The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-21 04:26:07

ศิลปศึกษา (ทช11003) ประถมศึกษา

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

93

ลกั ษณะเปนการแสดงท่ีทันยุคทันสมัย รวมทั้งการพัฒนาความสามารถในการแสดงออกของศิลปนที่
สามารถโนม นา วจิตใจผูฟงไดอยา งดี

การทําหนาที่เปนสื่อมวลชนของเพลงพ้ืนบานน้ันจะมี 2 ลักษณะ ไดแก การกระจายขาวสาร
และการวพิ ากษว จิ ารณสงั คม

ในสว นของการกระจายขาวสารน้ัน เพลงพื้นบานจะทาํ หนา ท่ีในการกระจายขา วสารตา ง ๆ เชน
เพลงรอ ยพรรษา ของกาญจนบรุ ี ทาํ หนา ทบ่ี อกใหร ูวาถงึ เทศกาลออกพรรษา เพลงบอกของภาคใตและ
เพลงตรุษของสุรินทร ทําหนาท่ีบอกใหรูวาถึงเทศกาลปใหมแลว นอกจากนี้เพลงพื้นบานยังเปน
เครือ่ งมือในการกระจายขาวสารของผูปกครอง หรือผูบริหารประเทศ เชน หมอลํา กลอนลําปลูกผัก
สวนครวั ในสมัยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม หมอลาํ กลอนลาํ ตอ ตานคอมมิวนิสต สรรเสรญิ สหรัฐอเมริกา
ในสมยั จอมพลสฤษฏิ์ ธนะรัชต

ตวั อยางเพลงอแี ซวเผยแพรน โยบายและสรางคานิยมในสมยั จอมพล ป. พิบลู -สงคราม
จะพูดถึงเรอื่ งวฒั นธรรมทผ่ี ูนาํ ขอรอ ง แกบรรดาพ่นี อ งที่อยใู นแนวภายใน
เราเกดิ เปน ไทยรวมธงมาอยใู นวงศลี ธรรม จะตอ งมีหลกั ประจาํ เปนบทเรยี นใสใ จ
ประเทศจะอบั จนกเ็ พราะพลเมือง ประเทศจะรงุ เรอื งกเ็ พราะพวกเราทง้ั หลาย
เราตอ งชว ยกันบํารุงใหช าตขิ องเราเจรญิ ฉนั จึงขอชวนเชิญแกบ รรดาหญิงชาย
มาชวยกนั สง เสรมิ ใหพ ูนเพ่มิ เผา พันธุ วฒั นธรรมเท่ียงธรรมใ หเ หมาะสมชาตไิ ทย
------------------------------------------ ------------------------------------------

จะพูดถงึ การแตงกายหญิงชายพ่นี อ ง ที่ทา นผูนาํ ขอรองแกพ วกเราทง้ั หลาย
ทานใหเ อาไวผ มยาวตามประเพณีนยิ ม สับหยงทรงผมเสยี ใหง ามผึ่งผาย
จะเที่ยวเอาไวผ มทัดจะไดตดั ผมตงั้ จงเปล่ยี นแบบกนั เสยี บา งใหถกู นโยบาย
-------------------------------------- ------------------------------------

นอกจากตัวอยางดงั กลา วแลว ยังมเี พลงอกี จํานวนมากทีม่ ีเนื้อหาในการเผยแพรข า วสารเกย่ี วกับ
นโยบายของรฐั บาลและผูปกครอง เชน เพลงอีแซวและเพลงฉอยตอไปนี้

เน่อื งดว ยผูวาราชการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ทานไดมอบหนา ที่ตามทีม่ ีจดหมาย
ทานผวู า สุพรรณใหร ูจักทานท่ัวถิ่น ทานชอื่ วา จรินทร กาญจโนมยั
ใหข วัญจิต ศรปี ระจนั ตม ารอ งเพลงช้ีแจง เพ่ือจะใหแ จม แจง ประชาชนเขาใจ
ใหฉ ันมาขอบพระคณุ กนั ไปตามหวั ขอ คือ ก.ส.ช. ทผี่ ลงานเหลอื ใช
พูดถึงก.ส.ช.กร็ ูชดั กันทกุ ชั้น เปนบทบาทของรัฐบาลท่ีต้ังนโยบาย

94

จ.จานใชดชี าวศรปี ระจนั ต นก่ี ใ็ กลถ งึ วันแลวเวลา
นเ่ี ลือกต้ัง ส.ข. อกี แลวหนอพ่นี อ ง ดิฉันจงึ ไดร องบอกมา
วนั ทสี่ ามสิบกนั ยายนเชิญชวนปวงชน- ใหไปเลือกกรรมการหนอวาสขุ าฯ
ทกุ บา น
---------------------------------------- --------------------------------------

นอกจากเพลงพื้นบา นจะทาํ หนา ท่กี ระจายขาวสารแลว ยังเปนสอ่ื ในการวิพากษว ิจารณสงั คมใน
ดานตาง ๆ ไดแ ก เหตกุ ารณแ ละเรื่องราวของชาติ เชน สถาบนั การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ ปญหา
สังคม เปนตน
เพลงพืน้ บานบางชนิด เชน เพลงอแี ซว เพลงฉอ ย เปนตน ในปจจุบันมกี ารวพิ ากษวิจารณสังคม
อยางเห็นไดชัด ซึ่งอาจเกิดจากความเจริญกาวหนาของสังคม และระบบการเมืองการปกครองท่ีให
เสรีภาพแกประชาชนและสื่อมวลชนในการแสดงความคิดเห็นของตนไดอ ยางเปดเผย ทง้ั ในกลมุ ของตน
ในทสี่ าธารณะ หรอื โดยผานส่ือมวลชน ศิลปนพ้ืนบานจึงสามารถแสดงออกทางความคิดไดโดยอิสระ
ในฐานะท่ีเปนประชาชนของประเทศ นอกจากนี้เพลงพ้ืนบานยังเปนสมบัติของสวนรวม ที่สังคม
รับผิดชอบรวมกัน ผูแตงหรือผูรองจึงทําหนาที่แสดงความคิดเห็นในฐานะที่เปนตัวแทนของกลุมชน
ดว ย ขอยกตวั อยา งเพลงพน้ื บา นท่ีมีเนอื้ หาวิพากษว จิ ารณส งั คม ดังนี้
ลาํ ตดั เรื่องประชาธปิ ไตย ของขวัญจติ ศรีประจนั ต

การแสดงพนื้ บา นหัวขอ ขานเงื่อนไข กบั ประชาธปิ ไตยของเมอื งไทยวนั นี้
ความรสู ึกนกึ ไววา ไมไดข องจรงิ ยงั รอ แรรงุ ร่ิงยงั ไมนิง้ เตม็ ท่ี
ฉนั เกดิ มาชานานอายฉุ ันสี่รอบ เรือ่ งระบบระบอบและผดิ ชอบชั่วดี
รสู ึกยังหนอมแนมมอมแมมหมกเมด็ แบบวาหาประชาธปิ ไตยจนไหลเ คล็ดยงั ไม -
สําเร็จสกั ที
----------------------------------- ------------------------------------
สามัคคีสังฆสั สะคําพระทา นวา ตดั โลภโมโทสาแลว ทานวาเยน็ ดี
ไมแ กงแยง แขง ขันไมด้ือดา นมักได ประชาธปิ ไตยกเ็ กิดไดทันที
แตค นเราไมง้นั ความตอ งการมากเกนิ ย่งิ บา นเรือนเจรญิ ใจตน้ื เขนิ ขึน้ ทกุ ที
มีสตปิ ญญาเรยี นจนตําราทว มหวั แตค วามเหน็ แกตวั ความเมามัวมากมี
เจริญทางวัตถุแตม าผุทใี่ จ ประชาธปิ ไตยคงรอไปอีกรอ ยป
------------------------------ -----------------------------------
นักการเมอื งปจ จบุ นั ก็ผวนผนั แปรพรรค พอเราจะรจู กั ก็ยายพรรคเสียน่ี
บางคนทาํ งานดแี ละไมมีปญ หา ไมเ ลยี แขงเลียขาไมกาวหนาสกั ที

95

คนดมี อี ุดมการณม ักทํางานไมได แตพวกกะลอ นหลงั ลายไดยงิ่ ใหญทุกท.ี ..

จากทกี่ ลา วมาทัง้ หมดนีจ้ ะเห็นไดวา เพลงพ้นื บานมคี ณุ คาตอสงั คมสว นรวมและประเทศชาติที่
ปรากฏใหเห็นอยา งชัดเจน นอกจากมคี ณุ คาใหความบนั เทงิ ที่มีอยูเปน หลักแลว ยังมีคุณคาใหการศึกษา
แกคนในสังคมทัง้ โดยทางตรงและโดยทางออม รวมทง้ั มคี ุณคา ในการเปน ทางระบายความเก็บกดและ
การจรรโลงวฒั นธรรมของชาติ ตลอดจนมีคุณคาในฐานะเปน ส่อื มวลชนทท่ี าํ หนาที่กระจายขา วสารและ
วิพากษวิจารณสังคม เพลงพื้นบานจึงมิใชจะมีคุณคาเฉพาะการสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินใจ
เทา นนั้ แตย ังสรา งภูมิปญญาใหแ กค นไทยดว ย

ในปจจุบันเพลงพื้นบานมีบทบาทตอสังคมนอยลงทุกทีเพราะมีสิ่งอื่นขึ้นมาทดแทนและทํา
หนาท่ีไดดีกวา เชน มีสิ่งบันเทิงแบบใหมมากมายใหความบันเทิงมากกวาเพลงกลอมเด็กหรือเพลง
ประกอบการเลน มีการศึกษาในระบบโรงเรียนเขา มาทาํ หนา ทใี่ หการศึกษาและควบคุมสังคมแทน และ
มีระบบเทคโนโลยีทางการสื่อสารและคมนาคมทําหนาท่ีเปนส่ือมวลชนไดมีประสิทธิภาพ ย่ิง
กวา เพลงพื้นบานจงึ นบั วันจะยุตบิ ทบาทลงทกุ ที เวน เสยี แตเพลงพ้ืนบานบางชนิดท่ีพัฒนารูปแบบและ
เนือ้ หาใหเ หมาะสมกับสงั คมปจจบุ นั เชน เพลงอีแซว ในรูปแบบของเพลงลูกทุง ซึ่งนักรองหลาย
คนนํามารอ ง เชน เอกชยั ศรีวิชัย และเสรี รุงสวาง เปนตน ทําใหเพลงพื้นบานกลับมาเปนที่นิยมและมี
คุณคา ตอ สงั คมไดอีกตอไป

2. การอนรุ กั ษเพลงพน้ื บา น
การอนุรักษเพลงพื้นบานใหคงอยูอยางมีชีวิตและมีบทบาทเหมือนเดิมคงเปนสิ่งที่เปนไป
ไมได แตส่ิงท่ีอาจทําไดในขณะน้ีก็คือการอนุรักษ เพื่อชวยใหวัฒนธรรมของชาวบานซึ่งถูกละเลยมา
นานปรากฏอยูในประวัติศาสตรของสังคมไทยเชนเดียววัฒนธรรมที่เราถือเปนแบบฉบับ การ
อนรุ ักษมี 2 วิธีการ ไดแ ก การอนรุ กั ษตามสภาพด้งั เดมิ ทเ่ี คยปรากฏ และการอนุรักษโดยการประยุกต
2.1 การอนุรักษตามสภาพด้ังเดมิ ท่ีเคยปรากฏ หมายถึงการสืบทอดรูปแบบเนื้อหา วิธีการรอง

เลน เหมอื นเดิมทุกประการ เพอื่ ประโยชนใ นการศกึ ษา
2.2. การอนรุ กั ษโดยการประยุกต หมายถงึ การเปล่ียนแปลงรูปแบบและเนือ้ หาใหสอดคลองกับ

สงั คมปจจบุ ันเพ่อื ใหคงอยแู ละมบี ทบาทในสังคมตอ ไป
2.3. การถา ยทอดและการเผยแพรเปน สงิ่ สาํ คัญที่ควรกระทําอยางจรงิ จงั และตอเน่ืองเพ่ือไมให

ขาดชว งการสืบทอด ปกตศิ ิลปนพ้ืนบานสวนใหญม กั จะเต็มใจทจ่ี ะถา ยทอดเพลงพื้นบานใหแกลูกศิษย
และผสู นใจทั่วไป แตปญหาท่ีพบคือไมมีผูสืบทอดหรือมีก็นอยมาก ดังน้ันการแกปญหาจึงนาจะอยูที่
การเผยแพรเพ่ือชักจูงใจใหคนรุนใหมเห็นความสําคัญ รูสึกเปนเจาของ เกิดความหวงแหนและอยาก
ฝกหัดตอไป

96

การจงู ใจใหคนรนุ ใหมห นั มาฝกหดั เพลงพื้นบานไมใชเร่ืองงาย แตวิธีการท่ีนาจะทําได ไดแก
เชญิ ศลิ ปน อาชีพมาสาธติ หรอื แสดง เชญิ ศิลปน ผูเชี่ยวชาญมาฝกอบรมหรอื ฝกหัดกลุมนักเรียนนักศึกษา
ใหแสดงในโอกาสตาง ๆ ซงึ่ วิธนี ้จี ะไดทง้ั การถายทอดและการเผยแพรไ ปพรอ ม ๆ กัน

อยางไรกต็ ามการถายทอดเพลงพื้นบา นจะอาศยั เฉพาะศิลปน พ้นื บา นคงไมไ ด เพราะมขี อ จาํ กดั
เกย่ี วกับปจจยั ตาง ๆ เชน เวลา สถานท่ี และงบประมาณ แนวทางการแกไขกค็ วรสรา งผูถ า ยทอด
โดยเฉพาะครอู าจารย ซง่ึ มีบทบาทหนา ที่ในการปลกู ฝงวฒั นธรรมของชาติ และมกี าํ ลงั ความสามารถใน
การถายทอดใหแกเยาวชนไดจ าํ นวนมาก แตก ารถายทอดทฤษฎอี ยางเดียวคงไมเพยี งพอ ครอู าจารยค วร
สรางศรัทธาโดย “ทําใหดู ใหรดู วยตา เห็นคา ดว ยใจ” เพราะเม่ือเด็กเห็นคุณคาจะสนใจศกึ ษาและใฝห า
ฝกหดั ตอ ไป

2.4. การสงเสรมิ และการสนบั สนนุ เพลงพื้นบา น เปนงานหนักที่ตองอาศัยบุคคลที่เสียสละและ
ทมุ เท รวมทง้ั การประสานความรวมมือของทุกฝาย ที่ผานมาปรากฏวามีการสงเสริมสนับสนุนเพลง
พ้ืนบานคอนขางมากท้ังจากหนวยงานของรัฐและเอกชน ไดแก สํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ ศูนย
วัฒนธรรมประจําจังหวัด สถาบันการศึกษาตาง ๆ ศูนยสังคีตศิลป ธนาคารกรุงเทพฯ สํานักงานการ
ไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย เปน ตน

2.5. การสง เสริมเพลงพ้ืนบานใหเปนสวนหน่ึงของกิจกรรมในชีวิตประจําวัน โดยแทรกเพลง
พื้นบา นในกิจกรรมรน่ื เรงิ ตา ง ๆ ไดแ ก กิจกรรมของชีวิตสว นตวั เชน งานฉลองคลายวันเกิด งานมงคล
สมรส งานทําบุญขึ้นบานใหม ฯลฯ กิจกรรมในงานเทศกาลตาง ๆ เชน ปใหม ลอยกระทงหรือ
สงกรานต กิจกรรมในสถาบันการศึกษา เชน พิธีบายศรีสูขวัญ งานกีฬานองใหม งานฉลองบัณฑิต
และกจิ กรรมในสถานที่ทํางาน เชน งานเล้ยี งสงั สรรค งานประชุมสัมมนา เปน ตน

2.6. การสงเสริมใหนําเพลงพ้ืนบานไปเปนสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธ ท้ังในระบบ
ราชการและในวงการธุรกิจ เทาท่ีผานมาปรากฏวามีหนวยงานของรัฐและเอกชนหลายแหงนําเพลง
พนื้ บานไปเปน สือ่ ในการโฆษณาประชาสัมพันธ เชน จังหวัดสุพรรณบุรีเชิญ ขวัญจิต ศรีประจันต ไป
รองเพลงพ้ืนบานประชาสมั พันธผลงานของจงั หวัด บริษัทท่ีรับทําโฆษณานํ้าปลายี่หอทิพรส ใชเพลง
แหลสรางบรรยากาศความเปนไทย อุดม แตพานิช รองเพลงแหลในโฆษณาโครงการ หารสอง
รณรงคใหประชาชนประหยดั พลังงาน บุญโทน คนหนุม รองเพลงแหลโ ฆษณานาํ้ มันเคร่ือง ท็อปกัน 2
T การใชเพลงกลอ มเด็กภาคอีสานในโฆษณาโครงการสํานกึ รักบานเกดิ ของ TAC เปน ตน การใชเพลง
พ้ืนบานเปนสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธดังกลาวนับวานาสนใจและควรสงเสริมใหกวางขวาง
ย่งิ ขึ้น เพราะทาํ ใหเ พลงพนื้ บานเปน ท่คี ุนหขู องผูฟง และยังคงมีคณุ คา ตอ สังคมไทยไดตลอดไป

97

กจิ กรรมที่ 1.
1.1ใหผ ูเรยี นอธิบายลกั ษณะของดนตรีพื้นบานเปนขอ ๆ ตามทเ่ี รยี นมา
1.2 ใหผูเรียนศึกษาดนตรีพื้นบานในทองถิ่นของผูเรียน แลวจดบันทึกไว จากนั้นนํามาอภิปราย
ในชั้นเรียน
1.3 ใหผเู รียนลองหัดเลน ดนตรพี นื้ บา นจากผรู ใู นทองถิน่ แลว นํามาเลนใหช มในชน้ั เรียน
1.4 ผเู รยี นมีแนวความคดิ ในการอนุรักษเ พลงพ้ืนบานในทอ งถิน่ ของผเู รยี นอยา งไรบา ง ใหผเู รยี น

บนั ทกึ เปนรายงานและนาํ แสดงแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกันในชัน้ เรยี น

98

บทท่ี 3
นาฏศิลปพืน้ บา น

สาระสําคญั

1. นาฏศิลปพ นื้ บานและภมู ปิ ญญาทองถิ่น
2. คุณคา และการอนุรกั ษน าฏศิลปพืน้ บาน วฒั นธรรมประเพณแี ละภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั

1. บอกประวัติความเปนมาของนาฏศลิ ปพ้ืนบา นแตล ะภาคได
2. บอกความสมั พันธระหวางนาฏศลิ ปพ ืน้ บานกับวฒั นธรรมประเพณี
3. บอกความสมั พันธร ะหวา งนาฏศลิ ปพนื้ บานกับภมู ปิ ญญาทอ งถน่ิ ได
4. นํานาฏศิลปพ ื้นบาน ภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ มาประยุกตใ ชไ ดอยา งเหมาะสม

ขอบขายเนื้อหา

1. นาฏศิลปพ ้นื บานและภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ
2. นาฏศลิ ปพ ืน้ บา นภาคเหนอื
3. นาฏศิลปพ น้ื บานภาคกลาง
4. นาฏศลิ ปพ้นื บานภาคอีสาน
5. นาฏศิลปพ นื้ บานภาคใต






























































Click to View FlipBook Version