The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-14 22:20:31

สังคมศึกษา ประถมศึกษา

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม

รายวิชาสงั คมศึกษา

(สค11001)

ระดบั ประถมศึกษา

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

หามจาํ หนาย

หนงั สือเรยี นเลม น้ี จดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผนดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน
ลขิ สทิ ธเ์ิ ปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001)
ระดับประถมศกึ ษา

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

เอกสารทางวิชาการลําดบั ท่ี 35/2557

คาํ นํา

สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดด ําเนินการจัดทําหนังสือ
เรยี นชุดใหมนขี้ ึ้น เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคใ นการพัฒนาผูเ รียนใหม ีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา
และศักยภาพในการประกอบอาชีพการศึกษาตอและสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคม
ไดอยา งมีความสุขโดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชด วยวิธีการศึกษาคนควาดว ยตนเอง ปฏิบัติ
กจิ กรรม รวมทั้งแบบฝกหดั เพอ่ื ทดสอบความรูค วามเขา ใจในสาระเน้อื หา โดยเมื่อศึกษาแลว ยังไมเขาใจ
สามารถกลบั ไปศกึ ษาใหมไ ด ผูเ รียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา
ความรูไ ปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชน้ั เรียน ศกึ ษาจากภูมิปญญาทองถ่ินจากแหลง เรยี นรูและจากส่อื อื่น ๆ

ในการดําเนนิ การจัดทําหนงั สอื เรียนตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ไดร บั ความรวมมอื ทดี่ ีจากผทู รงคณุ วุฒิและผูเก่ียวขอ งหลายทา นท่ีคน ควาและเรียบเรียง
เน้ือหาสาระจากส่ือตาง ๆ เพ่ือใหไ ดส ่ือที่สอดคลอ งกับหลักสูตรและเปน ประโยชนตอผูเ รียนที่อยู
นอกระบบอยา งแทจ ริง สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ
คณะทีป่ รกึ ษา คณะผูเรยี บเรยี ง ตลอดจนคณะผูจัดทาํ ทุกทานทีไ่ ดใ หค วามรว มมอื ดว ยดไี ว ณ โอกาสน้ี

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวา หนังสือเรียนชุดน้ี
จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานักงาน
สงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ขอนอมรับไวดว ยความขอบคุณย่ิง

สํานกั งาน กศน.
กันยายน 2557

สารบญั หนา

คาํ นาํ 1
โครงสรางรายวิชา 2
บทที่ 1 ภูมิศาสตรก ายภาพประเทศไทย 5
8
เรือ่ งที่ 1 ลกั ษณะภมู ศิ าสตรก ายภาพของชมุ ชน ทอ งถ่ิน 11
เรอื่ งท่ี 2 ลักษณะภูมศิ าสตรกายภาพของประเทศไทย 16
เรอ่ื งที่ 3 การใชขอมูลภูมิศาสตรก ายภาพชุมชนทอ งถิ่นในการดํารงชวี ิต
เรื่องที่ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติและการอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติ
เรอื่ งท่ี 5 ศักยภาพของประเทศไทย

บทที่ 2 ประวัติศาสตรชาติไทย 21
เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของประวตั ศิ าสตร 22
23
เรื่องท่ี 2 ประวัตคิ วามเปน มาของชนชาตไิ ทย
เร่อื งท่ี 3 ประวัติและผลงานของบรรพบรุ ุษไทยทมี่ สี วนปกปอง 44

และสรา งความเจรญิ ใหแ กช าติบานเมือง

บทที่ 3 เศรษฐศาสตร 74
เรอื่ งที่ 1 เศรษฐศาสตรในครอบครัวและชุมชน 75
เร่อื งท่ี 2 กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ 76
เรือ่ งท่ี 3 คณุ ธรรมของผูผ ลิตและผบู ริโภค 83

เรื่องที่ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอมในทอ งถนิ่ และชุมชน 85

บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง 91

เร่ืองท่ี 1 ความหมายและความสาํ คัญของการเมืองและการปกครอง 92

เร่ืองท่ี 2 โครงสรางการบรหิ ารราชการแผนดิน 95

เรอ่ื งท่ี 3 ความสัมพนั ธร ะหวา งอํานาจนิตบิ ัญญัติ อํานาจบรหิ าร อาํ นาจตุลาการ 98

เร่ืองท่ี 4 การมสี ว นรวมทางการเมอื งการปกครองในระดับทอ งถ่ิน

และระดบั ประเทศ 100

บรรณานุกรม 103

คณะผจู ัดทาํ 105

โครงสรา งรายวชิ า

สาระสําคญั

การไดเ รียนรูเกี่ยวกับตนเอง สภาพแวดลอมทองถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศของตนทั้งดาน
ประวตั ศิ าสตร ลกั ษณะทางภูมิศาสตร กายภาพ เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ตลอดจนการไดรับการ
พัฒนาความรู ความเขา ใจในศาสนา มีจติ สํานกึ และมีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ มเพอ่ื การพัฒนาท่ียั่งยนื

ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั

1. อธิบายขอมูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง
ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั ตนเอง ชุมชน ทอ งถิ่น และประเทศไทย

2. ระบุสภาพความเปล่ียนแปลงดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง
การปกครอง และกฎหมายทีม่ ผี ลกระทบตอวถิ ชี ุมชนทอ งถน่ิ ชวี ติ คน สงั คม และประเทศ

3. เกิดความตระหนักและสามารถนําความรูทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร
การเมือง การปกครองไปประยกุ ตใชได

ขอบขา ยเนื้อหา

เร่ืองท่ี 1 ภมู ศิ าสตรทางกายภาพประเทศไทย
เรอื่ งที่ 2 ประวตั ศิ าสตรช าตไิ ทย
เรื่องที่ 3 เศรษฐศาสตร
เรอื่ งที่ 4 การเมืองการปกครอง

ส่อื ประกอบการเรยี นรู

- เอกสารแบบเรยี น
- เอกสารเสริม

1

บทที่ 1
ภมู ศิ าสตรทางกายภาพประเทศไทย

สาระสําคญั

ลกั ษณะทางกายภาพและสรรพสงิ่ ในโลก มคี วามสัมพันธซงึ่ กันและกนั และมผี ลกระทบตอระบบนิเวศ

ธรรมชาติ การนาํ แผนที่และเคร่ืองมือภูมิศาสตรมาใชในการคนหาขอมูล จะชวยใหไดรับขอมูลท่ีชัดเจนและ
นาํ ไปสูการใชก ารจัดการไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ การปฏิสัมพันธร ะหวา งมนษุ ยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพ
ทําใหเกดิ สรา งสรรคว ัฒนธรรมและจติ สาํ นึกรวมกนั ในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม เพอ่ื การ

พัฒนาท่ียง่ั ยืน

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั

1. อธิบายลักษณะภูมิศาสตรท างกายภาพของประเทศไทยได
2. บอกความสมั พนั ธระหวางปรากฏการณท างธรรมชาติกบั การดําเนนิ ชีวิตได
3. ใชแผนทแ่ี ละเครื่องมอื ภมู ศิ าสตรไ ดอ ยางเหมาะสม

4. วิเคราะหส ภาพแวดลอ มทางกายภาพ วฒั นธรรมและกระบวนการเปลยี่ นแปลทาง
ลักษณะกายภาพและลกั ษณะวฒั นธรรมทอ งถ่ินได

5. วิเคราะหศ กั ยภาพของชมุ ชนทอ งถนิ่ เพอื่ เช่ือมโยงเขา สูอาชีพ

ขอบขายเนอ้ื หา ลักษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของชมุ ชน
ลกั ษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของประเทศไทย
เรื่องที่ 1
เรื่องที่ 2 การใชขอ มลู ภูมิศาสตรกายภาพชมุ ชน ทอ งถน่ิ เพอ่ื ใชใ นการดํารงชีวติ
ทรพั ยากรธรรมชาติและการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติ
เร่อื งท่ี 3 ศกั ยภาพของประเทศไทย
เรื่องท่ี 4
เร่ืองที่ 5

2

เร่อื งท่ี 1 ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของชุมชน ทองถ่ิน

ภูมศิ าสตร หมายถงึ วิชาท่ีศกึ ษาเกีย่ วกับพน้ื ผวิ โลกที่เก่ียวกบั ภูมปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ ทรพั ยากรธรรมชาติ
ผลิตผล และคน รวมทงั้ การกระจายของส่ิงตา ง ๆ เหลานี้ คือ 6 วิชาทศี่ กึ ษาถงึ ความสัมพนั ธร ะหวา งโลกกบั มนุษย
สง่ิ แวดลอ มกับมนษุ ย

ภูมิอากาศ หมายถึง การปฏิสัมพันธเกี่ยวกับองคประกอบของอุตุนิยมวิทยา รักษารูปแบบตาง ๆ เชน
ภูมอิ ากาศแบบรอนชืน้ ภูมิอากาศแบบอบอนุ ชืน้ ภูมิอากาศแบบรอ นแหงแลง เปนตน

ภูมิประเทศ หมายถึง การปฏิสัมพันธเก่ียวกับองคประกอบของแผนดิน จําพวก หิน ดิน ความตาง
ระดับ ทําใหเกิดภาพลักษณรูปแบบตาง ๆ เชน พื้นท่ีแบบภูเขา พื้นที่แบบลาดเชิงเขา พื้นที่ราบ พื้นท่ีลุม
เปนตน

ลกั ษณะภมู ิประเทศไทย

ประเทศไทยมีพ้ืนที่ประมาณ 513, 115 ตารางกิโลเมตร มีพ้ืนท่ีใหญเปนอันดับท่ี 3 ของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต ประเทศไทยตั้งอยใู นคาบสมุทรอนิ โดจีน ซึง่ เปน สว นหนึง่ ของภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต

ทศิ เหนอื ที่ต้งั ของประเทศไทยจรดประเทศสหภาพเมียนมาร (พมา) และสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว จุดเหนือสดุ ของประเทศอยูท่อี าํ เภอแมสาย จงั หวัดเชียงราย

ทศิ ตะวนั ออก จรดประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพูชา จดุ ตะวันออกสดุ อยูท่ี
อาํ เภอพบิ ลู มังสาหาร จงั หวดั อุบลราชธานี

ทิศตะวันตก จรดประเทศสหภาพเมียนมาร (พมา) จุดตะวันตกสุดอยูที่อําเภอแมสะเรียง จังหวัด
แมฮอ งสอน

ทิศใต จรดประเทศมาเลเซีย จดุ ใตสดุ อยทู ่ีอําเภอเบตง จังหวัดยะลา

การแบงภาคภูมิศาสตรข องประเทศไทย

ประเทศไทยแบง ตามลักษณะภมู ิศาสตรไ ด 6 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง
ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันตก และภาคใต

ภาคเหนือ

ลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือ ประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ 9 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหม
เชยี งราย แมฮองสอน ลาํ พูน ลําปาง แพร นาน อตุ รดติ ถ และพะเยา มพี น้ื ท่ี 93,690 ตารางกิโลเมตร ลักษณะ
ภูมปิ ระเทศเปน เทือกเขาสงู และที่ราบหุบเขา เทอื กเขาที่สําคัญ ไดแก เทือกเขาแดนลาว ถนนธงชัย ผีปนนํ้า
และหลวงพระบาง ยอดเขาทีส่ ูงท่สี ดุ ในประเทศไทย คือ ดอยอนิ ทนนท มคี วามสงู 2,595 เมตร และเปนสวนหนึ่ง
ของเทือกเขาถนนธงชัยในพนื้ ทีจ่ ังหวัดเชียงใหม

3

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มีพน้ื ท่ี 170,000 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดวยจังหวดั ตา ง ๆ 19 จงั หวดั คอื
จังหวัดหนองคาย เลย อุดรธานี นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด ชัยภูมิ ยโสธร
อบุ ลราชธานี ศรสี ะเกษ บุรรี ัมย นครราชสีมา สุรินทร มกุ ดาหาร อาํ นาจเจรญิ และหนองบัวลําภู ภูมิประเทศ
ทว่ั ไปเปนแองคลายแองกระทะ ลาดเอียง ไปทางตะวันออกเฉยี งใตมขี อบเปนภูเขาสูง ทางตะวันตกและทางใต
ขอบทางตะวันตก ไดแก เทือกเขาเพชรบูรณ และเทือกเขาดงพญาเย็น สวนทางใตไดแก เทือกเขาสันกําแพง
และเทอื กเขาพนมดงรกั พ้นื ทตี่ ะวนั ตกเปนทรี่ าบสูง เรียกวา ทีร่ าบสงู โคราช ภูเขาบริเวณนี้เปนภูเขาหินทราย
ทรี่ จู กั กันดีเพราะเปนแหลง ทองเทย่ี ว คือ ภกู ระดึง ภหู ลวง ในจังหวัดเลย แมน้ําท่ีสําคัญของภาคน้ีไดแก แมน้ําชี
และแมน ํา้ มลู ซึ่งมแี หลง กําเนิดจากเทอื กเขาทางทศิ ตะวันตก และทางใตแลวไหลลงสูแมน้ําโขง ทําใหสองฝง
แมนํ้าเกิดเปนที่ราบ นํ้าทวมถึงเปนตอน ๆ พ้ืนที่ราบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักมีทะเลสาบรูปแอก
เปนจํานวนมากแตทะเลสาบเหลาน้ีจะมีนํ้าเฉพาะฤดูฝนเทาน้ันเม่ือถึงฤดูรอน นํ้าก็จะเหือดแหงไปหมด
เพราะดินสวนใหญเ ปนดินทรายไมอุมน้ํา นํ้าจึงซึมผานไดเร็ว ภาคนี้จึงมีปญหาเรื่องการขาดแคลนนํ้าและดิน
ขาดความอดุ มสมบูรณ ทาํ ใหพน้ื ทบ่ี างแหง ไมสามารถใชประโยชนใ นการเกษตรไดอยางเต็มท่ี ปจจุบันรัฐบาล
ไดพยายามปรับปรุงพื้นทใ่ี หดีข้นึ โดยใชระบบชลประทานสมัยใหม ทาํ ใหส ามารถเปน แหลง เพาะปลกู ขาวหอมมะลิ
ที่ดที ่ีสุดแหงหนง่ึ ของประเทศไทย

ภาคกลาง
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของภาคกลาง

ภาคกลางมพี ื้นที่ 91,795 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยจงั หวดั ตาง ๆ 22 จังหวัดคือ จังหวัดสุโขทัย
พิจิตร พิษณุโลก กําแพงเพชร เพชรบูรณ นครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี
สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม และนครนายก ลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบลุมแมน้ําอันกวางใหญไดแก ที่ราบลุมแมนํ้า
เจาพระยาและทาจีน มีเทือกเขาเปนขอบเขตของภาคทั้งดานตะวันตกและตะวันออก แบงเขตภูมิประเทศ
ออกเปน 2 สว น ไดแก เขตที่ราบภาคกลางตอนบนและเขตทรี่ าบภาคกลางตอนลาง

เขตท่ีราบภาคกลางตอนบน ตัง้ แตพื้นท่ีจังหวดั นครสวรรค ขน้ึ ไปจนจรดตอนเหนือของภาคมีลักษณะ
เปน พ้นื ท่ีราบลมุ แมน้ําสลบั กับภูเขา

เขตท่รี าบภาคกลางตอนลา ง ตงั้ แตพ ื้นทีจ่ ังหวัดนครสวรรคลงมาจนจรดปากอาวไทยเขตพื้นที่ราบลุม
แมน ้าํ อันกวางใหญ

ภาคตะวันออก
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศภาคตะวันออก

ภาคตะวันออกมีพื้นท่ี 34,380 ตารางกิโลเมตรเปนภาคท่ีมีพื้นที่เล็กท่ีสุดในบรรดาภาคทั้ง 5 ภาค
ของไทย ประกอบดวย 7 จงั หวัด คอื จังหวดั ปราจีนบรุ ี ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบุรี ตราด และสระแกว
ลักษณะภมู ิประเทศของภาคตะวันออก แบง เปน 4 ลกั ษณะ ดงั นี้

4

เขตเทือกเขา ไดแก เทอื กเขาสนั กาํ แพงและเทอื กเขาบรรทดั สวนใหญเปนภเู ขาหินทรายและเทอื กเขา
จันทบรุ ี สวนใหญเปน ภเู ขาหนิ อคั นหี รือหนิ แกรนิต เขตที่ราบลุมแมน้ํา ไดแก ที่ราบลุมแมน้ําบางปะกง ในพ้ืนที่
ฉะเชิงเทราและปราจีนบุรี บริเวณปากแมนํ้าท่ีไหลลงสูอาวไทยท่ีอําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราจะมี
ลกั ษณะเปน หาดโคลนเลน เขตท่ีราบชายฝงทะเล นับต้ังแตปากน้ําบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ลงมาจนถึง
อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด มีหาดทรายสวยงามและเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญมีประชากรตั้งถ่ินฐาน
หนาแนนมากกวาเขตอื่น ๆ มีแมนํ้าสายส้ัน ๆ หลายสาย เชน แมน้ําระยอง แมน้ําจันทบุรี และแมน้ําตราด
เฉพาะบริเวณปากนํ้าจะเปน หาด

โคลนเลน และเกาะ เปนแหลง ทอ งเทีย่ วท่ีสําคญั ไดแ ก เกาะลา น เกาะสีชัง (จังหวัดชลบุรี) เกาะชาง
(จังหวดั ตราด) และเกาะเสมด็ (จงั หวัดระยอง) เปน ตน

ภาคตะวนั ตก

ลักษณะภมู ิประเทศภาคตะวันตก
ภาคตะวันตกมีพ้ืนท่ีประมาณ 53,679 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 5 จังหวัด คือ จังหวัดตาก
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตกสวนใหญเปนภูเขา
สลับกับหุบเขาที่คอนขางชื้นและแคบกวาหุบเขาของภาคเหนือ เนื่องจากการกัดเซาะของแมนํ้าลําธาร
มีภูมิประเทศคลายภาคเหนอื แบงไดด งั นี้
เขตเทอื กเขา ไดแก เทอื กเขาถนนธงชยั เปนแนวแบงเขตระหวา งไทยกับพมา จากจังหวัดแมฮ อ งสอน
ถึงจังหวัดตาก, เทือกเขาตะนาวศรี เปนแนวแบงเขตไทยกับพมา มีชองทางติดตอท่ีดานสิงขร จังหวัด
ประจวบครี ีขนั ธ และดา นบัดตี้ จงั หวดั กาญจนบุรี, เทอื กเขาหินปนู อยรู ะหวางแมน้ําแควใหญ และแมน้ําแคว
นอย สว นใหญเ ปนภูเขาหนิ ปนู มถี ํ้าหินงอกหินยอ ย
เขตท่ีราบ อยรู ะหวา งเขตเทอื กเขากับท่ีราบตํา่ ภาคกลางจนถึงอาวไทย เปนท่ีราบลุมแมน้ําปง แมนํ้า
แมกลอง ท่ีราบแมน้ําเพชรบุรี และที่ราบชายฝงทะเลท่ีเปนหาดทรายสวยงาม เชน หาดชะอํา หาดวังหิน
และอา วมะนาว

ภาคใต
ลักษณะภมู ิประเทศภาคใต

ภาคใตมีพ้ืนท่ี 70,715 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ 14 จังหวัด คือ จังหวัดชุมพร
พัทลุง สุราษฎรธ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และสตูล
เปนดินแดนสว นหน่ึงของคาบสมุทรมลายู จึงขนาบดวยทะเลท้ังสองดาน ไดแก อาวไทย มหาสมุทรแปซิฟก
และทะเลอันดามัน มหาสมุทรอนิ เดยี

ลักษณะภูมิประเทศเปนเขตเทือกเขา ประกอบดวยแนวเทือกเขา 3 แนว ไดแก เทือกเขาภูเก็ต
เทือกเขานครศรีธรรมราช และเทอื กเขาสันกาลาคีรี สวนใหญจะวางตัวในแนวเหนือ-ใต มีความอุดมสมบูรณ
ของปาไมและแรธ าตุ เขตทรี่ าบชายฝงอา วไทย ไดแก ท่ีราบลุมแมนํ้าตาป ที่ราบลุมแมนํ้าปากพนัง ท่ีราบลุม
แมน้ําปตตานี และที่ราบรอบทะเลสาบสงขลา เกิดจากการทับถมของตะกอนดินโคลนและทราย ท่ีน้ําจาก
แมน า้ํ และกระแสคล่ืนพัดพามาทับถม จนกลายเปนที่ราบอันกวางใหญ และมีประชากรตั้งถิ่นฐานหนาแนน
มากกวา เขตพ้นื ทีอ่ ื่น ๆ ชายฝง ดา นอาวไทยเริ่มตัง้ แตช ายฝง จังหวดั ชุมพรลงไปจนถงึ จังหวดั นราธวิ าส เปนชายฝง

5

แบบเปลอื กโลกยกตวั ขึ้นสูง นาํ้ ทะเลจงึ ตน้ื มหี าดทรายสวยงาม และมีอาวขนาดใหญ เชน อาวบานดอน อาวสวี
ฯลฯ บรเิ วณปากแมนาํ้ จะเปน หาดโคลนและมีปาชายเลน ลักษณะภูมิประเทศที่เดนของชายฝงดานอาวไทย
คือทะเลสาบสงขลา เปนทะเลสาบเปดหรอื ทะเลสาบน้ําเค็ม (Lagoon) ในอดีตกาลมีกระแสลมและคลื่นพดั พา
ตะกอนทรายมาทบั ถมจนเปนแนวสนั ทราย หรือแหลม ปดปากอาวจนกลายเปนทะเลสาบสงขลาในปจจุบัน
และทร่ี าบชายฝง ทะเลอนั ดามนั เปน ทรี่ าบแคบ ๆ เนอื่ งจากมีภูเขาต้ังชดิ ตระหงาน ตดิ กบั ชายฝงทะเล ชายฝง
ดานอันดามัน จะเร่ิมต้ังแตชายฝงจังหวัดระนองจนไปถึงจังหวัดสตูล มีลักษณะเปนชายฝงแบบเปลือกโลก
ยบุ ตวั หรอื จมตัว ทาํ ใหม นี ํา้ ทะเลลึกและมชี ายฝงทเ่ี วาแหวง มาก

กจิ กรรมที่ 1
ลกั ษณะภูมิประเทศของประเทศไทยมอี ทิ ธิพลตอ ความเปน อยูของคนไทยอยา งไรบา ง
อธิบายและยกตวั อยา งมาใหเ ขาใจ

กจิ กรรมที่ 2
ใหผ ูเ รยี นบอกถงึ ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของจงั หวัดของตนวามลี กั ษณะอยางไรและ
สง ผลตอ การประกอบอาชพี ของคนในชมุ ชนอยา งไรบา งพรอ มยกตัวอยา ง

เร่ืองท่ี 2 ลักษณะทางภูมศิ าสตรของประเทศไทย

ลกั ษณะ ทําเล ทต่ี ้งั ของประเทศไทย

ประเทศไทยต้ังอยูในคาบสมุทรอินโดจีน และอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของทวีปเอเชีย ท่ีต้ังของ
ประเทศไทยอยูแถบศูนยส ตู ร จงึ เปน บรเิ วณที่ไดร บั พลังงานความรอ นจากดวงอาทิตยม าก เปน ประเทศทอ่ี ยใู น
เขตรอน และมอี ณุ หภมู ขิ องอากาศเฉลีย่ สงู ตลอดทง้ั ป

6

ลกั ษณะภูมิอากาศ ประเทศไทย

ประเทศไทยต้ังอยูใกลเสนศูนยสูตรในซีกโลกตอนเหนือ ประเทศไทยจึงมีภูมิอากาศแบบทุงหญา
สะวนั นาเปนสวนใหญ ภูมิอากาศของประเทศไทย ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และลมมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ดงั นี้

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ประเทศไทยฤดูฝนเริ่มระหวางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะพัดจากมหาสมุทรอินเดียมายังทวีปเอเชีย ทําใหเกิดฝนตกชุกท่ัวประเทศไทย
ดังนนั้ ชายฝง ดา นตะวันตกในภาคใตจะไดรับปริมาณฝนมากกวาชายฝงตะวันออก เชน จังหวัดระนอง ภูเก็ต
จะไดรบั ปริมาณนํ้าฝนมากกวาทุกจังหวัด สวนจังหวัดที่มีปริมาณฝนตกมากที่สุดในประเทศไทย คือ อําเภอ

7

คลองใหญ จังหวัดตราด ซ่ึงอยูทางภาคตะวันออก เพราะเปนจังหวัดท่ีรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตไดอยาง
เต็มที่

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยฤดูหนาวเร่ิมระหวางกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือน
กุมภาพนั ธ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดจากตอนเหนือของจีนมายังตอนลางของทวีปเอเชียจึงทําให
อากาศหนาวเย็นแตไมม ฝี นตก สว นภาคใตกอใหเ กิดฝนตกได เพราะลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดผาน
อาวไทยกอ น จงึ หอบไอน้ํามาจากอา วไทย ทําใหฤดหู นาวของภาคใตมฝี นตกและอากาศไมหนาวจัด

ส่งิ แวดลอมทางธรรมชาติมอี ิทธิพลตอ การดาํ เนนิ ชีวติ ของทอ งถิ่น
ลักษณะทางธรรมชาตขิ องทองถน่ิ ตาง ๆ จะมอี งคประกอบท่สี ําคัญท่ีไมเ หมือนกันซ่ึงผูเรียนควรจะได

เรียนรูถึงลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ องคประกอบแตละชนิดจะมีหนาท่ี
เฉพาะ และมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน เน่ืองจากลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศของแตละภาค
ในประเทศไทยมีความแตกตา งกนั ดงั นน้ั จงึ ทําใหการดาํ เนินชวี ติ ของประชากรในทอ งถิน่ จึงแตกตางกนั พอสรปุ

ไดด ังน้ี

ภาค ลักษณะภูมิประเทศ การประกอบอาชีพและ ประเพณีและการนบั ถอื
เหนอื ศาสนา
และภูมอิ ากาศ ความเปนอยู
กลาง สงกรานต การแหครัวทาน
เปนทร่ี าบหบุ เขา ดนิ มี เพาะปลกู พืชผักเมือง ปอยสางลอง (บวชลูกแกว)
ตะวันออก นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ
เฉียงเหนือ ความอุดมสมบูรณอากาศ หนาว และอาชีพ แขงเรือ พืชมงคล วิง่ ควาย
ตะวันออก การลงแขก เกย่ี วขา ว นบั ถอื
ตะวนั ตก หนาวเยน็ เปน เวลานาน การทองเท่ยี ว ศาสนาพทุ ธ
ใต
เปนทรี่ าบลมุ และมคี วาม ทาํ นา ทําสวนผลไม แหเทียนพรรษา
บุญบง้ั ไฟ คลองชา ง
อดุ มสมบรู ณ ตอนบนของ เลย้ี งสัตว ทาํ ประมง นับถือศาสนาพุทธ

ภาคในฤดหู นาวอากาศ นา้ํ เคม็ และน้ําจืดรบั จา ง บุญเดือนสบิ ชงิ เปรต

หนาวและรอ นในฤดูรอน ในโรงงานอุตสาหกรรม

ตอนลางของภาคฤดรู อ น การทองเที่ยวและมี

และฤดูหนาวไมแตกตา ง ประชากรหนาแนน กวา

กันมากนัก มฝี นตกชุกกวา ภาคอ่นื ๆ

ตอนบน

เปนทร่ี าบสงู พ้ืนดนิ เปน ทําไร เล้ียงสัตว ประชากร

ดินปนทรายอากาศ คอ นขางยากจน และ

แหงแลง โยกยายไปอยทู ี่อื่นมาก

คลายภาคกลาง

คลา ยภาคกลาง

เปนทร่ี าบฝง ทะเลอากาศ ทาํ สวนยางพารา ปาลม

8

ภาค ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ การประกอบอาชีพและ ประเพณีและการนบั ถอื
และภมู อิ ากาศ ความเปนอยู ศาสนา

รอ นชน้ื ฝนตกตลอดทง้ั ป นา้ํ มนั เหมอื งแร ประมง วงิ่ ควาย นับถอื ศาสนาพุทธ

นา้ํ เค็มและอาชพี และศาสนาอสิ ลาม

การทองเท่ียว

กิจกรรมที่ 1
ใหผเู รยี นแบง กลมุ ศกึ ษาคนควา ลกั ษณะภมู ิประเทศภมู อิ ากาศและอาชพี ของประชากรใน

แตละภาคแลว นํามาอภิปราย

กิจกรรมท่ี 2
ใหนกั เรียนบอกช่ือจงั หวดั ในภาคเหนือ ภาคใต และภาคกลางมาภาคละ 5 จงั หวัด

เรื่องที่ 3 การใชข อมลู ภูมิศาสตรกายภาพชุมชน ทองถิน่ ในการดาํ รงชีวิต

การใชแผนท่ีและเครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร

การเรยี นรคู วามหมาย องคประกอบและชนิดของแผนที่ทําใหสามารถใชแผนที่ชนิดตาง ๆ ไดอยาง
เหมาะสม เปนเคร่อื งมอื สําคัญในการจดั ทําแผนท่ีในการสํารวจขอมลู ทอ งถิน่ ได

แผนท่ี คือ สง่ิ ท่ีแสดงลักษณะของพ้ืนที่บนผิวโลก ทั้งที่เปนอยูตามธรรมชาติและส่ิงที่มนุษยสรางข้ึน

โดยแสดงลงบนแผน แบบราบ มกี ารยอ สวนใหเล็กลงตามตองการ อาศัยสัญลักษณและเครื่องหมายท่ีกําหนด
ขนึ้ แสดงลกั ษณะของสิง่ ตา ง ๆ บนโลก

แผนทเี่ ปน เครื่องมอื ทส่ี าํ คัญท่ที ําใหเ รารูวา ทะเล มหาสมุทร ทวีป และประเทศตา ง ๆ ต้งั อยูบ ริเวณใด

บนพน้ื โลก แตก ารท่เี ราตองการจะไดป ระโยชนอ ยา งแทจริงจากการใชแ ผนท่ีเทา นน้ั เราจําเปน จะตอ งมคี วามรู
ความเขา ใจเกี่ยวกับแผนท่เี สยี กอ น เชน ตอ งอา นแผนที่เปน และรจู ักเลอื กชนิดของแผนท่ีตามโอกาสที่จะใช
จึงจะสามารถใชแผนทไี่ ดอยา งถูกตอง

ความสาํ คัญของแผนท่ี

แผนที่เปนเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรอยางหนึ่งของมนุษยสรางข้ึนเพ่ือนําไปใชประโยชนในกิจกรรม
ตาง ๆ เชน ใชคนหาสถานที่ เสนทางคมนาคมขนสง การทองเท่ียว แหลงเกษตรกรรม และกิจการทหาร

เปนตน ผใู ชแ ผนทจ่ี ะทราบขอ มูลบนพื้นทีจ่ รงิ อยางถูกตองชัดเจนและประหยัดเวลา

9

ชนดิ ของแผนที่

1. แผนที่ทางกายภาพ คอื แผนท่แี สดงถึงลกั ษณะทวั่ ไป ไดแก
1.1 แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ
1.2 แผนทภ่ี ูมิอากาศ
1.3 แผนทร่ี ัฐกจิ
1.4 แผนทเ่ี ศรษฐกจิ
1.5 แผนที่ประวัติศาสตร

2. แผนที่เฉพาะเรื่อง เปนแผนที่ท่ีแสดงขอมูลตามความตองการของผูศึกษา เชน แผนท่ีสรางทาง
รถยนต รถไฟ เครือ่ งบิน แผนท่ที างหลวง แผนท่ีทหาร แผนท่กี ารเดนิ เรือ แผนท่ีปาไม แผนทีท่ ่ดี นิ เปน ตน

องคป ระกอบของแผนที่ คอื สว นตาง ๆ ในแผนทีท่ ท่ี ําใหเ ขา ใจในการอานแผนทีไ่ ดถ กู ตอ งมากขึ้นซึ่งมี
องคป ระกอบทส่ี าํ คัญ ดงั นี้

1. เสน รงุ -เสน แวง เสน ทผ่ี านขว้ั โลกเหนือไปยังข้ัวโลกใต เรียกวา เสนแวง และเสนท่ีผาน
แนวตะวนั ตกไปยังตะวันออก เรียกวา เสนรุง เสนรุงที่ยาวท่ีสุดเรียกวา เสนศูนยสูตร ท้ังเสนรุงและเสนแวง
เปนเสนสมมติ

2. มาตราสวนคําพดู
3. มาตราสวนบรรทัด

กิจกรรม

แบง ใหกลมุ นกั เรยี นชว ยกันคิดหาคาํ ตอบของคาํ ถามทีว่ า “การหาทิศทางในแผนที่
เราจะทราบไดอยางไรวาสว นใดคอื ทิศเหนอื ในกรณที ่ีไมไ ดร ะบทุ ิศไวในแผนท”ี่

สญั ลักษณตาง ๆ ที่ใชในแผนที่

เครือ่ งหมายท่ีใชแ ทนสิ่งตาง ๆ บนผวิ โลกซึ่งมรี ปู รา งคลายของจริงและนยิ มใชสัญลกั ษณ ทเี่ ปน สากล
ดังนี้

เครอื่ งมือวดั ระยะในการทําแผนผงั และพน้ื ทีอ่ ยางงา ย ๆ
การสรางแผนผัง แผนที่ จะตองยอสวนจากพื้นที่จริงลงแผนแบนราบ เคร่ืองวัดระยะจึงมี

ความจําเปน อยา งยิง่ เครอื่ งวัดท่ีนิยมนํามาใช ไดแ ก
1. การนบั กา ว เนน การวดั ระยะที่ใชเ ครือ่ งมืองาย ๆ ท่ที ุกคนมีอยู กอนการเดินตองทําระยะ

ใหผ ูวดั หาคาความยาวมาตรฐานของระยะ 1 กา วของตนเองกอ น ถาตองการวดั ระยะ ใหเ ดินนบั กาว ไดจํานวน
กา วแลว นํามาคูณกบั กาวมาตรฐานของตน ก็จะไดระยะจริงโดยประมาณ

10

2. โซ เปน เคร่ืองมอื ท่เี ปนโลหะเปนขอ ๆ มีหลายชนิด แตละชนิดมีความยาวขอแตกตางกัน
มีทั้งระบบอังกฤษและระบบเมตรกิ

3. เทป เปน เครื่องมอื วดั ที่นิยมใชกันมากท่ีสุดในปจจุบัน เพราะใชงาย สะดวก นํ้าหนักเบา
กะทดั รดั พกพาไดสะดวก มีหลายขนาด

กิจกรรมที่ 1

ใหน ักเรยี นเขยี นแผนผงั จงั หวัดทผ่ี ูเรียนอาศยั อยู โดยใชเ คร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตรอ ยา งงา ย
แลว นําเสนอในกลมุ

เครื่องมือท่ใี ชในการสาํ รวจทอ งถิน่ เชิงภมู ศิ าสตร

การศึกษาเรือ่ งใด ๆ กต็ าม ผเู รียนจะตอ งมเี ครอ่ื งมอื ในการศึกษา ซ่ึงอาจมีอยแู ลว หรอื ผเู รยี นอาจตอง
สรางขนึ้ เองแลว แตกรณี และตองเหมาะสมกับเรอื่ งที่จะศึกษา สาํ หรบั เคร่ืองมือในการศึกษาจําแนกได 2 ชนิด คือ

1. เคร่ืองมือสํารวจขอมูลทองถิ่นเชิงภูมิศาสตรเศรษฐกิจและสังคม ไดแก แบบสังเกตการณ
แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม แผนท่ภี าพถายทางดาวเทยี ม เปน ตน

2. เครอ่ื งมอื สํารวจทองถน่ิ เชงิ ภูมิศาสตรกายภาพ แบง ได ดังน้ี
2.1 เคร่ืองมือศึกษาลักษณะภูมิประเทศ เชน เข็มทิศ เทปวัดระยะแผนท่ี

และภาพถา ยทางอากาศ เปนตน
2.2 เครื่องมือศึกษารวมกับแผนที่และภาพถายทางอากาศ เชน เครื่องมือวัดพ้ืนที่

เครื่องมือวัดระยะ เครื่องมือวัดมมุ กลอ งสามมิติ เปนตน
2.3 เครอ่ื งมอื สาํ หรบั แผนที่และแผนผงั ไดแ ก เข็มทิศ โซ เทป การบันทึก
2.4 เครอื่ งมอื สาํ หรับศกึ ษาภมู ศิ าสตร ไดแก เทอรโมมเิ ตอรช นดิ ตาง ๆ เครือ่ งมอื

วัดลม เครื่องมอื วดั ปริมาณนาํ้ ฝน เคร่อื งมือวัดความชื้น เคร่อื งมอื วัดความดันอากาศ

11

กิจกรรมท่ี 1

ใหน กั เรียนเขยี นแผนผังจังหวดั ทผ่ี เู รยี นอาศัยอยู โดยใชเ ครื่องมือทางภมู ศิ าสตรอ ยางงายแลวนาํ เสนอในกลมุ

กิจกรรมท่ี 2

ใหผ เู รยี นเลือกคาํ ตอบทีถ่ ูกตองทส่ี ุดเพียงคาํ ตอบเดยี ว

1. สิ่งใดทแ่ี สดงลกั ษณะของผวิ โลกโดยแสดงบนพน้ื ราบและใชเ ครอ่ื งหมาย แทนสิง่ ทปี่ รากฏบนพ้นื โลก คอื อะไร

ก. แผนที่ ข. ลกู โลก

ค. แผนผงั ง. ภาพถา ยอากาศ

2. ขอ ใดเปนแผนทีแ่ สดงปริมาณ

ก. แผนทแ่ี สดงฤดูกาล ข. แผนท่ีแสดงชนิดของปา ไม

ค. แผนที่แสดงจํานวนประชากร ง. แผนทแี่ สดงลกั ษณะทางธรณี

3. เมือ่ ยนื หันหนาไปทางทิศตะวันตก ทศิ ใต จะอยูทางดา นใด

ก. ดานหนา ข. ดา นซาย

ค. ดานขวา ง. ดา นหลงั

4. สญั ลกั ษณท ีใ่ ชแ ทนท่ีตง้ั เมอื งในแผนที่ จดั เปนสญั ลกั ษณป ระเภทอะไร

ก. สัญลกั ษณท เี่ ปน สี ข. สญั ลกั ษณท ่ีเปน จดุ

ค. สัญลักษณทีเ่ ปนเสน ง. สญั ลักษณท ่เี ปน พ้นื ที่

5. สีเหลืองเปน สญั ลกั ษณแ ทนสิ่งใดในแผนท่ี

ก. ปา ไม ข. ทงุ หญา

ค. เนนิ เขา ง. ไหลทวีป

ใหผ ูเ รยี นศกึ ษาคน ควาหาขอ มูลเกยี่ วกบั หนว ยงาน หรือองคก รตา ง ๆ วา มกี ารนาํ แผนที่มาใชป ระโยชน
อยา งไรบา ง (บอกมา 3 หนว ยงาน)

เรอ่ื งที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติ และวธิ กี ารอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนส่ิงที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติที่อยูรอบตัวเรามีท้ังส่ิงมีชีวิต
เชน คน สัตว พชื และสง่ิ ไมม ชี ีวติ เชน น้ํา อากาศ หิน ดนิ และสง่ิ ท่ีเกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาตเิ หลานี้มีอิทธิพล
ซึง่ กันและกัน

ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึงสงิ่ ตา ง ๆ ท่ีเกิดขึน้ เองตามธรรมชาตแิ ละมนุษย สามารถนํามาใชใหเกิด
ประโยชนต อ การดํารงชีวิต เราสามารถแบง ทรพั ยากรออกเปน 3 ประเภท คอื

1. ประเภทที่ใชแ ลวหมดไป ไดแก แรธาตุ นาํ้ มัน กาซ ธาตุอาหารพชื ในดนิ

12

2. ประเภททใ่ี ชไมห มดแตเ สอ่ื มคณุ ภาพ ไดแ ก ดิน น้ํา อากาศ
3. ประเภทที่ใชแลวหมดไปแตส ามารถหาทดแทนข้ึนมาได ไดแ ก ปา ไม สัตวป า
ทรัพยากรธรรมชาติมีความสําคัญตอความเปนอยูของมนุษยมาก ประเทศไทยอุดมสมบูรณดวย
ทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิด มีปริมาณมากนอยขึ้นอยูกับความแตกตางของสภาพภูมิศาสตรแตละภาค
มนุษยใชทรัพยากรบางอยางเพ่ือความอยูรอดของชีวิต เชน นํ้า อากาศ และทรัพยากรบางชนิดนํามาใช
อุปโภคหรือบรโิ ภค เชน พืชผกั แรธาตุ ปา ไม เปนตน
ประเทศไทยอุดมไปดวยทรพั ยากรธรรมชาติหลายชนิด ปริมาณ และแหลงท่ีปรากฏอาจจะแตกตาง
กันท้ังนข้ี ึ้นอยกู ับสภาพภมู ศิ าสตรท ี่แตกตา งกนั ดว ยทรัพยากรธรรมชาตมิ ีความสาํ คญั ตอ ชีวติ ความเปนอยูของ
มนุษยมาก มนษุ ยตอ งใชท รพั ยากรบางอยา ง เพ่ือความอยูรอดของชีวิต เชน นํ้า อากาศ ทรัพยากรบางอยาง
เพอื่ ความอยูรอดของชวี ิต เชน นํา้ อากาศ ทรพั ยากรบางอยางนํามาใชอปุ โภค หรือบริโภค เชน พชื ผัก แรธาตุ
ปาไม เปน ตน
ทรพั ยากรธรรมชาตสิ าํ คัญในประเทศไทยทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอการดาํ รงชวี ิตของประชากร ไดแ ก

1. ทรพั ยากรดนิ

ประเทศไทยไดช ื่อวา เปนเมืองเกษตรกรรม เปนแหลงอูขาว อูน้ําที่สําคัญของโลกทรัพยากรดิน จึงมี
ความสําคญั ตอประเทศเปน อยา งยง่ิ ลักษณะของดินในประเทศไทย สรปุ ไดด งั นี้

1.1 ดินเหนียว พบทั่วไปในบริเวณราบลุมแมน้ําสายตาง ๆ ซ่ึงมีนํ้าทวมถึงทุกภูมิภาค
เน้ือดินละเอยี ด เหมาะจะทาํ นาขาว และทาํ ไรป อกระเจา

1.2 ดนิ รว น พบท่วั ไปในพ้ืนท่ลี านตะพักลาํ นํา้ ของแมน ํ้าสายตาง ๆ ซึ่งเปนพ้ืนท่ีที่อยูหางจาก
สองฝง แมนํ้าออกไป เปนลกั ษณะที่ราบขั้นบันได และนํ้าทวมไมถึง เนื้อดินเปนสวนประกอบของดินเหนียวและ
ดนิ ทราย ใชป ลกู พืชไร ออ ย ขา วโพด มันสาํ ปะหลงั ฯลฯ

1.3 ดินอินทรียวัตถุ เปนดินท่ีเกิดจากการยอยสลายของพืชและซากสัตวที่เนาเปอยทับถม
เปนชนั้ ๆ พบทีท่ เี่ คยเปน ปา ชายเลนมากอ น (ในปจจบุ นั คอื ปาพรุ) แตมักจะมธี าตุกํามะถนั ปนอยูมาก

1.4 ดินทราย เปน ดนิ ที่มอี งคประกอบของเนอ้ื ทรายมากที่สดุ มคี วามอดุ มสมบูรณคอ นขา งตํา่
พบมากในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในบรเิ วณชายฝงแมนา้ํ และเชิงเขาในภาคอ่ืน ๆ จะพบในพืน้ ทีช่ ายฝง
ทะเล ใชท ําสวนมะพราว และปลูกปาเพือ่ พฒั นาคุณภาพของดิน

2. ทรัพยากรน้าํ

ประเทศไทยมีปริมาณฝนอยูในเกณฑปานกลาง เฉล่ียประมาณปละ 1,675 มิลลิเมตร จัดไดวาเปน
ประเทศท่ีมีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรน้ํามากพอสมควร ทั้งแหลงน้ําบนพื้นผิวดิน (แมน้ําลําคลอง)
และแหลง น้ําใตดิน (นํ้าบาดาล)

แตเน่ืองจากพื้นที่สวนใหญของประเทศมีฝนตกไมสม่ําเสมอตลอดป จึงมักประสบปญหาขาดแคลนน้ํา
ในชวงฤดูแลง โดยเฉพาะน้ําใชในการเกษตร ซงึ่ ประสบปญหาเกอื บทุกพนื้ ทขี่ องประเทศ

13

ภาคท่มี คี วามอดุ มสมบรู ณของทรัพยากรนา้ํ มากท่สี ดุ คอื ภาคกลางเพราะมแี มน า้ํ สายใหญม คี วามยาว
และใหน้ําตลอดปหลายสาย ไดแก แมน้ําเจาพระยา ทาจีน และแมกลอง ตลอดจนแหลงนํ้าใตดินก็นับวามี
ความอดุ มสมบูรณมากวาภาคอ่นื ๆ เชน กัน

สวนภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ประสบปญ หาความไมอดุ มสมบรู ณของแหลง นา้ํ ตามธรรมชาติมากทสี่ ดุ
ในฤดแู ลงจะขาดแคลนนาํ้ ใชในการอปุ โภค บรโิ ภค และการเพาะปลูก บางพ้นื ท่ีไดช่ือวาประสบปญหาภัยแลง
ซาํ้ ซาก

แมจะมีแมน้ําชี และแมน้ํามูล ซึ่งเปนแมน้ําสายใหญและมีความยาวมากของภาค แตปริมาณนํ้า
ในฤดแู ลง กลับมนี อ ย ไมส ามารถใชประโยชนไดม ากนัก ย่ิงแหลงน้ําใตดินมีปญหาดานคุณภาพ เน่ืองจากมีแร
หนิ เกลือ (เกลอื สินเธาว) แทรกอยใู นช้ันหนิ ทว่ั ไป จึงทาํ ใหแหลงนาํ้ บาดาลสว นใหญ มรี สกรอยเคม็ ใชประโยชน
ไดน อ ย

ในปจ จบุ นั มกี ารนาํ นา้ํ มาใชกนั มากโดยเฉพาะภาคกลาง กรุงเทพฯ และปริมณฑล เพราะมีการขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ อยางกวางขวาง เชน บา นจดั สรร โรงงานอตุ สาหกรรม ฯลฯ ในขณะที่การผลิตนํ้าประปาของรัฐ
ยังกระจายไมท ั่วถึงดพี อ

ดังนัน้ เมื่อมีการขดุ เจาะนํานาํ้ บาดาลมาใชกนั เพ่ิมมากขน้ึ ทาํ ใหเกิดปญ หาแผน ดินทรุด เนอื่ งจากแหลง
น้าํ ใตด ินมกั อยใู นชองวา งหรือรอยแตกของช้นั หินใตด ินทงั้ สนิ้ เมือ่ นําน้ํามาใชกันมาก ๆ จึงเกิดเปนโพรงใตดิน
และเกิดการทรดุ ตัวลงในที่สดุ

3. ทรัพยากรปา ไม

ในปจจุบัน ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปาไมเหลืออยูเพียงรอยละ 25 ของพ้ืนที่ประเทศหรือประมาณ
131,485 ตารางกิโลเมตร (พ.ศ. 2547)

ลกั ษณะของปาไมในประเทศไทย แบง เปน 2 ประเภทใหญ ๆ ตามสภาพภมู ปิ ระเทศ ดังน้ี
1. ปา ไมไมผลดั ใบ เปนปา ไมท ข่ี ้ึนในเขตอากาศรอนชื้น แบบมรสมุ เขตรอน มฝี นตกชุกเกอื บ

ตลอดป มคี วามชืน้ สูง ทําใหมใี บเขียวชอมุ ตลอดปเ หมอื นไมผลัดเปล่ียนใบ โดยมากจะพบในพื้นที่ภาคใตและ
ภาคตะวนั ออก

ปาไมผ ลัดใบ แบงออกเปน 5 ชนดิ ยอย ๆ ดังนี้
1.1 ปา ดงดิบ มีตน ไมข น้ึ หนาทบึ ทง้ั ไมยนื ตน ใหญแ ละไมย นื ตน เลก็
1.2 ปา ดิบเขา พบในพื้นท่ีสูงตงั้ แต 1,000 เมตรข้นึ ไป เกือบทุกภาค เปนปา ทีใ่ หก ําเนดิ ตนนาํ้

ลาํ ธาร
1.3 ปา สนเขา พบในพน้ื ท่สี ูงตัง้ แต 700 เมตรข้นึ ไป เกอื บทกุ ภาคเชน กัน มีไมส นนานาชนดิ
1.4 ปาพรุ เปน ปาท่ีพบบรเิ วณชายฝง ทะเลของภาคใต มที ั้ง ไมย นื ตน ไมพุม ไมเ ลอ้ื ย

และพืชลมลกุ

14

1.5 ปาชายเลน เปนปาทขี่ ้ึนบรเิ วณชายทะเลที่เปน โคลนเลนโดยเฉพาะบรเิ วณปากแมน้ํา
มีความสําคัญตอระบบนิเวศวิทยา หรือแหลงท่ีอยูอาศัยและแหลงเพาะพันธุของสัตวนํ้า ไมที่สําคัญคือ
ไมโกงกาง ลําพู จาก เปนตน

2. ปาไมผลัดใบ พบในเขตภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอนท่ีมีฝนตกปละ 4 เดือน
ในฤดแู ลง ไมป ระเภทนจ้ี ะผลัดใบพรอมกันเกือบหมดทัง้ ตน พบในพนื้ ท่ีราบและพน้ื ท่สี งู ไมเกิน 1,000 เมตร
แบงออกเปน 2 ชนดิ ดงั น้ี

2.1 ปาเบญจพรรณ พบในเกือบทุกภาคของประเทศ ไมสําคัญท่ีมีคาทางเศรษฐกิจ ไดแก
ไมสกั ไมป ระดู ไมแดง ไมย าง ฯลฯ

2.2 ปาแดง ปาโคก หรือ ปาแพะ เปนปา โปรง พบมากในบรเิ วณที่ราบหรอื เนนิ เขาเตี้ย ๆ
ซ่ึงเปนพื้นที่สีแดง โดยเฉพาะในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ คือ ไมเต็งรัง
ไมพะยอม ฯลฯ

4. ทรัพยากรแรธ าตุ

ประเทศไทยมีแหลงแรธาตุอุดมสมบรู ณก ระจายอยูทว่ั ไป โดยเฉพาะบรเิ วณเขตเทือกเขาสงู
ในภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต ในทีน่ ้ี จาํ แนกแรธาตไุ ดเปน 3 ชนิด ดงั นี้

4.1 แรโลหะ ไดแ ก ดีบกุ ทงั สเตน ตะก่ัว สงั กะสี ทองแดง เหลก็ พลวง และแมงกานสี
4.2 แรอ โลหะ ไดแก ยปิ ซัม หินปูน ดนิ มารล (ดนิ สอพอง) และรตั นชาติ
4.3 แรเช้อื เพลิง ไดแก นํา้ มันดิบ กา ซธรรมชาติ และถา นหนิ (ลกิ ไนต)

5. ทรัพยากรสตั วป า

สตั วป า อาศยั อยูใ นปาตามโพรงไม ซอกหนิ ถ้ํา สัตวเ หลา น้ีตองพ่ึงพาหากินดวยตนเอง ปรับตัวใหเขา
กับสง่ิ แวดลอ ม เชน เสอื ชา ง กวาง หมี แรด ลิง คาง เปนตน ปจจุบันสัตวปาถูกคุกคามมากขึ้นทําใหสัตวปา
บางชนิดสูญพันธไป ประเทศไทยไดมีพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาข้ึน เม่ือวันท่ี 26 ธันวาคม
2530 ดงั น้นั รัฐบาลจึงกาํ หนดใหว ันท่ี 26 ธันวาคม ของทุกปเปน “วันคุมครองสัตวป า แหงชาติ”

ทรัพยากรและการแลกเปลย่ี นทรพั ยากร

เน่ืองจากประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิดของแตละทองถิ่น
เมื่อมีมากในทอ งถ่ินก็ดเู หมือนวาเปน ของไมม ีประโยชนหรือไมมีคุณคา แตในขณะเดียวกันทองถิ่นอื่นมีความ
ตองการจงึ ทาํ ใหม กี ารแลกเปลย่ี นทรพั ยากรระหวางทองถิ่นเกดิ ขึน้ ตวั อยา งขา งลา งนี้เปนทรัพยากรธรรมชาติ
ท่มี ีอยใู นแตละภาคและนาํ ไปสกู ารแลกเปลยี่ นทรัพยากรระหวา งทองถนิ่

ภาคเหนอื มีลนิ้ จี่ ลาํ ไย สม เขียวหวาน และผักผลไมเมืองหนาว เชน บร็อคโคล่ี เซเลอรี่ สตรอวเบอรร่ี
ลกู ทอ ลกู พลับ สาล่ี เปนตน

ภาคใต มที เุ รียน เงาะ ลองกอง มงั คุด และสัตวน้ําเค็ม เชน ปลา กุง หอย ปลาหมึก และอื่น ๆ เชน
มะพราว แรธ าตุตา ง ๆ

15

ภาคกลาง ปลูกขา ว ทาํ สวนผกั - ผลไม เชน สมโอ ชมพู มะมว ง ขนุน ขา วโพด ออย ผกั ตา ง ๆ และ
เลยี้ งสตั ว เชน สกุ ร เปด ไก ปลานาํ้ จืด เปนตน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปลูกถั่ว งา ขาวโพดออน มันสําปะหลัง ปอ ฝาย และสัตวเลี้ยง เชน โค
กระบือ สกุ ร เปนตน

ผลกระทบท่เี กดิ จากการใชทรพั ยากร

ทรัพยากรธรรมชาตเิ มื่อนํามาใชมากเกนิ ไปโดยไมมีการสรางการทดแทนก็จะทําใหเกิดความสูญเสีย
หรอื ถกู ทาํ ลายได เชน การตัดถนนเพอ่ื ใชใ นการคมนาคม หรอื การสรางเขื่อนกักเก็บน้ําจะตองใชเนื้อท่ีบริเวณ
พน้ื ดินจํานวนมหาศาล ทาํ ใหพ้ืนดินท่ีเปนปาไมถูกโคนทําลายลง ทําใหปาไมลดลง สัตวปาลดลงเพราะพื้นที่ปา
ถูกทําลายทาํ ใหสภาพอากาศท่ีชมุ ชน้ื อดุ มสมบูรณ เกดิ ความแหงแลง ฤดูกาลผนั แปรหรือฝนตกไมตองตามฤดูกาล
หรือตกนอ ย หรอื มีการใชพ นื้ ดินเพือ่ การเพาะปลูกมากข้นึ มกี ารทําลายปาเพ่ือการเพาะปลูก นอกจากนี้การใช
สารเคมีในการเพาะปลูกเกินความจําเปน ทําใหดินที่อุดมสมบูรณเส่ือมสภาพเมื่อทรัพยากรเส่ือมลง
สภาพสง่ิ แวดลอมก็เส่ือมไปดว ย

ส่ิงแวดลอ ม
สง่ิ แวดลอม หมายถงึ ส่งิ ตา ง ๆ ทั้งหลายที่อยรู อบตวั เราทั้งสิ่งท่ีมีชีวิตและส่ิงที่ไมมีชีวิต ส่ิงท่ี

เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ สิ่งท่ีมนุษยสรางขึ้น อาจมีประโยชนหรือไมมีประโยชนตอมนุษยก็ได เราแบง
สง่ิ แวดลอ มเปน 2 ประเภทคือ

1. สิง่ แวดลอมตามธรรมชาติ คือสงิ่ แวดลอ มทเ่ี กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ ไดแก คน พืช สัตว
ดนิ นา้ํ อากาศ ฯลฯ สง่ิ แวดลอ มนี้แบงเปน 2 ชนดิ ไดแ ก

1.1 สิง่ แวดลอ มทีม่ ีชีวิต เชน คน สัตว พชื ฯลฯ
1.2 ส่งิ แวดลอ มที่ไมมีชีวิต เชน ดนิ น้าํ อากาศ ภูเขา ฯลฯ
2. สิ่งแวดลอมทม่ี นษุ ยส รา งขึน้ แบง เปน 2 ชนิด คอื
2.1 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ เปนสิ่งที่มนุษยสรางข้ึนเปนวัตถุ สามารถมองเห็นได
ชดั เจน เชน อาคารบา นเรอื น ยานพาหนะ เสื้อผา ฯลฯ
2.2 สิ่งแวดลอมทางสังคม เปนสิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสรางข้ึน แตไมใชวัตถุจึงไมอาจ
มองเหน็ ได แตเปนส่งิ ทมี่ ผี ลตอ พฤตกิ รรมท่ีแสดงออก เชน ประเพณีวัฒนธรรม กฎหมายขอ บังคับ เปนตน

วิธีการอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ

เนื่องจากมีการทําลายทรัพยากรธรรมชาติจากการกระทําของมนุษย และการกระทํานั้นมีความ
รวดเรว็ และรุนแรงเกินกวา ระบบธรรมชาติจะฟน ฟดู ว ยตวั เอง ดงั นั้นเปน สิง่ จาํ เปนเรง ดวนทต่ี อ งการรณรงค
ใหทุกคนในสังคมชวยกันอนุรักษ และมีความสํานึกอยางจริงจังกอนท่ีจะสงผลกระทบเลวรายไปกวาน้ี
โดยคํานึงถงึ สิ่งตอ ไปนี้

16

1. ความสญู เปลา อนั เกดิ จากการใชท รัพยากรธรรมชาติ
2. ใชและรักษาทรพั ยากรธรรมชาติดวยความระมัดระวัง และตองใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
และคุมคาที่สุด
3. ใชแลวตอ งมีการทดแทน
4. ตองควบคุมอัตราการเกดิ และการเปลี่ยนแปลงของประชากรใหสอดคลอ งเหมาะสมกนั
5. ใชทรพั ยากรอยางมปี ระสทิ ธภิ าพและหาสง่ิ ใหม ๆ ใชอยา งพอเพียง
6. ใหการศึกษาใหประชาชนตระหนักและเขาไปมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอม

กจิ กรรม

1. ทรพั ยากรธรรมชาติหมายถงึ อะไร อธิบายและยกตัวอยางมา 3 ชนิด
2. ใหผเู รยี นยกตวั อยางวธิ กี ารอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอมมา 3 ขอ
3. ใหผเู รยี นแบง กลมุ ศึกษา คนควา ผลกระทบทเี่ กดิ จากการใชและการเปล่ียนแปลง คือ
ส่งิ แวดลอม ธรรมชาติ และทรพั ยากรในทอ งถิน่ แลว นํามาแลกเปลย่ี นเรียนรรู ว มกัน
4. ปจ จบุ ัน ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤตกิ ารณท รัพยากรธรรมชาติอยางไร
บอกมา 3 ขอ

เรือ่ งที่ 5 ศักยภาพของประเทศไทย

5.1 ศักยภาพของประเทศไทย
ศักยภาพ หมายถงึ อาํ นาจหรอื คุณสมบัตทิ มี่ แี ฝงอยูใ นสิ่งตา ง ๆ อาจทําใหพัฒนา หรือใหปรากฏเห็น

เปนสิ่งทป่ี ระจักษได กระทรวงศกึ ษาธิการไดม ีนโยบายในการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความเปนอยูท่ดี ีสรา งความมัง่ คงั่
ทางเศรษฐกิจและความม่ันคงทางสังคมใหกับประเทศโดยการนําศักยภาพของประเทศไทยใน 5 ดาน
มาใชป ระโยชนไดแก

1) ดา นทรัพยากรธรรมชาติ
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยูอยางมากมาย ทรัพยากรธรรมชาติ เปนสิ่งท่ี
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนําไปใชประโยชนเพื่อการดํารงชีวิต ประโยชนดานเศรษฐกิจ
และการพักผอนหยอนใจ จําแนกทรัพยากรธรรมชาติแบงเปน 4 ชนิด คือ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรนํ้า
ทรัพยากรปาไม และทรัพยากรแรธ าตุ

17

2) ดานภูมอิ ากาศ
ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอน สภาวะอากาศโดยทั่วไปจึงรอนอบอาวเกือบตลอดป อุณหภูมิเฉล่ีย
ตลอดปของประเทศไทยมีคาประมาณ 27 องศาเซลเซียส อยางไรก็ตามอุณหภูมิจะมีความแตกตางกันไป
ในแตล ะพื้นที่และฤดูกาล พ้ืนท่ีท่ีอยูลึกเขาไปในแผนดินบริเวณตั้งแตภาคกลาง และภาคตะวันออกตอนบน
ขึ้นไปจนถึงภาคเหนือจะมีอุณหภูมิแตกตางกันมาก ระหวางฤดูรอนกับฤดูหนาวและระหวางกลางวัน
กบั กลางคนื โดยในชว งฤดรู อ นอณุ หภูมสิ งู สุดในตอนบา ย ปกติจะสูงถึงเกือบ 40 องศาเซลเซียส หรือมากกวา
นั้นในชวงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม โดยเฉพาะเดือนเมษายนจะเปนเดือนท่ีมีอากาศรอนจัดที่สุดในรอบป
สวนฤดูหนาวอุณหภูมติ ํา่ สุดในตอนเชา มืดจะลดลงอยูในเกณฑหนาวถึงหนาวจัด โดยเฉพาะเดือนธันวาคมถึง
มกราคมเปน ชว งท่มี อี ากาศหนาวมากที่สดุ ในรอบป ซงึ่ ในชวงดังกลาวอุณหภูมิอาจลดลงต่ํากวาจุดเยือกแข็งได
ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนอื บรเิ วณพนื้ ทซี่ งึ่ เปน เทอื กเขาหรือบนยอดเขาสูง สําหรับพื้นที่ซึ่งอยู
ตดิ ทะเล ไดแ ก ภาคตะวนั ออกตอนลา งและภาคใต ความผนั แปรของอุณหภมู ใิ นชวงวนั และฤดูกาลจะนอยกวา
โดยฤดูรอนอากาศไมรอนจัดและฤดูหนาวอากาศไมหนาวจัดเทาพื้นที่ซึ่งอยูลึกเขาไปในแผนดิน ลักษณะ
ภมู ิอากาศจําแนกเปน 3 ฤดู คอื

ฤดูฝน จะเร่มิ ปลายเดอื นพฤษภาคม และสิ้นสุดปลายเดอื นตลุ าคม
ฤดหู นาว จะเริม่ เดอื นตุลาคมไปสิน้ สุดเดอื นกมุ ภาพันธ อากาศหนาวจัด จะมีอุณหภูมิต่ํากวา 8.0
องศาเซลเซยี ส อากาศหนาว มีอณุ หภมู ริ ะหวา ง 8.0 - 15.9 องศาเซลเซยี ส และอากาศเยน็ มีอุณหภูมิระหวาง
16.0 - 22.9 องศาเซลเซียส
ฤดูรอน จะเริ่มกลางเดือนกุมภาพันธ ไปส้ินสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม อากาศรอน จะมี
อณุ หภมู ริ ะหวา ง 35 - 39.9 องศาเซลเซยี ส อากาศรอ นจดั มอี ุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสขึน้ ไป
3) ดา นภูมิประเทศ และทาํ เลทต่ี ้ัง
ประเทศไทย มีพ้ืนที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 321 ลานไร) มีลักษณะคลายขวาน
โดยภาคใตเ ปน ดามขวาน แนวดานตะวันตกเปนสันขวาน ภาคเหนือเปนหัวขวาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวนั ออกเปน คมขวาน จากลักษณะดังกลาว ความยาวจากเหนือสุดถึงใตสุด วัดจากอําเภอแมสาย
จังหวดั เชียงรายไปจนถงึ อําเภอเบตง จังหวัดยะลา มีความยาว 1,650 กิโลเมตร สวนท่ีกวางสุดจากตะวันออก
ไปตะวนั ตก วัดจากอาํ เภอสริ ินธร จงั หวัดอบุ ลราชธานี ไปยังอําเภอสงั ขละบุรี จงั หวัดกาญจนบรุ ี เปนระยะทาง
800 กิโลเมตร บริเวณแผนดินสวนที่แคบที่สุดของประเทศต้ังอยูระหวางแนวชายแดนกัมพูชากับพ้ืนที่
บานโขดทราย ตําบลหาดเล็ก อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด มีระยะทางเพียง 450 เมตร และสวนพื้นท่ี
บา นวงั ดวน ตําบลหวยทราย อําเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ วัดจากชายแดนประเทศพมาจนถึงทะเล
อาวไทย มีระยะทาง 10.6 กิโลเมตร สําหรับสวนท่ีแคบที่สุดของแหลมมลายู (แผนดินระหวางอาวไทยและ
ทะเลอันดามัน) อยูในพ้ืนที่ของจังหวัดชุมพรและระนอง มีระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร เรียกสวนนี้วา
"คอคอดกระ"

18

สภาวิจัยแหงชาติไดแบงประเทศไทยออกเปน 6 ภูมิภาค ตามลักษณะธรรมชาติ รวมไปถึงธรณี
สันนิษฐานและทางนํ้า รวมไปถึงรูปแบบวัฒนธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแก ภาคเหนือ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันตก และภาคใต

4) ดา นศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ประเทศไทย เปนสังคมท่ีไมเหมือนท่ีใดในโลก ผูคนมีความเอื้อเฟอเผ่ือแผ มีจิตใจโอบออมอารี
มีความสามัคคีในหมูคนทุกเช้ือชาติ ทุกศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย เปนเอกลักษณของชาติ
ท่คี นไทยทกุ คนภาคภมู ใิ จ เปนความงดงามท่ีสืบทอดอันยาวนาน

ศลิ ปะ เชน ภาพฝาผนังตามวัดวาอาราม พระราชวัง เครอื่ งประดบั และเครอ่ื งใชท ว่ั ไป
การแสดงแบบไทย ลิเก โขน ราํ วง ดนตรีไทย เพลงไทย ฯลฯ

วัฒนธรรม เชน การแตงกาย ภาษาไทย อักษรไทย อาหารไทย สมุนไพรไทย มารยาทไทย
การไหว การเคารพผูอาวโุ ส ฯลฯ

ประเพณี เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณีลอยกระทง ประเพณีชักพระ ประเพณีแหเทียน
เขา พรรษา ฯลฯ

5) ดานทรพั ยากรมนุษย
คนไทยนบั เปนทรัพยากรท่ีมีคา ทส่ี ุดของประเทศ มศี ักยภาพท่ีแตกตา ง หลากหลาย มีความรู
ความเชี่ยวชาญในทุกสาขาอาชีพ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค เชน ดานการแพทย วิศวกรรม การเกษตร
นักออกแบบ ตลอดจนภูมิปญญาตาง ๆ ฯลฯ ประกอบกับ บุคลิกลักษณะนิสัยของคนไทยท่ีมีความสุภาพ
ออนนอ มถอ มตน ยม้ิ แยมแจม ใส มคี วามสามารถในการปรบั ตัวไดดี
รัฐบาลไดต ระหนักถึงคุณคาที่มีอยูของศักยภาพท้ัง 5 ดาน ดังกลาวจึงไดสงเสริมใหประชาชนไดนํา
ศักยภาพดงั กลาว ไปใชป ระโยชนเ พ่อื การมรี ายไดและสรางอาชีพทมี่ ่ันคง

5.2 กระบวนการวเิ คราะหศกั ยภาพชมุ ชนทองถ่ิน
1. สํารวจรวบรวมขอมูลชุมชน
1.1 ขอ มลู ทีส่ าํ รวจ ประกอบดวย
1) ขอมูลประชากร เชน จํานวนประชากร ครอบครัว ระดับการศึกษาของคนใน

ชุมชน ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ
2) ขอมูลดานเศรษฐกิจ เชน อาชีพหลัก อาชีพเสริม รายรับ รายจาย ของครอบครัว

ชมุ ชน รานคา ในชมุ ชน การบรโิ ภคสินคา สถานประกอบการ การใชป ระโยชนจากท่ีดิน
3) ขอมูลดานประเพณีและวัฒนธรรม เชน ความเช่ือ ศาสนา ประเพณีทองถิ่น

การละเลน กฬี าพน้ื เมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ
4) ขอมลู ดา นการเมอื งการปกครอง เชน บทบาทผูนํา โครงสรางอํานาจการปกครอง

การมสี ว นรวมของคนในชุมชน

19

5) ขอมูลดานสังคม เชน โรงเรียน สถานีอนามัย แหลงเรียนรูในชุมชน กลุมตาง ๆ
ในชมุ ชน ความสมั พนั ธข องคนในชมุ ชน

6) ขอมูลดานระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม เชน ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น
สภาพดิน แหลงน้ํา สภาพอากาศ วตั ถุดิบ แหลงทอ งเทยี่ วในชุมชน ทองถิ่น

1.2 วิธีการสาํ รวจขอมลู
การไดมาของขอมูลดังกลาวขางตน สามารถดําเนินการไดหลายวิธี ข้ึนอยูกับวัตถุประสงค
ของการสํารวจ ลักษณะของขอมูลที่ตองการ เชน การสังเกต การสัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การสนทนากลุม
การศกึ ษาจากเอกสาร โดยมีเทคนคิ วธิ ีการดังนี้

1) การสังเกต เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยผูสังเกตเฝาดูพฤติกรรมจริงหรือ
เหตกุ ารณจ ริงโดยผูสังเกตอาจเขาไปทํากิจกรรมรวมในเหตุการณ หรือไมมีสวนรวมโดยเฝาดูอยูหาง ๆ ก็ได
การสังเกตมที ั้งแบบมโี ครงสรางกับแบบไมมโี ครงสรา ง การสังเกตแบบมีโครงสรางตองเตรียมหัวขอ ประเด็น
ทต่ี อ งใชใ นการสังเกตลวงหนา แลว บนั ทกึ รายละเอียดสิ่งทสี่ ังเกตตามประเด็นท่กี ําหนด สว นการสังเกตแบบ
ไมม ีโครงสรางเปนการสงั เกตไปเรือ่ ย ๆ ตามสิ่งที่พบเหน็

2) การสัมภาษณ เปนวิธีเก็บขอมูลโดยผูสัมภาษณกับผูใหสัมภาษณพบปะกัน
การสมั ภาษณม ที ั้งแบบมีโครงสรางและแบบไมม โี ครงสรา ง การสัมภาษณแ บบมโี ครงสรา งผูส ัมภาษณจะเตรยี ม
คําถาม เตรยี มลําดบั คาํ ถามไวลว งหนา สวนการสมั ภาษณแ บบไมมีโครงสรา งเปนการพูดคุยไปเรื่อย ๆ จะถาม
คําถามใดกอนหลงั กไ็ ด

3) การใชแบบสอบถาม ผูเก็บขอมูลจะตองเตรียมแบบสอบถามไวลวงหนา โดยมี
คําช้แี จง รายการขอ มลู ท่ตี องการ

4) การสนทนากลุม เปนการเกบ็ รวบรวมขอมูลจากวงสนทนา โดยผูรวมวงสนทนา
เลือกมาจากผูที่มีความรูในเร่ืองน้ัน ๆ เพื่อใหไดขอมูลตรงตามประเด็นท่ีตองการ และมีผูจดบันทึกขอมูล
จากการสนทนาพรอมปฏิกิริยาของผูรวมสนทนาและบรรยากาศของการสนทนา แลวสรุปเปนขอสรุปของ
การสนทนาแตล ะครง้ั

5) การศึกษาจากเอกสาร เปน การเก็บรวบรวมขอมูลท่ีมีผูรวบรวมเรียบเรียงไวแลว
ในลักษณะของเอกสาร โดยพิจารณาเลอื กใชใ หเหมาะสม

2. วิเคราะหศ ักยภาพของชุมชน ทอ งถ่ิน
เมื่อดําเนินการสํารวจขอมูลแลว นําขอมูลที่ไดจากการสํารวจ มาชวยกันวิเคราะห โดยนํา

ขอมูลท่ีไดม าจดั หมวดหมู เรยี งลาํ ดับ (เชงิ คุณภาพ) คํานวณคา ตัวเลข (เชิงปรมิ าณ) ตีความ สรปุ และนําเสนอ
ในรปู แบบตา ง ๆ ทส่ี ามารถสอ่ื ความหมายได เชน ขอความ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ และทส่ี ําคญั ในการ
วิเคราะหขอ มูลชุมชน คือ ประชาชนในชมุ ชนตองมีสว นรวมในการวิเคราะห ใหขอคิดเห็น แลกเปล่ียนเรียนรู
รว มกนั

ตวั อยาง ผลการวิเคราะหศักยภาพชุมชน บานปาเหมี้ยง โดยการพิจารณา จุดเดน จุดดอย
(ปจจัยจากภายในชุมชน ทองถิน่ ) โอกาส และอปุ สรรค (ปจจัยจากภายนอกชมุ ชน ทอ งถิ่น)

20

จุดเดนของชุมชน มดี งั น้ี
ดานทรัพยากรธรรมชาติ มีปาไมอุดมสมบูรณ เปนแหลงตนนํ้าลําธาร มีลําธารไหลผานหมูบาน
เหมาะสาํ หรับการปลูกเหมย้ี ง (ชาพันธุอ สั สมั ) จงึ มีวิถชี วี ิตที่เปน เอกลกั ษณ สบื เนอื่ งกันมานาน 200 ป ดวยการ
ประกอบอาชีพทาํ สวนเหมี้ยง
ดา นภมู ิอากาศ มีอากาศหนาวเย็นเกือบตลอดป อณุ ภมู สิ ูงสดุ 25 องศา
ดานภมู ปิ ระเทศ และทําเลทต่ี ัง้ เปนหมบู า นขนาดเล็ก หางจากจังหวัดลําปาง ประมาณ 81 กิโลเมตร
เปน หมบู านรอยตอ ระหวา งจงั หวดั ลําปาง และจงั หวัดเชียงใหม ต้ังอยบู นภเู ขา อยูใ นเขตพนื้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบ
ของอทุ ยานแหง ชาติแจซอน มีทวิ ทัศนส วยงาม
ดานศิลปวัฒนธรรม และประเพณี เปนชุมชนเกาแกมีอายุกวา 200 ป วิถีชีวิตอาชีพของคนในชุมชน
ผกู พนั กับการเกบ็ เหม้ยี ง หยุดเก็บเหมี้ยงทุกวันพระ มีตํารายาโบราณท่ีบันทึกบนกระดาษพับสาท่ีเขียนเปน
ภาษาลา นนา ประเพณีแหโคมสาย การฟอนเจงิ เทศกาลดอกเสี้ยวบาน
ดานทรัพยากรมนุษย คนในชุมชนมีอัธยาศัยไมตรี แกนนําชุมชนเขมแข็ง มีภูมิปญญาทองถิ่นดาน
หมอเมือง (สมุนไพร) กลุมตาง ๆ มคี วามเขมแข็ง เชน กลุมแมบ า น กลมุ เยาวชน กลุมสหกรณผ ูใ ชไฟฟา พลังนา้ํ
จุดดอย การประกอบอาชีพทําสวนเหมี้ยง ทําไดเพียง 7 เดือนในรอบป อีก 5 เดือน จะวางงาน
สภาพพ้นื ทเ่ี ปนภเู ขาสูงไมสามารถทาํ นาได ตองซื้อขาวจากภายนอก การคมนาคมติดตอกับภายนอกคอนขาง
ลาํ บาก รายไดห ลักของชุมชนจากการขายเหมยี้ งอยางเดียว เคร่ืองอปุ โภคบริโภคตอ งซอ้ื จากภายนอกท้งั หมด
โอกาส สถานการณปจจุบัน ซึ่งเปนปจจัยภายนอก คือ กระแสการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ การจัดกิจกรรม
การทอ งเท่ียวในชมุ ชน เพื่อศึกษาวัฒนธรรม วิถีชีวิตของทองถิ่น ตลอดจนพักผอน และการผจญภัย โดยพัก
คางคนื กบั ชาวบานหรือทเี่ รียกกันวา โฮมสเตย (Home Stay) ไดร ับความนิยมเพิ่มขึน้
อปุ สรรค การตดิ ตอ สอื่ สารกบั ภายนอกยากลาํ บาก ไมม สี ญั ญาณโทรศัพท
3. นําผลการวิเคราะหศกั ยภาพชุมชนไปใชประโยชนใ นการเชอื่ มโยงสงู านอาชีพ
จากตวั อยา งการวเิ คราะหศักยภาพของชุมชนบา นปา เหมย้ี ง สามารถเชอ่ื มโยงเขา สูก ารสรา งอาชพี ใหม
คือ อาชีพโฮมสเตย (Home Stay) ซึ่งเปนรูปแบบการทองเที่ยวอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถตอบสนองความ
ตองการของนกั ทองเท่ียว และสามารถเสรมิ สรางรายไดใ หกบั คนในชุมชน และเปนอาชพี ทีจ่ ดั อยใู นกลุมอาชีพ
ดานการบริหารจัดการและการบริการ ซึ่งเปนหน่ึงใน 5 กลุมอาชีพ ตามนโยบายของรัฐบาล ไดแก
1) เกษตรกรรม 2) อุตสาหกรรม 3) พาณิชยกรรม 4) ความคิดสรางสรรค และ 5) การบริหารจัดการและ
การบริการ

กจิ กรรมเสริม
ใหผเู รียนบอกศักยภาพชุมชนชนของตนเองที่เห็นวาสามารถเชือ่ มโยงไปสูการประกอบอาชีพได

แลว นาํ มาแลกเปลย่ี นเรยี นรรู วมกัน

…………………………

21

บทท่ี 2
ประวตั ิศาสตรชาติไทย

สาระสําคญั

ชาติไทยมีบรรพบุรุษท่ีเสียสละเลือดเน้ือเพ่ือสรางอาณาจักรใหคนไทยไดมีท่ีอยูอาศัย มีที่

ทํากนิ อุดมสมบรู ณแ ละมศี กั ดศ์ิ รขี องความเปนชาติไทยถึงปจจบุ ัน นาน 700 ป โดยมีพระมหากษัตริยที่มีความ
ปรชี าชาญ ท้งั ดา นการรบ การปกครอง และการพฒั นาดานตาง ๆ ท่ีคนไทยทุกคนตองตระหนัก และรวมกัน
รกั ษาประเทศชาตใิ หอ ยอู ยา งม่ันคง รมเยน็ เปนสขุ ตลอดไป

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง

1. อธิบายขอมลู เก่ียวกับประวัติศาสตรได

2. ระบสุ ภาพความเปลย่ี นแปลงทางประวัตศิ าสตรได
3. เกิดความตระหนกั และสามารถนาํ ความรูเ กย่ี วกบั ประวัตศิ าสตรไ ปประยกุ ตใ หทันกบั
สภาพการเปล่ียนแปลงกบั สภาพชมุ ชน สงั คมและความม่นั คงของประเทศชาติได

ขอบขา ยเนือ้ หา ความหมายความสาํ คัญของประวัตศิ าสตร
ประวัตศิ าสตรค วามเปนมาของชนชาตไิ ทย
เรื่องที่ 1 ประวัติและผลงานของบรรพบุรษุ ไทยทม่ี ีสวนปกปองและสรา งความ
เร่ืองที่ 2 เจรญิ ใหแ กชาตบิ า นเมอื ง
เรือ่ งท่ี 3

22

เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของประวตั ิศาสตร

ความหมาย ความสาํ คัญของประวตั ศิ าสตร
ความหมาย

ประวัติศาสตร หมายถึง เร่ืองราวหรือประสบการณในอดีตที่เกิดข้ึนจากการกระทําของมนุษย
ทงั้ เร่ืองราวที่เก่ยี วกบั แนวคดิ พฤติกรรม สิง่ ประดษิ ฐ มีววิ ฒั นาการทม่ี า ซงึ่ มนี กั ประวตั ิศาสตรไดศึกษาคนควา
ใหร ูเรื่องราวที่เกิดข้ึนตามวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร

ตวั อยา ง ประวัติศาสตรท่เี กีย่ วกับแนวความคิดของคนในอดตี เชน การฝงศพของคนจีนที่มีการฝงคน
เปนไปพรอ มกับคนตาย เพราะเชอื่ วา ผูต ายจะมีคนคอยรบั ใชหลังการตาย การขดุ คน พบบรเิ วณท่ฝี ง ศพของคน
โบราณมกั พบอุปกรณ เครอื่ งใชตาง ๆ ใกลบ ริเวณนน้ั ๆ เพราะเกิดจากความเช่ือวาผตู ายจะไดม ีของใช เปน ตน

ตวั อยาง ประวตั ิศาสตรเกยี่ วกับพฤติกรรม เชน ในสมัยยุคดึกดําบรรพท่ีพบวา คนสมัยน้ันยังชีพดวย
การลา สัตวเปนอาหาร เพราะพบอาวธุ สาํ หรับลาสัตวในบริเวณที่เปน ทอ่ี ยูอาศัยของคนสมยั น้ัน

ตวั อยา ง ประวตั ศิ าสตรท่ีเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ เชน อาวุธโบราณ เคร่ืองถวยชาม ภาพเขียนตามผนัง
ทเ่ี ปน การสะทอนเรื่องราว วิถีชวี ติ ของคนสมยั ตาง ๆ

ประวตั ศิ าสตร
ความสําคัญของประวัตศิ าสตร

ประวตั ศิ าสตรม คี วามสําคัญมากกับชีวติ เราคนไทย นอกจากจะใหเราไดเรียนรูเร่ืองราวของตนเองวา
ไดมคี วามเปน อยมู าอยางไร และมเี หตกุ ารณใดเกดิ ขน้ึ บางในอดีต มีพัฒนาการ หรือวิวัฒนาการในแตละดาน
มาอยางไร ผูศ ึกษาประวัติศาสตรย ังไดร บั ประโยชนดังน้ี

1. เปน ผมู ีเหตุ มีผล เพราะการศกึ ษาประวัตศิ าสตรตองคิด และหาหลกั ฐานเหตุผลประกอบ
เพราะอธบิ ายสิ่งทพ่ี บอยางสมเหตสุ มผล

2. เปนผทู ่เี หน็ คณุ คาของประวตั ิศาสตร เขา ใจเร่ืองราวตาง ๆ ทั้งที่เปนของประเทศไทยเรา
หรือตางประเทศได

3. เปนคนทีล่ ะเอยี ดรอบคอบ เพราะการศึกษาประวตั ศิ าสตร ตองดูทุกรายละเอียดไมวาจะ
เปน หลักฐานรอ งรอยที่เปนวัตถุ สภาพแวดลอ ม หรือขอมลู ทางประวัตศิ าสตรอื่น ๆ กอ นทีจ่ ะสรปุ วา เกิดอะไรข้ึน

4. ทําใหม คี วามเขาใจเพ่ือนมนุษย เพราะจากการศึกษาเรื่องราวของชนชาติตาง ๆ ทําใหรู
และเขาใจกนั อยา งลกึ ซงึ้

5. เปนการถายทอดความรูที่ไดศึกษามาใหกับผูใกลเคียงและคนรุนตอไปได ทําให
ประวตั ิศาสตรไ มสูญหายไป

23

ขอ มูลหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรมีการจัดแบงเปนหลายลกั ษณะ ดงั นี้
1. หลักฐานตามแหลง ขอมลู เชน เอกสาร เทปบนั ทกึ การสมั ภาษณ วรรณกรรม
2. หลักฐานตามลกั ษณะการบันทึกขอ มลู เชน การจารึก พงศาวดาร บันทกึ สว นตัว
จดหมายเหตุ สารานกุ รม เงนิ ตรา โบราณสถาน โบราณวัตถุ และอ่ืน ๆ
3. หลักฐานตามยุคสมัย เชน ยุคกอนประวัติศาสตร ไดแก โครงกระดูก ซากโบราณสถาน
เคร่อื งมือเครอ่ื งใช ฯลฯ ยคุ ประวัตศิ าสตร เปน สมัยทีม่ ีการบนั ทกึ เรอื่ งราวในหนังสัตว แผน ศิลา ดินเผา รวมถึง
เร่อื งราวทม่ี ีการเลาสบื ตอ กันในรปู แบบของตํานาน ศลิ าจารึก พงศาวดาร ฯลฯ
4. หลกั ฐานตามเจตนารมณข องผเู กยี่ วของในเหตกุ ารณ ทงั้ ทโี่ ดยเจตนาที่จะบันทกึ เร่ืองราว
ไวแ ละทีไ่ มม ีเจตนาบันทึกไว

กิจกรรมท่ี 1

ใหผูเรียน เขยี นเลาประวตั ิศาสตร จงั หวัดท่ผี เู รยี นอาศยั อยมู คี วามยาวครง่ึ หนา (เขยี นตวั บรรจง)

เร่อื งท่ี 2 ประวัติความเปนมาของชนชาตไิ ทย

ประวตั คิ วามเปนมาของชนชาติไทย

สมัยกอนกรุงสโุ ขทัยเปนราชธานี
ในการศกึ ษาประวตั ิศาสตรช นชาติไทย มกี ารศกึ ษากนั และมขี อสันนิษฐานที่ใกลเคียงกัน คือ

เดิมท่ีไดอพยพมาจากแถบภเู ขาอัลไต และอพยพเร่ือยมาจนถึงแหลมทองในปจจุบัน “ในตอนกลางลุมแมนํ้า
แยงซี เปนท่ีตั้งของอาณาจักรฌอ ซึ่งนักประวัติศาสตร ฌอในสมัยน้ันคือชนชาติไทย พระเจาฌอปาออง
ซ่ึงครองราชยอยรู ะหวาง พ.ศ. 310 ถึง 343 วาเปน กษตั ริยไ ทย ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของนักวิชาการ
ท่ีศึกษาเร่ืองราวเก่ียวกับความเปนมาของชนชาติไทย จะทําใหทราบถึงการต้ังถ่ินฐานนับแตเริ่มตน
การดําเนินชีวิต และการผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาติไทย อยางไรก็ตามไดมีขอสันนิษฐานหรือแนวคิด
ตาง ๆ ท่ีมีหลักฐานนาเช่ือถือ มีผลใหการศึกษาประวัติศาสตรความเปนมาของ ชนชาติไทย สามารถสรุป
แนวคดิ ทเ่ี ชื่อวาชนชาติไทยอพยพมาจากบริเวณประเทศจีน และทางตอนเหนือของภาคพ้ืนเอเชียตะวันออก
เฉยี งใต สามารถแยกออกไดดงั นี้

1. แนวคิดที่เชื่อวาถ่ินเดิมของคนไทยอยูบริเวณเทือกเขาอัลไต แนวคิดน้ีเกิดจาก
ขอ สันนษิ ฐานที่วา ถ่ินกาํ เนดิ ของมนุษยอยูบรเิ วณตอนกลางของทวีปเอเชีย คือ ทางตอนใตของเทือกเขาอัลไต
ซึ่งปจจบุ นั อยใู นประเทศมองโกเลีย

24

2. แนวคิดท่ีเชื่อวาถ่ินกําเนิดของชนชาติไทยอยูบริเวณทางตอนใตของจีนทางเหนือของ
ภาคพน้ื เอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลอดจนรฐั อสั สมั ของอนิ เดีย

3. แนวคิดน้เี ช่ือวาคนไทยอาศัยอยูกระจัดกระจายกันไป ต้ังแตมณฑลกวางตุง เร่ือยไปทาง
ตะวันตก ในมณฑลกวางสี ยนู าน กยุ โจว เสฉวน ตลอดจนรัฐอสั สัมของอินเดยี โดยอาศัยความเช่ือวา มผี ูคนท่ีมี
ภาษาและวัฒนธรรมคลายกับคนไทย อยูท างตอนใตของจนี เปนจาํ นวนมากรวมทั้งพบหลกั ฐานจากบันทึกของ
จนี ทีก่ ลา วถงึ คนไทยสมยั แรก ๆ เปน เวลา 2,000 ปแลว

4. แนวคดิ ทเี่ ชอ่ื วาถน่ิ เดิมของคนไทยอยูในบริเวณมณฑลเสฉวน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเสนอความเห็นไววาคนไทย นาจะอยูแถบดินแดนทิเบตติดตอกับจีน
(มณฑลเสฉวนปจจุบัน) ประมาณ พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกรานจึงอพยพมาอยูที่ยูนานทางตอนใตของจีนแลว
กระจายไปตงั้ ถนิ่ ฐานของบริเวณเง้ียวฉาน สิบสองจุไท ลา นนา ลา นชาง

ในการศึกษาถึงประวัติความเปนมาของชนชาติไทย ยังมีขอสันนิษฐานท่ีตางกันออกไป
แตอยางไรก็ตามชนชาติมีการตั้งถิ่นฐานในแหลมมลายูถึงปจจุบัน ซ่ึงเปนดินแดนท่ีเราคนไทยไดใชเปนที่อยู
ทํากินสืบตอ กันมาอยา งยาวนาน

ท่ีมา ณรงค พวงพิศ (บรรณาธิการ) หนังสือเรียนสังคมศึกษา, ประวัติศาสตรไทย รายวิชา ส 028
ประวัติศาสตรการต้งั ถิ่นฐานในดนิ แดนประเทศไทย กรงุ เทพฯ:

กิจกรรมท่ี 1

1. จากขอ สนั นิษฐานเก่ยี วกับความเปนมาของชนชาตไิ ทยทเ่ี ช่อื วา มาจากทางตอนใตของ
ประเทศจนี มหี ลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใด ท่จี ะสะทอ นใหเ ชื่อไดบ า ง อธบิ ายมาพอเขา ใจ

2. ผูเรยี นทศ่ี ึกษาความเปนมาของชนชาตไิ ทยมคี วามเหมือน หรอื ตางออกไปใหส รุปมา 1 - 2
หนา เพื่อนาํ มาแลกเปลย่ี นเรียนรรู วมกัน

3. ใหผูเรยี นศกึ ษาความเปนมาของชุมชนท่ีอาศยั อยู พรอ มทงั้ อางองิ แหลงทม่ี าของขอ มลู ดว ย

25

อาณาจักรตา ง ๆ ของไทย

สมยั กอนกรงุ สุโขทัย

รัชญา ไชยา (http://sukhothai.go.th/history/hist_01.htm) ไดเ รยี บเรียงเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรช าติไทย
สมยั กอนตง้ั กรงุ สโุ ขทยั ไว ดงั น้ี

คําวาไทย เปนชื่อรวมของชนเผามองโกล ซึ่งแบงแยกออกเปนหลายสาขา เชน ไทยอาหมในแควน
อสั สมั ไทยใหญ ไทยนอย ไทยโท ในแควน ตัง้ เก๋ยี อปุ นสิ ัยปกตมิ กั เอ้อื เฟอ เผ่อื แผ รักสนั ตแิ ละความเปนอิสระ

ความเจรญิ ของชนชาติไทยน้ี สันนษิ ฐานวา มอี ายุไลเลีย่ กันมากับความเจรญิ ของชาวอียปิ ต บาบโิ ลเนยี
และอสั สิเรยี โบราณ ไทยเปน ชาติท่มี คี วามเจรญิ มากอนจีนและกอนชาวยโุ รป ซ่งึ ขณะนัน้ ยังเปน พวกอนารยชน
อยเู ปนระยะเวลา ประมาณ 5,000-6,000 ปท แ่ี ลว ทช่ี นชาตไิ ทยไดเคยมีที่ทํากินเปนหลักฐาน มีการปกครอง
เปนปก แผน และมรี ะเบียบแบบแผนอยู ณ ดินแดนซึ่งเปน ประเทศจนี ในปจ จบุ นั

เม่ือประมาณ 3,500 ป กอนพุทธศักราช ชนชาติไทยไดอพยพขามเทือกเขาเทียนชาน เดินทางมา
จนถงึ ทร่ี าบลุมอนั อดุ มสมบูรณ ณ บรเิ วณตนแมนาํ้ ฮวงโห และแมน ํ้าแยงซเี กยี งและไดตง้ั ถนิ่ ฐานอยู ณ บริเวณ
ท่ีแหงนั้นแลวเลิกอาชีพเลี้ยงสัตวแตเดิม เปลี่ยนมาเปนทําการกสิกรรม ความเจริญ ก็ยิ่งทวีมากข้ึน
มีการปกครองเปนปกแผนและไดข ยายทที่ าํ กนิ ออกไปทางทิศตะวนั ออกตามลาํ ดับ

ในขณะทชี่ นชาตไิ ทยมคี วามเปน ปกแผนอยู ณ ดนิ แดนและมคี วามเจริญดงั กลา ว ชนชาติจีนยังคงเปน
พวกเล้ียงสตั ว ที่เรร อ นพเนจรอยูตามแถบทะเลสาบแคสเปยน ตอมาเม่ือประมาณกวาหนึ่งพันปท่ีไทยอพยพ
เขามาอยใู นทีร่ าบลมุ แมน าํ้ เรียบรอยแลว ชนชาติจีนจงึ ไดอ พยพเขามาอยูในลุมนํ้าดังกลาวน้ีบาง และไดพบวา

26

ชนชาติไทยไดครอบครองและมคี วามเจริญอยูก อ นแลว ในระหวางระยะเวลาน้นั เราเรยี กวา อายลาว หรือพวก
มงุ ประกอบกนั ขนึ้ เปน อาณาจกั รใหญถ ึง 3 อาณาจักร คือ

อาณาจกั รลงุ ตงั้ อยูทางตอนเหนอื บรเิ วณตนแมน้ําเหลอื ง (หวงโห)
อาณาจกั รปา ตั้งอยูทางใตลงมาบริเวณพ้ืนท่ีทางเหลือของมณฑลเสฉวน อาณาจักรปา
จดั วา เปนอาณาจกั รท่สี าํ คัญกวา อาณาจักรอื่น
อาณาจกั รเงย้ี ว ตงั้ อยทู างตอนกลางของลมุ แมนา้ํ แยงซีเกยี ง
ทัง้ สามอาณาจกั รนี้ มีความเจรญิ รงุ เรอื งขึ้นตามลําดับ ประชากรกเ็ พ่ิมมากขนึ้ จึงไดแผขยาย
อาณาเขตออกมาทางทศิ ตะวันออก โดยมีแมน้าํ แยงซเี กียงเปน แกนหลกั
จากความอุดมสมบูรณในพื้นที่ถ่ินท่ีอยูใหม มีอิทธิพลทําใหเปล่ียนแปลงอุปนิสัยเดิมต้ังแต
ครงั้ ยังทาํ การเล้ยี งสัตวท โ่ี หดเห้ียม และชอบรกุ ราน มาเปน ชนชาติที่มีใจกวา งขวาง รกั สงบพอใจความสันติ
อนั เปน อุปนิสยั ที่เปน มรดกตกทอดมาถึงไทยรุน หลังตอ มา

เหตทุ ี่ชนชาตจิ ีนเขา มารูจักชนชาตไิ ทยเปน ครงั้ แรก

เมื่อแหลงทํามาหากนิ ทางแถวทะเลสาบแคสเปยน เกดิ อัตคัด ขาดแคลน ทําใหชนชาติจีนตองอพยพ
เคล่อื นยายมาทางทิศตะวันออก เมื่อประมาณ 2,500 ป กอนพุทธศักราช ชนชาติจีนไดอพยพขามเทือกเขา
เทียนชาน ท่ีราบสูงโกบี จนมาถึงลุมแมน้ําไหว จึงไดตั้งถิ่นฐานอยู ณ ที่น้ัน และมีความเจริญข้ึนตามลําดับ
ปรากฏมีปฐมกษัตริยของจีนช่ือ ฟูฮี ไดมีการสืบวงศกษัตริยกันตอมา แตขณะน้ันจีนกับไทยยังไมรูจักกัน
ลว งมาจนถงึ สมยั พระเจา ยู จนี กบั ไทยจงึ ไดรูจักกันครั้งแรก โดยมีสาเหตุมาจากที่พระเจายู ไดมีรับสั่งใหมีการ
สํารวจพระราชอาณาเขตขึ้น ชาวจีนจึงไดมารูจักชาวไทย ไดเห็นความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรอายลาว
จึงยกยองนับถือถึงกับใหสมญาอาณาจักรอายลาววา อาณาจักรไต ซึ่งมีความหมายวาอาณาจักรใหญ
สันนษิ ฐานวา เปน สมยั แรกที่จีนกับไทยไดแลกเปลีย่ นสัมพันธไมตรตี อกนั

อาณาจักรอา ยลาวถูกรกุ ราน

เมื่อประมาณ 390 ป กอนพุทธศักราช พวกจีนไดถูกชนชาติตาดรุกราน พวกตาดไดลวงเลยเขามา
รุกรานถึงอาณาจกั รอายลาวดว ย อาณาจกั รลุงซึ่งอยูทางเหนือ ตองประสบภัยสงครามอยางรายแรง ในที่สุด
ก็ตองทิ้งถิ่นฐานเดิม อพยพลงมาทางนครปา ซ่ึงอยูทางใต ปลอยใหพวกตาดเขาครอบครองนครลุง ซึ่งมี
อาณาจักรเขตประชิดตดิ แดนจีน ฝา ยอาณาจกั รจนี ในเวลาตอมาเกิดการจลาจล พวกราษฎรพากันอพยพหนี
ภยั สงคราม เขา มาในนครปาเปนครั้งแรก เมื่ออพยพมาอยูกันมากเขา กม็ าเบียดเบียนชนชาติไทยในการครอง
ชีพ ชนชาติไทยทนการเบยี ดเบยี นไมไ ด จึงไดอ พยพจากนครปามาหาท่ที ํากนิ ใหมทางใตคร้ังใหญเมื่อประมาณ
50 ป กอ นพุทธศักราช แตอาณาจักรอายลาวก็ยังคงอยูจนถึงประมาณ พ.ศ. 175 อาณาจักรจีนเกิดมีแควน
หน่ึง คอื แควน จ๋นิ มอี าํ นาจขึ้นแลว ใชแ สนยานุภาพเขารกุ รานอาณาจักรอายลาว นับเปนคร้ังแรกท่ีไทยกับจีน
ไดรบพุงกัน ในที่สุดชนชาติไทยก็เสียนครปาใหแกจีน เม่ือ พ.ศ.205 ผลของสงครามทําใหชาวนครปาท่ียัง
ตกคางอยูในถิ่นเดิม อพยพเขามาหาพวกเดียวกันท่ีอาณาจักรเงี้ยว ซ่ึงขณะนั้นยังเปนอิสระอยูไมไดอยูใน

27

อํานาจของจนี แตฝายจีนยังคงรกุ รานลงทางใตสูอาณาจักรเงย้ี วตอไป ในท่สี ุดชนชาตไิ ทยกเ็ สียอาณาจักรเงี้ยว
ใหแ กพระเจา จน๋ิ ซีฮอ งเต เมอ่ื ป พ.ศ. 328

อาณาจักรเพงาย

ต้ังแต พ.ศ. 400 – 621 เมื่ออาณาจักรอายลาวถูกรุกรานจากจีน ท้ังวิธีรุกเงียบและรุกรานแบบ
เปดเผยโดยใชแสนยานุภาพ จนชนชาติไทยอายลาวส้ินอิสรภาพ จึงไดอพยพอีกครั้งใหญ แยกยายกันไป
หลายทิศหลายทาง เพื่อหาถ่ินอยูใหม ไดเขามาในแถบลุมแมน้ําสาละวิน ลุมแมน้ําอิรวดี บางพวกก็ไปถึง
แควน อัสสมั บางพวกไปยงั แควนตังเก๋ีย เรียกวา ไทยแกว บางพวกเขาไปอยูที่แควนฮุนหนํา พวกนี้มีจํานวน
คอนขา งมาก ในท่ีสดุ ไดต ง้ั อาณาจักรขนึ้ เมื่อ พ.ศ. 400 เรยี กวา อาณาจักรเพงาย

ในสมยั พระเจา ขุนเมืองไดมีการรบระหวางไทยกับจนี หลายครง้ั ผลดั กนั แพผ ลดั กันชนะ สาเหตุทีร่ บกนั
เนื่องจากวา ทางอาณาจักรจีน พระเจาวูต่ี เล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและไดจัดสมณทูตใหไปสืบสวน
พระพุทธศาสนาท่ปี ระเทศอนิ เดยี แตการเดนิ ทางของสมณทตู ตองผานเขามาในอาณาจักรเพงาย พอขุนเมือง
ไมไวใ จจึงขดั ขวาง ทําใหก ษตั ริยจีนขัดเคอื งจงึ สงกองทพั มารบ ผลที่สุดชาวเพงายตอ งพา ยแพ เม่ือ พ.ศ. 456

ตอมาอาณาจกั รจีนเกดิ การจลาจล ชาวนครเพงายจงึ ไดโ อกาสแขง็ เมือง ตงั้ ตนเปน อิสระ จนถึง พ.ศ.
621 ฝายจีนไดรวมกันเปนปกแผนและมีกําลังเขมแข็ง ไดยกกองทัพมารุกรานไทย สาเหตุของสงคราม
เน่อื งจากพระเจา ม่ิงต่ี กษตั ริยจ ีนไดวางแผนการขยายอาณาเขต โดยใชศาสนาเปนเคร่อื งมอื โดยไดสงสมณทูต
ไปเผยแพรพระพทุ ธศาสนายังประเทศใกลเคียง สาํ หรับนครเพงายนั้น เมื่อพระพุทธศาสนาแผไปถึงพอขุนลิวเมา
ซง่ึ เปนหวั หนากเ็ ลอ่ื มใส ชาวนครเพงายโดยท่ัวไปก็ยอมรับนับถือเปนศาสนาประจําชาติ ดวยตางก็ประจักษ
ในคุณคาของพระธรรมอันวิเศษยอดเย่ียม นับวาสมัยน้ีเปนสมัยสําคัญท่ีพระพุทธศาสนาไดแผเขามาถึง
อาณาจักรไทย คือ เม่อื ประมาณ พ.ศ. 612 เม่ือเปนเชนน้ันฝายจีนจึงถือวาไทยตองเปนเมืองขึ้นของจีนดวย
จงึ ไดส งขนุ นางเขามาควบคุมการปกครองนครเพงาย เม่ือทางไทยไมยอมจึงเกิดผิดใจกัน ฝายจีนไดกรีฑาทัพ
ใหญเขา โจมตนี ครเพงาย นครเพงายจงึ เสียอิสรภาพ เม่ือ พ.ศ. 621

อาณาจกั รนานเจา (พ.ศ. 1193 – 1823)

หลังจากนครเพงายเสยี แกจ นี แลว ก็ไดม กี ารอพยพครัง้ ใหญก นั อกี คร้ังหนงึ่ ลงมาทางทิศใตแ ละทางทิศ
ตะวนั ตก สว นใหญมักเขามาตัง้ อยตู ามลุม แมน ้าํ ในเวลาตอมาไดเ กดิ มีเมืองใหญข ึ้นถึง 6 เมือง ท้ัง 6 เมืองตาง
เปนอสิ ระแกก ัน ประกอบกบั ในหว งเวลาน้ันกษตั รยิ จีนกําลังเส่ือมโทรม แตกแยกออกเปนสามกก กกของเลาป
อนั มขี งเบง เปน ผนู ํา ไดเ คยยกมาปราบปรามนครอิสระของไทย ซึ่งมเี บง เฮกเปน หัวหนา ไดสาํ เร็จ ชาวไทยกลมุ นี้
จงึ ตอ งอพยพหนภี ัยจากจนี

ตอ มาเมื่อ พ.ศ. 850 พวกตาดไดยกกาํ ลังเขารุกราน อาณาจกั รจีนทางตอนเหนือ เม่ือตีไดแลวก็ตั้งตนข้ึน
เปนกษัตริยทางเหนือมีปกกิ่งเปนเมืองหลวง สวนอาณาจักรทางใต กษัตริยเช้ือสายจีนก็ครองอยูท่ีเมืองนํ่ากิง
ท้ังสองพวกไดรบพุงกันเพื่อแยงชิงความเปนใหญ ทําใหเกิดการจลาจลไปทั่วอาณาจักร ผลแหงการจลาจล
ครง้ั น้นั ทาํ ใหนครอิสระทั้ง 6 ของไทย คือ ซลี ง มง เส ลางกง มงุ ซยุ เอีย้ แซ และเทง เซยี้ ง กลับคืนเปน เอกราช

28

นครมง เส นับวา เปนนครสาํ คัญ เปนนครทใี่ หญก วานครอ่ืน ๆ และตั้งอยูต่ํากวานครอื่น ๆ จึงมีฐานะ
มัน่ คงกวา นครอื่น ๆ ประกอบกับมีกษัตริยท่ีมีพระปรีชาสามารถและเขมแข็ง คือ พระเจาสินุโล พระองคได
รวบรวมนครรฐั ทัง้ 6 เขา เปนอนั หนงึ่ อนั เดียวกนั รวมเรยี กวา อาณาจกั รมง เส หรือหนองแส จากนน้ั พระองคไ ด
วางระเบียบการปกครองอาณาจักรอยางแนนแฟน พระองคไดดําเนินนโยบายผูกมิตรกับจีน เพ่ือปองกัน
การรกุ ราน เนอ่ื งจากในระยะนั้นไทยกาํ ลังอยใู นหวงเวลาสรา งตัวจนมีอํานาจ เปนอาณาจกั รใหญท ม่ี ีอาณาเขต
ประชดิ ตดิ กบั จนี ทางฝา ยจีนเรยี กอาณาจกั รน้วี า อาณาจกั รนา นเจา

แมวาอาณาจักรนานเจาจะส้ินรัชสมัย พระเจาสินุโลไปแลวก็ตาม พระราชโอรสของพระองค
ซ่งึ สบื ราชสมบตั ิ ตอ มากท็ รงพระปรีชาสามารถ น่นั คอื พระเจาพีลอโกะ พระองค ไดทําใหอาณาจักรนานเจา
เจริญรงุ เรืองย่งิ ข้ึนไปกวา เดมิ อาณาเขตก็กวา งขวางมากข้นึ กวาเกา งานช้ินสําคัญของพระองคอยางหนึ่งก็คือ
การรวบรวมนครไทยอิสระ 5 นคร เขาดว ยกันและการเปน สมั พนั ธไมตรีกับจนี

ในสมัยน้ีอาณาจักรนานเจา ทิศเหนือจรดมณฑลฮุนหนํา ทิศใตจรดมณฑลยูนาน ทิศตะวันตกจรด
ทิเบต และพมา และทิศตะวนั ออกจรดมณฑลกวางไส บรรดาอาณาจักรใกลเคยี งตางพากนั หวน่ั เกรง และยอม
ออนนอมตออาณาจักรนานเจาโดยท่ัวหนากัน พระเจาพีลอโกะ มีอุปนิสัยเปนนักรบ จึงโปรดการสงคราม
ปรากฏวา คร้งั หนึง่ พระองคเ สด็จเปน จอมทพั ไปชว ยจีนรบกบั ชาวอาหรับ ท่มี ณฑลซินเกยี ง และพระองคไ ดร ับ
ชยั ชนะอยางงดงาม ทางกษตั ริยจ นี ถึงกบั ยกยองใหสมญานามพระองควา ยูนานออง พระองคเ ปนกษตั ริยท ี่เห็น
การณไกล มีนโยบายในการแผอาณาเขตท่ีฉลาดสุขุมคัมภีรภาพ วิธีการของพระองค คือ สงพระราชโอรสให
แยกยา ยกันไปต้งั บานเมอื งข้นึ ใหมทางทศิ ใตแ ละทางทิศตะวันออกเฉยี งใต ไดแ ก บรเิ วณหลวงพระบาง ตังเก๋ีย
สิบสองปน นา สบิ สองจไุ ทย (เจาไทย) หัวพันทั้งหาท้ังหก กาลตอมาปรากฏวาโอรสองคหนึ่งไดไปสรางเมือง
ช่อื วา โยนกนคร ข้นึ ทางใต เมืองตาง ๆ ของโอรสเหลาน้ีตางก็เปนอิสระแกกัน เม่ือสิ้นสมัยพระเจาพีลอโกะ
(พ.ศ. 1289) พระเจาโกะลอฝง ผูเปนราชโอรสไดค รองราชยส ืบตอมา และไดดําเนินนโยบายเปนไมตรีกับจีน
ตลอดมา จนถึง พ.ศ.1293 จึงมีสาเหตุขัดเคืองใจกันขึ้น มูลเหตุเนื่องจากวา เจาเมืองฮุนหนําไดแสดงความ
ประพฤตดิ หู มิ่นพระองค พระองคจึงขัดเคืองพระทัย ถึงข้ันยกกองทัพไปตีไดเมืองฮุนหนํา และหัวเมืองใหญ
นอยอ่ืน ๆ อีก 32 หัวเมือง แมวาทางฝายจีนจะพยายามโจมตีกลับคืนหลายคร้ังก็ไมสําเร็จ ในที่สุดฝายจีน
ก็เขด็ ขยาด และเลกิ รบไปเอง ในขณะที่ไทยทําสงครามกบั จนี ไทยกไ็ ดทําการผกู มติ รกบั ทิเบต เพือ่ หวังกําลงั รบ
และเปนการปองกนั อนั ตรายจากดา นทเิ บต

เม่อื สิน้ สมัยพระเจาโกะ ลอ ฝง ราชนดั ดา คือ เจาอา ยเมอื งสูง (อเี หมาซนุ ) ไดขน้ึ ครองราชยส บื ตอมา
มีเหตกุ ารณใ นตอนตน รัชกาล คือ ไทยกับทเิ บตเปน ไมตรกี นั และไดร วมกาํ ลังกนั ไปตีแควนเสฉวนของจนี แตไม
เปนผลสําเร็จ ในเวลาตอมา ทิเบตถูกรุกรานและไดขอกําลังจากไทยไปชวยหลายครั้ง จนฝายไทย
ไมพอใจ ประจวบกันในเวลาตอ มา ทางจนี ไดแ ตงทตู มาขอเปน ไมตรกี ับไทย เจาอา ยเมอื งสงู จงึ คิดที่จะเปน ไมตรี
กบั จีน เม่ือทางทเิ บตทราบระแคะระคายเขากไ็ มพ อใจ จึงคดิ อบุ ายหกั หลงั ไทย แตฝายไทยไหวทัน จึงสวมรอย
เขา โจมตีทิเบตยอยยับ ตไี ดห ัวเมอื งทเิ บต 16 แหง ทําใหทิเบตเข็ดขยาดฝม ือของไทยนบั ตั้งแตน ้ันมา

ในเวลาตอ มากษัตริยน า นเจาในสมยั หลงั ออ นแอ และไมม ีนิสยั เปน นักรบ ดงั ปรากฏในตามบันทึกของ
ฝายจีนวา ในสมัยที่พระเจาฟา ขึ้นครองราชย เมื่อป พ.ศ. 1420 นั้น ไดมีพระราชสาสนไปถึงอาณาจักรจีน

29

ชวนใหเ ปนไมตรกี นั ทางฝายจนี ก็ตกลง เพราะยงั เกรงในฝม ือ และความเขม แข็งของไทยอยู แตกระน้ันก็ไมละ
ความพยายามทจ่ี ะหาโอกาสรุกรานอาณาจักรนา นเจา ปรากฏวา พระเจา แผนดินจนี ไดส ง ราชธดิ า หงางฝา
ใหมาอภิเษกสมรสกับพระเจาฟา เพอื่ หาโอกาสรุกเงยี บในเวลาตอมา โดยไดพยายามผันแปรขนบธรรมเนียม
ประเพณใี นราชสํานกั ใหม ีแบบแผนไปทางจีนทีละนอย ๆ ดังน้ัน ราษฎรนานเจาก็พากันนิยมตาม จนในที่สุด
อาณาจักรนา นเจากม็ ลี กั ษณะคลายกับอาณาจกั รจีน แมว าสน้ิ สมัยพระเจาฟา กษตั รยิ น านเจาองคหลัง ๆ ก็คง
ปฏิบัตติ ามรอยเดมิ ประชาชนชาวจนี กเ็ ขา มาปะปนอยดู วยมาก แมกษัตริยเองก็มีสายโลหิตจากทางจีนปะปน
อยูดวยแทนทุกองค จึงกอใหเกิดความเสื่อม ความออนแอข้ึนภายในมีการแยงชิงราชสมบัติกันในบางครั้ง
จนในที่สุดเกิดการแตกแยกในอาณาจักรนานเจา ความเสื่อมไดดําเนินตอไปตามลําดับจนถึงป พ.ศ. 1823
กส็ น้ิ สุดลงดว ยการโจมตีของกุบไลขาน กษตั รยิ แ หงราชอาณาจกั รจีน อาณาจกั รนานเจาดับลงในครงั้ น้นั

ชนชาติตาง ๆ ในแหลมสุวรรณภูมกิ อ นทไ่ี ทยจะอพยพมาอยู

ชนชาตดิ ั้งเดมิ และมีความเจริญนอยท่ีสุดก็คือพวก นิโกรอิด ซ่ึงเปนบรรพบุรุษของพวกเงาะ เชน
เซมงั ซาไก ปจจุบันชนชาตเิ หลาน้มี ีเหลืออยูนอ ยเต็มที แถวปก ษใตอาจมเี หลืออยบู าง ในเวลาตอมาชนชาติ
ทมี่ อี ารยธรรมสูงกวา เชน มอญ ขอม ละวา ไดเ ขา มาตงั้ ถน่ิ ฐาน

ขอม มีถิ่นฐานทางทิศตะวันออกเฉียงใตของแหลมสุวรรณภูมิ ในบริเวณแมนํ้าโขงตอนใตและ
ทะเลสาบเขมร

ลาวหรอื ละวา มถี น่ิ ฐานอยูบริเวณลุมแมน ํา้ เจาพระยา เปน ดินแดนตอนกลางระหวา งขอมและมอญ
มอญ มีถิ่นฐานอยบู ริเวณลุมแมนาํ้ สาละวนิ และแมน ้าํ อริ วดี
ทั้งสามชาตินี้มีความละมายคลายคลึงกันมาก ตั้งแตรูปราง หนาตา ภาษา และขนบธรรมเนียม
ประเพณีสันนษิ ฐานไดว า นา จะเปน ชนชาติเดียวกันมาแตเ ดมิ
อาณาจักรละวา เมื่อประมาณ พ.ศ. 700 ชนชาติละวา ซึ่งเขาครอบครองถ่ินเจาพระยา ไดต้ัง
อาณาจกั รใหญขน้ึ สามอาณาจกั ร คอื
อาณาจักรทวาราวดี มีอาณาเขตประมาณตั้งแตร าชบรุ ี ถงึ พิษณโุ ลก มีนครปฐมเปนเมืองหลวง
อาณาจกั รโยนกหรอื ยาง เปนอาณาจักรทางเหนือในเขตพืน้ ทเี่ ชยี งราย และเชยี งแสนมีเงนิ ยาง
เปนเมืองหลวง
อาณาจกั รโคตรบรู ณ มอี าณาเขตตั้งแตน ครราชสมี าถึงอุดรธานี มนี ครพนมเปน เมอื งหลวง
อาณาจักรทนี่ ํามาเผยแพร แหลมสุวรรณภมู ไิ ดเ ปน ศนู ยกลางการคาของจีน และอินเดียมาเปนเวลา
ชานาน จนกลายเปนดินแดนแหงอารยธรรมผสม ดวยความอุดมสมบูรณของบริเวณน้ี เปนเหตุดึงดูดให
ชาวตางชาติเขามาอาศัย และติดตอคาขาย นับต้ังแต พ.ศ. 300 เปนตนมา ไดมีชาวอินเดียมาอยูในดินแดน
สุวรรณภูมิเปนจํานวนมากขึ้นตามลําดับ รวมท้ังพวกท่ีหนีภัยสงครามทางอินเดียตอนใต ซึ่งพระเจาอโศก
มหาราช กษัตริยแหงแควนโกศลไดก รีฑาทัพไปตีแควน กลงิ คราษฎร ชาวพ้ืนเมืองอินเดียตอนใต จึงอพยพเขา
มาอยูท่ีพมา ตลอดถึงพ้ืนท่ีทั่วไปในแหลมมลายูและอินโดจีน อาศัยท่ีพวกเหลานี้มีความเจริญอยูแลว จึงได
นาํ เอาวชิ าความรูและความเจริญตา ง ๆ มาเผยแพร คือ

30

ศาสนาพทุ ธ พระพุทธศาสนา ซ่ึงเหมาะสมในทางอบรมจิตใจ ใหความสวางกระจางในเรื่อง
บาป คุณ โทษ สันนิษฐานวา พุทธศาสนาเขามาเผยแผเปนคร้ังแรกโดยพระโสณะและพระอุตระในสมัย
พระเจาอโศกมหาราชแหงอนิ เดยี

ศาสนาพราหมณ มีความเหมาะสมในดานการปกครอง ซึ่งตองการความศักด์ิสิทธ์ิและ
เด็ดขาด ศาสนาน้สี อนใหเ คารพในเทพเจา ทงั้ สาม คอื พระอิศวร พระพรหม และพระนารายณ

นิติศาสตร ไดแก การปกครอง ไดวางแผนการปกครองหัวเมืองตลอดจนการต้ังมงคลนาม
ถวายแกพระมหากษัตรยิ แ ละตัง้ ชอ่ื

อกั ษรศาสตร พวกอนิ เดียตอนใตไดนําเอาตัวอักษรคฤณฑเขามาเผยแพร ตอมาภายหลังได
ดัดแปลงเปนอักษรขอม และอักษรมอญ พอขนุ รามคําแหงมหาราชไดทรงประดษิ ฐอกั ษรไทย โดยดดั แปลงจาก
อักษรขอม เม่ือป พ.ศ. 1823

ศลิ ปะศาสตร ไดแก ฝม ือในการกอสราง แกะสลกั กอพระสถปู เจดีย และหลอ พระพุทธรปู

การแผอ าํ นาจของขอมและพมา

ประมาณป พ.ศ. 601 โกณทัญญะ ซ่ึงเปนชาวอินเดียไดสมรสกับนางพญาขอม และตอมาไดข้ึนเปน
กษัตรยิ ครอบครองดนิ แดนของนางพญาขอม จดั การปกครองบา นเมืองดว ย ความเรียบรอย ทํานุบํารุงกิจการ
ทหาร ทําใหข อมเจริญขึ้นตามลําดับ มีอาณาเขตแผขยายออกไปมากขึ้น ในท่ีสุดก็ไดยกกําลังไปตีอาณาจักร
โคตรบูรณ ซึ่งเปน อาณาจักรที่อยูทางเหนอื ของละวาไวได แลวถือโอกาสเขาตอี าณาจกั รทวาราวดี

ตอมาเมื่อประมาณป พ.ศ. 1600 กษัตริยพมาผูมีความสามารถองคหนึ่ง คือ พระเจาอโนธรามังชอ
ไดยกกองทพั มาตีอาณาจกั รมอญ เม่ือตอี าณาจกั รมอญไวในอํานาจไดแ ลว กย็ กทพั ลวงเลยเขา มาตอี าณาจักร
ทวาราวดี และมอี าํ นาจครอบครองตลอดไปทัง้ สองฝง แมนาํ้ เจาพระยา อํานาจของขอมก็สูญสิ้นไป แตเมื่อสิ้น
สมยั พระเจา อโนธรามงั ชอ อํานาจของพมาในลมุ นํ้าเจา พระยากพ็ ลอยเสื่อมโทรมดับสญู ไปดวย เพราะกษัตริย
พมาสมยั หลังเสื่อมความสามารถและมักแยงชงิ อํานาจซงึ่ กนั และกนั เปดโอกาสใหแวน แควน ตา ง ๆ ทีเ่ คยเปน
เมืองข้ึน ตั้งตัวเปนอิสระไดอีก ในระหวางน้ี พวกไทยจากนานเจา ไดอพยพเขามาอยูในดินแดนสุวรรณภูมิ
เปนจํานวนมากขน้ึ เมือ่ พมา เสือ่ มอํานาจลง คนไทยเหลาน้ีก็เริ่มจัดการปกครองกันเองในลุมนํ้าเจาพระยา
ฝายขอมน้ันเมื่อเห็นพมาทอดท้ิงแดนละวาเสียแลว ก็หวนกลับมาจัดการปกครองในลุมแมนํ้าเจาพระยา
อีกวาระหน่งึ โดยอา งสทิ ธิแหง การเปน เจา ของเดิม อยางไรกต็ ามอํานาจของขอมในเวลาน้นั กซ็ วดเซลงมาแลว
แตเนอ่ื งจากชาวไทยทอ่ี พยพเขา มาอยูย งั ไมมอี ํานาจเต็มที่ ขอมจงึ บงั คบั ใหช าวไทยสงสวยใหขอม พวกคนไทย
ทอี่ ยูในเขตลมุ แมน า้ํ เจา พระยาตอนใต ไมก ลาขัดขืน ยอมสงสวยใหแกขอมโดยดี จึงทําใหขอมไดใจและเริ่ม
ขยายอํานาจข้นึ ไปทางเหนือ ในการนี้เขาใจวาบางคร้ังอาจตองใชกําลังกองทัพเขาปราบปราม บรรดาเมือง
ที่ขดั ขืนไมยอมสงสว ย ขอมจงึ สามารถแผอ ํานาจข้ึนไปจนถงึ แควนโยนก

สวนแควนโยนกน้ัน ถือตนวาไมเคยเปนเมืองขึ้นของขอมมากอน จึงไมยอมสงสวย ใหตามที่ขอม
บังคับ ขอมจึงใชกําลังเขาปราบปรามนครโยนกไดสําเร็จ พระเจาพังคราช กษัตริยแหงโยนก ลําดับท่ี 43
ไดถกู เนรเทศไปอยูทเี่ มืองเวยี งสที อง

31

แควน โยนกเชียงแสน (พ.ศ. 1661 – 1731)

ดังไดท ราบแลว วาโอรสของพระเจา พลี อโกะ องคหนงึ่ ชื่อพระเจา สิงหนวตั ิ ไดม าสรางเมืองใหมขึน้ ทาง
ใต ช่ือเมืองโยนกนาคนคร เมืองดังกลาวน้ีอยูในเขตละวา หรือในแควนโยนก เมื่อประมาณป พ.ศ. 1111
เปน เมอื งที่สงางามของยานน้ัน ในเวลาตอมาก็ไดร วบรวมเมืองท่อี อนนอ ม ตัง้ ขึน้ เปนแควนช่ือโยนกเชียงแสน
มอี าณาเขตทางทิศเหนือตลอดสิบสองปนนา ทางใตจรดแควนหริภุญชัย มีกษัตริยสืบเชื้อสายตอเน่ืองกันมา
จนถึงสมัยพระเจา พงั คราชจงึ ไดเ สียทีแกข อมดังกลา วแลว

อยา งไรก็ตาม พระเจา พงั คราชตกอับอยูไ ดไมน านนัก ก็กลับเปนเอกราชอีกคร้ังหน่ึง ดวยพระปรีชา
สามารถของพระโอรสองคนอย คือ พระเจาพรหม ซ่ึงมีอุปนิสัยเปนนักรบ และมีความกลาหาญไดสรางสม
กําลังผูคน ฝกหัดทหารจนชํานิชํานาญ แลวคิดตอสูกับขอม ไมยอมสงสวยใหขอม เมื่อขอมยกกองทัพมา
ปราบปราม ก็ตกี องทพั ขอมแตกพายกลบั ไป และยังไมแผอ าณาเขตเลยเขามาในดินแดนขอมไดถึงเมืองเชลียง
และตลอดถงึ ลานนา ลานชาง แลวอญั เชญิ พระราชบิดากลับไปครองโยนกนาคนครเดิม แลวเปล่ียนชื่อเมือง
เสียใหมวาชัยบุรี สวนพระองคเองน้ัน ลงมาสรางเมืองใหมทางใตชื่อเมืองชัยปราการ ใหพระเชษฐา คือ
เจาทุกขิตราช ดํารงตําแหนงอุปราช นอกจากนั้นก็สรางเมืองอื่น ๆ เชน เมืองชัยนารายณ นครพางคํา
ใหเจานายองคอ่นื ๆ ปกครอง

เมื่อส้ินรัชสมัยพระเจาพังคราช พระเจาทุกขิตราช ก็ไดข้ึนครองเมืองชัยบุรี สวนพระเจาพรหม
และโอรสของพระองคก็ไดครองเมืองชัยปราการ ตอมาในสมัยนั้นขอมกําลังเสื่อมอํานาจจึงมิไดยกกําลังมา
ปราบปราม ฝา ยไทยน้นั แมก าํ ลังเปนฝายไดเปรยี บ แตก ค็ งยงั ไมมีกําลังมากพอที่จะแผขยาย อาณาเขตลงมา
ทางใตอ ีกได ดังนั้นอาณาเขตของไทยและขอมจึงประชิดกันเฉยอยู

เม่ือส้ินรัชสมัยพระเจาพรหม กษัตริยองคตอ ๆ มาออนแอและหยอนความสามารถ ซึ่งมิใชแตท่ี
นครชยั ปราการเทานัน้ ความเสอ่ื มไดเ ปนไปอยา งทั่วถงึ กันยังนครอ่ืน ๆ เชน ชัยบุรี ชัยนารายณ และนครพางคํา
ดังนั้น ในป พ.ศ. 1731 เมือ่ มอญกรฑี าทพั ใหญมารกุ รานอาณาจักรขอมไดชยั ชนะแลว ก็ลวงเลยเขามารุกราน
อาณาจักรไทยเชียงแสน ขณะน้ันโอรสของพระเจาพรหม คือ พระเจาชัยศิริ ปกครองเมืองชัยปราการ
ไมส ามารถตา นทานศึกมอญได จึงจาํ เปนตอ งเผาเมือง เพ่ือมิใหพวกขาศึกเขาอาศยั แลว พากนั อพยพลงมาทาง
ใตของดินแดนสุวรรณภูมิ จนกระทั่งมาถึงเมืองรางแหงหน่ึงในแขวงเมืองกําแพงเพชร ช่ือเมืองแปป
ไดอาศัยอยูที่เมืองแปปอยูหวงระยะเวลาหน่ึง เห็นวาชัยภูมิไมสูเหมาะเพราะอยูใกลขอม จึงไดอพยพลงมา
ทางใตจนถึงเมอื งนครปฐมจงึ ไดพ ักอาศัยอยู ณ ทีน่ ้นั

สวนกองทัพมอญ หลังจากรุกรานเมืองชัยปราการแลว ก็ไดยกลวงเลยตลอดไปถึงเมืองอื่น ๆ
ในแควนโยนกเชียงแสน จึงทําใหพระญาติของพระเจาชัยศิริ ซ่ึงครองเมืองชัยบุรี ตองอพยพหลบหนีขาศึก
เชนกัน ปรากฏวาเมืองชัยบุรีนั้นเกิดน้ําทวม บรรดาเมืองในแควนโยนกตางก็ถูกทําลายลงหมดแลว
พวกมอญเห็นวาหากเขา ไปตั้งอยูก็อาจเสียแรง เสียเวลา และทรัพยสินเงินทอง เพ่ือท่ีจะสถาปนาข้ึนมาใหม
ดังนั้นพวกมอญจงึ ยกกองทพั กลับ เปน เหตใุ หแ วน แควนน้ีวางเปลาขาดผูปกครองอยูหว งระยะเวลาหนึง่

ในระหวางที่ฝายไทย กําลังระส่ําระสายอยูนี้ เปนโอกาสใหขอมซ่ึงมีราชธานีอุปราชอยูท่ีเมืองละโว
ถอื สทิ ธิ์เขาครองแควนโยนก แลวบังคับใหคนไทยที่ตกคางอยูน้ันใหสงสวยใหแกขอม ความพินาศของแควน

32

โยนกคร้งั น้ี ทาํ ใหช าวไทยตองอพยพแยกยายกนั ลงมาเปนสองสายคือ สายของพระเจาชัยศิริ อพยพลงมาทางใต
และไดอ าศัยอยชู ัว่ คราวทเ่ี มืองแปปดังกลาวแลว สวนสายพวกชัยบุรีไดแยกออกไปทางตะวันออกของสุโขทัย
จนมาถงึ เมอื งนครไทยจึงไดเขาไปต้ังอยู ณ เมืองนั้นดวยเห็นวาเปนเมืองท่ีมีชัยภูมิเหมาะสมเพราะเปนเมือง
ใหญ และตั้งอยสู ดุ เขตของขอมทางเหนือ ผคู นในเมืองนัน้ สว นใหญก็เปนชาวไทย อยางไรก็ตามในชน้ั แรกที่เขา
มาต้งั อยูนน้ั กค็ งตองยอมขึ้นอยูกบั ขอม ซงึ่ ขณะนั้นยงั มอี ํานาจอยู

ในเวลาตอ มา เมอื่ คนไทยอพยพลงมาจากนานเจา เปนจาํ นวนมาก ทาํ ใหนครไทยมีกาํ ลังผูคนมากข้ึน
ขางฝายอาณาจักรลานนาหรอื โยนกนน้ั เมื่อพระเจา ชัยศิรทิ ิง้ เมืองลงมาทางใต แลว ก็เปนเหตใุ หดินแดนแถบน้นั
วางผูปกครองอยูระยะหนึ่ง แตในระยะตอมาชาวไทยก็คางการอพยพอยูในเขตน้ันก็ไดรวมตัวกัน ตั้งเปน
บานเมอื งข้นึ หลายแหง ตั้งเปนอิสระแกกัน บรรดาหัวเมอื งตาง ๆ ทเี่ กิดข้นึ ในคร้ังนั้นก็นับวาสําคัญ มีอยูสามเมือง
ดวยกัน คือ นครเงินยาง อยูทางเหนือ นครพะเยาอยูตอนกลาง และเมืองหริภุญไชย อยูลงมาทางใต
สวนเมืองนครไทยน้ันดวยเหตุท่ีวามีที่ตั้งอยูปลายทางการอพยพ และอาศัยที่มีราชวงศเชื้อสายโยนกอพยพ
มาอยูทเ่ี มืองน้ี จึงเปนทน่ี ยิ มของชาวไทยมากกวา พวกอ่ืน จึงไดรับยกยองขึ้นเปนพอเมืองท่ีตั้งของเมืองนคร
ไทยนนั้ สนั นิษฐานวานา จะเปนเมืองเดียวกันกับเมอื งบางยาง ซงึ่ เปนเมืองใหญมีเมืองข้ึน และเจาเมืองมีฐานะ
เปนพอขนุ

เมื่อบรรดาชาวไทยเกิดความคิดท่ีจะสลัดแอกของขอมคร้ังนี้ บุคคลสําคัญในการนี้ก็คือ พอขุนบาง
กลางหาว ซ่ึงเปนเจาเมืองบางยาง และพอขุนผาเมือง เจาเมืองราดไดรวมกําลังกันยกข้ึนไปโจมตีขอม
จนไดเมอื งสุโขทยั อนั เปนเมืองหนา ดา นของขอมไวได เมื่อป พ.ศ. 1800 การมีชัยชนะของฝายไทยในคร้ังนั้น
นบั วา เปนนมิ ิตหมายเบอ้ื งตน แหง ความเจริญรุง เรืองของชนชาติไทยและเปน ลางรา ยแหง ความเสือ่ มโทรมของ
ขอม เพราะนับแตว าระนั้นเปนตนมา ขอมก็เส่ือมอํานาจลงทุกที จนในที่สุดก็ส้ินอํานาจไปจากดินแดนละวา
แตยงั คงมีอาํ นาจปกครองเหนือลมุ นาํ้ เจา พระยาตอนใต

อาณาจกั รสโุ ขทัย

กรงุ สโุ ขทัย ตามตํานานกลาววาพระยาพาลีราชเปนผูต้ังเมืองสุโขทัยเม่ือ พ.ศ. 1043 และมีกษัตริย
ปกครองตอ กันมาหลายองค ถึงสมัยพระยาอภยั ขอมลาํ พูนมารุกราน พระยาอภัยจึงหนีขอมไปจําศีลอยูที่เขา
หลวงและไปไดสาวชาวปา ช่ือนางนาคเปนชายา ตอมาพระยาอภัยก็กลับสโุ ขทยั เพื่อครองเมอื งตามเดิมและได
มอบผากําพลกบั พระธาํ มรงคไ วใ หนางนาคเปน ท่ีระลกึ เมื่อพระยาอภัยกลับไปแลว นางนาคก็ไดก าํ เนิดบุตรชาย
แตไ มร ูจ ะเก็บลกู ไวท่ีไหน จงึ ท้ิงลูกไวท่ีเขาหลวงพรอมผา กําพลและพระธํามรงค พรานปา คนหน่ึงไปพบจึงเก็บ
มาเลยี้ ง

ตอมาพระยาอภัยเมื่อกลับไปครองเมืองดังเดิมแลวก็ไดเกณฑชาวบานไปชวยกันสรางปราสาท
นายพรานถูกเกณฑไปดวย ระหวางการกอสรางปราสาทนายพรานไดวางเด็กนอยไวขางปราสาทนั้น
เม่อื แสงแดดสองถูกเด็กนอ ยยอดปราสาทกโ็ อนเอนมาบงั รม ใหเด็กอยางอศั จรรย พระอภัยมาดพู ระกมุ ารพรอ ม
ผากําพลและพระธาํ มรงคจึงไดขอเด็กไปเปนบุตร ต้ังชื่อใหวาอรุณกุมาร พระยาอภัยมีโอรสอีกองคหน่ึงกับ
มเหสใี หมชอ่ื วา ฤทธกิ ุมาร ตอมาภายหลงั ไดไ ปครองเมืองนครสวรรคแ ละมนี ามใหมวาพระลือ สวนอรุณกุมาร

33

ไปไดธิดาเมืองศรีสชั นาลยั เปน ชายาจึงไปครองศรีสัชนาลยั มีนามใหมว า พระรวงโรจนฤทธ์ิ พรอมท้ังยายเมือง
หลวงจากสโุ ขทยั ไปศรสี ชั นาลยั พระรว งโรจนฤทธไ์ิ ดเ สดจ็ ไปเมืองจีนและไดพระสทุ ธเิ ทวีราชธดิ ากรงุ จนี มาเปน
ชายาอีกองคหน่ึง พรอมท้ังไดนําชางชาวจีนกลับมาต้ังเตาทําถวยชามท่ีศรีสัชนาลัย ซึ่งเรียกวาเตาทุเรียง
คร้งั ถงึ ป พ.ศ. 1560 ขอมมารุกรานศรีสัชนาลัย มีขอมดําดินมาจะจับพระรวงโรจนฤทธ์ิ พระรวงจึงสาบให
ขอมกลายเปนหินอยตู รงนน้ั

เมือ่ ขนึ้ ครองเมอื ง พระรวงไดยายเมืองหลวงจากศรีสัชนาลัยมาท่ีสุโขทัย เมื่อสิ้นรัชกาลแลว พอขุน
นาวนําถม ไดป กครองสโุ ขทัยตอมา และสุโขทยั ก็ตกเปนเมอื งข้นึ ของขอม พอขนุ นาวนําถมและพอ ขนุ ศรีเมือง
มานพยายามชวยกนั ขบั ไลขอมจากสุโขทัยแตไมสําเรจ็

ป พ.ศ. 1800 พอ ขนุ บางกลางหาวกับพอขนุ ผาเมืองสามารถขบั ไลข อมไดสําเร็จ พอขุนบางกลางหาว
ข้ึนเปนกษัตริยสุโขทัยทรงพระนามวา พอขุนศรีอินทราทิตย สุโขทัยเจริญรุงเรืองมากที่สุดในสมัย
พอขุนรามคําแหงและสมัยพระยาลิไทย สมัยพอขุนรามคําแหงนี้มีการเชิญพระสงฆจากนครศรีธรรมราช
มาชวยกนั ประดษิ ฐล ายสือไทยเปนเอกลักษณข องสุโขทัยเอง ซึง่ พฒั นาตอ มาเปน หนังสอื ไทยในปจจบุ นั

พ.ศ. 1893 พระเจาอูทองทรงสถาปนาอยุธยาเปนราชธานีอีกแหงหนึ่งของคนไทย แตอยุธยากับ
สโุ ขทัยกไ็ มไดเปนศัตรกู ัน

ในสมัยพระยาลิไทยน้ันขุนหลวงพะงั่วแหงอยุธยาไดมารวมมือกัน เพ่ือเผยแผพุทธศาสนา
ใหเจริญรงุ เรอื งมีการนิมนตพ ระสงฆม าชว ยรวบรวมพระธรรมวินัยที่กระจัดกระจายเพราะศึกสงครามและให
คณะสงฆรว มกันรางไตรภูมิพระรวงเพื่อใชสอนพุทธบริษัทใหทําความดี ในสมัยพระยาลิไทยน้ีไดมีการสราง
พระพทุ ธรปู สาํ คญั ของไทยสามองค คอื พระพุทธชินราช พระพทุ ธชนิ สหี  และพระศากยมนุ ี

ยุคหลงั พระยาลิไท อาณาจักรสโุ ขทัยออ นแอลง ในทีส่ ุดจงึ ถูกผนวกรวมเปน อาณาจกั รเดียวกับอยุธยา
เมื่ออยธุ ยาเสยี กรุงแกพมา ครัง้ ที่ 2 เมืองสโุ ขทัยกย็ ิ่งเสอ่ื มลง พลเมอื งสโุ ขทัยสว นใหญอ พยพหนสี งคราม

เมอ่ื ต้ังกรงุ ธนบุรี สุโขทัยก็ถกู ฟนฟูขึน้ ใหมด วย โดยไปตงั้ เมอื งอยูทบ่ี านธานีริมแมนํ้ายม ตอมาก็ถูกยก
ฐานะเปนอาํ เภอธานีขึน้ อยูกบั จังหวดั สวรรคโลก พ.ศ. 2475 เปลี่ยนช่ืออําเภอธานีเปนอําเภอสุโขทัยธานีและ
พ.ศ. 2482 ยุบจงั หวดั สวรรคโลกเปน อาํ เภอ และยกฐานะอําเภอสุโขทยั ธานขี น้ึ เปน จงั หวดั สโุ ขทยั แทน

การกอ ตงั้ อาณาจกั รสโุ ขทัย

การกอตั้งอาณาจักรสุโขทัยเทาท่ีปรากฏหลักฐานแวนแควน สุโขทัยไดกอตั้งข้ึนในชวงกลางพุทธ
ศตวรรษที่ 18 โดยศูนยกลางอํานาจของสุโขทัยอยูบริเวณลุมแมน้ํานาน ตอมาจึงไดขยายตัวไปทางดาน
ตะวนั ตกบริเวณลมุ แมนํ้าปง และทิศตะวนั ออกบรเิ วณลุมแมน ํา้ ปา สกั

จากศลิ าจารกึ หลักท่ี 2 ศิลาจารึกวัดศรีชมุ จงั หวัดสุโขทัย ไดกลาวถึงการขยายอํานาจทางเศรษฐกิจ
และการเมอื งของชมุ ชนเมอื งในลุมแมนํ้ายม และลุมแมน้ํานาน ในรัชสมัยของพอขุนศรีนาวนําถมขุนในเมือง
เชลียง (ศรสี ัชนาลยั ) เปนเจาเมืองปกครองในฐานะเมืองขึ้น ขอมไดครอบครองเมืองศรีสัชนาลัย และสุโขทัย
เม่ือประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ซ่ึงสันนิษฐานวา เปนการขยายเมือง โดยการรวบรวมเมืองเปนเมืองคู

34

ดังปรากฏเรียกในศิลาจารึกวา “นครสองอัน” การรวมเมืองเปนเมืองคูน้ีเปนการรวมทรัพยากรสําหรับ
การขยายเมอื งใหเ ปน แวนแควน ใหญโตขนึ้ พระองคมโี อรส 2 พระองค คอื พอขนุ ผาเมอื ง เจาเมืองราด
และพระยาคาํ แหงพระราม เจาเมืองสระหลวงสองแคว (เมอื งพษิ ณุโลก)

พอขุนผาเมอื งนํ้า ปรากฏความในจารกึ วา กษตั ริยขอมในสมัยนั้น ซ่ึงสันนิษฐานวา คือ พระเจาชัยวรมัน
ที่ 7 (พ.ศ. 1724 – 1761) ไดยกราชธิดา คือ “นางสุขรมหาเทวี” ให เพื่อสรางสัมพันธไมตรี พรอมท้ัง
พระราชทานเครอ่ื งราชูปโภค คอื พระขรรคชยั ศรีและพระนามเฉลิมพระเกยี รตวิ า “ศรอี ินทราทติ ย หรอื
ศรีอินทราบดินทราทิตย” อาณาเขตของกรุงสุโขทัยในสมัยพอขุนศรีนาวนําถม คงไมกวางขวางเทาใดนัก
สันนษิ ฐานวา ครอบคลมุ ถงึ เมอื งฉอด (เมอื งสอด) ลําพูน พษิ ณุโลกและอาํ นาจในสมัยขอมในการควบคุมเมือง
ในอาณาเขตในสมัยของพอขุนศรีนาวนําถมคงไมมั่นคงนัก แตละเมืองคงเปนอิสระในการปกครองตนเอง
เมืองหลายเมืองคงเปน เมืองในระบบเครอื ญาติ หรือเมอื งที่มีสมั พันธไมตรตี อกัน ภายหลังเมื่อพอขุนศรีนาวนําถม
สน้ิ พระชนม คงเกดิ ความวุนวายในเมอื งสโุ ขทยั ขอมสบาดโขลญลาํ พง ซึง่ สนั นษิ ฐานวา อาจเปน เจาเมืองลําพง
ซ่ึงเปนเมืองที่ปรากฏช่ือในศิลาจารึก หรืออาจเปนขุนนางขอมที่กษัตริยขอมสงมากํากับดูแลอยูท่ีสุโขทัย
ไดน าํ กําลังเขายึดเมืองสโุ ขทัย ศรีสัชนาลยั และเมืองใกลเ คียงไวได พอขนุ ผาเมอื ง เจา เมืองราดและพระสหาย
คือพอขนุ บางกลางหาว เจาเมืองบางยาง ไดร วมกําลงั กันปราบปรามจนไดชัยชนะ พอขนุ บางกลางหาวจงึ ไดขึ้น
ครองราชย ณ เมืองสุโขทัย มีพระนามวา “พอขุนศรีอินทราทิตย” เปนปฐมกษัตริยราชวงศพระรวง
สว นพอขุนผาเมืองไดก ลับไปครองเมืองราดดังเดมิ

หลักฐานในศิลาจารึกกลาววา หลังสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช เมืองตาง ๆ ในอาณาเขตของ
สุโขทัยไดแยกตัวเปนอสิ ระ ไมย อมรบั ศนู ยอ าํ นาจที่เมอื งสุโขทยั เหมือนดังเชน สมยั ท่พี อ ขนุ รามคําแหงมหาราช
ดํารงพระชนมช พี อยู ปรากฏขอความในศิลาจารกึ หลกั ที่ 3 ศิลาจารึกนครชมุ จังหวัดกาํ แพงเพชรวา “บานเมือง
ขาด....หลายบ้ัน หลายทอนแซว หลายบั้นหลายทอน ด้ังเมืองพ... นกเปนขุนหน่ึงเมืองคนที
พระบาง หาเปนขุนหนง่ึ เมืองเชียงทองหาเปน ขุนหนึ่ง...” ความแตกแยกของเมืองตาง ๆ ในอาณาจักรสุโขทัย
หลงั สมัยพอ ขนุ รามคําแหงมหาราชน้ัน อาจเน่ืองมาจากศนู ยก ลางอาํ นาจปราศจากความเขมแข็ง บานพ่ีเมืองนอง
ในอาณาจักรสุโขทัยไดแตกแยกออกถืออํานาจปกครองตนเองโดยไมข้ึนแกกันเมืองประเทศราชที่มีกําลัง
กลา แข็งพากนั แยกตวั เปนอิสระ เชน เมืองนครศรีธรรมราช และเมืองหงสาวดี เปน ตน

อาณาจักรสุโขทยั มคี วามเจรญิ รงุ เรืองสบื มาประมาณ 200 ปเศษ (พ.ศ. 1762 – 1981) ภายหลังจงึ ตก
อยใู ตอ ํานาจของกรุงศรีอยธุ ยา และถกู รวมเปน อันหนึง่ อนั เดียวกับกรุงศรอี ยุธยาในสมยั พระบรมราชาธริ าชที่ 2
(เจา สามพระยา)

กิจกรรมที่ 2

1) จากการประวัตศิ าสตรส มยั สโุ ขทัย กรงุ สโุ ขทัยเสอ่ื มอาํ นาจลง เพราะสาเหตุใด
อธบิ ายมาพอเขา ใจ

2) หลักฐานสําคัญใดทท่ี ําใหเ ราทราบประวตั ศิ าสตรส มัยสโุ ขทยั อธิบายมาพอเขา ใจ

35

อาณาจักรกรุงศรอี ยธุ ยา

อาณาจักรอยุธยาถือกําเนิดขึ้นมาจากการรวมตัวของแวนแควนสุพรรณบุรีและลพบุรี พระเจาอูทอง
ไดสถาปนาอยธุ ยาขึน้ เมอ่ื วันศกุ รท ี่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 (ค.ศ. 1351) โดยตง้ั ข้นึ ในเมืองเกา “อโยธยา” ท่ีมี
มากอน ในบริเวณทีเ่ รยี กวา หนองโสน ซ่ึงมีแมน้ํา 3 สาย คือ แมนํ้าเจาพระยา แมนํ้าลพบุรี และแมน้ําปาสัก
มาบรรจบกัน แลวต้งั นามพระนครนี้วา “กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดี ศรอี ยธุ ยา มหาดลิ กบวรรตั นราชธานี
บรุ ีรมย” คนท่วั ไปเรียกตวั เมืองอยธุ ยาวา “เกาะเมอื ง” มีรูปลกั ษณะคลา ยเรือสําเภา โดยมีหัวเรืออยูทางดาน
ทิศตะวันออก ชาวตางประเทศในสมัยนั้น กลาวถึง กรุงศรีอยุธยาวาเปนเวนิสตะวันออก เนื่องจากกรุงศรี-
อยธุ ยามกี ารขดุ คูคลองเช่ือมโยงสัมพันธกันกับแมนํ้าใหญรอบเมือง จึงทําใหอยุธยามีสภาพเปนเกาะมีแมนํ้า
ลอมรอบ

การสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยา

ชาวไทยเร่มิ ต้งั ถ่นิ ฐานบรเิ วณตอนกลาง และตอนลางของลุมแมนํ้าเจาพระยามาตั้งแตพุทธศตวรรษท่ี
18 แลว มีเมืองสําคัญหลายเมือง อาทิ ละโว อโยธยา สุพรรณบุรี นครชัยศรี เปนตน ตอมาราวปลาย
พุทธศตวรรษท่ี 19 อาณาจักรขอม และสุโขทัยเรมิ่ เสื่อมอาํ นาจลง พระเจาอทู อง

เจา เมืองอทู อง ซ่ึงขณะนนั้ เกดิ โรคหาระบาดและขาดแคลนนํ้า จงึ ทรงดาํ รจิ ะยา ยเมืองและพจิ ารณาชัยภูมิ
เพือ่ ตง้ั อาณาจกั รใหม พรอมกันน้ันตองเปนเมอื งทมี่ นี าํ้ ไหลเวียนอยตู ลอด ครัง้ แรกพระองคท รงประทบั ทตี่ ําบล-
เวียงเหล็ก เพื่อดูช้ันเชิงเปนเวลากวา 3 ป และตัดสินพระทัยสรางราชธานีแหงใหมบริเวณตําบลหนองโสน
(บึงพระราม) และสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเปนราชธานี เมื่อวันศุกรท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 มีช่ือตาม
พงศาวดารวา กรงุ เทพทวารวดีศรีอยธุ ยา มหินทรายุธยา มหาดิลกภพนพรัตน ราชธานีบุรีรมย ดวยบริเวณนั้น
มแี มน ํ้าลอมรอบถึง 3 สาย อันไดแก แมนํ้าลพบุรีทางทิศเหนือ แมนํ้าเจาพระยาทางทิศตะวันตก และทิศใต
แมน ้าํ ปาสัก ทางทิศตะวนั ออก เดมิ ทีบรเิ วณน้ไี มไ ดม สี ภาพเปนเกาะ ตอมาพระองคท รงดาํ ริใหขดุ คูเช่ือมแมน้ํา
ทั้ง 3 สาย กรุงศรีอยุธยาจึงมีน้ําเปนปราการธรรมชาติใหปลอดภัยจากขาศึก นอกจากน้ีที่ต้ังกรุงศรีอยุธยา
ยังหา งจากปากแมนํ้าไมมาก เมื่อเทยี บกับเมืองใหญ ๆ อีกหลายเมืองในบริเวณเดียวกัน ทําใหกรุงศรีอยุธยา
เปนศนู ยกลางการกระจายสนิ คาสูภ มู ิภาคอืน่ ๆ ในอาณาจักร รวมทัง้ อาณาจกั รใกลเคียงอกี ดว ย

ขยายตวั ของอาณาจกั ร

กรุงศรอี ยุธยาดําเนนิ นโยบายขยายอาณาจักรดวย 2 วิธีคอื ใชก าํ ลงั ปราบปราม ซ่ึงเห็นไดจากชัยชนะ
ในการยดึ ครองเมอื งนครธม (พระนคร) ไดอยางเดด็ ขาดในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2 และอีกวิธีหน่ึง
คือ การสรา งความสมั พันธแ บบเครือญาติ อนั เห็นไดจ ากการผนวกกรุงสุโขทัยเขา เปนสวนหนง่ึ ของอาณาจักร

ชว งสมัยรชั กาลของสมเดจ็ พระเจาอยูหัวบรมโกศ พระองคมีโอรสอยู 5 พระองค ซ่ึงท้ัง 5 พระองค
ก็หมายอยากไดใ นราชสมบัติ เมอื่ พระเจาเอกทัศน (โอรสองคโ ต) และพระเจา อทุ ุมพร (โอรสองครอง) ไดม สี ิทธิ
ในราชสมบัติเทากัน โดยพระเจาเอกทัศนเปนโอรสองคโตยอมไดในราชสมบัติ สวนพระเจาอุทุมพรก็ทรงมี
สติปญญาเปนเลิศ สามารถควบคุมกองกําลังได น้ันเปนการจุดชนวนใหท้ัง 2 พระองคตองสลับการขึ้น
ครองราชยกัน โดยในยามสงบ พระเจาเอกทัศนจะทรงครองราชยในยามสงคราม พระเจาอุทุมพร

36

จะทรงครองราชย ในทางพมา เม่อื กษัตรยิ  พระเจาอลองพญา สวรรคตจากการถูกกระสุนปนใหญ พระโอรส
จึงต้ังทัพเขายึดเมืองอยุธยาในป 2309 ในเวลาตอมาเม่ือพระเจาอุทุมพรหมดความมั่นใจในการครองราชย
เพราะพระเชษฐา (เอกทศั น) กท็ วงคนื ราชสมบัติตลอดเมื่อไลขาศึกได จึงออกผนวช โดยไมสึก ทําใหพระเจา
เอกทศั นครองราชยไ ดน าน 9 ป ที่คา ยบางระจัน ชาวบานบางระจันไดขอกําลังเสริมจากอยุธยา แตพระองค
ไมให และในเวลายงิ ปน ใหญกใ็ หใสกระสุนนอย เพราะจะทําใหมเหสีรําคาญเสียง ทําใหพระเจาตากสินผูนํา
กองทัพหมดศรัทธาและนําทัพตีคายออกจากกรุงในท่ีสุด กรุงศรีอยุธยาถูกเผาไมเหลือแมนวัดวาอาราม
นบั เวลาของราชธานไี ด 417 ป เสยี กรุงใหแ กพมา 2 คร้งั คือ คร้ังแรก ป พ.ศ. 2112 ในสมัยสมเด็จพระมหินทราธิราช
(โอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) ตกเปนเมืองขึ้นของพมาเปนเวลา 15 ป และเม่ือป พ.ศ.2117
พระนเรศวรมหาราช ทรงกูเอกราชกลับคืนมาและเมื่อวันท่ี 7 เมษายน พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาก็ถึงกาล
ลม สลาย

กรุงศรอี ยุธยามกี ษตั รยิ ปกครองท้ังหมด 33 พระองค จาก 5 ราชวงศ ไดแก ราชวงศอูทอง ราชวงศ
สพุ รรณบุรี ราชวงศส ุโขทยั ราชวงศป ราสาททอง ราชวงศบ า นพลูหลวง

กิจกรรมที่ 3

1) ลักษณะเดนของการสรา งกรงุ ศรอี ยุธยาเปนเมืองหลวง คอื อะไร
2) สาเหตสุ ําคญั ทที่ ําใหไทยตองการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาใหพ มา 2 ครัง้ คอื อะไร

อาณาจกั รกรุงธนบรุ ี

สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ สามารถยดึ ธนบุรีและกรงุ ศรอี ยุธยาคนื มาจากพมา ได ทําใหพ ระองคมีความชอบ
ธรรมในการสถาปนาพระองคเปนพระมหากษัตริย แตเน่ืองจากเห็นวา กรุงศรีอยุธยาเสียหายเกินกวาท่ีจะ
บูรณะใหคืนไดด ังเดมิ จึงทรงสถาปนากรงุ ธนบรุ ีข้นึ เปนราชธานใี นปเดียวกนั

การสถาปนาธนบรุ ีเปน ราชธานี

เมอื่ สมเด็จพระเจาตากสนิ มหาราช สามารถกูเอกราชของชาติไทยไดแลว ปญหาของไทยในขณะน้ัน
คือ การปองกันตนเองใหพนจากการโจมตีโดยพมาและหาอาหารใหพอเลี้ยงผูคนท่ีมีชีวิตรอดจากสงคราม
แตสภาพอยุธยาขณะนัน้ ไมอาจจะฟน ฟบู รู ณะไดอ ยา งรวดเรว็ ดวยกําลังคนเพียงเล็กนอย อีกท้ังพมาไดรูลูทาง
และจุดออนของอยุธยาเปนอยางดีแลว ดังนั้น พระองคจําเปนที่จะตองหาชัยภูมิที่เหมาะสมในการสถาปนา
ราชธานแี หงใหมและไดร ับพระราชทานนามวา “กรุงธนบรุ ีศรีมหาสมทุ ร” กรุงธนบุรีต้ังอยทู างฝงตะวนั ตกของ
แมน ้ําเจาพระยา ซ่งึ เปนพ้ืนทีข่ องเมืองบางกอกเดิมในสมยั อยุธยาเมืองบางกอก มฐี านะเปน “เมอื งทา เดมิ ”
คือ เปนที่จอดเรือสินคา และเปน เมืองหนา ดา นทที่ ําหนาที่ปองกนั ขาศึกทจี่ ะยกทพั เขา มาทางปากนาํ้ เจาพระยา
รวมท้ังมีหนาท่ีตรวจตราเก็บภาษีเรือและสินคาท่ีข้ึนลองตามลํานํ้าเจาพระยาตอนลางบางกอกซึ่งมีปอม
ปราการและมีดานเกบ็ ภาษดี านใหญท ี่เรยี กวา ขนอนบางกอก

37

เมืองบางกอกจึงมีชุมชนคนตางชาติ เชน จีน อินเดีย มุสลิม ที่เดินทางมาติดตอคาขายและ
เปนทางผานของนกั เดนิ ทาง เชน นกั การทตู พอคา นักการทหาร และนักบวชท่ีเขามาเผยแผศาสนา รวมทั้ง
นักเผชิญโชคท่ีตองการเดินทางไปยังอยุธยา ดังน้ัน โดยพ้ืนฐานท่ีตั้งของกรุงธนบุรีจึงอยูในบริเวณที่ราบลุม
อันอุดมสมบรู ณข องปากน้ําเจา พระยา และเปนเมอื งที่มคี วามเจรญิ ทางเศรษฐกจิ มากอน ตลอดจนเปนเมืองทมี่ ี
ความปลอดภัย เพราะมีทั้งปอมปราการและแมนาํ้ ลาํ คลองท่ปี องกันไมใหขาศกึ โจมตีไดโดยงา ย

เมือ่ สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ไดสถาปนากรุงธนบุรีเปนราชธานี พระองคทรงโปรดเกลาฯ ให
สรางพระราชวงั ข้ึนเปนทีป่ ระทับ โดยสรา งพระราชวังชดิ กาํ แพงเมืองทางดา นใต มีอาณาเขตตั้งแตปอมวิไชย-
ประสิทธ์ิและวัดทายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ขึ้นมาจนถึงวัดอรุณราชวราราม วัดทั้งสองจึงเปนวัดในเขต
พระราชฐาน สําหรับวัดแจงมีฐานะเปนพระอารามหลวง และเปนท่ีประดิษฐานพระแกวมรกตที่ไดอัญเชิญ
มาจากเวยี งจนั ทรเ ม่อื พ.ศ. 2322

การปกครอง หลังจากกรงุ ศรีอยธุ ยาเสียใหแกพมา เม่อื พ.ศ. 2310 บา นเมอื งอยูในสภาพ
ไมเ รยี บรอย มกี ารปลน สะดมกนั บอย ผูคนจึงหาผูคุมครองโดยรวมตัวกันเปนกลุมเรียกวา ชุมนุม ชุมนุมใหญ ๆ
ไดแก ชุมนุมเจาพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจาพระฝาง ชุมนุมเจาพิมาย ชุมนุมเจานครศรีธรรมราช เปนตน
สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ ทรงใชเวลาภายใน 3 ป ยกกองทัพไปปราบชุมนุมตาง ๆ ท่ีต้ังตนเปนอิสระจนหมดส้ิน
สําหรับระเบียบการปกครองนั้น พระองคทรงยึดถือ และปฏิบัติตามระเบียบการปกครองแบบสมัยกรุงศรี-
อยุธยาตอนปลายตามท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบียบไว แตรัดกุมและมีความเด็ดขาดกวา
คนไทยในสมยั น้นั จงึ นยิ มรบั ราชการทหาร เพราะถาผูใดมีความดีความชอบ ก็จะไดรับการปูนบําเหน็จอยาง
รวดเร็ว

เศรษฐกิจ ในขณะท่สี มเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราชขึ้นครองราชยน ัน้ บานเมืองกาํ ลงั ประสบ
ความตกต่ําทางเศรษฐกิจอยางทส่ี ดุ เกิดการขาดแคลนขาวปลาอาหาร และเกิดความอดอยากยากแคน จึงมี
การปลนสะดมแยงอาหาร มหิ นําซํา้ ยงั เกิดภัยธรรมชาตขิ ้ึนอีก ทําใหภ าวะเศรษฐกิจที่เลวรายอยูแลวกลับทรุด
หนักลงไปอีกถึงกับมีผูคนลมตายเปนจํานวนมาก สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงแกไขวิกฤตการณดวย
วิธกี ารตาง ๆ เชน ทรงสละทรพั ยส ว นพระองคซอื้ ขา วสารมาแจกจา ยแกร าษฎรหรือขายในราคาถูก พรอมกบั มี
การสง เสรมิ ใหม กี ารทาํ นาปล ะ 2 คร้งั เพอ่ื เพ่ิมผลผลิตใหเพยี งพอ การส้นิ สดุ อาํ นาจทางการเมืองของสมเด็จ-
พระเจาตากสนิ มหาราช ในตอนปลายรชั กาล สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช เนือ่ งจากพระองคทรงตรากตรํา
ทํางานหนักในการสรางความเปนปกแผนแกชาติบานเมือง พระราชพงศาวดารฉบับตาง ๆ ได บันทึกไววา
สมเด็จพระเจาตากสนิ ทรงมีพระสตวิ ิปลาส ทาํ ใหบ า นเมอื งเกิดความระสํ่าระสายและไดเกิดกบฏขึ้นท่ีกรุงเกา
พวกกบฏไดทําการปลน จวนพระยาอนิ ทรอภัยผูรกั ษากรุงเกา จนถึงหลบหนมี ายังกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจา ตากสิน
มหาราชโปรดใหพระยาสวรรคไปสืบสวนเอาตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ แตพระยาสรรคกลับไปเขาดวยกับ
พวกกบฏ และคุมกําลังมาตีกรุงธนบุรี ทําใหสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึกตองรีบยกทัพกลับจากเขมร
เพือ่ เขาแกไขสถานการณใ นกรงุ ธนบุรี และจบั กุมผูกอ การกบฏมาลงโทษ รวมท้งั ใหขาราชการปรึกษาพิจารณา
ความที่มีผูฟองรองกลาวโทษสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชในฐานะท่ีทรงเปนตนเหตุแหงความยุงยากใน

38

กรุงธนบรุ แี ละมคี วามเห็นใหสําเร็จโทษพระองค เพ่ือมิใหเกิดปญหายุงยากอีกตอไป สมเด็จพระเจาตากสิน-
มหาราชจงึ ถูกสาํ เร็จโทษ

กจิ กรรมท่ี 4

1) เหตกุ ารณใ นสมัยกรงุ ธนบรุ ีใดทอี่ ยใู นความทรงจําของคนไทยในปจ จบุ นั
อธิบายมาพอเขาใจ

2) สาเหตุท่สี มเดจ็ พระเจา ตากสนิ ตอ งเสยี กรุงใหกบั พมา คอื อะไร อธบิ ายมาพอเขา ใจ

กรุงรตั นโกสินทร

จดุ เร่ิมตน ของรัตนโกสินทร สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช เปน พระมหากษัตริยนักรบอีกพระองคหน่ึง
ของชาตไิ ทยท่ีมีอจั ฉริยะภาพทางการทหารอยางหาผูใดเทียมมิได สิบหาปตลอดรัชกาลทรงตรากตรําทําศึก
ไมเ วน แตละป หัวเมืองใหญนอยและอาณาจักรใกลเคียงตางคร่ันครามในพระบรมเดชานุภาพ กองทหารมา
อันเกรียงไกรของพระองคน้ัน เปนตนแบบในการรุกรบยุคตอมาเปนตัวอยางอันดีของทหารในยุคปจจุบัน
พระองคก ็อยใู นสภาวะทีม่ ิตา งอะไรจากสมเด็จพระนเรศวรฯ คือ มีกําลังนอยกวาแทบจะทุกคร้ัง แตพระองค
ก็สามารถเอาชัยไดจากพระวิริยะอุตสาหะและพระปรีชาสามารถทางการทหาร ทรงกลาท่ีจะเปลี่ยนแปลง
ในส่ิงท่ีลาหลัง ที่ศัตรูรู ท่ีใคร ๆ ก็รู ทรงกลาที่จะปฏิวัติความเช่ือใหม ๆ ที่ทหารควรจะใชเพ่ือใหเหมาะกับ
สถานการณที่คับขัน การคุมพลยกแหกวงลอมพมาจากคายวัดพิชัยน้ัน ถือไดวาเปนทหารหนีทัพที่คิดกบฏ
เปน ทรยศตอ แผนดิน แตพ ระองคก็มิไดลังเลที่จะทรงกระทําเพื่อบานเมืองในวันขางหนา หากพระองคไมคิด
เอาบานเมืองเปนหลักชัยแลว ไหนเลยจะยอนกลับมาเพ่ือกูกรุงในอีกแปดเดือนถัดมา ดังนั้น จึงเห็นไดวา
ยศศกั ดิ์ตาง ๆ ที่พระองคมีในตําแหนงพระยาวชิรปราการ ผูรั้งเมืองกําแพงเพชรนั้น หาไดมีความสําคัญตอ
พระองคไ มแมแ ตน อย ทรงรดู ีวา เมอื่ สนิ้ ชาติ ยศศกั ดใิ์ ด ๆ กไ็ มมคี วามหมาย และในพระนครนั้นกไ็ มมีขนุ ทหาร
ผใู หญคนใดทจี่ ะมนี ํา้ ใจและกลาหาญท่พี อจะรกั ษาชาติไวได พระองคจึงกระทาํ การอันท่ียากที่ทหารคนใดผูใด
จะกลา ทํา

พระเจาตากสินฯ ทรงเปนกษัตริยนักรบที่เร่ิมดวยพระองคเอง จากท่ีมีทหารเพียงแคหารอยคน
ทรงกระทาํ การจากเลก็ ๆ เรอื่ ยไปจนถึงการใหญ ซ่ึงนั่นคอื การสถาปนากรงุ ธนบรุ ี ราชธานใี หมทมี่ ีกองทัพกวา
สองแสนคน ไวเ ปนทีส่ รางความเปน ปก แผน ใหก ับคนไทย การเมืองการปกครองในกรุงธนบุรีในยุคเริ่มแรกน้ัน
รม เย็นเปน สุข เพราะกรงุ ธนบรุ ีมกั จะเปนฝา ยรกุ ในเร่ืองของการทหาร ไพรฟาประชาชนในเมืองจะปลอดภัย
จากขาศึก เพราะกองทพั ของพระเจาตากสนิ ฯ จะยกพลไปรบในดนิ แดนขา ศกึ เปนสวนใหญ พระเจาตากสินฯ
ทรงมีนโยบายทางการทหารเปนแนวเชิงรุกอาณาจักรใกลเคียงตางยอมอยูใตเศวตฉัตร เพราะกรุงธนบุรี
มีกองทัพที่เขมแข็งและยุทธวิธีในการรบก็ไมเหมือนใครเปนแบบใหมท่ีไมอาจมีใครแกทางศึกได
พระราชอาณาจักรจงึ กวางขวางยิ่งกวา ในสมัยราชธานีเดิม

39

กรงุ ธนบรุ แี ละพระเจา ตากสนิ ฯ เริ่มมปี ญ หาในทางการปกครองจากการที่รับเอาขุนนางเกา ของอยธุ ยา
มารับราชการ มกี ารแบงพรรคแยง พวก ลางรา ยเร่มิ ปรากฏ กองทพั กรุงธนบุรปี ราชัยเปนครั้งแรกท่ีเมืองเขมร
เพราะทหารแตละทพั ระแวงกนั เอง ไมเรง เดินทัพเพ่ือสมทบทัพหลวงท่พี ระเจา ตากสินฯ ทรงใหพระโอรสเปน
จอมทัพ ทพั ตาง ๆ ไมบรรจบกนั ตามพชิ ยั สงครามดังทเ่ี คยปฏบิ ัติ สุดทา ยเกิดกบฏทีเ่ มืองหลวงนําโดยพระยาสรรค
ขุนนางอยุธยาเกาเชื้อสายไทยแท ๆ ท่ีพระเจาตากสินทรงนํามาชุบเลี้ยง จนเจาพระยามหากษัตริยศึกตอง
ยกทัพกลับจากเขมรมาปราบปรามและปราบดาภิเษกเปน ปฐมราชวงศจักรี หมดส้นิ ยคุ กรุงธนบรุ ี

พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกฯ ขนึ้ เสวยราชยเปน พระเจาแผนดินไทย ไดทรงทําพิธีต้ังเสาหลักเมืองตาม
ประเพณี เสาหลักเมอื งไดส รา งเปนศาลเทพารกั ษเ รยี กกนั สามญั วา “ศาลเจาพอ หลักเมือง” และรับสั่งใหยาย
เมืองหลวงมาอยูก รุงเทพฯ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของกรุงธนบุรี อยูฟากตะวันออก เรียกเมืองบางกอก ซ่ึงมีคนจีน
อาศัยอยูมาก เม่ือยายมาอยูฝงตะวันออกแลว ไดทรงสรางเปนเมืองหลวงข้ึน เรียกวา กรุงเทพมหานคร
บวรรัตนโกสินทร ตอมาในรชั กาลท่ี 4 จึงทรงเปลี่ยนเปน กรงุ เทพพระมหานคร อมรรตั นโกสินทร

เหตทุ ี่ยายกรงุ เพราะทรงเลง็ เห็นวา
1. กรุงธนบรุ คี บั แคบ อยรู ะหวางวัดเปน การยากทจ่ี ะขยาย
2. อยฝู ง คดของแมน ้ําทาํ ใหนํา้ เซาะตลิง่ พงั อยเู ร่ือย
3. การที่มาตั้งที่กรุงเทพฯ นัน้ ท่ตี ้ังเหมาะสมกวา อาศัยแมน้าํ เปน กาํ แพงเมือง และตัวเมือง
อาจขยายได
สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงเปนผูสามารถ ทรงแกปญหาตาง ๆ คือ

เมอ่ื เสวยราชยข ้ึนครองกต็ อ งรบี สรา งเมอื ง สรางพระนครอยู 3 ป จงึ สําเร็จ พ.ศ. 2325 พอสมโภชพระนครแลว
ในปน้นั เองพมา ก็ยกกองทัพใหญม าประชิด

การต้ังกรุงรตั นโกสนิ ทรเ ปน ราชธานี

สมัยกรุงรัตนโกสินทร คือ ระยะเวลาตั้งแตแรกต้ังกรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2325 เปนตนมา
เหตทุ เี่ รยี กวา สมัยกรุงรัตนโกสินทร ก็เพราะเรียกตามความนิยมท่ีสืบเนื่องมาแตโบราณท่ีนิยมเรียกช่ือตาม
เมอื งหลวง เชน สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา เหตุการณสมัยปลายกรุงธนบุรี ในปลายรัชสมัยพระเจากรุงธนบุรี
บานเมืองเกิดจลาจล เน่ืองจากพระเจากรุงธนบุรีทรงมีพระสติวิปลาส สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีมีพระราช
โองการใหพ ระยาสรรคไปปราบกบฏแตพระยาสรรคกบั เขารวมกับพวกกบฏ นําพรรคพวกควบคุมตัวพระเจา-
กรุงธนบรุ ีไว ความทราบถงึ สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึกจึงรีบยกทัพใกลมากรุงธนบุรีเพื่อปราบกบฏและ
สามารถจับผูเปนกบฏมาลงโทษได ขาราชการท้ังหลายลงความเห็นวา สมควรสําเร็จโทษพระเจากรุงธนบุรี
และไดท ูลเชิญสมเด็จเจา พระยามหากษตั ริยศ กึ ปกครองประเทศตอ ไป

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ ทรงรับการกราบบังคมทูลเชิญจากประชาชนข้ึนเปน
พระมหากษตั ริยจ ากประชาชน โดยทรงทาํ พิธปี ราบดาภิเษกข้ึนเปน ปฐมบรมกษตั ริยแหงราชวงศจักรี เม่ือวันท่ี
6 เมษายน พ.ศ. 2325 และทรงสถาปนาเมืองหลวงใหม มีนามวา “กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร

40

มหินทรายุธยามหาดิลก ภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตาลสถิต
สักกะทัตติยวษิ นุกรรมประสทิ ธ์ิ” ใชเ วลาในการสราง 7 ป พระองคท รงมพี ระราชปณธิ านวา “ตง้ั ใจอุปถมั ภก
ยอยกพระศาสนาจะปกปองขอบขัณฑสีมา รกั ษาประชาชนและมนตรี”

สมัยรชั กาลที่ 1 ไทยทาํ สงครามกบั พมา ถงึ 7 คร้ัง ครั้งทีส่ าํ คัญที่สดุ คอื สงคราม 9 ทัพ โดยพระเจาปดุง
กษตั รยิ พมารวมพลจํานวนถึง 144,000 คน จัดเปน 9 ทพั เขาตีไทยโดยแบงเปนตีกรุงเทพ 5 ทัพ หัวเมืองฝาย
เหนือ 2 ทัพ และฝายใต 2 ทัพ ไทยมีกําลังเพียงครึ่งหนึ่งของพมา แตดวยพระปรีชาสามารถของ
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราชและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล จงึ ทาํ ใหฝายพมาพายแพ
กลับไป

ดานการปกครอง มีการปกครองตามแบบกรุงศรีอยุธยาและธนบุรี คือ ยึดแบบที่สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถทรงวางไว แตว างระเบียบใหรัดกุมมากขึ้น โดยมีพระมหากษัตริยเปนพระประมุขสูงสุด
ในระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย

ดานเศรษฐกิจ จังกอบ คือ การชักสวนจากสินคา หรือเก็บเงินเปนอัตราตามขนาดของ
ยานพาหนะทีข่ นสนิ คา อากร คอื การเกบ็ ชกั สวนจากผลประโยชนทีร่ าษฎรทาํ ได เชน การทาํ นา ทําสวน สวย
คอื สงิ่ ที่ราษฎรเสยี ใหแกร ฐั แทนการใชแรงงาน ฤชา คือ คาธรรมเนยี มทเี่ รยี กเกบ็ จากบริการตาง ๆ ที่รัฐทําให
ราษฎร

1. เงินคาผูกปขอมอื จีน เปนเงนิ คา ธรรมเนียมท่ีเรียกเก็บจากชายชาวจีน เพ่ือทดแทนการ
ถูกเกณฑแ รงงาน ซ่ึงเริม่ ในสมยั รชั กาลที่ 2

2. เงนิ คาราชการ เปน เงินท่ีไพรจ ายแทนการเขาเวรราชการ เริ่มในสมัยรัชกาลท่ี 3 อัตรา
คนละ 18 บาทตอ ป

3. การเดินสวนเดินนา เริ่มมีข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยเรียกเก็บเปน ขาวเปลือก เรียกวา
หางขา ว

4. ระบบเจา ภาษนี ายอากร เอกชนเปน ผูประมลู เพ่อื เปน ผจู ดั เกบ็ ภาษี
ดานสังคม สังคมในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังคงมีลักษณะคลายสังคมสมัยอยุธยา
ตอนปลาย แตมีความสบายมากกวา เพราะไมค อยมสี งคราม เปนสงั คมเกษตรกรรม ครอบครัวมีขนาดใหญ
ยึดระบบอาวุโส มีการแบงฐานะของบุคคลออกเปนพระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ ขุนนาง ไพร
(ประชาชนธรรมดา) ทาส สําหรบั พระสงฆเปนชนั้ พเิ ศษทไี่ ดรบั การเคารพนับถอื จากประชาชน

การปฏิรปู ราชการในสมยั รัชกาลท่ี 4

1. เปด โอกาสใหร าษฎรรอ งทกุ ข ถวายฎกี าไดอ ยา งสะดวก ดว ยการตีกลองวนิ ิจฉัยเภรี
2. ปรับปรุงดา นการกฎหมายและการศาล ตั้งโรงพิมพ อกั ษรพิมพก าร เพอื่ พิมพประกาศและ

แถลงขาว
3. ขนุ นางขา ราชการสวมเสอื้ เวลาเขาเฝา

41

4. ทรงจางแหมมแอนนา มาเปนครูสอนภาษาอังกฤษใหแกพระราชโอรสและพระราชธิดาใน
พระบรมมหาราชวงั

5. ทรงทาํ นบุ าํ รงุ พระศาสนา ทรงใหเ สรภี าพในการนบั ถือศาสนา
เหตุการณเกี่ยวกับตางประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 4 มีเพื่อนบานของไทย เชน พมา มลายู ตกเปน
เมืองขึ้นของอังกฤษ ในป พ.ศ. 2398 สมเด็จพระนางเจาวิคตอเรียแหงอังกฤษ ทรงสงทูตช่ือ เซอร จอหน
เบาวร ิง มาขอทําสัญญากับไทย ชือ่ สัญญาเบาวรงิ สัญญานี้มีทั้งขอดีและก็ขอเสีย หลังจากที่ไทยทําสัญญานี้
ไปแลว กม็ ีหลายชาติมาทําสญั ญานี้กันอกี เซอรจอหน เบาวร งิ ไดบ รรดาศกั ดิเ์ ปน “พระยาสยามนุกูล สยามิศร
มหายศ” พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดเปลี่ยนช่ือกรุงเทพ จากคําวา บวร เปน อมร ท่ีแปลวา
เทวดา และมีการตัดถนนเจริญกรงุ ซึ่งเปน ถนนสายแรกของไทย

การปฏริ ปู ในสมยั รชั กาลที่ 5

1. การเลกิ ทาส แบบคอยเปนคอยไป โดยโปรดใหเลิกการซ้ือขายทาส ลดคาตัวทาส ลูกทาส ในป
พ.ศ. 2411 ทรงใชเ วลา 31 ป แผนดินไทยจึงหมดทาส

2. ดา นการศึกษา ไดม ีการตงั้ โรงเรียนมหาดเลก็ หลวงและโรงเรยี นวดั มหรรณพาราม

การปรบั ปรงุ ประเพณตี าง ๆ

- ยกเลกิ พธิ ีการหมอบคลานเวลาเขา เฝา
- ยกเลกิ ทรงผมมหาดไทย
- จดั การไฟฟา
- จัดการประปา
ทส่ี ําคญั คือ ทรงตองการดูแลทุกขสขุ ของราษฎรอยางแทจริง โดยเสด็จประพาสตนจึงไดเสด็จเยือน
ราษฎรตามหวั เมอื งตา ง ๆ อยเู สมอ โปรดใหเ ลิกทาส ทําใหพระองคไดรับการถวายพระนามวา “สมเด็จพระปย-
มหาราช” เพราะทรงเปนที่รักของประชาชนทุกคน ทรงครองราชยนาน 42 ป วันท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
เปนวันสวรรคต มีการนาํ พวงมาลาไปถวายสักการบชู า ณ พระบรมรูปทรงมา ทุกป เรยี กวา วันปย มหาราช
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจา อยูหัว หรือพระมหาธรี ราชเจา ทรงเปน พระราชโอรสของรัชกาลท่ี 5
พระราชกรณยี กจิ ของพระองคในการปฏิรูปงานดานตาง ๆ คือ

1. การปกครอง ทรงสาํ เรจ็ การศกึ ษาจากประเทศองั กฤษ จึงทรงนาํ การปกครองแบบ
ประชาธิปไตยมาทดลองแกขาราชการดวยการต้ังเมืองประชาธิปไตย คือ “ดุสิตธานี” (อยูในบริเวณ
โรงพยาบาลพระมงกุฎ) มีการเลือกตั้ง การแสดงความคิดเห็น แตยังไมไดผล เพราะราษฎรไดรับการศึกษา
ยงั ไมเพียงพอ มีการออกหนงั สอื พมิ พ “ดสุ ิตสมติ ” ใหป ระชาชนแสดงความคิดเห็น

2. ความสมั พันธกบั ตางประเทศ สงครามโลกคร้ังที่ 1 เกดิ ขนึ้ ในป พ.ศ. 2457 – 2461 ในยุโรป
พระองคตัดสินพระทยั เขากับฝา ยสัมพันธมติ ร เยอรมนีเปนฝายรุกรานและแพ ทําใหไทยมีฐานะเทาเทียมกับ
ฝา ยสมั พนั ธมิตร ทําใหสามารถแกไ ขสนธสิ ญั ญาเบาวรงิ ท่ที ําในสมัยรชั กาลท่ี 4

42

รัชกาลที่ 6 ทรงไดรับความรวมมือชวยเหลือจาก ดร.ฟรานซิส บี แซร ไดชวยเจรจาเก่ียวกับ
สนธิสัญญาเบาวริงกับประเทศตาง ๆ ประเทศแรกที่ยอมแกไข คือ โปรตุเกส จนครบทุกประเทศ ตอมา
ดร. ฟรานซิส บแี ซร ไดร บั พระราชทานบรรดาศักดิ์เปน พระยากัลยาณไมตรี เหตุการณกอนการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง เม่ือพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเสด็จข้ึนครองราชย พระองคจัดใหมีการกระทํา
ท่ีเกีย่ วกบั ประชาธปิ ไตย ไดแก

1. ทรงตง้ั สภาตาง ๆ ใหม สี ว นในการปกครองแผน ดิน
2. โปรดเกลาฯ ใหรา งรฐั ธรรมนูญ แตไ มไดร ับความเห็นจากสภาท่ปี รึกษาราชการแผน ดิน
3. ทรงเตรยี มการและฝก ทดลองใหป ระชาชน รจู กั ใชสทิ ธิในการปกครองทองถ่ิน
4. คณะราษฎร ประกอบดว ย บรรดาผูท ่ีไปศึกษาจากตา งประเทศเปน นกั เรยี นไทยที่จบจากเมอื งนอกมา
ทาํ งานในประเทศไทย พวกน้ีไดรับพระราชทานทุนไปศึกษาท่ีตางประเทศ รวมผูที่เปนขาราชการท่ีถูกปลด
จากงานและจากทหาร มหี วั หนา คอื พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ตอมาไดเ ลือ่ นเปนพลตรี ไดพาคณะราษฎร
เขาเฝารชั กาลที่ 7 ซึง่ ขณะนัน้ ประทับอยูทหี่ วั หนิ เมือ่ พระองคไดขาวการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็โปรดให
คณะราษฎรเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เม่ือวันที่ 24 มิถุนายน 2475 พระองคไดตรัสวา
เตรียมจะพระราชทานรัฐธรรมนูญอยูแลว ไมตองการใหเสียเลือดเน้ือ มีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว เม่ือวันท่ี
27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และไดมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวร เม่ือวันท่ี 10 ธันวาคม 2475 และวันน้ี
เปน วันรัฐธรรมนูญ โดยมีนายกรัฐมนตรีคนแรก คือ พระยามโนปกรณนิติธาดา (กอน หุตะสิงห) ตอมาไดมี
นายกรฐั มนตรีคนท่ี 2 คือ พลเอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ไมค อ ยไดผล
สมบูรณ เพราะอํานาจไปอยูในคนบางกลุมเทาน้ัน ทําใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดสละ
ราชสมบัติ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2477 และไดเสด็จไปท่ีประเทศอังกฤษ พระองคไดเสด็จสวรรคตที่
ประเทศอังกฤษ อนสุ าวรียของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู ัวอยูที่หนารัฐสภาใกลก ับสวนดสุ ิต นับเปน
พระบดิ าแหงประชาธปิ ไตยของไทย

ราชวงศจกั รี

ชอื่ ของราชวงศจ ักรมี ที ่มี าจากบรรดาศกั ดิ์ “เจาพระยาจักรศี รีองครกั ษ” ตาํ แหนง สมุหนายก ซ่ึงเปน
ตาํ แหนงทางราชการที่พระองคเ คยทรงดํารงตําแหนงมากอนในสมัยกรุงธนบุรี คําวา “จักรี” นี้พองเสียงกับ
คําวา “จักร” และ “ตร”ี ซ่งึ เปนเทพอาวุธของพระนารายณ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหสรางพระแสงจักรและพระแสงตรีไว 1 สํารบั และกําหนดใหใ ชเปนสัญลกั ษณ
ประจาํ ราชวงศจักรสี ืบมาจนถึงปจจุบัน

43

พระปฐมบรมมหาชนกแหงราชวงศจ ักรี

พระมหากษัตรยิ ไ ทย

ราชวงศจักรี : Chakri (พ.ศ. 2325 – ปจ จบุ ัน)

* ราชวงศจ กั รี *

พระปรมาภิไธย ขึ้นครองราชย ส้นิ สุดการครองราชย หมายเหตุ

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร 6 เมษายน 7 กันยายน

มหาจกั รบี รมนาถฯ พระพุทธยอดฟาจฬุ า พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2352

โลกมหาราช

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร 7 กันยายน 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367

มหาอศิ รสนุ ทรฯ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย พ.ศ. 2352

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 21 กรกฎาคม 2 เมษายน

มหาเจษฎาบดนิ ทรฯ พระน่ังเกลา พ.ศ. 2367 พ.ศ. 2394

เจาอยหู ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร 2 เมษายน 1 ตลุ าคม

มหามงกุฎฯ พระจอมเกลาเจาอยูหัว พ.ศ. 2394 พ.ศ. 2411

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 1 ตลุ าคม 23 ตลุ าคม

มหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกลา พ.ศ. 2411 พ.ศ. 2453

เจา อยหู วั มหาราช

พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดี 23 ตุลาคม 26 พฤศจิกายน พ.ศ.

ศรสี นิ ทรมหาวชริ าวุธฯ พระมงกุฎเกลา พ.ศ. 2453 2468

เจา อยหู ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 26 พฤศจกิ ายน 2 มีนาคม

มหาประชาธปิ กฯ พระปกเกลา เจา อยหู วั พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2477

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร 2 มนี าคม 9 มิถุนายน

มหาอานนั ทมหดิ ลฯ พ.ศ.2477 พ.ศ. 2489

พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร 9 มถิ นุ ายน 13 ตลุ าคม

มหาภมู พิ ลอดุลยเดช มหิตลาธเิ บศร พ.ศ. 2489 พ.ศ.2559

รามาธบิ ดี จกั รีนฤบดนิ ทร

สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร

สมเดจ็ พระเจา อยหู วั มหาวชริ าลงกรณ 1 ธันวาคม ปจ จุบัน

บดินทรเทพยวรางกรู พ.ศ. 2559

44

กจิ กรรมที่ 5

1) สมยั รัชกาลใดของราชวงศจ ักรีทม่ี คี วามเจรญิ สูงสดุ ดา นศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม
2) สมัยรัชกาลท่ี 5 การปฏริ ูปการปกครองท่ีมีความสําคัญตอคนไทย คอื เรือ่ งใด
3) ประวัตศิ าสตรไทย ท่ที าํ ใหไทยตอ งเสยี เอกราชไปถึงสามครง้ั มสี าเหตมุ าจากเรอื่ งใด

เร่อื งที่ 3 ประวตั ิและผลงานของบรรพบุรษุ ไทยท่ีมีสวนปกปอ ง
และสรางความเจริญใหแกช าติบา นเมอื ง

สมยั สุโขทัย

พอขุนรามคาํ แหงมหาราช

พอขุนรามคําแหงไดรับการยกยองวาเปนท้ังนักรบ นักปราชญ ทําใหชาติไทยมีตัวอักษรของตนเอง
ทรงประดิษฐห นังสอื ท่เี รียกวา “ลายสอื ไทย” ขึน้ ทรงทํานุบํารงุ บา นเมืองใหเจริญกาวหนาท่ีสุดในทุก ๆ ดาน
และทําใหอาณาจักรสุโขทัยมีอาณาเขตกวางขวางท่ีสุดในสมัยพระองค

พระบรมราชานสุ าวรียพ อขนุ รามคาํ แหงมหาราช จังหวดั สุโขทัย

พระราชประวัติ

พอขุนรามคําแหงมหาราช เปนพระราชโอรสองคที่ 3 ของพอขุนศรีอินทราทิตย (ปฐมกษัตริยแหง
กรุงสุโขทัย) กับนางเสือง แหงกรุงสุโขทัย มีพระโอรส พระราชธิดา รวมบิดา มารดา 3 พระองค พระองคใหญ
สน้ิ พระชนมต งั้ แตยังเยาว พระองคกลางทรงพระนามตามศิลาจารึกวา “ขุนบาลเมือง” องคเล็กทรงพระนามวา


Click to View FlipBook Version