143
ขอดี
1. เปดดาํ เนนิ การคา 24 ชั่วโมง
2. ดําเนนิ การคา อยา งไรพ รมแดนทั่วโลก
3. ใชงบประมาณลงทนุ นอ ย
4. ตัดปญหาดานการเดนิ ทาง
5. งายตอ การประชาสัมพนั ธ โดยสามารถประชาสัมพันธไ ดท ่ัวโลก
ขอเสยี
1. ตอ งมรี ะบบรกั ษาความปลอดภัยท่มี ปี ระสิทธภิ าพ
2. ประเทศของผูซ ้ือและผขู ายจาํ เปนตองมีกฎหมายรองรบั อยา งมีประสิทธภิ าพ
3. การดาํ เนนิ การดานภาษตี อ งชัดเจน
4. ผูซ ้อื และผขู ายจาํ เปนตอ งมคี วามรพู ื้นฐานในเทคโนโลยีอนิ เทอรเ นต
กระบวนการพ้ืนฐาน เกี่ยวกบั พาณชิ ยอ เิ ล็กทรอนกิ ส
1. ลูกคาเลอื กรายการสนิ คา ของผูจําหนาย (Catalog)
2. ลูกคา สง คําสัง่ ซือ้ ใหผจู าํ หนาย (Order)
3. ลูกคาชาํ ระเงนิ ใหผูจ ําหนา ย (Payment)
4. ลูกคา รอรบั สินคาจากผูจาํ หนา ย (Shipping)
เว็บไซทธ ุรกิจ E-Commerce การพาณิชยอ เิ ล็กทรอนิกส
ตวั อยางเว็บไซทใ นประเทศ เชน www.shop4thai.com, www.chulabook.com, www.tohome.com เปนตน
ตวั อยา งเว็บไซทต างประเทศ เชน www.amazon.com , www.alibaba.com, www.ecplaza.net เปน ตน
เร่ืองท่ี 9 การบริหารจดั การธุรกิจ
ทุนและแหลงเงนิ ทนุ
เงนิ ทุน หมายถึง เงินตราทอ่ี งคการธุรกจิ จัดหามา เพ่ือนํามาใชในการดาํ เนนิ กจิ การ โดยมจี ดุ ประสงค
เพื่อใหไดผลตอบแทนจาการลงทุนอยางคุมคา เงินทุนมีความสําคัญตอธุรกิจ เพราะเปนปจจัยในการ
ดาํ เนนิ ธรุ กิจ ต้ังแตเ ริม่ ตั้งกิจการ และระหวางดําเนินกิจการ เงินทุนทําใหก ารผลิต การซอ้ื ขายเปนไปอยาง
มปี ระสทิ ธภิ าพและทําใหธุรกจิ ขยายตัวไดอยางรวดเร็ว
144
ประเภทของเงนิ ทนุ เงินทุนท่ใี ชในการดาํ เนินธรุ กจิ แบงไดเ ปน 2 ประเภท คอื
2.1 เงนิ ทุนคงท่ี
เงนิ ทุนคงท่ี หมายถึง เงินทุนที่องคการธุรกิจจัดหาเพ่ือนํามาใชในการจัดหาทรัพยสินถาวร
ทรัพยสนิ ถาวร หมายถึง สินทรัพยท ่อี ายุการใชงานนานเกินกวา 1 ป ดังนั้น เงินทุนคงท่ี องคการธุรกิจจึง
นํามาใชใ นการลงทนุ ซื้อที่ดนิ สรางอาคาร ซอื้ เครือ่ งจักร ซื้อเครื่องใชส าํ นกั งาน เปนตน
2.2 เงินทนุ หมนุ เวยี น
เงนิ ทนุ หมุนเวยี น หมายถงึ เงนิ ทนุ ท่ีองคการธุรกิจจัดหา เพื่อนํามาใชในการจัดหาทรัพยสิน
หมุนเวียนหรือใชในการดําเนินกิจการ ทรัพยสินหมุนเวียน หมายถึง สินทรัพยท่ีอายุการใชงานไมเกิน
หน่ึงป ดังนั้น เงินทุนหมุนเวียน องคการธุรกิจจึงนํามาใชในการซื้อวัตถุดิบ ซ้ือสินคา จายคาแรงงาน
จายคาเบย้ี ประกนั ภัย จา ยคา ขนสง จายคา โฆษณา จา ยคา สาธารณปู โภค เปน ตน
แหลงเงนิ ทุน
แหลงทม่ี าของเงนิ ทุน
1. แหลง เงินทนุ จากภายในธรุ กิจเอง ไดแ ก เงินทนุ ของเจา ของกิจการ กาํ ไรสะสม และคาเสื่อม
ราคา
2. แหลง เงนิ ทนุ จากภายนอกธรุ กิจ ไดแก เงินทนุ ท่มี าจากการระดมทนุ เงนิ ทนุ จากเจา หนข้ี อง
กิจการและเงนิ ทุนท่ไี ดร ับจากการสนบั สนนุ
เรอื่ งท่ี 10 การกาํ หนดราคาขาย
ราคา (Price) หมายถงึ “มูลคาของผลิตภัณฑหรือบริการที่แสดงคาออกมาในรูปหนวยเงิน หรือ
หนว ยการแลกเปลย่ี นอน่ื ๆ”
วิธีการขั้นพื้นฐานในการต้ังราคา นิยมกันอยูทั่วไป คือ วิธีการตั้งราคาโดยยึดตนทุนเปนเกณฑ
ราคาขายตอ หนว ย = ตน ทนุ ท้งั หมด + กําไรท่ตี อ งการ
การบัญชี (Accounting) หมายถงึ การจดบันทกึ รายการคา ตา ง ๆ ที่เก่ยี วกบั การรบั -จา ยเงิน การจัด
หมวดหมูส รปุ ผลและวิเคราะห ตคี วาม อยา งมีหลกั เกณฑ
ประโยชนและวตั ถุประสงคของการบญั ชี
1. ชวยใหเ จา ของกจิ การสามารถควบคมุ รักษาสนิ ทรพั ยข องกิจการได
2. ชวยใหทราบผลการดําเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึงวา ผลการ
ดําเนินงานทผ่ี า นมา กจิ การมกี าํ ไรหรือขาดทุนเปนจาํ นวนเทาใด
3. ชวยใหท ราบฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ วันใดวันหนึ่งวา กิจการในสินทรัพย หนี้สิน และ
ทุน ซงึ่ เปน สว นของเจา ของกจิ การเปน จํานวนเทาใด
145
4. การทําบญั ชเี ปน การรวบรวมสถิติอยางหนึ่งท่ีชวยในการบริหารงาน และใหขอมูลอันเปน
ประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานและควบคุมกิจการใหประสบผลสําเร็จตามความมุงหมาย
เพอื่ บนั ทึกรายการคาท่ีเกิดข้นึ ตามลําดบั กอนหลัง และจาํ แนกตามประเภทของรายการคาไว เพอ่ื ใหถูกตอ ง
ตามพระราชบญั ญตั ิวา ดวยการทาํ บญั ชีของกจิ การตา ง ๆ
การบริหารคลังสนิ คา
การวางแผนการบริหารคลังสินคาเพื่อสํารองสินคาคงคลังในปริมาณท่ีเหมาะสม เปนฟนเฟอง
หลักใหธ ุรกจิ สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได
การบริหารคลังสินคาจะจัดการตั้งแตการรับเขาจนถึงการจายออก จะเปนการเมื่อสินคาเขามา
ควรจะนําสินคาไปเก็บไวที่ไหน ใหถูกสุขลักษณะ เนื่องจากมีการจัดเก็บสินคาหลากหลายประเภท
จงึ จาํ เปนตองแบงโซนจดั วางสนิ คา
ตนทุนการบริหารคลงั สนิ คา และสนิ คาคงคลงั ประกอบไปดว ย 2 ประเภทดวยกัน ไดแ ก
1. ตน ทนุ การบริหารคลงั สินคา เกดิ จากการดาํ เนินกิจกรรมการใหบรกิ ารภายในคลงั สินคา
การจดั เกบ็ สนิ คา
2. ตน ทุนในการถอื ครองสนิ คา คือตนทุนในการถือครองสนิ คา หรอื คาเสียโอกาสทเ่ี งินทุนไปจม
อยใู นสินคา
เร่อื งท่ี 11 คุณธรรมในการประกอบอาชีพ
คุณธรรม คอื คณุ งามความดีท่ีเรา แสดงออก เชน
1. ความขยนั หมั่นเพียร มคี วามขยนั ในการปฏบิ ตั งิ าน
2. อดทน การทํางานตอ งมีความ เขม แขง็ อดทนตอสภาพทเี่ กดิ ขน้ึ ทุกขณะ งานจะหนักจะเบาเรา
ตอ งทาํ
3. ความซอื่ สตั ย มคี วามซื่อสัตย ตอตนเอง ตอหมูค ณะ เพือ่ นรว มงาน
4. สจุ ริต เปนคนตรงไมเ อารัดเอาเปรยี บบุคคลอ่นื ไมค ดโกง ถือคติ “ซือ่ กนิ ไมหมด คดกนิ
ไมน าน”
5. ความรบั ผิดชอบ มีความรับผิดชอบงานทม่ี อบหมายใหท าํ จนสาํ เรจ็ ถกู ตอง นายจา งพอใจ
6. ความเขาใจตนเองและสังคม คือ เปน คนไวใ จซ่งึ กันและกนั
ปญ หาและอปุ สรรค
1. ทกั ษะความรู ความชํานาญในธุรกิจถือเปนปจจัยสําคัญที่บงบอกถึงความสามารถในการทํา
ธรุ กจิ ของผปู ระกอบการ ซึ่งจะตองคนหาตัวเองวามี ทักษะความรู ความสามารถท่ีโดดเดนนั้นเพียงพอ
ท่ีจะชวยขับเคล่ือนธุรกิจนั้นอยูรอดไดหรือไม การท่ีเรามีเงินทุนนั้นก็ไมไดหมายความวาจะประสบ
ความสาํ เรจ็ แตต อ งวดั กันที่ฝม อื อีกดว ย แตห ากวาคนหาแลว ยงั ไมเจออีก มขี อแนะนาํ อยู 2 อยา งก็คือ เลิก
146
ทําธรุ กจิ หรอื หาคนท่ีมีคณุ สมบัตดิ ังกลาวมาเขา รวมเปนพันธมิตรกัน เทาที่ผานมามีธุรกิจจํานวนมากที่มี
หุนสวนจํานวนเยอะมาก และแตละคนก็มีความสามารถแตกตางกันไป เชน ความสามารถทางดานคิด
แผนการตลาด การโปรโมทประชาสัมพนั ธ หรือการจดั การภายในองคกร เปนตน อยาลืมวาไมมีใครเกง
ทสี่ ดุ หรอื ดที สี่ ุด แตถาเราเอาความสามารถของแตละคนมาผนึกรวมกัน ก็จะทําใหความเกงกาจในธุรกิจ
นั้นกา วไปถึงความเปน ทส่ี ุดนน้ั ได
2. ขอมูลท่ีจําเปนตอการเตบิ โต เราจะเห็นไดวา ทุก ๆ ธุรกิจในปจจุบันนี้ตองอาศัยขอมูลตาง ๆ
เพอื่ หลอเลย้ี งใหธ ุรกจิ กา วไปอยางม่นั คง ซ่ึงมคี วามสําคญั ไมแพไปกวาเงนิ ทุนทเ่ี รากําลงั หากันอยู อาทเิ ชน
ขอ มลู เรอ่ื งความตองการของผูบรโิ ภค อยา ลมื วาทกุ วนั น้ีมีการแขงขันสูง ลูกคาเปนปจจัยสําคัญที่ชวยให
ธุรกิจเรารอด ดังน้ัน เราจําเปนตองศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคอยางตอเน่ือง หากไมทําเชนนั้นแลว
ธรุ กจิ ของคุณอาจจะมผี ลกระทบก็เปนได นอกจากนี้แลว วงจรของสนิ คาตอ งมกี ารเปลี่ยนแปลงไปตามยคุ
ตามสมัยดวย น่ันหมายความวาสินคาทุกชนิดจะมีวงจรชีวิตที่ถูกกําหนดโดยผูบริโภค และแนนอนวา
ผูประกอบการจะตอ งมขี อมูลเหลานี้ เพ่อื ใชป รบั แผนเชงิ กลยุทธต า ง ๆ
3. การวางแผนการตลาด หวั ขอนี้สาํ คญั มากตอ ผูประกอบการซ่ึงจะตองคนหาวาแผนการตลาด
ของเรานัน้ มีจุดออนและจดุ แขง็ ตรงไหนบา ง วิธีนี้สามารถทําไดโดยการศึกษาแผนการทํางานของคูแขง
หากเราทาํ แผนมาเปรยี บเทียบกับคูแขงแลว พบวามีจดุ ออนอยู ขอแนะนาํ ใหท บทวนและเปล่ียนการตลาด
ใหมหมด อยาลืมดวยวาทุกวันนี้การทํางานตองศึกษาจากลูกคาและคูแขง บางคร้ังแนวคิดของเราอาจ
ขดั แยงกับความเปนจริงอยบู าง แตยงั ไงกต็ อ งปรบั ปรงุ เพือ่ ใหธรุ กิจนนั้ ไปตลอดรอดฝง
4. มาตรฐานในการผลิต เทา ท่เี ราทราบกนั อยวู า คณุ ภาพที่ดีของสินคา คือ ปจจัยสําคัญตอความ
อยูรอด ควรหม่ันทบทวนเรื่องมาตรฐานของสินคากันอีกครั้ง เพื่อใหรูวาคุณภาพของสินคาเราตรงกับ
ความตองการของผูบ ริโภครึเปลา ดังนนั้ การสรา งมาตรฐานการผลติ คือ สิ่งที่เราตอ งตระหนักและพัฒนา
กันอยา งเรือ่ ย ๆ
เรอื่ งท่ี 12 หนว ยงานสงเสริมและสนับสนนุ ในประเทศไทย
หนวยงานทสี่ นบั สนุน SMEs
การลงทนุ
การเงิน
การตลาด
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
147
การลงทนุ
1. ศูนยบรกิ ารนกั ลงทนุ ตลาดหลักทรพั ยแ หงประเทศไทย 62 ถนนรชั ดาภเิ ษก เขตคลองเตย
กรุงเทพฯ 10110 โทรศพั ท (66) 0-2229-2000 โทรสาร (66) 0-26545649 http://www.set.or.th
2. สาํ นกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ การลงทนุ ถนนวิภาวดรี ังสิต เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท (66) 0-25378111, 0-2537-8155 โทรสาร (66) 0-537-8177
3. กรมสง เสรมิ อตุ สาหกรรม ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400
โทรศัพท (66) 0-2220-4414-8, 0-2202-4511 โทรสาร (66) 0-2246-0031 อีเมล [email protected]
http://www.dip.go.th
การเงนิ
1. ศนู ยใหคําปรกึ ษาทางการเงินสําหรบั วิสาหกจิ ขนาดกลาง ขนาดยอ ม และประชาชน (ศงป.
ศนู ยก รงุ เทพ ฯ บานมนงั คศิลา ถ.หลานหลวง เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร 10600
โทรศัพท (66) 0-2268-0334, 0-2628-1802-3 โทรสาร (66) 0-2628-0338
อีเมล [email protected] http://www.sfac.or.th
2. ธนาคารแหง ประเทศไทย 273 ถนนสามเสน บางขนุ พรหม กรุงเทพฯ 10200
โทรศัพท (66) 0-2283-5353 โทรสาร (66) 0-2280-0449, 0-2280-0626 http://www.bot.or.th
3. บรรษัทประกนั สนิ เชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม (บสย.) เลขที่ 2922/243
อาคารชาญอสิ สระทาวเวอร II ชั้น 18 ถนนเพชรบุรตี ัดใหม กรงุ เทพฯ 10320
1 โทรศัพท (66) 0-2308-2741 (อตั โนมตั ิ 12 เลขหมาย) โทรสาร (66) 0-2308-2749
. อเี มล [email protected] http://www.sicgc.or.th
4. บรรษัทเงนิ ทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม (บอย.) เลขท่ี 475 ชัน้ 9 อาคารศิริภญิ โญ
ถนนศรอี ยธุ ยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2201-3700-10
โทรสาร (66) 0-2201-3723-4 อีเมล [email protected] http://www.sifc.co.th/index.asp
การตลาด
1. กรมสงเสรมิ การสงออก กระทรวงพาณชิ ย 22/77 ถนนรชั ดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร
กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท (66) 0-2511-5066, 0-2512-0093-0104 โทรสาร (66) 0-2512-1079,
0-2513-1917 http://www.depthai.go.th
2. กรมการคา ภายใน กระทรวงพาณิชย ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
โทรศัพท (66) 0-2222-2212 , (66) 0-2221-4706 โทรสาร (66) 0-2223-1422
148
http://www.dit.go.th
3. กรมการคา ตางประเทศ กระทรวงพาณิชย 44/100 หมทู ี่ 1 ถนนสนามบนิ นํ้า ต.บางกระสอ
อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท (66) 0-2547-4771-8 โทรสาร (66) 0-2547-4792
อีเมล [email protected] http://www.dft.moc.go.th
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
1. สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย 196 พหลโยธิน จตุจกั ร
กรุงเทพมหานคร 10900 ประเทศไทย โทรศัพท (66) 0-2579-1121-30, (66) 0-2579-5515,
(66) 0-2579-0160, (66) 0-2579-8533 โทรสาร (66) 0-2561-4771, (66) 0-2579-8533
อีเมล [email protected] http://www.tistr.or.th
2. สํานักงานพฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หงชาติ 73/1 ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี
กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2644-8150-99 โทรสาร (66) 0-26448027-9
http://www.nstda.or.th
3. สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี นุ ) (ส.ส.ท.) เลขที่ 5-7 ซอยสขุ มุ วิท 29
แขวงคลองเตยเหนอื เขตวัฒนา กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2258-0320-5
โทรสาร (66) 0-2258-6440 อีเมล [email protected] http://www.tpa.or.th
4. สาํ นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ถนนพระราม 6 แขวงทงุ พญาไท เขตราชเทวี
กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2202-3300-4 โทรสาร (66) 0-2202-2415
อเี มล [email protected] http://www.tisi.go.th
5. สถาบันอาหาร 2008 ถนนจรลั สนทิ วงศ ซอย 40 เขตบางยข่ี นั กรงุ เทพฯ 10700
โทรศพั ท (66) 0-2886-8088, โทรสาร (66) 0-2886-8106-7 http://www.nfi.or.th
6. สถาบนั พฒั นาอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ซอยตรมี ิตร กลวยนาํ้ ไท ถนนพระราม 4
เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2713-5492-9 โทรสาร (66) 0-2712-1592-3
อีเมล [email protected] http://www.thaitextile.org
149
กิจกรรม
1. จงอธิบายวธิ ีการแปรรปู และถนอมอาหาร พรอมยกตวั อยาง
2. จงยกตวั อยางอาหารสําเรจ็ รูปในชมุ ชนของทาน พรอมนําเสนอชอ งทางการจําหนา ยและ
แนวทางการหาตลาด
3. จงอธิบายหลกั การเลือกผลติ ภณั ฑอาหารสาํ เร็จรปู ตามหลกั สุขาภบิ าลอาหาร
4. จงอธบิ ายวธิ ีการจัดสถานทจ่ี าํ หนา ยและคลงั สินคาตามหลักสุขาภบิ าลอาหาร
5. นาํ เสนอโครงงานจดั ต้ังธรุ กิจจาํ หนา ยอาหารตามหลักสขุ าภบิ าลอาหารตามท่ที า นสนใจ
150
บรรณานกุ รม
ชศู ักดิ์ เดชเกรียงไกรกุล, นิทศั น คณะวรรณ, ธีรพล แซต้ัง, การตลาดรงุ มุงสัมพนั ธ. กรงุ เทพ :
บรษิ ทั ซเี อ็ด ยเู คชน่ั จํากดั (มหาชน), 2546.
วรี ะพงษ เฉลมิ จิระวฒั น, คณุ ภาพในงานบรกิ าร, กรงุ เทพ : สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี
(ไทย- ญ่ปี นุ ), 2542.
ศิรวิ รรณ เสรรี ตั น, ศภุ กร เสรรี ตั น, องอาจ ปทวานิช, ปริญ ลักษิตานนท, สพุ ีร ลมิ่ ไทย, หลักการตลาด.
กรงุ เทพ : บริษทั ธีระฟลม และไซเท็กซ, 2543.
http://www.ku.ac.th/e-magazine/february44/agri/food.html
www.dcharoenshop.com/.../68-organized-shops-and-product-pla...
www.atii.th.org/html/ecom.html
“การมจี ติ ใจในการบรกิ ารทด่ี ”ี (ออนไลน) . เขา ถงึ เมอื่ 9 กรกฎาคม 2548. จาก
www.cdd.go.th/j4607181.htm
151
152
ท่ปี รึกษา คณะผจู ดั ทํา
1. นายประเสรฐิ บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชัยยศ อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
3. นายวัชรินทร จาํ ป รองเลขาธิการ กศน.
4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ที่ปรกึ ษาดา นการพัฒนาหลกั สูตร กศน.
5. นางรักขณา ตณั ฑวุฑโฒ ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผูเขียนและเรียบเรียง หนว ยศึกษานิเทศก
1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ หนวยศึกษานิเทศก
ผบู รรณาธกิ าร และพัฒนาปรับปรุง โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สิงห สิงหเสนยี )
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเวช กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นางสปุ รารถนา ยุกหะนันทน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3 . นางกนกพรรณ สุวรรณพทิ กั ษ ขาราชการบํานาญ
4 . นางสาวเยาวรตั น คําตรง ขาราชการบาํ นาญ
5. นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป ขา ราชการบํานาญ
6. นางสาวสุรีพร เจรญิ นชิ ขา ราชการบํานาญ
7. นางธัญญวดี เหลา พาณชิ ย สาํ นักงาน กศน เขตบางเชน
8. นางเออื้ จิตร สมจติ ตช อบ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
9. นางสาวชนิตา จิตตธ รรม กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
10. นางสาวอนงค เช้ือนนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
คณะทาํ งาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน
2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา กุลประดษิ ฐ
5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจิตวฒั นา
ผพู มิ พตน ฉบบั
นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา
ผูออกแบบปก
นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป
153
คณะท่ีปรกึ ษา ผูพ ฒั นาและปรับปรงุ ครงั้ ท่ี 2
นายประเสริฐ บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
นายชัยยศ อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
นายวัชรนิ ทร จําป รองเลขาธกิ าร กศน.
นางวัทนี จันทรโอกุล ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพัฒนาส่อื การเรียนการสอน
นางชุลีพร ผาตนิ นิ นาท ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศกึ ษา
นางอัญชลี ธรรมวธิ กี ลุ หวั หนาหนวยศกึ ษานเิ ทศก
นางศทุ ธินี งามเขตต ผอู ํานวยการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผพู ฒั นาและปรบั ปรุงคร้ังที่ 2
นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
นายกิตติพงศ จนั ทวงศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางสาวผณินทร แซอึง้ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา
154
คณะผูป รับปรุงขอมลู เกย่ี วกับสถาบันพระมหากษัตริยป พ.ศ. 2560
ที่ปรกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสุรพงษ สุขสเุ ดช ปฏบิ ัตหิ นาทีร่ องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสริฐ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
พวงไพวัลย และการศึกษาตามอัธยาศัย
3. นางตรนี ุช กศน.เขตพญาไท
ผปู รับปรงุ ขอ มูล
นางสาวชอแกว
คณะทํางาน
1. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
4. นางเยาวรตั น ปน มณีวงศ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
8. นางสาวชมพนู ท สังขพิชัย