The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-16 06:17:32

สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

93

สลายตัวไดงายกวาปกติ นอกจากนี้ ยังพบวายาอะมิโนพัยรินและไดพัยโรน มีผลตอสวนประกอบของ
เลอื ดอยา งมาก

3. ความเปนพิษตอตบั ถึงแมตับจะเปน อวยั วะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุดในการกําจัดยา แตมันก็ถูก
กับตัวยาในความเขมขนที่สูง จึงอาจเปนอันตรายจากยาดวยเหตุน้ีก็ได ยาบางขนานท่ีอาจเปนอันตรายตอ
เซลลข องตบั โดยตรง เชน ยาจําพวก Chlorinated hydrocarbons ยาเม็ดคุมกําเนดิ ยาปฏิชวี นะจําพวก
โพลิมกิ ซิน และวิตามินเอ ในขนานสงู มากๆ อาจทาํ ใหตบั หยอ นสมรรถภาพได

4. ความเปนพิษตอไต ไตเปนอวัยวะท่ีสําคัญท่ีสุดในการขับถายยาออกจากรา งกาย ยาจาํ พวก
ซัลฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทําใหไตอักเสบเวลารับประทานยาพวกนี้จึงควรดื่มนํ้ามาก ๆ
นอกจากนี้ ยังมยี าทอ่ี าจทาํ ใหเ กิดพษิ โดยตรงตอไตได เชน ยานีโอมัยซนิ เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจําพวก
เพนิซิลลิน หรือการใหวิตามินดีในขนาดสูงมากและเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดพิษตอไต ไตหยอน
สมรรถภาพ จนถึงขัน้ เสยี ชวี ติ ได

5. ความเปนพิษตอ เสน ประสาทของหู ยาบางชนดิ เปน พษิ ตอเสนประสาทของหู ทาํ ใหอาการ
หูอ้อื หตู งึ และหูหนวกได เชน ยาสเตร็ปโตมัยซิน นีโอมัยซนิ กานามัยซนิ ควินิน และยาจําพวก
ซาลิซัยเลท เปน ตน

6. ความเปนพิษตอประสาทสวนกลาง ยาบางขนานทําใหมีอาการทางสมอง เชน การใช
แอมเฟตามีน ทําใหสมองถูกกระตุนจนเกิดควรจนนอนไมหลับ ปวดหัว กระวนกระวาย อยูไมสุข และ
ชกั ได สวนยากดประสาทจําพวกบารบิทูเรต ถาใชไปนาน ๆ จะทําใหเกิดอาการงวง ซึมเศรา จนถึงขั้น
อยากฆา ตวั ตาย

7. ความเปน พษิ ตอระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด มักเกิดจากยากระตุน หัวใจ ยาแกหอบหืด
ไปทาํ ใหห ัวใจเตนเร็วผิดปกติ

8. ความเปน พษิ ตอกระเพาะอาหาร ยาบางชนิด เชน แอสไพริน เฟนลิ บิวตาโซน เพรดโซโลน
อนิ โดเมธาซิน ถารับประทานตอนทองวางและรบั ประทานบอยๆ จะทาํ ใหก ระเพาะอาหารอกั เสบและเปน
แผลได

9. ความเปน พษิ ตอทารกในครรภ มยี าบางชนิดที่แมไ มค วรรับประทานระหวางต้ังครรภ เชน
ยาธาลโิ ดไมลช ว ยใหน อนหลับและสงบประสาท ยาฟโนบารบิตาลใชรักษาโรคลมชัก ยาไดอะซีแพมใช
กลอมประสาท และยาแกคลื่นไสอาเจียน เนื่องจากอาจเปนอันตรายตอตัวมดลูกและตอทารกในครรภ
เปนผลใหเด็กท่ีคลอดออกมามคี วามพกิ าร เชน บางรายอาจมอื กุด ขากุด จมูกโหว เพดานและรมิ ฝ
ปากแหวง หรอื บางคนศรี ษะอาจยุบหายไปเปนบางสว น ดังนน้ั แมใ นระหวา งต้ังครรภค วรระมัดระวงั การ
ใชยาเปน อยางย่ิง

94

การใชยาผดิ และการตดิ ยา (Drug Abuse and Drug Dependence)
การใชยาผิด หมายถึง การใชยาท่ีไมตรงกับโรค บุคคล เวลา วิธี และขนาด ตลอดจน

จดุ ประสงคของการใชย าน้ันในการรกั ษาโรค เชน การใชยาบารบ ทิ ูเรต (เหลา แหง ) เพื่อใหนอนหลบั สบาย
โดยอยูภายใตก ารดูแลของแพทย ถอื วาเปน การใชย าถกู ตอ ง แตถาใชยาบารบ ิทเู รต (เหลา แหง ) จํานวนเดิม
เพอ่ื ใหเคลบิ เคลมิ้ เปน สขุ (Euphoria) ถอื วา เปนการใชยาผดิ

การติดยา หมายถึง การใชยาติดตอกันไปช่ัวระยะเวลาหน่ึง แลวอวัยวะของรางกายโดยเฉพาะ
อยา งย่ิงระบบประสาท ไดยอมรบั ยาขนานน้นั เขา ไวเปนสิ่งหน่ึงท่ีจําเปน สําหรับเมตาบอลิซึมของอวัยวะน้ัน ๆ
ซึ่งถา หากหยุดยาหรือไดร ับยาไมเพยี งพอจะเกิดอาการขาดยา หรืออาการถอนยา (Abstinence or Withdrawal
Syndrome) ซึ่งแบง ไดเ ปน อาการทางกาย และอาการทางจติ ใจ
สาเหตทุ ่ที าํ ใหเกดิ การใชย าผิดหรอื การตดิ ยา อาจเนอ่ื งมาจาก

1. ความเชอ่ื ทวี่ ายาน้ันสามารถแกโรคหรอื ปญหาตา งๆ ได
2. สามารถซ้อื ยาไดง ายจากแหลงตา งๆ
3. มีความพงึ พอใจในฤทธ์ขิ องยาที่ทาํ ใหร ูสกึ เคลบิ เคลิ้มเปน สขุ
4. การทําตามอยา งเพอื่ น เพอ่ื ใหเ ขากับกลุมได หรือเพ่อื ใหร สู กึ วาตนเองทันสมยั
5. ความเช่อื ทว่ี ายาน้นั ชวยใหม คี วามสามารถและสติปญ ญาดีขนึ้
6. ความไมพ อใจในสภาพหรือสังคมท่เี ปน อยู หรอื ความรูส กึ ตอตานวัฒนธรรม
7. การหลงเชอื่ คาํ โฆษณาสรรพคณุ ของยาน้ัน
การใชย าผดิ แบงตามลกั ษณะการใชโดยสังเขปไดเปน 2 ประการ คอื
1. ใชผ ิดทาง ไมเปน ไปเพ่อื การรักษาโรค เชน ใชยาปฏชิ วี นะเสมอื นหนึ่งเปน การลดไข ชาวนา
ใชข ี้ผึง้ เพนิซิลลินทาแทนวาสลิน เพื่อกันผิวแตก ซ่ึงอาจทําใหเกิดอาการแพจนถึงแกชีวิตได โดยท่ัวไป
แพทยจะใหน า้ํ เกลอื และยาบาํ รงุ เขา เสน ตาง ๆ เฉพาะผูท่ีปวยเทาน้ัน แตผูท่ีมีสุขภาพดีกลับนําไปใชอยาง
กวา งขวาง ซ่ึงนอกจากจะไมใหป ระโยชนแลวยงั เปนอันตรายถึงชีวิตได
2. ใชพร่ําเพร่ือ เปนระยะเวลานานๆ จนติดยา เชน การใชยาลดไขแกปวด ซ่ึงมีสวนผสมของ
แอสไพริน และเฟนาเซติน เพื่อรกั ษาอาการปวดเม่อื ยหรือทําใหจ ิตใจเปน สขุ ถาใชต ดิ ตอกันนาน ๆ ทําให
ตดิ ยาและสขุ ภาพทรุดโทรม นอกจากนี้ การใชย านอนหลับ ยาระงบั ประสาท ยากลอมประสาท กญั ชา โคเคน
แอมแฟตามีน โบรไมด การสูดกาวสารทาํ ใหเ กิดประสาทหลอนตดิ ตอ กันเปน เวลานานจะทาํ ใหต ิดยาได
ขอควรระวังในการใชสมนุ ไพร
เมื่อมีความจําเปน หรือความประสงคท่ีจะใชสมุนไพรไมวาจะเพ่ือประสงคอยางไรก็ตาม
ใหระลกึ อยูเสมอวา ถา อยากมสี ุขภาพที่ดี หายจากการเจ็บปว ย สิง่ ที่จะนําเขาไปสูในรางกายเราก็ควรเปน
สง่ิ ทีด่ ี มปี ระโยชนตอรา งกายดวย อยาใหความเช่อื แบบผิดๆ มาสง ผลเสยี กับรา งกายเพ่ิมขึ้น หลายคนอาจ
เคยไดย ินขาวเกี่ยวกับหมอนอย ซ่ึงเปน เด็กอายเุ พยี ง 3 ป 7 เดอื น ท่ีเปนขา วในหนา หนังสอื พมิ พเ มื่อป 2529
ท่ีสามารถรกั ษาโรคไดทุกชนิดใชเพียงกงิ่ ไมใ บไมอ ะไรกไ็ ดแ ลวแตจ ะช้ีไป คนเอาไปตมรับประทานดวย

95

ความเช่ือ ซ่ึงความจริงการเลือกใชสมุนไพรจะตองมีวิธีการ และความรูที่ถูกตอง การใชจึงจะเกิด
ประโยชน

ขอควรระวงั ในการใชอยางงายๆ และเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความปลอดภัยใน
การใชส มุนไพร คือ

- ใชใหถูกตน สมุนไพรบางชนิดอาจมีลักษณะคลายกัน หรือมีช่ือพองกัน การใชผิดตน
นอกจากไมเ กดิ ผลในการรักษาแลว ยงั อาจเกิดพิษข้นึ ได

- ใชใหถกู สวน ในแตละสว นของพชื สมนุ ไพร เชน ใบ ราก ดอก อาจมีสรรพคุณไมเหมือนกัน
และบางสวนอาจมพี ษิ เชน เมลด็ ของมะกล่ําตาหนูเพยี งเม็ดเดียว ถา เค้ียวรับประทานอาจตายได ในขณะที่
สว นของใบไมเ ปนพิษ

- ใชใ หถ กู ขนาด ปรมิ าณการใชเปน สวนสาํ คัญทท่ี าํ ใหเกิดพษิ โดยเฉพาะ ถา มกี ารใชในปรมิ าณ
ทม่ี ากเกินไป หรอื ถานอยเกนิ ไปก็ไมเกิดผลในการรกั ษา

- ใชใ หถูกโรค สมนุ ไพรแตละชนิดมีสรรพคุณไมเ หมอื นกนั เปนโรคอะไรควรใชสมุนไพรท่ีมี
สรรพคณุ รกั ษาโรคนั้นๆ และสง่ิ ที่ควรคาํ นงึ คอื อาการเจ็บปวย บางอยางมคี วามรุนแรงถึงชวี ติ ได ถา ไมได
รับการรักษาทันทวงทีในกรณีเชนน้ีไมควรใชยาสมุนไพร ควรรับการรักษาจากแพทยผูเช่ียวชาญจะ
เหมาะสมกวา

การรับประทานยาสมุนไพรจากท่ีเตรียมเอง ปญหาท่ีพบบอยคือ ไมทราบขนาดการใชท่ี
เหมาะสมวา จะใชป รมิ าณเทาใดดี ขอแนะนาํ คอื เริ่มใชแ ตนอยกอ นแลวคอ ยปรับปริมาณเพิม่ ขน้ึ ตามความ
เหมาะสมทีหลัง (มีศัพทแ บบพน้ื บานวา ตามกําลงั ) ไมควรรับประทานยาตามคนอน่ื เพราะอาจทําใหรับยา
มากเกินควร เพราะแตละคนจะตอบสนองตอยาไมเหมือนกัน สําหรับยาที่ซื้อจากรานควรอานฉลาก
วธิ ีการใชอยา งละเอยี ดและใหเขาใจกอ นใชทุกคร้งั

การหมดอายขุ องยาจากสมนุ ไพรเชนเดียวกันกับยาแผนปจจุบัน โดยทั่วไปสมุนไพรเมื่อเก็บ
ไวน านๆ ยอ มมกี ารผุพัง เกดิ ความชื้น เช้อื รา หรอื มีแมลงวันมากัดกิน ทําใหอยูในสภาพท่ีไมเหมาะสมท่ี
จะนําไปใช และมกี ารเส่ือมสภาพลงแตก ารจะกําหนดอายุทแี่ นน อนน้นั ทาํ ไดยาก จึงควรนบั ตั้งแตวันผลิต
ยาสมุนไพรหรือยาจากสมุนไพรไมควรใชเม่ือมีอายุเกิน 2 ป ยกเวนมีการผลิตหรือเก็บบรรจุที่ดี และถา
พบวา มเี ชื้อรา มกี ลนิ่ หรอื สีเปลยี่ นไปจากเดมิ ก็ไมควรใช
ขอ สงั เกตในการเลือกซือ้ สมนุ ไพร และยาแผนโบราณ

ดงั นัน้ ยาแตล ะชนดิ ทางกฎหมายมขี อ กําหนดท่แี ตกตางกนั ในการเลือกซอ้ื หรอื เลอื กใชจงึ ตอ ง
รคู วามหมาย และขอกาํ หนดทางกฎหมายเสียกอ น จงึ จะรวู า ยาชนดิ ใด จะมคี ุณสมบัติอยางไร มีวิธีการใน
การสงั เกตอยางไร เพื่อที่จะไดบอกไดวายานั้น ควรท่ีจะใชหรือนาที่จะมีความปลอดภัยตอการใช สิ่งท่ี
นา จะรหู รือทําความเขา ใจ คอื ความหมายของยาชนดิ ตา ง ๆ ดังน้ี

ยาสมนุ ไพร คือ ยาท่ีไดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แรธาตุ ซึ่งมไิ ดผสมปรงุ หรือแปรสภาพ

96

ยาแผนโบราณ คอื ยาท่ีมุงหมายใชในการประกอบโรคศลิ ปะแผนโบราณ ซ่ึงอยูในตํารา
แผนโบราณท่รี ัฐมนตรปี ระกาศ หรือยาทไ่ี ดรับอนุญาตข้ึนทะเบียนเปน ยาแผนโบราณ

หรอื ใหเ ขา ใจงายๆ คือ ยาท่ีไดจ ากสมุนไพรมาประกอบเปนตํารับตามทร่ี ะบุไวใ นตาํ รายาหรือ
ทก่ี าํ หนดใหเ ปนยาแผนโบราณ ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณนั้นกําหนดวา ใหใชวิธีที่สืบทอด
กนั มาแตโบราณโดยไมใ ชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เชน การนําสมุนไพรมาตมรับประทาน หรือทํา
เปนผงละลายน้าํ รับประทาน แตใ นปจ จุบันมขี อกําหนดเพม่ิ เตมิ ใหยาแผนโบราณมีการพัฒนารูปแบบให
สะดวกและทันสมยั ขึ้นเชน เดยี วกับยาแผนปจจบุ นั เชน ทําเปนเม็ด เม็ดเคลือบน้ําตาลหรือแคปซูล โดยมี
ขอ สังเกตวาที่แคปซลู จะตองระบุวา ยาแผนโบราณ

เรื่องท่ี 3 ความเช่อื เก่ยี วกับการใชยา

ปจ จบุ นั แมวา ความกา วหนา ทางแพทยส มยั ใหมร วมท้ังวิถีชีวติ ท่ไี ดร บั อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก จะทํา
ใหคนทั่วไปเม่อื เจ็บปว ยหนั ไปพึง่ การรกั ษาจากบุคลากรทางการแพทยซ ึง่ มงุ เนนการใชย าแผนปจจุบันใน
การรกั ษาอาการเจบ็ ปว ยเปนหลกั โดยใหค วามสาํ คญั ความเชื่อถอื ในยาพน้ื บา น ยาแผนโบราณลดนอยลง
ทําใหภมู ิปญญาพ้ืนบา นรวมถึงตาํ หรับยาแผนโบราณสูญหายไปเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยังขาดความ
ตอ เนอ่ื งในการถายทอดองคความรูใ นการดูแลรกั ษาตนเองเบือ้ งตนดวยวธิ ีการและพชื ผัก สมนุ ไพร ท่ีหา
ไดงา ยในทอ งถน่ิ

โดยองคความรูท่ีถา ยทอดจากรนุ สูรนุ นน้ั ไดผา นการวิเคราะหและทดลองแลววาไดผลและไมเ กดิ
อันตรายตอสุขภาพ อยางไรก็ตามยังคงมีความเชื่อบางประการเกี่ยวกับการใชยาเพ่ือเสริมสุขภาพ และ
สมรรถภาพเฉพาะดาน ซึ่งยังไมไดรับการพิสูจนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการแพทย วามี
สรรพคุณตามคําโฆษณา อวดอาง หรือบอกตอ ๆ กัน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายหรือผลขางเคียงหากใช

97

จํานวนมากและตอ เนอ่ื งเปนเวลานาน ไดแก ยาดองเหลา ยาฟอกเลือด ยาชงสมุนไพร ยาท่ีทําจากอวัยวะ
ซากพืชซากสัตว เปน ตน รวมถึงยาชุดตาง ๆ ท่มี กั มกี ารโฆษณาชวนเชื่ออวดอาง สรรพคุณเกินจริง ทําให
คนบางกลุมหลงเช่ือ ซอื้ หามารบั ประทาน ยาบางชนิดมีราคาแพงเกนิ ปกติโดยอางวาทําจากผลติ ภณั ฑท่ี
หายาก สรรพคุณครอบจกั รวาล สามารถรกั ษาไดส ารพดั โรค ซ่งึ สรรพคุณท่ีมักกลาวอา งเกนิ จริง อาทิเชน

- กินแลวจะเจริญอาหาร ทําใหรับประทานอาหารไดมากขึ้น เชน ยาดองเหลา ยาสมุนไพร
บางชนดิ

- กนิ แลวจะทาํ ใหมกี าํ ลงั สามารถทาํ งานไดทนนาน
- กินแลวทําใหมีพลังทางเพศเพ่ิมขึ้น เชน ยาดองเหลา ยาดองอวัยวะซากสัตว อุงตีนหมี
ดงี ูเหา ฯลฯ
- กินแลวจะทําใหเ ลือดลมไหลเวยี นดี นอนหลบั สบาย ผิวพรรณผอ งใส เชน ยาฟอกเลือด ยาสตรี
ยาขับระดู ฯลฯ
- กินแลวทําใหเ ปนหนมุ เปนสาว อวยั วะบางสวนใหญข้ึน เชน เขากวาง และกวาวเครือแดง เสริม
ความหนมุ กวาวเครอื ขาวเสรมิ ทรวงอก และความสาว เปน ตน
- กินแลวจะชวยชะลอความแกหรือความเสื่อมของอวัยวะ เชน รังนกซ่ึงทําจากนํ้าลายของ
นกนางแอน หูฉลามหรือครีบของฉลาม หรอื โสม ซึง่ สว นใหญม ีราคาแพงไมค ุมคา กับประโยชนทรี่ า งกาย
ไดรบั จริง ๆ
- กนิ แลวรกั ษาอาการปวดเม่ือย ไขขอ อกั เสบเรอ้ื รงั เชน ยาชุดตาง ๆ ยาแกกระษัยไตพิการ ซ่ึงมัก
ผสมสารหนู ที่เปนอันตรายตอรางกายมาก เพราะผูใชอาจมักติดยาตองรับประทานเพิ่มขึ้นจึงเกิดการ
สะสมพษิ เมือ่ เกดิ อนั ตรายมกั มีอาการรุนแรงยากแกการรักษา
ทง้ั น้ี การใชยาดังกลา วสวนใหญเกิดจากความเชื่อผิด ๆ หรือเช่ือในคําโฆษณาเกินจริง ที่แฝงมา
ดวยภยั เงยี บที่กอใหเกดิ อนั ตรายตอ รา งกายหากใชอยางตอ เนื่องและใชใ นจํานวนมาก นอกจากน้ียังทําให
เสียคา ใชจา ยคอนขางสงู แตไมเกดิ ประโยชนตอ รางกายไมมีผลในการรักษาอาการตาง ๆ ตามสรรพคุณท่ี
กลาวอาง ดังน้ัน กอนจะซ้ือหายาหรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพมาใช ควรศึกษาสรรพคุณ สวนประกอบ
แหลงผลิต วันหมดอายุ และความนาเชื่อถือของผูผลิตโดยพิจารณาจากมีเลขทะเบียนถูกตองหรือไม
มตี รา อย. หรือมีใบอนุญาตการผลติ ใบประกอบโรคศลิ ปะแพทยแ ผนโบราณ เปนตน
ความเชื่อและขอ ควรระวังในการใชย าชดุ ยาดองเหลา และยาชงสมนุ ไพร
1. ยาชุด

ยาชดุ หมายถงึ ยาท่ผี ูข ายจดั รวมไวใหก ับผซู อ้ื สําหรับใหกินครง้ั ละ 1 ชุด รวมกันหมด โดยไม
แยกวาเปนยาชนดิ ใด ควรจะกนิ เวลาไหน โดยทัว่ ไปมกั จะมียา ตัง้ แต 3 – 5 เมด็ หรืออาจมากกวาและอาจ
จัดรวมไวในซองพลาสตกิ เล็กๆ พิมพฉ ลากบงบอกสรรพคุณไวเสร็จ

98

สรรพคุณทีพ่ มิ พไวบนซองยาชดุ มกั โออ วดเกนิ ความจรงิ เพ่ือใหขายไดมาก ชื่อท่ีตั้งไวจะเปน
ช่ือท่ีดึงดูดความสนใจหรือโออวดสรรพคุณ เชน ยาชุดกระจายเสน ยาชุดประดงขุนแผน ยาชุดแก
ไขมาลาเรีย เปนตน

เนื่องจากผจู ดั ยาชุดไมม ีความรเู ร่อื งยาอยางแทจริง และมักจะมุง ผลประโยชนเปนสําคัญ ดังนั้น
ผูใ ชย าชดุ จึงมโี อกาสไดรบั อันตรายจากยาสงู มาก

อันตรายจากการใชยาชดุ
1. ไดรับตัวยาซํ้าซอน ทําใหไดรับตัวยาเกินขนาด เชน ในยาชุดแกปวดเมื่อย ในยาชุดหน่ึงๆ
อาจมียาแกปวด 2-3 เมด็ ก็ได ซึ่งยาแกป วดนี้จะอยใู นรปู แบบตางกัน อาจเปนยาคนละสีหรือขนาดเม็ดยา
ไมเทา กัน แตมีตวั ยาแกป วดเหมอื นกนั การทไี่ ดร ับยาเกินขนาดทําใหผ ูใ ชยาไดร บั พิษจากยาเพิ่มข้นึ
2. ไดร บั ยาเกนิ ความจําเปน เชน ในยาชุดแกหวัดจะมียาแกปวดลดไข ยาปฏิชีวนะยาลดน้ํามูก
ยาทาํ ใหจมูกโลง ยาแกไอ แตจริงๆ แลว ยาปฏิชีวนะจะใชรักษาไมไดในอาการหวัดที่เกิดจากเช้ือไวรัส
และอาการหวัดของแตล ะคนไมเ หมอื นกัน ถาไมปวดหัวเปน ไข ยาแกป วด ลดไขไ มจําเปน ไมมีอาการไอ
ไมควรใชยาแกไ อ การรกั ษาหวดั ควรใชบ รรเทาเฉพาะอาการท่ีเกิดขึ้นเทานั้นไมจ ําเปนตองกินยาทุกชนิดที่
อยใู นยาชดุ
3. ในยาชุดมักมียาเส่ือมคุณภาพ หรือยาปลอมผสมอยู การเก็บรักษายาชุดที่อยูในซองพลาสติก
จะไมสามารถกันความชื้น ความรอน หรือแสงไดดีเทากับท่ีอยูในขวดที่บริษัทเดิมผลิตมา ทําใหยาเส่ือม
คุณภาพเรว็ นอกจากน้นั ผูจ ัดยาบางชดุ บางรายตองการกาํ ไรมากจึงเอายาปลอมมาขายดว ย ซึง่ เปนอนั ตรายมาก
4. ในยาชดุ มักใสย าอนั ตรายมากๆ ลงไปดว ย เพ่อื ใหอาการของโรคบรรเทาลงอยา งรวดเร็ว เปน
ที่พอใจของผซู อื้ ทง้ั ผขู ายโดยทย่ี าจะไปบรรเทาอาการแตไมไดแกสาเหตุของโรคอยางแทจริง อาจทําให
โรคเปนมากขนึ้

ยาท่ีมีอันตรายสูงมากและจัดอยูในยาชุดเกือบทุกชนิด คือ ยาสเตียรอยด หรือที่เรียกวายา
ครอบจกั รวาล นิยมใสในยาชุด เพราะมีฤทธ์ิบรรเทาอาการไดมากมายหลายอยาง ทําใหอาการของโรค
ทุเลาลงเรว็ แตจ ะไมรักษาโรคใหห าย ยาสเตียรอยด เชน เพรดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ทําใหเกดิ อนั ตราย
ตอผูใชสูงมากทําใหเกิดอาการบวมนํ้า ความดันโลหิตสูง หัวใจทํางานหนัก หนาบวม กลมเหมือน
พระจันทร ทาํ ใหกระดูกพรุน เปราะหักงา ย กระเพาะอาหารเปนแผล ความตานทานโรคลดลงและทําให
เกดิ ความผดิ ปกตดิ านประสาทจิตใจ

5. ผทู ใ่ี ชยาชดุ จะไดยาไมค รบขนาดรกั ษาทพ่ี บบอ ยคอื การไดร ับยาปฏชิ วี นะเพราะการใชย า
ปฏิชีวนะตองกนิ อยา งนอย 3-5 วนั วนั ละ 2-4 ครัง้ แลว แตชนดิ ของยา แตผซู อ้ื ยาชุดจะกนิ ยาเพียง 3-4 ชุด
โดยอาจกนิ หมดในหน่งึ วนั หรือกนิ วันละชดุ ซ่งึ ทําใหไ ดร บั ยาไมครบขนาด โรคไมหายและกลับดอ้ื ยา
อีกดวย

99

การใชย าชุดจึงทําใหเ สียคุณภาพ การใชย าไมถ กู โรค ทําใหโ รคไมหายเปน มากขน้ึ ผปู วยเสี่ยง
อนั ตรายจากการใชย าโดยไมจ ําเปนสิน้ เปลืองเงนิ ทองในการรักษา

2. ยาดองเหลา และยาเลือด
หลายคนอาจเคยเหน็ และเคยรับประทานยาชนดิ นี้มาบางแลว แตเดิมยากลมุ นจี้ ะใชใ นกลุมสตรี

เพ่อื บํารงุ เลอื ด ระดูไมป กติ และใชในกลุมสตรีหลังการคลอดบุตร เพ่ือใชแทนการอยูไฟ สวนประกอบ
ของตวั ยาจะมีสมนุ ไพรทีม่ รี สเผ็ดรอ นหลายชนดิ เชน รากเจตมูลเพลิงแดง กระเทียม พริกไทย เทียนขาว
เปลือกอบเชยเทศ ขิง และสวนผสมอ่ืนๆ แลวแตชนิดของตํารับ มีขายทั้งที่เปนช้ินสวนสมุนไพรและท่ี
ผลิตสําเรจ็ รูปเปนยาผงและยาน้าํ ขาย สวนใหญย าในกลุมนย้ี ากท่จี ะระบถุ ึงสรรพคณุ ท่แี ทจ รงิ เน่ืองจากยัง
ขาดขอมูล ผลของการทดลองทางคลินิกเทาที่ทราบมีเพียงสวนประกอบของตัวยาซึ่งสวนใหญเปนสาร
น้ํามันหอมระเหยและสารเผ็ดรอนหลายชนิด เม่ือรับประทานเขาสูรางกายจะรูสึกรอน กระตุนการ
ไหลเวียนโลหิต สมุนไพรหลายชนิดในตํารับ เชน เจตมูลเพลิงแดง และกระเทียม มีรายงานวาสามารถ
กระตุนการบบี ตวั ของกลา มเน้ือมดลูก และมีรายงานการทดลองในหนูเพศเมยี เมื่อไดรับยาจะทาํ ใหล ดการ
ต้งั ครรภได จงึ เปน ขอทคี่ วรระวังในผูท่ตี ้ังครรภไ มควรรับประทานยากลุมน้ีอาจทําใหแทงได และหลาย
ตํารับจะมีการดองเหลาดวย เม่ือรับประทานทําใหเจริญอาหารและอวนข้ึน การอวนมักเกิดจาก
แอลกอฮอล (เหลา ) ทไ่ี ปลดการสรางพลังงานท่ีเกิดจากกรดไขมัน (Fatty acid) จึงมีการสะสมของไขมัน
ในรางกาย และอาจเกดิ ตบั แขง็ ไดถ ารบั ประทานในปรมิ าณมาก ๆ และติดตอ กนั ทุกวัน นอกจากน้ีการดื่ม
เหลา อาจทําใหเด็กทารกท่อี ยูในครรภเ กิดการพกิ ารได ในเร่ืองยาเลือดนี้อาจมีความเชื่อและใชกันผิดๆ คือ
การนํายาเลือดสมุนไพรไปใชเปนยาทําแทง ซึ่งเปนสิ่งท่ีไมควรอยางยิ่งโดยเฉพาะเมื่อการตั้งครรภเกิน
1 เดอื น เนอ่ื งจากไมค อยไดผล และผลจากการกระตุน การบีบตัวและระคายเคืองตอผนังมดลูกท่ีเกิดจาก
การใหย าอาจทาํ ใหเกิดการทาํ ลายของเยื่อบุผนังมดลูกบางสวนเปนเหตุใหทารกเกิดมาพกิ ารได

3. ยาชงสมนุ ไพร
การใชยาสมุนไพรเปนทีน่ ยิ มกันในหลายประเทศ ท้ังทางประเทศยุโรปและเอเชียในประเทศ

ไทยปจจุบันพบมาก มีการเพิ่มจํานวนชนิดของสมุนไพรมาทําเปนยาชงมากข้ึน เชน ยาชงดอกคําฝอย
หญา หนวดแมว หญา ดอกขาว เปนตน

ขอดขี องยาชงคอื มักจะใชส มนุ ไพรเดี่ยวๆ เพียงชนดิ เดยี ว เมอ่ื ใชก นิ แลวเกดิ อาการอนั ไม
พึงประสงคอยางไรกต็ ามสามารถรูวาเกิดจากสมนุ ไพรชนิดใดตางกับตํารายาผสมท่เี ราไมส ามารถรูไดเลย
ในตา งประเทศมรี ายงานเรือ่ งความเปน พิษทีเ่ กดิ จากยาชงสมนุ ไพรท่ีมขี ายในทอ งตลาดกนั มาก และเกดิ ได
หลายอาการ

สําหรับประเทศไทย รายงานดา นนยี้ ังไมพ บมากนัก เนือ่ งจากสวนใหญมีการเลือกใชสมุนไพร
ทค่ี อ นขา งปลอดภยั แตท คี่ วรระวังมีชาสมนุ ไพรทีม่ สี วนผสมของใบหรือฝกมะขามแขก ใชประโยชนเ ปน
ยาระบายทอ ง บางยห่ี อระบเุ ปนยาลดความอวนหรอื รบั ประทานแลว จะทาํ ใหห นุ เพรียวข้ึน อาการที่เกดิ คือ
สาเหตจุ ากมะขามแขกซงึ่ เปน สารกลุมแอนทราควิโนน (Antharquinone) จะไปกระตนุ การบีบตวั ของ

100

ลําไสใ หญ ทาํ ใหเกดิ การขบั ถาย การรับประทานบอยๆ จะทําใหรางกายไดรับการกระตุนจนเคยชิน เม่ือ
หยดุ รับประทานรางกายจึงไมส ามารถขับถา ยไดเ องตามปกติ มีอาการทองผูกตองกลับมาใชยาระบายอีก
เรื่อย ๆ จงึ ไมค วรใชยาชนิดน้ีติดตอกันนานๆ และหากจําเปนควรเลือกยาที่ไปเพ่ิมปริมาณกากและชวย
หลอ ล่นื อุจจาระโดยไมดูดซึมเขาสูรางกาย เชน สารสกัดจากหัวบุกจะปลอดภัยกวา แตการรับประทาน
ตดิ ตอ กนั นาน ๆ อาจทําใหร างกายไดร บั ไขมันนอ ยกวา ความตองการก็ได เพราะรา งกายเราตองการไขมัน
ตอการดํารงชีพดวย

สารกลมุ แอนทราควิโนน

101

บทที่ 7
ผลกระทบจากสารเสพตดิ

สาระระสาํ คัญ

มีความรู ความเขาใจ สามารถวเิ คราะหป ญ หา สาเหตแุ ละผลกระทบจากการแพรระบาดของ
สารเสพติดได มีสว นรว มในการปองกันส่ิงเสพตดิ ในชมุ ชน และเผยแพรความรูดา นกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ
กบั สารเสพตดิ แกผูอ่ืนได

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง

1. วเิ คราะหปญ หา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรร ะบาดของสารเสพติดได
2. ปฏิบัติตนในการหลกี เลยี่ งและมคี วามรวมมอื ในการปอ งกนั สงิ่ เสพติดในชุมชน
3. เผยแพรค วามรูดา นกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ งกับส่งิ เสพตดิ แกผ อู ่นื ได

ขอบขายเนอ้ื หา

เร่ืองที่ 1 ปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดในปจ จุบนั
เรื่องท่ี 2 แนวทางการปอ งกนั การแพรระบาดของสารเสพตดิ
เร่ืองท่ี 3 กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกับสารเสพติด

102

เรอ่ื งท่ี 1 ปญหาการแพรร ะบาดของสารเสพติดในปจจุบนั

ปจจุบันปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดนับวา รุนแรงมากยงิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะในกลุมเด็กและ
เยาวชน จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข พบวา จํานวนผูเสพและผูติดยาเสพติดในกลุมเด็กนักเรียน
เพม่ิ มากข้ึนจนหนา เปน หวง ซง่ึ การท่ีเด็กวัยเรยี นมีการเสพตดิ ยอมสงผลกระทบตอสุขภาพ สติปญญาและ
สมาธิในการเรียนรูทําใหคุณภาพประชากรลดลง เปนปญหาตอการพัฒนาประเทศ และการแขงขันใน
ระดับโลกตอ ไปในอนาคต

ทง้ั น้ีจงึ ควรปอ งกันและแกปญหาอยา งเรงดวนทั้งในครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และประเทศ
ปจจุบันมีส่ิงเสพติดอยูมากมายหลายประเภท ซึ่งออกฤทธิ์ตอรางกายในลักษณะตาง ๆ กัน
แบง ไดเปน 3 ประเภท ดังนี้
1. ประเภทออกฤทธ์กิ ดประสาท ส่งิ เสพตดิ ประเภทน้ีจะทาํ ใหสมองอยูในสภาวะมนึ งง
มีการงวงซึม ไดแ ก ฝน มอรฟ น เฮโรอนี และจาํ พวกยานอนหลบั ยากลอมประสาท เชน เหลา แหง เปน ตน
2. ประเภทออกฤทธ์ิกระตุนประสาท ส่ิงเสพติดประเภทนี้จะทําใหเกิดต่ืนเตน ประสาท
ถูกกระตุน ไมใหมีอาการงวงหรือหลับใน เชน ยาบา ยาขยัน โคเคน ยามา แอมเฟตามีน กาแฟ และสาร
คาเฟอีน บุหร่ี กระทอ ม และยาลดความอว น เปนตน
3. ประเภทออกฤทธิห์ ลอนประสาท สิง่ เสพตดิ ประเภทนีจ้ ะทาํ ใหเกิดประสาทหลอน ภาพลวงตา
หแู วว หวาดกลัวโดยไมม สี าเหตุ อาจทาํ อันตรายตอตนเองและผูอ่ืน เชน แอล เอส ดี กวาวซีเมนต กัญชา
ไอระเหยของเบนซนิ ทินเนอร กาวตา ง ๆ ฯลฯ
นอกจากนี้ ปจจุบันไดมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารเสพติดออกมามากมาย ทั้งท่ีเปนเม็ด
เปนน้ํา และผสมในเครื่องดื่ม ขนม หรืออาหารประเภทตางๆ ซ่ึงยากที่จะติดตามตรวจสอบ จึงนับวาเปน
อนั ตรายตอ เด็ก และเยาวชนเปนอยางย่งิ
1.1 สาเหตขุ องการตดิ สารเสพติด

ปญหาการตดิ สารเสพติดมสี าเหตุจากสามปจจยั ตอไปนี้
1. ปจจยั ภายในตวั บคุ คล ไดแ ก
วัยของบคุ คล มกั พบวา ผเู สพยาสว นใหญจะเร่มิ ตนในชว งอายุเขา สวู ัยรุน กําลังอยูใน

วยั คะนอง อยากลอง อยากรู อยากเห็นในสง่ิ ทแ่ี ปลกใหม
- ความรู เจตคติ และความคิดเกยี่ วกับสารเสพตดิ ความรนุ แรง เชน เชื่อวา การใชก าํ ลัง

หรอื ใชคาํ พูดรนุ แรงทําใหค นอน่ื เชอื่ ฟง ทาํ ตาม การตลี กู ทําใหลกู ไดด ี ผมู ศี ักดิศ์ รีใครมาหยามตอ งตอสูกัน
ใหแ พชนะ ฯลฯ

- ขาดทักษะท่ีจําเปนในการอยูรวมกับผูอ่ืน เชน ทักษะการสื่อสาร การจัดการกับ
อารมณและความเครยี ด การจดั การกบั ความโกรธ การแสดงออกท่ีเหมาะสม เปน ตน

- การใชยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล ทําใหคนขาดสติยับยั้ง ควบคุมตัวเอง
ไมไ ด

103

- เคยเห็นการกระทํารุนแรงหรือเคยเห็นเหย่ือกระทํารุนแรง เม่ือเกิดอารมณโกรธ
ทําใหก อ ความรนุ แรงไดง าย

2. ปจจัยจากการเลย้ี งดูของครอบครวั
- ขาดความรัก ความเขาใจ และการสนับสนุนจากครอบครัว เชน เม่ือมีปญหาขาด

ผูใหญคอยดูแลใหค าํ แนะนําชว ยเหลอื เปนตน
- เตบิ โตในบานท่ีใชความรุนแรง ทําใหเ หน็ แบบอยา ง และคิดวา ความรนุ แรงเปน เรื่อง

ปกติในสงั คม
- การถกู ลงโทษและเปน เด็กที่เคยถูกทําราย
- มีพอ แมหรอื พนี่ อ งทม่ี พี ฤติกรรมเก่ียวขอ งกับอาชญากรรม

3. ปจจัยจากสภาพแวดลอ ม
- ความไมเ ทาเทียมกันทางสงั คม เศรษฐกจิ สังคมเมือง และความแออัดทําใหค น

แขงขนั สูง และเกิดความเครียด
- การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ อยา งรวดเร็ว และมีการวา งงานสงู ในกลุมประชากร

อายุนอ ย
- อิทธพิ ลจากสอ่ื เชน ภาพยนตร โทรทศั น หนงั สือพมิ พ ทแี่ สดงภาพความรนุ แรง

ตา งๆ
- มาตรฐานทางสงั คมทส่ี นับสนนุ พฤตกิ รรมความรุนแรง เชน การทค่ี นมีพฤตกิ รรม

ความรุนแรงไมไดรับการลงโทษ ความรนุ แรงเปน เร่ืองปกติในสังคม
- อยูในพน้ื ท่ที ่สี ามารถหายาเสพตดิ ไดงาย

1.2 โทษ ภัย และผลกระทบของสารเสพตดิ
โทษและภยั อันเกดิ จากการใชสารเสพตดิ นอกจากจะมีผลโดยตรง กอใหเกิดตอรางกายและ

จิตใจของผเู สพเองแลว ยังกอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอระบบครอบครัว ระบบสังคม และประเทศชาติ ดังนี้
1. โทษและภัยตอ ตัวผูเ สพ ฤทธ์ขิ องสารเสพตดิ จะมีผลตอระบบประสาทและระบบอวัยวะตางๆ

ของรา งกาย ตลอดจนจติ ใจของผูท ่เี สพเสมอ ดังน้ัน จะพบวา สุขภาพรางกายของผูท่ีเสพยาจะทรุดโทรม
ทั้งรายกายและจิตใจ เชน มีรูปรางผอม ซูบซีด ผิวคล้ํา ไมมีแรง ออนเพลียงาย สมองเสื่อมและความจํา
สับสน เปนโรคติดเช้ืออ่ืน ๆ ไดงาย เชน โรคตับอักเสบ ไตอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ
โรคมะเร็ง ภูมิตานทานในรางกายจะลดลง มีสภาวะทางจิตใจไมปกติ สภาพจิตใจเส่ือมลง อารมณ
แปรปรวนงา ย ซึมเศรา วติ กกังวล ความรูสึกฟุงซาน ซ่งึ จากผลรายทเี่ กิดขนึ้ ดงั กลาว จะผลกั ดันใหผ เู สพ
ยาเสพติดเปนบุคคลท่ีไรสมรรถภาพทั้งรางกายและจิตใจในการดําเนินชีวิตในสังคม ขาดความเชื่อม่ัน
สญู เสียบคุ ลิกภาพ ไมสนใจตนเอง ไมส นใจการงานหรือการเรียน และผเู สพบางรายอาจประสบอุบัติเหตุ
ถึงขั้นพกิ าร เชน พลัดตกจากท่ีสูงขณะทํางาน หกลม อันเนื่องมาจากฤทธิ์ของยาเสพติดท่ีมีผลตอระบบ
ประสาทและสมอง

104

2. โทษและภยั ตอครอบครัว การตดิ สารเสพติดนอกจากจะทาํ ใหเ ส่ือมเสียชื่อเสียงของตนเอง
และครอบครัวแลว ยังทําใหผูเสพกลายเปนบุคคลที่ขาดความรับผิดชอบตอครอบครัวไมหวงใยดูแล
ครอบครวั ทาํ ใหครอบครวั ขาดความอบอุน ตองสญู เสียเศรษฐกิจและรายไดของครอบครัว เนื่องจากตอง
นาํ เงนิ มาซือ้ สารเสพติด บางรายอาจตองสญู เสียเงินจํานวนไมนอยเพ่ือรักษาตนเองจากโรครายแรงตาง ๆ
อันเกิดจากการใชสารเสพติด กลายเปนภาระของครอบครัวในท่ีสุด อีกท้ังนําไปสูปญหาครอบครัว
เกดิ การทะเลาะวิวาทกันบอ ยๆ เกิดความแตกแยกภายในครอบครัว เปน ตน

3. โทษและภยั ตอ สงั คมและเศรษฐกิจ ผูที่เสพสารเสพติด นอกจากจะเปนผูที่มีความรูสึกวา
ตนเองดอยโอกาสทางสังคมแลว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมท่ีนําไปสูปญหาสังคมสวนรวมได
เชน กอ ใหเกิดปญ หาอาชญากรรม เชน ปลน จ้ี ทาํ รา ยรา งกายผอู ืน่ เพ่ือชิงทรพั ย ปญหาอุบตั เิ หตุ เชน รถชน
หรือตกจากที่สูง และปญหาโรคเอดส เปนตน นับวาเปนการสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา ตลอดจน
ทรพั ยสินของตนเองและสวนรวมอยางไรประโยชน ทําใหเปนภาระของสังคมสวนรวม ในการจัดสรร
บคุ ลากร แรงงาน และงบประมาณในการปราบปรามและบาํ บดั รกั ษาผูตดิ สารเสพติดในทส่ี ดุ

4. โทษและภยั ตอประเทศชาติ ผูท่ีเสพสารเสพติดและตกเปนทาสของสารเสพติดอาจกลาว
ไดว า เปนผูทบ่ี อ นทําลายเศรษฐกิจและความม่นั คงของชาติ เน่อื งจากผูท ีเ่ สพสารเสพติดทําใหรัฐบาลตอง
สูญเสยี กาํ ลังคมและงบประมาณแผนดินจํานวนมหาศาล เพื่อใชจายในการปราบปรามและบําบัดรักษา
ผูติดสารเสพติด ทําใหตองสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา เกิดความไมสงบสุขของบานเมือง ทําให
เศรษฐกิจทรุด บ่ันทอนความมั่นคงของประเทศชาติ ตองสูญเสียกําลังสําคัญของชาติอยางนาเสียดาย
โดยเฉพาะถาผูที่เสพสารเสพติดเปนเยาวชน

105

เร่ืองที่ 2 แนวทางการปองกันการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ

ปญหายาเสพตดิ เกดิ ขึน้ ไดเ พราะมีสถานการณสองอยางประกอบกัน คือ มีผูตองการใชยาอยูใน
สังคม (Demand) กับมียาเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช (Supply) ซ่ึงองคประกอบทั้งสองน้ี
ตางฝายตางสงเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันแบบลูกโซ ดังนั้น การแกไขปญหายาเสพติด จึงตอง
ดาํ เนนิ การกับองคประกอบท้ังสองอยางไปพรอม ๆ กัน คือ จะตองลดปริมาณความตองการยาเสพติดลง
ในขณะเดยี วกนั ก็จะตองลดปรมิ าณของยาเสพตดิ ในตลาดดวย ในทางปฏิบัติระหวางมาตรการสองอยางนี้
ดูเหมือนวา มาตรการลดความตองการจะไดรับความสนใจนอยกวา เพราะคนสวนใหญจะนึกถึงการลด
ปริมาณยาในตลาดเสยี มากกวา

ปญหายาเสพตดิ คือ ปญ หาท่เี กิดจากการใชยาเสพติดหรือใชย าในทางที่ผิดซึ่งเปนปญหาพฤติกรรม
ของมนุษยอันเนื่องมาจากความคาดหวังที่จะไดรับประโยชนจากฤทธิ์ของยาหรือจากความคิดท่ีจะอาศัย
ฤทธ์ิยาเปนที่พึ่งในสถานการณตางๆ องคประกอบสําคัญของปญหาคือ ยากับคนเปนองคประกอบหลัก
โดยมีแรงจงู ใจใหใ ชย ากบั โอกาสที่เอ้อื ตอ การใชย าเปน องคประกอบเสริมถาองคประกอบอยางใดอยางหนึ่ง
ขาดไปปญหายาเสพติดจะไมเกิดข้ึน มีแตคนแตไมมียา หรือมีแตยาแตไมมีคนใชยาปญหาก็จะไมเกิด
หรือมคี นมยี าแตไมมแี รงจูงใจใหคนเอายามาใช ปญ หาก็จะไมเ กดิ หรือแมจ ะมีแรงจูงใจใหใ ชยา มีคนที่อยาก
ใชย า และมยี าใหใ ช แตไมม โี อกาสจะใช เชน สถานที่ไมเหมาะสม ไมมีอุปกรณ มีตํารวจตรวจตราเขมงวด
หรอื อยูในสายตาพอ แม ครอู าจารยการใชยาจะเกดิ ขึน้ ไมได ปญ หายาเสพตดิ ก็จะไมเ กิด

ดงั น้ัน การปองกนั ปญหายาเสพติด ไดแก การปอ งกนั พฤตกิ รรมการใชยาของมนษุ ยทเ่ี กดิ จากการ
คดิ พ่งึ ยาและหวงั ผลจากฤทธย์ิ านน้ั เอง ซึ่งบุคคลในขายท่ตี อ งปองกันไมใหทําพฤติกรรมใชยาเสพติดอาจ
แบงออกเปน 3 กลมุ ดว ยกัน คือ

1. กลุมท่ียงั ไมเ คยใชยาและยงั ไมเรมิ่ ใชย า
2. กลุมที่เคยใชยา ซ่ึงจาํ แนกออกไดเปนพวกทเ่ี คยลองใชแลวเลิก พวกที่ใชเ ปนคร้ังคราว
พวกท่ีใชบอย ๆ เปนประจาํ แตย ังไมถ ึงขั้นตดิ ยา และพวกตดิ ยาใชยาแลว
3. กลุม ท่ใี ชยาเปนประจําหรอื ตดิ ยาท่ผี านการบาํ บดั รกั ษาและเลิกใชย าตดิ ยามาแลว
เนือ่ งจากบุคคลท้งั สามกลมุ ท่ีกลาวมานีม้ ีโอกาสที่จะเปน ผูใชยา และตดิ ยาในอนาคตได เชนเดียวกัน
กิจกรรมของขายงานปองกันจึงจําเปนตองครอบคลุมบุคคลทั้งสามกลุม โดยที่ผูดําเนินงานปองกัน
เปาหมายแตละกลุมจะตองกําหนดมาตรการและวิธีการใชแตกตางกันออกไป เพ่ือใหเหมาะสมกับ
ลกั ษณะเฉพาะของเปาหมายแตล ะกลุม

ลกั ษณะงานดา นปองกัน (Prevention) จึงมี 3 ระดับดว ยกัน คือ
1. การปองกนั ขนั้ พื้นฐาน (Primary Prevention)
2. การปองกนั ขัน้ ท่สี อง (Secondary Prevention)
3. การปองกันข้ันท่สี าม (Tertiary Prevention)

106

1. การปอ งกันข้ันพ้นื ฐาน (Primary Prevention)
การปอ งกนั พนื้ ฐานหรือบางคนเรยี กวาการปอ งกันเบอ้ื งตน หมายถึง การดําเนินการใด ๆ

เพ่ือสรางภมู ิคมุ กนั ใหเ ยาวชนปดประตูที่จะนําไปสูการใชยาเสพติดอยางถาวร ใหเยาวชนตัดสินใจดวย
ตนเองท่ีจะไมใ ชย าเสพติด ไมคดิ จะเส่ียง ทดลอง เปนการมุง ปอ งกนั คนสวนใหญของแผนดนิ ไมใหเขาไป
หายาเสพติด เปนการปองกันอยางถาวร

งานปองกนั ขนั้ พ้นื ฐานจึงนบั เปนงานทม่ี คี วามสําคัญที่สุด และเปนกุญแจสําคัญนําไปสู
ความสําเร็จของการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของชาติ แตในขณะเดียวกันเปนงานท่ีมีความ
สลบั ซับซอ นทาํ ไดยาก เพราะเปนงานทีเ่ กีย่ วขอ งกับการวางรากฐานใหกับคนสวนใหญของประเทศ ซึ่ง
ตองเร่ิมปลูกฝงตั้งแตยังเยาววัยตอเนื่องกันไปจนพนวัยเรียน โดยอาศัยความรวมมือจากหลายฝายให
ชวยกนั ทํา

2. การปองกนั ข้นั ทสี่ อง (Secondary Prevention)
การปองกันข้ันท่ีสองนี้ใชกันในความหมายที่แบงเปน 2 นัย นัยหน่ึง หมายถึง

การปองกันโดยทางออม ซ่ึงหมายถงึ การกระทําใด ๆ ท่ีเปนการขดั ขวางไมใหยาเขาไปสูคน โดยมีจุดหมาย
ท่เี รม่ิ จากตัวยาเสพตดิ ทีเ่ ปน ปญหาหลัก ซ่ึงตรงกันขา มกบั การปอ งกนั ข้นั พื้นฐานทมี่ งุ ปองกนั ไมใหค นเขา
ไปหายา ดวยการมองภาพท่คี นเปนจุดตงั้ ตน

ดังน้ัน การปองกันขั้นที่สอง ตามความหมายนี้จึงครอบคลุมถึงงานเกี่ยวกับ
การปราบปราม ยดึ อายัด เผาทาํ ลายยาเสพตดิ การสกัดก้นั การตรวจเขม การตรวจปสสาวะหาสารเสพติด
การสงเจา หนา ทีต่ าํ รวจเขา ไปประจําทาํ การสอดแนมในโรงเรยี น รวมถงึ มาตรการตรวจจับ จําแนก
เพือ่ แยกผใู ชย าเสพตดิ ไปรบั การบาํ บดั รักษาฟน ฟู หรือปอ งกันไมใหผ ตู ิดยาสามารถเผยแพรยาเสพตดิ ไปสู
ผูไมใ ชเสพตดิ ดว ย

ส ว น อี ก นั ย ห นึ่ ง เ ป น ค ว า ม ห ม า ย ที่ มั ก ใ ช กั น ใ น ว ง ก า ร ข อ ง ผู มี อ า ชี พ แ น ะ แ น ว
ในความหมายของการดําเนินการชวยเหลือใหผูที่เคยลองใชยาเสพติด หรือผูที่ใชยาเสพติดชนิดใดชนิด
หนง่ึ เปนครงั้ คราวหรือใชบ อ ยๆ แตย ังไมต ิดยา ใหปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมเลกิ ใช เลิกเก่ียวขอ งกับยาเสพติด
ชนิดนั้นๆ เปนมาตรการแยกคนออกจากยา หรือดึงคนติดยาออกจากยาเสพติดดวยมาตรการแนะแนว
ใหค ําปรึกษาและจติ เวชบําบัด เปนการปองกันที่เนนการสกัดกั้นเพ่ือหยุดยั้งพฤติกรรมการใชยาเสพติด
ของกลมุ ผูทใ่ี ชย าเสพติดหรือมีประสบการณเ กยี่ วขอ งกับยาเสพติดมาแลว

3. การปอ งกนั ข้ันทส่ี าม (Tertiary Prevention)
การปอ งกันข้ันทส่ี าม คือ การปอ งกันการตดิ ซ้าํ (Relapse) เปนมาตรการทใี่ ชสาํ หรับผตู ดิ

ยาเสพติดทไ่ี ดรบั การบาํ บดั รกั ษาดว ยการถอนพิษยาแลวไมใ หกลบั ไปตดิ ยาซาํ้ ใหมอ ีก เปน มาตรการเสริม
ทสี่ นับสนนุ มาตรการทางการแพทย เพ่อื ใหผปู วยทไี่ ดร บั การรักษาใหห ายขาดจากยาแลว อยูอยางปลอดภัย
จากยาเสพตดิ ไดย าวนานขึน้ กอนท่จี ะหวนกลบั ไปตดิ ยาอกี

107

การปองกนั ขน้ั ท่ีสามจะอาศยั มาตรการทกุ ชนิดทม่ี งุ ใหผูต ิดยาหายจากอาการตดิ ยาทางจิต
ดวยมาตรการฟนฟจู ติ ใจ (Rehabilitation) ดว ยวิธีจติ เวชบาํ บดั (Psychological therapy) การใหค ําปรกึ ษา
(Social counseling) กลุม บาํ บดั (Group therapy) และนนั ทนาการบําบดั (Recreational therapy) เปนตน

การปอ งกนั ผตู ดิ ยาเสพติดที่บาํ บัดแลวไมใหกลับไปติดยาใหมอีก ถือเปนสวนหน่ึงของ
งานดานการปองกันท่ีมุงลดความตองการยาลงดวยการสกัดก้ันไมใหกลับไปใชยาอีก ซึ่งจะเปนการ
ปองกนั ไมใหพ วกเขานํายาไปเผยแพรต อ ใหค นอ่ืนไดดวย

โดยสรปุ แลว การปองกันขัน้ พ้นื ฐาน นั้นเปน การปองกันมิใหมีการทดลองใชยา การใช
ยาในทางท่ีผดิ หรือมใิ หมผี ูเ สพติดรายใหมๆ เกิดขึ้น การปองกันขั้นที่สองเปนการเรงรีบนําผูท่ีติดยาแลว
ไปบําบดั รกั ษา และการทีจ่ ะทาํ การปองกนั การเสพติดไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพนน้ั จาํ เปนตองมีความเขาใจ
ในสาเหตุและองคประกอบของปญหาการเสพติดเสียกอน องคประกอบที่ทําใหเกิดการติดยาน้ัน ไดแก
คน ยา และปจจัยที่เอ้ืออํานวยใหมีการติดยา การวางแผนแกไขและปองกัน จึงจําตองศึกษาหาสาเหตุ
เฉพาะและใหการปองกันใหตรงกับสาเหตุหลัก ดังนั้น การปองกันการเสพติดท่ีเจาะจงถึงสาเหตุน้ัน
มีแนวทาง 3 แนวทาง ไดแ ก

1. การปองกันในวงกวาง เปนการปองกันโดยเนนเปาหมายท่ีสังคมโดยท่ัวไปมุงสราง
สังคมใหต ระหนักถึงพษิ และภัยของยา ลดความตองการของสังคม และลดการตอบสนองของยาเสพติด
ซ่ึงการดําเนินงานมีหลายรูปแบบ เชน การพัฒนาสุขภาพ การสรางเสริมศีลธรรม การใชกฎหมาย
การพฒั นาสงั คม ฯลฯ กลวธิ ีของการปองกนั ในแนวกวา ง ไดแก

1.1 การใหการศึกษาในการถายทอดความรู เพื่อใหเกิดการเรียนรูทักษะและ
ประสบการณใ นการสรา งคณุ ภาพชวี ติ และการไมพ่งึ พายาเสพตดิ โดยเนนถึงการพัฒนาตนเองและจิตใจ
ใหมีความเช่ือม่ันวา ตนเองมีคุณคา สรา งสุขนิสัย และฝก ทักษะในการประกอบอาชพี

1.2 การใหขอมูลและขาวสาร เปน การใหขอ มูลและขาวสารทีถ่ ูกตอ งของปญหา
ยาเสพติด เพ่อื ใหช ุมชนไดว ิเคราะห เลือกขอ มลู และตดั สนิ ใจดว ยตนเองในการนําไปใชใหเกิดประโยชน
ตอ ตนเอง

1.3 การจัดกิจกรรมทางเลือก ดวยการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมตาง ๆ
ท่เี หมาะสมกับพน้ื ฐานของบคุ คลและชุมชน เพ่ือเปน ทางเลอื กในการใชเ วลาชว ยเบยี่ งเบนความสนใจจาก
พฤติกรรมทีไ่ มเ หมาะสมและเปนการชว ยพฒั นาท้งั รางกายและจิตใจ

2. การปองกันในวงแคบ มุงเนนเฉพาะบุคคลบางกลุม หรือชุมชนบางแหงที่เส่ียงตอ
ปญหาการเสพติด กลวธิ ีในการดําเนนิ งาน การปอ งกนั ในวงแคบ ไดแก

2.1 การฝกอบรม เปนการฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมีความรู
ดา นการปองกันการเสพติด การใชยาในทางที่ถูก โดยมจี ุดประสงคใ หก ลุมแกนนําประยุกตความรูนั้นไป
ปฏบิ ัติในชมุ ชนใหสอดคลอ งกับสภาพของทองถ่ิน สวนกลุมประชาชนน้ันใหมีความรูและมีพฤติกรรม
ตอ ตานการเสพตดิ โดยตรง

108

2.2 การรณรงค เปนการเผยแพรขาวสารโดยการระดมสื่อตาง ๆ ภายใตขอบเขตท่ี
กําหนดไว ใหป ระชาชนเกิดการต่นื ตวั ตระหนกั ถงึ ปญหาและเขา มามสี วนรวมในการแกปญหา

2.3 การปฏบิ ตั กิ ารทางสังคม เปนวิธีการที่หวังผลของการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว
เชน ขจัดแหลงม่ัวสุม กวาดลา งแหลง ผลิต ฯลฯ

3. การปอ งกนั กรณีพิเศษ เปนการปองกันท่ีเนนในวงแคบที่สุด โดยเปาหมายอยูท่ีผูคา
ผูตดิ ยาเสพติด หรอื ผูท ีม่ ีความเสย่ี งสูง และครอบครัว เชน บคุ คลท่ีกาํ ลงั เผชิญกับปญหาของตนเอง บุคคล
ท่คี รอบครัวแตกแยก ผตู ดิ ยาท่ีผา นการถอนพิษยามาแลว กลวธิ ใี นการปอ งกนั ในกรณพี เิ ศษน้ี ไดแก

3.1 การวเิ คราะหปญหา เพ่ือใหผ ตู ิดยาไดท ราบเกย่ี วกับพฤติกรรมและปญหาของตน
ในการตดิ ยา

3.2 การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ เปน การใหแ นวทางปฏิบัติสําหรับเลือกปฏิบัติในกรณีท่ี
เกิดปญ หาเพือ่ หลกี เลี่ยงการใชย าเสพติด

3.3 การใหคําปรึกษาแกครอบครัว เพ่ือลดความกดดันในครอบครัวลงและให
แนวปฏิบัติแกค รอบครวั ของผตู ิดยาเสพตดิ หรอื ผทู ี่มีความเสีย่ งสูงเพอื่ ลดปญ หาของตนเอง

3.4 การใหสุขศึกษา เปนการใหความรูเรื่องยาและสุขภาพอยางถูกตอง เพื่อปองกัน
การกลบั ไปใชย าในทางที่ผดิ อีก

3.5 การใหกําลังใจ เพื่อเพ่ิมกําลังใจใหแกผูติดยาในขณะที่กําลังเผชิญปญหาท่ีอาจ
นําไปใชในทางที่ผิดอีก

3.6 การฝก อาชีพ เพ่อื เปน แนวทางในการดํารงชีวิตตามความสามารถและความถนัด
ของตนเปนการลดความกดดันดานเศรษฐกจิ และใชเ วลาวา งใหเ ปนประโยชน

กลวธิ ที ุกอยา งสามารถนาํ ไปปฏบิ ัตพิ รอ มๆ กนั ไดหลายกลวิธไี มวา จะเปน การปองกัน
ในระดับไหน หรอื มวี ัตถปุ ระสงคเพ่อื ปองกนั มิใหเกดิ การใชยาในทางที่ผดิ หรือปองกันการติดซ้ําซ่ึงเปน
หัวใจสําคัญของการปองกันและแกปญหาการติดสารเสพติด ทุกฝายท่ีเกี่ยวของควรเขามามีสวนรวม
ดําเนินการอยางจริงจงั

เรอ่ื งที่ 3 กฎหมายทเี่ กี่ยวของกบั สารเสพติด

“ยาเสพตดิ เปน ภัยตอ ชวี ิต เปนพษิ ตอสงั คม” เปน คาํ กลา วทแ่ี สดงถึงภาพของยาเสพตดิ เปนอยา งดี
ในปจ จบุ ันปญ หาเรือ่ งยาเสพตดิ เปนปญ หาทท่ี ุกชาตใิ หค วามสําคัญเปนอยางมากในการปอ งกนั และ
ปราบปรามและถอื วาเปน ความผดิ สากลซึ่งแตละชาติสามารถจับกุมและลงโทษผกู ระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั
ยาเสพตดิ ไดท นั ที

กฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดไดใหค วามหมายของคาํ วา ยาเสพติดไวดังน้ี “สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ
ซ่ึงเมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอ
รางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพ่ิมขนาดการเสพข้ึนเปนลําดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา

109

มคี วามตองการเสพทั้งทางรางกายและจติ ใจอยางรนุ แรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรดุ โทรมลง
รวมถึงพืชหรือสวนของพืชท่ีเปนหรือใหผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติด
ใหโ ทษและสารเคมที ี่ใชใ นการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย” จากความหมายของยาเสพติดทําใหทราบวา
อะไรบา งทีเ่ ขาลกั ษณะของยาเสพติด พืชอาจเปนยาเสพติดได ถาเสพแลวเกิดผลตอรางกายและจิตใจจน
ขาดไมได มใิ ชเ ฉพาะแตเ ฮโรอีน ซ่งึ เปน สง่ิ สงั เคราะหเ ทาน้ันท่ีเปนยาเสพติดใหโ ทษ
ประเภทของยาเสพติดและบทลงโทษตามกฎหมาย

ตามกฎหมายไดแ บง ประเภทของยาเสพตดิ ใหโทษแบง ออกเปน 5 ประเภท
ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโทษชนิดรายแรง เชน เฮโรอีน ฝน เปน ตน
หา มมใิ หผ ใู ด ผลิต จําหนา ย นาํ เขา สงออก หรอื มีไวใ นครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท
1 เวนแตเพ่ือประโยชนทางราชการตามที่ รมต.ฯ อนุญาตเปน หนังสือเฉพาะราย ผูฝ า ฝน ระวางโทษตงั้ แต 1
ปถึงประหารชวี ิต แลวแตจ าํ นวนยาเสพตดิ ทจี่ ําหนายหรือมไี วในครอบครอง
ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโทษท่วั ไป เชน มอรฟน
กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซึ่งยาเสพติดใหโทษประเภท 2 แตสามารถ
จาํ หนา ยหรือมีไวใ นครอบครองไดเ มือ่ ไดร บั อนญุ าตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซ่ึง
ไดรบั มอบหมายหรอื สาธารณสขุ จังหวัด สาํ หรับการมีไวในครอบครองท่ีไมเกินจํานวนท่ีจําเปนสําหรับ
ใชรักษาโรคเฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมไมตองขออนุญาต ผูฝาฝน
ระวางโทษจําคุกไมเกนิ 5 ป ถงึ จําคุกตลอดชวี ิตแลว แตความหนกั เบาของความผดิ
ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษท่ีมียาเสพติดประเภท 2 เปนสวนผสมอยูดวย เชน ยาแกไอผสม
โคเคอนี เปนตน
กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เวนแตไดรับ
อนุญาต ซ่ึงตองเปนรานคาที่ไดรับอนุญาตใหผลิต ขายนําหรือสงเขาในราชอาณาจักรประเภทยาแผน
ปจ จบุ นั และมเี ภสชั กรประจาํ ตลอดเวลาทเ่ี ปด ทาํ การ ผูฝาฝน ระวางโทษจําคุกไมเกิน 1 ป ถงึ จาํ คกุ ไมเกิน
3 ป

ประเภท 4 สารเคมีทีใ่ ชใ นการผลติ ยาเสพติดใหโทษประเภท 1 หรอื ประเภท 2
กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออกหรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษ
ประเภท 4 เวน แตรฐั มนตรีอนุญาต ผูฝา ฝน ระวางโทษจําคุกตั้งแต 1 ป – 10 ป
ประเภท 5 ยาเสพตดิ ใหโทษที่มไิ ดเ ขาอยใู นประเภท 1 ถงึ ประเภท 4 เชน กัญชา พืชกระทอมเปนตน
กฎหมายมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษ
ประเภท 5 เวน แตรฐั มนตรอี นุญาต ผูฝา ฝน ระวางโทษจําคุกตัง้ แต 2 ป – 15 ป

110

บทลงโทษเก่ียวกบั สารระเหย
ตามพระราชกําหนดปองกันการใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 กาํ หนด มาตรการควบคุมไมใหนําสาร

ระเหยมาใชใ นทางที่ผิดไวห ลายประการและกาํ หนดใหผ ูฝา ฝนไมป ฏิบัตติ ามมาตรการดงั กลาว มคี วามผิด
และตองรับโทษ ซ่งึ มีรายละเอียดดงั น้ี

1. กาํ หนดใหผ ผู ลิต ผนู ําเขา หรือผูขายสารระเหย ตองจัดใหมีภาพหรือขอความที่ภาชนะบรรจุ
หรอื หบี หอบรรจสุ ารระเหย เพอ่ื เปน การเตือนใหระวังการใชส ารระเหยดังกลา ว ผฝู า ฝนตองรบั โทษจาํ คุก
ไมเ กินสองปห รือปรบั ไมเ กนิ สองหมนื่ บาท หรอื ทง้ั จําท้ังปรับ

2. หามไมใหผูใดขายสารระเหยแกผูที่มีอายุต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ เวนแตเปนการขายโดย
สถานศึกษาเพ่อื ใชใ นการเรียนการสอน ผฝู าฝน ตอ งรับโทษจาํ คุกไมเ กนิ หนึง่ ป หรือปรับไมเ กินหนึ่งหม่ืน
บาท หรือทง้ั จาํ ทัง้ ปรับ

3. หามไมใหผ ใู ดขาย จดั หา หรือใหสารระเหยแกผูอื่นซึ่งตนรูหรือควรรูวาเปนผูติดสารระเหย
ผูฝาฝน ตอ งรับโทษจาํ คกุ ไมเกนิ สองป หรือปรบั ไมเกนิ สองหมื่นบาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั

4. หามไมใหผูใดจูงใจ ชักนํา ยุยงสงเสริม หรือใชอุบายหลอกลวงใหบุคคลอ่ืนใชสารระเหย
บําบดั ความตองการของรางกายหรือจิตใจ ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสอง
หมื่นบาท หรอื ทงั้ จําท้งั ปรบั

5. หามไมใ หผ ใู ดใชสารระเหยบําบัดความตอ งการของรา งกายหรอื จิตใจ ไมวาโดยวิธีสูดดมวิธี
อื่นใด ผูฝาฝน ตองรับโทษจําคุกไมเกินสองปหรอื ปรบั ไมเกนิ สองหมน่ื บาท หรือทง้ั จําทงั้ ปรับ

พงึ ระลึกเสมอวา การเสพตดิ สารระเหย นอกจากจะเปนโทษตอรางกายแลว ยังเปนการกระทําที่
ผิดกฎหมายดวย

ทัง้ น้ี กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ งกับยาเสพตดิ ท่มี กี ารออกพระราชบญั ญตั แิ ละระเบยี บตา งๆ ใชกันอยูใน
ปจจุบนั มีหลายฉบับ ซึ่งสามารถจดั เปนกลมุ ๆ ได คอื

1. กฎหมายทเี่ ก่ยี วกับตัวยา ไดแก
1.1 พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522
1.2 พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545
1.3 พระราชบญั ญัติวตั ถุทีอ่ อกฤทธิ์ตอ จติ และประสาท พ.ศ. 2528 แกไขเพม่ิ เติม พ.ศ. 2535

1.4 พระราชกาํ หนดปอ งกนั การใชสารระเหย พ.ศ. 2533
1.5 พระราชบญั ญตั ิควบคมุ โภคภณั ฑ พ.ศ. 2495
2. กฎหมายทเี่ กยี่ วกับมาตรการ ไดแ ก
2.1 พระราชบญั ญัติปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519
2.2 พระราชบญั ญัตปิ องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2545
2.3 พระราชบัญญัตฟิ น ฟูสมรรภาพผตู ดิ ยาเสพติด พ.ศ.2545

111

ประชาชน นักเรียน นักศึกษาจึงควรศึกษาทําความเขาใจถึงขอกําหนดการกระทําผิดและ
บทลงโทษท่ีเกย่ี วกบั ยาเสพติด เพ่ือหลีกเล่ียงการกระทําผิดพรอมทั้งควรแนะนําเผยแพรความรูดังกลาว
แกเพื่อน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในชุมชน ใหตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด รวมท้ัง
รวมกนั รณรงคปองกนั การแพรระบาดสูเด็กและเยาวชนในชุมชน ตอ ไป

ทัง้ น้ี การกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศตองรับโทษใน
ประเทศ ซง่ึ ถา รับโทษจากตา งประเทศมาแลว ศาลอาจลดหยอนโทษใหต ามสมควรและตามที่กลาวไวใน
ตอนตน ถงึ ความจริงจงั ในการปอ งกันและปราบปรามยาเสพติด จึงมีการกําหนดใหการกระทําบางอยาง
ตองรบั โทษหนักกวากฎหมายอื่น เชน กําหนดโทษใหผูพยายามกระทําความผิดตองระวางโทษเสมือน
กระทาํ ความผดิ สําเรจ็ ซึ่งตามกฎหมายอาญาผูพ ยายามกระทาํ ความผิดจะรับโทษเพียง 2 ใน 3 ของโทษมี
กาํ หนดสาํ หรับความผิดน้ันเทานั้น นอกจากน้ีผูสนับสนุน ชวยเหลือ ใหความสะดวกผูกระทําความผิด
ตองระวางโทษเชนเดียวกบั ผกู ระทําความผิด และทรัพยสินทีไ่ ดม าจากการกระทําความผดิ จะตองถูกศาล
ส่ังริบ นอกจากพิสูจนไดวาทรัพยสินน้ันไมเก่ียวของกับการกระทําความผิด และในเรื่องการสืบทราบ
การกระทําผิดเจาหนาทม่ี ีอํานาจเรียกบุคคลใดใหถ อ ยคําสงบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ประกอบการ
พิจารณาและมอี าํ นาจเขา ไปในเคหสถานเมือ่ ตรวจคนหลักฐานในกรณีมเี หตุอนั ควรสงสัยวามีการกระทํา
ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด เม่อื ตรวจสอบและพบหลักฐานการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับยาเสพติดเจาหนาท่ี
มีอํานาจจับกุมและสอบสวนผูกระทําผิดและทําสํานวนฟองศาลตอไปตามกระบวนพิจารณาของศาล
ซ่ึงโทษท่ีจะไดรับสําหรับผูกระทําความผิดจะเปนโทษท่ีหนักเน่ืองจากความผิดเก่ียวกับยาเสพติดเปน
ความผดิ รายแรงทแี่ ตล ะชาติไดใ หความสําคัญตามทีก่ ลาวไวในขางตน

112

บทท่ี 8
ทกั ษะชวี ิตเพ่ือสุขภาพจิต

สาระสําคัญ

มคี วามรู ความเขา ใจ เกยี่ วกบั ความสาํ คัญของทักษะชีวิตทั้ง 10 ประการ และสามารถนําความรู
ไปประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจาํ วันในการทาํ งาน การแกปญหาชีวิตครอบครัวของตนเองไดอยางเหมาะสม
ตลอดจนสามารถนํากระบวนการทักษะชวี ิตไปใชในการแกปญ หาแกครอบครวั ผอู น่ื ได

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวงั

1. สามารถบอกถงึ ความหมาย ความสําคัญของทกั ษะชีวติ ไดอ ยางถูกตอง
2. สามารถอธบิ ายถงึ ทกั ษะชีวิตท่จี ําเปนในชวี ติ 3 ประการไดอ ยา งถูกตอง

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชีวิต
เรื่องที่ 2 ทกั ษะการตระหนกั ในการรตู น
เรอ่ื งที่ 3 ทักษะการจัดการกบั อารมณ
เร่อื งท่ี 4 ทกั ษะการจัดการความเครยี ด

113

เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต

ความหมายของทกั ษะชีวติ
คําวาทักษะ (Skill) หมายถึง ความจัดเจนและความชํานิชํานาญในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งบุคคล

สามารถสรางขึ้นไดจากการเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางานรวมกับผูอื่น การอาน
การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปน
ทักษะภายนอกทสี่ ามารถมองเหน็ ไดชัดเจนจากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้นเปน
ทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่จะทําใหผูมีทักษะเหลาน้ันมีชีวิตที่ดี สามารถดํารงชีพอยูในสังคมได
โดยมีโอกาสท่ีดีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซ่ึงทักษะประเภทน้ีเรียกวา Livelihood Skill หรือ Skill for
Living ซึง่ เปนคนละอยางกับทักษะชวี ติ ท่ีเรียกวา Life Skill

ดงั นน้ั ทกั ษะชวี ติ หรือ Life Skill จึงหมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา
(Psychosocial Competence) ท่ีเปนทักษะภายใน ท่ีจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ
ทเ่ี กิดขึน้ ในชวี ติ ประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมสําหรับการปรับตัวในอนาคต
ไมว าจะเปนเร่อื งการดูแลสขุ ภาพ เอดส ยาเสพติด ความปลอดภัย ส่งิ แวดลอม คณุ ธรรม จริยธรรม ฯลฯ
เพอ่ื ใหส ามารถมีชวี ติ อยใู นสงั คมไดอยา งมคี วามสุขหรือจะกลา วงา ย ๆ ทกั ษะชีวิต ก็คือ ความสามารถใน
การแกปญหาท่ีตองเผชิญในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหอยูรอดปลอดภัยสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี
ความสุขและเตรียมพรอ มสาํ หรับการปรับตัวในอนาคต

ความสําคญั ของทกั ษะชีวิต
เน่ืองจากสังคมปจจุบันมีความซับซอนในการดําเนินชีวิต เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงอยาง

รวดเร็วในดานเศรษฐกิจ สังคม ขาวสารขอมูล และเทคโนโลยี มีการแขงขันและความขัดแยงมากขึ้น
บุคคลมีความจําเปนตองปรับตัวใหทันตอความเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการแขงขัน สามารถสู
กระแสวิกฤติตาง ๆ ไดอยางมีเหตุมีผล รูจักนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อพัฒนาตนและพัฒนาอาชีพ มีความ
เขาใจสถานการณและมีวิจารณญาณในการเลือกรับเลือกปฏิเสธ มีความสามารถควบคุมอารมณและ
บริหารความขดั แยง ท่ีเกดิ ขึ้นในวิถีชีวิต และมีคุณสมบัติที่พึงประสงคในการอยูรวมกับผูอื่น จึงจะอยูใน
สังคมไดอยา งมีความสขุ

ทักษะชีวติ ท่ีจําเปน
ทกั ษะชวี ิตจะมคี วามแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี อยางไรก็ตาม มีทักษะชีวิตอยูกลุม

หนึง่ ที่ถอื เปน หัวใจสาํ คัญที่ทุกคนควรมี โดยองคก ารอนามยั โลกไดกําหนดไว ดงั นี้
1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปน ความสามารถในการตดั สินใจเกีย่ วกับเรื่องราวตาง ๆ

ในชวี ติ ไดอยา งมรี ะบบ เชน ถา บคุ คลสามารถตดั สินใจเกีย่ วกบั การกระทําของตนเองทเี่ กย่ี วกับพฤติกรรม

114

ดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลที่ไดจากการตัดสินใจเลือกทางท่ี
ถกู ตอ งเหมาะสม ก็จะมผี ลตอการมสี ุขภาพที่ดที ั้งรางกายและจติ ใจ

2. ทกั ษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกบั ปญ หาท่เี กิดข้ึนใน
ชีวติ ไดอยา งมรี ะบบไมเ กดิ ความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลุกลามเปน ปญ หาใหญโ ตเกนิ แกไข

3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิดทีจ่ ะเปนสว นชว ย
ในการตัดสินใจและแกไขปญ หาโดยการคิดสรา งสรรค เพ่ือคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมท้ังผลที่จะเกิดข้ึน
ในแตล ะทางเลือก และสามารถนําประสบการณมาปรบั ใชใ นชวี ิตประจําวนั ไดอยางเหมาะสม

4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห
ขอ มูลตางๆ และประเมินปญหาหรอื สถานการณทอี่ ยรู อบตัวเราท่มี ผี ลตอการดาํ เนนิ ชวี ิต

5. ทกั ษะการสื่อสารอยางมปี ระสิทธิภาพ (Effective Communication) เปนความสามารถในการ
ใชคําพูดและทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรมและ
สถานการณตาง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความชื่นชม
การขอรอง การเจรจาตอ รอง การตักเตอื น การชวยเหลอื การปฏิเสธ ฯลฯ

6. ทกั ษะการสรางสมั พนั ธภาพระหวา งบุคคล (Interpersonal Relationship) เปน ความสามารถใน
การสรา งความสัมพนั ธท ่ดี ีระหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพนั ธภาพไวไดยนื ยาว

7. ทักษะการตระหนักรใู นตน (Self Awareness) เปน ความสามารถในการคนหา รูจักและเขาใจ
ตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการและส่ิงท่ีไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยใหเรารู
ตวั เองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณตา ง ๆ และทกั ษะนยี้ งั เปน พนื้ ฐานของการพฒั นาทกั ษะ
อนื่ ๆ เชน การส่อื สาร การสรางสมั พนั ธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเหน็ อกเหน็ ใจผูอื่น เปน ตน

8. ทกั ษะการเขา ใจและเหน็ ใจผูอ ื่น (Empathy) เปน ความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือ
ความแตกตา งระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วยั ระดับการศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สีผิว อาชีพ
ฯลฯ ชว ยใหส ามารถยอมรบั บคุ คลอน่ื ที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลอื บคุ คลอ่ืนทด่ี อยกวา หรือไดรับความ
เดอื ดรอน เชน ผูต ิดยาเสพตดิ ผูต ดิ เชื้อเอดส เปนตน

9. ทกั ษะการจดั การกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถในการรับรอู ารมณของ
ตนเองและผูอ่ืน รูวาอารมณมีผลตอ การแสดงพฤตกิ รรมอยางไร รูว ิธกี ารจดั การกบั อารมณโกรธและความ
เศรา โศกท่ีสงผลทางลบตอรางกายและจติ ใจไดอ ยา งเหมาะสม

10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with Stress) เปนความสามารถในการรับรูถึง
สาเหตุของความเครียด รูว ิธผี อ นคลายความเครยี ด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให
เกิดการเบย่ี งเบนพฤติกรรมไปในทางทถ่ี กู ตองเหมาะสมและไมเกดิ ปญ หาดา นสขุ ภาพ

115

กลวธิ ใี นการสรางทกั ษะชีวติ
จากทกั ษะชีวิตทจี่ าํ เปน 10 ประการ สามารถแบง ไดเปน 2 สว น ดังน้ี
1. ทักษะชีวิตท่ัวไป คือ ความสามารถพ้ืนฐานท่ีใชเผชิญปญหาปกติในชีวิตประจําวัน เชน

ความเครยี ด สุขภาพ การคบเพือ่ น การปรบั ตัว ครอบครวั แตกแยก การบรโิ ภคอาหาร ฯลฯ
2. ทกั ษะชวี ติ เฉพาะ คือ ความสามารถทจี่ าํ เปนในการเผชิญปญ หาเฉพาะ เชน ยาเสพติด โรคเอดส

ไฟไหม นาํ้ ทวม การถกู ลว งละเมดิ ทางเพศ ฯลฯ

เรื่องท่ี 2 ทกั ษะการตระหนกั ในการรูตน

การรจู ักตนเอง เปน เรอื่ งใกลต วั ท่ดี ูเหมือนไมนาจะสําคัญอะไรท่ีเราจะตองมานั่งเรียนรูทําความ
เขาใจ แตท วา กลบั มาความสาํ คญั อยา งย่งิ ยวด เปรยี บไดก ับเสนผมบงั ภเู ขาทท่ี าํ ใหคนจาํ นวนมากทแี่ ม
มคี วามรมู ากมายทว มหวั แตเ อาตัวไมรอด เนอ่ื งจากส่ิงหนงึ่ ทเี่ ขาไมรูเลยนน่ั คือ การรูจักตัวตนของเขา
อยา งถองแทน ั่นเอง

ทัง้ ๆ ทีใ่ นความเปน จริงแลว การรจู ักตนเองนับเปน พ้ืนฐานสําคญั ท่ีเราควรเรียนรูเปนอันดับแรก
สดุ ในชีวิต เน่ืองจากการรูจ ักตนเองจะนาํ ไปสกู ารมเี ปา หมายทีช่ ดั เจนในการดําเนนิ ชวี ิต เน่ืองจากรูวา ตนมี
ความถนัด ความชอบ และความสามารถในดานใด ดังน้ัน จึงรูวาตนควรจะเรียนอะไร ประกอบอาชีพอะไร
ควรแสวงหาความรูอะไรเพิม่ เตมิ

การรจู กั วิธเี ฉพาะตัวทีต่ นถนดั ในการพฒั นาทักษะการเรียนรูในดานตางๆ ของตนเองใหเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพ อาทิ รูเทคนิคการเรียนหนังสือของตนวาควรใชวิธีใดจึงประสบผลสําเร็จ รูตัววา
ความจําไมด ี จงึ ตองใชว ธิ จี ดอยางละเอยี ดและทบทวนบทเรียนอยางสมํา่ เสมอ เปนตน

จุดออ นในชีวิตไดร บั การแกไ ขอยางทันทวงที อาทิ เมอื่ เรารตู ัววาเปนคนใจรอน เมอ่ื มเี หตกุ ารณที่
เรารูสาเหตุหากอยูใ นสถานการณเชน น้ีอาจนําไปสูการใชความรุนแรงได ดังน้ัน เราจึงเลือกท่ีจะแยกตัว
ออกมานง่ั สงบสตอิ ารมณเพอื่ คิดหาวธิ ีการแกไ ขท่ีดที ่สี ดุ

การพัฒนาทักษะการแกไ ขปญ หาทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวติ อยางมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากรูวาปญหานั้นมี
สาเหตุมาจากตนหรอื ไม และรูวาตนเองควรปรบั อารมณเชนใด เมอ่ื ยามเผชิญปญหาและควรหาวิธีการใด
ทเี่ หมาะสําหรับตนเองมากทส่ี ดุ ในการแกปญ หาใหล ุลว งไปไดด วยดี

การคนพบความสุขท่ีแทจริงในสิ่งท่ีตนเลือกทํา เน่ืองจากรูวาอะไรที่ทําแลวจะทําใหตนเองมี
ความสขุ ได นาํ ไปสูก ารเรยี นรูและเขาใจผอู ื่นไดม ากย่ิงข้ึน อนั เปนการลดปญหาความขัดแยงและนําไปสู
มิตรภาพทด่ี ีตามมา

ตรงกันขามกับผูท่ีไมรูจักตนเอง ซ่ึงมักใชชีวิตโดยปลอยไปตามกระแสสังคม เลียนแบบ
ทําตามคนรอบขาง โดยขาดจุดยืนท่ีชัดเจน เชน แสวงหาความสุขในชีวิตดวยการไปเที่ยวเตรกับเพ่ือน
เสพยาเสพตดิ การเลอื กคณะท่ีจะสอบเขา มหาวิทยาลัยตามคานิยมขณะนัน้ หรอื เลอื กตามเพื่อน สุดทายเขา
จึงไมสามารถพบกับความสุขท่ีแทจริงในชีวิตไดและนําไปสูปญหามากมายตามมา นอกจากนี้ คนที่

116

ไมร จู กั ตนเองยามเม่ือตอ งเผชิญหนากบั ปญ หา โดยมากแลว มกั จะไมดูวา ปญ หาท่ีเกิดขึ้นน้ันมาจากตนเอง
หรือไม แตม ักโทษเหตุการณห รือโทษผอู ่ืนเอาไวกอน จงึ เปนการยากทจี่ ะแกปญ หาใหล ุลวงไปไดดวยดี

ทักษะการรูจักตนเองจึงเปนทักษะสําคัญที่เราทุกคนตองเรียนรูและฝกฝน เน่ืองจากการรูจัก
ตนเองน้ันไมไดเ ปน เรื่องทน่ี ง่ั อยเู ฉยๆ แลวจะสามารถรูข น้ึ มาไดเ อง แตต องผา นกระบวนการบมเพาะผาน
ประสบการณตา งๆ การลองผิดลองถูก ความผิดหวัง เจ็บปวด ความผิดพลาดลมเหลวตางๆ เพื่อที่จะตก
เปนผลึกทางปญญาในการรูจักตนเอง รวมทั้งผานการปฏิสัมพันธกับบุคคลรอบขาง ซ่ึงถือเปนกระจก
สะทอนช้ันดีใหเราไดเรียนรจู กั ตนเอง โดยยิง่ รจู ักตนเองเร็วเทาไรยงิ่ เปนการไดเปรียบในการออกสตารท
ไปสเู ปาหมายชีวิตไดเ รว็ เทา น้นั รวมทง้ั ยังเปนรากฐานสําคญั ในการใชช วี ติ อยางมคี วามสขุ และ
ประสบความสาํ เรจ็ ทา มกลางปญ หาและแรงกดดนั ตา ง ๆ

การฝก ฝนทกั ษะการรูจกั ตนเองจงึ ควรเร่มิ ตั้งแตวัยเยาว โดยพอ แมเ ปนบคุ คลสําคญั แรกสุดในการ
ชว ยลกู คน หาตนเอง โดยเริม่ จากเปดโอกาสที่หลากหลาย พอแมควรสรางโอกาสที่หลากหลายในการให
ลกู ไดเรยี นรทู ดลองในสิ่งตาง ๆ ใหมากทสี่ ุด อาทิ การทํางานบาน กิจกรรมตาง ๆ ที่ลูกสนใจ โดยพอแม
ทําหนาท่ีเปนผูสนับสนุน อํานวยความสะดวกในการใหลูกไดเรียนรูจากประสบการณตาง ๆ อยางไร
กต็ าม กิจกรรมดังกลา วพอแมควรคัดกรองวาเปนกิจกรรมที่สรางสรรคและปลอดภัยสําหรับลูกหรือไม
อาทิ การทํางานอาสาสมัครตาง ๆ การเขาคายอาสาพัฒนา การเขาคายกีฬา ไมใชตามใจลูกทุกเรื่อง เชน
ลูกขอไปเกบ็ เก่ียวประสบการณจากแกงมอเตอรไซค หรือขอไปเท่ียวกลางคืนหาประสบการณทางเพศ
เปนตน ซึ่งเปนกิจกรรมท่ีไมสรางสรรคและอาจเกิดอันตรายกับลูกได ใหอิสระในความคิดและ
การตดั สนิ ใจ พอ แมไ มควรเปน นักเผด็จการทีค่ อยบงการชวี ติ ลูกไปทุกเรื่อง อาทิ พอแมอยากเรียนแพทย
แตสอบไมตดิ จึงฝากความหวงั ไวก บั ลูก พยายามสรา งแรงกดดันและปลูกฝงความคิดใหลูกตองสอบเขา
คณะแพทยใหได เพื่อทําความฝนของพอแมใหเปนจริง โดยไมคํานึงวาลูกจะชอบหรือมีความถนัด
ในดานน้ีหรือไม พอแมที่ปรารถนาใหลูกรูจักตนเองจึงควรเปดโอกาสใหลูกไดสามารถตัดสินใจ
ในการเลือกส่ิงตาง ๆ ไดดวยตัวเอง โดยพอแมทําหนาท่ีคอยชี้แนะอยูหาง ๆ ถึงขอดี ขอเสีย ประโยชน
หรอื โทษ ท่ีลกู จะไดรับผานการตัดสินใจนั้น ๆ ซึ่งหากพอแมเห็นวาการตัดสินใจของลูกเปนไปในทาง
ท่ีไมถูกตองและอาจจะนําไปสูอันตรายได พอแมสามารถใชอํานาจในการยับย้ังการกระทําดังกลาวได
โดยชีแ้ จงถงึ เหตุผลใหลกู ไดเขา ใจ เปนกระจกสะทอ นใหลูกเหน็ ตนเอง พอแมต อ งทําหนาทเ่ี ปน กระจกเงา
สะทอ นใหล ูกไดเหน็ ตนเองในมุมตา ง ๆ ทั้งจดุ ออ น จุดแข็ง จุดดี จุดดอย โดยหลักการสําคัญ คือ ผิดจาก
ความเปนจริง หรืออาจรจู ักตนเองอยา งผดิ ๆ ผา นคาํ พดู ของคนรอบขา ง เพื่อนฝูง ครู อาจารย ซง่ึ อาจทําให
ลูกมองตนเองดอ ยคา เกิดเปน ปมดอ ยในจติ ใจ โดยมีงานวิจยั ยนื ยันวาหากพอแมปลอ ยใหลูกมีความเขาใจ
ทีผ่ ดิ ๆ เกยี่ วกบั ตวั เองในเรอื่ งตาง ๆ ท้งั ๆ ท่ไี มไ ดเปนความจริง และหากไมมกี ารรีบปรบั ความเขา ใจ
ทผ่ี ดิ ๆ น้ันโดยเร็ว สงิ่ ท่ีลูกเขาใจเก่ียวกับตนเองผดิ ๆ น้ันจะกลับกลายเปน ความจรงิ ในท่ีสดุ

117

ตัวอยา งเชน ลกู อาจโดนครทู ่โี รงเรยี นตอ วา เรื่องผลการสอบวิชาคณิตศาสตรท ล่ี ูกสอบตก วาเปน
เดก็ ไมฉ ลาด ท้งั ๆ ทีพ่ อแมเห็นลูกพยายามอยางเต็มที่แลวในวิชานี้ ในกรณีดังกลาวพอแมควรทําหนาที่
เปน กระจกสะทอนใหล ูกเห็นในมุมทถ่ี กู ตอ งและใหกาํ ลังใจวา ลกู มจี ดุ แข็งที่พอแมภาคภูมิใจในเร่ืองของ
ความต้ังใจจรงิ ความขยนั หมัน่ เพยี ร แตอ ยา งไรก็ตามที่ผลการเรียนออกมาเชนน้ีอาจเพราะลูกไมถนัดใน
วิชาดังกลา ว และใหลกู พยายามตอไปอยาทอ ถอย อยางไรกต็ ามหากพอแมไ มมีการปรับความเขาใจในการ
มองตนเองของลูกในเร่ืองนี้ ลูกจะตอกย้ําตัวเองเสมอวาเปนคนหัวทึบ และเขาจะไมมีวันประสบ
ความสําเร็จในชีวิตการเรียนไดเลย กระตุกใหลูกไดคิดวิเคราะหตนเอง โดยการหม่ันสังเกตพฤติกรรม
อารมณของลกู ในสภาวะตาง ๆ หรือจากเหตุการณตาง ๆ และเริ่มตั้งคําถามกับลูกเม่ือการเรียนรูตนเอง
แทนการโทษผอู น่ื หรอื โทษสถานการณ

ตวั อยา งเชน เมือ่ ลูกทาํ ขอสอบไดคะแนนไมดี แลวโทษวาเพราะครสู อนไมร เู ร่อื ง หรืออางวายังมี
เพอื่ นที่เรยี นแยก วา เขาอีก พอแมควรกระตุนใหลูกไดคิดวาเราไมควรไปเปรียบเทียบกับผูที่เรียนแยกวา
หรือโทษวาครูสอนไมรูเร่ือง พรอมกับใหลูกวิเคราะหตัวเองถึงจุดออนจุดแข็ง เชน ลูกมีจุดออนเร่ือง
ระเบียบวนิ ัย การบรหิ ารเวลาในการอานหนังสือหรือไม เพราะที่ผานมาพอแมไมเห็นวาลูกจะตั้งใจอาน
หนังสือหรือทบทวนบทเรียนเลย แตมาเรงอานตอนใกลสอบ ดังน้ัน ในการสอบคร้ังตอไปลูกตองวาง
แผนการเรยี นใหด แี ละขยนั ใหมากกวา นี้ เปน ตน

การสอนและเตือนสติ พอแมเ ปนผูทเ่ี หน็ ชวี ติ ของลูกใกลชิดที่สุด และมีความสามารถในการเขา
ใจความเปนตัวตนของเขามากทส่ี ดุ ซึง่ ในความเปนเด็กลูกเองยงั ไมสามารถท่ีจะแยกแยะทําความรูจักกับ
พฤตกิ รรมหรอื อารมณตา ง ๆ ท่ตี นแสดงออกมาได โดยพฤติกรรมบางอยางของลูกหากพอแมปลอยปละ
ละเลยไมส ่ังสอนเตือนสตแิ ตเ น่นิ ๆ พฤติกรรมน้ัน ๆ อาจบมเพาะเปน นิสัยแย ๆ ท่ีติดตัวลูกไปจนโต และ
ยงิ่ โตยิ่งแกยาก เขา ทํานองไมออ นดัดงายไมแกดัดยาก ดังน้ัน พอแมจึงตองสั่งสอนและเตือนสติลูกทันที
ในพฤตกิ รรมทไ่ี มพงึ ประสงคต า ง ๆ พรอ มช้ใี หลูกเห็นถึงความรายแรงและหาแนวทางแกไขรว มกนั

ตัวอยางเชน พอแมเห็นวาลูกมีอุปนิสัยเปนคนเจาอารมณ โกรธงาย พอแมควรพูดคุยกับลูก
ถึงจดุ ออ นขอนวี้ า จะสง ผลเสียอยา งไรกบั ชีวิตของเขาในระยะยาว พรอมทั้งหาวธิ ีการรว มกันในการฝกฝน
ใหลูกรูเทาทันอารมณของตน ไมตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ อยางผิด ๆ โดยใชอารมณความรูสึก
นําหนา อาทิ สอนใหลูกหลีกเลี่ยงตอสถานการณที่มากระตุนอารมณโกรธ สอนลูกใหตอบสนองอยาง
ถูกตองเม่ือโกรธ โดยการเดินไปหาที่เงียบ ๆ สงบสติอารมณกอนแลวคอยมาพูดคุยกัน ทาทายลูกให
ทําลายสถิติตนเองใหโกรธชาลง เชน แตเดิมเม่ือพบเหตุการณที่ไมสบอารมณจะโกรธขึ้นมาทันที ครั้ง
ตอ ไปควรฝก ใหโกรธชาลง เปนตน

การเรียนรจู ักตนเองอยางถองแท นับเปนกระบวนการเรียนรูที่สําคัญมากยิ่งกวาการเรียนรูใด ๆ
การเรียนรูจ กั ตนเองเปนกระบวนการเรยี นรูระยะยาวตลอดท้งั ชวี ติ อันนํามาซ่ึงความสุขและเปนรากฐาน
ของความสําเร็จในชวี ิต โดยพอแมเปน บคุ คลสําคัญ ผูเปดโอกาสใหล ูกไดเ รยี นรจู ักตนเองและเปนกระจก
บานแรกทสี่ ะทอนใหล ูกไดเ หน็ อยา งถูกตอ งวา ตวั ตนทีแ่ ทจ ริงของเขานั้นเปน เชน ไร

118

เร่อื งที่ 3 ทกั ษะการจดั การกับอารมณ

อารมณเปนพลังที่ทรงอํานาจอยางหน่ึงของมนุษย อารมณอาจเปนตนเหตุของสงคราม
อาชญากรรม ความขัดแยงเรื่องเชื้อชาติ และความขัดแยงอ่ืน ๆ อีกหลายชนิดระหวางมนุษยดวยกัน
ในทางตรงกันขามอารมณเปนนํ้าทิพยของชีวิต ทําใหทุกส่ิงทุกอยางสวยงามและนาอภิรมย ความรัก
ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน ความพอใจ หรือความตลกขบขัน ลวนแตทําใหชีวิตมีคุณคาและ
ความหมายทัง้ ส้ิน

อารมณมีความสําคัญเชนเดียวกับการจูงใจดังไดกลาวแลว อารมณ คือ หลายส่ิงหลายอยาง
ในทศั นะหน่งึ อารมณ คือ สภาวะของรา งกายซึง่ ถูกยัว่ ยุ จนเกดิ มีการเปลีย่ นแปลงทางสรีระวิทยาหลาย ๆ
อยา ง เชน ใจสน่ั ชพี จรตนเร็ว การหายใจเร็วและแรงข้ึน หนาแดง เปนตน ในอีกทัศนะหน่ึง อารมณ คือ
ความรสู กึ ซึ่งเกิดขน้ึ เพยี งบางสวนจากสภาวะของรางกายท่ถี กู ยัว่ ยุ อาจเปน ความรูสึกพอใจหรือไมพ อใจ
กไ็ ด อามรณย งั เปนส่ิงท่ีคนเราแสดงออกมาดว ยนํ้าเสยี ง คาํ พูด สหี นา หรอื ทา ทาง
วธิ จี ัดการกับอารมณ

1. มองโลกในแงด ี เม่อื เรามคี วามคดิ ทีท่ าํ ใหซมึ เศรา เชน “ฉันทําวิชาคณิตศาสตรไมได” ใหคิด
ใหมว า “ถาฉนั ไดร บั ความชวยเหลอื ท่ถี ูกตองฉันกจ็ ะทําได” แลวไปหาครู ครูพิเศษ หรือใหเพ่ือนชวยติว
ให

2. หาสมุดบันทึกสักเลมไวเขียนกอนเขานอนทุกวัน ในสมุดบันทึกเลมนี้ หามเขียนเร่ืองไมดี
จงเขียนแตเรื่องดี ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในวนั น้นั ตอนแรกอาจจะยากหนอย แตใหเขียน เชน มีคนแปลกหนายิ้มให
ถาไดล องต้ังใจทาํ มันจะเปล่ียนความคิดใหเ รามองหาแตเร่ืองดี ๆ จากการศึกษาพบวา คนทค่ี ดิ ฆา ตัวตายมี
อาการดขี นึ้ หลงั จากเรม่ิ เขยี นบันทกึ เรื่องดี ๆ ไดเพียงสองสปั ดาห

3. ใชเ วลาอยกู บั คนทีท่ ําใหเ ธอหัวเราะได
4. ใสใ จกบั ความรสู กึ ของตนเองในเวลาแตล ะชวงวัน การตระหนกั รถู ึงอารมณของตัวเองจะทํา
ใหเราจับคงู านทีเ่ ราตอ งทํากับระดับพลงั งานในตัวไดอยา งเหมาะสม เชน ถา เรารูสึกดีท่ีสุดตอนเชา แสดง
วาตอนเชา คอื เวลาจัดการกับงานเครียด ๆ เชน ไปเจอเพ่อื นทที่ าํ รา ยจติ ใจเรา หรือคุยกับครูที่เราคิดวาให

119

เกรดเราผิด ถาปกติเราหมดแรงตอนบา ย ใหเกบ็ เวลาชวงนนั้ เอาไวทํากิจกรรมทไี่ มต อ งใชพ ลังทางอารมณ
มาก เชน อานหนงั สอื หรืออยูก ับเพ่อื น อยาทําอะไรเครยี ดๆ เวลาเหนอ่ื ยหรอื เครียด

5. สังเกตอารมณตัวเองในเวลาชวงตาง ๆ ของเดือน ผูหญิงบางคนพบวา ชวงเวลาที่ตัวเอง
อารมณไ มดสี ัมพนั ธก ับรอบเดอื น

6. ออกกําลังกาย การออกกําลังกายชวยใหเราแข็งแรงท้ังรางกายและจิตใจ การออกกําลังกาย
อยางนอ ยแคว ันละ 20 นาที สามารถทําใหรูสึกสงบและมีความสุขได การออกกําลังกายจะชวยเพ่ิมการ
ผลิตเอนดอรฟนของรา งกายดว ย เอนดอรฟ นเปนสารเคมใี นรา งกายท่ีทาํ ใหเกดิ ความรสู กึ ดแี ละมีความสุข
ตามธรรมชาติ โดยไมตองพงึ่ ยาเสพตดิ

7. รจู ักไตรต รอง แยกแยะ
8. ฟง เพลง งานวิจัยชน้ิ หนง่ึ พบวา จงั หวะของเสยี งเพลงชว ยจัดระเบียบความคิดและความรูสึก
มัน่ คงภายในจิตใจ และชว ยลดความตึงเครียดของกลามเน้อื
9. โทรหาเพอ่ื น การขอความชว ยเหลือทําใหคนเรารสู ึกผกู พนั กบั คนอื่นและรสู ึกโดดเด่ยี วนอ ยลง
10. การโอบกอดชวยใหรางกายหล่ังฮอรโมนที่ทําใหรูสึกดีออกมา ซึ่งจะชวยใหเรารับมือกับ
อารมณไ ด อยูทา มกลางคนทมี่ คี วามสุข อารมณดเี ปน โรคตดิ ตอ

แนวทางในการจัดการกบั อารมณทางเพศของวัยรุน
การจัดการกับอารมณท างเพศของวยั รนุ มแี นวทางการปฏบิ ตั ิทส่ี าํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดวย

แนวทางการปฏิบตั ิเพ่ือระงับอารมณท างเพศ และแนวทางการปฏบิ ัติเพ่ือผอนคลายความตอ งการทางเพศ

แนวทางการปฏบิ ตั เิ พอื่ ระงับอารมณทางเพศ
แนวทางการปฏบิ ัตเิ พื่อระงับอารมณทางเพศ หมายถึง ความพยายามในการที่จะหลีกเลี่ยงตอส่ิง

เราภายนอกที่มากระตุนใหเ กิดอารมณท างเพศท่เี พม่ิ มากขน้ึ
1. หลกี เลี่ยงการดหู นังสอื หรอื ภาพยนตรห รอื สอื่ Internet ท่ีมีภาพหรอื ขอ ความที่แสดงออกทาง

เพศ ซงึ่ เปนการยวั่ ยใุ หเกิดอารมณท างเพศ
2. หลกี เลีย่ งการปฏิบัติหรือทําตัวปลอยวางใหความสบายเกินไป เชน การนอนเลน ๆ โดยไม

หลับ การนั่งฝน กลางวนั หรอื นง่ั จินตนาการที่เกย่ี วขอ งกับเรื่องเพศ
3. หลีกเลี่ยงสถานการณท่กี อใหเ กดิ โอกาสการถกู สมั ผัสในลกั ษณะตาง ๆ กบั เพศตรงขาม
4. ซ่ึงการกระทาํ ดังกลา วมักกอใหเ กิดอารมณท างเพศได เชน การจบั มอื ถอื แขน (10%) การกอด

จบู (60%) การลบู คลํา (80%) การเลาโลม (100%)
5. หลกี เลย่ี งและรจู ักปฏเิ สธเมื่อถูกชกั ชวนใหเ ที่ยวเตรพกั ผอ นในแนวทางกระตุน ใหเกดิ อารมณ

ทางเพศ เชน สถานท่ีทองเทย่ี วกลางคืน การดม่ื แอลกอฮอล เคร่ืองด่ืมมึนเมาตาง ๆ ซ่ึงสามารถนําพาไปสู
การเกิดอารมณทางเพศได

120

เร่ืองที่ 4 ทักษะการจดั การความเครยี ด

ความเครียดคือ การหดตัวของกลามเน้ือสวนใดสวนหน่ึงหรือหลายสวนของรางกายน่ันเอง
ซ่งึ ทุกคนจําเปนตองมีอยูเสมอในการดํารงชีวิต เชน การทรงตัวเคลื่อนไหวทั่ว ๆ ไป มีการศึกษาพบวา
ทุกคร้ังที่เราคิดหรือมีอารมณบางอยางเกิดข้ึนจะตองมีการหดตัว เคล่ือนไหวของกลามเนื้อแหงใด
แหง หน่งึ ในรา งกายเกิดข้นึ ควบคูเ สมอ

ความเครียดมีท้ังประโยชนและโทษ แตความเครียดที่เปนโทษน้ัน เปนความเครียดชนิดที่เกิน
ความจําเปน แทนทจ่ี ะเปนประโยชนกลับกลายเปนอุปสรรคและอันตรายตอชีวิต เมื่อคนเราอยูในภาวะ
ตงึ เครียดรางกายจะเกดิ ความเตรยี มพรอมที่จะ “สู” หรอื “หนี” โดยท่รี า งกายมกี ารเปลี่ยนแปลงตา ง ๆ เชน
หวั ใจเตนแรงและเร็วขึ้น เพ่ือฉีดเลือดซึ่งจะนําออกซิเจนและสารอาหารตาง ๆ ไปเลี้ยงเซลลทั่วรางกาย
พรอมกับขจัดของเสียออกจากกระแสเลือดอยางเร็ว การหายใจดีขึ้น แตเปนการหายใจต้ืน ๆ มีการขับ
อดรนี าลีนและฮอรโมนอื่น ๆ เขาสูกระแสเลือด มานตาขยายเพ่ือใหไดรับแสงมากขึ้น กลามเนื้อหดเกร็ง
เพอ่ื เตรียมการเคลอ่ื นไหว เสนเลือดบริเวณอวยั วะยอยอาหารหดตัว เหง่อื ออก เพราะมกี ารเผาผลาญอาหาร
มากขึ้น ทําใหอุณหภูมิของรางกายเพิ่มขึ้น เมื่อวิกฤติการณผานพนไปรางกายจะกลับสูสภาวะปกติ
แตความเครยี ดที่เปน อันตราย คอื ความเครยี ดทีเ่ กิดข้ึนมากเกินความจําเปน เมื่อเกิดแลวคงอยูเปนประจํา
ไมล ดหรือหายไปตามปกติ หรอื เกิดขน้ึ โดยไมมีเหตกุ ารณทเี่ ปนการคกุ คามจรงิ ๆ

121

ผลของความเครยี ดตอ ชวี ติ
ผลตอสขุ ภาพทางกาย ไดแ ก อาการไมส บายทางกายตา ง ๆ เชน ปวดหัว ปวดเมื่อยตามสวนตาง ๆ

ของรางกาย ความผดิ ปกตขิ องหัวใจ ความดันโลหติ สูง โรคกระเพาะ อาการทอ งผูกทอ งเสยี บอย นอนไมห ลบั
หอบหืด เสอื่ มสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ

ผลตอสุขภาพจิตใจ นําไปสูความวิตกกังวล ซึมเศรา กลัวอยางไรเหตุผล อารมณไมมั่นคง
เปลี่ยนแปลงงายหรอื โรคประสาทบางอยา ง

สาเหตุของความเครียด
- สภาพแวดลอมทวั่ ไป เชน มลภาวะ ไดแก เสียงดังเกินไปจากเครื่องจักร เครื่องยนต อากาศ

เสยี จากควันทอ ไอเสยี นํ้าเสีย ฝุนละออง ยาฆา แมลง การอยูก ันอยา งเบียดเสยี ดยดั เยยี ด เปน ตน
- สภาพเศรษฐกจิ ที่ไมนา พอใจ เชน รายไดนอยกวารายจา ย เปนตน
- สภาพแวดลอมทางสังคม เชน การสอบแขงขันเขาเรียน เขาทํางาน เลื่อนข้ัน เล่ือนตําแหนง

เปนตน
- มสี มั พนั ธภาพกบั คนอืน่ ๆ ทีไ่ มร าบรน่ื มักมขี อ ขดั แยง ทะเลาะเบาะแวงกับคนอ่ืนเปน ปกติวสิ ัย
- ความรูสกึ ตนเองต่ําตอ ยกวา คนอืน่ ตอ งพยายามตอสเู อาชนะ
- ตอ งการมีอาํ นาจเหนือผูอ่ืน

วิธลี ดความเครียด มหี ลายวิธี
1. วิธีแกไขที่ปลายเหตุ ไดแก การใชยา เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลดกรดในกระเพาะ

ยากลอ มประสาท แตว ธิ กี ารดังกลา วไมไดแ กไ ขความเครียดทต่ี นเหตุ อาจทําใหค วามเครยี ดนัน้ เกิดขึ้นไดอ กี
2. วธิ แี กไขทต่ี นเหตุ ไดแก แกไ ขเปลีย่ นแปลงวถิ ชี วี ิตท่ีเอ้อื อาํ นวยตอการกอ ใหเกิดความเครียด

เชน หางานอดิเรกทช่ี อบทาํ ฝกออกกาํ ลงั กาย บริหารรา งกายแบบงาย ๆ เปนตน
3. เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอนปรน ลดความ

เขม งวดในเรอ่ื งตา งๆ
4. หาความรูความเขาใจเกีย่ วกับโภชนาการ
5. สํารวจและเปลยี่ นแปลงทศั นคติตอตัวเองและผูอ่ืน เชน มองตัวเองในแงดี มองผูอื่นในแงดี

เปน ตน
6. สาํ รวจและปรบั ปรุงสัมพันธภาพตอ คนในครอบครวั และสังคมภายนอก
7. ฝก ผอนคลายโดยตรง เชน การฝกหายใจใหถ กู วิธี การฝก สมาธิ การออกกําลังกายแบบงายๆ

การฝกผอ นคลายกลามเน้อื การนวด การสาํ รวจทา นั่ง นอน ยนื เดนิ การใชจ ิตนาการ นกึ ภาพทรี่ นื่ รมย
เม่อื เกดิ ความเครียดข้ึนมา ลองพยายามนึกทบทวนดูวา เกิดจากสาเหตุอะไร และเลือกใชวิธีลด

ความเครียดดังกลาวท่ีกลาวมาวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน อาจทําใหความเครียดผอนคลายหรือ
ไมเครยี ดเลยกไ็ ด

122

กจิ กรรม
เขียนตอบคาํ ถามดานลางในกระดาษและนําเสนอในชัน้ เรียน
1. ความสาํ คญั ในการตระหนกั รูในตนเองมีผลตอ การดาํ เนนิ ชีวิตอยา งไร
2. เราสามารถจดั การกบั อารมณโ กรธไดอยางไร
3. ความเครยี ดสง ผลตอสุขภาพอยางไร และเราสามารถจดั การกับความเครยี ดทาํ ไดอยา งไร

123

บทท่ี 9
อาชีพจําหนา ยอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สุขาภิบาล

ประเทศไทยมีผลผลิตจาการเกษตรกรรมประเภทอาหารท่ีหลากหลาย ซ่ึงขึ้นอยูกับศักยภาพ
แตล ะภูมิภาคทีแ่ ตกตา งกันไป การนําผลผลติ จาการเกษตรมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป แลว
กระจายสินคา สูตลาดผบู รโิ ภคตลาดภายในประเทศ ตลาดอาเซียน และตลาดในภูมภิ าคอ่นื ท่วั โลก เปนอกี
ชองทางหน่งึ ทที่ ําใหเ กดิ อาชีพสาํ หรับผทู สี่ นใจ

การถนอมอาหารในปจ จุบันใชว ิวัฒนาการทางเทคโนโลยเี พอ่ื แปรรปู วตั ถดุ บิ จาํ นวนมากพรอม ๆ
กนั เปน ผลติ ภณั ฑอ าหารสําเรจ็ รปู หรือก่งึ สําเรจ็ รปู หรอื ปรบั ปรุงกรรมวิธกี ารถนอมอาหารสมัยโบราณให
ไดผ ลติ ภัณฑท ม่ี คี ุณภาพดขี ึ้น ทัง้ ในดา นความสะอาด สี กล่ิน รส เนื้อสัมผสั และเพื่อยืดอายุการเก็บอาหาร
นน้ั ใหไดนาน เทคโนโลยีการถนอมผลิตผลการเกษตรตองอาศัยความรูทางวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ความรู
พื้นฐานทางสงั คมธรุ กจิ และการจดั การควบคูกับความรูใ นการแปรรปู ผลติ ผลการเกษตร ใหเปน ผลิตภัณฑ
ชนดิ ใหม หรอื ปรบั ปรุงของเดิมใหดียิ่งขึ้นท้ังในลักษณะท่ีมองเห็นหรือสัมผัสได เชน สี กล่ิน ความนุม
ความเหนยี ว เปน ตน รวมท้ังสิง่ ท่ีมองไมเ หน็ เชน คณุ คาทางโภชนาการ เปน ตน

ผลิตภัณฑอาหารสาํ เรจ็ รูป หมายถึง อาหารท่ีไดผ า นข้ันตอนการหงุ ตม หรือกระบวนการ แปรรูป

ผลิตผลการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีเพอ่ื ใหอาหารน้ันสามารถเก็บไดเปน เวลานานพอสมควรโดยไม
เนาเสีย สามารถดื่มหรือรับประทานไดทันทีเมื่อตองการจะอุนหรือไมอุนใหรอนกอนรับประทานก็ได
ผลิตภณั ฑประเภทนท้ี ี่รูจกั กันแพรหลาย คอื อาหารบรรจุกระปอ ง เชน สับปะรดกระปอ ง หรอื บรรจุกลอง
เชน นมสด เปนตน

ผลิตภัณฑอาหารกึ่งสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีไดผานขั้นตอนการหุงตมหรือกระบวนการ
แปรรูปแลว และสามารถเก็บไวไดน านเชน เดยี วกัน จะตองนาํ ไปหุงตม และปรุงรสหรอื ปรงุ แตงกอนจึงจะ
รับประทานได เชน นาํ้ ผลไมเขม ขน ซงึ่ ตอ งผสมนาํ้ กอ นดม่ื นาํ้ พรกิ แกง เปน ตน

การแปรรูปหรือการถนอมอาหาร โดยหลักใหญ คือ การทําลายหรือฆาเช้ือจุลินทรียท่ีมีอยูหรือ
อาจเกิดข้ึนในอาหาร และทําใหเกิดการเนาเสียใหหมดไป ปจจุบันผลิตผลการเกษตรมีมากข้ึน และ
ประชากรมากข้ึนจึงไดมีการศึกษาคนควาและทดลองใชเทคโนโลยี เพ่ือถนอมผลิตผลการเกษตรให
สามารถเก็บไวไ ดนาน เชน การใชความรอ นจากไอนาํ้ เพื่อฆาเช้ือจุลินทรียในการทําอาหารกระปอง การ
ใชร งั สแี กมมา เพอ่ื ยับยั้งหรือทําลายปฏิกิริยาของเอนไซมท ําใหการเปล่ียนแปลงทางเคมีชาลง และยังเปน
การทาํ ลายการเจริญเติบโตของจลุ ินทรยี อ ีกดว ย ในที่นี้จะกลาวถึงกรรมวิธีการถนอมอาหารทใ่ี ชก นั มากใน
ปจจบุ ัน คือ

 การถอมอาหารโดยใชค วามรอ นสงู เชน ผลิตภัณฑอ าหารกระปอ ง เปน ตน
 การถนอมอาหารโดยใชความเยน็ เชน ผลติ ภณั ฑอาหารเยอื กแขง็ เปนตน
 การถนอมอาหารโดยการทําใหแหง เชน ปลาหยอง กาแฟผง เปน ตน

124

 การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง เชน ซีอ้วิ นํ้าสมสายชู เปนตน
 การถนอมอาหารโดยใชรงั สี เชน หอมหัวใหญอ าบรงั สี เปนตน

เร่อื งท่ี 1 การถนอมอาหารโดยใชความรอนสงู

ภาชนะบรรจไุ ดมีการปรับปรุงพัฒนามาโดยเฉพาะอยางย่ิงที่ทําจากดีบุก ตอมาดีบุกหายากและ
แพงขึน้ จงึ ใชก ระปอ งทท่ี ําดวยแผนเหลก็ เคลอื บผิวทงั้ สองดานดว ยดบี กุ ทําใหป ระหยดั ปรมิ าณของดีบุกที่
ใชไดมาก ขณะเดียวกันก็ไดมีการใชกระปองที่ทําจากอลูมิเนียมซ่ึงน้ําหนักเบาแตมีขอเสีย คือ บุบงาย
สว นมากจึงใชท ํากระปองเพอ่ื บรรจุนา้ํ ผลไม หรอื เครื่องด่ืม หรือ นมสด แตการใชก ระปองอลูมเิ นยี ม
ไมแ พรห ลายเทา กับกระปองทีท่ ําจากแผน เหลก็ เคลอื บดีบกุ นอกเหนือจากภาชนะจะเปนสวนประกอบท่ี
สํ า คั ญ ใ น ก า ร ถ น อม ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ว ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง อา ห า ร ก็ มี ค ว า ม สํ า คั ญ ม า ก
รวมถึงการใชความรอนก็มีความสําคัญซ่ึงตองรู วาจะใชความรอนสูงเทาใดในการฆาเชื้อจุลินทรียใน
อาหารท่ีตอ งการเกบ็ รักษา เนื่องจากการถนอมผลิตผลทางการเกษตร โดยความรอนจะเปล่ียนสภาพของ
อาหารจากสดเปนอาหารสุกท่ีพรอมจะรับประทานได ดังน้ัน จึงมีการเติมเคร่ืองปรุงตาง ๆ หรือเปล่ียน
สภาพเปน ผลิตภณั ฑอาหารชนดิ ใหม ซ่ึงในปจจุบนั เรียกวา "การแปรรปู อาหาร" สวนประกอบอาจจะมีทั้ง
เน้ือสัตว ผักและเครื่องเทศ สําหรับอาหารคาวหรือถาเปนอาหารหวาน เชน ผลไมบรรจุในนํ้าเช่ือม
เปนตน กรรมวิธกี ารผลิตอาหารกระปอ งหรืออาหารในขวดแกว จาํ เปน ตอ งใชความรอ น เพือ่ ทาํ ใหอ าหาร
ท่ีบรรจุภายในสุก และเพอื่ ทาํ ลายเช้ือจลุ ลินทรีย ความรอนท่ีใชจะตองสัมพันธกันเพราะถาใชความรอน
สงู เกินไป อาจจะทาํ ใหอาหารที่บรรจุในกระปอง/ขวดน่ิมและไมนารับประทาน ถาความรอนต่ําเกินไป
อาจจะมจี ลุ ินทรียหลงเหลืออยซู งึ่ จะทาํ ใหอาหารนั้นเสยี เกดิ กระปอ งบวมและระเบดิ ไดในท่ีสุด การถนอม
อาหารโดยใชความรอ น หมายถงึ การฆาเชอ้ื ในอาหารที่บรรจุในภาชนะท่ีปดสนิท เพื่อปองกันการเสื่อม
สลายหรอื เนาเสียทีเ่ กดิ จากเช้อื จลุ ินทรียห รอื จากการปฏิกิรยิ าของเอ็นไซมในอาหาร การฆาเช้ือโดยความ
รอนมี 3 ระดับ คือ การฆาเชื้อ (Sterilization) การฆาเชื้อระดับการคา (Commercially sterilization) และ
การฆาเชือ้ แบบปาสเตอร (Pasteurization)

การฆา เชือ้ หมายถงึ การถนอมอาหารโดยใชค วามรอนสงู ภายใตค วามดัน เพื่อใหจุลินทรียท่ีมีอยู
ทง้ั หมดถกู ทําลาย

การฆาเช้ือระดับการคา หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชค วามรอ นสูงเพ่ือทําลายจุลินทรียท่ีมีอยู
ในอาหารเกือบทัง้ หมด เพ่อื ใหอ าหารนั้น ๆ สามารถบรโิ ภคไดโดยไมเ ปน อนั ตราย และสามารถเก็บไวได
นานโดยไมเนาเสียในภาวะปกติ

การฆาเช้อื แบบปาสเตอร หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชความรอ นตา่ํ กวาอณุ หภูมขิ องนํ้าเดือด
(ตํ่ากวา 100o C) เพ่ือทําลายจุลนิ ทรียบางสวน แตทั้งนีต้ อ งดาํ เนินควบคกู บั สภาวะอยา งอื่น เชน ควรเก็บใน
ตูเยน็ ภายหลงั การผลิตแลว หรอื อาหารน้ันมี พเี อชตํา่ หรอื มปี รมิ าณนาํ้ ตาล หรือเกลือสูง

125

นกั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร ไดแบงกลุมอาหารท่ีบรรจุในภาชนะท่ีปดสนิทเปน
กลมุ ใหญ ๆ ไว 2 กลุม คอื \

1. กลมุ อาหารท่ีเปนกรด (Acid foods) คือ อาหารท่ีมีคา PH ต่ํากวา 4.5 สวนมากเปนพวกผลไม
เชน สบั ปะรด สม หรือผักท่มี ีรสเปรี้ยว เชน มะเขือเทศ กระเจี๊ยบแดง เปน ตน

2. กลุม อาหารทีเ่ ปน กรดตาํ่ (Low acid foods) คอื อาหารที่มคี า พีเอช 4.5 หรือสูงกวา สว นมากจะ
เปน อาหารจําพวกเนื้อสัตวแ ละผักตาง ๆ เชน เนือ้ หมู ปลา ขา วโพดฝก ออ นและหนอ ไมฝร่งั เปน ตน

กระปอ งใชบรรจุ

โรงงานทําสบั ปะรดกระปอง

126

ตัวอยา งขั้นตอนการทําอาหารกระปอง
1. รบั ซอื้ วัตถดุ ิบ
2. ลา ง ตัดแตง
3. คดั เลอื กขนาด, จัดระดบั
4. ลวก
5. บรรจกุ ระปอ ง/ขวด
6. เติมน้ําบรรจุลงในกระปอ ง/ขวด <----- เตรียมเครอ่ื งปรงุ หรอื นํา้ บรรจุ
7. ไลอ ากาศ
8. ปด ผนึก
9. ฆา เชื้อดวยความรอ น
10. ทาํ ใหก ระปองเยน็
11. ปดฉลาก
12. บรรจุหบี /กลอ ง
13. หอ งเก็บ
14. สง ขาย
15. ผูบริโภค

1.1 เคร่อื งมอื ทใ่ี ชเ กยี่ วกบั การผลติ
โดยท่ัวไปเคร่ืองมือเครื่องใชและเครื่องจักรเก่ียวกับกรรมวิธีการผลิตอาหารกระปองตองไมเปน

อนั ตรายตอ สุขภาพ และตอ งอยูในสภาพท่สี ะอาดเสมอ ภาชนะท่ใี ชไดหลายครงั้ ตอ งทําดวยวัสดุที่ไมเปนพิษ
และออกแบบใหทําความสะอาดไดงายเพ่ือปองกันมิใหมีส่ิงสกปรกตกคางอยู วัสดุที่ใชทําภาชนะตาง ๆ
ควรเปนวัสดุท่มี ีผิวเรยี บ ไมม รี อยแตกหรือกะเทาะลอ น ไมเปนพิษ ไมทําปฏิกิริยากับอาหาร ควรเปนวัสดุที่
ลางและทาํ ความสะอาดไดงาย ไมเ ปน วัสดทุ ีด่ ูดซึมงาย ยกเวนเพ่ือวัตถุประสงคบางประการที่จําเปนตองใช
เชน ถังไมใ นการหมกั ไวน ในสถานท่ีผลิตอาหารสาํ เร็จรูปจะมีเครอื่ งมือ เครอื่ งใชแ ละเครื่องจักรแตกตางกัน
ออกไปแลวแตประเภทและชนดิ ของผลิตภัณฑ แตส ว นใหญแ ลวแบง ออกไดเปน 3 ประเภท คือ

 เครือ่ งมือ เคร่ืองใชท จ่ี ําเปนในกรรมวิธีการผลติ
 เครื่องมอื เครือ่ งจกั รตามข้ันตอนของการผลติ
 เครอื่ งมือ เคร่ืองจักรตามประเภทของผลิตภัณฑ
1.1.1 เคร่อื งมอื เครอื่ งใชท ่จี ําเปน ในกรรมวิธกี ารผลติ
เครื่องมอื เครื่องใชน ้เี ปน สงิ่ จําเปน ของผูป ระกอบกิจการการอุตสาหกรรมแปรรปู อาหารไมวา
ขนาดเล็กหรอื ขนาดใหญ โดยเฉพาะอยา งย่งิ การผลิตอาหารกระปอ ง

1) เครอ่ื งชั่ง ตวง วัด ใชใ นการชง่ั นํา้ หนกั หรือปริมาตรของสิ่งตา ง ๆ เชน วตั ถุดิบ
เครือ่ งปรงุ อาหาร เครื่องชั่ง ตวง วัด ควรจะมีหลาย ๆ ขนาด

127

2) เคร่อื งวดั อุณหภูมิ เปนของจาํ เปน มากในการผลิต จะตองมีการควบคุมและตรวจสอบ
อณุ หภูมิตามขนั้ ตอนตา ง ๆ ระหวา งผลิตอยตู ลอดเวลา

3) เคร่ืองมอื วัดปรมิ าณเกลอื
4) เครอื่ งมือวดั ปรมิ าณนํา้ ตาล
5) เครื่องมือวัดความเปนกรด-ดา ง
6) เคร่ืองมือวัดความรอนของอาหารที่บรรจุในกระปอง (Heat penetration equipment)
เพอื่ คํานวณหาเวลาทจี่ ะตองใชใ นการฆา เชอ้ื หลงั จากบรรจแุ ละปด ฝากระปอ งแลว เคร่ืองมือท่ีใชในการน้ี
เรียกวา เทอรม อคัปเปล (Thermocouples) ซึ่งใชวดั อุณหภมู ิ ณ จดุ ทคี่ วามรอนเขา ถงึ ชา ทีส่ ดุ ของกระปอง
7) เคร่อื งมอื วดั ขนาดของตะเขบ็ กระปอ ง ลกั ษณะของการเก่ียวกันระหวางขอฝา (Cover hook)
และขอของตวั กระปอง (Body hook) เปน ส่งิ สําคัญมาก ถา ไมเปนไปตามมาตรฐาน อาจจะทําใหกระปอง
รวั่ ได
8) เครื่องมือตรวจความดันในกระปอ ง ทดสอบวา กระปอ งจะรวั่ หรือไม โดยสูบลมอัดเขา
ไปในกระปองจนไดเปลงความดันที่ตองการแลวจุมกระปองลงในนํ้า ถากระปองรั่วจะมีฟองอากาศผุด
ออกมาตามรอยตะเขบ็ ซึง่ จะตอ งทาํ การปรับเครอื่ งปดฝากระปอ งใหเ ขาท่ี
1.1.2 เครอ่ื งมอื เครอื่ งจักรตามขั้นตอนของการผลิต
เครอื่ งมอื เครอื่ งจักรท่ีใชใ นการทาํ อาหารกระปองแบง ออกตามขั้นตอนของการผลิต ประกอบดว ย
 การลาง เตรียม และตดั แตง วัตถุดิบ
 การลวก
 การหงุ ตม
 การบรรจุ
 การไลอ ากาศ
 การปดฝา
 การทาํ ลายเช้อื จลุ ินทรีย
1.1.3 เครอ่ื งมือเครอื่ งจกั รตามประเภทของผลิตภัณฑ เครื่องมอื เครื่องจักรอาจแตกตา งกันไปตาม
ประเภทของอาหารที่จะผลิต เชน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรสําหรับทําสับปะรดกระปองยอมจะแตกตางกับ
เคร่ืองมอื เคร่ืองจกั รของโรงงานทาํ ปลากระปอง
1.2 การทําความสะอาดสถานทผ่ี ลิตอาหาร
ในแงของ "สขุ ลักษณะ" จะตองคํานึงถึงเช้ือจุลินทรียมากที่สุดเพราะจะทําใหเกิดอันตรายอยาง
มากตอสขุ ภาพของผบู รโิ ภค จงึ ตองมีการควบคมุ ปรมิ าณจลุ นิ ทรยี ซ่ึงตอ งทาํ ทั้งกับคนและเคร่อื งมือ คอื
1) ปอ งกันมิใหส ัตวและแมลงมโี อกาสสมั ผสั กับอาหาร
2) ควรใสเสื้อกันเปอน ซ่ึงเสื้อนี้จะปองกันส่ิงสกปรกตาง ๆ จากเส้ือผาหรือตัวผูทําอาหารหรือ
เสิรฟ อาหาร และสวมหมวกหรือมีผา คลุมผมเพ่อื ปอ งกนั ไมใหผ มหลนลงในอาหาร

128

3) รักษาเครื่องจักร เครื่องมือ โตะเตรียมอาหาร อางน้ํา หองเตรียมอาหารใหสะอาดอยูเสมอ
เพอ่ื ปอ งกันเศษอาหารหลงเหลอื อยู ซง่ึ จะเปนอาหารเลี้ยงเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ใหเ จริญเติบโตได

4) เศษอาหารควรทง้ิ ทกุ วนั
5) หอ งเก็บวัตถดุ บิ หอ งเก็บของ ตูเยน็ หองเยน็ ควรจะสะอาด
6) เคร่อื งจกั ร และเคร่ืองมือตา ง ๆ ควรวางหรอื เกบ็ ใหเปนที่เพอื่ จะทาํ งานสะดวกและปองกันการ
เสยี หาย
7) มหี องนํา้ พอเพยี งเพ่อื ปองกันความสกปรกของคนงาน
8) ตรวจสขุ ภาพของคนงานเปนประจําทุกป
9) ผูผลิตควรจะรวมมือกับ "ผูตรวจสอบ" ของรัฐบาล เพอื่ คําแนะนาํ และความรว มมอื ท่ีดี
10) ควรจะแกไขจดุ ตาง ๆ ตามที่ "ผูตรวจสอบ" แนะนาํ
1.3 การทาํ ลายเศษอาหาร กาก และสว นท่เี หลอื จากโรงงาน
การระบายนาํ้ เสยี นนั้ เปนเรอื่ งทส่ี าํ คญั มาก เพราะนํ้าเสยี ยอมจะทาํ ใหเ กดิ ผลเสยี ไดสองแง คือ
1) ความสะอาดและความปลอดภัยในการประกอบกิจ เพราะถาสิ่งแวดลอมสกปรกยอมจะเกิด
การเจอื ปนขึน้ ไดงา ย
2) ความปลอดภัยสาํ หรบั ผูอ ยูใกลเคียง การระบายน้ําและมีเศษอาหารอยยู อมเปน ท่ีรบกวนแก
ผูอาศัยใกลเ คียงได โดยเฉพาะการปลอยของเสียลงในน้ํายอมกอใหเกิดความลําบาก และยุงยากตอผูอยู
ปลายทาง
เรอื่ งที่ 2 การถนอมอาหารโดยใชค วามเยน็
การใหค วามเยน็ (Refrigeration) หมายถงึ กรรมวิธีการกาํ จดั ความรอ นออกจากสงิ่ ของหรือพื้นท่ี
ที่ตอ งการทําใหเ ย็นหรอื ตองการใหม อี ุณหภูมิลดลง ซงึ่ การทําใหเยน็ ลงนี้ แบงออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ
การแชเ ยน็ (Chilling) หมายถึงการทําใหอุณหภูมิของส่ิงของนั้นลดลง แตอยูเหนือจุดเยือกแข็ง
ของสงิ่ น้ัน โดยของสงิ่ น้ันยังคงสภาพเดิมอยู เชน การแชเ ยน็ อาหารจะเปน การลดอณุ หภูมิของอาหารต่ําลง
แมที่ -1o C แตต อ งไมทาํ ใหน้าํ หรือองคประกอบในอาหารนน้ั แปรสภาพหรือแขง็ เปน นํ้าแขง็
การแชแข็ง (Freezing) หมายถึงการทําใหอณุ หภมู ิของสงิ่ ของนน้ั ลดตา่ํ ลงกวา จดุ เยือกแขง็ ของ
สิ่งนัน้ (-1 ถึง -40o C) การแชแขง็ จะทาํ ใหเ กดิ การเปลีย่ นสภาพขององคประกอบในส่งิ ของ เชน ในกรณีท่ี
เปนอาหาร ความเย็นจัดจะทําใหน้ําในเน้ือเยื่อของอาหารแปรสภาพเปนนํ้าแข็ง ทําใหจุลินทรียไมอาจ
นําไปใชไ ด แตค วามเยน็ จดั ไมไดทาํ ลายจุลินทรยี ใหตาย
จุดเยือกแข็ง (Freezing point) คือ อุณหภูมิท่ีเกิดภาวะสมดุลระหวางของแข็งกับของเหลว
ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ หรอื อุณหภูมทิ ีข่ องเหลวเปลย่ี นสถานะเปน ของแขง็ ณ
ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ

129

การถนอมอาหารดว ยความเยน็ มหี ลายวธิ ี
1) การใชน ้าํ แขง็ ความเยน็ ของนาํ้ แข็งที่ใชใ นการแชอ าหารจะลดอณุ หภมู ขิ องอาหารไดเรว็ และ

ถา มปี ริมาณนาํ้ แข็งเพียงพอกจ็ ะทําใหอ าหารนนั้ เยน็ ลงจนมอี ณุ หภมู ิใกลเ คียงกบั 0o C
2) การใชส ารผสมแชแ ข็ง การใชน ํ้าแข็งผสมเกลือแกงหรือเกลืออนินทรยี อ่ืน ๆ จะทาํ ใหได

สารผสมทีม่ ีอณุ หภูมิต่าํ กวา 0o C
3) การใชน ํ้าแข็งแหง นา้ํ แข็งแหง คอื คารบ อนไดออกไซดท เี่ ย็นจนแข็ง มอี ุณหภูมิ

ประมาณ 80o C ใชในการเกบ็ รักษาอาหารทผี่ านการแชแขง็ มาแลว เหมาะสําหรับการขนสงในระยะเวลา
2-3 วนั

4) การใชไ นโตรเจนเหลว ไนโตรเจนเหลวที่ความดันปกตจิ ะระเหยกลายเปน ไอที่
อุณหภูมิ 196o C ณ อุณหภูมินี้เปนอุณหภูมิตํ่าสุดที่สามารถทําใหอาหารเย็นลงไดอยางรวดเร็ว และ
เน่ืองจากไนโตรเจนเปน แกสเฉือ่ ย ไมเ ปนอันตรายกบั อาหารและผูบริโภค

5) การใชเ คร่ืองทาํ ความเยน็ เครอ่ื งทาํ ความเย็นทใ่ี ชก นั โดยท่ัวไป โดยเฉพาะตามบา นเรอื น คอื
ตเู ยน็

เรื่องที่ 3 การถนอมอาหารโดยการทาํ แหง
หลักการในการทําแหง มหี ลายวิธี คือ
1) ใชก ระแสลมรอ นสัมผสั กับอาหาร เชน ตูอ บแสงอาทิตย ตอู บลมรอน (Hot air dryer) เปน ตน
2) พนอาหารท่เี ปนของเหลวไปในลมรอน เครอ่ื งมือทใ่ี ชค อื เครอ่ื งอบแหง แบบพนฝอย

(Spray dryer)

130

3) ใหอาหารขน สมั ผัสผวิ หนาของลกู กล้ิงรอ น เครื่องมอื ทใี่ ชค อื เครอื่ งอบแหงแบบลกู กล้ิง
(Drum dryer หรอื Roller dryer)

4) กําจัดความชื้นในอาหารในสภาพที่ทําน้ําใหเปนน้ําแข็งแลวกลายเปนไอในหองสุญญากาศ
ซง่ึ เปนการทําใหอาหารแหงแบบเยอื กแขง็ โดยเคร่อื งอบแหง แบบเยอื กแขง็ (Freeze dryer)

5) ลดความชืน้ ในอาหารโดยใชไ มโครเวฟ (Microwave)
หลกั ในการทําอาหารใหแหง คือ จะตองไลนํ้าหรือความช้ืนที่มีอยูในผลิตผลการเกษตรออกไป
แตจ ะยังมีความชื้นเหลืออยูในผลิตภณั ฑม ากนอ ยแลวแตชนิดของอาหาร
การถา ยเทความรอน จะเกดิ ตรงจุดท่ีมีความแตกตา งของอณุ หภูมิ คือ อุณหภูมิของเครื่องมือที่ใช
ในการอบ และอาหารท่ตี องการทําใหแ หง การถายเทความรอ นมี 3 แบบ คือ
1) การนําความรอ น เปนการถายเทความรอนจากโมเลกุลหนึ่งไปยงั อีกโมเลกุลหนึง่ ท่ีอยูขางเคียง
ซ่ึงจะเกดิ กบั อาหารท่ีมลี ักษณะเปน ของแขง็
2) การพาความรอน จะเกดิ กบั อาหารท่ีเปน ของเหลว โดยกระแสความรอ นจะถูกพาผานชอ งวางที่
เปนอากาศหรอื แกสจากของเหลวชนิดหนึ่งไปยังของเหลวอกี ชนิดหนึ่ง
3) การแผร งั สี เปนการถา ยเทความรอนโดยการแผร งั สคี วามรอนไปยงั อาหารซง่ึ จะเกดิ ขึ้นในกรณี
อบอาหารในสญุ ญากาศ และการอบแหงแบบเยือกแขง็
ในทางปฏบิ ตั ิ การถายเทความรอนในการอบแหง อาจเกดิ ขึ้นพรอ มกันทงั้ 2 หรือ 3 แบบกไ็ ด ทง้ั น้ี
ขึน้ อยกู บั ลักษณะของอาหารทีน่ ําไปอบแหง
การเคล่อื นที่ของน้ําในอาหาร น้าํ หรือความชนื้ จะเคลือ่ นท่ีมาทผี่ ิวหนา ของอาหารเม่ือไดรับความ
รอนในระหวางการอบ
เครอ่ื งอบแหง
เครื่องมอื ท่ีใชในการอบอาหารจาํ นวนมากในคราวเดียวกันใหแ หง น้ันมหี ลายแบบ แตละแบบก็มี
หลายขนาด
1) ตูอบหรือโรงอบท่ีใชความรอนจากแสงอาทิตย โดยมีหลักการทํางานคือ ตูหรือโรงอบ
ประกอบดวยแผงรบั แสงอาทิตย ซึง่ ทาํ ดวยวัสดุใส เมอ่ื แสงอาทติ ยซึง่ สวนใหญเปนรงั สคี ล่นื ส้ัน ตกลงบน
แผงรับแสงน้ีแลว จะทะลผุ า นไปยงั วสั ดุสดี ํา ภายในตูและเปล่ียนเปนรังสีความรอน ซ่ึงความรอนนี้จะไป
กระทบกับอาหารทําใหน ํา้ ในอาหารระเหยออกมา และผานออกไปทางชองระบายอากาศของตูอบ หรือ
โรงอบ มผี ลทาํ ใหอ าหารแหง ในระหวางการอบควรกลบั ผลติ ภณั ฑน ้นั วนั ละ 1-2 ครัง้ เพือ่ ใหผิวหนา ของ
ผลติ ภัณฑทกุ สว นไดสัมผสั กบั ความรอน ทาํ ใหแหง เร็วและสมา่ํ เสมอ สวนมากตอู บแสงอาทิตยนี้จะใชก บั
พวกผกั ผลไม และธญั พืช ขอดีสําหรับการใชตอู บที่ใชค วามรอ นจากแสงอาทติ ย คือ

(1) ไดผ ลิตภณั ฑส ีสวย และสมา่ํ เสมอ
(2) สะอาดเพราะสามารถควบคุมไมใ หฝ ุนละอองหรอื แมลงเขา ไปได

131

(3) ใชเวลานอยกวาการตากแดดตามธรรมชาติทําใหประหยัดเวลาในการตากได
ประมาณหน่ึงในสาม

(4) ประหยดั พ้ืนทีใ่ นการตาก เพราะในตอู บสามารถวางถาดที่จะใสผลผลิตไดหลายถาด
หรอื หลายชั้น

(5) ประหยัดแรงงาน เพราะไมตองเก็บอาหารท่ีกําลังตากเขาที่รมในตอนเย็นและ
เอาออกตากในตอนเชา เหมอื นสมัยกอ น ซ่ึงมีผลทําใหต นทุนในการผลติ อาหารแหง ลดลง

เครื่องอบแหง แบบลูกกลิ้ง
เคร่ืองอบแหงดว ยลมรอ นแบบตหู รือถาด
2) เครอ่ื งอบแหงทีใ่ ชค วามรอ นจากแหลง อ่ืน ความรอนท่ีใชกับเครือ่ งอบประเภทน้สี วนมากจะได
จากกระแสไฟฟา หรือแกส สว นมากใชในระดับอตุ สาหกรรมซึ่งมีหลายแบบหลายขนาด โดยใชหลักการ
ทีแ่ ตกตา งกันแลวแตป ระโยชนข องการใชส อย เชน

(1) เครื่องอบแหง ดว ยลมรอนแบบตูหรือถาด ตูอบบุดวยวัสดุที่เปนฉนวนมีถาดสําหรับ
วางอาหารทีจ่ ะอบ เคร่อื งมอื ชนดิ นีจ้ ะใชอ บอาหารท่มี ปี รมิ าณนอ ย หรือสาํ หรับงานทดลอง

(2) เคร่ืองอบแหงดวยลมรอนแบบตอเนื่อง มีลักษณะคลายอุโมงค นําอาหารที่ตองการ
อบแหงวางบนสายพานท่ีเคลื่อนผานลมรอนในอุโมงค เม่ืออาหารเคล่ือนออกจากอุโมงคก็จะแหงพอดี
ตัวอยา งอาหาร เชน ผัก หรอื ผลไมอบแหง เปน ตน

(3) เคร่ืองอบแหงแบบพนฝอย การทํางานของเคร่ืองอบแบบนี้ คือ ตองฉีดของเหลวที่
ตองการทาํ ใหแ หงพนเปน ละอองเขาไปในตทู ่มี ลี มรอ นผา นเขามา เชน กาแฟผงสําเร็จรูป ไขผง นํ้าผลไม
ผง ซบุ ผง เปน ตน

(4) เคร่ืองอบแหงแบบลูกกลิ้งเคร่ืองทําแหงแบบนี้ใหความรอนแบบนําความรอน
ซ่งึ ประกอบดว ยลกู กลิ้งทาํ ดวยเหล็กปลอดสนิม อาหารที่จะทําแหงตองมีลักษณะขนและปอนเขาเครื่อง
ตรงผิวนอกของลกู กลงิ้ เปนแผน ฟล มบาง ๆ ความรอ นจะถา ยเทจากลูกกล้งิ ไปยงั อาหาร

(5) เครื่องอบแหง แบบเยอื กแขง็ ประกอบดว ยเครื่องที่ทําใหอาหารเย็นจัด (freezer) แผน
ใหความรอนและตูสุญญากาศ หลักการในการทําแหงแบบน้ี คือ การไลน้ําจากอาหารออกไปในสภาพ

132

สุญญากาศ การถา ยเทความรอนเปนแบบการนําความรอน ตัวอยางผลิตภัณฑที่ประสบความสําเร็จมาก
ทส่ี ดุ คือ กาแฟผงสําเร็จรปู

(6) ตูอบแหงแบบท่ีใชไมโครเวฟ ขณะน้ีไดมีการใชไมโครเวฟคลื่นความถ่ี 13x106
ไซเกลิ เพื่อลดความชื้นของผกั เชน กะหล่าํ ปลแี ละผลติ ภณั ฑทไี่ ดจะมีคณุ ภาพดี สสี วย ตัวอยางผลิตภัณฑ
ท่ีใชตูอบแหงแบบไมโครเวฟรวมกับการใชสุญญากาศ คือ ผลิตภัณฑนํ้าสมผง ซ่ึงยังคงคุณภาพของ
สี กลน่ิ และรสของสม ไว

เร่ืองท่ี 4 การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง

ปจจบุ นั ความกา วหนา ทางเทคโนโลยใี นดา นจุลชีววิทยามีมากข้ึน สามารถใชกระบวนการหมัก
เพื่อผลิตผลิตภัณฑใหม ๆ ไดมากข้ึน และมีการใชจุลินทรียบริสุทธ์ิและสายพันธุที่มีประสิทธิภาพให
ผลผลิตสูงสุด ซีอ้ิวและเตาเจี้ยว ผลิตภัณฑท้ัง 2 ชนิดนี้ มักจะผลิตพรอมกัน เนื่องจากใชวัตถุดิบอยาง
เดียวกัน ในปจจุบนั มีการใชสปอรเ ชอ้ื รา แอสเพอรจ ิลลัส ฟลาวสั โคลมั นารสิ เพอ่ื ผลติ ซีอ้ิว ทําใหไดซีอิ้ว
ท่มี ีคณุ ภาพสม่าํ เสมอตลอดป ซง่ึ เดิมเคยมีปญหาเร่อื งการปนเปอ นจากเชอื้ ราชนิดอ่ืน ๆ ในฤดฝู น ทําใหได
ซีอิ้วทมี่ ีคุณภาพไมด เี ทา ทีค่ วร และทส่ี ําคัญยง่ิ คือ สปอรเ ช้ือราท่ใี ชต อ งไมส รางสารอฟลาทอกซิน ซ่ึงเปน
สารกอมะเร็ง

เรอื่ งท่ี 5 การถนอมอาหารโดยใชรงั สี

รังสี หมายถึง คลื่นแสงหรือคลายกับแสง ซ่ึงมีความยาวคล่ืนทั้งสั้นและยาว การแผรังสีของ
สารกัมมันตภาพมลี ักษณะคลา ยสายน้าํ ของอนุภาค หรอื คลนื่ ซ่งึ มาจากหนว ยเลก็ ท่สี ุดของสสารคือปรมาณู
ธาตุชนิดหนึ่งประกอบดว ยปรมาณูชนดิ ตาง ๆ ซึง่ มลี กั ษณะทางเคมเี หมอื นกันแตม นี ้าํ หนกั ตางกนั ปรมาณู
ชนิดตาง ๆ ของธาตุเดยี วกนั แตมีน้ําหนักแตกตา งกันน้เี รียกวา ไอโซโทป รงั สีทใ่ี ชใ นการถนอมอาหารนัน้
อาจใชรงั สีใดรงั สหี นึง่ ดงั น้ี

1) รังสีแกมมา เปนรังสีที่นิยมใชมากในการถนอมอาหาร สารที่เปนตนกําเนิดรังสีน้ี คือ
โคบอล-60 หรือซเี ซียม-137

2) รงั สีเอกซ ไดจ ากเคร่อื งผลติ รงั สเี อกซท ีท่ ํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวา หรือ เทากับ 5 ลาน
อเิ ลก็ ตรอนโวลต

3) รังสีอิเล็กตรอน ไดจากเครื่องผลิตรังสีอิเล็กตรอนที่ทํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวาหรือ
เทากับ 10 ลา น อิเล็กตรอนโวลต

5.1 หลกั การถนอมอาหารดวยรงั สี
รังสีท่ีฉายลงไปในอาหารจะไปทําลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียหรือทําใหการ
เปลยี่ นแปลงทางเคมีลดลง ซงึ่ มีผลทําใหการเก็บรักษาอาหารน้ันมีอายุยืนนานโดยไมเนาเสีย ทั้งน้ีข้ึนอยู
กบั ชนดิ ของอาหารและปรมิ าณรงั สีท่อี าหารไดร ับและวตั ถุประสงคในการฉายรงั สี ซ่งึ พอจะสรุปไดดังนี้

133

1) ควบคุมการงอกของพืชผักในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบนอาหาร
ประมาณ 0.05-0.12 กโิ ลเกรย ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารนั้นมีปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดได
ถงึ 0.15 กโิ ลเกรย เชน กระเทียม หอมใหญ มนั ฝรง่ั เปนตน ซงึ่ สามารถควบคุมการงอกและลดการสูญเสีย
น้ําหนกั ในระหวา งการเกบ็ ในหอ งเย็นไดน านกวา 6 เดือน

2) การควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบน
อาหารประเภทนป้ี ระมาณ 0.2-0.7 กิโลเกรย และกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารน้นั มปี ริมาณรังสี
เฉลย่ี สูงสุดได 1 กโิ ลเกรย เชน ขาว ถวั่ เครื่องเทศ ปลาแหง เปน ตน ซง่ึ รงั สีจะทําลายไขแมลงและควบคุม
การแพรพ ันธขุ องแมลงและตวั หนอนในระหวางการเก็บรักษา หรอื ระหวา งรอการจาํ หนาย

3) ยดื อายกุ ารเกบ็ รักษาอาหารสด การฉายรังสีอาหารทะเลและเนอื้ สตั วดว ยรงั สีประมาณ
1-3 กโิ ลเกรย จะชวยลดปริมาณแบคทีเรียลงไดมาก ทาํ ใหสามารถเก็บรกั ษาไดนานข้ึน แตทั้งนี้ตองบรรจุ
ในภาชนะและเก็บในหองเย็น สวนผลไม เชน มะมวง กลวย ถาฉายรังสีดวยปริมาณ 0.3-1 กิโลเกรย
จะชะลอการสุกและควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ทําใหอายุการเก็บนานข้ึน
สวนสตรอเบอร่ี ถาฉายรังสีดวยประมาณ 3 กิโลเกรย จะชวยทาํ ลายจลุ นิ ทรียท่ีเปนสาเหตุทําใหเนาเสียลง
บางสว น ทาํ ใหย ดื อายกุ ารเกบ็ รักษาหรอื ในระหวางการจําหนายและการฉายรังสี ประมาณ 1-2 กิโลเกรย
จะสามารถชะลอการบานของเห็ด ทําใหก ารจาํ หนา ยมรี ะยะนานข้นึ

4) ทําลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภัณฑที่ทําจากเนื้อสัตวอาจมีพยาธิหรือเชื้อ
โรคติดอยูได เชน พยาธิใบไมตับที่มีในปลาดิบ สามารถทําลายไดดวยรังสีต่ําประมาณ 0.15 กิโลเกรย
แหนมซึง่ เปนผลิตภณั ฑจ ากหมูทค่ี นไทยนิยมรบั ประทานดิบ ๆ ถาฉายรังสีในประมาณ 2-3 กิโลเกรย จะ
เพยี งพอทจ่ี ะทําลายเชอื้ ซาลโมเนลลา ซงึ่ เปนสาเหตุทําใหเกิดทองรวงและทําลายพยาธิท่ีอาจจะติดมากับ
เนือ้ หมูกอ นทําแหนมก็ได

5.2 กระบวนการฉายรงั สี
ในประเทศไทยการฉายรังสีอาหาร ควบคุม และดําเนินการโดย สํานักงานพลังงานปรมาณูเพ่ือ
สนั ติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยแี ละการพลังงาน สวนมาตรฐานเก่ียวกับปริมาณของรังสีที่ใชและ
ความปลอดภัยตอ งเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ อาหารที่จะผานกระบวนการฉายรังสีมี
ท้ังผลผลติ การเกษตรหลงั การเก็บเกี่ยว และผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปและกึ่งสําเร็จรูป ดังน้ัน การบรรจุ
หีบหออาจมคี วามจําเปนตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑ เชน แหนม หมูยอ ซึ่งหอหุมดวยใบตอง สวนหอมใหญ
มันฝรัง่ ไมม ีสงิ่ หอหมุ เปน ตน ในการฉายรงั สผี ลิตผลเหลาน้ีตองบรรจุในภาชนะหรือหีบหอท่ีเหมาะสม
นําไปผานพลังงานคลื่นไฟฟาในรูปของรังสี ซ่ึงอยูในตึกแยกหางจากตึกกําเนิดรังสีและไดรับการ
ออกแบบใหม่ันคงแข็งแรงไดมาตรฐานดานความปลอดภัย เปนหลักประกันวาจะไมเปนอันตรายหรือ
กอใหเกดิ ปญหาส่ิงแวดลอมตอ ชมุ ชนได

134

5.3 ปริมาณรังสที ี่ใชใ นการถนอมอาหาร
หนว ยของรงั สีเรยี กวา เกรย อาหารใดกต็ ามเมอื่ ผานการฉายรงั สแี ลว รังสไี ดคายหรอื ถา ยพลังงาน
ใหเทา กับ 1 จลู ตอ อาหารจาํ นวน 1 กิโลกรัม เรยี กวา 1 เกรย หนวยของรังสีวัดเปนแรด ซง่ึ 100 แรดเทา กับ
1 เกรย และ 1,000 เกรยเทากับ 1 กิโลเกรย องคการอนามัยโลก และทบวงการพลังงานปรมาณูระหวาง
ประเทศ ไดสรปุ วา การฉายรังสีอาหารใดก็ตามดวยระดับรงั สี ไมเ กิน 10 กโิ ลเกรย จะมีความปลอดภัยใน
การบรโิ ภค และไมทําใหคุณคา ทางโภชนาการเปลย่ี นแปลงไป แตอ ยา งไรก็ตามปริมาณของรังสีที่อาหาร
ไดรับตองเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงแตกตางกันตามชนิดของอาหารและตาม
วัตถุประสงควา ดว ยการถนอมอาหารในระดับตาง ๆ
5.4 การแสดงฉลาก
อาหารอาบรังสตี อ งมฉี ลากแสดงขอ ความเพ่ือใหผ บู รโิ ภคไดรบั ทราบขอ มูล ซึง่ เปนประโยชนใน
การเลือกซอื้ อาหารมาบรโิ ภค โดยในฉลากจะตองระบุรายละเอียดดังตอ ไปนี้
1) ชอื่ และทีต่ ้ังของสาํ นกั งานใหญของผผู ลิตและผูฉ ายรังสี
2) วัตถปุ ระสงคใ นการฉายรงั สี โดยแสดงขอ ความวา "อาหารที่ไดผ านการฉายรงั สเี พื่อ........แลว"
(ความทีเ่ วน ไวใ หร ะบวุ ตั ถุประสงคข องการฉายรังส)ี
3) วนั เดือนและปท ี่ทําการฉายรังสี
4) แสดงเครื่องหมายวาอาหารนัน้ ๆ ไดผ านการฉายรังสีแลว
อาหารสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีผูขายปรุงไวเรียบรอยแลว ผูซื้อสามารถนําไปอุนหรือ
รับประทานไดท ันที อาหารสาํ เร็จรปู นร้ี วมถึงอาหารทผี่ บู รโิ ภคส่ังใหประกอบหรือปรุงใหม การเลือกซ้ือ
ควรสงั เกตสถานที่ขายสะอาด ภาชนะใสอาหารมสี ่งิ ปกปด กันแมลงและฝุนละออง ผูขายแตงกายสะอาด
ถกู หลกั สุขาภบิ าลอาหาร
อาหารสําเร็จรูปที่พรอมบริโภคทันที หมายถึง อาหารท่ีผลิตเรียบรอยพรอมบริโภคที่บรรจุใน
ภาชนะพรอมจําหนา ยไดท นั ที เชน น้ําพริกสําเร็จรปู (นาํ้ พริกเผา นํา้ พรกิ สวรรค น้าํ พริกตาแดง แจวบอง)
ขนมตาง ๆ (ขนมรังแตน ขาวแตน กระยาสารท ทองมวน ทองตัน ทองพับ กรอบเค็ม กระหรี่ปป
ขา วเกรียบทีท่ อดแลว ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมปงกรอบ คุกกี้ เอแคร ขนมอบกรอบ ขนมขบ
เค้ยี ว) พืชผักและผลไมแ ปรรูป (กลวยตาก กลวยฉาบ กลวยอบเนย กลวยกวน สับปะรดกวน มะมวงดอง
ฝร่ังดอง มะยมหยี มะมวงหยี ฝรั่งหยี มะดันแชอิ่ม มะมวงแชอ่ิม) ผลิตภัณฑจากสัตว (ไขเค็มตมสุก หมู
หยอง หมูทุบ หมแู ผน หมสู วรรค ปลาแผน หมูแผน เนอื้ สวรรค ฯลฯ)
อาหารพรอ มปรงุ หมายถงึ อาหารที่ผูขายจัดเตรียมวัตถุดิบ พรอมเคร่ืองปรุงไวเปนชุดผูบริโภค
สามารถซอ้ื แลวนําไปประกอบเองท่บี าน ควรสงั เกตวนั เดือน ป ทผ่ี ลิตหรอื วันหมดอายเุ พราะลักษณะของ
อาหารยงั ไมไดผ า นความรอ น มโี อกาสบดู เสียหรอื เสือ่ มคุณภาพไดมากทีส่ ุด

135

เรื่องท่ี 6 อาชพี จําหนายอาหารสําเรจ็ รูปตามหลักสุขาภบิ าล

อาชพี จําหนายอาหารสําเรจ็ รปู คอื กระบวนการเคล่ือนยา ยผลิตภัณฑจากผูผลิตอาหารสําเร็จรูป
ไปยงั ผบู รโิ ภค โดยคาํ นึงหลักสขุ าภิบาล ตั้งแตขั้นตอนการผลิต การบรรจุหีบหอ บรรจุภัณฑ การขนสง
และการจัดเก็บเพ่อื รอจาํ หนา ย กระทง่ั ผลติ ภัณฑถ ึงผบู ริโภค ดังรูป

กระบวนการผลิต การขนสงและ ผูบ ริโภค
และบรรจุภณั ฑ เก็บรักษา

ชองทางการจัดจําหนาย ประกอบดวย ผูผลิต คนกลาง และผูบริโภค ซึ่งอาจจะใชชองทางตรง
จากผผู ลิตไปยังผูบ รโิ ภค และใชช อ งทางออ ม จากผผู ลิต ผา นคนกลาง ไปยงั ผูบ รโิ ภค ดงั รปู

ผผู ลิต ผบู รโิ ภค

ผูผ ลติ คนกลาง ผูบรโิ ภค

ตลาดผลติ ภัณฑอ าหารสาํ เร็จรูป
1. ตลาดภายในประเทศ
2. ตลาดระหวางประเทศระดับอาเซยี น
3. ตลาดระหวา งประเทศระดบั ภูมภิ าคอ่นื ทว่ั โลก
สวนประสมทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง การดําเนินงานเก่ียวกับ

การผลิต การจําหนาย การกาํ หนดราคา และการสงเสรมิ การขายไดส ดั สวนกัน เหมาะสมกบั ความตองการ
ของลูกคา สภาพการแขงขนั และสอดคลอ งกับความตอ งการของสงั คม (หรอื เรียกวา 4Ps)

136

1. Product หมายถึง ผลติ ภณั ฑอาหารสําเร็จรปู ถูกหลักสขุ าภบิ าลและตรงตามความตอ งการของ
ลูกคา

2. Price หมายถึง ราคามคี วามเหมาะสม ลูกคา พึงพอใจและยอมรับ
3. Place หมายถงึ การจดั จาํ หนายโดยพจิ ารณาชองทางการจําหนาย หรือขายผานคนกลาง หรือ
พจิ ารณาการขนสง วามบี ทบาทในการแจกตวั อยา งสินคา ไดอ ยา งไร หรอื ขัน้ ตอนการเก็บรกั ษาเพอื่ รอ
จําหนาย ทัง้ น้ีตอ งคาํ นงึ ถึงหลกั สขุ าภิบาล
4. Promotion หมายถึง การสงเสริมการตลาด การใชสื่อตาง ๆ ใหเหมาะสมกับตลาดเปาหมาย
หรือการสอื่ สารใหล ูกคาไดท ราบสถานท่จี ดั จาํ หนายสินคา ราคา ซ่งึ ประกอบดวยกระบวนการ คือ
การขายโดยใชพนกั งานขาย การสงเสริมการขายดว ยวธิ ีการแจกของตัวอยาง แจกคูปอง ของแถม การใช
แสตมปเ พ่ือแลกสนิ คา ตลอดจนการใหรางวลั ตาง ๆ และการประชาสมั พันธ
รูปแบบการขาย
1. การขายสง หมายถงึ การขายสนิ คา ใหกบั ผูซ้อื โดยการขายแตละคร้ังจะมีปริมาณ จํานวนมาก
เพ่อื ใหร าคาสนิ คา มีราคาถูกมากพอท่ีจะนําไปขายตอ ได
2. การขายปลีก หมายถงึ การขายสินคาและบริการแกลูกคาที่ซื้อสินคาและบริการไปใชสนอง
ความตองการของตนเองโดยตรง มิใชเพือ่ ธุรกจิ การขายตอ
3. การขายตรง หมายถึง การทําตลาดสินคาหรือบริการในลักษณะของการนําเสนอขายตอ
ผูบริโภคโดยตรง ณ ท่ีอยูอาศัยหรือสถานท่ีทํางานของผูบริโภคหรือของผูอ่ืน หรือสถานท่ีอ่ืนท่ีมิใช
สถานทป่ี ระกอบการคาเปนปกติธุระ โดยผา นตวั แทนขายตรงหรือผจู าํ หนา ยอสิ ระชน้ั เดยี วหรอื หลายช้นั
การเลือกทําเลสาํ หรับการประกอบอาชีพ สิ่งแรกที่ตองทํากอนคือ การหาทําเลที่ดี เหมาะสมกับ
ธรุ กิจ โดยจะตอ งคาํ นึงถงึ แหลง ประกอบการหรอื ผผู ลติ ปริมาณลกู คา และการคมนาคมท่ีสะดวก

เร่อื งท่ี 7 การจัดตกแตง รานและการจดั วางสินคา อาหารสาํ เร็จรูปตามหลักสขุ าภบิ าล
การจัดตกแตงรา นคา มคี วามสาํ คัญตอ งคํานงึ ถึงสิ่งตอไปน้ี

1. แสงสวางภายในราน แสงสวางธรรมชาติมักไมเพียงพอและแสงแดดมักทําความเสียหาย
ใหแกสินคา การใชแ สงไฟฟา แมจ ะมคี า ใชจา ยสูงแตก็จงู ใจลูกคา ใหเขา มาซื้อสนิ คาไดม ากกวา รานท่ี
ดมู ว่ั ซั่ว ในรา นควรเลือกใชแ สงจากหลอดฟลอู อเรสเซนต กอนตัดสนิ ใจเร่อื งแสงสวา งควรรูวาคาไฟฟา
จะเปนสักเทา ใด และตอ งใชจ าํ นวนกด่ี วงถึงจะคุมคา กบั การขายสนิ คา ดว ย

2. การตกแตงสีภายนอกและภายในราน นอกจากการทาสีรานคาใหสดใสสวาง สวยงามแลว
สีของหบี หอ และตัวสนิ คาก็สามารถนํามาตกแตงใหรานคาดูดีขึ้นจะตองใหผูคนเห็นสินคา ชัดเจนและ
สวยงาม

137

3. การจัดวางสินคาบริเวณทางเขาราน ใกล ๆ ทางเขาราน เปนที่เหมาะสําหรับจัดวางสินคาท่ี
ตอ งการเสนอขายเปนพิเศษ เพราะเปน ทที่ ีล่ ูกคา ทุกคนตอ งเดินผา นเขา ออก จงึ ตอ งจดั สินคา ไวบ รเิ วณนใี้ ห
เตะตาจริง ๆ โดยเฉพาะบริเวณโตะชําระเงินที่ลูกคาเขาแถวรอท่ีจะชําระเงิน ควรหาของเล็ก ๆ นอย ๆ
ท่ลี กู คา อาจลมื ซ้อื มาจัดวางไว

4. การจัดหมวดหมูของสินคา สินคาท่ีมีลักษณะคลายคลึงกัน หรือใชรวมกันจะตองจัดวางไว
ดว ยกนั เชน นา้ํ ดืม่ เครอ่ื งด่มื ประเภทนาํ้ อัดลม ประเภทขนมปง สดและเบเกอรี่ ขนมขบเคีย้ ว เปนตน

5. การติดปายบอกประเภทของสินคา เพ่ือใหรูวาสินคาอยูที่ใด เปนการติดปายบอกชนิดของ
สนิ คาตามทจี่ ัดไว เปน หมวดหมแู ลวเพือ่ สะดวกในการคนหาสินคา ตามทลี่ กู คาตองการ อาจจะติดไวตาม
ผนังหอง และกึ่งกลางเหนือช้ันวางของ สินคาใดวาง ณ จุดใด ควรวางอยูเปนประจํา และไมควร
เปลยี่ นแปลงท่ีวางสนิ คาบอยเกินไป เพราะจะทาํ ใหลูกคา ตอ งเสียเวลาคนหาในคร้ังตอไปท่ีแวะเขามาซ้ือ
สนิ คาทีร่ า น

6. การตดิ ปายราคาสนิ คา ปจ จบุ ันลูกคาสวนใหญมักสนใจในรายละเอียดของสินคาเพิ่มมากขึ้น
ท้ังรูปแบบของบรรจุภัณฑ ชื่อสินคา คําแนะนําการใชผลิตภัณฑน้ันๆ วันผลิตและวันหมดอายุ ดังน้ัน
จะตองตดิ ปา ยบอกราคาเพ่ิมใหก ับตวั สนิ คา ซง่ึ เปน สิ่งสําคญั ท่สี ดุ ลงไปดว ย คือ ตองติดราคาบอกไวบนตัว
สนิ คา ทุกชิน้ ให ชัดเจนพอที่ลูกคาและพนักงานเก็บเงินจะอานได หรือ สินคาบางประเภทที่ขายกันเปน
จาํ นวนมาก อาจจะตดิ ราคาในรูปของแผนปา ยหรือโปสเตอร จะเปน การชว ยประหยดั แรงงานและเวลาได
หากเปนสินคาชนิดเดียวกันแตตางย่ีหอกัน อาจจะติดราคาไวท่ีชั้นวางสินคาจะชวยใหลูกคาเห็นและ
เปรียบเทียบราคากันได ถึงแมวาจะตองใชเวลาและแรงงานในการติดราคากันใหม เมื่อสินคามีราคา
เปล่ียนแปลงใหม แตก็เปนการใหประโยชนและรายละเอียดเพ่ิมเติมรวมถึงความสะดวกกับลูกคา
ทัง้ ยงั เปน การสะดวกในการเรียกเก็บเงินคา สินคาอกี ดวย

138

การจัดวางสนิ คา มคี วามสําคญั ตอการจูงใจลูกคาใหเลือกซ้ือสินคา เพื่อใหสะดวกและเกิดความ
พงึ พอใจควรคาํ นึงถึงสง่ิ ตอไปนี้

1. ความพึงพอใจของลกู คา
2. จดั สนิ คาไวในบริเวณทีเ่ ราจะขาย
3. จดั สินคา ไวในระดบั สายตาใหมากที่สุด
4. จดั สินคาดา นหนาบนช้นั ใหเ ตม็ อยูเสมอ
5. ช้นั ปรับระดับไดต ามขนาดของสินคาจะเปน การดี
6. การใชก ลองหนุนสินคา ใหด ูงดงามแมจ ะมีสินคาไมมากนกั
7. ความเปนระเบียบเรียบรอย สินคาบางชนิด มีหลายแบบ หลายขนาด ควรจัดใหเปนระเบียบ
สะดวกในการเปรียบเทียบของลูกคา ดังนั้น สินคาที่เหมือน ๆ กันควรเอาไวดวยกัน และควรจัดตาม
แนวนอนอยูใ นระดบั เดยี วกนั หรือจะจดั ในแนวดิง่ ดว ยกไ็ ด
8. สินคา มากอ นตองขายกอน เราตอ งขายสินคาเกา กอนสินคาใหมเสมอ พยายามวางสินคา มากอ น
ไวแถวหนา เสมอ ควรทําสนิ คาทมี่ ากอนใหดูสดใสสะอาดเหมอื นสินคาใหม
9. ปองกนั หลีกเลี่ยงการรวั่ ไหลของสนิ คา โดยการจดั วางผังทางเดนิ ภายในรานใหล ูกคา เดินไปมา
ไดส ะดวก คือ หยบิ กง็ าย หายก็รู สนิ คาบบุ ชํารุด ใกลห มดอายุควรจัดเปนสินคาลดราคาพิเศษ ลางสต็อก
ดวยการจัดแยกขายไวตา งหาก
การจัดการและดูแลคลงั สินคาตามหลักสขุ าภบิ าล
การจัดการคลังสินคา เปนการจัดการในการรับ การจัดเก็บ หมายถึง การจัดสงสินคาใหผูรับ
เพื่อกิจกรรมการขาย เปาหมายหลักในการบริหาร ดําเนินธุรกิจ ในสวนที่เกี่ยวของกับคลังสินคา
ก็เพ่ือใหเ กิดการดําเนินการเปน ระบบใหค ุม กบั การลงทนุ การควบคมุ คุณภาพของการเก็บ การหยิบสินคา
การปอ งกนั ลดการสูญเสียจากการดาํ เนนิ งานเพือ่ ใหต น ทุนการดําเนินงานต่ําที่สุด และการใชประโยชน
เต็มทีจ่ ากพนื้ ที่
คุณลักษณะเพอื่ ความเปนเลิศในงานขาย
การบรกิ ารท่ดี จี ะเกดิ ขึ้นจากตัวบคุ คล โดยอาศัยทักษะ ประสบการณ เทคนิคตาง ๆ ที่จะทําให
ผรู ับบรกิ ารเกดิ ความพงึ พอใจ และอยากกลับเขา มาใชบรกิ ารอกี มีดงั ตอไปน้ี
 ตองมีจิตใจรักในงานดานบริการ (Service Mind) ผูใหบริการตองมีความสมัครใจทุมเทท้ัง
แรงกายและแรงใจ มีความเสยี สละ ผทู จี่ ะปฏบิ ัตหิ นาทไ่ี ดต อ งมใี จรกั และชอบในงานบริการ
 ตอ งมคี วามรูใ นงานท่ใี หบริการ (Knowledge) ผูใหบริการตองมคี วามรูใ นงานทีต่ นรบั ผิดชอบ
ที่สามารถตอบขอซักถามจากผูรับบริการไดอยางถูกตองและแมนยํา ในเรื่องของสินคาท่ีนําเสนอ
เพื่อมิใหเกิดความผิดพลาด เสียหายและตองขวนขวายหาความรูจาก เทคโนโลยีใหม ๆ เพ่ิมข้ึนอยาง
สมํา่ เสมอ

139

 มีความชางสังเกต (Observe) ผูทํางานบริการจะตองมีลักษณะเฉพาะตัวเปนคนมีความชาง
สังเกต เพราะหากมกี ารรบั รูวาบริการอยา งไรจึงจะเปนท่ีพอใจของผรู ับบรกิ ารกจ็ ะพยายามนํามา
คิดสรางสรรค ใหเกิดบริการที่ดียิ่งขึ้น เกิดความพอใจและตอบสนองความตองการของลูกคาหรือ
ผรู ับบรกิ ารได มากยิง่ ขึน้

 ตองมีความกระตอื รือรน (Enthusiasm) พฤตกิ รรมความกระตือรือรน จะแสดงถึงความมจี ติ ใจ
ในการตอนรบั ใหชวยเหลือแสดงความหว งใย จะทําใหเกดิ ภาพลกั ษณท ่ดี ี ในการชว ยเหลือผรู บั บริการ

 ตองมีกิริยาวาจาสภุ าพ (Manner) กิรยิ าวาจาเปนสิ่งที่แสดงออกจากความคิด ความรูสึกและ
สง ผลใหเ กิดบุคลกิ ภาพท่ีดี ดังนัน้ เพ่อื ใหลูกคาหรือผรู ับบรกิ ารมีความสบายใจทีจ่ ะตดิ ตอ ขอรบั บริการ

 ตอ งมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรค (Creative) ผูใ หบ รกิ ารควรมีความคิดใหม ๆ ไมควรยึดติดกับ
ประสบการณหรือบริการท่ีทําอยู เคยปฏิบัติมาอยางไรก็ทําไปอยางนั้นไมมีการปรับเปล่ียนวิธีการ
ใหบ ริการ จึงควรมีความคิดใหม ๆ ในการปฏิรูปงานบริการใหด ีขึ้น

 ตอ งสามารถควบคุมอารมณได (Emotional control) งานบริการเปนงานที่ใหความชวยเหลือ
จากผูอ่ืน ตอ งพบปะผูคนมากมายหลายชนชน้ั มีการศกึ ษาทีต่ างกัน ดังน้ัน กิริยามารยาทจากผูรับบริการ
จะแตกตา งกนั เมอ่ื ผูรับบรกิ ารไมไดด ังใจ อาจจะถูกตําหนิ พูดจากาวรา ว กิริยามารยาทไมดี ซงึ่ ผใู หบ รกิ าร
ตอ งสามารถควบคุมสตอิ ารมณไ ดเ ปน อยางดี

 ตองมีสติในการแกปญหาท่ีเกิดข้ึน (Calmness) ผูรับบริการสวนใหญจะติดตอขอความ
ชวยเหลือตามปกติ แตบ างกรณีลูกคาทม่ี ปี ญหาเรงดวน ผใู หบ รกิ ารจะตองสามารถวเิ คราะหถึงสาเหตุและ
คิดหาวธิ ีในการแกไขปญหาอยา งมสี ติ อาจจะเลอื กทางเลอื กท่ีดีที่สุดจากหลายทางเลือกในการใหบริการ
แกลูกคา

 มที ศั นคติตองานบรกิ ารดี (Attitude) การบรกิ ารเปน การชว ยเหลอื ผูทํางานบริการเปนผูให
จึงตองมีความคิดความรูสึกตองานบริการในทางท่ีชอบ และเต็มใจที่จะใหบริการ ถาผูใดมีความคิด
ความรูส กึ ไมชอบงานบริการ แมจ ะพอใจในการรบั บริการจากผูอ นื่ กไ็ มอาจจะทํางานบริการใหเปนผลดี
ได ถาบุคคลใดมีทัศนคติตองานบริการดี ก็จะใหความสําคัญตองานบริการ และปฏิบัติงานอยางเต็มที่
เปนผลใหงานบรกิ ารมคี ณุ คา และนําไปสูความเปน เลิศ

 มีความรับผิดชอบตอลูกคาหรือผูรับบริการ (Responsibility) ในดานงานทางการตลาด และ
การขาย และงานบริการ การปลกู ฝง ทศั นคติใหเ หน็ ความสําคัญของลกู คา หรือผูรับบริการดวยการยกยอง
วา “ลูกคาคือบุคคลท่ีสําคัญท่ีสุด” และ “ลูกคาเปนฝายถูกเสมอ” ท้ังนี้ก็เพื่อใหผูใหบริการมีความ
รบั ผดิ ชอบตอลกู คาอยางดีทส่ี ุด

140

เรอ่ื งท่ี 8 พฤตกิ รรมผบู รโิ ภคกบั ชองทางการจําหนา ยอาหารสาํ เร็จรปู

พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การแสดงออกรวมทั้งกระบวนการในการ
ตัดสนิ ใจของแตละบุคคลทเ่ี กีย่ วขอ งโดยตรงกับการใชส ินคาและบรกิ าร
ประโยชนข องการศกึ ษาพฤตกิ รรมผูบรโิ ภค

1. ชวยใหน กั การตลาดเขา ใจถึงปจ จัยที่มีอิทธิพลตอ การตัดสนิ ใจซ้อื สนิ คาของผบู รโิ ภค
2. ชวยใหผูเก่ยี วของสามารถหาหนทางแกไ ขพฤตกิ รรมในการตดั สนิ ใจซ้ือสินคาของผูบรโิ ภคใน
สังคมไดถ ูกตอ งและสอดคลอ งกับความสามารถในการตอบสนองของธรุ กจิ มากยง่ิ ข้นึ
3. ชวยใหก ารพฒั นาตลาดและการพฒั นาผลิตภัณฑส ามารถทําไดดีขนึ้
4. เพือ่ ประโยชนในการแบง สวนตลาด เพ่อื การตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ใหตรงกับ
ชนิดของสินคาทตี่ อ งการ
5. ชวยในการปรบั ปรุงกลยุทธก ารตลาดของธุรกจิ ตาง ๆ เพอ่ื ความไดเปรยี บคแู ขงขัน
การประเมนิ ความพึงพอใจของผบู ริโภค
ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรูสกึ ภายในจติ ใจของมนษุ ยซึ่งจะไมเหมือนกัน ซ่ึงข้ึนอยูกับแตละ
บคุ คลวา จะคาดหมายกบั สิ่งหน่ึงสิ่งใด ถา คาดหวังหรือมคี วามตงั้ ใจมากเมื่อไดรบั การตอบสนองดว ยดีจะมี
ความพึงพอใจมาก แตในทางตรงขา มอาจผดิ หวงั หรือไมพ ึงพอใจเปนอยางยง่ิ เม่ือไมไดรับการตอบสนอง
ตามทค่ี าดหวังไวห รือไดร ับนอยกวา ทค่ี าดหวังไว ทัง้ นีข้ น้ึ อยกู บั สิ่งท่ีตั้งใจไวว าจะมีมากหรือมีนอย
ปจ จัยสําคญั เพื่อประเมนิ คณุ ภาพของการบริการ
1. ความสะดวก หมายถึง ความสะดวกในการเขาพบหรือติดตอกับผูใหบริการ ซึ่งครอบคลุม
ทั้งเวลาที่เปดดําเนินการ สถานที่ต้ังและวิธีการท่ีจะสามารถอํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภคในการ
เขาพบหรอื ตดิ ตอกบั ผใู หบ ริการ เชน สถานทีใ่ หบรกิ ารต้ังอยใู นทที่ ส่ี ะดวกแกก ารไปตดิ ตอ เปน ตน
2. การตดิ ตอ สอ่ื สาร หมายถงึ การส่ือสารและใหข อมูลแกลูกคาดวยภาษาท่ีงายตอการเขาใจและ
การรับฟงความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะ หรือคําติชมของลูกคาในเร่ืองตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการ
ใหบริการขององคก าร
3. ความสามารถ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความรูความสามารถและทักษะที่จะปฏิบัติงาน
บรกิ ารไดเปนอยา งดี เชน ความรูแ ละทักษะใหข อมูลผลติ ภณั ฑ เปนตน
4. ความสุภาพ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความสุภาพเรียบรอย มีความนับถือในตัวลูกคา
รอบคอบ และเปนมิตรตอผูบริโภค เชน การใหบริการดวยใบหนาท่ีย้ิมแยมแจมใสและการสื่อสารดวย
ความสุภาพ เปน ตน
5. ความนาเช่ือถือ หมายถึง ความเชื่อถือไดและความซ่ือสัตยของผูใหบริการ ช่ือเสียงและ
ภาพลักษณที่ดี
6. ความคงเสนคงวา หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีไดสัญญาไวอยางแนนอนและ
แมนยาํ เชน การใหบริการตามท่ีไดแจงไวก ับแกลกู คา เปน ตน

141

7. การตอบสนองอยา งรวดเร็ว หมายถึง ความเต็มใจของผูใหบริการที่จะใหบริการอยางรวดเร็ว
เชน การใหบรกิ ารแกผ รู บั บรกิ าร ณ เคานเ ตอรจ ายเงิน แบบทนั ทีทันใด เปนตน
การสาํ รวจความพงึ พอใจ

การสาํ รวจความพึงพอใจลกู คาเปนเครื่องมือทสี่ าํ คัญและมบี ทบาทในการพฒั นาและปรับปรุงการ
ทาํ งานในองคก ารอยางมาก ขอ มูลทีไ่ ดจ ากการสาํ รวจเปน ขอมลู ปอนกลับไปสูหนวยงานท่ีแสดงใหเห็น
ถงึ พฤตกิ รรมและความตอ งการของลกู คา เชน พฤติกรรมการเลือกซ้ือ/ใชบริการ และเปนตัวช้ีวัดผลการ
ปฏิบัติงานขององคการที่แมนยํา เทคนิคการวัดความพึงพอใจ อาจเร่ิมจาก การสังเกต การสัมภาษณ
แบบสอบถาม จนถงึ กระบวนการทําวิจยั

มหาตมะ คานธีกลา วไวว า
“ลูกคา คือ แขกคนสําคัญท่ีสุด ที่ไดมาเยือนเรา ณ สถานท่ีแหงนี้ เขามิไดมาเพ่ือพึ่งพิงเรา เรา
ตา งหาก ท่ีตอ งพ่งึ พาอาศัยเขา เขามใิ ชบ ุคคลท่มี าขดั จงั หวะการปฏบิ ตั ิงานของพวกเรา หากแตวา การรับใช
เขาคอื วตั ถปุ ระสงคแ หงงานของพวกเรา เขามิใชบ คุ คลแปลกหนาแตเขา คือ สวนหน่ึงของสถานท่ีแหงน้ี
บรกิ ารจากพวกเรา มิใชก ารสงเคราะหเขา เขาตา งหากทกี่ ําลงั สงเคราะหพวกเรา ดว ยการยอมใหพวกเรามี
โอกาสไดร บั ใชเ ขา”
การสงเสริมการขาย
การสงเสรมิ การขายเปน กิจกรรมทก่ี ระตุนการตัดสนิ ใจซือ้ สินคา หรือบรกิ าร โดยการจัดกิจกรรม
การตลาดและสงเสริมการขายตา ง ๆ เชน การเสนอของแถม การแสดงสนิ คา และการจัดวางสินคา การลด
ราคา การตลาดทางไกล การตลาดทางไปรษณีย และวธิ กี ารอื่น ๆ เพ่อื ชวยกระตุนยอดขาย
วิธีการสง เสรมิ การขาย
 การสง เสริมการขายดานลดราคาสว นใหญเปนการลดราคาสินคา โดยอาจจะลดจากราคาขาย
ปกติ เชน การจัดโปรโมช่นั ตาง ๆ เปน ชวงเวลา การลดราคา 25% ทกุ วนั พธุ เปน ตน หรอื การเพ่ิมปริมาณ
สินคา โดยขายราคาเทา เดิม เชน แลกตาซอย เอ็กตรา 300 เพ่ิมปริมาณแตไมเพิ่มราคา เปนตน ยอดขายที่
เพิม่ ข้นึ จากการลดราคานี้ จะมตี นทนุ จากกาํ ไรทลี่ ดลง การตดั สินใจใชก ลยุทธน้ีจึงควรตองพิจารณาอยาง
รอบคอบ และควรคาํ นงึ ถึงผลกระทบตอ ชอ่ื เสียงของตราสนิ คาดวย
 การสง เสรมิ การขายโดยการใชคปู อง

คูปอง เปน อกี วิธกี ารหนงึ่ ในการลดราคา วัตถุประสงคห ลกั ของการใชก ารสงเสรมิ การขายโดย
ใชคูปอง คือ การกระตุนใหลูกคาใชค ูปองใหมากทส่ี ดุ โดยมีเทคนิคการแจกคูปองหลายอยาง ตัวอยางเชน

- การตดิ คูปองไวบนบรรจภุ ณั ฑเพื่อกระตุนการซื้อซ้าํ
- การแจกคปู องในหนงั สือพิมพ หรือนติ ยสารเพื่อใหผ บู รโิ ภคไปใชซ ื้อสนิ คา
 การสงเสริมการขายโดยการใหของแถมเปนวิธีท่ีมีใชกันมาก โดยลูกคาจะไดรับของแถม
เมอื่ ซ้ือครบตามท่กี ําหนด เชน ซอื้ สนิ คาครบสิบชน้ิ ก็จะไดร ับของแถมหน่งึ ชนิ้ เปนตน

142

 การสงเสริมการขายโดยการแขงขันและใหรางวัลเปนอีกวิธีหนึ่งที่มีใชกันมากในปจจุบัน
โดยเฉพาะตามงานแสดงสนิ คา ตาง ๆ ก็จะมสี าวสวย (Pretty) แตง ตัวนารัก มากลาวแนะนาํ ถงึ สรรพคณุ ทีด่ ี
ของสนิ คา และจดั เกมสต อบคาํ ถามงา ย ๆ พรอมของรางวลั เล็ก ๆ นอ ย ๆ เพือ่ เรยี กรองความสนใจของลูกคา
ทเ่ี ดินผานไปมาและมกี ารแจกของชาํ รว ยเลก็ ใหกบั ผูท ่ีเขา รวมกจิ กรรมและตอบคําถามไดถ กู ตอ ง เปนตน

 การสงเสรมิ การขายโดยการชิงโชค ซ่งึ วิธนี ้กี ็อาจจะมีหลายวิธี แตท่ีนิยมกันก็คือ การแนบใบ
ลนุ รางวลั มาพรอ มกับสินคา หรือใหตัดชิน้ สวน หรือ ปายฉลาก สต๊ิกเกอร อยางใดอยางหน่ึง สงไปรวม
ชงิ โชค ซง่ึ วธิ ีการน้ีก็จะตองระมดั ระวังเร่อื งความสะดวกในการทีจ่ ะสงชิ้นสว น หรือชิ้นสวนจะตองไมถ กู
แอบแกะอานดูกอ นท่ีผซู อ้ื จะเปน ผแู กะคนแรก

 การสงเสรมิ การขายสาํ หรับลกู คาประจํา เปนการกระตุนใหลูกคาประจํามาซื้อสินคาหรือใช
บริการบอย ๆ เชน สายการบิน มีการสะสมไมลเพื่อแลกเปนตั๋วเคร่ืองบินฟรี เมื่อสะสมไมลได
ตามท่กี าํ หนด หรือรานอาหารญปี่ นุ ฟูจิ หรอื เซน มกี ารประทับตราเม่ือรับประทานอาหารครบทุก 300 บาท
และนาํ มาแลกเปนบัตรสวนลด หรืออาหาร 1 จานเมื่อครบตามที่กําหนด เปนการกระตุนใหลูกคามาซื้อ
สนิ คา หรอื ใชบ รกิ ารบอย ๆ หรือปม น้ํามนั มีการทําบตั รสมาชิกแลว ใหส วนลดพิเศษสาํ หรับสมาชิก เปนตน

 การสง เสรมิ การขาย ณ จุดวางสินคามีผลการวิจยั พฤติกรรมผูบริโภคในรานคาปลีกออกมาวา
ยอดขายจะเพิ่มข้ึนถาลูกคาสามารถเห็นสินคา ณ จุดวางสินคา การจัดวางสินคาที่นาสนใจ ใหขอมูล
เหมาะสม และวางในตําแหนงที่สังเกตไดงาย จะชวยใหลูกคาซ้ือสินคามากข้ึน ในปจจุบันจะเห็นไดวา
สนิ คา อุปโภคบรโิ ภคท่ีวางจําหนายในซุปเปอรม ารเกต็ มกี ารจดั เรียงเปนแถวอยางเปน ระเบยี บ ถาตองการ
ใหส ินคาเปน ทีส่ งั เกตไดง า ย พ้ืนทีว่ างสินคาตอ งอยใู นระดับสายตา และตั้งวางสินคาเปนแถวอยางชัดเจน
และเปนระเบยี บ

 การสง เสรมิ การขายโดยการแจกสนิ คา ตวั อยางใหท ดลองใช วิธนี ี้ใหลูกคาไดทดลองใชสินคา
ดูกอน กอนท่ีจะตัดสินใจซ้ือ ซึ่งวิธีนี้ก็อาจสามารถดึงลูกคาท่ีใชสินคาของคูแขงอยูใหหันมาทดลอง
ของใหมโ ดยท่ไี มต องเสยี เงินซื้อ เพราะบางคร้ังลูกคามีความคิดวาของท่ีใชอยูเดิมก็ดีท่ีสุดอยูแลว ทําไม
ตองไปเสยี เงินซอื้ สนิ คาอื่นมาทดลองใช

อยา งไรก็ตาม การสงเสรมิ การขาย ควรยึดหลักทวี่ า ทาํ สิ่งทงี่ า ย ๆ ทไี่ มใหลกู คา รสู กึ ยงุ ยาก
ในการทีจ่ ะเขารวมกิจกรรมทเ่ี ราวางไว

เทคโนโลยเี พิม่ ชองทางการจําหนา ย
E-Commerce การพาณิชยอิเลก็ ทรอนิกส คือ การดําเนินธุรกิจการคาหรือการซ้ือขายบนระบบ

เครือขายอินเทอรเนต โดยผูซ้ือ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคา คํานวนเงิน ตัดสินใจซื้อ
สินคา โดยใชว งเงนิ ในบัตรเครดิต ไดโดยอตั โนมัติ ผูขาย (Business) สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบ
วงเงินบตั รเครดิตของลกู คา รับเงนิ ชาํ ระคา สินคา ตัดสินคา จากคลงั สินคา และประสานงานไปยังผูจัดสง
สนิ คา โดยอัตโนมตั ิ กระบวนการดงั กลาวจะดาํ เนนิ การเสร็จสน้ิ บนระบบเครอื ขา ย Internet


Click to View FlipBook Version