีเขมร เปนเครื่องดนตรีประเภทดีดในแนวนอน
มี 3 สาย สมยั กอนสายทาํ จากเสน ไหมฟน ปจ จุบนั ทําจากสายเบรคจักรยาน การบรรเลงจะใชมือซายกด
สายบนเสยี งที่ตอ งการ สว นมือขวาใชสําหรบั ดีด
68
กระจบั ป
เปน เคร่อื งดนตรปี ระเภทดดี โดยใชกระทที่ ําจากเขาสัตว กลอ งเสียงทําดว ยไมขนนุ หรอื ไมส ัก
สวนปลายสดุ มรี ู 2 รู ใชใสลกู บดิ และรอ ยสาย เมอ่ื บรรเลงจะตั้งขนานกบั ลาํ ตัว มือขวาจบั กระสาํ หรบั ดดี
มือซายกดที่สายเพื่อเปลย่ี นระดับเสยี ง
ซอกนั ตรมึ
เปน เคร่ืองสายใชสี ทําดวยไม กลองเสียงขึงดวยหนังงู มีชองเสียงอยูดานตรงขามหนาซอ ใช
สายลวดมี 2 สาย คันชกั อยูระหวางสาย คันซอยาวประมาณ 60 เซนติเมตร มลี กู บดิ อยูต อนนอกซอใชรัด
69
ดว ยเชอื ก ขนาดของซอแตกตา งกันไปตามความประสงคข องผูสราง โดยทว่ั ไปมี 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก
เรยี ก ตรัวจี้ ขนาดกลางเรยี ก ตรัวเอก ขนาดใหญเ รยี ก ตรัวธม
กลองกนั ตรมึ
เปนเครอ่ื งหนงั ชนิดหนงึ่ ทาํ ดวยไมขดุ กลวง ขงึ หนา ดานหนึง่ ดวยหนังดึงใหตึงดวยเชือก ใชดี
ประกอบจังหวะในวงกันตรึม
ปไสล หรือปไ ฉน
ใชบรรเลงในวงกันตรมึ เปน ปป ระเภทลิน้ คูเชนเดยี วกับปใ น
70
กรบั คู
กรับคู เปน กรบั ทาํ ดว ยไมเ นื้อแข็ง ลกั ษณะเหมือนกับกรับเสภาของภาคกลาง แตขนาด เล็ก
กวา ใชประกอบจงั หวะดนตรใี นวงกันตรมึ กรับคชู ดุ หนง่ึ มี 2 คู ใชข ยบั 2 มือ
4. ดนตรีพื้นบานภาคใต มีลักษณะเรียบงายมีการประดิษฐเคร่ืองดนตรีจากวัสดุใกลตัวซ่ึง
สนั นษิ ฐานวา ดนตรพี ืน้ บา นดัง้ เดิมของภาคใตนา จะมาจากพวกเงาะซาไกท่ีใชไมไผลําขนาดตาง ๆ กัน
ตัดออกมาเปนทอนสั้นบางยาวบาง แลวตัดปากของกระบอกไมไผใหตรงหรือเฉียงพรอมกับหุมดวย
ใบไมห รือกาบของตนพชื ใชต ปี ระกอบการขบั รอ งและเตนราํ จากน้นั กไ็ ดม กี ารพฒั นาเปนเครื่องดนตรี
แตร กรบั กลองชนิดตา ง ๆ เชน รํามะนา ท่ไี ดร บั อทิ ธิพลมาจากชาวมลายู กลองชาตรีหรือกลองตุกที่ใช
บรรเลงประกอบการแสดงมโนรา ซงึ่ ไดร บั อิทธพิ ลมาจากอนิ เดียตลอดจนเคร่ืองเปา เคร่ืองสี รวมทั้งความ
เจริญทางศิลปะการแสดงและดนตรขี องเมืองนครศรีธรรมราช จนไดช่ือวาละครในสมัยกรุงธนบุรีน้ัน
ลว นไดรบั อทิ ธพิ ลมาจากภาคกลาง นอกจากนี้ยงั มกี ารบรรเลงดนตรีพ้นื บานภาคใตประกอบการละเลน
แสดงตา ง ๆ เชน ดนตรีโนรา ดนตรีหนังตะลงุ ที่มเี คร่อื งดนตรีหลกั คอื กลอง โหมง ฉ่งิ และเครอ่ื งดนตรี
ประกอบผสมอนื่ ๆ ดนตรลี เิ กปาที่ใชเครือ่ งดนตรีรํามะนา โหมง ฉ่ิง กรับ ป และดนตรีรองเง็งท่ีไดรับ
แบบอยา งมาจากการเตนรําของชาวสเปนหรือโปรตุเกสมาต้ังแตสมัยอยุธยา โดยมีการบรรเลงดนตรีที่
ประกอบดว ย ไวโอลิน รํามะนา ฆอง หรอื บางคณะก็เพ่ิมกีตารเขาไปดวย ซึ่งดนตรีรองเง็งนี้เปนท่ีนิยม
ในหมชู าวไทยมุสลมิ ตามจังหวดั ชายแดน ไทย – มาเลเซีย ดงั นัน้ ลักษณะเดนของดนตรีพ้ืนบานภาคใต
จะไดรับอิทธิพลมาจากดินแดนใกลเคียงหลายเช้ือชาติ จนเกิดการผสมผสานเปนเอกลักษณเฉพาะท่ี
แตกตา งจากภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะในเร่ืองการเนนจงั หวะและลลี าท่เี รงเรา หนักแนน และคกึ คกั เปน ตน
71
เครือ่ งดนตรีภาคใต
ทับ
ทบั เปน เครือ่ งดนตรที ี่มีความสาํ คญั ในการใหจ งั หวะควบคุมการเปลีย่ นแปลงจังหวะและ เสริม
ทาราํ ของการแสดงโนราใหดีเยย่ี ม ตวั ทบั มีลกั ษณะคลา ยกลองยาว แตมีขนาดเล็กกวา มาก ยาวประมาณ
40-50 เซนติเมตร ทาํ ดว ยไมแกน ขนนุ หุม ดวยหนงั เชน หนังคา ง หนังแมว ตรึงหนัง ดวยเชือกดายและ
หวาย ทับใบหน่ึงจะมีเสียงทมุ เรยี กวา "ลกู เทงิ " สวนอีกใบหนึ่งจะมีเสียงแหลมเรียกวา "ลกู ฉับ"
กลองโนรา
กลองโนรา ใชประกอบการแสดงโนราหรือหนงั ตะลุง โดยท่ัวไปมีขนาดเสนผาศูนยกลางของ
หนากลองท้ัง 2 ดา น ประมาณ 10 นวิ้ และมสี วนสูงประมาณ 12 นว้ิ กลองโนรานิยมทําดว ยแกน ไมข นนุ
เพราะเชอื่ วา ทาํ ใหเสยี งดี หนงั ทหี่ ุมกลองใชห นังววั หรอื ควายหนมุ ถาจะให ดตี องใชหนงั ของลูกววั หรือ
ลกู ควาย มีหมุดไมหรือภาษาใตเ รยี กวา "ลกู สัก" ตอกยดึ หนังหมุ ใหต งึ มขี าทงั้ สองขาทาํ ดวยไมไผมเี ชอื ก
ตรงึ ใหต ดิ กบั กลอง และมี ไมตีขนาดพอเหมาะ 1 คู ถา เปนกลองทใี่ ชประกอบการแสดงหนังตะลุง จะมี
ขนาดเล็กกวา ขนาดเสน ผา ศูนยกลางประมาณ 6 นว้ิ และมสี วนสงู ประมาณ 9 น้ิว
72
โหมง กบั ฉิง่
โหมง เปน เครอื่ งดนตรที ม่ี สี วนสําคญั ในการขบั บท ท้งั ในดา นการใหเ สียงและใหจังหวะ เพราะ
โนราหรอื หนังตะลงุ ตอ งรองบทใหกลมกลืนกับเสียงโหมง ซ่ึงมี 2 ระดับ คือ เสียงทุมและเสียงแหลม
โดยจะยึดเสียงแหลมเปนส่ิงสําคัญ เรียกเสียงเขาโหมง สวนไมตีโหมงจะใชยางหรือ ดาย ดิบหุมพัน
เพอื่ ใหม เี สยี งนมุ เวลาตี
ฉิ่ง เคร่ืองดนตรีชนดิ นม้ี ีความสําคัญตอการขับบท ของโนราหรือหนังตะลงุ ผูท่ีตฉี ิ่งตอ งพยาม ตี
ใหล งกบั จังหวะที่ขบั บท สมัยกอ นนยิ มใชฉิง่ ขนาดใหญ มีเสนผาศนู ยกลางประมาณ 2 น้ิว สวนปจจุบนั
ใชฉ ิ่งขนาดเลก็ มเี สนผา ศูนยก ลางประมาณ 1.5 น้ิว ทาํ ดวยทองเหลอื งชนดิ หนา
ป
เครือ่ งดนตรีชนิดน้ีมีความสําคัญใน การเสริมเสียงสะกดใจผูชม ใหเกิดความรูสึกเคลิบเคลิ้ม
และทาํ ใหผูแ สดงรายรําดวยลีลา ที่ออ นชอย ตัวปท าํ ดว ยไมเนื้อแข็ง หรือใชแกนไม บางชนิด เชน ไม
กระถนิ ไมมะมวง ไมร ัก หรอื ไมมะปริง สว นจําพวกปท าํ ดวยแผน ทองแดงและลิ้นปทําดวยใบตาล ซึ่ง
นิยมใชใบของตนตาลเดีย่ วกลางทุง เพราะเชือ่ วาจะทําใหปมีเสียงไพเราะ
73
แตระพวงหรือกรบั พวง
แตระพวงหรือกรับพวง เปนเคร่ืองประกอบจังหวะทําจากไมเน้ือแข็งขนาด 0.5x 2 x 6 น้ิว
นาํ มาเจาะรหู ัวทาย รอยเชือกซอนกนั ประมาณ 10 อัน ที่แกนหลงั รอ ยแตระทาํ ดว ยโลหะ
74
เรอื่ งท่ี 3 ภมู ปิ ญญาทางดนตรี
คุณคาทางดนตรี
ดนตรีเปนผลงานสรางสรรคของมนุษยท่ีสื่อถึงอารมณความรูสึกนึกคิดที่มีตอสิ่งแวดลอม
ธรรมชาติ วิถีชีวิต จึงสะทอนใหเห็นถึงความเปนอยูลักษณะนิสัย ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนภูมิ
ปญญาของผูคนทองถน่ิ ตา ง ๆ ในยุคสมยั ตาง ๆ กัน ดงั นน้ั ดนตรีจงึ เปน หลกั ฐานทางประวัติศาสตรอยา ง
หนึ่งที่สามารถนําไปอางอิงได และนับไดวาเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณคาควรไดรับการ
บาํ รงุ รกั ษา เพ่ือคงความเปน เอกลักษณข องชาติตอไป
การท่ีดนตรีสามารถถายทอดอารมณความรูสึกตาง ๆ ตลอดจนนําไปประยุกตใช
ในชวี ติ ประจําวนั จงึ มีประโยชนแ ละชวยพัฒนาอารมณค วามรสู กึ หลายประการ
ประโยชนของดนตรี
1. ชว ยทําใหเกิดความสนกุ สนาน เพลดิ เพลิน ปลดปลอยอารมณไมใหเครียด ผอนคลายอารมณ
ได
2. ชว ยทาํ ใหจิตใจสงบ และมสี มาธิในการทํากจิ กรรมตาง ๆ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ
3. ชวยพฒั นาดา นการเรียนรู โดยนําไปบูรณาการกับวิชาอน่ื ๆ ใหเ กิดประโยชน
4. ชวยเปนสื่อกลางในการเช่ือมความสัมพันธอันดีและใชเปนกิจกรรมทํารวมกันของ
ครอบครัวหรอื เพอ่ื นฝูง เชน การรองเพลงและเตนราํ ดว ยกนั
การอนุรักษผลงานทางดนตรี
ผลงานทางดนตรีท่ีถกู สรา งข้ึนมาโดยศิลปนในยุคสมัยตาง ๆ ซ่ึงแสดงถึงภูมิปญญาของบรรพ
บุรษุ และศิลปน ทั้งหลาย และบง บอกถงึ ความมอี ารยธรรมแสดงถึงเอกลักษณป ระจาํ ชาติ จึงมีคุณคาควร
แกก ารอนุรักษและสบื ทอดพฒั นาใหค งอยู เพือ่ สรา งความภาคภมู ิใจและเปน มรดกทางวัฒนธรรมตอ ไป
การอนรุ กั ษแ ละสบื ทอดผลงานทางดนตรมี หี ลายวิธี นกั เรียนสามารถทําไดโดยวิธงี ายๆ ดังนี้
1. ศึกษาคนควาความเปนมาของวงดนตรปี ระเภทตางๆ ท่ีนาสนใจ
2. รวบรวมหรอื จดบนั ทึกเกยี่ วกบั ผลงานทางดนตรีของศิลปนที่นาสนใจ เพ่ือใชเปนขอมูลใน
การศึกษาหาความรตู อ ไป
3. ถามีโอกาสใหไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑเกี่ยวกับงานดนตรี เพ่ือดูขอมูลหรือเร่ืองราวเก่ียวกับ
ดนตรแี ละวิวฒั นาการทางดนตรี
4. เขารวมกจิ กรรมทางดนตรี เชน การแสดงดนตรี การจดั งานราํ ลึกถงึ ศิลปน
75
5. ถา มีโอกาสไดเรยี นดนตรี โดยเฉพาะดนตรีพื้นบา นควรใหค วามสนใจและตัง้ ใจเรียนเพือ่ สืบ
ทอดงานดนตรตี อ ไป
6. ใหค วามสนใจเรือ่ งราวเกีย่ วกับดนตรใี นทองถิ่นของตนเองและทอ งถน่ิ อนื่
แกน แท...เพลงพืน้ บา น
เพลงพนื้ บา นเปนงานของชาวบา นซ่งึ ถายทอดมาโดยการเลาจากปากตอปาก อาศัยฟงและการ
จดจาํ ไมมีการจดบนั ทึกเปน ลายลกั ษณอักษร ขอ ท่ีนาสังเกตก็คือ ไมวาเพลงพื้นบานจะสืบทอดมาตาม
ประเพณี ทัง้ นี้มิไดห มายความวา เพลงทกุ เพลงจะมตี น กําเนดิ โดยชาวบานหรือการรองปากเปลาเทานั้น
ชาวบานอาจไดรับเพลงบางเพลงมาจากราชสาํ นกั แตเ มอื่ ผานการถายทอดโดยการรองปากเปลา และการ
ทองจํานาน ๆ เขา กก็ ลายเปน เพลงชาวบา นไป เชนเดียวกบั กรณขี องเพลงรําโทนท่ีผูวิจัยไดทําการศึกษา
กเ็ ปน อกี ลักษณะหนง่ึ ท่ไี ดผ สมผสานระหวางทวงทํานองแบบทอ งถิ่น แตมีลีลาการดําเนินทํานองที่เปน
แบบพื้นเมือง
ลักษณะของเพลงพน้ื บา นมคี วามเรยี บงา ย
ลักษณะเดนที่สุดของเพลงพื้นบาน คือ มีความเรียบงาย ฟงแลวเขาใจทันที ถาจะมีการ
เปรยี บเทียบแฝงสญั ลักษณอ ยางไร กส็ ามารถแปลความหมายไดโ ดยไมย ากนกั เชน
“พอพ่ีคว่ํามอื ไป นอ งก็หงายมือมา...” “พี่นกึ รักแมตากลมเอย...”
ฟง กนั แคน ้ี หนมุ สาวก็เขาใจแลววาผูรองหมายถึงอยางไร ความเรียบงายในที่น้ีไมใชเรียบงาย
อยางมักงา ย แตเ ปนความเรียบงา ยท่สี มบรู ณอกี ดว ย คอื ท้ังงา ยและคมคาย สวยงามไปในตวั โดยอัตโนมัติ
ถา เปนนิยาม กเ็ ปนนยิ ามทรี่ ูจ กั เลอื กหยิบคําสละสลวยมาเรียงกันเขา ถึงจะนอยคําแตคนอานก็สามารถ
มองเห็นภาพและไดร บั รูรส รูบรรยากาศหมด ในชวี ติ ประจาํ วนั บางทีเราอาจพบคนบางคนพูดอะไรเสีย
ยืดยาว วกวน และฟง เขาใจยาก ในขณะทถี่ า ใหอกี คนสบั เรียงคาํ พดู ใหม และตดั ทอนถอยคําที่ไมจําเปน
ออกไปเราจะฟง เขา ใจเรว็ กวา เพลงพ้ืนเมอื งเปรียบเสมอื นคนประเภทหลงั นี้
ความเรียบงายในการรอ งและการเลน
เพลงพื้นบานยังคงยึดถือลักษณะด้ังเดิมของมนุษยเอาไว ขอน้ีอาจจะทําใหเราเห็นวาเพลง
พ้ืนบานขาดการปรับปรุงและขาดวิวัฒนาการ ที่จริงการรองเพลงท่ีมีเคร่ืองดนตรีประกอบมาก ๆ ก็
ไพเราะอยางหนึ่ง และขณะเดียวกันผูรองเพลงโดยไมมีเครื่องดนตรีชวย หรือมีชวยเพียงนอยช้ิน
อยางเชนผเู ลนกตี า ร เลนแอวเคลาซอ ก็สามารถสรางความไพเราะไดเชนกัน จึงเปนทางสองทางที่เรา
ตัดสินวา จะเลือกอยางไหน
เพลงพ้ืนบานไดเลือกทางของตัวเองในแบบหลัง เพราะสภาพการดําเนินชีวิตมาชวยเปน
ตัวกําหนด ดังน้ันจึงไมเ ปนการยากเลยที่จะเหน็ ชาวบานหรือชาวเพลง “ทาํ เพลง” โดยไมตองตระเตรียม
76
อะไรเปนการใหญโตนกั สิ่งท่จี ะชวยใหเ พลงไพเราะ นอกจากขึ้นอยูกับการใชถอยคําแลวเขาไดใชมือ
หรอื เครอ่ื งประกอบจงั หวะงา ย ๆ เชน กรบั ฉ่งิ กลอง เหลาน้ีเพียงเล็ก ๆ นอย ๆ มาชวย บางทีก็ไมใช
เลย
เพลงกลอมเด็ก และเพลงพาดควายรอ งปากเปลา ใชก ารเอ้อื นเสียงใหเ กดิ บรรยากาศและอารมณ
เพลงเตนกํารําเคียว ใชรวงขา วเคยี ว ซง่ึ มอี ยแู ลวในขณะเกยี่ วขาว มาประกอบการรอ งราํ
เพลงเรือใชกรบั ฉ่งิ เสยี งรองรับของลกู คู ชว ยใหเกิดความครึกครืน้
เพลงฉอ ย เพลงพวงมาลยั ใชเ พียงการปรบมอื ชวย
ลําตดั ใชร ํามะนา
สิ่งทส่ี ําคญั สาํ หรับเพลงทีร่ องกันหลาย ๆ คน คือ การอาศัยเสียงรองรับ รองกระทุง สอดเพลง
ของลูกคู ซึง่ จะชวยใหเ พลงน้ันสนุกสนานครึกคร้ืนอยางย่ิง เพยี งเทานเ้ี องทเี่ พลงพ้ืนเมอื งตอ งการ
การเนน ความสนกุ สนานเปน หลัก
เพลงพ้ืนเมอื งของเราจึงมกั เนนอยสู องอยา ง ซ่ึงจะออกมาในรูปของการใชคําสองแงสองงาม การ
เวนเสียซึ่งเรื่องทที่ ุกขมาก ๆ การใชคําสองแงสองงาม อยางเชนเพลงฉอยของโรงพิมพวัดเกาะ เมื่อฝาย
ชายเกรนิ่ ฝา ยหญิงไดยินเสยี งกร็ อ งตอบออกมาวา
“พี่เอยพีม่ าถงึ จะมาพง่ึ ของรกั แมหนยู งั หนัก น้ําใจ
ไอตรงแองในหอผา พ่ีเอย แกอยาไดหมาย
พ่พี ึ่งเงนิ จะกอง พ่พี ึ่งทองจะให
พีจ่ ะพง่ึ อีแปะ จนใจนอ งแกะไมไ หว (เอชา)”
ชายวา
“ทาํ ไมกับเงินกับทอง สมบัตเิ ปน ของนอกกาย
พีจ่ ะพึ่งหนังมาหมุ เน้ือ จะไดตดิ เปน เยอื่ เปนใย (เอชา)
การเวน เสียซง่ึ เรอ่ื งทีท่ กุ ขมากๆ ระหวางความสนุก กบั ความทุกข คนเราตองเลือกเอาอยางแรก
กอ นเสมอ บทเพลงของชาวบานกเ็ ชนกัน เม่ือเทียบเนื้อหาในตัวเพลงแลว สวนที่กลาวถึงเรื่องราวแหง
ความทุกขมีเปอรเซ็นตนอ ยวา ดานความสนุกมาก และบางครงั้ ความทุกขท ี่นาํ มารองก็เปน การสมมุติข้ึน
เพยี งเพื่อเปล่ียนและคนั่ อารมณค นฟง เทาน้ัน เหมือนอยา งเพลงเรือตอนท่ีผวั เกากลบั บา น เมือ่ มาถงึ บานก็
ตองหดหูใ จท่ีบา นรกรา งเพราะไมมีใครดูแล ในขณะท่ีพรรณนาความเปลี่ยนแปลงความเหงาหงอย ซ่ึง
พอ เพลงสามารถจะเรยี กความสงสารจากคนฟง ได พอเพลงก็ยังอดใสล ักษณะข้ีเลน เขาไปไมได เชน
“.............................................
พิศดคู รอบครวั มันใหช่ัวลามก มันชา งสกปรกไมรูจกั หาย
หมอ ขา วกก็ ลิง้ หมอ แกงกก็ ล้ิง ฝาละมีตฉี งิ่ อยูทีข่ างครวั ไฟ
ไอค รกกะบากก็เลนละคร สากกะเบือก็นอนเปนไข
.............................................”
77
การมรี ปู แบบท่ีคลา ยคลึงกนั
ชาวบางแพ จังหวัดราชบุรี รอ งเพลงฉอยใหฟ งตอนหนงึ่ เขาลงทา ยบทเพลงวา
“เรามาเลน กนั เสยี แตล มปาก พอเลกิ แลว เรากจ็ ากกนั ไป...”
ในขณะเดยี วกันชาวบานบางลกู เสอื ซึง่ อยูไกลออกไปถึงจังหวัดนครนายกรองเพลงระบําบาน
นาของเขาในบทเกรน่ิ วา
“เอยพ่ีมาวันน้ี กช็ วนแมเ ลน ระบํา วากนั คน (แมเอย ) ละคาํ ไมเ ปน ไร
เราเลนกนั กนั ก็แตล มปาก พอเลกิ แลวเราก็จาก จากแมจ ากกนั ไป...”
ทาํ ไมชาวเพลงตางถิน่ จึงรองเพลงดวยถอ ยคาํ ท่คี ลายคลึง หรอื เกอื บจะเหมือนกันท้งั ๆ ท่ีอยูหาง
กนั คนละทิศทาง ตัวอยางที่นํามาไมใชเร่ืองบังเอิญ มีบทเพลงของตางถิ่นตางเพลงท่ีรองคลายคลึงกัน
มากมาย สิ่งนี้เมื่อนํามาเปรียบเทียบและศึกษาดูแลวจะช้ีใหเราเห็นวา เพลงพ้ืนเมืองในลุมแมนํ้า
เจาพระยา และลุมนํ้าใกลเคียงไดสรางรูปแบบท่ีมีหลายสิ่งหลายอยางรวมกันขึ้น ดวยการแลกเปลี่ยน
ถา ยทอดระหวา งคนตอ คน หรือระหวา งคณะตอ คณะ จนกระท่ังทุกอยา งประสมกนั อยางสนิท
รูปแบบรวมของเพลงพน้ื บาน แยกกวา ง ๆ ไดเปน ดานเน้ือหา และการเรยี งลําดับเร่ืองดานถอยคาํ
ดานเนื้อหาและการเรียงลําดบั เรอ่ื ง เนือ่ งจากเพลงพนื้ เมืองยังแยกไดออกเปนเพลงโตตอบอยาง
สนั้ และเพลงโตตอบอยางยาวอีก และเนื้อหารปู แบบของเพลง 2 พวกอาจแยกไดดวยเพื่อความสะดวก
เราจงึ แยกพิจารณาเชนกนั
เพลงโตตอบอยางยาว ไดแกเพลงเรอื เพลงระบําบานไร เพลงพวงมาลัย เพลงเหยย เพลงหนาใย
เพลงเตน กาํ ราํ เคยี ว เพลงอีแซว เพลงระบาํ บา นนา เพลงพาดควาย เพลงเทพทอง เพลงปรบไก ลาํ ตดั เพลง
แอว เคลาซอ เพลงฉอ ย เพลงเหลา นสี้ วนมากเปนเรื่องของผเู ลนท่ีมคี วามชาํ นาญ คอื
พอ เพลงแมเพลงอาชีพ ถึงไมเ ปนเพลงอาชีพกต็ อ งเปน ผทู ่ีเลน จนสามารถโตต อบกับใครไดน าน ๆ ไมมี
การจบกลางคนั เพราะหมดไสหมดเพลง การทจ่ี ะรอ งใหไดน าน ๆ จงึ ตอ งสรางเรอ่ื งหรอื สรา งชดุ การ
เลน ข้ึน ดงั นนั้ เราจงึ มีชุดใหญข องเพลงเหลา นีเ้ ปนตนแบบคอื ชดุ รักหนาพาหนี ชดุ สขู อ ชดุ ชิงชู ชดุ ตี
หมากผัว เปนตน แบบแผนของเพลงโตต อบอยา งยาวที่เกือบทุกเพลงตองมี คือ การเริ่มเพลงดว ยบทไหว
ครู เมื่อไหวค รูแลว จึงมกั เปน บทเกรน่ิ เรียกหาหญงิ ใหม าเลนเพลง แลว จงึ เปน การโตต อบ หรือทเี่ รยี ก
กันวา “การประ” จะวากนั คนื ยงั รงุ หรือสักครง่ึ คืนก็ตามใจ
เพลงโตตอบอยางสั้น หรือเพลงเน้ือส้ัน ไดแกเพลงพิษฐาน เพลงระบํา เพลงเตนกํารําเคียว
เพลงสอคอลาํ พวน เพลงชกั กระดาน เพลงแบบนม้ี กั เปน เพลงสัน้ ๆ เหมาะสําหรับผูท่ีไมใชเพลงอาชีพรอง
กนั คนละสีห่ า วรรค คนละทอนสัน้ ๆ ก็ลงเพลงเสีย เปน เพลงทเ่ี ปด โอกาสใหท ุกคนไดรวมสนุกกันอยางงาย
ๆ ถาเรารวมเพลงกลอมเด็กดวยก็เปนเพลงส้ันเชนกัน ใคร ๆ ก็พอจะรองได เพลงเนื้อส้ัน
จงึ ไมจ าํ เปนตองมพี ิธรี ตี องในการรอง หรอื ตอ งใชการสรา งบทชุดใหญเขา มากําหนดเรียงลําดับการเลน
แตอ ยางใด เม่ือจะเลน ก็ตั้งวงเขา หรือรอ งไปเลย
78
การมีเนอื้ หาทค่ี ลา ยคลงึ กัน ทาํ ใหพ อเพลงคนหน่งึ หยบิ ถอ ยคําจากเพลงนีไ้ ปใสในอีกเพลงหน่ึง
โดยไมรูตัว ขอทเ่ี ราตองไมลมื คือ พอ เพลงคนหน่งึ ๆ มกั จะรอ งเพลงไดหลายทํานอง นอกเหนือไปจาก
เพลงที่เขาถนดั การแลกเปลยี่ นถอยคําจึงทําไดงายมาก ดังน้ันเราอาจพบการวางลําดับคําหรือการใชคํา
บรรยายระหวา งเพลงตอเพลงในจงั หวะพอ ๆ กัน สิง่ นม้ี าจากการตกทอดในใจของชาวเพลงนน้ั เอง
ในอกี ดา นหนง่ึ เพลงพนื้ เมืองหลายชนิดใชกลอนอยางหนง่ึ ซึง่ สัมผัสดวยสระเดียวกนั หมดใน
วรรคทา ยของบท เชน ลงไปกไ็ อไปเรอ่ื ย ลงอาก็อาไปเร่ือย ศัพทท างเพลงเรียกวา กลอนไล กลอนลา
กลอนลี กลอนลู ฯลฯ ตวั อยางเชน เพลงเรือ เพลงฉอย เพลงเตน กํารําเคียว เพลงพวงมาลัย เปนตน รปู
แบบอยางนคี้ งเกดิ ขึ้นเพราะหาสมั ผัสงายสะดวกในการดันเพลง เพราะการดนั เพลงนน้ั หากฉนั ทลกั ษณ
ยากไป กค็ งรองคงฟง กนั ยาก สระที่นยิ มนํามาใชก นั มากทสี่ ดุ ไดแ ก สระไอ
เรอ่ื งท่ี 4 คณุ คาของเพลงพน้ื บาน
เพลงพ้ืนบานเปนมรดกทางวรรณกรรม ชาวบานนิรนามไดแตงเพลงของเขาขึ้น บทเพลงนี้
อาจจะมาจากความเปน คนเจาบทเจา กลอนและความอยูไมสขุ ของปาก แตบังเอิญหรือบางที่ไมใชความ
บังเอิญ เพลงของเขาไพเราะและกินใจชาวบานคนอ่ืน ๆ ดวย ดังนั้นเพลงดังกลาวจึงไดแพรกระจาย
ออกไปเรือ่ ย ๆ และในที่สุดไมมีใครรูวาใครเปนคนแตงเพลงบทน้ัน และแตงเม่ือใด เพลงพ้ืนบานถูก
รอยกรองข้ึนดวยคาํ ทเี่ รียบงา ยแตกินใจ สิง่ นีเ้ องทีท่ าํ ใหเพลงพ้ืนบา นมคี า เพราะนนั่ เปน ศิลปะอยางหนึ่ง
อยา งแทจรงิ
ครงั้ หน่งึ พระเจาวรวงศเธอ กรมหมน่ื พิทยาลงกรณ ทรงเลาวา ไดทรงแตงบทเลนเพลงช้ันบท
หนงึ่ แลว ประทานใหชาวชนบทซึ่งอานหนังสือไดนําไปรอง แตทรงสังเกตวา จากกิริยาท่ีชาวบานคน
นั้นแสดงออกมา ถา หากปลอ ยใหเขาแตง เองนาจะเร็วกวา บทที่นพิ นธเสียอกี ทรงถามวา มันเปนอยางไร
คําตอบที่ลวนแตเปนเสียงเดียวกันคือ มันเต็มไปดวยคํายากทั้งนั้น ถึงตอนเก้ียวพาราสีผูหญิง
ชนบทที่ไหนเขาจะเขาใจ และไมรูวาจะรองตอบไดอยางไร เรื่องน้ีจะเปนบทแสดงใหเห็นวา เพลง
พนื้ บา นนั้นใชค าํ งาย แตไดค วามดไี มจ าํ เปนตองสรรหาคํายากมาปรงุ แตง เลย
ประเภทของเพลงพืน้ บา น
เรามหี นทางที่จะแบง ประเภทเพลงพ้ืนบา นออกไดเ ปนพวก ๆ เพอื่ ความสะดวกในการพิจารณา
ไดห ลายวธิ ี เชน การแบง ตามความส้ัน–ยาวของเพลง เชน เพลงสนั้ ไดแ ก เพลงระบาํ เพลงพิษฐาน เพลง
สงฟาน เพลงสําหรับเด็ก เพลงชักกระดาน เพลงเขาทรง เพลงแหนางแมว เพลงฮินเลเล เปนตน สวน
อยา งเนอื้ ยาว ไดแก เพลงฉอย เพลงเรอื เพลงอแี ซว เปน ตน
79
การแบง ตามรูปแบบของกลอน คือ จัดเพลงทม่ี ฉี นั ทลักษณเหมือนกันอยูในพวกเดียวกัน เรา
จะจัดใหเ ปนสามพวก คือ พวกกลอนสมั ผัสทาย คือ เพลงท่ีลงสระขางทายสัมผัสกันไปเรื่อย ๆ ไดแก
เพลงฉอย เพลงลําตัด เพลงระบําชาวไร เพลงระบําบานนา เพลงหนาใย เพลงอีแซว เพลงสงคอ
ลาํ พวน เพลงเทพทอง ลงกลอนสัมผสั ทายเหมือนกัน แตเวลาลงเพลงเมื่อใดตองมีการสัมผัสระหวาง
สามวรรคทายเกยี่ วโยงกนั เชน เพลงเรอื เพลงเตนกําราํ เคียวเพลงขอทาน เพลงแอว เคลา ซอ
พวกท่ีไมคอยเหมือนใคร แตอาจคลายกันบาง เชน เพลงสําหรับเด็ก เพลงระบํา เพลง
พิษฐาน เพลงสงฟาง เพลงชกั กระดาน เพลงเตน กาํ ราํ เคียว เพลงพาดควาย เพลงปรบไก เพลงเหยย
การแบง เปนเพลงโตต อบและเพลงธรรมดา เพลงรองโตตอบ ไดแก เพลงฉอย เพลงอีแซว ฯลฯ
สวนเพลงอีกพวก คือ เพลงที่เหลือ ซึ่งเปนเพลงที่รองคนเดียว หรือรองพรอมกัน หรือไมจําเปนตอง
โตต อบกนั เชน เพลงสําหรับเดก็ เพลงขอทาน เพลงชกั กระดาน เพลงสงฟาง (มักจะเปนเพลงส้ันๆ) เปน
ตน
การแบงอธบิ าย เราไดเ ลอื กการแบง วิธีนี้ เพราะเหน็ วาสามารถสรางความเขาใจสอดคลองกัน
ไดดี เพลงแตล ะเพลงมีความเกย่ี วเนอ่ื งกันตามลําดับ เพลงที่เลนตามเทศกาลและฤดูกาล เชน หนาน้ํา
หรือหนา กฐนิ ผา ปา เลนเพลงเรอื เพลงหนาใย ถดั จากหนากฐินเปนหนาเก่ียว เลนเพลงเกี่ยวขาว เพลง
สงคอลาํ พวน เพลงสงฟาง เพลงชกั กระดาน เพลงเตน กาํ รําเคยี ว ถดั จากหนา เกี่ยว เปนชว งตรุษสงกรานต
เลนเพลงพิษฐาน เพลงระบําบานไร เพลงพวงมาลัย เพลงเหยย เพลงท่ีเลนไดทั่วไปโดยไมจํากัด
ชว งเวลา ไดแกเพลงสาํ หรับเด็ก เพลงอีแซว เพลงระบําบานนา เพลงพาดควาย เพลงปรบไก เพลงเทพ
ทอง ลําตดั เพลงแอวเคลา ซอ เพลงขอทาน เพลงฉอ ย
การแบง ภมู ิภาคเพลงพืน้ บา น
ภาคกลาง
1. เพลงปฏิพากย เปนการรองโตตอบกันระหวางหญิงชาย ทั้งการเก้ียวพาราสี เรียกตัวเอก
ของทั้งฝายหญิงชายวา “พอเพลง แมเพลง” ซึ่งเปนบุคคลท่ีมีประสบการณสูง จึงทําใหการแสดงมี
รสชาติไมกรอยไป เพลงในลักษณะน้ีมีหลายแบบ ซึ่งลวนตางกันทั้งลีลา ลํานํา และโอกาส อาจมี
ดนตรีประกอบ พรอมกันน้ันก็มีการรายรําเพื่อเนนคําขับรองดวย เชน ลําตัด เพลงฉอย เพลงอี
แซว เพลงพวงมาลยั เพลงเรอื เพลงเหยอย เพลงชา เจา หงส ฯลฯ
2. เพลงการทํางาน ยง่ิ เปน ลักษณะของชาวบานแท ๆ มากขึ้น การใชเพลงชวยคล่ีคลายความ
เหน็ดเหน่ือยเปนความฉลาดท่ีจะสามารถดําเนินงานไปไดอยางสนุกสนาน โดยเฉพาะงาน
เกษตรกรรม มีการรองโตตอบกันบาง บางครั้งก็แทรกคําพูดธรรมดา เพื่อลอเลียนยั่วเยาไปดวย
เชนเพลงเก่ยี วขา ว เพลงสงฟาง เพลงชักกระดาน เพลงสงคาํ ลําพวน เพลงพานฟาง โดยใชการตบมือ
เขา จังหวะอยา งสนุกสนาน
80
ภาคเหนอื
มกี ารขับรอ งและขบั ลาํ อีกแบบหนึ่ง โดยการใชถ อยคาํ สําเนียง และทํานอง ซึ่งคลอเคลาดวย
ปซอ เรียกวา รากซอหรือขอซอสําหรับ “ซออูสาว” ไดแก การรองโตตอบกันระหวางหญิงชาย ซ่ึง
มกั จะใชค าํ กลอนที่แตงไวแลวจดจํามารอง บางโอกาสเทาน้ันท่ีรองดนอยางฉับไว ซ่ึงจะตองเปนผูมี
ประสบการณสูง การรองเปนเร่ืองเชิงขับลํานํา มักใชเรื่องพระลอ เร่ืองนอยไจยา
เปนตน วิธีรองใชเอ้ือนตามทํานองแลวหยุดในบางตอน แตเรื่องยังติดตอกันตลอดไป การแตงคํา
กลอนของภาคเหนือมีหลายแบบ เชน แบบ “คําร่ํา” มีลักษณะเปนรายท่ีสัมผัสอักษรกันไปตลอด มี
การถายทอดกันแบบ “มุขปาฐะ” แลว จดจาํ กันตอ มาหลายสํานวน จนบางสํานวนเขา ขั้นเปนวรรณกรรม
พน้ื บาน
ภาคอสี าน
มเี พลงขับขานในลักษณะตาง ๆ อยูเปนอันมาก เชน กลอนลํา ท่ีหมอลํากลอนจดจํา และใช
เปน บทขับรอง แสดงคูกับการเปาแคน กลอนสูขวัญ ซ่ึงวิวัฒนาการมาจากพิธีพราหมณ ก็มีอยูหลาย
แบบ สุดแตจะทําขวัญอะไร เชน สูขวั ญบาวสาวกินดอง สูขวัญเด็ก สูขวัญหลวงฯลฯ
นอกจากน้ัน ยังมี “ผะหญา” หรือ “ผญา” ซ่ึงเปนการขับรองดวยวลีหนึ่ง ๆ ที่ไมอาศัยคําคลองจอง แต
อาศยั พนื้ ฐานจากคําพูดทใี่ ชพ ูดประจาํ วนั ผูกเปน ผญาส้นั ๆ ไดก ลายเปนแบบอยางฉันทลักษณที่เขาข้ัน
วรรณกรรมพื้นบาน เชน ผญาเร่อื งทาวฮุง
ภาคใต
มีเพลงกลอนใชรอง ใชขับลําที่สําคัญแสดงปฏิภาณของกวีคือ “เพลงบอก” แมวาจุดประสงค
แหงเน้ือความของเพลงบอกจะบอกเรื่องราว หรือขาวคราวใหผูคนทราบในเร่ืองตาง ๆ แตก็มีวิธีรอง
ประกอบการแสดง ไมใหเบอ่ื ฟง ซ่ึงมอี ยู 2 แบบคอื รอ งแบบส้นั ๆ แลวมลี กู คูรบั กับ รอ งแบบยาว (อยาง
รา ยยาว) แลวมลี กู ครู บั คณะเพลงบอกจะมีตัวพอเพลง หรือแมเพลง ลูกคู และมีฉ่ิง กรับ ป ขลุย และ
ทบั (กลอง) ไมม ีการรํา เพราะคนฟง มุงฟง กลอนบอกเทาน้ัน
บญั ญตั แิ ปดประการของเพลงพ้ืนบานในประเทศไทย
1. เพลงพื้นบานของไทยสวนใหญเลนกันในหมูหนุมสาว แบงออกเปน 2 กลุม คือ
ชายกลมุ หนึ่ง หญงิ อีกกลมุ หนึง่ การวา เพลงพน้ื บา นน้ีหนไี มพนเกี้ยวพาราสเี รือ่ งรัก ๆใคร ๆ สว นมากใช
รอง โต ต อบกั น ด วย ก ลอน สด เม่ื อฝ า ย ชา ย ร อง เพ ลง นํ า กอน โ ด ย ปร ะ เพณี ย อมไ ด รั บ
การตอบสนองจากกลุมฝายหญิง คํารองจากฝายหญิงไดแสดงออกถึงการตอนรับและรองเพลงใน
คาํ กลอน ซ่งึ แสดงออกถึงการปกปองตนเองอยางสุภาพตามลกั ษณะของกุลสตรีไทยแบบด้ังเดมิ
การวา กลอนสดโตต อบกันระหวางชายหญิงนี้ คนไทยทุกกลุมท้ังท่อี ยูใ นและนอกราชอาณาจกั ร
ไทยถือเปนขนบประเพณีเหมือน ๆ กัน ปฏิบัติสืบตอกันมาหลายช่ัวอายุคน ปรากฏวามีประเพณีหาม
81
หนุมสาวพบปะกนั สองตอ สองแตเ ม่ือจะใชคาํ กลอนพูดจากันแลวอนุญาตใหเกี้ยวพาราสีกันไดโดยไม
ตอ งออ มคอม
ในภาคเหนือ ภาคอีสาน มีคําพูดใชโตตอบกันระหวางหนุมสาวเปนคําปรัชญาของทองถ่ิน
เรยี กวา ผะหญา (ในศิลาจารกึ สมัยสุโขทยั จารึกวา ประญา) ในภาคอสี านสมยั กอนท่ีจะไดรับการพัฒนา
เหมอื นสมยั นี้มกี ารรักษาขนบประเพณีน้ีเครงครดั มาก หนุมสาวทีไ่ มปะทะคารมเปนคําปรัชญาท่ีเปนคํา
กลอนกจ็ ะไดรับการตาํ หนิจากสังคมวา ขี้ขลาดตาขาว ไมกลาลงบวง หนุมสาวที่ไมไดแตงงาน เพราะ
โตต อบกลอนสดไมเ ปนเรียกวา ตกบว ง
2. การวาเพลงพื้นบานของไทยแสดงออกถึงความสามัคคี ร่ืนเริงตามแบบแผนวัฒนธรรม
โบราณของไทยท่สี ืบทอดตดิ ตอกนั มาหลายช่วั อายคุ น เปน การแสดงออกของศลิ ปน เพ่อื ศิลปะโดยแท
3. การวาเพลงพ้นื บา นของไทยฝา ยชายมีผูนําในการวาเพลงเรียกวา พอ เพลง ในทํานองเดียวกัน
ผนู าํ ในการวาเพลงของฝา ยหญิงก็เรยี กวา แมเพลง
พอเพลงและแมเพลงสวนมากก็จะเปนญาติผูใหญของหนุมสาวท้ังสองฝายน่ันเอง เปนส่ิง
ธรรมดาท่ีท้ังพอ เพลงและแมเ พลงยอมหาโอกาสเสริมทักษะความรเู กี่ยวกับชีวิตคู และเร่ืองเพศสัมพันธ
เรอ่ื งตา ง ๆ เหลาน้ีมีอยูพ รอ มในคํารอ งอันฉลาดแหลมคมของบทกลอนของเพลงพ้ืนบาน จึงกลาวไดวา
คนไทยมกี รรมวธิ ีการสอนใหห นุมสาวรเู รือ่ งเพศสมั พันธในอดีตอันยาวนานแลว จากประเพณีการเลน
เพลงพื้นบา นของไทยนจ้ี ะเห็นวา คนไทยเรารจู ักการสอนเพศศกึ ษาแกเยาวชนมากอ นฝา ยตะวนั ตก โดย
ปราศจากขอ สงสัย
4. กอนที่จะประคารมกันเชิงบทเชิงกลอน ผูอาวุโสนอยกวาจะแสดงความคารวะผูอาวุโส
มากกวา จะวาเปนกลอนขออภยั ลวงหนา วาหากลวงเกินดวยกาย วาจา ใจ ประการใด ก็ขอใหอภัยดวย
ฯลฯ เมอื่ คารวะคูแขงผูอาวโุ สกวาแลว ผูวา เพลงก็ไมล มื หนั หนาไปทางผรู วมฟงออกตัว ถอมตัว ดวย
ความสภุ าพออนโยนวา หากการวา กลอนสดจะขลกุ ขลักไมสละสลวย หรือไมถึงใจผูฟงก็ขอไดโปรด
ใหอภยั ดว ย จะเห็นไดวาแกน แทข องคนไทยสุภาพออนโยนเปน ชาตเิ ผา พนั ธุทถ่ี อ มตัวเสมอ
5. เม่ือผานพธิ กี ารออกตวั ถอมตัว ตามประเพณีแลวก็จะประจนั หนากนั ทักทายกนั ดว ยคาํ ขมขวญั
กัน
6. เมอ่ื มโี อกาสวาเพลงพืน้ บานกันระหวา งชายหญงิ โดยประเพณีจะอนญุ าตใหฝายหญิงโตตอบ
เปนคํากลอนสดกับฝายชายอยางเต็มท่ี เธอจะวากลอนสดแสดงความรักความเกลียดชังใครไดอยาง
เปดเผย โดยไมถือวาเปนการทําตนเสื่อมเสียเลย โดยขนบประเพณีเดิมสืบเน่ืองมาแตดึกดําบรรพ
อนญุ าตใหส ตรเี พศแสดงออกซึง่ สทิ ธเิ สรีภาพทัดเทยี ม หรอื ลํ้าหนา ผชู าย
7. เมื่อการเลน เพลงพนื้ บา นจบสิน้ ลงแลว มปี ระเพณอี นั ดีงามของไทยโบราณท่ีควรนํามา สดุดี
ณ ทน่ี ้ี คอื ผวู า เพลงพื้นบา นท่รี ูต ัววามีอาวโุ สนอยกวา จะไปแสดงคารวะขอขมาลาโทษผูท่ีมีอาวุโสสูง
กวา ในกรณีที่อาจมีการวากลอนสดลวงเกินไปบาง ผูใดรูตัววายังวาเพลงพื้นบานกลอนสดยังไมได
มาตรฐาน ก็จะใฝห าความรูความชํานาญจากผทู ่ีชํานาญกวา การเตรยี มการ การฝก ซอ ม ใชเวลาวางจาก
82
การทาํ ไร ไถนา หนมุ กจ็ ะไปกราบขอเรยี นจากพอเพลง ในทํานองเดียวกันสาวก็จะไปหาความรูความ
ชํานาญจากแมเ พลง เนอื่ งจากมีการฝกซอมกันไวล วงหนาหลายเดอื น เมือ่ วันสําคัญไดมาถงึ แมฝ า ยหญงิ
จะมคี วามกระดากอายอยูบาง แตความพรอมทําใหเธอกลาประจันหนากับชายหนุมท่ีจะสงคําถาม คํา
เก้ยี วพาราสี และเธอกพ็ รอ มที่จะตอบโตเ ปน กลอนสดทุกรูปแบบ
แบบอยา งเพลงพื้นบานท่ีขับขานออกมาจากปากของคนหนึง่ กรอกเขารูหขู องผูท่ีต้ังใจรับฟงจะ
อยูในความทรงจําอยางแนนแฟน แมมีอิทธิพลอารยธรรมจากแหลงอื่นเขามาปรากฏ แบบอยาง
ขนบประเพณอี ืน่ อาจผนั ผวนคลอ ยตามไปไดไมยาก แตแบบอยางเพลงพื้นบานท่ีขับขานออกจากปาก
เขา รูหูแลวเขาไปเจือปนในสายเลือดนนั้ เรอื่ งท่ีจะหนั เหโนมเอียงใหต ามปรากฏการณใหม ๆ ไมใชของ
งายนกั
เรื่องที่ 5 พัฒนาการของเพลงพ้ืนบาน
1. ความเปนมาของเพลงพ้ืนบานไทย
การสืบหากาํ เนิดของเพลงพ้ืนบานของไทยยงั ไมสามารถยตุ ิลงไดแ นน อน เพราะเพลงพนื้ บาน
เปน วัฒนธรรมทส่ี ืบทอดกนั มาปากตอปาก ไมม ีการบันทกึ เปนลายลักษณ แตคาดวาเพลงพื้นบานคงเกิด
มาคูกับสังคมไทยมาชานานแลว เชน เพลงกลอมเด็กก็คงเกิดข้ึนมาพรอม ๆ กับการเล้ียงดูลูกของ
หญงิ ไทย การศกึ ษาประวตั ิความเปนมาและการพัฒนาการของเพลงพื้นบานไทย พอสรุปไดดังน้ี
1.1 สมัยอยุธยา ในสมัยอยุธยาตอนตน มกี ารกลาวถงึ “การขับซอ” ซ่งึ เปนประเพณีของ
ชาวไทยภาคเหนอื ปรากฏในวรรณคดี ทวาทศมาส และลลิ ติ พระลอ และกลาวถึง “เพลงรองเรือ ซึ่ง
เปนเพลงทีช่ ายหญงิ ชาวอยุธยารองเลนในเรือ มีเครอื่ งดนตรีประกอบปรากฏใน กฎมณเทียรบาล ท่ีตรา
ขึ้นสมยั พระบรมไตรโลกนาถ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในรัชกาลพระเจา บรมโกศ มกี ารกลาวถงึ “เพลง
เทพทอง” วาเปน เพลงโตต อบที่เปนมหรสพชนิดหนึ่งในงานสมโภชพระพุทธบาทสระบุรี ปรากฏใน
ปุณโณวาทคําฉนั ท ของพระมหานาควัดทาทราย
1.2 สมัยรัตนโกสินทร สมัยรัตนโกสินทรเปนสมัยท่ีมีหลักฐานเกี่ยวกับเพลงพ้ืนบาน
ชนิดตาง ๆ มากที่สุด ตั้งแตรัชกาลท่ี 1 ถึงรัชกาลที่ 5 เปน “ยุคทอง” ของเพลงพ้ืนบานที่เปนเพลง
ปฏิพากยจะเหน็ จากการปรากฏเปนมหรสพในงานพระราชพิธีและมีการสรางเพลงชนิดใหม ๆ ข้ึนมา
เชน เพลงฉอ ย เพลงอแี ซว เพลงสง เคร่ือง ซึ่งเปนทนี่ ิยมของชาวบานไมแ พม หรสพอน่ื
ในสมัยรัตนโกสนิ ทรตอนตนมีหลักฐานวา เพลงเทพทอง เปนเพลงปฏพิ ากยเกา ท่ีสุดท่ีสืบทอด
มาจากสมัยอยุธยา มีการกลาวถึงในฐานะเปนมหรสพเลนในงานพิธีถวายพระเพลิงพระชนกและ
พระชนนีของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และเพลงปรบไก มีการกลาวไวในจารึกวัด
83
พระเชตุพนฯ วาเปนมหรสพชนดิ หนง่ึ ที่เลนในงานฉลองวัดในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากน้ียังมีการอางถึง
เพลงทั้งสองในวรรณคดอี ีกหลายเลม เชน บทละครอณุ รทุ อเิ หนาและขุนชา งขนุ แผน เปน ตน
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลาเจาอยูห วั มีการกลาวถึงเพลงปฏิพากย ในโคลงพระราช
พธิ ีทวาทศมาส (ราชพิธีสิบสองเดือน) วา ในงานลอยกระทงมกี ารเลน สกั วา เพลงคร่ึงทอน เพลงปรบไก
และดอกสรอ ย เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยูหัว การละเลน พื้นบานตาง ๆ ท่ีเคย
รุง โรจนม าแตร ชั กาลตน ๆ เริ่มซบเซาลง เพราะเกิดกระแสความนิยม “ แอวลาว ” ข้ึน โดยเฉพาะใน
หมชู นชัน้ สงู รัชกาลที่ 4 ทรงเกรงวาการละเลนพืน้ บา นของไทยจะสญู หมด จงึ ทรงออกประกาศหามเลน
แอว ลาวตอ ไป
ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯให
ชาวบานเลน เพลงพื้นบานถวายใหทอดพระเนตรในขณะท่ีประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน เมื่อ พ.ศ.
2426 จึงนบั เปน ครัง้ แรกที่ไดม กี ารนําเพลงชาวบา นมาเลนถวายพระมหากษัตรยิ ใ หทอดพระเนตร และ
ในรัชสมัยนี้การละเลน พนื้ บา นยงั เปน ท่ีนยิ มอยโู ดยเฉพาะทางดา นศิลปะการแสดง ท่ีเปน มหรสพ นอกจาก
จะมโี ขน ละคร หุน หนังใหญ หนังตะลงุ แลว ยงั มลี เิ กและลําตดั เกดิ ขึ้นใหม และแพรไปยังชาวบานตาม
ทอ งที่ตา ง ๆ อยางรวดเรว็ ดว ย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยหู วั ทรงสง เสรมิ เพลงพืน้ บานโดยทรงบรรจุบท
รองท่ีใชทํานองเพลงปรบไกไ วในพระราชนิพนธเรื่องศกุนตลา สํานวนที่เปนบทละคร รวมทั้งไดทรง
พระราชนพิ นธเร่ืองพระหันอากาศและนางอุปโกศา ไวเปนเคาโครงเร่ืองสําหรับแสดงลิเก และโปรด
เกลาฯ ใหม ีการแสดงลิเกในการสมโภชพระตําหนักชาลีมงคลอาสน ในพ.ศ. 2460 ดวย ในสมัยน้ีเพลง
พื้นบานยังคงเปนท่ีนิยมของชาวบาน ไดแก เพลงสงเคร่ืองหรือเพลงทรงเครื่อง และเพลงฉอย เปน
ตน โดยเฉพาะเพลงฉอ ยนยิ มเลนกันทวั่ ไป และในสมยั นี้มีการนําเพลงพ้ืนบานมาตีพิมพเปนหนังสือ
เลม เชน เพลงระบาํ ชาวไรข องนายบศุ ย เพลงเรือชาวเหนือของนายเจรญิ เปนตน
การแสดงเพลงฉอยในรายการทีว”ี คุณพระชว ย” (ภาพ www.daradaly.com)
อยา งไรกต็ ามในชว งสงครามโลกคร้งั ที่ 2 อิทธพิ ลของวัฒนธรรมและระบบทนุ นยิ มแบบ
ตะวนั ตกทาํ ใหเกิดสงิ่ บนั เทงิ แบบตะวันตกอยา งหลากหลาย เชน เพลงไทยสากล เพลงราํ วง เพลงลกู ทุง
84
เปน ตน เพลงพนื้ บา นจงึ เรม่ิ หมดความนิยมลงทลี ะนอ ย ประกอบกบั ตอ งเผชิญอปุ สรรคในสมยั รัฐบาล
จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ทอ่ี อกพระราชกฤษฎีกากาํ หนดวฒั นธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2495 ควบคุม
การละเลน พื้นบา นทําใหขาดผเู ลน และผสู ืบทอดเพลงปฏิพากยจ ึงเส่อื มสญู ลงในทสี่ ุด
เพลงพ้นื บา นตา ง ๆ เริ่มกลบั ฟน ตัวอกี ครั้งหนึ่งและกลายเปนของแปลกใหมที่ตองอนุรักษและ
ฟน ฟู ในชวง ประมาณ พ.ศ. 2515 เปนตนมา หนวยงานทั้งของรัฐและเอกชน รวมท้ังบุคคลที่สนใจได
พยายามสงเสริมใหมีการศึกษาคนควาอยางเปนระบบ รวมทั้งสนับสนุนใหเผยแพรเพลงพื้นบานให
กวางขวางขึ้น เพลงพื้นบานโดยเฉพาะเพลงปฏิพากยจึงไดกลับมาเปนท่ีนิยมอีกคร้ังหนึ่ง แตเปนใน
ลักษณะของงานแสดงเผยแพร มใิ ชใ นลกั ษณะของการฟนคืนชวี ิตใหม
2. พฒั นาการรูปแบบและหนา ท่ขี องเพลงพนื้ บาน เพลงพนื้ บานของไทยมกี ารพัฒนาสรุปได
ดังนี้
2.1 เพลงพ้ืนบานที่เปนพิธีกรรม เพลงพ้ืนบานของไทยกลุมหน่ึงเปนเพลงประกอบ
พธิ กี รรมซึ่งมีบทบาทชดั เจนวาเปน สว นหนึ่งของพิธกี รรมนัน้ ๆ เชน เพลงในงานศพและเพลงประกอบ
พิธีรักษาโรค นอกจากเพลงกลุมดังกลาวแลวยังมีเพลงพื้นบานอีกกลุมหนึ่งที่แมการแสดงออกใน
ปจจบุ ันจะเนน เรอื่ งความสนุกสนานรื่นเริง แตเมื่อพินิจใหลึกซึ้งจะพบวามีความสัมพันธกับความเช่ือ
และพิธีกรรมในอดีต และยังเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมน้ัน ๆ ดวยเพลงพื้นบานดังกลาวไดแก เพลง
ปฏิพากยและเพลงประกอบการละเลนของผูใหญ ท่ีปรากฏในฤดูกาลเก็บเกี่ยวและเทศกาลตรุษ
สงกรานต
สงั คมไทยแตด้งั เดิม ชาวบา นสว นใหญเปน ชาวนาชาวไร มีวิถีชีวิตผูกพันกับการทํามาหากิน
เกี่ยวเนอื่ งกบั ธรรมชาติ ความอดุ มสมบูรณข องพืชพันธุธญั ญาหารเปนปจ จัยสําคัญทีส่ ุดในการ ยงั ชีพ คน
ไทยจึงไดสรางพิธีกรรมเก่ียวเน่ืองกับความเจริญงอกงามขึ้น เพื่อขอใหผีสางเทวดาอํานวยส่ิงที่ตน
ตองการ หรือมฉิ ะนั้นกส็ รางแบบจําลองขึ้นเพ่ือบังคับใหธรรมชาติเปนไปตามที่ตองการ เชน สรางนา
จาํ ลอง เรยี กวา ตาแรกหรือตาแฮก ( ภาคอีสาน ) แลวดํากลาลงในนา 5-6 กอ เชื่อวาถาบํารุงขาวในนา
แรกงอกงาม ขา วในนาทงั้ หมดก็งอกงามตามไปดว ย
85
การทาํ พธิ ีดํานาตาแฮกหรอื การแฮกนา
พธิ ีกรรมท่เี กยี่ วกับความเจริญงอกงามท่ีเห็นไดชัดท่ีสุด ไดแก พิธีกรรมในฤดูกาลเก็บเกี่ยว
และในเทศกาลตรุษสงกรานต
เพลงพื้นบานในฤดูกาลเก็บเกยี่ ว
พิธีกรรมที่เกี่ยวกับการเพาะปลูกที่สําคัญอยูในชวงฤดูกาลเก็บเกี่ยวและกอนเร่ิมฤดูกาล
เพาะปลกู ในโอกาสดังกลา วน้ีนอกจากจะปรากฏพธิ กี รรมอยูทุกขนั้ ตอนแลวยังมีการเลนเพลง พ้ืนบาน
ดวย
กอนเร่ิมฤดูกาลเพาะปลูกในแตละป ชาวนาจะทําพิธีสูขวัญเคร่ืองมือเคร่ืองใชใน
การเพาะปลูก เชน ควาย ไถ คราด เปนตน ซึ่งในพิธีกรรมน้ัน ๆ จะมีการรองบทสูขวัญ ซ่ึงเปนเพลง
ประกอบพิธี นอกจากน้ีถาฝนไมตกตองตามฤดูกาล ชาวนาจะจัดพิธีกรรมขอฝนข้ึน ซึ่งจะทํากัน
ทุกภาค (ยกเวนภาคใตที่ไมมีปญหาเร่ืองฝน) และทํากันดวยวิธีการตาง ๆ เปนตนวา ชาวนา
ภาคกลางจะจัดพิธีแหนางแมวและพิธีปนเมฆ (ปนดินเหนียวเปนรูปอวัยวะเพศชาย หรือปนหุน
รูปคนชายหญงิ สมสูกนั ) โดยมเี พลงแหน างแมวและเพลงปน เมฆรองประกอบ ชาวนาภาคเหนือและภาค
อีสา นจะ จัด พิธีแ หน างแ มวแ ละ แหบ้ั งไ ฟ โ ดยมี เซิ้ งแห นา งแม วและเซ้ิงแ หบ้ั งไฟ เป น
เพลงประกอบพิธี เมอ่ื ไดจัดพธิ กี รรมเหลา น้ีข้นึ ชาวบา นจะอบอนุ ใจ เชื่อวาฝนจะตกลงมา ขาวในนาก็จะ
งอกงาม
86
รองเลน เพลงเตน กํารําเคียว
เมื่อถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยวพืชผล ชาวนาจะจัดพิธีกรรมสูขวัญขาวสูขวัญลานและสูขวัญยุง เพื่อ
ขอบคุณผีสางเทวดาท่ีใหผลผลิต ในขณะเดียวกันก็ปดรังควานผีรายท่ีจะทําใหผลผลิต
เสียหาย นอกจากน้ภี าคกลางยงั มกี ารรอ งเลน เพลงเตน กํารําเคียว เพลงรอยช่งั และเพลงเกย่ี วขาว เปนการ
รองราํ เพอ่ื เฉลมิ ฉลองผลผลติ ทไ่ี ด ดังนั้นเพลงทีร่ อ งในฤดกู าลเกบ็ เกย่ี วในแงหนึ่งเปนการรองเพ่ือความ
สนุ ก เพ ลิ ดเพ ลิ น แต อี ก แ ง หน่ึ ง ก็ เป นก า ร ร อง เพื่ อเฉ ลิ มฉ ลอง ค วา ม อุ ด ม สม บู ร ณ ข อง
พชื พนั ธธุ ัญญาหาร
เพลงพ้นื บา นในเทศกาลตรษุ สงกรานต
หลังจากผานการทํางานในทุงนาอยางหนักมาเปนเวลาคอนป เมื่อถึงชวงฤดูรอนซึ่งเปนเวลา
หลังเก็บเกี่ยว ก็จะถึงเทศกาลรื่นเริงประจําปคือเทศกาลตรุษสงกรานต ซึ่งเปนเทศกาลเลนสนุกท่ี
เกี่ยวเนอื่ งกับพิธีกรรมเพือ่ ความอดุ มสมบูรณ สงกรานตเ ปน เทศกาลสาํ คัญของเพลงพื้นบานเพราะเพลง
พื้นบานไทยสวนใหญโดยเฉพาะเพลงพ้ืนบานภาคกลางรองเลนอยูในเทศกาลนี้ เพลงรองเลนในวัน
สงกรานตแบง ออกไดเปน 2 ประเภทคือ เพลงปฏพิ ากยและเพลงประกอบการละเลน ของผูใ หญ
การรอ งเลนเพลงปฏพิ ากย
87
เพลงปฏิพากย มีทั้งเพลงโตตอบอยางสั้นรองเลนตอนบาย เชน เพลงพิษฐานและเพลงระบํา
บานไร และเพลงโตต อบอยา งยาว เชน เพลงพวงมาลยั และเพลงฉอ ย เปนตน เนื้อหาของเพลงจะปรากฏ
เรือ่ งเพศมากมาย ซ่ึงแสดงรองรอยวาในระยะตนเพลงเหลานี้นาจะเก่ียวเน่ืองกับพิธีกรรมความเชื่อ
โดยเฉพาะความเชอื่ เร่ืองเพศกบั ความอุดมสมบรู ณ วามคี วามสัมพันธก นั
เพลงประกอบการละเลน ของผใู หญ แบง ออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งเปน เพลงประกอบ
การละเลนของหนุมสาวที่เลนกนั ในตอนบาย เชน เพลงระบาํ อีกกลุมหนึ่งเปน เพลงประกอบการละเลน
เขา ทรงผีตาง ๆ นยิ มเลน กนั ในตอนกลางคนื ไดแก เขา ทรงแมศ รี ลิงลม นางควาย ผีกระดง นางสาก เปน
ตน การละเลน กลุม หลังนีเ้ ปนการละเลน กึ่งพิธกี รรม ซงึ่ สะทอนความเชอื่ ดง้ั เดมิ เกยี่ วกับการนบั ถือผีสาง
เทวดา เช่อื วามผี ีสถิตอยแู ละรูค วามเปนไปของธรรมชาติ จงึ เชิญผี มาสอบถามปญ หาเกีย่ วกบั การทํามา
หากนิ เชญิ ผีพยากรณด นิ ฟา อากาศ
เมือ่ พิจารณาเพลงพ้นื บา นของไทยท่รี อ งเลนเพ่ือความสนุกนานในเทศกาลแลว อาจสรุปไดวา
ในระยะแรกเพลงพน้ื บา นนั้น ๆ คงเปนสวนหน่ึงของพิธีกรรมเพื่อความเจริญงอกงาม ตอมาเม่ือความ
เชอ่ื ของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไป ความเขาใจตอความหมายดั้งเดิมก็แปรเปลี่ยนเปนเพลงท่ีรองเลน
สนุกตามประเพณแี ตเ พยี งอยางเดียว
2.2 เพลงพน้ื บานที่เปนการละเลน
จากบทบาทดงั้ เดมิ ซึ่งเคยเปน สว นหนงึ่ ของพิธกี รรม เพลงพ้ืนบานท่ีรองในเทศกาลไดคลี่คลาย
เหลอื เพียงบทบาทในดา นการบันเทงิ เปนการละเลน ที่สังคมจัดขน้ึ เพือ่ รวมกลมุ สมาชิกในสงั คมและเพ่ือ
ยาํ้ ความสัมพนั ธข องกลมุ จึงมลี กั ษณะการรองเลนเปนกลุม หรือเปน วง เพลงในลานนวดขา ว เพลงท่ีรอง
เลนในเทศกาลสงกรานต เทศกาลออกพรรษา เพลงเจรียงท่รี อ งในงานบญุ ของชาวสุรินทร ลว นเปน เพลง
ทีเ่ กดิ จากการรวมกลุมชายหญงิ เพ่ือประโยชนใ นการทาํ งานและแสวงหาความสนุกเพลิดเพลินรว มกนั
เพลงพ้ืนบานทีเ่ ปนการละเลน เชน เพลงปฏพิ ากยเปนเพลงของกลุมชาวบานทุกคนมีสวนรวม
ในการรองเลน ผลดั กนั ทําหนา ทเ่ี ปนผรู องและลกู คู สว นใหญเ ปนเพลงสัน้ ๆ ทรี่ องงาย ไมจ ําเปน จะตอง
ใชศิลปนผูมีความสามารถโดยเฉพาะ เพลงพ้ืนบานที่เปนการละเลนจึงเปนเพลงของชาวบานอยาง
แทจ รงิ
2.3 เพลงพืน้ บานทีเ่ ปน การแสดง
เพลงพ้ืนบานทเี่ ปนการแสดง หมายถึงเพลงพ้ืนบา นทม่ี ีลกั ษณะการรอ งการเลน เปนการแสดง มี
การสมมุติบทบาท ผูกเร่ืองเปนชุด ทําใหการรองยืดยาวขึ้นดังนั้นผูรองจําเปนจะตองเปนบุคคลท่ีมี
ความสามารถเปน พิเศษ เชน มคี วามจําดี มีปฏิภาณ ฝปากดี มีความสามารถในการสรางสรรคเน้ือรอง
เปน ตน คณุ สมบัติเชนน้ีชาวบานไมสามารถมีไดทุกคน จึงทําใหเกิดการแบงแยกระหวางกลุมคนรอง
และคนฟง ข้นึ
88
คนท่ีรองเกงในหมูบานหนึ่ง ๆ มักจะเปนที่รูจักของคนท้ังในหมูบานเดียวกัน และหมูบาน
ใกลเคยี ง คนประเภทน้ีถาไมมีพรสวรรคมาแตกําเนิดก็มักจะเปนผูที่มีใจรักและฝกฝนมาอยางดี สวน
ใหญจะเสาะแสวงหาครูเพลงและฝากตัวเปนลูกศิษย เมื่อมีงานบุญงานกุศลที่เจาภาพตองการความ
บันเทิง ก็จะมีการวาจางไปเลนโตคารมประชันกัน ทําใหเกิดมีการประสมวง คือนําพอเพลงแมเพลง
ฝปากดมี ารวมกลุมกนั เขาเปน กลุม รบั จางแสดงในงานตาง ๆ จากเพลงทีร่ อ งเลนตามลานบา น ลานวดั ได
กลายมาเปนเพลงท่รี อ งเลนในโรงหรอื บนเวที ในระยะหลังมีการตกแตงฉากเหมือนโรงลิเก และตั้งแต
สมัยรัชกาลท่ี 5 เปน ตน มา การแสดงเพลงพ้นื บานภาคกลางไดร บั อิทธพิ ลของละครนอกและละครรอง
มาก จึงไดป รับการแสดงคลายละครนอกมากข้ึน เชน มีการรองประสมวงพิณพาทยและแตงกายแบบ
ละครนอก กลายเปนการแสดงที่เรียกวา เพลงสงเคร่ืองหรือเพลงทรงเครื่อง สวนทางภาคอีสานใน
ระยะเวลาใกลเคียงกันก็นิยมนํานิทานมารองเลนเปนเร่ืองเรียกวา ลําพ้ืน และกลายเปน ลําหมูและลํา
เพลนิ ไปในท่สี ุด ทางภาคเหนือเพลงพืน้ บานที่เปน การแสดง ไดแ ก การขับซอเมือง ซอเก็บนก จะเห็น
ไดวาเพลงพืน้ บา นไดพฒั นาจากเพลงของกลุมชนเปน เพลงการแสดงและเพลงอาชีพในที่สดุ
เพลงพนื้ บานท่ีเปน การแสดงของไทยเปน มหรสพทไี่ ดรับความนิยมอยางมากในชวง รัชกาลที่
5-7 จนกระท่งั หลังสมยั สงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ก็เร่ิมซบเซาและถึงคราวเสื่อมและนับวันจะยิ่ง
หายไปจากสังคมไทย อยา งไรก็ตามการฟน ฟู ดวยการศึกษาและเผยแพรในชวงป 2515 เปนตนมาของ
นักวิชาการและผูสนใจ ทําใหเพลงพ้ืนบานท่ีเปนการแสดงกลับมาเปนท่ีนิยมอีก คร้ังหนึ่ง เพลง
พ้ืนบานบางเพลงไดร ับการปรบั รปู แบบเปนเพลงลูกทุง เชน เพลงแหล เพลงลิเก เพลงฉอย เพลงอีแซว
หมอลํา เปนตน ซ่ึงบันทึกลงแถบเสียงจําหนายท่ัวประเทศ เชน เพลงแหลบวชนาคของ ไวพจน เพชร
สุพรรณ เพลงฉอยกับขาวเพชฌฆาต ของขวัญจิต ศรีประจันต เพลงอีแซวชุดหมากัด ของเอกชัย ศรีวิชัย
เพลงอีแซว 40 เพลง อีแซว 41 ของเสรี รงุ สวาง เปนตน ทําใหเพลงพื้นบานเหลาน้ียังเปนที่รูจักของคน
รนุ ปจจบุ ันไมถ กู ลืมเหมอื นเพลงพน้ื บานอ่นื ๆ อีกจาํ นวนมาก
เรอื่ งที่ 6 คณุ คาและการอนุรักษเพลงพน้ื บาน
เพลงพืน้ บานเปน มรดกทางปญ ญาของทอ งถน่ิ และของชาตจิ งึ มีคุณคา ควรแกก ารอนุรักษ ซ่ึงจะ
กลาวพอสงั เขปดงั น้ี
1. คุณคา ของเพลงพ้นื บา น
เพลงพ้นื บา นเปน สมบัติของสงั คมทีไ่ ดสะสมตอ เนอื่ งกันมานาน จงึ เปน สว นหน่งึ ในวถิ ีชวี ติ ของ
คนไทยและมีคุณคา ตอสังคมอยา งยิ่ง เพลงพื้นบา นมีคุณคาตอสงั คม 5 ประการ ดังนี้
89
1.1 ใหความบนั เทงิ เพลงพื้นบานมีคุณคาใหความบนั เทิงใจแกคนในสังคมต้ังแตอดีต
จนถึงปจ จุบนั โดยเฉพาะในสมัยท่ียังไมมีเครื่องบันเทิงใจมากมายเชนปจจุบันนี้ เพลงพ้ืนบานเปนส่ิง
บนั เทิงชนดิ หนง่ึ ซ่ึงใหความสุขและความรื่นรมยแ กค นในสงั คม ในฐานะท่ีเปนการละเลนพื้นบานของ
หนมุ สาวและในฐานะเปนสวนสําคัญของพิธีกรรมตาง ๆ เพลงพื้นบานจึงจัดเปนสิ่งบันเทิงท่ีเปนสวน
หนงึ่ ในวิถีชวี ิตของชาวบาน
เพลงพื้นบานใหค วามเพลิดเพลินแกสมาชกิ ของสงั คม เพลงกลอ มเด็กเปนเพลงท่ีผูรองตองการ
ใหเ ด็กฟงเพลนิ จะไดหลับไวขึน้ ในขณะเดียวกันผรู อ งเองก็เพลิดเพลินผอนคลายอารมณเครียดไปดวย
ในตวั เพลงรอ งเลน และเพลงประกอบการละเลนของเด็กเปนเพลงสนุก ประกอบดวยเสียง จังหวะและ
คําทเี่ ราอารมณ เดก็ ๆ จงึ ชอบรอ งเลน เยาแหยก นั เพลงปฏพิ ากยเ ปน เพลงที่มเี นื้อหาสนกุ เพราะเปนเร่ือง
ของการเก้ียวพาราสี เร่ืองของความรัก การประลองฝปากระหวางชายหญิง ย่ิงเพลงปฏิพากยท่ีเปน
มหรสพกย็ ่ิงสนุกใหญเพราะเปน สิ่งบันเทิงท่ีเต็มไปดวยโวหาร ปฏิภาณ และโวหารสังวาสที่เรียกเสียง
หัวเราะจากผูฟง นอกจากนัน้ เพลงพ้นื บานยังมจี งั หวะคกึ คกั เราใจ มีลีลาสนกุ เวลารอ งมที า ทางประกอบ
มีการรําทั้งราํ อยา งสวยงามและรํายั่วเยาที่เปนอิสระ เพลงพ้ืนบานในแงน้ีจึงมีบทบาทเพ่ือความบันเทิง
เปนสําคญั
ปจจุบนั แมวา เพลงพ้ืนบา นบางชนิด เชน เพลงกลอมเด็ก เพลงประกอบการละเลน จะสูญหาย
และลดบทบาทไปจากสังคมไทยแลว แตเพลงปฏิพากยบ างเพลงไดพ ฒั นารูปแบบเปนการแสดงพ้ืนบาน
หรอื มหรสพพื้นบานท่ีสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินใจแกผูชม ซึ่งชาวบานก็ยังนิยมอยูมาก ดังจะ
เหน็ ไดจ ากการมีคณะเพลงหลายคณะที่รับจา งไปแสดงเพ่ือสรางความสุขความสาํ ราญแกช าวบานท่ัวไป
ตวั อยางเพลงอีแซวทีม่ คี วามไพเราะและความหมายลกึ ซง้ึ กินใจทําใหผูฟงเพลิดเพลิน เชน
( ช ) ต้งั ใจหมายมองรักแตน องหมายมา บพุ เพบญุ พาโปรดจงไดอภัย
เรือนผมสมพกั ตรพน่ี ร้ี กั หลายแรม รกั ยิม้ รักแยม รักแมม เี ยอื่ ใย
ดูหยาดเย้มิ ทกุ อยา งนับแตยา งเจอหญงิ ความสวยทุกสงิ่ พไี่ มแ กลง ปราศรัย
เอยี งโสตฟงสารฟง พี่ขานบอกขา ว พ่เี ปนหนุม นอนหนาวโอแมห นนู อนไหน
ใหพ ี่แนบนอนหนอ ยแมหนูนอยอยา หนี ถา ไดแนบอยา งนีพ้ ่ไี มหา งนางใน
ใหพ่จี บู แกมหนอยหนูนอ ยอยา แหนง พอใหพ ีม่ แี รงสักหนอยเปน ไร
( ญ ) ใหพ่ีจูบหนอ ยวา หนนู อยยงั แหนง นองหวาดระแวงพม่ี ันชายปากไว
ปากหวานขานวอนฟงสนุ ทรประวิง กลัวไมร ักหญงิ จรงิ หญงิ สังเกตรใู จ
พอแรกเจอะรจู ักบอกวา รักลวงโลก พมี่ นั ชายหมายโชคทําใหหญงิ เฉไฉ
ใครเชอื่ เปนช่ัวตอ งพาตวั ตกตาํ่ คบคนหลงคํายอมมีขอระคาย
ข้เี กยี จรําคาญกลัวเปน มารสงั คม พอไดเดด็ ดอกดมกลวั จะไมเสียดาย
( บวั ผัน สุพรรณยศ 2535 : ภาคผนวก )
90
1.2 ใหก ารศกึ ษา เพลงพ้ืนบา นเปน งานสรางสรรคท ถ่ี ายทอดความรูสกึ นึกคิดของ
กลุมชน จงึ เปน เสมือนส่ิงทบ่ี นั ทึกประสบการณของบรรพบุรษุ ที่สง ทอดตอ มาใหแ กล ูกหลาน เพลง
พื้นบา นจงึ ทาํ หนาทบี่ นั ทึกความรูและภมู ิปญ ญาของกลมุ ชนในทอ งถิ่นมใิ หส ญู หาย ขณะเดยี วกนั ก็มี
คุณคา ในการเสรมิ สรา งปญญาใหแ กชมุ ชนดวยการใหการศึกษาแกคนในสังคมท้ังโดยทางตรงและโดย
ทางออ ม
การใหก ารศกึ ษาโดยทางตรง หมายถงึ การใหค วามรูแ ละการสัง่ สอนอยาง
ตรงไปตรงมา ทัง้ ความรทู างโลกและความรทู างธรรม เชน ธรรมชาติ ความเปนมาของโลกและมนษุ ย
การดําเนนิ ชวี ติ บทบาทหนาที่ในสงั คม วัฒนธรรมประเพณี วรรณกรรม กฬี าพนื้ บาน คตธิ รรม เปน
ตน
1.3 จรรโลงวัฒนธรรมของชาติ การจรรโลงวัฒนธรรมหมายถึงการพยงุ รักษาหรือ
ดาํ รงไวของแบบแผนในความคดิ และการกระทําท่ีแสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนในสังคม ท่ีมีความเปน
ระเบยี บ ความกลมเกลียวกาวหนา และความมศี ลี ธรรมอนั ดีงาม
บทบาทของเพลงพ้ืนบานท่ีเปนการแสดงวามีบทบาทเดนเปนพิเศษในการควบคุมและรักษา
บรรทัดฐานของสงั คม การชแ้ี นะระเบยี บแบบแผน ตลอดจนการกําหนดพฤตกิ รรมทเี่ หมาะสมในสังคม
น้นั เพราะผทู ่ีเปน พอ เพลงและแมเพลง นอกจากจะเปน ผมู ีน้าํ เสยี งดีโวหารดแี ลว ยังตองมีความรูในเร่ือง
ตา ง ๆ และมีประสบการณช ีวติ พอทีจ่ ะโนม นาวจิตใจผูคนใหคลอยตามดวย จึงจะไดรับความนิยมจาก
ประชาชน
แมว า เพลงพ้ืนบา นสว นใหญจะมีเนือ้ หาเปน เรอ่ื งของความรักและแทรกเร่ืองเพศ แตเน้ือเพลง
เหลา นีม้ ิไดใหเฉพาะความสนกุ สนานเทา นั้น ยังไดแทรกคําสอนหรือลงทายดวยการสอนใจท่ีแสดงให
เห็นถึงคุณคาของแบบแผนความประพฤติท่ีสังคมยอมรับ หรือแสดงใหเห็นผลเสียของการฝา
ฝน เชน เพลงตบั สขู อ ท่ีฝา ยหญงิ กลา ววา ไมยินยอมใหฝายชายพาหนีเพราะจะทําใหไดรับความอับอาย
และตนจะตอ งแตงงานเพ่ือทดแทนพระคุณของบิดามารดา เพลงตับหมากผัวหมากเมีย ท่ีกลาวถึงการ
สํานึกตัวและรูสึกทุกขใจของสามีท่ีนอกใจภรรยา และเพลงตับชิงชู ท่ีกลาวถึงการพาผูหญิงหนี ดัง
ตัวอยางน้ี
แมฉ นั เลยี้ งมาหวังจะไดแ ทนคณุ น่ีกลับมาเทลงใตถนุ ทําใหท อพระทยั
ไอเ รอ่ื งพานะคุณพม่ี ันกด็ ีสาํ หรบั แก สาํ หรบั พอและแมง ้ันจะเลยี้ งเรามาทาํ ไม
เลีย้ งตั้งแตเด็กหวังจะไดแ ตง ไดต บ แกจะมาลกั พาหลบไมอ ายเขาบางหรอื ไร
พอ แมเ ลย้ี งมาหวังจะกนิ ขนั หมาก ไมไดใหอ ดใหอ ยากเลีย้ งเรามาจนใหญ ...
91
1.4 เปน ทางระบายความคับขอ งใจ เพลงพ้นื บานเปนทางระบายความคบั ของใจอัน
เนือ่ งจากความเหน็ดเหนื่อยเม่ือยลาจากกิจการงานและปญหาในการดํารงชีพ รวมท้ังความเก็บกดอัน
เนอื่ งมาจากจารตี ประเพณี หรือกฎเกณฑข องสงั คม เชน ความคบั ของใจในเร่อื งการประกอบอาชีพ การ
ถกู เอารดั เอาเปรียบจากสังคม การประสบปญหาเศรษฐกิจตกต่าํ เปน ตน เพราะการเลนเพลงหรือการชม
การแสดงเพลงพน้ื บานจะทําใหผูชมไดห ยดุ พกั หรือวางมอื จากภารกจิ ตาง ๆ ลง เปนการหลีกหนีไปจาก
สภาพชีวิตจริงช่วั ขณะ ทาํ ใหผ อ นคลายความเครงเครยี ดและชว ยสรางกําลงั ใจที่จะกลบั ไปเผชิญกับชีวิต
จริงไดตอไป
ตวั อยางเชน เพลงกลอ มเด็กภาคอสี านจะมีเนื้อหาที่กลาวถึงอารมณวาเหวในการแบกรับภาระ
ครอบครัวของผูเปนแม และการถูกเหยียดหยามจากสังคมของแมมายแมรางที่ปราศจากสามีคุมครอง
เชน
นอนสาเดอหลา นอนสาแมสิกอม ( นอนเสียลกู นอ ย นอนเสยี แมจ ะกลอม )
แมสิไปเขน็ ฝา ย เดย๋ี นหงายเอา พอ ( แมจะไปปน ฝาย เดือนหงายหาพอ )
เอา พอมา เกียวหญา มุงหลังคาใหเจายู ( หาพอมาเกยี่ วหญา มุงหลังคาใหล ูกอยู )
ฝนสิฮ้ําอูแกว สไิ ปซ น ยไู ส ( ฝนจะร่วั รดอแู กว จะไปซอนอยไู หน )
คน้ั เพินไดกนิ๋ ชนิ้ เจา กะเหลียวเบงิ ตา ( เม่อื เขาไดกนิ เนอ้ื ลกู ก็เหลยี วดตู า )
คน้ั เพนิ ไดก๋นิ ปา เจากะสเิ หลยี วเบิงหนา ( เม่อื เขาไดก นิ ปลา ลูกกเ็ หลียวดูหนา )
มูพนี องเฮ้ยี นใกเพ่นิ กะซัง ( พวกพี่นองเรอื นใกลเขากช็ ัง )
นอกจากน้ีเพลงพ้นื บา นยงั ชวยระบายความเก็บกดทางเพศและขอหามตามจารีตประเพณีของ
สงั คมดวย เปนรปู แบบหนึ่งของการระบายความเก็บกดและโตตอบความคับของใจ โดยซอนไวในรูป
ของความขบขัน เสยี งหวั เราะของผูชมในขณะน้ันแสดงถึงอารมณรวมกับศิลปน จึงเปนเสียงของชัย
ชนะในการละเมิดกฎเกณฑไ ดโ ดยไมถ กู ลงโทษ ในอดตี สังคมไทยเปนสังคมทป่ี ด กน้ั เรือ่ งการแสดงออก
ทางเพศ ดงั ปรากฏวา มีคา นิยมหลายประการเกย่ี วกบั ความประพฤติของหญิงไทย เชน ใหรักนวลสงวน
ตัว อยา ชงิ สุกกอ นหาม เปน ตน คานยิ มเหลา น้จี งึ เปน มโนธรรมท่คี อยยับย้ัง และคอยตกั เตอื นไมใ หมีการ
แสดงออกที่ไมง ามในเร่ืองเพศ ปจจุบันแมวาคานิยมเหลานี้จะลดนอยลง ไมเครงครัดในการถือปฏิบัติ
เชน อดตี แตค นไทยสว นใหญโดยเฉพาะคนไทยในชนบทก็ยังคงรักษาและปฎิบัติตามคานิยมน้ีอยูเปน
จํานวนมาก เพลงพืน้ บา นจงึ เปน ทางออกทางหนึ่งทส่ี ังคมไทยไดเปดโอกาสใหผูรองและผูชมไดระบาย
อารมณเ กี่ยวกบั ความรักและ เร่ืองเพศไดอยางเต็มที่ เชน การกลาวถึงเร่ืองเพศอยางตรงไปตรงมาการ
พูดจาและแสดงทาทางไมส ภุ าพ การนาํ เรอ่ื งราวทางศาสนา และหลักธรรมมาลอ เลียน การนําบุคคลและ
องคกรตาง ๆ มาเสียดสีประชดประชัน เปนตน เหลาน้ีลวนเปนการละเมิดคานิยมของสังคม เปนการ
ระบายความเกบ็ กดและความรูสกึ กา วรา ว จงึ เทากบั เปนการสนองความพึงพอใจของผูรองและผฟู ง ชวย
ใหค วามเครงเครยี ดผอ นคลายลง ตัวอยางเชน เพลงอแี ซวตอ ไปนี้
92
ช. ไมตอ งทา หรอกนอ งเน้อื ทองของพี่ รปู รา งอยางน้จี ะทา พ่ีไปทาํ ไม
รูไหมรูไหมวาพ่ชี ายของนอง พไ่ี มเคยเปนรองรองใคร
นอ งจะมาสูจะบอกใหร ูเสยี กอ น เฉพาะไอเนอ้ื ออนออ นจะสูไ ดยงั ไง
ขนาดกาํ แพงเจ็ดชัน้ พยี่ ังดันเสยี จนพัง ก็ไอผานุงบางบางจะทนไดย ังไง
ญ. เอา ..จะดนั ก็ดันฉันกไ็ มก ลัว
เอาซติ วั ตอ ตวั วันนฉี้ ันสูตาย
บอกกาํ แพงไมตองถึงเจด็ ชัน้ ถา หากจะดนั เอาตรงนกี้ ็ได
เอา..ยังงั้นฝา มอื ของฉนั ตนั ตนั แขง็ ดกี ็ลองดนั ใหม ันทะลุใหไ ด
ช. บอกวาฝา มือแลว ตันตนั
ใครจะบา ไปดันดันกนั ไมได
ขนาดขูแบบนย้ี ังไมก ลัวเลย โอแมค ุณเอยใจกลาเหลือหลาย
ขนาดแมว ัวติดหลมยังลอซะลม ทั้งยนื พวกคณุ ตัวยังคืนคืนเงนิ ให ฯ
ญ. โอโฮโมไปมากฉันไมอ ยากจะฟง เอาลองดูใหดังกันก็ใหไ ด
ขนาดแมวัวติดหลมยังลอซะลมทัง้ ยืน พวกคณุ ตวั ยงั คืนเงินให
นแี่ กยงั ไมรจู กั แลว ขวัญจติ เฮย…ยาคุมออกฤทธเ์ิ อาอยูเม่ือไร
บอกผูช ายทุกช้ันท่ีฉนั ผานมา ขนาดทหารแนวหนาฉนั ยงั สูได
ไมว า ตาํ รวจทหารลอกนั ท้งั กรม ฉนั ลอ ทหารเปน ลมไปต้ังหลายนาย
(ขวัญจิต ศรปี ระจนั ตและไวพจน เพชรสุพรรณ , การแสดง)
1.5 เปน ส่ือมวลชนชาวบาน ในอดีตชาวบานสวนใหญมีปญหาความยากจน ดอยการศึกษา
และอยูหางไกลความเจริญ ส่ือมวลชนบางประเภท เชน หนังสือพิมพ วิทยุและโทรทัศน ไมสามารถ
เขาถงึ ไดง า ย เพลงพ้ืนบานจึงมีบทบาทในการกระจายขาวสาร และเสนอความคดิ เห็นตา ง ๆ
สมัยกอ นยังไมม เี คร่อื งมอื สอ่ื สารมวลชน ชาวบานใชว ฒั นธรรมพ้ืนบา นประเภททใี่ ชภาษา และ
ประเภทประสมประสาน เปน เครื่องสื่อสารแทน เชน เพลงกลอมเด็กภาคใต ใหความรูและความคิดใน
ลกั ษณะการชแี้ นะแนวทาง หรือการแสดงทรรศนะแกม วลชน หรอื ชาวบาน
บทบาทประการหนงึ่ ของเพลงพ้ืนบา นวา เปนสอื่ มวลชนกระจายขาวสารในสังคมจากชาวบาน
ไปสูชาวบาน และจากรฐั บาลไปยงั ประชาชน นอกจากนเี้ พลงพื้นบานยงั แสดงถึงทรรศนะของชาวบาน
ทมี่ ีตอเหตุการณที่เกิดข้นึ ในบานเมอื งดวย
ปจจุบันส่ือมวลชนไดพัฒนากาวหนาไปมาก สื่อมวลชนบางประเภท เชน วิทยุโทรทัศน ทํา
หนา ท่ีกระจายขาวสารไดมปี ระสิทธิภาพยง่ิ กวาเพลงพื้นบา น เพลงพน้ื บานบางชนดิ จึงลดบทบาทไปจาก
สังคมไทย แตเพลงพื้นบานบางชนิด เชน หมอลํา ลําตัด เพลงอีแซวและเพลงฉอย ยังคงมีบทบาทใน
ฐานะเปนสื่อมวลชนชาวบานอยมู าก ท้งั น้ีเน่ืองมาจากไดมีการพัฒนารูปแบบและเนื้อหาของเพลงใหมี